Digital Conference

11
DSP กับ วิวัฒนาการของการประชุมสัมนาทางไกล สุรพล ศรีบุญทรง บทความป 1998 ปจจุบัน รูปแบบการประมวลผลดวยเครื่องคอมพิวเตอรตั้งโตะกําลังมีวิวัฒนาการไปอยางรวดเร็ว สวนหนึ่งเปนผลมาจากการไดขอสรุปที่แนนอนแลวของมาตรฐานอุปกรณโปรเซสเซอร DSP (digital signal processor) อีกสวนหนึ่งเปนผลมาจากพัฒนาการของรูปแบบการอินเทอรเฟซระหวางโปรแกรม (Programming interface) ซึ่งไดสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางฉับพลันในหมูผูผลิตแผงวงจรควบคุมสําหรับอุปกรณรอบขาง (PC peripheral boards businesses) เพราะดวยมาตรฐานอุปกรณโปรเซสเซอร DSP และ พัฒนาการอินเทอรเฟซ API สมัยใหมนีไดสงผลใหเหลาบริษัทผูผลิต แผงวงจรทั้งหลาย จําตองปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตแผงวงจรควบคุมจาก เดิมที่เคยผลิตแผงวงจรเพื่อการทํางานเฉพาะงาน (Dedicated baords) อยาง แผงวงจรโมเด็ม, แผงวงจรควบคุมสัญญาณเสียง, แผงวงจรใส/ ถอดรหัส codec (coder/decoder), ฯลฯ ไปเปนการผลิตแผงวงจรสารพัด ประโยชน (single-card multifunction) ซึ่งสามารถทํางานทุกอยางไดบน แผงวงจรแผงเดียวนั้น แผงวงจรสารพัดประโยชนที่วานีจะมีการติดตั้งไวดวยอุปกรณโปรเซสเซอร DSP ซึ่งมีหนวยความจํา ภายใน (RAN-based DSP) มาบนแผงวงจร หากผูใชเครื่องคอมพิวเตอรตองการใหมันทํางานเปนอุปกรณรอบขางอะไร ก็เพียงแตดาวนโหลดเอารหัสอัลกอริทึ่มของอุปกรณดังกลาวลงไป แผงวงจรสารพัดประโยชนก็จะทําตัวเหมือนวามันเปน อุปกรณดังกลาวไปโดยปริยาย ไมวาอัลกอริทึ่มนั้นจะเปนการทํางานดานการสื่อสารขอมูล (communications algorithms),การประมวลผลสัญญาณเสียง (speech processing), การดัดแปลงแกไขสัญญาณเสียง (sound editing), หรือการอัดยอสัญญาณภาพ/หรือสัญญาณวิดีโอ (image/video compressing) ฯลฯ จากสิทธิประโยชนอันหลากหลายของแผงวงจรสารพัดประโยชนนี้เอง ไดกระตุนใหเกิดความตื่นตัวใน วงการธุรกิจขึ้นเปนอยางมาก เพราะมันหมายถึงโอกาสที่หนวยงานธุรกิจตางๆ จะสามารถพัฒนาการสื่อสารขอมูลใหมี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นไปไดอยางมาก สามารถสงผานขอมูลหลายๆ รูปแบบ ทั้งที่อยูในรูปขอมูลตัวอักษร, เสียง, ภาพ และสัญญาณวิดีโอ ฯลฯ ไปมาระหวางหนวยงานไดอยางสะดวก, รวดเร็ว, ในราคาที่ถูกเอามากๆ (realtime, remote, low-cost, interactive data exchange) ดวยเหตุผลดังกลาว หลายๆ หนวยงานธุรกิจจึงไดเริ่มนําเอาเทคโนโลยีแผงวงจรสารพัดประโยชนนี้ไป ใชในรูปแบบการทํางานที่เรียกวา "การสงผานขอมูลสื่อผสมทั้งภาพและเสียง (mixed-media audiographics)" หรือ "การประชุมสัมนาทางไกล (Teleconferencing)" ดวยการกําหนดใหแผงวงจรสารพัดประโยชนทํางานเปนอุปกรณโมเด็ม สื่อผสม (mixed-media modem) ที่ไมเพียงแตจะเชื่อมโยงสัญญาณขอมูลผานทางสายสัญญาณโทรศัพทเทานั้น แตยัง รองรับการเชื่อมโยงสัญญาณผานเครือขายเน็ตเวิรกทั้งระยะใกล (LAN) และระยะไกล (WAN) ไดดวย

Transcript of Digital Conference

Page 1: Digital Conference

DSP กับ วิวัฒนาการของการประชุมสัมนาทางไกล สุรพล ศรีบุญทรง

บทความป 1998

ปจจุบัน รูปแบบการประมวลผลดวยเครื่องคอมพิวเตอรต้ังโตะกําลังมีวิวัฒนาการไปอยางรวดเร็ว

สวนหน่ึงเปนผลมาจากการไดขอสรุปที่แนนอนแลวของมาตรฐานอุปกรณโปรเซสเซอร DSP (digital signal

processor) อีกสวนหน่ึงเปนผลมาจากพัฒนาการของรูปแบบการอินเทอรเฟซระหวางโปรแกรม (Programming

interface) ซึ่งไดสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางฉับพลันในหมูผูผลิตแผงวงจรควบคุมสําหรับอุปกรณรอบขาง (PC

peripheral boards businesses)

เพราะดวยมาตรฐานอุปกรณโปรเซสเซอร DSP และ

พัฒนาการอินเทอรเฟซ API สมัยใหมน้ี ไดสงผลใหเหลาบริษัทผูผลิต

แผงวงจรทั้งหลาย จําตองปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตแผงวงจรควบคุมจาก

เดิมที่เคยผลิตแผงวงจรเพื่อการทํางานเฉพาะงาน (Dedicated baords)

อยาง แผงวงจรโมเด็ม, แผงวงจรควบคุมสัญญาณเสียง, แผงวงจรใส/

ถอดรหัส codec (coder/decoder), ฯลฯ ไปเปนการผลิตแผงวงจรสารพัด

ประโยชน (single-card multifunction) ซึ่งสามารถทํางานทุกอยางไดบน

แผงวงจรแผงเดียวน้ัน

แผงวงจรสารพัดประโยชนที่วาน้ี จะมีการติดต้ังไวดวยอุปกรณโปรเซสเซอร DSP ซึ่งมีหนวยความจํา

ภายใน (RAN-based DSP) มาบนแผงวงจร หากผูใชเครื่องคอมพิวเตอรตองการใหมันทํางานเปนอุปกรณรอบขางอะไร

ก็เพียงแตดาวนโหลดเอารหัสอัลกอริทึ่มของอุปกรณดังกลาวลงไป แผงวงจรสารพัดประโยชนก็จะทําตัวเหมือนวามันเปน

อุปกรณดังกลาวไปโดยปริยาย ไมวาอัลกอริทึ่มน้ันจะเปนการทํางานดานการสื่อสารขอมูล (communications

algorithms),การประมวลผลสัญญาณเสียง (speech processing), การดัดแปลงแกไขสัญญาณเสียง (sound

editing), หรือการอัดยอสัญญาณภาพ/หรือสัญญาณวิดีโอ (image/video compressing) ฯลฯ

จากสิทธิประโยชนอันหลากหลายของแผงวงจรสารพัดประโยชนน้ีเอง ไดกระตุนใหเกิดความต่ืนตัวใน

