Community College Dynamic of Development

170
CC Book 2 Cover Created Outline.indd 1 CC Book 2 Cover Created Outline.indd 1 10/31/2009 11:05:00 AM 10/31/2009 11:05:00 AM

description

Community College Dynamic of Development

Transcript of Community College Dynamic of Development

Page 1: Community College Dynamic of Development

CC Book 2 Cover Created Outline.indd 1CC Book 2 Cover Created Outline.indd 1 10/31/2009 11:05:00 AM10/31/2009 11:05:00 AM

Page 2: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา

ผูเขียนและบรรณาธิการ : วิวัฒน คติธรรมนิตยผูเขียนและเรียบเรียง : กรเกษ ศิริบุญรอด, เรวดี เจริญยิ่ง และช่ืนขวัญ บุญทวี

สำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน

Page 3: Community College Dynamic of Development

ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน, สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, ๒๕๕๒. ๑๖๘ หนา. ๑. วิทยาลัยชุมชน ๒.วิทยาลัยชุมชน--หลักสูตร I. วิวัฒน คติธรรมนิตย, บรรณาธิการ II. ชื่อเรื่อง ๓๗๘.๐๕๒ ISBN: ๙๗๘-๖๑๖-๒๐๒-๐๖๕-๐

ช่ือหนังสือ วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา

บรรณาธิการ วิวัฒน คติธรรมนิตย

ผูเขียน กรเกษ ศิริบุญรอด, เรวดี เจริญยิ่ง, ชื่นขวัญ บุญทวี

พิมพคร้ังแรก ตุลาคม ๒๕๕๒

จำนวนพิมพ ๑๕,๐๐๐ เลม

จัดพิมพโดย สำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ถนนราชดำเนิน เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๘๐ ๐๐๙๑-๙๖ โทรสาร ๐ ๒๒๘๐ ๔๑๔๖

ออกแบบ/จัดรูปเลมและพิมพ บริษัทวิกิ จำกัด ๓๒/๑๘๑ ซอยนวลจันทร ๑๒ ถนนนวลจันทร แขวงคลองกุม เขตบึงกุม กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๔๐ โทรศัพท ๐๒ ๙๔๖ ๒๓๐๑ โทรสาร ๐๒ ๙๔๖ ๒๓๐๔ email: [email protected], Homepage: Http://wiki.co.th

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 2

Page 4: Community College Dynamic of Development

คำนำ

ชวงเวลากวา ๘ ปนับแตมีแนวคิดที่จะจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนขึ้นมาในสังคมไทย จนกระทั่งเปนรูปเปนราง จาก

“พิมพเขียว” ของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย ในป ๒๕๔๔ จนกระท่ังมาถึงงานรวมพลัง

“วทิยาลยัชมุชน : ทางเลอืกอดุมศึกษาเพือ่ปวงชน” เมือ่ตนเดอืนกนัยายน ๒๕๕๒ นัน้ ในทศันะของดฉินัเปนหวงเวลาท่ี

มีความสำคัญยิ่งของประวัติศาสตรการศึกษาไทย

เนื่องเพราะมีการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาครั้งสำคัญของสังคมไทย จากระบบการศึกษาที่ทานเจาคุณ

พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ) เรียกวาเปน “การศึกษาหมาหางดวน” ที่ระบบการศึกษาในอดีตไดพรากเด็ก

และเยาวชน รวมถึงผูใหญออกจากชุมชนทองถิ่น เปนระบบการศึกษาที่มิไดรับใชชุมชน หรือชุมชนมิไดรับประโยชน

จากการจัดการศึกษามากเทาที่ควร ทั้งยังเปนการศึกษาชนิดแพคัดออก โดยมีจุดมุงหมายเพียงเพื่อการเขา

มหาวิทยาลัยและปริญญาบัตรเปนสำคัญ ไดมีการริเริ่มหลักคิดทางการศึกษาที่สำคัญยิ่ง คือเปนการศึกษาเพื่อสนอง

ความสนใจใฝรูของประชาชน โดยลดทอนอุปสรรคในการเขาถึงการศึกษา ทั้งเหตุท่ีเกิดจากดานฐานะทางเศรษฐกิจ

พื้นที่และเวลาในการเรียน เพศ วัย หรือแมกระทั่งพ้ืนฐานทางการศึกษา

ในทัศนะของดิฉัน การเปล่ียนแปลงดังกลาว สวนหนึ่งเกิดขึ้นจากการนำแนวคิดเรื่อง “วิทยาลัยชุมชน” มาสู

การปฏิบัติในสังคมไทย เหตุผลและความจำเปนที่จะตองจัดใหมีวิทยาลัยชุมชนขึ้นในสังคมไทยก็เพ่ือใหระบบการ

