CQI Poster presentation OPD 3 ˝ 9÷ ˙÷ ’ C ˇ + 4 12 % # - ÷ - 2 @ # 7...

37
1 รายการสงประกวด CQI Poster presentation ลําดับ ชื่อเรื่อง หนวยงาน หนา 1 จัดตั ้งคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผูปวยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่ไมสามารถควบคุมได OPD 2 2 ไตวาย ตายไว OPD 6 3 วางแผนดี ชีวิตดี ผูปวยในหญิง 12 4 Medication reconcilation (ลดรอยตอยาเรื้อรัง ) เภสัชกรรม 16 5 เสริมความรูความเขาใจและความรวมมือการใชยาฉีดอินซูลิน เภสัชกรรม 20 6 เสริมความรูความเขาใจและความรวมมือการใชยาของผูปวยโรคเรื้อรัง (DM/HT) เภสัชกรรม 22 7 การพัฒนาระบบการวางแผนจําหนายผูปวยติดเตียง ผูปวยในชาย 24 8 การพัฒนาคุณภาพการดูแลผูปวยโรคเบาหวานในหอผูปวยในชาย ผูปวยในชาย 28

Transcript of CQI Poster presentation OPD 3 ˝ 9÷ ˙÷ ’ C ˇ + 4 12 % # - ÷ - 2 @ # 7...

1

รายการสงประกวด CQI

Poster presentation

ลําดับ ชื่อเรื่อง หนวยงาน หนา

1 จัดตั้งคลินกิปรับเปลี่ยนพฤตกิรรมผูปวยเบาหวานและความดนัโลหิตสูงที่ไมสามารถควบคุมได

OPD 2

2 ไตวาย ตายไว OPD 6

3 วางแผนด ีชีวิตดี ผูปวยในหญิง 12

4 Medication reconcilation (ลดรอยตอยาเรื้อรัง) เภสัชกรรม 16

5 เสริมความรูความเขาใจและความรวมมือการใชยาฉีดอนิซูลิน เภสัชกรรม 20

6 เสริมความรูความเขาใจและความรวมมือการใชยาของผูปวยโรคเรื้อรัง (DM/HT)

เภสัชกรรม 22

7 การพัฒนาระบบการวางแผนจําหนายผูปวยตดิเตยีง ผูปวยในชาย 24

8 การพัฒนาคุณภาพการดแูลผูปวยโรคเบาหวานในหอผูปวยในชาย ผูปวยในชาย 28

2

ผลงานพัฒนาคุณภาพ CQI : Poster preasentation

1. ช่ือผลงาน/โครงการพัฒนา จัดตั้งคลินกิปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผูปวยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ไมสามารถควบคุมได

2. คําสําคัญ : คลินกิปรับเปลี่ยนพฤตกิรรม, ผูปวยเบาหวานและความดนัโลหิตสูงที่ไมสามารถควบคุมได

3. สรุปผลงานโดยยอ จากผลการดาํเนนิงานปที่ผานมาพบวา รอยละของผูปวยเบาหวานที่สามารถควบคุมระดบัน้ําตาล

34.65 รอยละผูปวยความดนัโลหิตสูงสามารถควบคุมความดนัโลหิตได 42.00 ซึ่งยงัไมบรรลุตามเปาหมายที่กําหนด จากการวิเคราะหสภาพปญหา พบวาปจจัยภายในตวัผูปวยที่กอใหเกิดพฤตกิรรมที่ยงัไมดแีละไมตอเนื่อง โดยเฉพาะ วัยสูงอายทุี่ตองพึง่พาผูอื่นในการดแูลตนเอง มีการรับรูดานการควบคุมอาหารไมถูกตองทั้งชนดิ ปริมาณ และ ความเคยชินในการรับประทานอาหารตามความชอบของตนเอง และขนบธรรมเนยีมประเพณีที่เปนอปุสรรคตอการควบคุมอาหาร รวมทั้งและดานเจาหนาที่ ระบบการดแูลรักษาจากเจาหนาที่สาธารณสุข ที่ขาดการประเมินปญหาอปุสรรคและการวางแผนรวมกันในการดแูลตนเองระหวางเจาหนาที่กับผูปวยทําใหไมไดดแูลหรือตอบสนองตามปญหาความตองการของผูปวยแตละราย รวมทั้งขาดการตดิตามและประเมินผลอยางตอเนื่อง นอกจากนี ้ดานการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย เชน ขาดแหลงสนบัสนนุที่เหมาะสมและตอเนื่องในการดแูลตนเอง ไดแก ขอมูลขาวสาร การเขาถึงบริการและคาใชจาย แรงสนบัสนนุรอบขาง

ทางโรงพยาบาลรามัน โดยคลินกิเบาหวานความดนัโลหิตสูง จึงไดมีการดาํเนนิงานตามปงปองจราจรชีวิต 7 สีโดยมีการแบงกลุม ผูปวยระหวาง กลุมที่ไมสามารถควบคุมระดบัน้ําตาลและความดนัโลหิตสูง กับผูปวยที่มีภาวะแทรกซอนของโรคระยะตางๆ สําหรับกลุมผูปวยที่ไมสามารถควบคุมระดบัน้ําตาลและความดนัโลหิตสูง จะใหคําปรึกษาตามสภาพปญหาที่วิเคราะหโดย NCM แลวสงเพื่อใหคําปรึกษาโดยทีมสหวิชาชีพตางๆ รูปแบบการสงเสริมการปรบัเปลี่ยนพฤตกิรรมสวนใหญเปนเพียงการใหสุขศึกษาหรือคําแนะนาํ ซึ่งยงัไมสามารถตอบสนองความตองการไดอยางถูกตอง จึงทําใหผูปวยยงัคงมีพฤตกิรรมที่ไมเหมาะสม สงผลทําใหไมสามารถควบคุมโรคได และเกิดภาวะแทรกซอนในที่สุด

4. ช่ือและที่อยูองคกร : โรงพยาบาลรามัน คลินกิเบาหวานและความดนัโลหิตสูง 5. สมาชิกทีม : นางนรูีซัน กะรียอ ตาํแหนงพยาบาลวิชาชีพชํานาญการ 6. เปาหมาย

6.1 ผูปวยเบาหวานและความดนัโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได

6.1 อัตราการเกิดภาวะแทรกซอนลดลงจากเดมิ

7. ปญหาและสาเหตโุดยยอ

โรคเบาหวาน และความดนัโลหิตสูง เปนปญหาวิกฤตของสังคมโลกและประเทศไทย ทั้งปญหาสุขภาพ ปญหาเศรษฐกิจและสังคม สงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของผูปวย ครอบครัว และสังคม กลุมโรคดงักลาวเปนผลมาจาก พฤตกิรรมการบริโภคอาหารที่ไมเหมาะสม การมีกิจกรรมทางกายที่ไมเพียงพอ การสูบบุหรี่การบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล และการจัดการกับความเครียด รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา” ไดแก ภาวะความดนัโลหิตสูง ภาวะน้ําตาลในเลือดสูง ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ และภาวะน้ําหนกัเกิน/โรคอวน การดาํเนนิการปองกันจึงเปนสิ่งสําคัญที่ทุกคนตองตระหนกั โดยเฉพาะบุคลากรทาง ดานสุขภาพที่ปฏิบัตงิาน

3

การดาํเนนิ หนวยบริการ ที่จะตองดาํเนนิการปองกันโรคไมตดิตอเรื้อรัง ดวยการปรับเปลี่ยนใหมีพฤตกิรรมที่เหมาะสม แตจากการดาํเนนิงานที่ผานมาพบวา รูปแบบการสงเสริมการปรับเปลี่ยนพฤตกิรรมสวนใหญเปนเพียงการใหสุขศึกษาหรือคําแนะนาํ และการจัดบริการใหเหมาะสมกับแตละบุคคลรวมทั้งยงัไมมีคูมือแนวปฏิบัตใินการสงเสริมการปรับเปลี่ยนพฤตกิรรมเพื่อปองกันโรคไมตดิตอเรื้อรัง ในผูใชบริการทั้งกลุมเสี่ยงและกลุมปวยที่ชัดเจน และเปนมาตรฐานเดยีวกัน จึงทําใหผูใชบริการทั้งกลุมเสี่ยงและกลุมปวยยงัคงมีพฤตกิรรมที่เสี่ยงตอการเกิดตอโรคไมตดิตอเรื้อรัง

ดงันั้นการปองกันดวยการปรับเปลี่ยนใหมีพฤตกิรรมที่เหมาะสมจึงเปนสิ่งสําคัญที่บุคลากรทางดานสุขภาพตองตระหนกัและใหความสําคัญ ถึงแมคนสวนใหญจะรู ตระหนกั เขาใจถึงพิษภัยของพฤตกิรรมสุขภาพที่เสี่ยงอันตรายตอโรค แตการกาวขามความเคยชินของพฤตกิรรมเดมิๆ ไมใชเรื่องงายนกั ตองใชทั้งความมุงมั่น ความมั่นใจวาปฏิบัตไิด ความเขาใจถึงอุปสรรคหรือขีดขอจํากดั เคล็ดลับสูการเปลี่ยนแปลง กําลังใจและความชวยเหลือของเพื่อนและคนรอบขาง การจัดการตนเอง (Self management) และสิ่งแวดลอม (Environmental management) เพื่อใหเกิดการดแูลตนเอง (Self care ) จนเปนนสิัย การปรับเปลี่ยนพฤตกิรรมของคนจากสิ่งที่เคยทํา เคยชิน มาสู พฤตกิรรมใหม ผูใหคําปรึกษา/ทีมสหวิชาชีพตองมีความเขาใจในธรรมชาตขิองคนที่ซอนเรนปลูกฝง แนวคิด ความเช่ือ แรงจูงใจ ที่จะนาํไปสูการมีพฤตกิรรมสุขภาพที่ด ีตลอดจนกระบวนการ เทคนคิ เคล็ดลับตางๆ ที่จะนาํไปสูการใหความชวยเหลือ ใหผูรับบริการกาวขามผานอปุสรรคตางๆ ที่เปนขอจํากดั ตลอดจนเสริมสมรรถนะและทักษะที่จําเปนแกผูรับบริการ