วงการธุรกิจข้ึนเปนอยางมาก เพราะมันหมายถึงโอกาสที่หนวยงานธุรกิจตางๆ จะสามารถพัฒนาการสื่อสารขอมูลใหมี

ประสิทธิภาพเพิ่มข้ึนไปไดอยางมาก สามารถสงผานขอมูลหลายๆ รูปแบบ ทั้งที่อยูในรูปขอมูลตัวอักษร, เสียง, ภาพ

และสัญญาณวิดีโอ ฯลฯ ไปมาระหวางหนวยงานไดอยางสะดวก, รวดเร็ว, ในราคาที่ถูกเอามากๆ (realtime, remote,

low-cost, interactive data exchange)

ดวยเหตุผลดังกลาว หลายๆ หนวยงานธุรกิจจึงไดเริ่มนําเอาเทคโนโลยีแผงวงจรสารพัดประโยชนน้ีไป

ใชในรูปแบบการทํางานที่เรียกวา "การสงผานขอมูลสื่อผสมทั้งภาพและเสียง (mixed-media audiographics)" หรือ

"การประชุมสัมนาทางไกล (Teleconferencing)" ดวยการกําหนดใหแผงวงจรสารพัดประโยชนทํางานเปนอุปกรณโมเด็ม

สื่อผสม (mixed-media modem) ที่ไมเพียงแตจะเช่ือมโยงสัญญาณขอมูลผานทางสายสัญญาณโทรศัพทเทาน้ัน แตยัง

รองรับการเช่ือมโยงสัญญาณผานเครือขายเน็ตเวิรกทั้งระยะใกล (LAN) และระยะไกล (WAN) ไดดวย

Page 2: Digital Conference

2

ตัวอยางใชงานของการสื่อสารขอมูลผานอุปกรณโมเด็มสื่อผสมที่วาน้ีก็ไดแก การใหบริการสนับสนุนตอ

ลูกคาผานทางศูนยบริการ (customer techinical-support centers), การนําเสนอผลงานแบบมัลติมีเดียทางไกล

(remote multimedia presentatin), การเสนอขายทางโทรศัพท (sales calls), การศึกษาทางไกล (distance

learning), การทํางานอยูกับบานและอาศัยการติดตอกับที่ทํางานผานทางระบบโทรคมนาคม (telecommuting) แทนที่

จะตองฝาสภาพการจราจรอันยํ่าแยไปที่ทํางาน ฯลฯ

แนนอน รูปแบบการใชงานตางๆ นาๆ ที่ไดกลาวมาน้ี มิใชของใหม เปนสิ่งที่ไดรับการกลาวถึงมาเน่ิน

นานหลายปแลว แตมันก็เปนเพียงคํากลาวเทาน้ัน มิไดปรากฏข้ึนเพื่อการใชงานอยางจริงๆ จังๆ เสียที สวนหน่ึงก็เปน

ผลสืบเน่ืองมาจากคาใชจายที่คอนขางแพงจนทําใหไมคุมที่จะดําเนินการ จนกระทั่ง เมื่อเรามีแผงวงจรสารพัด

ประโยชนที่สามารถรองรับการทํางานดังกลาวไดอยางสะดวกรวดเร็ว และราคาถูก จึงสงผลใหรูปแบบการทํางาน

Teleconferencing เหลาน้ีสามารถปรากฏข้ึนอยางจริงๆ จังๆ เสียที

DSP กับกระแสพัฒนาการแหงเครื่องพีซี

โปรเซสเซอร DSP (Digital Signal

Processor) น้ัน มิอาจจะนับไดวาเปนเทคโนโลยีใหมสําหรับ

ระบบคอมพิวเตอรต้ังโตะ เพราะถาทานผูอานเปนผูใช

คอมพิวเตอรประเภทที่ตองมีการใชงานโมเด็ม หรือมีการใช

แผงวงจรควบคุมสัญญาณเสียง ทานเองก็กําลังใชงานโปรเซสเซอร DSP อยูตลอดเวลาอยูแลว เพียงแตวาตัว

โปรเซสเซอร DSP ที่ทานใชอยูน้ันเปนโปรเซสเซอร DSP ที่ถูกออกแบมาเพื่อการใชงานเฉพาะทาง (dedicated DSP)

สวนโปรเซสเซอร DSP ที่ผูเขียนกําลังจะกลาวถึงตอไปน้ี เปนโปรเซสเซอร DSP อีกชนิดหน่ึง, เปน

ประเภทที่ออกแบบมาเพื่อการใชงานอยางกวางๆ (multipurpose DSP) มิไดจําเพาะเจาะจงไปกับงานใดงานหน่ึง ซึ่งแต

เดิมน้ันยังเปนช้ินสวนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่มีราคาคอนขางแพง และมีระบบปฏิบัติที่คอนขางสลับซับซอนของตนเอง

จนทําใหไมเปนที่นิยมกันสักเทาไรนักในระบบการประมวลผลดวยเครื่องคอมพิวเตอรระดับต้ังโตะในยุคแรกๆ

อยางไรก็ตาม ชวงเวลาที่ผานไปไมกี่ปน้ี โลกของโปรเซสเซอร DSP ชนิดเอนกประสงคไดมีการ

พัฒนาข้ึนอยางมาก มีการพัฒนาใหสามารถทํางานไดอยางกวางๆ และหลากหลาย, สามารถดําเนินการประมวลผล

หลายๆ คําสั่งไปพรอมกัน, มีระบบปฏิบัติการที่แมจะซับซอนแตก็ปรับเขาหารูปแบบอันเปนมาตรฐานสมัยใหม, มีสวน

คลังโปรแกรม algorithm libralies ที่สะดวกตอการเลือกใช, มีรูปแบบการอินเทอรืเฟซกับโปรแกรมประยุกตที่เปนมิตร

และงายตอการใชงานมากข้ึน, และที่สําคัญที่สุดก็คือ มันมีราคาที่ลดลงเปนอยางมากเมื่อเทียบกับสมรรถนะที่สูงมากข้ึน

ดังน้ันจึงไมนาเปนเรื่องแปลกใจเลย ที่ระยะหลังๆ น้ีเราจะไดเห็นการนําเอา multipurpose มา

ประยุกตใชในงานประมวลผลคอมพิวเตอรระดับต้ังโตะทั่วๆ ไปมากข้ึน (โดยเฉพาะในดานที่เกี่ยวของกับการประชุม

สัมนาทางไกล) ทั้งน้ีและทั้งน้ัน มีเหตุผลอยูหลายประการดวยกัน ประการแรก ผูผลิตโปรเซสเซอร DSP ซึ่งปรกติ

มักจะทํางานรวมกันกับผูผลิตเครื่องคอมพิวเตอรทั้งระดับพีซี และเวิรกสเตช่ัน ไดทําใหมันเปนผลิตภัณฑที่มีความ