ศึกษาสามารถตอบสนองตอการพัฒนาชุมชนทองถิ่น ซึ่งมีประชาชนสวนใหญเปนผูขาดโอกาสทางการศึกษา ขาด

โอกาสในการเรียนรูที่จะพัฒนาศักยภาพของตนเอง ดวยเหตุที่สมุทัยของปญหานี้สั่งสมมานาน การแกไขจึงจำเปน

ตองอาศัยความอดทน ความเพียรอุตสาหะ กอรปดวยความคิดริเริ่มสรางสรรค

ชาววิทยาลัยชมุชน ซึง่ประกอบดวยกรรมการสภาวิทยาลัยชมุชน ผูบรหิาร เจาหนาที ่ตลอดจนอาจารยพเิศษ

ตางมุงดำเนินการตามภารกิจ โดยมีกรอบการดำเนินงานหลักๆ ให หากในการปฏิบัติไดมีการปรับรูปแบบและ

แนวทางทำงานท่ีหลากหลายตามบริบทและสถานการณในพื้นที่ งานของวิทยาลัยชุมชนจึงปรากฏออกมาอยางมีสีสัน

มีพลวัต เพราะเปนการทำงานที่มาจากฐานลาง มิใชการสั่งการจากเบื้องบนถายเดียว บางเรื่องสามารถดำเนินการ

อยางราบร่ืน ประสบความสำเร็จดวยดี แตบางเรือ่งยงัจำเปนตองแกไขใหดยีิง่ขึน้ ทัง้หมดน้ีลวนข้ึนกับการประเมนิผล

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 3

Page 5: Community College Dynamic of Development

จากผูเรยีน และผูทีเ่ก่ียวของ ไมวาจะเปนนายจาง (ของผูสำเร็จการศึกษาและฝกอบรม) กรรมการสภาวิทยาลัยชมุชน

ซึ่งมีตัวแทนจากภาคประชาชนและองคกรตางๆ ในพ้ืนที่ และสถาบันอุดมศึกษาท่ีผูสำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัย

ชุมชนไปศึกษาตอระดับปริญญา

ในชวงเวลาผานมา ดฉินัเหน็การเปลีย่นแปลงของวทิยาลยัชมุชนทกุๆ แหงอยางใกลชดิ วทิยาลยัชมุชนหลาย

แหงเติบโตอยางแข็งแกรง มั่นคง สามารถเปนที่พึ่งในดานการเรียนรูสำหรับชาวบานในพื้นที่ไดอยางดี หลายแหง

กำลังอยูบนเสนทางแหงการพัฒนา และตองยอมรับวา มีบางแหงที่จำเปนตองไดรับการสนับสนุนและดูแลอยาง

ใกลชิด

๘ ปแหงการเติบโตและกาวหนาของวิทยาลัยชุมชนน้ัน หากเปรียบเสมือนตนไมก็คงเปนชวงเวลาท่ีสมควร

ออกดอกออกผลมาใหชื่นชมบาง ขอเขียนที่คณะผูเขียนไดศึกษาเรียบเรียงไวในหนังสือ “วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหง

การพัฒนา“ เลมนี้ อาจเปนตัวแทนสวนหนึ่งของผลผลิตที่วิทยาลัยชุมชนทั่วประเทศทั้ง ๑๙ แหงไดคัดสรรมานำ

เสนอ แตดวยขอจำกัดในดานงบประมาณ และระยะเวลาในการดำเนินงาน จึงนำเสนอไดเพียงบางเรื่องเทานั้น

อยางไรก็ดี ดิฉันใครเรียนวา บนเสนทางของการพัฒนานี้ ชาววิทยาลัยชุมชนไดทุมเทกำลังสติปญญา ความเพียร

พยายาม และความอดทนอดกล้ันมาโดยตลอด ดังปรากฏรองรอยของการทำงานเหลานี้ใหเห็นอยางเดนชัด หนังสือ

เลมนี้จึงเปรียบเสมือนการบันทึกความทรงจำของผูที่เกี่ยวของกับการทำงานในชวงที่ผานมา และดวยเหตุที่งานของ

วิทยาลัยชุมชนมีพลวัตสูง เรื่องราวที่บันทึกไวนี้จึงอาจมีการพัฒนาใหดียิ่งๆ ขึ้นในอนาคต ในขณะที่หลักสูตรและการ

เรียนการสอนหลายเร่ืองท่ีบันทึกไวอาจจำเปนตองยุติหรือหยุดชั่วคราวไว จนกวาจะมีความสนใจตองการจาก

ประชาชนในพื้นที่หรือผูรับบริการอีกครั้ง เพราะงานของวิทยาลัยชุมชนเปนงานที่สรางขึ้นจากความตองการของผูรับ

