Cpu2000

4
File : cpu2000.doc page : 1 Laurianne McLaughlin "Coming Attractions : Processor of 2000" Pc world, Jan 2000, 62 โดย สุรพล ศรีบุญทรง "ซีพียู 2000" เร็วเท่าไหร่ก็ไม่พอ สุรพล ศรีบุญทรง ในที่สุดโลกเราก็พนวิกฤต Y2K มาไดอยางราบรื่นและจืดชืด จนคอหนังซาดิสตสไตลฮอลลีวูดอยางพี่ไทย เราบนกันอุบ เพราะไมไดมีโอกาสเห็นอะไรสนุกๆ ตื่นเตนๆ เหมือนอยางโหมโฆษณากันมานานรวมป จนกระทั่งหมอดู คอมพิวเตอร และนักสรางความสําคัญใหกับตนเองอีกหลายทานตองออกมาปลอบใจกันเปนการใหญวา "ไมเปนไรหรอก นา อยางนอยก็ยังมีโอกาสไดลุนอีกกันอีกรอบสองรอบ เอาใกลๆ แควิกฤตวันที่ 29 กุมภาพันธนี่ ก็ยังไดลุนเอามันอีกที " แตใครจะเชื่อหรือไมเชื่ออยางไรก็คงตองอาศัยสติปญญาพินิจพิจารณากันเอง เพราะเรื่องทํานองนี้บางทีก็สอนกันไมได คลายๆ กับที่พระทานวาคนเรานั้นเปรียบเหมือนบัวสี่เหลา บางเหลาก็จมปรักงมงายใหเขา หลอกแลวหลอกเลา พูดเรื่องนี้แลวเศรา ผูเขียนวาเรามาพูดถึงเรื่องที่เปนจริง และมีหลักฐานเปน ชิ้นเปนอันใหสัมผัสจับตองไดอยางเรื่องความเร็วของผลิตภัณฑไมโครโพรเซสเซอรรุนใหมๆ และเทคนิคที่ผูผลิตชิปเหลานี้นํามาใชเพิ่มความเร็วในผลิตภัณฑของตนกันดีกวา เพราะ บางครั้งเรื่องที่ดูจริงจังเหลานีบางทีผูผลิตเขาก็ยังเอาเทคนิคโฆษณาประชาสัมพันธมาใชกระตุนความตองการของ ผูบริโภคกันในลักษณะแปลกๆ และออกจะเกินจริง จนหลายครั้งทําใหเกิดความเชื่อความเขาใจผิดๆ ในหมูผูบริโภคได เหมือนกัน เชน เมื่อกอนนี้ก็หลงกันไปวาความเร็วของเครื่องคอมพิวเตอรอยูที่ความเร็วสัญญาณนาฬิกาแตเพียงอยางเดียว ทําใหเวลาจะซื้อเครื่องคอมพิวเตอรสักเครื่องก็ตั้งหนาตั้งตาเทียบกันที่ตัวเลขหนาคําวาเมกกะเฮิรซ จน เลเพเลพาดมาถึงยุค 2000 ที่เริ่มจะมาพูดถึงตัวเลขหนาคําวากิกะเฮิรซกันบางแลว ในขณะที่ผูผลิตคอมพิวเตอรบางกลุมก็ พยายามฝงคําวา "ไอทาเนี่ยม" และ "ค็อปเปอร อินเตอรคอนเน็ค" เขาไปในหัวผูบริโภค (ดูๆ ไปแลวก็นาขัน เพราะมันชาง คลายกับพวกขายอาหารเสริม และเครื่องสําอาง ที่ตั้งหนาตั้งตาฝงคําวา "วิตามิน อี" "บีเอชเอ" "เอเอชเอ" และ "ดีเอชเอ" เขาไปในหัวผูบริโภค โดยไมตองมานั่งอธิบายกันวาสารเคมีแตละตัวนั้นมีชื่อจริงเสียงจริงวาอะไร และอาจกอใหเกิด ผลขางเคียงที่เปนอันตรายไดมากนอยแคไหน หากบริโภคเขาไปเยอะๆ) ดังนั้น ผูเขียนจึงเห็นวาเปนโอกาสดีที่จะนําเอา เรื่องราวเกี่ยวกับ "ไมโครโพรเซสเซอรรุนใหมแหงป 2000" ของ ลอริแอนน แม็คลาฟลิน ที่ลงตีพิมพไวในนิตยสาร พีซี เวิลด ฉบับมกราคม 2000 มาเลาสูกัน ฟง มหัศจรรยแหงเมกกะเฮิรซ ทุกเดือนตุลาคม ใน อเมริกาจะมีการประชุมใหญของ ผูประกอบการดานไมโครโพรเซสเซอร และทุกปคําพูดยอดฮิตในหมูผูผลิตไม โครโพรเซสเซอรเหลานี้ก็จะเปนไปใน ทํานองวา ผูซื้อเครื่องคอมพิวเตอร สวนใหญมักจะหลงเขาใจผิดวาตัวเลข เมกกะเฮิรซคือตัววัดระดับคุณภาพของ