เหมาะสมอยางมากสําหรับการประมวลผลภายใตสภาพ Host environment

Page 3: Digital Conference

3

โดยพัฒนาการของผลิตภัณฑ DSP น้ัน มิไดจํากัดอยูแตเพียงตัวไอซีโปรเซสเซอร DSP เทาน้ัน แตยัง

ครอบคลุมไปถึงระบบปฏิบัติการ DSP operating system ที่มีการทํางานแบบ preemptive multitasking, มีรูปแบบ

การอินเทอรเฟซที่ชัดเจนสําหรับผลิตภัณฑฮารดแวร และซอฟทแวรคอมพิวเตอรทั่วๆ ไป, และมีรูปแบบการกําหนด

แอดเดรสสําหรับระบบมัลติมีเดียที่ครอบคลุมการทํางานไวไดอยางกวางขวาง ฯลฯ

ตัวอยางหน่ึงที่เห็นไดชัดถึงประสิทธิภาพในระบบปฏิบัติการของ DSP ไดแกผลิตภัณฑระบบปฏิบัติการ

VCOS operating sytem ของบริษัท AT&T ซึ่งมีโครงสรางทางสถาปตยที่ข้ึนอยูกับสวน DSP kernel อันเปนการทํางาน

ประเภท applications server ที่รันอยูบนหนวยประมวลผลกลางของเครื่อง host (host CPU) ซึ่งมีการจัดแบงสวน

รองรับระบบอินเทอรเฟซ API (Application Programing Interface) ไวสําหรับระบบปฏิบัติการอื่นๆ อยางเชน SPOX,

และ IBM's MWAVE ไวในลักษณะเดียวกันดวย

นอกจากเรื่อง

ระบบปฏิบัติการที่เปด

กวางแลว ความเปน

มาตรฐานของ

โปรเซสเซอร DSP ก็เปน

อีกสวนหน่ึงที่ชวย

ผลักดันมันข้ึนมาผงาดใน

งานการประมวลผล

ระดับต้ังโตะ เพราะจาก

เดิมที่ผูผลิตโปรเซสเซอร

DSP ตางมีการพัฒนากัน

ไปแบบตัวใครตัวมัน (proprietry DSP) จนทําใหผูผลิตซอฟทแวรตองมีการเขียนโปรแกรมข้ึนมาเพื่อใชงานกับ

โปรเซสเซอร DSP ชนิดใดชนิดหน่ึงโดยเฉพาะในชวงระยะแรกๆ น้ัน

ปจจุบันดวยอานิสงคของกลุมทํางาน Digital Signal Processing Technical Working Group ของ

สมาคม IMA (Interactive Multimedia Association) ซึ่งเปนกลุมคณะทํางานเพื่อกําหนดมาตรฐานการทํางานสําหรับ

วินโดวส ไดทําใหเกิดมาตรฐานใหมสําหรับโปรเซสเซอร DSP ข้ึนมา เปนมาตรฐานที่ทําใหผูผลิตโปรแกรมซอฟทแวรใน

ตระกูลวินโดวสสามารถพัฒนาผลิตภัณฑของตนไปไดอยางอิสระ โดยไมตองกังวลวาโปรเซสเซอร DSP ที่ผลิตภัณฑตน

จะตองติดตอดวยน้ันจะมีลักษณะเปนเชนใด จุดแกนกลางของมาตรฐานโปรเซสเซอร DSPอยูที่สวนการทํางาน DSP

resource manger ซึ่งทําหนาที่ตอเช่ือมอุปกรณฮารดแวร/ซอฟทแวรทั้งหลายของ DSP (DSP compliant) เขากับ

อุปกรณมัลติมีเดียที่มีใชอยูโดยโปรแกรมประยุกตช้ันสูงอยูทั้งหลาย

Page 4: Digital Conference

4

เหตุผลสุดทาย และเปนเหตุผลสําคัญที่ทําใหโปรเซสเซอร multipurpose DSP ไดรับความนิยมจาก

เหลาผูผลิตผลิตภัณฑการประมวลผลระดับต้ังโตะอยูในขณะน้ีก็คือ การที่มันมีราคาถูกลงเปนอยางมากเมื่อเทียบกับ

สมรรถนะที่จัดจานข้ึน โดยเฉพาะเมื่อคิดถึงการที่เราสามารถใชแผงวงจร Multipurpose DSP เพียงแผงเดียวไปใช

ทดแทนแผงวงจรควบคุมไดทีละหลายๆ ชนิด (ทั้ง fax, modem, sound, MIDI, และ CD-ROM) ฉน้ันถาไมบอกวานาใช

ตอนน้ีกไมรูจะไปบอกวานาใชตอนไหนแลว

สําหรับเหลาผูผลิตผลิตภัณฑคอมพิวเตอร และสื่อสารโทรคมนาคมที่ไดมีการนําเอาอุปกรณ

โปรเซสเซอร multipurpose DSP ไปใชในผลิตภัณฑของตัวเองแลวก็ไดแกบริษัท Apple, NCR และ Acer ดวยการ

ติดต้ังโปรเซสเซอร DSP เขาไปบนแผงวงจรหลักของเครื่องคอมพิวเตอรเลย ซึ่งแมวาจะทําใหตัวแผงวงจรหลักมีราคา

แพงข้ึนมาบาง แตก็คุมหรือคุม เพราะทําใหราคาของเครื่องคอมพิวเตอรโดยรวมลดลง, แถมยังลดพื้นที่ และขนาดของ

ตัวเครื่องลงไปไดอีกมากมาย

หลากหลายรูปแบบการประชุมสัมนาทางไกล

เมื่อเรากลาวถึงการประชุมสัมนาทางไกล (Teleconferencing) แลว เราหมายถึงการประชุมที่

ผูเขารวมประชุมมากกวา 2 คน ตางคนตางอยูคนละสถานที่ ไมจําเปนตองเขามาน่ังรวมในหองประชุมเดียวกัน เพียงแต

ใชการสื่อสารถึงกันผานทางเครือขายโทรคมนาคมที่มีอยูเทาน้ัน ทําใหสามารถประหยัดคาใชจายในการจัดประชุม,

คาใชจายในการเดินทาง, และเวลาอันมีคาของเหลาผูบริหารไดเปนอยางมาก เพราะแทนที่จะตองเสียเวลาฝาสภาพ

การจราจรอันสาหัสสากรรมารวมประชุม ผูบริหารที่มีคาจางแพงๆ เหลาน้ีก็สามารถจะประชุมหาขอสรุปรวมกันจากหอง

ทํางานของตนเองไดเลย

โดยในระยะแรกๆ น้ัน การประชุมสัมนาทางไกลจะหมายถึงการสื่อสารถึงกันดวยเสียงพูดทาง

สายโทรศัพท (Audio conferencing) เทาน้ัน ตอมาเมื่อเริ่มมีการผลิตเครื่องโทรสาร, อุปกรณวิดีโอ, และระบบการ

สื่อสารดิจิตัล การประชุมสัมนาทางไกลจึงเริ่มมีการนําเอาระบบการสื่อสารรูปแบบอื่นๆ เขามาประกอบดวย เชน

อาจจะเสริมสัญญาณภาพน่ิงรวมไปกับสัญญาณเสียงดวย (audiographics), หรือมีการสงสัญญาณวิดีโอซึ่งเปน