บริการทางการศึกษาและการเรียนรูนั่นเอง

ในโอกาสนี้ ดิฉันใครขอขอบคุณ กรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน คณาจารยและ

เจาหนาท่ีวิทยาลัยชุมชน ตลอดจนนักศึกษาและผูเขารับการอบรมทุกทาน ที่กรุณาเสียสละเวลาเลาเร่ืองและให

ขอมูลแกคณะผูจัดทำ ขอขอบคุณ คุณวิวัฒน คติธรรมนิตย และผูเขียนทุกคน ที่ชวยเรียบเรียงเรื่องราวของ

วิทยาลัยชุมชนเผยแพรในคร้ังน้ี

สุนันทา แสงทอง

ผูอำนวยการสำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 4

Page 6: Community College Dynamic of Development

: 17

: 25 : 25

๑๗ วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน : สิ้นสายหมอกจาง ความรูกระจาง ๑๙ สรางนวัตกรรมทางการศึกษา ๒๐ หลากหลายอาชีพ...สูอนาคตใหม ๒๒ ปาย...เรียนรูสูการเปล่ียนแปลง ๒๓ บานสันติชน...สันติเกิดจากความรู

๒๕ วิทยาลัยชุมชนตาก : พนักงานสุขภาพชุมชน ชายแดน ผลิตคนสรางปราการปองกันโรค ๒๗ ‘Health dam’ เข่ือนสุขภาพเพ่ือชุมชน ๒๘ จากแนวคิดสูการปฏิบัติ ๒๙ พัฒนาคนกลับคืนทองถิ่น ๓๑ กาวตอไปในวิทยาลัยชุมชนตาก ๓๑ หลักสูตรอัญมณี (การเดินพลอย)

สารบัญ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 5

Page 7: Community College Dynamic of Development

“ ”

: 33

: 41

๓๓ วิทยาลัยชุมพิจิตร : ขยาย “ทุนความรู” สูชุมชน ๓๕ เขาถึงชุมชนดวย “แหลงเรียนรูเคล่ือนที่” ๓๗ เครือขายแหลงเรียนรูชุมชน “หนวยจัดการศึกษา” ๓๘ “โครงงานนักศึกษา” ผลงานนักศึกษาเพ่ือ ชุมชน ๓๙ ตัวอยางผลงานโครงงานของนักศึกษา

๔๑ วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู : ฟนฟูภูมิปญญา พัฒนาอาชีพ ๔๓ ข าวฮางคืออะไร ๔๔ จากการถนอมอาหาร สูหลักสูตรขาวอินทรีย เพ่ือสุขภาพ ๔๕ หลักสูตรเย็บผาสมุนไพรทอมือ ฟนวิถีชุมชน ๔๖ วิทยาลัยชุมชน นำชุมชนสูความพอเพียง ที่ย่ังยืน ๔๘ กรรมวิธีการผลิตขาวฮาง

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 6

Page 8: Community College Dynamic of Development

: 49

“ ”

: 57

๔๙ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร : คือสะพานเช่ือม ความรู ๕๒ ธุรกิจระหวางประเทศในกลุมอินโดจีน ๕๒ หลักสูตรอนุปริญญาสรางบัณฑิตรองรับ ตลาดงานในทองถิ่น ๕๒ เปดประตูสูการคากลุมอินโดจีน ๕๓ สานเครือขาย พัฒนาวิชาการ ๕๔ ครูผูสอนตองเกง ๕๕ “เกษตรอินทรีย” ความหวังของเกษตรกร หมูบานสันติสุข

๕๗ วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย : เราคือ “กก” ที่เติบโต แข็งแกรง ๕๙ เ ร่ิมตนจากจุดเล็กๆ ๖๐ หลากความตองการ หลายความสนใจ ๖๑ กกขางนา พัฒนาชีวิต ๖๒ จากปจจุบันสูอนาคต วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย ๖๔ หลักสูตรการทอเส่ือกก ๖๔ หมูกระจก

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 7

Page 9: Community College Dynamic of Development

: 73

: 65 : 65

๗๓ วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี : พัฒนาคน สรางนักอนุรักษ ๗๖ ดึงศักยภาพจังหวัด พัฒนาหลักสูตร ๗๖ หลักสูตรผูนำเดินปาศึกษาธรรมชาติ ๗๘ เรียนรูพืชสมุนไพรกับวิทยาลัยชุมชน อุทัยธานี ๗๘ สุขใจไดเรียนใกลบาน ๘๐ เปล่ียนวิธีทำการเกษตรจากเคมีสูเกษตร อินทรีย