8. กิจกรรมการพัฒนา

8.1 ทบทวนตวัช้ีวัดในทีม NCD Bord เพื่อรวมวิเคราะหปญหา และรวมวางระบบการดาํเนนิงาน

8.2 แตงตั้งคณะทํางาน

8.3 กําหนดวันที่ใหบริการคลินกิปรับเปลี่ยนพฤตกิรรม ซึ่งเปนทุกวันพธุของสัปดาห

8.4 กําหนดเกณฑการคัดเลือกผูปวยเพื่อเขาคลินกิปรับเปลี่ยนพฤตกิรรม ดงันี้

- ผูปวยรายใหม - ผูปวยที่เริ่มใชยาฉีด - ผูปวย DM HT Poor control - ผูปวย Admitt - ผูปวยเริ่มมีแผลที่เทา - ผูปวยที่มีภาวะ Hyper-Hypoglycemia บอย - ผูปวยปฏิเสธการรักษา

8.5 จัดทําสัญลักษณเพื่อบงช้ีผูปวย และสื่อสารเจาหนาที่ที่เกี่ยวของในการสงผูปวยเขาคลินกิปรับเปลี่ยนพฤตกิรรมในวันพธุของทุกสัปดาห โดยการนดัผูปวยวันละ 10 ราย 8.6 จัดเตรียมสื่ออุปกรณ ในการใหคําปรึกษา เชน แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤตกิรรมคลินกิ NCD คุณภาพของ สปสช., คูมือแผนการสอนเกี่ยวกับโรค Model ตวัอยางอาหาร ภาพพลิก แผนพับ ปายสีปงปอง 8.7 ประเมินและวิเคราะหปญหาของผูปวยรายบุคคล

4

8.7 ใหคําปรึกษาผูปวยโดยใชกรอบแนวคิด ตามคูมือการดาํเนนิงานการปรับเปลี่ ยนพฤตกิรรมคลินกิ NCD คุณภาพของ สปสช พรอมสงปรึกษาทีมสหวิชาชีพกรณีมีปญหาเฉพาะดาน 8.8 บันทึกผลการใหคําปรึกษาในประวัตผิูปวยใน Host xp และในทะเบียนรวม 8.9 ตดิตามและประเมินผลการใหคําปรึกษา 3 VISIT 8.10 สรุปผลการดาํเนนิงาน

9. การวัดผลและผลของการเปลีย่นแปลง

5

รอยละผูปวยเบาหวานเกิดภาวะแทรกซอน

10. บทเรียนที่ไดรับ

10.1 ไดทราบถึงปญหาผูปวยเฉพาะราย

10.2 สามารถวางแผนการดแูลที่สอดคลองกับบริบทผูปวย

10.3 ครอบครัวมีสวนรวมในการวางแผนการดแูลผูปวย

10.4 เกิดสัมพันธภาพที่ดรีะหวาง NCM กับผูปวย

11. การติดตอกับทีมงาน : นรูีซัน กะรียอ แผนกผูปวยนอก e-mail [email protected]

6

1. ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนา : วางแผนด ีชีวิตด ี2. คําสําคัญ : การวางแผนการจําหนายคือการวางแผนจําหนายผูปวย เปนการเตรียมผูปวยใหมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับโรคและการปฏิบัตติวัเมื่อกลับไปอยูบาน เพื่อใหผูปวยสามารถดแูลตนเองไดและอยูอยางมีความสุข การวางแผนการจําหนายแบบ D-M-E-T-H-O-D คือ การวางแผนการจําหนายผูปวย เปนกระบวนการที่เกิดข้ึนภายหลังการประเมินและวินจิฉัยปญหา แลวรวบรวมขอมูลมาใชวางแผนรวมกันระหวางทีมสหสาขาวิชาชีพกับผูปวยและครอบครัวโดยกาํหนดเปาหมายระยะสั้น ระยะยาวและวิธีประเมินผล รวมทั้งเนื้อหาในแผนการจําหนายผูปวย เฉพาะสําหรับผูปวยแตละคน ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนไดตลอดเวลาตามความเหมาะสม เพื่อใหผูปวยและญาตไิด ความรูอยางครบถวนจึงขอเสนอแผนการจําหนายผูปวยที่ถูกพัฒนาเปนรูปแบบที่ชัดเจน ในลักษณะของกิจกรรมการพยาบาลตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D

3. ชื่อและที่อยูขององคกร : งานผูปวยในหญิงโรงพยาบาลรามัน

4. สมาชิกทีม : นางสาวกามีละ มะล ี5. เปาหมาย :

1. เพื่อใหผูปวยไดรับการวางแผนการจําหนายตรงตามโรคและภาวะที่เปน 2.เพื่อลดอตัราการRe-admit ในแตละโรค 3.มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการวางแผนจําหนายผูปวย 4.ตระหนกัถึงความสําคัญของการเตรียมผูปวยกอนจําหนาย 5.สามารถใชความรูทางดานบริหารและการพยาบาลมาประยกุตในการวางแผนจําหนายผูปวยได 6.ปญหาและสาเหต ุ: (ที่มาของปญหา)

แผนกผูปวยในหญิงเปนแผนกที่ใหบริการผูปวยที่นอนโรงพยาบาล โดยแยกเปนผูปวยเตยีงสามัญ ผูปวยชาย-หญิงหองพิเศษ และผูปวยชายหญิงหองแยก โดยจํานวนผูปวยในแตละป ป 2555ผูปวยที่นอนรพ.ในตกึผูปวยในหญิงทั้งหมด 2,621ราย ป 2556ผูปวยที่นอนรพ.ในตกึผูปวยในหญิงทั้งหมด 2,698 ราย ป 2557 ผูปวยที่นอนรพ.ในตกึผูปวยในหญิงทั้งหมด 2,553 ราย ทั้งนี้โดยสวนใหญ และพบวา เปนผูปวยเดก็ ตั้งแตอาย ุ0-5 ป ในป 2555 ทั้งหมด 514 ราย ป 2556 ทั้งหมด 529 ราย ป 2557 ทั้งหมด 480 ราย และพบผูปวยสูงอายทุี่ทีอายมุากกวา 60 ปข้ึนไป ทั้งหมด ป 2555 ทั้งหมด 539 ราย ป2556 ทั้งหมด513 ราย และป 2557 ทั้งหมด 532 ราย ซึ่งโดยสวนใหญและทางตกึผูปวยในหญิง พบวา มีรายงานอตัราการre-admit ป255ทั้งหมด 483 ราย

ปจจุบันการแพทยมีความกาวหนามากข้ึน ผูปวยเรื้อรังและพิการจากอุบัตเิหตกุ็มากข้ึน ผูปวยเรื้อรัง พิการที่ไมสามารถรักษาใหหายไดแตสามารถสอนใหผูปวยและญาตเิขาใจในโรคที่เปนอยูและสามารถปรับเปลี่ยนพฤตกิรรมในการดาํรงชีวิต เพื่อฟนฟูสภาพและปองกันภาวะแทรกซอนที่จะเกิดข้ึน การดแูลสุขภาพแบบองครวม ควรใหความรูที่เหมาะสมโดยคํานงึถึงปจเจกบุคคล ควรดวูาผูปวยจะอยูจะกินอยางไร ปรับตวัใหเขากบัการดาํรงชีวิตอยางไร อยูกับความปวยอยางไรใหเปนสุข โดยญาตสิามารถดผููปวย/ผูปวยดูแลตวัเอง มีพฤตกิรรมที่สอดคลองกับวิถีชีวิตของตวัเอง ซึ่งพยาบาลเปนผูปฏิบัตหินาที่จัดการดแูลผูปวย เตรียมญาต/ิผูปวยใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับโรคและการปฏิบัตติวั สามารถชวยเหลือตนเองไดตามสภาพและอยูอยางมีความสุข เมื่อกลับไปอยูบาน โดยใชการวางแผนจําหนายผูปวย

การวางแผนการจําหนายผูปวย เปนกระบวนการที่เกิดข้ึนภายหลังการประเมินและวินจิฉัยปญหา แลวรวบรวมขอมูลมาใชวางแผนรวมกันระหวางทีมสหสาขาวิชาชีพกับผูปวยและครอบครัวโดยกําหนด

7

เปาหมายระยะสั้น ระยะยาวและวิธีประเมินผล รวมทั้งเนื้อหาในแผนการจําหนายผูปวย เฉพาะสําหรับผูปวยแตละคน ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนไดตลอดเวลาตามความเหมาะสม เพื่อใหผูปวยและญาตไิดความรูอยางครบถวนจึงขอเสนอแผนการจําหนายผูปวยที่ถูกพัฒนาเปนรูปแบบที่ชัดเจน ในลักษณะของกิจกรรมการพยาบาลตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D ซึง่มีรายละเอียดดงันี ้

ผูปวยตวัอยาง ผูปวยหญิงไทย อายุ 44 ป Diagnosis Quadriplegia (fracture C5-6, fracture Lt forearm,

fracture Rt radius) อาชีพรับจาง มีภรรยามาเฝาปจจุบันภรรยาไมไดทํางาน อาการปจจุบัน ผูปวยรูสึกตวัด ีพูดคุยรูเรื่องแตไมคอยพูด ชวยเหลือตวัเองไมได คันศีรษะเปนวงขาว ผมรวง ยกแขน ขา ขวาได มีแผลเปดและใส Plate แขนซายแผลดแีพทยวางแผนเยบ็สัปดาหนี ้ใสสายสวนปสสาวะไว ปสสาวะออกดีมีตะกอนขุน ยาที่ผูปวยไดรับ

-CaCO3 1 tab OD pc -Brufen 200 mg. 1x3 pc -Vit C 500 mg 1x3 pc -PCM 500 mg. 1xprn -Baclofen 10 mg. ½ bid -MTV 1x2 bid -Daflon 1 tab hs -Metamucil 1 ซอง hs ถาไมถาย -Tar shampoo สระผมวันเวนวัน -กายภาพบําบัดเชาและบาย -เพิ่มไขมื้อละ 1ฟอง

การวางแผนจําหนายตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D D=Diagnosis ใหความรูเรื่องโรคที่เปนอยู เกี่ยวกับสาเหต ุอาการ การปฏิบัตติวัที่ถูกตอง สําหรับผูปวยรายนี ้Quadriplegia มีสาเหตจุากการหักของกระดกู C5-6 แลวไปกดทับเสนประสาท