ภาพเคลื่อนไหวของเหตุการณจริงในประชุมผานไปยังผูรวมประชุมแตละราย (Videoconferencing) ฯลฯ

รูปแบบการประชุมสัมนาทางไกลแบบ "Videoconferencing" จัดไดวาเปนสุดยอดแหงการประชุม

สัมนาทางไกลเพราะเปนการประชุมที่ผูเขารวมประชุมสามารถรับรูถึงบรรยากาศทั้งภาพ และเสียงของการประชุม

Page 5: Digital Conference

5

โดยรวมได แตเน่ืองจากมันตองใชอุปกรณเครื่องไมเครื่องมือจํานวนมาก เมื่อประกอบเขากับความตองการใชเสนทาง

การสงผานจําเพาะตายตัว (dedicated lines) ก็ทําใหมันมีราคาคาใชจายสูงมากจนไมเปนที่นิยมใชเทาที่ควร

นอกจากน้ี หากผูรวมประชุมตองการสงผานไฟลลขอมูลไปยังผูรวมประชุมอื่นๆ อยางเชนจะสงผาน

ไฟลลเอกสารที่พิมพข้ึนดวยโปรแกรมประเภทเวิรด, รูปแผนภาพ หรือตารางที่สรางข้ึนดวยโปรแกรมสเปรดชีต, ไฟลล

มัลติมีเดีย, ขอมูลในฐานขอมูล, ภาพที่ไดจากการแสกน หรือภาพที่ผานการปรับแตงดวยโปรแกรมกราฟฟก ฯลฯ การ

ประชุมสัมนาทางไกลแบบ Videoconferencing รุนเกาๆ ก็ไมไดถูกออกแบบมาใหรองรับกับการสงผานขอมูลประเภท

ไฟลลขอมูลคอมพิวเตอร

ดังน้ัน เพื่อใหการประชุมสัมนาทางไกล videoconferencing สามารถรองรับการสื่อสารขอมูลได

หลากหลายในรูปแบบมากข้ึน เหลาผูเช่ียวชาญ และบริษัทผูผลิตอุปกรณคอมพิวเตอรและการสื่อสารโทรคมนาคมจึงได

มีการพวงเอาเครื่องคอมพิวเตอรต้ังโตะเขามารวมในการประชุมสัมนาทางไกลดวย กลายเปน "PC Video

conferencing" ซึ่งไมเพียงแตจะรองรับสัญญาณภาพวิดีโอ, สัญญาณเสียงเทาน้ัน แตยังมีการรองรับสัญญาณ

ขอมูลคอมพิวเตอรประเภทตางๆ อีกดวย

อยางไรก็ตาม ถึงจะมีการนําเอาคอมพิวเตอรเขามาใชรวมในระบบการประชุมสัมนาทางไกล PC

videoconferencing แลว แตก็ยังคงมีปญหาสําคัญเรื่องสัญญาณภาพวิดีโอเขามาเกี่ยวของอีก เพราะสัญญาณภาพ

วิดีโอเหลาน้ีเมื่อถูกแปลงใหเปนสัญญาณดิจิตัลจะมีขนาดใหญมาก ใหญจนไมสามารถหาระบบการสงผานสัญญาณที่มี

ความเร็วสูงพอมารองรับได ตองหามาตรการและเทคโนโลยีตางๆ มาปรับปรุงการสงผานขอมูลใหมีประสิทธิภาพมาก

ข้ึน

ตัวอยางมาตรการที่ใชเพิ่มประสิทธิภาพการประชุมสัมนาทางไกล PC videoconferencing ก็ไดแก

การอัดไฟลลสัญญาณวิดีโอ (video compression) กอนสง และขยายไฟลลกลับมาเปนสภาพเดิมหลังจากรับ, การใช

เสนทางนําสัญญาณที่มีความเร็วมากข้ึน, การใชโปรเซสเซอร DSP มาสรางสัญญาณเสียงในระดับไฮ-ไฟ (High fidelity)

เชน การจัดสมดุลยสัญญาณเสียงระหวางไมโครโฟนที่ผูเขารวมประชุมแตละคนใช, ตัดเสียงกองอันเน่ืองมาจากสภาพหอง

(room echoes) , หรือตัดเสียงสะทอนอันเน่ืองมาจากการหนวงเวลาในสายสัญญาณ (line delay) ฯลฯ

การประชุมแบบ Document conferencing

การประชุมสัมนาทางไกลแบบ Document

conferencing เปนอีกรูปแบบหน่ึงของการแชรหนาจอรวมกัน

(screen sharing) ระหวางผูใชคอมพิวเตอรหลายๆ ราย ซึ่งแตเดิม

เคยมีช่ือเรียกกันวาเปนการล็อกอินจากระยะไกล (remote log-in)

เพราะบนหนาจอมอนิเตอรของผูเขารวมการประชุมสัมนาทางไกล

แบบ Document conferencing จะมีหนาตางวางไวสักหน่ึงหรือสองหนาตาง (designayed windows) เผื่อเหลือไว

สําหรับผูรวมประชุมรายอื่นๆ ที่จะติดตอเขามา

Page 6: Digital Conference

6

และเน่ืองจากรูปแบบของหนาตางที่ใชสื่อสารขอมูลน้ันมีรูปลักษณคลายๆ กับกระดานไวทบอรดที่เอาไว

เขียนบรรยายในการประชุม จึงมักเรียกโปรแกรมซอฟทแวรที่จัดการดานการสื่อสารผาน Document conferencing

วาเปน "Whiteboard software" อันเปนโปรแกรมที่ประกอบไปดวยความสามารถในการเขียน (draw), วาด (paint),

การรางสเก็ตภาพ (sketch), และซอฟทแวรทูลลประเภท Annotation tools ชนิดตางๆ ฯลฯ ซึ่งจะทําใหการระดม

สมองของผูเขารวมประชุมเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด

การทํางานของโปรแกรม Whiteboard software น้ันเปนการเลียนแบบเหตุการณที่เกิดข้ึนจริงๆ

ภายในหองประชุม โดยภาพบิทแม็พที่เกิดข้ึนบนกระดานไวทบอรดจะถูกอัดยอใหมีขนาดเล็กลงดวยเทคนิค JPEG (the

Joint Photographic experts group) compression กอนที่จะสงผานไปตามสายนําสัญญาณ ทําใหผูเขารวม

ประชุมสามารถจะเก็บภาพคราวๆ (snapshot) บนกระดานไวทบอรดไวเพื่อการอางอิงในอนาคตได

และหากผูรวมประชุมตองการนําตาราง/หรือกราฟบนกระดานไวทบอรดไปใชงานตอ โปรแกรม

Whiteboard software ก็อนุญาตใหสามารถตัดภาพที่ตองการ (cut) แลวนําไปวาง (paste) ไวบนหนาตางยอยที่ตน

ตองการได โดยสิ่งที่ผูรวมประชุมตัดตอไปเปนเพียงสวนที่อยูใน collaborative window เทาน้ัน ไมไดทําใหเกิดการ