๖๕ วิทยาลัยชุมชนสระแกว : วชช. ‘มืออาชีพ’ ชาวสระแกว ‘มีอาชีพ’ ๖๗ จากเกษตรอินทรียสู “บานม่ันคง” ๖๙ โฉมใหมของวิทยาลัยชุมชนสระแกว ๗๐ สรางงานมัคคุเทศกทองถิ่น

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 8

Page 10: Community College Dynamic of Development

: 89 : 89

: 81 : 81

๘๑ วิทยาลัยชุมชนระนอง : เช่ือมพรมแดนแหง ความเขาใจดวยภาษา ๘๓ ภาษา…การส่ือสารเพ่ือลดชองวาง ๘๔ กวาจะมาเปนหลักสูตรภาษาพมา ๘๕ เรียนภาษาพมาแลวไดอะไร

๘๙ วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส : พัฒนาหลักสูตร ดวยงานวิจัยเพ่ือแกปญหาทองถิ่น ๙๑ วชช.นราธิวาสจับมือชาวบานรวมเรียนรู และแกปญหาดวยกัน ๙๒ สืบคนงานวิจัย ๙๓ ผูเรียนมีสวนรวม เนนลงมือปฏิบัติจริง ๙๔ การศึกษาท่ีตอเช่ือมไปถึงโอกาสพัฒนา ชีวิต ๙๖ การแปรรูป “น้ำมันมะพราวบริสุทธิ์” ผลิตภัณฑที่สรางมูลคาเพ่ิมกวา ๘ เทา

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 9

Page 11: Community College Dynamic of Development

: 105 : 105

: 97

๙๗ วิทยาลัยชุมชนยะลา : แหลงเรียนรูของคน ในชุมชน ๙๙ หลักสูตรการตลาดฯ สรางเจาของกิจการ ๑๐๐ มีวันน้ีไดเพราะวิทยาลัยชุมชน ๑๐๑ ไดเพื่อน ไดสังคม ไดเครือขาย ๑๐๓ หลักสูตร “ขับรถขุดไฮดรอลิก” สรางอาชีพ แกปญหาขาดแคลนแรงงาน

๑๐๕ วิทยาลัยชุมชนปตตานี : เปล่ียนนาราง เปนนาแหงรักและสามัคคี ๑๐๗ เม่ือแหลงอาหาร กลายเปนนาราง ๑๐๘ รวมดวยชวยกัน พลิกผืนนาราง ๑๐๙ คืนลมหายใจสูตำบลนาเกตุ ๑๑๐ วิทยาลัยชุมชน นำชุมชนสรางสังคมใหม ๑๑๑ วิทยาลัยชุมชนนำการศึกษาสูชุมชน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 10

Page 12: Community College Dynamic of Development

: 113 : 113

“ ”

: 121 : 121

๑๑๓ วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร : เพิ่มโอกาสทาง การศึกษา ผลิตบุคลากร และพัฒนากำลังคน ๑๑๕ หลักสูตรสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุ ๑๑๖ เสียงสะทอนจากผูเรียน ๑๑๗ สุขใจไดเห็นความสำเร็จของผูเรียน ๑๑๙ รอยย้ิมของผูเรียนคือกำลังใจของ “ชาววิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร”

๑๒๑ วิทยาลัยชุมชนตราด : กับการพัฒนาการ ทองเท่ียวเชิงอนุรักษที่ “เกาะกูด” ๑๒๓ วิทยาลัยชุมชนตราดกับจุดเร่ิมตนท่ีเกาะกูด ๑๒๔ เสียงสะทอนจากคนเกาะกูด ๑๒๕ มุงสรางเครือขาย สานสัมพันธชุมชน ๑๒๖ เวทีวิชาการชาวบาน ๑๒๗ ภาษาอังกฤษวันน้ีที่ “เกาะกูด” ๑๒๘ หลักสูตร “การเพาะเล้ียงปูนิ่ม” สืบสานวิถีชีวิตชายฝงใหอยูคู จ.ตราด

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 11

Page 13: Community College Dynamic of Development

: 137

: 129 : 129

๑๒๙ วทิยาลัยชุมชนยโสธร : ผลิตภัณฑจากผาลายขิด เพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น ๑๓๑ หมอนลายขิด เพื่อความตองการของชุมชน ๑๓๒ จากหลักสูตรสูการปฏิบัติจริง ๑๓๓ ลายขิดยกระดับคุณภาพชีวิต ๑๓๕ กาวตอไปของหมอนลายขิด ๑๓๕ ทิศทางอนาคตของวิทยาลัยชุมชนยโสธร

๑๓๗ วทิยาลัยชุมชนพังงา : มวีชิาเหมือนมทีรัพย อยูนบัแสน ๑๓๙ เก็บตก “เด็กมัธยม” สูร้ัวอุดมศึกษา ๑๔๐ หลากหลายหลักสูตรกับวิทยาลัยชุมชน พังงา ๑๔๑ หลักสูตรฝกอบรม “ขับรถยนตเพื่อชุมชน” ๑๔๒ หลักสูตร Service Mind and Team Work ๑๔๓ หลักสูตรดอกไมประดิษฐจากใบยางพารา ๑๔๔ เร่ืองเลาชาววิทยาลัยชุมชนพังงา บนเกาะหมากนอย

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 12

Page 14: Community College Dynamic of Development

: 145 : 145

!