ที่ควบคุมความรูสึกและการทํางานของแขน ขา ทําใหผูปวยไมสามารถเคลื่อนไหวรางกายได สิ่งที่จะชวยใหดีข้ึนไดคือการทํากายภาพบําบัด เพื่อใหผูปวยสามารถ ทํากจิวัตร ประจําวันไดบาง เชน ดื่มน้ํา รับประทานอาหาร หรืออาจฝกอาชีพได สิ่งที่ตองระวังคือภาวะแทรกซอนที่จะเกิดข้ึน เชน อุบัตเิหตจุากของรอน พลัดตกหกลม การตดิเช้ือในระบบทางเดนิปสสาวะ การเกิดแผลกดทับ

M=Medication ใหความรูเกีย่วกับยาที่ตองรับประทานอยางตอเนื่องที่บาน ช่ือยา ฤทธ์ิของยา วิธีการใช ขนาด จํานวนครั้ง ระยะเวลาที่ใช ขอควรระวังในการใชยา ผลขางเคียง ขอหามสําหรับการใชยา การเก็บรักษายา -การทําลายเข็มและ Syringe ที่ใชแลว

สําหรับผูปวยรายนี ้ -CaCO3 1 tab OD pc เปนแคลเซียมชวยเสริมสรางกระดกูควรดื่มน้ํามากๆเพราะจะถูกขับออกมา

ทางไตอาจทําใหเกิดนิ่วในกระเพาะปสสาวะได หรืออาจทําใหเกิดอาการทองผูกได -Brufen 200 mg. 1x3 pc เปนยาลดการอักเสบและแกปวด ยานี้ควรรับประทานหลังอาหารทันที

หรือพรอมอาหารเพราะยานี้จะกัดกระเพาะ ใหญาตคิอยสังเกตอุจจาระดวยวาดาํหรือไม -Vit C 500 mg 1x3 pc ชวยสงเสริมการหายของแผล ปองกันการเปนหวัด รับประทานมากๆ นานๆ

อาจทําใหเกิดนิ่วไดควรดื่มน้ํามากๆ -PCM 500 mg. 1xprn แกปวดลดไข เวลาปวดหรือมีไข รับประทานวันละไมเกิน 8 เม็ด มีผลตอตบั -Baclofen 10 mg. ½ bid ลดการหดเกร็งของกลามเนื้อลาย อาจทําใหมีอาการคลื่นใสอาเจียน

8

-MTV 1x2 bid เปนวิตามนิบํารุง -Daflon 1 tab hs ชวยใหการไหลเวียนของเลือดดข้ึีน -Tar shampoo สระผมวันเวนวันชวยรักษาโรคผิวหนงัที่ศีรษะ ยาทกุชนดิควรเก็บไวในที่แหง ไมถูกแสงและเก็บใหพนมือเดก็ E = Environment & Economic กระตุนใหผูปวย/ญาต ิเห็นความสําคัญของการใชสถานบริการ

สุขภาพในชุมชน ปญหาดานเศรษฐกิจ สังคม บางรายอาจตองการฝกฝนอาชีพ -ใหคําแนะนาํเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดลอม ที่บานใหเหมาะสมกับภาวะสุขภาพ สอบถามวาสถานบริการสุขภาพใกลบานคือที่ไหนหากมีปญหา ก็ใหไปปรึกษาเพื่อลดคาใชจายที่ตองเดนิทางมาไกล ควรทําเตยีงที่มีที่ใหผูปวยดงึอยูดานบนเพื่อใหผูปวยดงึตวัลุกนั่งไดและชวยเหลือตวัเองไดในบางกิจกรรม มีแสงสวางใหมองเห็นชัดเจน เตยีงไมสูงมาก เพื่อปองกันอบุัตเิหต ุหรือชวยในการฝกอาชีพ T = Treatment แนะนาํผูปวย/ญาต ิใหเขาใจเปาหมายการรักษา -แนะนาํใหปฏิบัตกิิจกรรมการรักษา เชน การทําแผล ใหอาหารทางสายยาง การ Suction กายภาพบําบัด -แนะนาํวิธีการใชและวิธีทําความสะอาดอปุกรณ เครื่องมือ -แนะนาํแหลงที่จะหาเครื่องมือ เครื่องใช เชน อนามยั - แนะนาํความรูในการเฝาระวังและจัดการกับภาวะฉุกเฉิน/อาการผิดปกต ิ สอนเรื่องการทําแผลที่แขน การดแูลปองกันการตดิเช้ือในระบบทางเดนิปสสาวะ ใหสังเกตอาการที่บงบอกวามีการตดิเช้ือ ไดแก อาการไข ปสสาวะขุน มีสีแดง การเปลี่ยนถุงรองรับปสสาวะ 28 วัน/ครั้ง การเปลี่ยนสายสวนเมื่อ สายอุดตนั รั่ว และเปลี่ยนเมื่อระยะเวลานานที่สุดที่ไมมีหินปูนเกาะมากจนเปนอุปสรรคตอการดงึสายสวนออก โดยทอลองดงันี ้คาสายสวน 2 wks แลวเปลี่ยนถาไมพบหินปูนที่ปลายสายสวน ครั้งตอไปใหเปลี่ยน 4, 6, 8 wks การปองกันการตดิเช้ือดงันี ้

1.ลางมือกอนสัมผัสสายสวนทุกครั้ง 2.ดแูลสายสวนใหเปนระบบปด สายไมหักพับงอ อุดตนั ถาเคลื่อนยายใหหนบีสายสวนไว 3.เทปสสาวะออกเมื่อมีน้ํา ¾ ของถุงหรือทุก 8 ชม. 4.หากถุงหรือสายสวนรั่วใหเปลี่ยนใหมทั้งชุด 5. ใช alcohol 70% ชุบสําลีเช็ดปลายทอกอนเทปสสาวะและระวังไมใหทอเปดเทสัมผัสกับภาชนะ

รองรับ 6.ทําความสะอาดดวยน้ําและสบูเชาเยน็และหลังขับถายอจุจาระ 7.ตรวจสอบการตรึงสายไมใหเลื่อนเขาเลื่อนออก

H=Health ใหความรูเกี่ยวกับขอจํากดัในการทํากจิกรรมใหเหมาะสมกับภาวะสุขภาพ -กระตุนใหผูปวย/ญาต ิมีสวนรวมในการเลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ รวมทั้งปรับตวัเพื่อสงเสริมการ ฟนฟสูภาพและการปองกันภาวะแทรกซอนตาง ๆ ใหญาตติดิตามไปกายภาพทุกวันเพื่อฝกการทํากายภาพใหผูปวย และใหผูปวยใชแขนขาขางขวา ชวยพยงุแขน ขา ขางซาย เพื่อออกกําลังกายเพราะจะทําใหรางกายคอยๆฟนตวัไดใหขยนัทําบอยๆ การจัดการกับความเครียดเมื่อชวยเหลือตวัเองไดมากข้ึนอาจฝกอาชีพ หรือการใชศาสนาเปนสิ่งยดึเหนี่ยวจิตใจ สามารถชวยลดความเครียดได O=Outpatient referral ช้ีแจงใหผูปวย/ญาตติระหนกั/เขาใจถึงความสําคัญของการมาตรวจตามนดัและอาการผิดปกตทิี่ตองมากอนนดั

9

-การตดิตอขอความชวยเหลือจากสถานบริการใกลบาน - ประสานงานกบัศูนย HHC เพื่อตดิตามการดแูลตอเนื่อง บันทึกขอมูลลงแบบบันทึกการจําหนายและการสงตอ ใหกับศูนย HHC เพื่อการวางแผนการเยี่ยมบาน เมื่อมีปญหาใหตดิตอสถานบริการใกลบาน เชนสถานอีนามัย โรงพยาบาลชุมชนใหมาตรวจตามนดั เพื่อเปนการประเมินผลการรักษาและปรับวิธีการรักษา

แบบบันทึกการดูแลตอเนื่องที่บานโรงพยาบาลรามัน สวนที ่1.หอผูปวยบันทึกขอมูล วันที่แจงทีมเยี่ยมบาน...........................หอผูปวย...................................................... ไมตองใชทีม( ) ตองใชทีม ระบ ุ( )กายภาพบําบัด ( )โภชนากร ( )เภสัชกร ( )manager โรค ( ) อื่นๆ ช่ือ-สกุลผูปวย.............................................อาย.ุ........ป เลขประจําตวัโรงพยาบาล........................ ที่อยู...............................................................เบอรโทรศัพท.............................. วันที ่Admit……………………..วันที่ จําหนาย.................................แพทยที่จําหนาย............. ปวยเปนโรค...................................................... อาการที่มาโรงพยาบาล............................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ผูดแูลหลักช่ือ1..............................................................เกี่ยวของเปน..............................ของผูปวย สภาพผูปวยกอนจําหนาย q ปวยตดิบาน(ชวยเหลือตวัเอไดบาง) q ผูปวยตดิเตยีง (ชวยเหลือตนเอไมได) q ผูปวยทั่วไป ประเภทการเยี่ยมบานq เยี่ยมบานเพื่อประเมิน q เยี่ยมบานเพื่อดแูลตอเนื่อง q เยี่ยมบานผูปวยระยะสุดทาย q อื่นๆ ระบ.ุ......................................... ยากลับบาน...................................................................................................................................... แผนที.่. ปญหาที่ตองดูแลตอที่บาน

q NG Tubeq Foley’cath q Tracheostomy q On O₂ q Wound care (ระบุลักษณะแผล

ดวย)...................................................................................................................................

q อื่นๆ..................... ผูปวยใหความสําคัญกับปญหา (ตอบไดมากกวา 1ขอโดยใหเขียนหมายเลขลําดบัหนาขอที่เลือก ( )ความเจ็บปวด ( ) อาการที่ปวย ( ) เศรษฐกิจ กิจกรรมการสอนและการประเมินผล หัวขอการประเมินการดแูลตนเอขอผูปวย/ผูดแูล(บันทึกโดยทีมสุขภาพใน รพ.)