เปลี่ยนแปลงกับขอมูลตัวจริง (real data) บนกระดานไวทบอรดแตอยางไร

นอกจากภาพบิทแม็พแลว โปรแกรม Whiteboard software ยังถูกออกแบบมาใหรองรับการทํางาน

แบบ OLE (Object Linking & Embedding) อีกดวย ผูเขารวมประชุมจึงสามารถเคลื่อนยายรูปตาราง หรือแผนภาพ

จากหนาตางไวทบอรดไปฝงตัวไวในหนาตางของตนเอง โดยที่ยังคงดํารงความสัมพันธกับโปรแกรมที่สรางแผนภาพ/หรือ

ตารางไวไดตลอดเวลาอีกดวย ทําใหเวลาที่มีการอัพเดทขอมูลในโปรแกรม ตาราง/แผนภาพบนหนาตางของผูรวม

ประชุมก็จะเปลี่ยนตามไปดวยโดยอัตโนมัติ

ย่ิงไปกวาน้ัน ปจจุบันการประชุมแบบ Document conferencing ยังถูกออกแบบใหสามารถรองรับ

การตอบโตกันระหวางผูรวมประชุม (interactive files) และอนุญาตใหผูรวมประชุมสามารถแชรการใชงานโปรแกรม

ประยุกตรวมกัน (applications sharing) ไดอีกดวย ทําใหผูรวมประชุมมากกวาหน่ึงรายสามารถเขาถึงไฟลล หรือ

หนาตางเดียวกัน (shared session) และสามารถตัดสินใจเปลี่ยนแปลงขอมูลตางๆ ภายในไฟลลรวมกันได แทนที่จะ

เปนการเปลี่ยนแกไขจากสวนกลางแตเพียงฝายเดียวเชนการใชกระดานไวทบอรด

สวนการแชรโปรแกรมประยุกตรวมกันน้ัน ก็อนุญาตใหมี

การนําเอาเทคนิคการประมวลสมัยใหมหลายๆ ชนิดเขามาประกอบในการ

ประชุมสัมนาทางไกลไดดวย เชน ผูเขารวมประชุมรายหน่ึงอาจจะจับคําสั่ง

สรางภาพบนหนาจอแบบ Windows GDI (Graphic Device Interface)

แลวสงไปยังผูรวมประชุมอีกรายที่อยูหางออกไปผานทางสายโทรศัพท ทําให

ผูรับสามารถดําเนินการแกไขดัดแปลงรูปภาพบนหนาจอไปพรอมๆ กับผูสงได

(การสงเปนคําสั่งสรางภาพบนหนาจอจะใชจํานวนบิทนอยกวาการสงภาพบิท

แม็พไปตามสายมากมายมหาศาลนัก จึงเปนการใชเสนทางการสื่อสาร

โทรคมนาคมอยางมีประสิทธิภาพสูงมาก และยังเปนการยืนยันวาผูรวม

Page 7: Digital Conference

7

ประชุมทั้งสองฝายจะสื่อถึงกันดวยภาพเดียวกันจริงๆ)

สรุปแลว ผูรวมการประชุมแบบ Document conferencing จะสามารถสื่อสารขอมูลคอมพิวเตอร

ติดตอถึงกันไดทุกรูปแบบ ไมวาขอมูลดังกลาวน้ันจะเปนขอมูลตัวอักษร, ภาพกราฟฟก, ภาพถาย, ตารางสเปรดชีต, หรือ

ภาพวาด ฯลฯ โดยอาศัยเพียงอุปกรณโมเด็มที่ตอพวงระหวางเครื่องคอมพิวเตอร กับโทรศัพทเทาน้ัน รูปแบบการ

สื่อสารที่จะขาดไปในการประชุมแบบ Document conferencing มีเพียงการสื่อสารดวยเสียงพูดทางโทรศัพทตาม

ธรรมดาเทาน้ัน ซึ่งหากจําเปนจริงๆ ผูรวมประชุมก็สามารถใชการตอโทรศัพทคุยกันไดตางหาก

การประชุมแบบ Data conferencing

การประชุมแบบ Data conferencing เปนรูปแบบการประชุมสัมนาทางไกลที่พัฒนาข้ึนจากการประชุม

แบบ Document conferencing ดวยการเสริมการสื่อสารดวยเสียงพูด (voice) เขามาในเสนทางการสื่อสารเดียวกัน

กับขอมูลคอมพิวเตอรอื่นๆ โดยสัญญาณเสียงพูดคุยที่เสริมเขามาน้ันจะตองถูกแปลงใหอยูในรูปสัญญาณขอมูลดิจิตัล

เสียกอน เพื่อใหเปนไปในรูปแบบเดียวกันกับขอมูลคอมพิวเตอรอื่นๆ และสามารถสงผานไปตามเสนทางนําสัญญาณ

เดียวกันได

อยางไรก็ตาม การเสริมเสียงพูดเขามาในการประชุมแบบ Data conferencing ดังกลาวจําเปนตองมี

ลูกเลนในการทํางานบางอยางเขามาเกี่ยวของดวย เพราะในขณะที่ขอมูลคอมพิวเตอรทั่วๆ ไปในระบบเดิมของการ

ประชุมแบบ Document conferencing น้ันสามารถรองรับโดยระบบคอมพิวเตอรของผูรับสารได โดยผูรับไมตองกังวล

มากนักกับลักษณะการตอบโตแบบ real time แตกับการสื่อสารดวยเสียงพูดทางโทรศัพทน้ันจําเปนตองมีลักษณะเปน

Real time ที่ผูพูดคุยรูสึกไดถึงการตอบโตในทันที

ทีน้ี เมื่อเสียงพูดซึ่งเปนสัญญาณอนาล็อกตองถูกแปลงใหเปนสัญญาณดิจิตัลแบบขอมูลคอมพิวเตอร

อื่นๆ กอนสงผานมาตามเสนทางการสื่อสารโทรคมนาคม (ถาเปนระบบ ISDN ก็ดีไปวาสามารถสงผานขอมูลดิจิตัลไดเลย

แตถาเปนระบบโทรศัพทแบบเดิมตองมีการแปลงกลับไปเปนสัญญาณอนาล็อกซ้ําอีกครั้งหน่ึง) แถมเมื่อสงมาถึงปลายทาง

ยังตองแปลงกลับมาเปนเสียงพูดอีกทีหน่ึง จึงเทากับวาสัญญาณเสียงพูดจะตองเสียเวลาไปกับการแปลงสัญญาณ

มากกวาขอมูลอื่นๆ ถึงสองข้ันตอน ถาไมมีอุปกรณประมวลดีๆ สมรรถนะสูงๆ มารองรับ การสื่อสารดวยเสียงพูดแบบ

real time คงจะเปนไปไดยาก

(ซึ่งก็นับวายังโชคดีที่ปจจุบันเรามีอุปกรณโปรเซสเซอร DSP ที่มีประสิทธิภาพสูงมาก และมีอุปกรณ

โมเด็มสื่อผสมใหเลือกใชไดอยางหลากหลาย จึงทําใหการสื่อสารดวยสัญญาณเสียงในการประชุมแบบ Data

conferencing ไมใชปญหาหนักหนาอะไรอีกตอไป)

การสื่อสารดวยเสียงในระบบการประชุมแบบ Data conferencing เริ่มดวยการที่สัญญาณเสียงพูดถูก