Transcript of Cpu2000

File : cpu2000.doc page : 1

Laurianne McLaughlin "Coming Attractions : Processor of 2000" Pc world, Jan 2000, 62 โดย สุรพล ศรีบุญทรง

"ซีพียู 2000" เร็วเท่าไหร่ก็ไม่พอ

สุรพล ศรีบุญทรง

ในที่สุดโลกเราก็พนวิกฤต Y2K มาไดอยางราบรื่นและจืดชืด จนคอหนังซาดิสตสไตลฮอลลีวูดอยางพ่ีไทย

เราบนกันอุบ เพราะไมไดมีโอกาสเห็นอะไรสนุกๆ ต่ืนเตนๆ เหมือนอยางโหมโฆษณากันมานานรวมป จนกระทั่งหมอดู

คอมพิวเตอร และนักสรางความสําคัญใหกับตนเองอีกหลายทานตองออกมาปลอบใจกันเปนการใหญวา "ไมเปนไรหรอก

นา อยางนอยก็ยังมีโอกาสไดลุนอีกกันอีกรอบสองรอบ เอาใกลๆ แควิกฤตวันที่ 29 กุมภาพันธน่ี ก็ยังไดลุนเอามันอีกที "

แตใครจะเช่ือหรือไมเช่ืออยางไรก็คงตองอาศัยสติปญญาพินิจพิจารณากันเอง เพราะเร่ืองทํานองนี้บางทีก็สอนกันไมได

คลายๆ กับที่พระทานวาคนเราน้ันเปรียบเหมือนบัวสี่เหลา บางเหลาก็จมปรักงมงายใหเขา

หลอกแลวหลอกเลา

พูดเร่ืองน้ีแลวเศรา ผูเขียนวาเรามาพูดถึงเรื่องที่เปนจริง และมีหลักฐานเปน

ช้ินเปนอันใหสัมผัสจับตองไดอยางเร่ืองความเร็วของผลิตภัณฑไมโครโพรเซสเซอรรุนใหมๆ

และเทคนิคที่ผูผลิตชิปเหลาน้ีนํามาใชเพ่ิมความเร็วในผลิตภัณฑของตนกันดีกวา เพราะ

บางคร้ังเรื่องที่ดูจริงจังเหลาน้ี บางทีผูผลิตเขาก็ยังเอาเทคนิคโฆษณาประชาสัมพันธมาใชกระตุนความตองการของ

ผูบริโภคกันในลักษณะแปลกๆ และออกจะเกินจริง จนหลายคร้ังทําใหเกิดความเช่ือความเขาใจผิดๆ ในหมูผูบริโภคได

เหมือนกัน เชน เมื่อกอนนี้ก็หลงกันไปวาความเร็วของเครื่องคอมพิวเตอรอยูที่ความเร็วสัญญาณนาฬิกาแตเพียงอยางเดียว

ทําใหเวลาจะซ้ือเครื่องคอมพิวเตอรสักเคร่ืองก็ต้ังหนาต้ังตาเทียบกันที่ตัวเลขหนาคําวาเมกกะเฮิรซ จน

เลเพเลพาดมาถึงยุค 2000 ที่เริ่มจะมาพูดถึงตัวเลขหนาคําวากิกะเฮิรซกันบางแลว ในขณะที่ผูผลิตคอมพิวเตอรบางกลุมก็

พยายามฝงคําวา "ไอทาเน่ียม" และ "ค็อปเปอร อินเตอรคอนเน็ค" เขาไปในหัวผูบริโภค (ดูๆ ไปแลวก็นาขัน เพราะมันชาง

คลายกับพวกขายอาหารเสริม และเคร่ืองสําอาง ที่ตั้งหนาต้ังตาฝงคําวา "วิตามิน อี" "บีเอชเอ" "เอเอชเอ" และ "ดีเอชเอ"