ประเมินผลกอนจําหนาย

ช่ือผูประเมิน (ใน รพ.)

ประเมินผล (ทีมเยี่ยมบาน)

ปญหาที่พบ/การแกไขบันทึกโดยทีมเยี่ยมบาน

ได ไมได ได ไมได

1.บอกไดวาเจ็บปวยมา รพ.ดวยโรคอะไร

10

2.บอกไดวาตองดแูลแผล/อุปกรณการแพทยที่ตดิตวัอยางไร

3.บอกไดวามียาอะไร วิธีการใชยา/อาการขาเคียง การเก็บรักษา

4.บอกไดวาอาหารที่รับประทานเพิ่ม/ตองงด ตองลด มีอะไรบาง

5.บอก/แสดงวิธีการออกกําลังกายที่บานหรือที่ชุมชนได ระบุ..........................

6.บอกอาการผิดปกตแิละวิธีการแกไขเบื้องตนได

7.บอกไดวาตองมีการปรับเปลี่ยนที่อยูอาศัย สิ่งแวดลอมอยางไรบางระบ ุ

8.บอกไดวาตองไปรับบริการตอที่ไหน เมื่อไหร อยางไร

9.เดก็ปวยผูดแูลเดก็สามารถบอกวิธีการดแูลเดก็ได

10.หญิงตั้งครรภที่มีภาวะเสี่ย สามารถบอก/สังเกตอุาการผิดปกตทิี่ตอมาพบแพทยได

11.อื่นๆ................................................. ............................................................

สวนที ่2. ทีมเยี่ยมบานบันทึกขอมูล สภาพผูปวยที่พบและการใหบริการพยาบาลที่บาน T…….�c PR……./min BP…………….mmHg DTX…….mg% \อาการ................................................................................................................................ การประสานงานกบัหนวยงาน/แหลประโยชนอื่......................................................................................................... สรุปผลการเยี่ยมผูปวยที่บาน (ผูปวยทุกราย ขอใหบันทึกใหครบตามหัวขอการประเมิน) 1.ระดบัครอบครัวคุณภาพ qมีคุณภาพ (ทําได/สอนคนอื่นได) qระดบัด ี(ทําได/สอนไมได) qปรับปรุง(ตองพึ่งทีมสขุภาพ) 2.อาการตดิเช้ือขอผูปวย q ไมมี q มี ระบ.ุ..................................................................................... (เชน ผูปวยสายสวนตางๆ ปอดบวม ตดิเช้ือทาเดนิปสสาวะ แผลผาตดับวม แดง รอน มีสิ่งคัดหลั่งจากแผล ไข ) 3.เกิดภาวะแทรกซอนที่บาน q มี ระบุลักษณะ/ตาํแหนง……………………………………………………..q ไมมี (เชน ผูปวยที่มีแผล Bed sore ขอตดิ ขอเทาตก อาการแทรกซอนอยางอื่นๆ ยกเวนในรายที่มีภาวะแทรกซอนใน รพ.กอนจําหนาย)

11

4.ไมพบผูปวย ระบุสาเหต ุq ยายที่อยู q เสียชีวิต q อื่นๆระบุ......................................................................... 5.กรณีไปตดิตามเยี่ยมชาเกิน 2 สัปดาห ขอใหระบุสาเหตุ............................................................................................ วันที่เยี่ยม.....................................................ช่ือผูเยี่ยม (ตวับรรจง)...........................................................................

D = Diet ใหความรูเรื่องอาหารเฉพาะโรค หลีกเลี่ยงหรืองดอาหารที่เปนอนัตรายตอสุขภาพ -แนะนาํแหลง/สถานที่ใหคําปรึกษาเมื่อมีปญหาเรื่องอาหาร แนะนาํใหรับประทานอาหารโปรตนีสูงเชน เนื้อ นม ไข วิตามินสูง เพื่อสงเสริมการหายของแผล สรุป

การวางแผนจําหนายเปนกระบวนการที่พยาบาล ผูปวย และญาติ ตลอดจนบุคลากรทีมสหสาขา จะตองรวมกันใชความรูเฉพาะของศาสตรแตละสาขาวางแผนในการดแูลผูปวย หลังจากประเมินสภาพผูปวย พยาบาลเปนผูชวยคิดและวางแผนการปรับตวัรวมกับผูปวยและครอบครัว ในการปรับเปลี่ยนพฤตกิรรม เพื่อชวยใหผูปวยฟนหายจากภาวะโรค ยอมรับความพิการ สูญเสียภาพลักษณ สามารถกลับมาดาํรงชีวิตอยูได โดยสามารถดแูลตวัเอง มีพฤตกิรรมการดาํรงชีวิตสอดคลองกับวิถีชีวิตและศักยภาพของผูปวยแตละคน

กี่ว ันทีน่อนไขไมรูสม จะนอนซมกี่ไข กี่ไขไมรูหาย พอไขสางเห็นนางฟามารอบกาย ความทุรนทุรายคอยบรรเทา

8.การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ผลของการเปลี่ยนแปลง ตวัช้ีวัด 1.ไมพบอุบัตกิารณผูปวยไดรับอุบัตเิหตพุลัดตกหกลม ตกเตยีง

9.บทเรียนที่ไดรับ 1.การดาํเนนิการแนวทางการเฝาระวังผูปวยพลัดตกหกลม ผูปวยตกเตยีง ทําใหเพิ่มความตระหนกั

ตอเจาหนาที่และญาตใินการเฝาระวังการเกิดอบุัตเิหตกุับผูปวย ทําใหผูปวยไดรับการปองกันกอนที่จะเกิดเหตกุารณ ซึ่งบางครั้งอาจทําใหเกิดความรุนแรงแกผูปวยได

2.ทําใหอุบัตกิารณการเกิดพลัดตกหกลม ผูปวยตกเตยีง มีแนวโนมลดลง 3.ทําใหมีแนวทางการในปฏิบัตเิมื่อผูปวยเกิดอบุัตเิหตข้ึุนได เพื่อปองกันความรุนแรงที่อาจเกิดกบั

ผูปวย

12

1. ชื่อผลงาน ; CKD(chronic kidney disease) ชีวิตดีดี ้ 2. คําสําคัญ : CKD(chronic kidney disease) , แนวทางการดแูลผูปวย CKD 3. สรุปเรื่องเลาโดยยอ :

ผูปวยในหญิงใหบริการรักษาพยาบาลผูปวยหญิงตั้งแตแรกเกิดข้ึนไป แผนกผูปวยสามัญ ผูปวยหองพิเศษทุกเพศ และผูปวยที่มีการแพรกระจายเช้ือในระบบทางเดนิหายใจ ใหบริการตามมาตรฐานวิชาชีพรวมกับทีมสหวิชาชีพและวางแผนจําหนายอยางมีประสิทธิภาพ จากรายงานประจําป2557 ผูปวยCKD เปนโรคที่มีการสงตอเปนอนัดบั 1 ของตกึผูปวยในหญิงโดยมีทั้งหมด 13 รายเพื่อพบแพทยเฉพาะทาง ในการดแูลผูปวย CKD ที่admit ในตกึผูปวยในหญิงนั้นหากไดมีการดแูลตามอาการและ stage ที่ผูปวยเปนอยางเหมาะสมรวมกับทีมสหวิชาชีพจะทําใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ด ี 4. ชื่อและที่อยูขององคกร : ตกึผูปวยในหญิงโรงยาบาลรามัน 5. สมาชิกทีม :นางผิลยาณี บือซา 6. เปาหมาย ; 1.ผูปวย CKD มีความรูความเขาใจในการปฏิบัตติวัเกี่ยวกับโรค

2.เพื่อใหเจาหนาที่ปฏิบัตติามแนวทางการดแูลผูปวย CKD เหมาะสมตาม stage 7. ที่มาของปญหา : 1. ผูปวย CKD มีความรูความเขาใจในการปฏิบัตติวัเกี่ยวกับโรค 2.เจาหนาที่ไมรูแนวทางการดแูลผูปวย CKD แตละ stage 8. กิจกรรมการแกปญหา / พัฒนา : 1. ประชุมช้ีแจงแนวทางการดแูลผูปวย CKD แตละ stage และช้ีแจงแนวทางที่จะดาํเนนิการ

2. กําหนดผูรับผิดชอบควบคุมการปฏิบัตงิานของหนวยงาน 3. สรางแบบฟอรมการประเมิน

4. บันทึกโดยเก็บขอมูลผูปวยในสมุด CKD ward 5.ใหความรูผูปวยแตละ Stage 6.มีแนวทางการดแูลผูปวย CKD แตละ stage 9. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น : มีแนวทางการทางการดแูลผูปวย CKD แตละ stage และมีการประเมินระบบการทํางานอยางเปนระบบ 10. บทเรียนที่ไดรับ : ในเก็บขอมูลผูปวย CKD ผูปวยการประสานงานกบัหนวยงานตางๆ จําเปนที่จะตอง

สรางความเขาใจ ความรวมมือเปนอยางมาก จําเปนที่จะตองสื่อสารหลายๆครั้ง 11. การติดตอกับทีมงาน : นางผิลยาณี บือซา โรงพยาบาลรามัน 073-295098 ตอ 135

13

ผลการดําเนนิงาน

หนวยงาน ผลการปฏิบัตติามแนวทาง (รอยละ)

Wardหญิง ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ผูปวย CKD มีความรูความเขาใจในการปฏิบัตติวัเกี่ยวกับโรค

เจาหนาที่ปฏิบัตติามแนวทางการดแูลผูปวย CKD เหมาะสมตาม stage

14

แบบฟอรมประเมินการปฏิบัติตามแนวทางของเจาหนาที่ Ward หญิง รายช่ือหนวยงาน Ward หญิง

CKD แตละ Stage

แนวทาง (คะแนน) รวมคะแนน

คิดเปนรอยละ

ทําแบบประเมิน (10)

ใหสุขศึกษา (10)

เก็บขอมูล/บันทึก (10) แจงผูรับผิดชอบ (10)

40 100

15

แบบประเมินความรูความเขาใจเกี่ยวกับโรคในการปฏิบัตติวัเกี่ยวกับ CKD(chronic kidney disease)ของผูปวย CKD ที่รับการรักษาแบบผูปวยในโรงพยาบาลรามัน อ.รามัน จ.ยะลา คําช้ีแจง.. โปรดทําเครื่องหมาย(/)หนาขอที่ทานคิดวาถูก ทําเครื่องหมาย(x)หนาขอที่ทานคิดวาผิด 1...............โรค ไตวายเรื้อรังเปนโรคที่รักษาไดโดยการรับประทานยา จํากดัน้ํา คุมอาหาร 2................การกินอาหารรสเค็ม มีไขมัน เปนสาหตทุี่ทําใหไตวาย 3................โรคเบาหวาน ความดนั เปนสาเหตหุนึ่งที่ทําใหไตวาย 4................โรคไตวายหยดุยาเองได กินยาสมุนไพรได 5................เมื่อถึงกําหนดนดัไมจําเปนตองมารพ. 6…………โรคไต จะมีอาการซีด เพลีย บวม หายใจเหนื่อย 7............... เมือ่มีอาการบวม หายใจเหนื่อย ตองรีบมาโรงพยาบาล 8................ญาตติองมีสวนรวมในการดแูลผูปวย 9…………การลางไตทางหนาทอง เปนการบําบัดโรคไตวาย 10..............การลางไตทางหนาทอง สามารถใหผูปวยใชชีวิตไดตามปกต ิ คะแนน.......................................................................................................... ผูประเมิน....................................................................................................... วันที.่..............................................................................................................