แปลงใหเปนสัญญาณดิจิตัลดวยรายละเอียดสัญญาณขนาด 12 บิท (สามารถรองรับชวงความดังเสียงไดกวางถึง 72 เดซิ

เบล) โดยอาศัยการสุมสัญญาณเสียงจํานวน 8000 ครั้งตอวินาที ซึ่งนับวาเหลือเฟอมากสําหรับชวงความถ่ีสัญญาณเสียง

ขนาด 3500 เฮิรซ ซึ่งเปนชวงความถ่ีเสียงที่สามารถครอบคลุมเสียงพูดของมนุษยไดหมด

Page 8: Digital Conference

8

อยางไรก็ตาม หลังจากแปลงสัญญาณเสียงพูดเปนสัญญาณดิจิตัลแลว หากเราใสรหัสใหกับแตละเสียง

ที่สุมข้ึนมาไดดวยขอมูล 8 บิท ก็จะทําใหตองใชชวงแบนดวิดทสําหรับสงผานสัญญาณขนาด 64 Kbps ซึ่งเปนชวงที่กวาง

เกินกวาอุปกรณโมเด็ม และสายสัญญาณโทรศัพททั่วๆ ไปจะรองรับได จึงจําเปนตองมีการพัฒนาเทคนิคการอัดไฟลล

สัญญาณเสียงพูด (speech compression) ที่แปลงมาน้ีใหมีขนาดเล็กลง รวมทั้งตองมีการพัฒนาระบบอัลกอริทึ่มที่จะ

ชวยปรับปรุงคุณภาพเสียงข้ึนมาชวยชดเชยขอผิดพลาดอันเกิดข้ึนจากการยอไฟลลเขามาชวย

ฉน้ันโปรแกรมประยุกตที่เขียนข้ึนมาเพื่อการประชุมแบบ Data conferencing (Data conferencing

applications) น้ันควรจะตองครอบคลุมการทํางานตอไปน้ี คือ การใสรหัสสัญญาณเสียงพูดใหอยูในรูปไฟลลขอมูลดิ

จิตัลซึ่งถูกยอขนาดไฟลลใหมีกระทัดรัดพอจะจัดสงไปตามเสนทางโทรคมนาคมที่มีอยูได, กอนจะจัดสงขอมูลไปตาม

เสนทางนําสัญญาณที่มีอยู, และเมื่อขอมูลถึงปลายทางโปรแกรมประยุกตทางดานผูรับก็จะตองถอดรหัสกลับมาเปน

สัญญาณเสียงพูดเดิมในทันทีประดุจวาเปนการพูดคุยกันอยูตอหนาเลย (real time)

ซึ่งเมื่อลองๆ ฟงดูก็เหมือนกับวาการประชุมแบบ Data conferencing จะเปนเรื่องงายๆ แตจริงๆ แลว

อุปสรรคสําคัญของการประชุมสัมนาทางไกลประเภทน้ีอยูตรงที่วาเสนทางโทรคมนาคมที่ใชอยูน้ันมีสมรรถนะสูงพอ

หรือไม หากเปนเสนทางสายโทรศัพทแบบเกาๆ (POTs, Plain old telephone system) อาจจะมีความกวางไมเพียง

พอที่จะรองรับสัญญาณแบบ real time ก็ได ดังน้ัน หากใครคิดจะใชการประชุมแบบ Data conferencing กับ

หนวยงานของตนก็คงตองคํานึงถึงเรื่องน้ีไวใหมาก

สําหรับเทคโนโลยีการใสรหัสสัญญาณเสียง (voice coding technology) ที่มีใชๆ กันอยูในขณะน้ีก็มี

อยูสองประเภทดวยกัน ประเภทแรกคือ Waveform coders ซึ่งจัดการกับสัญญาณเสียงไปทีละสัญญาณตามลําดับ

(sample-by-sample basis) ตัวอยางของเทคนิคการใสรหัสสัญญาณเสียงแบบ Waveform coder น้ีก็ไดแกเทคนิค

ADPCM (adaptive differential pulse code modulation) ซึ่งใชวิธีการแทนสัญญาณเสียงดวยสัญญาณดิจิตัลแบบ

งายๆ ใหเสียงที่ไมคอยมีคุณภาพนักในกรณีที่ใชความเร็วในการสงผานสัญญาณตํ่ากวา 24 Kbps จึงไมเหมาะกับเสนทาง

นําสัญญาณโทรศัพทแบบเดิมๆ (POTS) ที่มีติดต้ังใชงานกันอยูทั่วไปในปจจุบัน

สวนเทคนิคการใสรหัสใหกับสัญญาณเสียงอีกประเภทคือ Source coders หรือ Parametric coders

หรือ vocoders ซึ่งใสรหัสในรูปคาพารามิเตอรใหกับสัญญาณเสียง หลังจากน้ันคาพารามิเตอรดังกลาวจะไปขับสวน

สรางสัญญาณเสียง (speech production model) ซึ่งทํางานโดยข้ึนกับรูปสัญญาณเสียง และระดับอารมณของผูพูด จึง

ใชจํานวนบิทนอยกวาเทคนิคการใสรหัสแบบ Waveform coders มากมายนัก

เทคนิคการใสรหัสแบบ Vocoders ที่นิยมใชกันมากที่สุดคือเทคนิคที่มีช่ือเรียกวา "CELP (code

excited linear prediction)" ซึ่งประกอบดวยสวนของการทํางาน codebooks ทําหนาที่เปนตัวเปลี่ยนคาสัญญาณเสียง

ใหอยูในรูปสัญญาณดิจิตัล (quantize) โดยในสวน codebooks น้ันจะบรรจุไวดวยสัญญาณเสียงพูดมาตรฐาน (basic

sound) ซึ่งสามารถดัดแปลงระดับความดัง และชวงเวนจังหวะไปตามระดับของสัญญาณเสียงที่ถูกปอนเขามา (input

signal)

อัลกอริทึ่มของเทคนิคการใสรหัสสัญญาณเสียงแบบ CELP น้ี นับวาเปนเทคนิคที่สามารถสรางเสียงพูด

ที่มีคุณภาพสูงมากจนเหลือเฟอสําหรับการประชุมสัมนาทางไกลทั่วๆ ไป ถึงแมวาผูเขารวมประชุมหลายๆ คนจะรูสึกวา

Page 9: Digital Conference

9

เสียงพูดที่เขาไดยินน้ัน ฟงดูแปลกๆ ไปชอบกลไมเหมือนกับเสียงพูดของผูที่ตนติดตอดวยจริงๆ (ก็แหงละซิ! เพราะมัน

ไมใชเสียงของผูพูดจริงๆ เพียงแตเปนสัญญาณที่ถูกสรางเลียนข้ึนมาใหม) แตมันจะถือเปนจุดดอยของเทคนิคการใสรหัส

แบบ CELP ก็คงไมไดเสียทีเดียวนัก เพราะถาคิดถึงการพูดคุยทางโทรศัพทตามปรกติ เราก็มักจะไดยินเสียงที่ผิดเพี้ยนไป