: 153

๑๔๕ วทิยาลัยชุมชนสูตล : ขอบฟากวางของชาวเล ณ เกาะหลีเปะ ๑๔๗ วิถีชาวเล “อูรังลาโวย” ๑๔๘ พัฒนาหลักสูตรดวยกระบวนการ DACUM ๑๔๘ หลักสูตรในฝนของชาวเล “เกาะหลีเปะ” ๑๕๐ “หลักสูตรการจัดการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ” สรางเจาบานท่ีดี นำรายไดสูชุมชน

๑๕๓ วทิยาลัยชุมชนแพร : หมอหอมยุคใหม ไปไกลท่ัวโลก! ๑๕๕ กิจกรรมเสริมศักยภาพนักศึกษา ๑๕๗ หมอหอมยุคใหม ใสไดทุกวัย ๑๕๙ ดีใจที่แพรมีวิทยาลัยชุมชน ๑๕๐ “หลักสูตรการจัดการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ” สรางเจาบานท่ีดี นำรายไดสูชุมชน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 13

Page 15: Community College Dynamic of Development

: 161

๑๖๑ วทิยาลัยชุมชนสงขลา : เขาถงึ เขาใจ ใหโอกาส ๑๖๓ จำเปนตองเกิด ๑๖๕ ขันหมากสรางงาน ๑๖๗ ศาสนาเช่ือมชุมชน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 14

Page 16: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 15

Page 17: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 16

Page 18: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน สิ้นสายหมอกจาง ความรูกระจาง

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 17

Page 19: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 18

Page 20: Community College Dynamic of Development

เชาวันใหม หลังฝนตกพรำท้ังคืน อาทิตยเริ่ม

ไขแสงอรุณ ขับไลสายหมอกใหจางหายไป

หองเรียนเล็กๆ ในหุบเขาอันสลับซับซอนของทิวเขาถนน

ธงชัย ณ บานหวยปูลิง เปดตอนรับนักศึกษาหลักสูตร

อนุปริญญา สาขาการปกครองสวนทองถ่ินอีกครั้งหนึ่ง

บานหวยปูลิงเปนหนึ่ งในหมูบานที่ ไดชื่อวา

เดินทางเขาถึงยากท่ีสุด แมจะอยูหางจากตัวอำเภอเมือง

จังหวัดแมฮองสอนเพียง ๖๐ กิโลเมตร แตสภาพภูมิ

ประเทศที่เต็มไปดวยภูเขาอันสลับซับซอน เสนทางคด

เคี้ยว เปนสาเหตุหนึ่งที่ทำใหแมฮองสอนเปนจังหวัดที่

ขาดแคลนสถาบันอุดมศึกษา ประกอบกับมีชนเผา

ชาติพันธุหลากหลาย ที่มีภาษาและวัฒนธรรมแตกตาง

กัน การใหบริการทางการศึกษาในพื้นที่แมฮองสอน

อยางทั่วถึงและมีคุณภาพจึงเปนภารกิจที่ทาทายอยางยิ่ง

สรางนวัตกรรมทางการศึกษา

ชวงเวลากวาเจ็ดปนับตั้งแตจัดตั้งเมื่อวันที่ ๑๗

เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๕ วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนได

สรางสรรคนวัตกรรมและใหบริการทางการศึกษาชนิดที่

ไมเคยปรากฏมากอน เริ่มตั้งแตการพัฒนาระบบ “สภา

อำเภอ” รูปแบบการบริหารท่ีใหโอกาสประชาชนใน

แตละอำเภอท่ีมีความหลากหลายทางชาติพันธุเขามามี

สวนรวมในการบริหารจัดการศึกษา เพื่อตอบสนอง

ความตองการทางการเรียนรูและพัฒนาคุณภาพชีวิต

ของตนและคนในทองถิ่น

“การท่ีไมเคยมีสถาบันอุดมศึกษา และมีความ

หลากหลายของชนเผา เปนโอกาสในการทำงานของ

วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน ยิ่งมีปญหาในการเดินทาง

เรายิ่งตองหาแนวทางใหบริการที่ทั่วถึง เราจึงมุงเปด

หนวยจัดการศึกษา โดยขยายไปในพื้นที่ระดับอำเภอ

และตำบล” นายคมสัน คูสินทรัพย ผูอำนวยการ

วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน กลาวถึงภารกิจของวิทยาลัย

ชุมชนแมฮองสอน

ผอ.คมสันพรอมดวยคณะกรรมการสภาวิทยาลัย

ชุมชนแมฮองสอน เริ่มวางรากฐานงานตั้งแตการสราง

ความเขาใจใหกับบุคลากร มีการประชุมเสวนา ทำกรอบ

ตัวชี้วัดในการทำงานใหเขาใจตรงกันวาวิทยาลัยชุมชน

จัดตั้งขึ้นพื่ออะไร หลังจากดำเนินการไดประมาณ ๒-๓

ป จึงเริ่มมีตัวอยางการทำงานท่ีเปนรูปธรรมมากข้ึน

ปจจุบันวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนมีหนวยจัด

การศึกษาครอบคลุมพ้ืนที่เกือบทุกอำเภอ ทั้งน้ีเพราะ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 19

Page 21: Community College Dynamic of Development

บริบทของพ้ืนที่ที่มีความหางไกล การคมนาคมไมสะดวก

ดังนั้นวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนจึงตองกระจายอำนาจ

การบรหิารจดัการบางสวนใหหนวยจัดแตละแหงสามารถ

บริหารจัดการงานไดในระดับหนึ่ง โดยมีรูปแบบการ

บริหารจัดการเหมือนแมขาย คือ มีหัวหนาหนวย มีฝาย

ธุรการ มีอาจารยพิเศษ เพื่อใหสามารถจัดการศึกษาได

เองในแทบทุกเรื่อง

“เราเชิญบุคคลที่ เปนที่ยอมรับของชุมชนใน

หนวยจัดการศึกษาแตละแหงมาเปนกรรมการบริหาร

เพื่อชวยกำหนดนโยบายและการบริหารงานของหนวย

จัดการศึกษาน้ันๆ มีอนุกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน

ประจำอยูทุกอำเภอ เดิมเราใหหัวหนาหนวยจัดการ

ศึกษาประชุมรวมกันในหนวยเพื่อทำแผน แลวนำแผนนั้น

เสนอมายังสภาวิทยาลัยชุมชนที่จังหวัด หลังจาก

ดำเนินการรูปแบบนี้ไปไดสักระยะหน่ึง ทางสภาวิทยาลัย

ชุมชนแมฮองสอนก็ประชุมสรุปการดำเนินงานและถอด

บทเรียนจากการทำงานของหนวยจัดการศึกษาของ

อำเภอตางๆ วารูปแบบใดท่ีเหมาะสมท่ีสุด” ผอ.คมสัน

เลาถึงยุทธศาสตรสำคัญในการทำงาน และวา หลังจาก

ทดลองรูปแบบการบริหารจัดการหนวยจัดการศึกษา

หลายรูปแบบแลว พบวา หากจะใหการขับเคลื่อนงานใน

ระดับุชมชนประสบความสำเร็จจะตองมีหัวหนาหนวย

จัดการศึกษาทำงานรับผิดชอบประจำ

ดงันัน้ปลายป ๒๕๔๙ วทิยาลยัชุมชนแมฮองสอน

จงึเริม่ใชรปูแบบการทำงานโดยมอีนกุรรมการสภาวทิยาลยั

ชุมชน มีตัวแทนจากชนเผาตางๆ ในอำเภอน้ันมาเปน

ผูแทน กระทั่งพัฒนาเปนการบริหารในรูปแบบสภา

อำเภอ ที่มีบทบาทหนาที่ในการดูแลหนวยจัดการศึกษา

ในพื้นที่ มีผูแทนประชาชนและกลุมชาติพันธุตางๆ เขา

มามีสวนรวมในการดำเนินงาน เปนรูปแบบที่สงผลให

หลักสูตรตางๆ ของวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนมีความ

หลากหลายและสอดคลองกับบริบทของพ้ืนที ่ดงัตวัอยาง

ตอไปนี้

หลากหลายอาชีพ...สูอนาคตใหม

นอกจากสภาพพ้ืนที่ที่มีความหางไกลแลว บริบท

สำคัญอีกประการหนึ่งของวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนคือ

ความหลากหลายทางชาติพันธุ ซึ่งแนนอนวายอมสงผล

ตอความสนใจในหลักสูตรการฝกอบรมที่แตกตางกันไป

ดงัที ่ดร.จรญู คำนวนตา ประธานสภาวิทยาลัย

ชุมชนแมฮองสอน ไดเลาใหทราบวา

“การเปดหลกัสูตรของวทิยาลยัชมุชนแมฮองสอน

คำนึงถึงความตองการของชุมชน หลักสูตรตางๆ เปน

การสรางโอกาสและสนองตอบการใชงานไดจริงของ

คนในชุมชน ดังนั้นหลักสูตรจะมีการปรับและพัฒนา

ตลอด”