เขาไปในหัวผูบริโภค โดยไมตองมาน่ังอธิบายกันวาสารเคมีแตละตัวน้ันมีช่ือจริงเสียงจริงวาอะไร และอาจกอใหเกิด

ผลขางเคียงที่เปนอันตรายไดมากนอยแคไหน หากบริโภคเขาไปเยอะๆ) ดังน้ัน ผูเขียนจึงเห็นวาเปนโอกาสดีที่จะนําเอา

เรื่องราวเก่ียวกับ "ไมโครโพรเซสเซอรรุนใหมแหงป 2000" ของ ลอริแอนน แม็คลาฟลิน ที่ลงตีพิมพไวในนิตยสาร พีซี

เวิลด ฉบบัมกราคม 2000 มาเลาสูกัน

ฟง

มหัศจรรยแหงเมกกะเฮิรซ

ทุกเดือนตุลาคม ใน

อเมริกาจะมีการประชุมใหญของ

ผูประกอบการดานไมโครโพรเซสเซอร

และทุกปคําพูดยอดฮิตในหมูผูผลิตไม

โครโพรเซสเซอรเหลาน้ีก็จะเปนไปใน

ทํานองวา ผูซ้ือเครื่องคอมพิวเตอร

สวนใหญมักจะหลงเขาใจผิดวาตัวเลข

เมกกะเฮิรซคือตัววัดระดับคุณภาพของ

File : cpu2000.doc page : 2

Laurianne McLaughlin "Coming Attractions : Processor of 2000" Pc world, Jan 2000, 62 โดย สุรพล ศรีบุญทรง

เครื่อง แลวก็เลยไมคอยยอมเสียเวลาเปรียบเทียบคุณสมบัติของผลิตภัณฑคอมพิวเตอรเวลาที่คิดจะหาซ้ือเครื่อง

คอมพิวเตอรใหมสักเครื่อง พวกเขาเพียงแตเลือกเอาผลิตภัณฑที่มีตัวเลขเมกกะเฮิรซมากที่สุดเทาน้ัน จนแมกระทั่ง

เกล็น แฮรรี่ ประธานบริษัทเซนธอร เทคโนโลยี ซึ่งเปนผูผลิตชิปไมโครโพรเซสเซอรรุนประหยัดก็ยังออกมาบนเลยวา

"เมกกะเฮิรซคือสิ่งเดียวที่ผูคนใหความสนใจ"

นาสนใจวาขนาดผูผลิตไมโครโพรเซสเซอรราคาถูกอยางเซนธอร เทคโนโลยี ยังออกมาพูดเรื่องความหลง

ผิดในคาเมกกะเฮิรซของผูซ้ือคอมพิวเตอร ก็แสดงวาความหลงผิดที่วาน้ันคงจะฝงลึกจริงๆ ปญหาจึงอยูที่วาจะทําอยางไร

ใหผูบริโภคเรียนรูวาสมรรถนะความเร็วของเครื่องคอมพิวเตอรน้ันเปนคนละคาเมกกะเฮิรซ ยกตัวอยางงายๆ ดูแคเครื่อง

คอมพิวเตอรทีใ่ชชิปเพนเที่ยมทรี 550 เมกกะเฮิรซ ก็ยังรันโปรแกรมกลุมที่ใชในสํานักงานธุรกิจทั่วไปไดเร็วกวาเครื่องเพน

เที่ยมทรี 500 เมกกะเฮิรซ แค 5 % เทานั้น ทั้งที่มีความเร็วสัญญาณนาฬิกาสูงกวากันถึง 10 %

และอาจจะเปนดวยเหตุผลความเช่ือผิดๆ เรื่อง

ความเร็วสัญญานนาฬิกาของผูบริโภคน่ีก็ได ทําใหบริษัทยักษใหญ

ดานไมโครโพรเซสเซอรรายใหม อยาง เวีย เทคโนโลยี มีแผนจะผลิต

สินคาตัวใหมของตนออกมาใหมีคาเมกกะเฮิรซชนิดสุดๆ แบบไมตองใส

ใจกังวลกับเรื่องสมรรถนะความเร็วที่แทจริงกันใหมากนักออกมาใน

กลางปหนา โดยจะตั้งราคาจําหนายชิปรุนดังกลาวไวในระดับไมเกิน

50 เหรียญ เพ่ือใหเหมาะกับการนําไปประกอบเครื่องคอมพิวเตอรรุน

ราคาตํ่ากวา 1,000 เหรียญ อยางไรก็ตาม มีผูเชี่ยวชาญหลายคนต้ังขอสังเกตุวาชิปรุนที่วาน้ันอาจจะมีคาเมกกะเฮิรซสูง