จากเสียงพูดตามธรรมดาอยูแลว

นอกจากน้ัน เทคนิคการใสรหัสสัญญาณเสียงแบบ CELP ยังมีความเหมาะสมอยางมากสําหรับการจะ

นําไปใชประมวลผลดวยเทคนิคทางคอมพิวเตอรสืบตอไป จะติดขัดปญหาอยูเพียงหนอยเดียวก็ในเรื่องการใชทรัพยากร

ในสวนการประมวลผลของโปรเซสเซอร DSP คอนขางเปลือง อยางเชน เทคนิคการใสรหัสแบบ 4800 bps CELP น้ัน

จะสามารถใชมรัพยากรของโปรเซสเซอร DSP ขนาด 16.7 MIPS ไปไดถึงกวา 90 เปอรเซนตเลยทีเดียว

อยางไรก็ตาม เรายังสามารถปรับแตงเทคนิคการใสรหัสสัญญาณเสียงเพื่อใหไดประสิทธิภาพในการ

สงผานขอมูลไดเร็วข้ึน (โดยการอัดไฟลลใหนอยลงหนอย) หรือเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในสวนอัลกอริทึ่มของ codebook

ซึ่งจะไปลดภาระในโหลดดานการประมวลผลลงไดบาง อยางเชนเมื่อเร็วๆ น้ี ก็เพิ่งจะมีเทคนิคการใสรหัสใหมช่ือ

CELP+ โดยบริษัท Bell Labs เพื่อใชในระบบการประชุมสัมนาทางไกล PC-based TeleMedia conferencing system

ของบริษัท AT&T

โดยเทคนิคการใสรหัส CELP+ ดังกลาวน้ีจะสามารถสรางเสียงระดับคุณภาพ ที่ความเร็วการสงผาน

สัญญาณขนาด 6400 bps และมีการบริโภคทรัพยากรในสวนของการประมวลผลของโปรเซสเซอร DSP นอยลงจาก

เทคนิคการใสรหัสสัญญาณเสียง CELP แบบเดิมๆ จนทําใหอัลกอริทึ่มการใสรหัส CELP+ algorithm และอัลกอริทึ่ม

V.32terbo modem algorithm สามารถดําเนินการไดบนระบบการสื่อสารขอมูลยอยที่มีการติดต้ังไวดวยโปรเซสเซอร

DSP3210 เพียงตัวเดียวเทาน้ัน (single DSP3210-based communication subsystem)

หลังจากการใสรหัสแลว ขอมูลสัญญาณเสียงจะถูกมัลติเพล็กซสัญญาณเขากับสัญญาณดิจิตัลอื่นๆ ที่

ตองการสงผานไปตามเสนทางนําสัญญาณเดียวกัน เพื่อใหขอมูลที่ตองการสื่อสารทั้งหมดมีลักษณะเปนกลุมกอนเดียวกัน

(overall transmission envelpoe) โดยอุปกรณโมเด็ม (19.2 Kbps) สงผลใหขอมูลที่ถูกสงผานไปน้ีมีสภาพเหมาะสม

กับสายสัญญาณโทรศัพทแบบเดิมๆ (POTS compatible) และสามารถนําเสนอบนเครื่องรับที่อยูปลายทางโดยสวนการ

ทํางาน desktop audiographics engine ไดอยางมีประสิทธิภาพ

ขอควรคํานึงในระบบการประชุมแบบ Data conferencing

การประชุมแบบ Data conferencing น้ันเปนรูปแบบการประชุมสัมนาทางไกลที่มีความตองการ

ทรัพยากรเพื่อรองรับจํานวนสูงมาก ซึ่งถาพิจารณาจากการวิเคราะหความตองการดานการประมวลผลของโปรเซสเซอร

DSP ในงานหลายๆ งาน (MIPS requirements analysis) จะเห็นไดวา การทํางานของโมเด็มความเร็วสูง และการอัด

ไฟลลสัญญาณเสียงน้ันทําใหเกิดการใชทรัพยากรในสวนการประมวลผลของโปรเซสเซอร DSP ธรรมดาๆ ที่ใชกับอุปกรณ

โมเด็มสื่อผสมไปเสียเกือบหมด (typical DSP, 16.7 MIPS) เลยก็วาได

Page 10: Digital Conference

10

ดวยความตองการทรัพยากรระดับดังกลาว ทําใหการประชุมแบบ Data conferencing ไมสามารถขาด

อุปกรณโปรเซสเซอร DSP ไปไดเลย เพราะถึงแมจะใชหนวยประมวลผลกลางสมรรถนะสูงๆ อยางไมโครโปรเซสเซอรชิป

Pentium หรือ PowerPC ก็ยังไมสามารถใหผลในการจัดการกับขอมูลสัญญาณเสียงไดอยางเปนที่นาพึงพอใจเลย

โ ดยภายใตการทํางานของการประชุมแบบ Data conferencing น้ัน เมื่อเริ่มมีการเช่ือมโยงสัญญาณ

ระหวางผูรวมประชุมเกิดข้ึน ขอมูลที่จะสงผานทั้งหมดจะตองเหมาะสมพอดีกับ performance envelope ของอุปกรณ

โมเด็มที่ใช (ซึ่งก็คือขนาดความเร็วที่แทจริงของตัวโมเด็มน่ันเอง) และโปรโตคอลการสื่อสารสําหรับโมเด็มระดับตํ่าสุดที่

เพียงพอสําหรับรองรับการประชุมแบบ Data conferencing ก็คือโปรโตคอลแบบ V.32

แตถาตองการใหการประชุมแบบ Data conferencing เปนไปอยางมีประสิทธิภาพจริงๆ คงตองใช

โปรโตคอลสื่อสารระดับสูงหนอย คือ ระดับ V.34 ซึ่งมีความเร็วในการสงผานสัญญาณขอมูลสูงถึง 28,800 bps ซึ่งทําให

การตอบโตระหวางผูเขารวมประชุมเปนไปอยางทันอกทันใจมากข้ึน (interactively) เพราะขนาดภายใตการทํางานของ

โมเด็มขนาด V.34 ดังกลาวน้ี สวนของสัญญาณเสียงจะครอบครองพื้นที่ในการสงผานสัญญาณของโมเด็มไป 30 ถึง 60

เปอรเซนตเลยทีเดียว

การประชุมแบบ Data conferencing ไดกอใหเกิดการทาทายใหมๆ ใหกับเหลาผูผลิตและออกแบบ

ผลิตภัณฑคอมพิวเตอรทั้งซอฟทแวร และฮารดแวรเปนอยางมาก เพราะจะตองคํานึงถึงปจจัยหลายๆ ดานดวยกัน ไมวา

จะเปน ปจจัยในการอัดไฟลลขอมูล (compression factor), คุณภาพของเสียงที่ตองการสงผานไปมา (speech

quality), ความสลับซับซอนในระบบการประมวลผล (computational complexity), และปญหาเรื่องการหนวงเวลาที่

เกิดข้ึนในสายสัญญาณ (time delay) ฯลฯ

โดยในสวนของอัลกอริทึ่มสําหรับการอัดไฟลลขอมูลน้ัน ดูเหมือนวาจะเปนเรื่องที่ตองใหความสนใจ