เชนที่หนวยจัดการศึกษาอำเภอแมลานอย พื้นที่

นี้เดิมมีปญหาเรื่องยาเสพติด และกลุมผูติดเชื้อ ซึ่งคน

ทั้งสองกลุมนี้ไมมีอาชีพ ทำใหไมไดรับการยอมรับจาก

สังคมในชุมชน วิทยาลัยชุมชนสำรวจความตองการพบ

วาชาวบานมีความสนใจท่ีจะเรียนในหลักสูตรที่สามารถ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 20

Page 22: Community College Dynamic of Development

นำมาประกอบอาชีพเพื่อใหมีรายไดเลี้ยงตนเอง

วทิยาลยัชุมชนเร่ิมดำเนินการคนหาความตองการ

ของคนในทองถิน่ โดยเลอืกใหมคีวามสอดคลองกับบริบท

ของทองถ่ิน พบวาในอำเภอแมลานอยมีไมสักมาก และ

ยังอยูใกลกับแหลงทองเที่ยว จึงไดพัฒนาหลักสูตรการ

แกะสลักไมเพื่อนำไปประกอบอาชีพ หลังจากพัฒนาจน

ไดหลักสูตร จึงเชิญอาจารยพิเศษซึ่งเปนคนในทองถิ่น

มาจัดการเรียนการสอนในข้ันพื้นฐาน เชน การใช

เครื่องมือ การแกะสลักข้ันพื้นฐาน

ขั้นตอไป คือ นำคณะผูเรียนไปศึกษาดูงานที่

หมูบานแกะสลักบานถวาย จังหวัดเชียงใหม ที่นั้นผูเรียน

ไดมีโอกาสเรียนรูทั้งเร่ืองงานแกะสลัก และการตลาด

รวมถึงแนวทางการพัฒนาสินคาใหมีความนาสนใจ

ขั้นสุดทายวิทยาลัยชุมชนเขามาชวยในเรื่องการ

ตลาด โดยชวยหาตลาดสำหรับขายสินคา แนะนำผูเรียน

เรื่องการประชาสัมพันธสินคา เชน มีนามบัตรสำหรับ

แจกลูกคา” ผอ.คมสัน ยกตัวอยางกระบวนการจัดการ

เรียนการสอนท่ีประสบความสำเร็จใหฟง

ปจจุบันศิษยเกาของวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนมี

อาชพีแกะสลกัไม ซึง่สามารถสรางรายไดใหแกครอบครวั

ไดอยางมั่นคง ทั้งยังพัฒนาการตลาดเขาสูระบบการขาย

ผานทางไกล และไดรวมกลุมจดทะเบียนเปนวิสาหกิจ

ชุมชน สมาชิกของกลุมมีรายไดเลี้ยงตัวเอง และรูสึก

ภาคภูมิใจในคุณคาของตนเองมากข้ึน

การมีหนวยจัดการศึกษาในพ้ืนที่ ที่สามารถตอบ

สนองความตองการของผูเรียนโดยศึกษาจากบริบทของ

พื้นที่เปนสำคัญ ขณะเดียวกันก็ไมละทิ้งความสำคัญของ

ภูมิปญญา และความหลากหลายทางวัฒนธรรม ตลอด

จนดูความเหมาะสมกับสภาพวิถีชีวิตของผูเรียนดวย ทำ

ใหเกิดการพัฒนาหลักสูตรอยางตอเนื่อง ทั้งยังไดรับ

ความเชื่อมั่นจากประชาชนในพื้นที่ ดังเชนกรณีของ

หนวยจัดการศึกษาอำเภอปางมะผา วิทยาลัยชุมชน

ทำการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาสายพันธุพืชเมืองหนาว

เนนเรื่องการปลูกพืชแบบปลอดสารเคมี เพ่ือเสริมสราง

รายได ดังที่ นายวีระพรรณ เลาเรียนดี ผูประสาน

งานการจัดการเรียนการสอนวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน

อำเภอปางมะผา เลาวา

“วิทยาลัยชุมชนสามารถจัดหลักสูตรเพ่ือผลิต

และพัฒนากำลังคนในภาคเศรษฐกิจ ทั้งทางดานเกษตร

และอุตสาหกรรม เพ่ือเนนทางดานวิชาชีพสำหรับนำไป

ประกอบกิจการได เชน เรื่องของการพัฒนาสายพันธุพืช

เมืองหนาวท่ีบานผาเจริญ เราพัฒนาหลักสูตรเกษตร

อินทรีย จากสายพันธุพืชพื้นบาน มาเปนสายพันธุพืช

เมืองหนาว โดยใชรูปแบบเกษตรอินทรีย ตรงกับความ

ตองการของตลาดและเพ่ิมรายไดใหชาวบาน”