16

1. ชื่อผลงาน : medication reconciliation system 2. คําสําคัญ medication reconciliation 3. สรุปผลงานโดยยอ เนื่องจากผูปวยมารับยาหลายที ่หลายโรงพยาบาล ถึงแมจะปนโรงพยาบาล

เดยีวกันก็ตาม ผูปวยกย็งัมารับยาหลายครั้งกวาที่ผูปวยจะถึงนดั บางครั้งผูปวยมาโดยโรคทั่วไป มารับการรักษา บางครั้งผูปวยก็ทานยาเฉพาะยาที่เปน ณ ปจจุบัน ทําใหยาที่ผูปวยตองรับประทานทุกวันถูกลืมหายไป บางครั้งผูปวยตองนอนโรงพยาบาล รักษาเฉพาะภาวะฉุกเฉินเมื่อดข้ึีนสงผูปวยกลับบบานแตยาเดมิ ยาเรื้อรังไมไดใหยา ทําใหผูปวยกลับบานไมไดยา มาอีกครั้งดวยโรคที่รุนแรงมากข้ึนกวาเดมิ การทํา medreconcile จึงมความจําเปนเพื่อลดรอยตอของการรับยา

4. ช่ือและที่อยูองคกร ฝายเภสัชกรรม 5.สมาชิกในทีม ริฏา มุสลีมาณุกูล 6 .เปาหมายเพื่อลดเหตกุารณตางๆ ดงันี ้♠ การไมไดรับยาที่เคยใชอยูอยางตอเนื่อง ♠ การที่ไมไดหยดุยาบางตวักอนเขารับการทําหัตถการบางอยาง ♠ การที่ไมไดรับยาที่เคยใชอยูตอหลังจากแพทยสั่งหยดุใชช่ัวคราว ♠ การที่ผูปวยใชยาซํ้าซอนเพราะไมทราบวาแพทยสั่งเปลี่ยนยาแลว ♠ การที่ผูปวยยงัใชยาในขนาดเดมิตอไปทั้งที่แพทยสั่งปรับขนาดแลว ♠ การไดรับยาซํ้าซอนกับยาที่ผูปวยซื้อใชเอง 7. ปญหาและสาเหตโุดยยยอ การเกิด adverse drug event สามารถที่จะเกิดไดทุกจุดของการใหบริการของโรงพยาบาล โดยสวนใหญมากกวาครึ่งหนึ่ง เกิดข้ึนที่รอยตอของการใหบริการ ประมาณ 20 % เกิดจากการที่สงตอขอมูลคลาดเคลื่อนหรือไมครบถวน ซึ่งปญหาเหลานั้นสามารถที่จะปองกันได 1 โดย JACHO พบวา sentinel events ที่มีสาเหตมุาจากความคลาดเคลื่อนทางยานั้น มากกวาครึ่งมีสาเหตมุาจากการสื่อสาร แมจะไมใชสาเหตโุดยตรงทั้งหมดแตก็มีสวนเกี่ยวของ และกวาครึ่งหนึ่งสามารถหลีกเลี่ยงไมใหเกิดไดหากมีระบบของ medication reconciliation ที่มีประสิทธิภาพ Medication Reconciliation ไดถูกเลือกเปนกระบวนการแรกที่จะลดการเกิดเหตกุารณไมพึงประสงคจากการใชยา โดย ในสวนของโรงพยาบาลรามันเอง ก็มีแนวโนมที่เพิ่มข้ึนเรื่อยๆ ทําใหทางโรงพยาบาลหลายๆแหงมีผลกระทบตอสถานการณทางการเงินของโรงพยาบาล คาใชจายของทางโรงพยาบาลรามัน โดยในป2553 มีมูลคายาโรคเรื้อรัง 448,725.70 บาทเพิ่มเปน 607,876.70 บาท ในป 2554 ซึ่งคาใชจายดานยาที่เพิ่มสูงข้ึนนั้นมีหลายปจจัย เชน มูลคายาชนดิใหมที่มีราคาแพง ความไมรวมมือในการรับประทานยา ทําใหยาเหลือเกินจําเปน ความไมเขาใจในการรับประทานยา ความเขาใจผิดเกี่ยวกับปฏิกิริยาของยากับอาหารบางชนดิ ทําใหหยดุใชยา ซึ่งจะสงผลใหอาการทางคลินกิของผูปวยแยลง เมื่อมาพบแพทยก็สั่งยามากข้ึนตามอาการของผูปวย ทั้งที่แทจริงแลวผูปวยไมรับประทานยา นอกจากนี้การที่ผูปวยรับยาหลายโรงพยาบาล ทําใหยาที่ไดรับมีความซ้ําซอนกัน บางรายเลือกรับประทานยาบางชนดิเทานั้น บางรายรับประทานยาหมดทุกโรงพยาบาล ทําใหเกิดอนัตรายแกตวัผูปวยเอ 5.วิธีดําเนนิการ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ข้ันตอนในการทํา Drug reconciliation ประกอบดวย

17

ตวัช้ีวัด เปาหมาย(รอยละ)

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ.

มี.ค.

เม.ย. พ.ค. มิ.ย ก.ค. ส.ค. ก.ย.

1.ไมพบอุบัตกิารณความคลาดเคลื่อนทางยาที่สงผลกระทบตอผูปวยที่มีระดบั E ข้ึนไป ที่มีสาเหตมุาจาก drug reconcile

2 1 0 0 0 0

2.Prescription error ที่มีสาเหตุมาจาก drug reconcile

ไมเกิน 10 ใบตอ

1000 ใบสั่งยา

0 4 2 3 1 0 4

18

จุดซักประวัติ OPD ER หอผูปวยในชาย หอผูปวยในหญิง หองคลอด

แพทย ฝายเภสัชกรรม

ผูปวยทั่วไป ผูปวยคลินกิ ผูปวยใน

ควบคุม ER

ควบคุม คลินกิพิเศษตางๆ ควบคุม หอผูปวยในชาย หอผูปวยในหญิง หองคลอด

ผูปวยที่นอนโรงพยาบาล 1. กําหนดใหพยาบาล ER / Admit (OPD) /หอผูปวย สอบถามยาเดมิของผูปวย Admit ทุกราย พรอมปม/บันทึกผลการสอบถามในใบซักประวัต ิและลงขอมูลตางลงในโปรแกรม HOSxp เพื่อสงตอขอมูลไปยงัหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ กรณีที่ผูปวยนาํยาเดมิจากสถานบริการอื่นมาหรือของโรงพยาบาลมาดวยใหลอกรายการยาเดมิลงในใบซักประวัต ิ/ ใบยาเดมิเพื่อสงตอใหแพทย 2.เมื่อผูปวยนาํยาเดมิมาให ใหพยาบาลนาํไปใหแพทยดรูายการยาจากนั้นหนบียาเดมิมาพรอมเวชระเบียน/ตดิปายช่ือ เตยีง ใสใน Locker ยาหรือถังยาเดมิของผูปวย เพื่อสงตอฝายเภสัชกรรมตอไป 3. ในกรณีที่ผูปวยมาในเวรบายแลวไมไดนาํยาเดมิมาใหฝายเภสัชกรรม แตนาํยาเดมิมาคืนใหพยาบาลที่หอผูปวยใหพยาบาลแจงใหแพทย

1.แพทยผูสั่งใชยาตองบันทึกการสั่งใช/หยดุใชยาใน OPD card ใบสั่งยาหรือ Doctor Order Sheet ดานขวามือในชอง Progress Note กรณีเปนผูปวยที่รับไวนอน 2. ไมควรใชคําสั่งยาเดมิ “RM” เนื่องจากในแตละครั้งอาจมียาที่รักษาตามอาการรวมดวย 3.ใหสอบถามผูปวยเกี่ยวกับยาเดมิและลอกรายการยาที่ตองการสั่งใชหรือไมตองการลงในใบสั่งแพทย