มากเพราะเปนสวนที่เกี่ยวของกับคุณภาพของระบบการประมวลผลมากที่สุด (High end MIPS) ในขณะเดียวกันมันเอง

ก็ถูกจํากัดไวดวยคุณภาพที่คอนขางตํ่าของเสนทางนําสัญญาณขอมูลที่มีอยู (Low-end transmission-line bandwidth)

ทําใหจําเปนตองมีการคิดคนพัฒนาอัลกอริทึ่มใหมๆ ข้ึนมาเพื่อใหไดคุณภาพของขอมูลที่สูงที่สุด พรอมๆ ไปกับการใช

ทรัพยากรในสวนของเสนทางนําสัญญาณนอยที่สุดดวย

"VoieSpan" & "VoiceView" ทางเลือกท่ีนาสนใจ

อยางไรก็ตาม ไมไดมีเพียงระบบการประชุมแบบ Data conferencing เทาน้ัน ที่มีการเสริมสัญญาณ

เสียงพูดเขาไปในการประชุมสัมนาทางไกล เรายังมีวิธีการเสริมเอาสัญญาณเสียงเขากับการประชุมสัมนาทางไกลไดอีก

หลายๆ เทคนิคดวยกัน อยางเชน เทคโนโลยี VoiceSpan จากบริษัท AT&T Bell Laboratories group ซึ่งอนุญาตให

ผูใชโทรศัพทเพิ่มประสิทธิภาพของสายสัญญาณโทรศัพทที่มีอยูหน่ึงสายใหสามารถทํางานไดประดุจวาสามชองทางนํา

สัญญาณดวยกัน (three virtual channels)

โดยในเสนทางนําสัญญาณเสมือนทั้งสามสายของ VoiceSpan น้ัน ประกอบไปดวย ชองทางสําหรับ

สัญญาณเสียงพูด หรือสัญญาณเสียงคุณภาพไมสูงมากนัก (voice/ or low quality audio channel), ชองทางสําหรับ

สัญญาณขอมูล (data channel) และชองทางสําหรับสัญญาณควบคุม (control information channel) ทําใหผูใช

Page 11: Digital Conference

11

VoiceSpan สามารถพูดคุยโทรศัพทไปพรอมๆ กับการสงผานสัญญาณขอมูลรูปแบบอื่นๆ ไดเลย ไมวาขอมูลที่สงไปน้ัน

จะเปนขอมูลจากไฟลล, สัญญาณแฟกซ, ภาพน่ิง, หรือขอมูลที่ใชรวมกันโดยผูใช VoiceSpan รายอื่นๆ

สวนหน่ึงที่ผลิตภัณฑ VoiceSpan แตกตางไปจากผลิตภัณฑดานการสื่อสารขอมูลชนิดอื่นๆ อยางเห็นได

ชัด คือการที่มันไมข้ึนกับเทคนิคการใสรหัสสัญญาณเสียง, หรือเทคนิคการอัดไฟลลสัญญาณเสียงเลย เพราะตัว

สัญญาณเสียงที่สงผานระบบ VoiceSpan น้ันมิไดถูกแปลงใหอยูในรูปสัญญาณดิจิตัล ในทางกลับกัน ระบบ

VoiceSpan กลับเลือกที่จะใชเทคนิคการจัดการสัญญาณดิจิตัลที่มีอยูในอุปกรณโมเด็มสมัยใหมชนิด full-duplex,

equalized, echo-canceled modem ซึ่งอนุญาตใหมีการจัดสงสัญญาณทั้งแบบดิจิตัล และอนาล็อกไปพรอมๆ กันได

เลย

โดยตัวอุปกรณโปรเซสเซอร DSP ของ VoiceSpan จะทําการดัดแปลงสัญญาณเสียงใหอยูในรูป

สัญญาณ combined analog-and-data signal ที่เหมาะสมสําหรับการสงผานไปตามสายสัญญาณโทรศัพทแบบโบราณ

(POTS) ทั่วๆ ไปดวยการโมดูเลทสัญญาณแบบ QAM (Quadrature amplitude modulation) นอกจากน้ัน ระบบ

VoiceSpan ยังมีการระบุถึงวิธีการหมุนเลขหมายโทรศัพท หรือการตอบรับสัญญาณโทรศัพทที่เขามาไดทั้งแบบอัตโนมัติ

(automatic call/answer) และแบบที่ผูใชโทรศัพทดําเนินการเอง (manual call/answer) ไดดวย โดยการทํางานสอง

อยางน้ีจะสามารถจะใชงานไดกับทั้งอุปกรณโทรศัพททั่วๆ ไป, เครื่องโทรสาร, และอุปกรณืโมเด็ม ฯลฯ

สําหรับผลิตภัณฑอุปกรณสื่อสารย่ีหอแรกที่มีการนําเอาเทคนิค VoiceSpan ไปใชก็คือ ผลิตภัณฑโมเด็ม

Paradyne DataPort 2001 modem ซึ่งจําหนายมาพรอมกับโปรแกรมซอฟทแวร FarSite Whiteboard software มี

ความสามารถในการสงผานสัญญาณขอมูลไปผไดดวยความเร็วถึง 14.4 Kbps ในขณะที่ทํางานเหมือนอุปกรณโมเด็มทั่วๆ

ไป แตจะสงผานสัญญาณขอมูลดวยความเร็วขนาด 4800 bps ในระหวางที่มีการสงผานสัญญาณทั้งขอมูลคอมพิวเตอร

และเสียงพูดไปพรอมๆ กัน

ซึ่งนอกจากผลิตภัณฑ Paradyne DataPort 2001 modem ที่วาน้ีแลว ปจจุบันเทคโนโลยีการจัดการ

สัญญาณเสียง VoiceSpan น้ียังไดขายลิขสิทธิใหกับเหลาบริษัทผูผลิตอุปกรณคอมพิวเตอร และการสื่อสารโทรคมนาคม

อื่นๆ อีกมากมาย ทั้งที่เปนผูผลิตโทรศัพท, เกมสคอมพิวเตอร, อุปกรณคอมพิวเตอร, เครื่องโทรสาร, และเครื่องถาย

สําเนา ฯลฯ ดังน้ัน เราคงจะไดเห็นผลิตภัณฑประเภท VoiceSpan ชนิดใหมๆ ออกมาในตลาดภายในไมชาน้ี

อยางไรก็ตาม เมื่อเร็วๆ น้ี ก็ไดมีเทคนิคการจัดการสื่อสารดวยสัญญาณเสียงสําหรับการประชุมสัมนา

ทางไกลออกมาอีกชนิดหน่ึงภายใตช่ือ "VoiceView" อันเปนผลิตผลของบริษัท Radish Communications System

เปนเทคโนโลยีการสื่อสารที่อนุญาตใหผูใชสามารถรวมเอาการสื่อสารดวยเสียงพูด, ไฟลลขอมูล และสัญญาณแฟกซผาน

ไปตามสายสัญญาณโทรศัพทธรรมดาๆ (POTS) เพียงเสนเดียวได แตเทคโนโลยี VoiceView ดังกลาวน้ีจะไมอนุญาตให

สงผานสัญญาณทั้งสามรูปแบบไปพรอมๆ กัน ตองผลัดกันไปคนละที (sequentially switch)