จริง แตเม่ือนํามารันโปรแกรมประยุกตที่นิยมใชกันอยูทั่วไปในขณะน้ี อาจจะทําความเร็วไดไมเทากับชิปเซรีลอนซึ่งมีคา

เมกกะเฮิรซเทาๆ กันของบริษัทอินเทล เพราะขอจํากัดในการออกแบบวงจรภายในตัวชิปของเวีย เทคโนโลยี (ที่บอกวา

บริษัท เวีย เทคโนโลยี เปนยักษใหญดานการผลิตชิปไมโครโพรเซสเซอรราคาถูก เพราะเพิ่งซื้อกิจการของ "ไซริกซ" และ

"เซนธอร" มาไวในครอบครอง)

กลาวไดวา ความเร็วของความเร็วสัญญานนาฬิกาน้ันจะมีผลตอสมรรถนะของไมโครโพรเซสเซอรอยาง

เต็มที่ก็ตอเม่ือชิปดังกลาวไดรับการ

ออกแบบวงจรสวนประกอบอ่ืนๆ

มารองรับไวอยางพอเหมาะพอเจาะ

ยกตัวอยางเชน ชิปเพนเทียมทรีตัว

ลาสุดของบริษัทอินเทลที่มีช่ือรหัส

วา "คอปเปอรไมน

(Coppermine)" นั้นไมเพียงแตจะ

มีตัวเลขเมกกะเฮิรซสูงเทานั้น แต

ยังเสริมเอาหนวยความจําแคช

ขนาด 256 กิโลไบท ไวภายในตัวชิป ตลอดจนมีการออกแบบวงจรภายในสวนตางๆ ใหรองรับกับโปรแกรมยอดนิยม

อยางไมโครซอฟทออฟฟซไดอยางเหมาะสมลงตัวอีกดวย (คู อินเทล-ไมโครซอฟท น้ีเขารวมมือกันรวยมานานแลว จนบาง

คนถือโอกาสเรียกเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชชิปอินเทลและติดต้ังโปรแกรมวินโดวสรวมๆ กันไปเลยวา "เครื่องวินเทล")

File : cpu2000.doc page : 3

Laurianne McLaughlin "Coming Attractions : Processor of 2000" Pc world, Jan 2000, 62 โดย สุรพล ศรีบุญทรง

อยางไรก็ดี เรื่องสมรรถนะอันสืบเนื่องมาจากหนวยความจําแคชและการออกแบบวงจรภายในตัวชิปก็

ยังคงเปนเร่ืองยุงยากเกินกวาจะใชสรางความสนใจในหมูผูบริโภคซึ่งสวนใหญยังชอบอะไรที่หวือหวาได บรรดา

บริษัทผูผลิตไมโครโพรเซสเซอรช้ันนําจึงมักจะมีการวางแผนลวงหนาในการผลักดันสินคาที่มีคาเมกกะเฮิรซสูงข้ึนออกมา

อยางตอเน่ือง เชน ในชวงไตรมาศแรกของปน้ี ทางบริษัทเอเอ็มดี ก็มีแผนจะเปดตัวสินคาใหมในช่ือรหัส "แอ็ทลอน

(Atlon)" ซึ่งมีความเร็วสัญญานนาฬิกาสูงถึง 800 และ 900 เมกกะเฮิรซ ออกมา ซึ่งก็สงผลใหทางบริษัทอินเทลทนอยูเฉย

ไมได ตองแถลงวาจะมีสินคา เพนเที่ยมทรี รุน 800 เมกกะเฮิรซ ออกมาในไตรมาศที่สองเหมือนกัน

นอกจากนั้น บริษัทอินเทลยังมีแผนจะเปดตัวผลิตภัณฑไมโครโพรเซสเซอรรุนใหมติดตามมาอีกสองตัว

ในชวงกลางป อันไดแกชิปแบบไอทาเน่ียม 64 บิท ที่ออกแบบมาเพ่ือการประมวลผลบนเคร่ืองเวิรกสเตช่ัน และเครื่อง

คอมพิวเตอรทีจ่ะใชเปนเซิรฟเวอรในเครือขายเน็ตเวิรกเปนการเฉพาะ สวนผลิตภัณฑอินเทลอีกตัวซ่ึงจะถูกเปดตัว