ฝายเภสัชกรรมผูปวยใน : 1.เภสัชกรหรือเจาหนาที่เภสัชกรรมสอบถามประวัตยิาเดมิของผูปวยทุกรายขณะที่รับใบสั่งยา และลอกลงในใบ copy order ตรวจสอบประวัตใิน Hos XP และบันทึกประวัตยิาเดมิที่ใบยาเดมิ นอกจากนี้จะตองตดิสติ๊กเกอรที่ใบ PMP โดยกาํหนดดงันี้ 1. สีฟา หมายถึง ไมมียาโรคเรื้อรัง 2.สีเขียว หมายถึง ยาในโรงพยาบาลรามัน 3.สีชมพู หมายถึง ยานอกโรงพยาบาลรามัน 2. เภสัชกรตรวจสอบคุณภาพยาของผูปวยทุกรายการ ถาเปนยาเดมิจากโรงพยาบาลอื่นใหเก็บที่ฝายเภสัชกรมจนกวาผูปวยจะกลับบาน แตถาเปนยาเดมิจากโรงพยาบาลรามันใหเภสัชกรและเจาหนาที่ที่รับผิดชอบตรวจสอบคุณภาพยาและเก็บยาเดมิคืนโรงพยาบาล 3. กรณีที่ไมมีการสั่งใชยาโรคเรื้อรังใหเภสัชกรหรือเจาพนกังานเภสัชกรรมที่รับผิดชอบโทรประสานกบัแพทยกอนที่จะทําการ Admit 4. กรณีที่ผูปวยไมไดนาํยามาในวันแรกของการ Admit ใหเจาพนกังานเภสัชกรรมผูรับผิดชอบผูปวยตดิตามยาเดมิของผูปวย พรอมแจงแพทยและเภสัชกรประจํา Ward 5.ใหเภสัชกรประจําหอผูปวย นาํใบ copy order วางไวหนา chart เมื่อผูปวยมีประวัตยิาเดมิ หากไมมีใหวางไวใตใบเขียว 6. กําหนดใหเภสัชกรคืนยาของผูปวยทั้งหมด พรอมใหคําแนะนาํเกี่ยวกับยาที่ผูปวยไดรับ การ

19

ประจําหอผูปวยทราบทันท ีและสงมารับยาที่ฝายเภสัชกรรม เพื่อปองกันความไมตอเนื่องของการรับประทานยา แตถาผูปวยมาในเวรดกึใหรอประสานกบัเภสัชกรประจําหอผูปวยในเวรเชาของวันรุงข้ึน 4. เมื่อผูปวยกลับบาน ใหเสมียนที่ทํา D/C scan ใบ copy order มาพรอมกับ order D/C ทุกครั้ง

ปรับเปลี่ยนวิธีการกินยาเดมิสําหรับผูปวยที่ไดรับยาจากโรงพยาบาลอื่นและ เภสัชกรตองใหคําแนะนาํใหผูปวยเขาใจเกี่ยวกับยาที่แพทยไมไดสั่งใชในการรักษาครั้งนี้ดวย 7.เมื่อผูปวยกลับบานได ใหเภสัชกรดปูระวัตยิาเดมิจากใบ copy order เทียบกับ order D/C

20

CQI : เสริมความรูความเขาใจและความรวมมือการใชยาฉีดอินซูลิน

1. คําสําคัญ : ความรูความเขาใจ , ความรวมมือ , ยาฉีดอนิซูลิน 2. สรุปผลงานโดยยอ : เปนการเสริมความความรูเขาใจและความรวมมือการใชยาฉีดอนิซูลินในกลุม

ผูปวยโรคเบาหวาน 3. ชื่อและที่อยูองคกร ฝายเภสัชกรรม รพ.รามัน 4. สมาชิกทีม ภก.อาดลิ วาด ู 5. เปาหมาย

1. ผูปวยใชยาฉีดอนิซูลินไดถูกตองตามขนาดที่แพทยสั่ง รวมถึงเทคนคิวิธีการฉีด และเก็บรักษายาฉีดไดอยางมีคุณภาพ

2. ผูปวยใหความรวมมือในการใชยา 6. ปญหาและสาเหตุโดยยอ : การใชยาฉีดอนิซูลินจะเกิดประสิทธิผลสูงสุด ตองอาศัยปจจัยหลายอยาง

ผูปวยตองมีความรูความเขาใจที่ถูกตองถึงวิธีการฉีด ฉีดไดถูกตองตามขนาดที่แพทยสั่ง มีความรูเรื่องอาการไมพึงประสงคจากยาการเก็บรักษายาฉีดเพื่อใหคงคุณภาพตลอดชวงเวลาที่ใชยา

7. กิจกรรมการพัฒนา : 1. มุมเรียนรู การใชยาฉีดอนิซูลิน 2. เภสัชกรทบทวนวิธีการใชยา ทุกครั้งที่ผูปวยมารับบริการตามแพทยนดั 3. สรางแรงบันดาลใจในการรับประทานยาใหกับผูปวยและผูดแูล(caregiver) 4. ระบบตรวจเยี่ยมบาน ผูปวยที่ไมสามารถคุมระดบัน้ําตาลในเลือดตามเปาหมาย 5. ระบบแจกกระตกิสําหรับใสยาอนิซูลิน เพื่อรักษาคุณภาพยาฉีดอนิซูลิน 6. ประเมินความรวมมือการใชยาจากเข็มฉีดยาและยาเดมิที่ผูปวยนาํมา 7. ประเมินผลลัพธจากการรักษาจากผลทางหองปฏิบัตกิาร

รายละเอียดกิจกรรม 1. มุมเรียนรู การใชยาฉีดอนิซูลิน

โปสเตอรสอนข้ันตอนการใชยาฉีดอนิฉีดอนิซูลิน

21

2. ระบบตรวจเยี่ยมบาน ผูปวยที่ไมสามารถคุมระดบัน้ําตาลในเลือดตามเปาหมาย - คัดกรองผูปวยจากทะเบียนบันทึกตดิตามการใชอินซูลิน โดยเลือกผูปวยที่มีปญหา

ควบคุมระดบัน้ําตาลไมได - ตรวจประเมินพฤตกิรรมการใชยาของผูปวย และผูดแูลผูปวย(caregiver) - ตรวจประเมินการเก็บรักษายาฉีดอนิซูลิน

- ตรวจประเมินความรวมมือ(adherance)ในการใชยา

3. ระบบแจกกระตกิสําหรับใสยาอนิซูลิน เพื่อรักษาคุณภาพยาฉีดอนิซูลิน

- แจกกระตกิใหผูปวยที่ใชยาอนิซูลิน สําหรับนาํยาที่ไดรับจากโรงพยาบาลไปเก็บในตูเยน็ที่บาน และนาํมาโรงพยาบาลทุกครั้งที่มารับยา ทําใหยาฉีดอยูในสภาวะที่เหมาะสมคือ 2-8 องศาเซลเซียส จะชวยรักษาคุณภาพและยดือายขุองยา

8. การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง 1. ผูปวยสามารถบอกขนาดยาฉีดที่แพทยสั่ง และเทคนคิการฉีดที่ถูกตอง

2. ความสม่ําเสมอในการใชยา (adherence) มากกวารอยละ 85 3. อัตราผูปวยที่มีความรูความเขาใจการใชยาและสามารถควบคุมระดบัน้ําตาลในเลือดไดตาม

เปาหมาย

22

CQI : เสริมความรูความเขาใจและความรวมมือการใชยาของผูปวยโรคเรื้อรัง (DM/HT)

9. คําสําคัญ : ความรูความเขาใจ , ความรวมมือ , ผูปวยโรคเรื้อรัง 10. สรุปผลงานโดยยอ : เปนการประเมินความเขาใจและความรวมมือการใชยารับประทานรักษา

โรคเบาหวานและความดนัโลหิตสูงจากการสอบถามและจากยาเดมิที่ผูปวยนาํมา 11. ชื่อและที่อยูองคกร ฝายเภสัชกรรม รพ.รามัน 12. สมาชิกทีม ภก.อาดลิ วาด ู 13. เปาหมาย

1. ผูปวยโรคเบาหวานและความดนัโลหิตสูงมีความรูความเขาใจวิธีรับประทานยา 2. ผูปวยโรคเบาหวานและความดนัโลหิตสูงใหความรวมมือในการรับประทานยา

14. ปญหาและสาเหตุโดยยอ : ผูปวยโรคเรื้อรังจะตองใชยาอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ เมื่อมารับบริการมักจะไดรับยาครั้งละหลายรายการ ประกอบกับผูปวยสวนใหญเปนผูสูงอาย ุจึงอาจทําใหเกิดปญหาใชยาไมถูกตองและการใหความรวมมือในการใชยา สงผลใหการรักษาดวยยาไมสําฤทธ์ิผลเตม็ที่เทาที่ควร บางครั้งแพทยตองปรับเพิ่มขนาดยา ทําใหผูปวยตองใชยามากข้ึน กิจกรรมเสริมความรูความเขาใจและความรวมมือการใชยาของผูปวย ทําใหสามารถคนหาปญหาจากการใชยาของผูปวย และแกปญหาไดถูกตอง

15. กิจกรรมการพัฒนา : 1. การใชสัญลักษณตราปมเพื่อเสริมความรูความเขาใจในการกินยาของผูปวย 2. เภสัชกรประเมินความถูกตองในการรับประทานยาแตละตวั 3. สรางแรงบันดาลใจในการรับประทานยาใหกับผูปวยและผูดแูล(caregiver) 4. ระบบตรวจเยี่ยมบาน 5. ประเมินความรวมมือการรับประทานยาจากยาเดมิที่ผูปวยนาํมา 6. ประเมินผลลัพธจากการรักษาจากหองปฏิบัตกิาร

รายละเอียดกิจกรรม 1. การใชสัญลักษณตราปมเพื่อเสริมความรูความเขาใจในการกินยาของผูปวย

ตวัอยางตราปมแสดงสัญลักษณวิธีการกินยา

2. เภสัชกรประเมินความถูกตองการรับประทานยา

- เภสัชกรใหผูปวยดซูองยาที่รับประทานอยู และใหทวนวารับประทานอยางไร - แจงผูปวยเมื่อแพทยปรับเพิ่มหรือลดขนาดยา

23

16. การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง 1. ผูปวยสามารถบอกวิธีรับประทานยาไดถูกตอง

2. ความสม่ําเสมอในการรับประทานยา (adherence) มากกวารอยละ 85 3. อัตราผูปวยที่มีความรูความเขาใจการกินยาและสามารถควบคุมระดบัน้ําตาลในเลือดและ

ความดนัโลหิตไดตามเปาหมาย

24

พัฒนาระบบการวางแผนจําหนายผูปวยติดเตียง เนื่องจากหอผูปวยในชายมผีูปวยที่นอนพักรักษาตวัดวยเรื่อง Bed sore ตดิเตยีงซึ่งตองไดรับการดแูลตอเนื่องหลังจากที่แพทยจําหนวยใหผูปวยกลับบานเพื่อใหการรักษาและการดแูลครอบคลุมและมีประสิทธิภาพไมใหเกิดภาวะแทรกซอนเมื่ออยูรพ.และไมกลับมา Re admitใน 28 วันดวยโรคเดมิ ปญหา