ออกมาในชวงกลางปเหมือนกันน้ัน ถูกต้ังช่ือรหัสไววา "ทิมมา (Timma)" โดยบริษัทอินเทลต้ังใจวาจะเข็นไอเจาทิมมาตัว

นี้ออกมาชนกับสินคาในตลาดลางใหรูดํารูแดงกันไปสักที (ถาจะใหไดผลจริง คงตองมีราคาไมเกิน 50 เหรียญ เหมือนชิป

ของ เวีย เทคโนโลยี)

สําหรับในไตรมาศที่

สามน้ันดูเหมือนวาจะเปนชวงพักรบ

เพราะทั้งอินเทล และเอเอ็มดี ตางก็

ไมมีแผนจะเปดตัวสินคาใหมออกมา

ในชวงน้ี แตจะไปเกิดศึกชนชางอีก

ทีในชวงปลายป เมื่อทั้งสองบริษัทมี

แผนจะทะลวงความเร็วไมโคร

โพรเซสเซอรใหทะลุคาเมกกะเฮิรซขึ้นไปเปน 1 กิกะเฮิรซ ดวยกันทั้งสองราย โดยชิป 1 กิกะเฮิรซของเอเอ็มดี จะยังคงใช

ชื่อรหัสแอ็ทลอนตอไป แมวาจะเปลี่ยนคาความเร็วสัญญานนาฬิกาจากเมกกะเฮิรซไปเปนกิกะเฮิรซแลว ในขณะที่ทางอิน

เทลถือโอกาสตั้งชื่อชิปของตนเสียใหมวา "วิลเลี่ยมเม็ท (Williammette)" ในฐานะที่ไดเข็นความเร็วข้ึนไปถึงระดับ 1 กิ

กะเฮิรซ และมีการปรับความเร็วของสัญญาณบัสไปเปน 200 เมกกะเฮิรซ เทากับความเร็วบัสของชิปแอ็ทลอน

สายนําสัญญาณทองแดงสิ เจง !!

ในยุค 2000 น้ี คําโฆษณาของผลิตภัณฑไมโครโพรเซสเซอรไมไดจํากัดอยูเฉพาะเรื่องความเร็วสัญญาน

นาฬิกาเทานั้น แตยังมีคํามหัศจรรยตัวใหมอยาง "ค็อป

เปอรอินเตอรคอนเน็ค (Copper interconnect)" ที่

หมายถึงการใชโลหะทองแดงมาเปนตัวนําสัญญาณภายใน

ชิปถูกนํามาใชโฆษณาดวย โดยเกมสการแขงขันเรื่อง ค็อป

เปอรอินเตอรคอนเน็ค น้ีถูกเปดข้ึนโดยบริษัทเอเอ็มดี เม่ือ

เริ่มนําเอาโลหะทองแดงมาใชเปนวงจรนําสัญญาณภายใน

ผลิตภัณฑไมโครโพรเซสเซอรรุนใหมช่ือ "แอ็ทลอน" ซ่ึงถูกผลิตขึ้นจากโรงงานใหมของตนในเมืองเดรสเด็น ประเทศ

เยอรมัน

File : cpu2000.doc page : 4

Laurianne McLaughlin "Coming Attractions : Processor of 2000" Pc world, Jan 2000, 62 โดย สุรพล ศรีบุญทรง

เม่ือเทียบกับโลหะอลูมีเนียมซึ่งยังคงใชเปนตัวนําสัญญาณภายในชิปไมโครโพรเซสเซอรทั่วไปในปจจุบัน

โลหะทองแดงจะมีความตานทานไฟฟาตํ่ากวา บริษัทเอเอ็มดีจึงสามารถลดระยะเสนทางนําสัญญาณภายในวงจรชิปแอ็

ทลอนลงไปเหลือแค 0.18 ไมครอน ในขณะเดียวกัน ก็เปดโอกาสใหออกแบบตัวชิปใหมีแรงดันไฟฟาภายในที่ตํ่าลง และมี

ความเร็วในการสงผานสัญญาณขอมูลไดเร็วข้ึน อีกทั้งการลดขนาดของวงจรบนชิปไมโครโพรเซสเซอรลงก็ทําใหทีมงาน

ออกแบบของเอเอ็มดีสามารถวางแผนเพ่ิมหนวยความจําแคชใหกับตัวชิปโดยตรงไดมากข้ึนดวย

ผลจากความสําเร็จของบริษัทเอเอ็มดีทําใหยักษใหญอินเทลทนอยูเฉยไมได ตองออกมาขยับตัวใหผูคน

รับรูในความสําคัญของตนเองบาง เริ่มดวยการออกมาแถลงถึงผลิตภัณฑใหมช่ือวา "ทิมมา" ซ่ึงจะผนวกเอาวงจรกราฟฟก

และวงจรควบคุมสัญญาณเสียงเขามารวมไวในชิปไมโครโพรเซสเซอรเล็กๆ เพียงตัวเดียว ตามดวยเทคโนโลยีการผลิตไม

โครโพรเซสเซอรแบบใหมที่ทางอินเทลเรียกวาไอทาเนี่ยม (ต้ังช่ือเหมือนกับวาจะใชโลหะไททาเน่ียมมาเปนตัวนําสัญญาณ

ภายในชิป ? ) โดยเทคโนโลยีไอทาเน่ียมน้ีจะถูกนํามาใชเปนครั้งแรกกับผลิตภัณฑไมโครโพรเซสเซอรที่มีชื่อรหัสวา "เมอร

เซด (Merced)" อันจะเปนไมโครโพรเซสเซอรตัวแรกที่ใชระบบประมวลผล 64 บิท สมบูรณแบบ (ไมโครโพรเซสเซอรที่ใช

กันอยูทุกวันน้ียังคงดึงเอาขอมูลเขาไปประมวลผลทีละ 32 บิทอยู)

ผลจากการเพ่ิมขีดความสามารถในการดึงขอมูลเขาไปประมวลผลจาก 32 บิท ไปเปน 64 บิท ทําใหชิป

เมอรเซดสามารถจัดการกับขอมูลไดคร้ังละมากๆ และรองรับกับปริมาณของหนวยความจําที่สูงข้ึน อันจะสงผลให

สมรรถนะของเครื่องคอมพิวเตอรสูงขึ้นไปโดยปริยาย โดยเฉพาะกับการประมวลผลที่มีขอมูลถูกปอนเขามาทีละมากๆ

อยางพวกภาพวิดีโอสามมิติ (ตัวอยางของงานที่จะไดประโยชนจากระบบ

ประมวลผล 64 บิท แนๆ ก็ไดแก ระบบฐานขอมูลของสายการบิน หรือบริษัท

คาปลีก ที่ตองเก็บขอมูลสามมิติของเคร่ืองบิน หรือสินคาไวหลายๆ รุน เพ่ือ

ใหบริการผานระบบออนไลน)

อยางไรก็ตาม ผูเช่ียวชาญดานคอมพิวเตอรหลายทานไดต้ัง

ขอสังเกตุวาเทคโนโลยีไอทาเน่ียม และการใชประโยชนจากระบบประมวลผล

64 บิท ของชิปเมอรเซดน้ันนาจะยังไมเกิดข้ึนจริงแนในชวงปสองปน้ี เพราะ

โปรแกรมซอฟทแวรทั้งหมดที่มีอยูในทองตลาดยังคงเปนแบบ 32 บิท หาก

จะนําไปใชกับชิป 64 บิท ก็คงตองนํากลับมาเขียนใหม หรือนํากลับมาคอม

ไพลลใหมซึ่งตองใชเวลานานโขอยู ฉน้ันหากมีการผลิตชิปรุน 64 บิท อยางเมอร

เซดขึ้นมาจริงๆ มันก็คงจะถูกนํามาใชรันโปรแกรม 32 บิทไปอยางแกนๆ ซ่ึงไม

เพียงแตจะทําใหมันเปลงสมรรถนะความเร็วไมออกเทาน้ัน เผลอๆ จะทํา

ความเร็วไดนอยกวาชิป 32 บิททั่วไปเสียดวยซ้ํา (เหมือนเอารถสปอรตพอรชมาวิ่ง

ในกรุงเทพฯ แลวโดนรถจ๋ิวมิรา หรือสามลอเครื่องเบียดแซงไปใหเจ็บใจเลน) ที่

หนักที่สุด เห็นจะเปนคําวิจารณของ ไมเคิล สเลเตอร นักวิเคราะหแหงไมโครดี

ไซน รีซอรส ที่ฟนธงลงไปเปร้ียงเลยวา "เทคโนโลยีไอทาเน่ียมจะยังไมถูกนํามาใช

กับเคร่ืองคอมพิวเตอรพีซีแน อยางนอยก็ไมกอนป ค.ศ. 2003 แน เผลอๆ นาจะ

ไดใชกันจริงๆ ในป ค.ศ. 2005 นั่นแหละมากกวา"