1. ผูปวยไมไดรับการวางแผนจําหนายตั้งแตแรกรับ

2. การดแูลจากทีมสหวิชาชีพมาเยี่ยมผูปวยไมคลอบคลุม

3. ผูปวยAdmitดวยปญหาเดมิ

4. ผูปวยและญาตขิาดความรูในการดแูลผูปวย

25

ปญหา กลยุทธ

ระยะเวลาการดําเนนิงาน ผูรับผิดชอบ

ผูปวย -ผูปวยชวยเหลือตวัเองไมไดเกิดภาวะแทรกซอน -Retain cath คาสายสวน เกิดแผล bedsore เกิด UTI เกิดขอตดิแข็ง

-ใหความรูผูปวยเกี่ยวกับการดแูลแผล, -ใหความรูเกี่ยวกับการcare สายสวนปสสาวะ สังเกต สีตะกอน -ใหความรูเกี่ยวกับการกายภาพ

ตลุาคม 2557-มีนาคม2558 พยาบาลหอผูปวยในชาย

ผูดแูล -ขาดความรูในการดแูลแผล bedsore -ขาดความตระหนกั -ญาตผิูปวยเกิดความเบื่อหนายในการดแูลpt

-ใหความรูจัดทาํแผนพบั -เชินทีมสหวิชา (นกัจิตวิตยามาพูดคุยใหกําลังใจเสริมแรง)

ตลุาคม 2557-มีนาคม2558 พยาบาลหอผูปวยในชาย

พยาบาล -ขาดทกัษะในการใหความรู -การวางแผนจําหนายไมคลอบคลุม

-จัดวิชาการเกี่ยวกับความรูและทักษะ -สงเจาหนาไปอบรมเกี่ยวกับการดแูลผูปวยตดิเตยีง -จัดทาํแบบฟอรมแผนการจําหนาย

ตลุาคม 2557-มีนาคม2558 พยาบาลหอผูปวยในชาย

ปญหา กลยุทธ

ระยะเวลาการดําเนนิงาน ผูรับผิดชอบ

เครื่องมือ -ไมเพียงพอกรณีผูปวยเจาะคอตองใชเครื่องsuction ไปใชที่บาน,กรณีผูปวยทําแผลแบบ

-ประสานทีมHHC ใหยมือุปการณรพ. -กรณีกลับไปที่บานแนะนาํใหใชเสื่อ

ตลุาคม 2557-มีนาคม2558 พยาบาลหอผูปวยในชาย

26

ปญหา กลยุทธ

ระยะเวลาการดําเนนิงาน ผูรับผิดชอบ

vaccuum -เตยีงเบาะลมไมเพียงพอตองมีการยมืจากแผนกอื่นหรือถามีก็ชํารุดกรณีนอนอยู รพ.

กระจูดแทนการนอนเบาะลม

ระบบ -การดแูลจากทีมสหวิชาชีพไมคลอบคลุม -การตดิตามเยี่ยมบาน

-ทบทวนระบบการดแูลผูปวยโดยทีมสหวิชาชีพ -ปรับปรุงCNPGของหนวยงานตาม care map

ตลุาคม 2557-มีนาคม2558 พยาบาลหอผูปวยในชาย

27

ตัวชี้ว ัด เปาหมาย เดือน

ต.ค57 พ.ย.57 ธ.ค.57 ม.ค.58 ก.พ.58 ม.ีค58

อุบัตกิารณการpt Admitตดิเตยีง ดวยแผลbedsore ,UTI

0 1 2 0 1 0 1

วิเคราะหและสรุปผล ผลจากการดาํเนนิกจิกรรมพัฒนาคุณภาพดงักลาวพบวาสถิตอิุบัตกิารณผูปวย Admitตดิเตยีง ดวยแผลbedsore ,UTI มีจํานวนเฉลี่ย 2 case /เดอืน ซึ่งผูปวยที่มา admit เปนคนเดมิดวยโรคเดมิ จึงมีความจําเปนที่จะตองใหความรูและสอนทักษะการดแูลผูปวย โดยวางแผนการจําหนายตั้งแตแรกรับ รวมกับทีมสหวิชาชีพเพื่อการดแูลผูปวยใหมีประสิทธิภาพทั้งในโรงพยาบาลและเมื่อผูปวยกลับไปที่บาน การพัฒนาอยางตอเนื่อง

- จัดทําแผนพบัสําหรับการดแูลผูปวยตดิเตยีง

- มีการconferrent case ทุกวันศุกร

- มีการตดิตามcaseเยยีมบานโดยการโทรประสาร รพสต.

- จัดทําแบบฟอรมการเฝาระวังผูปวยตดิเตยีงไมใหเกิดภาวะแทรกซอนเพิ่มข้ึน

28

ชื่อเรื่อง :การพัฒนาคุณภาพการดแูลผูปวยโรคเบาหวานในหอผูปวยในชาย ระยะเวลาดําเนนิการ : ป งบประมาณ2555-2557 ผูรับผิดชอบ นางสาวสากเีราะ ดอเลาะ หลักการและเหตุผลของการพัฒนา เนื่องจากหอผูปวยในชายมผีูปวยที่มานอนโรงพยาบาลดวยโรคตางๆทั้งดานอายรุกรรม ศัลยกรรม เดก็ จิตเวชและอื่นๆ จากสถิต ิมีผูปวยที่มานอนโรงพยาบาลดานอายรุกรรมที่เปนโรคเบาหวานป2555 จํานวน 270 ราย ป 2556 จํานวน 107ราย ป2557จํานวน 192ราย ซึ่งสาเหตเุกิดจากผูปวยขาดความรูเรื่อง ความเขาใจเกี่ยวกับโรค ทําใหตองมานอนโรงพยาบาลดวยภาวะน้ําตาลในเลือดสูง DKA และแผล จากสถิตทิี่เกิดข้ึนทําใหเกิดความตระหนกัถึงความสําคัญจึงไดนาํปญหานี้มาทบทวนและหาแนวทางทีมแกไข โดยการใหความรูสอนสุขศึกษาใหกับผูปวย ประสานทมีสหวิชาชีพเพื่อหาแนวทางแกไข เพื่อใหมีผูปวยที่มานอนโรงพยาบาลดวยโรคเบาหวานลดลงหรือนอยที่สุด วัตถุประสงค 1.เพื่อใหผูปวยโรคเบาหวานมคีวามรูเกี่ยวกับโรคเบาหวานมากข้ึน 2. เพื่อลดอตัราการเกิดภาวะแทรกซอนจากโรคเบาหวาน เชน ภาวะน้ําตาลในเลือดสูง DKA และแผล 3. เพื่อไมใหเกดิการนอนโรงพยาบาล

29

กําหนดกลยุทธ ปญหา กลยทุธ ระยะเวลาดาํเนนิการ ผูรับผิดชอบ

1.คน

1.1 พยาบาล

1.เจาหนาที่ใหสุขศึกษาเกี่ยวกับโรคแกผูปวยนอย

2. เจาหนาที่ไมมีการถามตอบแลกเปลี่ยนกบัผูปวยและญาต ิ

3.เจาหนาที่ไมมีการประสานกบัทีมสหวิชาชีพ

1.2 ผูปวย

1.ขาดความรูเรื่องโรค

2.การดแูลตวัเองและปฏิบัตติวัไมถูกตอง

- ปรับรูปแบบการใหสุขศึกษาเปนรายบุคคล

- มีการประสานทมีสหวิชาชีพทุกครั้งเมื่อมีผูปวยมานอนโรงพยาบาล

- มีการถามตอบโดยใชแบบประเมิน

ป งบประมาณ2555-2557

พยาบาลผูปวยในชาย

เกี่ยวกับโรค

1.3 ญาต ิ

1.ขาดความตระหนกัในการดแูลผูปวยที่บาน

2.ระบบ

1.มีD/C Plan

-การเตรียมความพรอมกอนD/C ไมมีประสิทธิภาพ

-มีการสอน แจกแผนพบัโรคและแนะนาํคูมือการดแูลผูปวยเบาหวาน

- มีกระบวนการเตรียมความพรอมกอนรับยาและการ

ป งบประมาณ2555-2557

พยาบาลผูปวยในชาย

30

ปญหา กลยทุธ ระยะเวลาดาํเนนิการ ผูรับผิดชอบ สงเสริมการรับประทานยาอยาง

มีประสิทธิภาพ

-ประสานทีมสหวิชาชีพมาประเมินกอนผูปวยกลับบาน

3.เครื่องมือ

1.สื่อ

- ขาดสื่อในการวางแผนการจําหนาย-ขาดการประเมินความรูกอน/หลัง

-จัดทําสื่อ แผนพบัเกี่ยวกับโรคแจกใหผูปวยและญาต ิ

-ทําแบบประเมินเกี่ยวกับโรคเพื่อประเมินผูปวยกอนและหลังใหความรู

ป งบประมาณ2555-2557

พยาบาลผูปวยในชาย

31

ผลการประเมิน ตวัช้ีวัด เปาหมาย ปงบประมาณ

2555 2556 2557 -อัตราการใหสุขศึกษาผูปวยเบาหวานที่มานอนโรงพยาบาล 80% 30% 50% 60% -ความรูความเขาใจเรื่องโรค 80% 30% 50% 60% -อัตราการเกิดภาวะแทรกซอนจากโรค

ภาวะน้ําตาลในเลือดสูง

DKA

แผล

<2% 10% 5% 7%

-อัตราการมาของทีมสหวิชาชีพ 100% 90% วิเคราะหและสรุปผล ผลจากการดาํเนนิกิจกรรมพัฒนาคุณภาพดงักลาวพบวาสถิตอิุบัตกิารณการมานอนโรงพยาบาลของผูปวยเบาหวานดวยภาวะน้ําตาลในเลือดสูง แผล DKA มีจํานวนไมแนนอน แตอยางไรก็ตามเจาหนาที่จําเปนตองใหความรูและสอนสุขศึกษาใหกับผูปวยและญาตเิพื่อใหผูปวยและญาตมิีความรูและสามารถปฏิบัตติวัขณะอยูที่บานไดถูกตอง เพือ่ลดการนอนในโรงพยาบาล การพัฒนาอยางตอเนื่อง

จัดทําแบบประเมินและแผนพบัใหทันสมัยอยูตลอด

มีการประเมินผูปวยและญาตอิยางตอเนื่อง

มีผูปวยตองแบบมาแลกเปลี่ยนในการปฏิบัตติวัที่บาน

โอกาสในการพัฒนาตอไป -ศึกษาปจจัยที่ทําใหผูปวยเบาหวานมานอนโรงพยาบาลดวยภาวะน้ําตาลในเลือดสูง DKA แผล

32

รายการสงประกวด นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ

ลําดับ ชื่อเรื่อง หนวยงาน หนา

1 ลูกแกว....สบายเทา แพทยแผนไทย 34

2 บัตรประจําตวัผูปวยเบาหวาน ความดนัโลหิตสูง OPD 35

.

33

ชื่อสิ่งประดิษฐ ลูกแกว....สบายเทา 2. ชื่อผูประดิษฐ นางไซตง มะดีเยาะ 3. ชื่อผูนาํเสนอ นางไซตง มะดีเยาะ 4. ที่อยู/สถานที่ทํางาน งานแพทยแผนไทย โรงพยาบาลรามัน 5. บทนํา ( หลักการและเหตผุล วัตถุประสงค ) สาเหตขุองการประดษิฐนี้เนื่องจากพบปญหาในการทํางาน คือ

ปจจุบันผูมาบริการแพทยแผนไทย บางครั้งตองมีการรอคอยการรับบริการแพทยแผนไทย เนื่องจากเจาหนาที่กําลังใหบริการแกผูมารับบริการรายอื่นอยู สงผลใหผูมารับบริการเกิดความรูสึกเครียด เบื่อหนาย และมีความรูสึกพึงพอใจนอยจากการรอคอยการรับบริการแพทยแผนไทย

ในการนี้งานแพทยแผนไทย ไดตระหนกัวาระหวางที่ผูรับบริการนั่งรอ ควรมีกิจกรรมสําหรับผูรอรับบริการคือการนวดเทาดวยลูกแกว เพื่อเปนการผอนคลายความตงึเครียดระหวางรอคอยบริการ แนวทาง/การปรับปรุงเพื่อแกไขปญหา

จัดหาไมที่ใชแลวสภาพด ีนาํมาประกอบเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา แลวนาํพรมเช็ดเทาที่ใชแลวสภาพด ี นาํมาวางบนกลองไมสี่เหลี่ยม และนาํลูกแกวที่เตรียมไว วางบนพรมเช็ดเทา วางไวในแผนกบริเวณที่นั่งคอยรับบริการแพทยแผนไทย เพื่อใหผูรับบริการมีสวนรวมในกิจกรรมของหนวยงาน คือ ขณะรอคอยการรบับริการสามารถใชกลองลูกแกว นวดเทาดวยตนเองไดโดยการเหยยีบกลิ้งไป-มา ทั้งสองขาง สงผลใหผูรับบริการไมรูสึกเบื่อหนายจากการรอคอยการรับบริการแพทยแผนไทย สงเสริมการเรียนรูจากการใชกลองลูกแกว และสามารถนาํไปประดษิฐเพื่อใชเองในครอบครัวได 6. วิธีการพัฒนาสิ่งประดิษฐ

เตรียมไมที่ใชแลว สภาพด ีนาํมาขัดใหผิวเรียบ แลวนาํมาประกอบใหเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ทาสีใหสวยงาม นาํพรมเช็ดเทาที่ใชแลวสภาพด ีวางในกลองไม แลวนาํลูกแกววางลงบนพรมเช็ดเทา 7. ประโยชน / การนาํไปใช

1.นาํไปใชในการใหบริการแกผูมารับบริการ ในหนวยงานแพทยแผนไทย เพื่อใหผูมารับบริการมีสวนรวมในกิจกรรมของหนวยงาน มีความรูสึกพึงพอใจระหวางการรอคอยการรับบริการ สงเสริมการเรียนรูจากการใชกลองลูกแกว และสามารถนาํไปประดษิฐเพื่อใชเองในครอบครัว รวมถึงประยกุตใชวัสดธุรรมชาตอิื่นๆได

34

ชื่อผลงานนวัตกรรม บัตรประจําตวัผูปวยเบาหวาน ความดนัโลหิตสูง

ชือ่ผูเสนอผลงาน นางสาวรูซีดา กาเซ็ง

ชื่อ/ที่อยูของหนวยงาน ผูปวยนอก โรงพยาบาลรามัน

ที่มาโครงการ (ความเปนมาของนวัตกรรม สถานการณปญหา เหตผุลความจําเปนในการเกิดนวัตกรรม) จากนโยบายรัฐบาล จัดใหมีมาตรการสรางสุขภาพโดยมีเปาหมายเพื่อลดอัตราปวย ตายและ

ผลกระทบจากโรคไมตดิตอเรื้อรัง เชน โรคเบาหวาน โรคความดนัโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดและ โรคมะเร็งอยางบูรณาการและครบวงจร ซึ่งโรคไมตดิตอเรื้อรังโดยเฉพาะ โรคเบาหวาน โรคความดนัโลหิตสูง และการดาํเนนิการในครั้งนี ้สําหรับการดาํเนนิงานในเชิงระบบตามงานระบาดวิทยา ที่ใหระบบการเฝาระวัง คัดกรอง แยกคนปกติ คน เริ่มปวย คนปวย แบงตามระดบัความรุนแรงเปน 3 ระดบั ดวย ” ปงปองจราจรชีวิต 7 ส”ี ตดิตามทกุเดอืน พรอมทั้งมีเครื่องมือที่จําเปน คือ สมุดประจําตวัผูปวยเบาหวาน ความดนัโลหิตสูง

จากการดาํเนนิงานการดแูลผูปวยโรคไมตดิ ตอเรื้อรังที่ผานมา มีขอมูลจํานวนผูปวยโรคเรื้องทั้งเบาหวานและความดนัโลหิตสูง ตั้งแตป 2555 – 2557 พบวา 3508, 3987 และ 4489 ตามลําดบั ซึงจะเห็นไดวามีแนวโนมเพิ่มข้ึน ซึ่งผูปวยโรคเรื้อรังบางรายมีภาวะแทรกซอน โดยผูปวยบางรายตองถูกตดันิ้วเทา ตดัเทา บางรายมภีาวะเบาหวานข้ึนตา และไมสามารถควบคุมภาวะน้ําตาลในเลือดได มีผูปวยความดนัโลหิตสูง จํานวน 2464 มีภาวะแทรกซอนจากโรคความดนัโลหิตสูง โดยในป 2557 ผูปวยโรคหลอดเลือดในสมอง จํานวน 42 ราย และในป 2558 มีเพิ่มข้ึน 49 ราย บางรายรักษาไดทันก็หายจากความพิการ บางรายรักษาไมทันก็ทํา ใหเกิดความพิการ (อัมพฤกษ,อัมพาต) บางรายเปนเสนเลือดในสมองแตก หัวใจวายเฉียบพลัน เสียชีวิตทันที

ดงันั้น คลินกิเบาหวาน ความดนัโลหิตสูง จึงไดจัดทํา “สมุดประจําตวัผูปวยเบาหวาน ความดนัโลหิตสูง” ข้ึน เพื่อเปนเครื่องมือในการตดิตามเฝาระวังภาวะแทรกซอนของผูปวยโรคเบาหวานและความดนัโลหิตสูง เพื่อใหเกิดการคืนขอมูลแกผูปวยเอง และโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพที่รับผิดชอบ

วัตถุประสงคของโครงการ 1. เพื่อใชเปนเครื่องมือในการตดิตามเฝาระวังภาวะแทรกซอนของผูปวยโรคเบาหวานและ ความดนั

โลหิตสูง 2. เพื่อสงเสริมใหผูปวยสามารถใชสมุดประจําตวั ในการดแูลและปองกันภาวะแทรกซอนของ

โรคเบาหวานและความดนัโลหิตสูง 3.เพื่อใหเกิดการคืนขอมูลแกผูปวยเอง และเปนขอมูลหากผูปวยเขารับบริการในสถานบริการอื่น ๆ

ขั้นตอนการดําเนนิงาน (แผนงานโครงการ, รูปแบบหรือวิธีการของนวัตกรรม, องคประกอบของนวัตกรรม กรณีเปนสิ่งประดษิฐใหระบุสิ่งที่ใชทํา/วิธีทํา)

1. ศึกษา คนควาเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดนัโลหิตสูง,LAB ตางๆที่ตองตรวจ พรอมบอกคา ปกตแิละขอมูลอื่นๆที่ผูปวยตองทราบ เพื่อนาํเนื้อหามาประกอบไว ในสมุดประจําตวั

35

2. ปรึกษาผูเช่ียวชาญ เกี่ยวกับเนื้อหาทั้งหมดที่จะบรรจุในสมุดประจําตวั 3. จัดทําสมุดประจําตวัผูปวย 4. จัดเก็บขอมูลการตดิตามความเปลี่ยนแปลงทุกเดอืน พรอมใหนดัเขาคลินกิปรับเปลี่ยน พฤตกิรรม

กรณีผูปวยที่ไมสามารถควบคุมน้ําตาล และความคุมความดนัโลหิตสูงได

36

ผลการดําเนนิงาน (แสดงใหเห็นผลการดาํเนนิงานเปรียบเทียบกอนและหลังดาํเนนิการ, ประโยชนที่ไดรับจากการดาํเนนิงานนวัตกรรม) 1. มีสมุดประจําตวัในการตดิตามเฝาระวังภาวะแทรกซอนของผูปวยโรคเบาหวานและ ความดนัโลหิตสูง ที่เปนปจจุบันและมีการบันทึกอยางตอเนื่อง 2. ผูปวยสามารถใชสมุดประจําตวั ในการดแูลและปองกันภาวะแทรกซอนที่อาจเกิดข้ึนกับตวัเองได อยางถูกตอง 3. ผูปวยเห็นคุณคาของตวัเอง และมีกําลังใจในการดแูลรักษาตวัเอง

ภาพกิจกรรมการดําเนนิงานพรอมคําบรรยายประกอบใตภาพ

37