หลักสูตรการฝกอบรมของวิทยาลัยชุมชน

แมฮองสอนมีความหลากหลายตามบริบทของแตละพื้นที่

และตอบสนองความสนใจของผูเรียนทั้งภาคเกษตร

กรรมและอุตสาหกรรม เชน การเล้ียงกบพ้ืนเมือง การ

เพาะเห็ด การซอมเคร่ืองยนตเล็ก การออกแบบบรรจุ

ภัณฑ การทอผาจากสียอมดายประดิษฐ คอมพิวเตอร

พื้นฐาน อาสาสมัครมัคคุเทศกชุมชน การตัดเย็บเสื้อผา

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 21

Page 23: Community College Dynamic of Development

สตรี การอบน้ำผึ้ง-การแชอิ่ม การปรับปรุงบำรุงพื้นที่

ดนตรีพื้นเมือง การตีมีด การปรับปรุงพันธุและการ

ตกแตงกิง่ การสานแปม และภาษาองักฤษสำหรบัพนกังาน

ขายของท่ีระลึก เปนตน

และแมแตหลักสูตรฝกอบรมชางตัดผม วิทยาลัย

ชุมชนแมฮองสอนก็เปดสอนเชนกัน หลายคนอาจสงสัย

วาเหตุใดหลักสูตรชางตัดผมจึงมีผูสนใจเรียน

“เน่ืองจากสภาพภูมิประเทศของแมฮองสอนทำ

ใหเดินทางไมสะดวก หนวยจัดอำเภอปางมะผา จึง

พัฒนาหลักสูตรฝกอบรมชางตัดผม เรียนเสร็จ สงเสริม

อาชีพ เปดรานใหเครื่องมือ และเสริมสรางความเขม

แข็งใหกับชุมชน หรือลูกคา ดวยการสงมาฝกงานกับ

รานตัดผมในเมือง มีประกาศนียบัตรรับรองใหลูกคามี

ความมั่นใจ” ผอ.คมสัน ใหคำตอบ

ปาย...เรียนรูสูการเปล่ียนแปลง

อำเภอปาย เปนหนึ่งในแหลงทองเที่ยวที่มีชื่อ

เสียง ในปหนึ่งๆ ปายทำหนาที่ตอนรับนักทองเที่ยวทั้งใน

และตางประเทศจำนวนมาก จากเมืองเล็กๆ ที่มีความ

สงบงาม มีวิถีชีวิตเรียบงาย ปายในวันน้ีเปล่ียนโฉมหนา

ไปเปนเมืองที่ขายธรรมชาติ เต็มไปดวยรีสอรตและ

เกสตเฮาสหลากหลายราคาและรูปแบบ

แตรายไดที่เกิดขึ้นกลับตกอยูกับคนในทองถิ่น

ดั้งเดิมนอยมาก อีกทั้งการเปล่ียนแปลงไปเปนเมือง

ทองเที่ยวยังสงผลกระทบอยางยิ่งตอคนในทองถิ่น

เพราะรอยละ ๘๘.๕ ของคนทองถ่ินประกอบอาชีพ

เกษตรกรรมเปนหลัก ทิศทางท่ีเปล่ียนไปของทองถ่ิน

กลับถูกกำหนดโดยคนอ่ืน ในขณะที่คนพ้ืนเพด้ังเดิมไมมี

ความถนัดสันทัดในดานธุรกิจทองเท่ียว เสียงสะทอน

จากคนอำเภอปายพบวาสวนใหญตองการดำเนินวิถีชีวิต

ตามแบบดั้งเดิม คือ อยูกับวัฒนธรรมภูมิปญญาและ

การเกษตรแบบไมใชสารเคมี

ดังนั้นการทำเกษตรอินทรีย เปนแนวทางหนึ่งที่

จะชวยใหชาวอำเภอปายไดมีโอกาสพลิกฟนความเปน

ชุมชนขึ้นมาอีกครั้ง ดังที่ ผอ.คมสัน เลาวา

“ขณะน้ีเราไดเริ่มสงเสริมการทำเกษตรอินทรีย

ที่อำเภอปาย โดยการนำรองของนายสุรชัย สินลี้ อดีต

ประธานนักศึกษาของหนวยจัดการศึกษาอำเภอปาย

ตอนนี้กำลังปลูกผักอินทรียในพ้ืนที่จำนวน ๑๕ ไร

เพ่ือสงจำหนายในตลาดทองถ่ินและเช่ือมโยงกับภาค

อุตสาหกรรมกับบริษัทสวิฟท สาขาแมแตง จังหวัด

เชียงใหม

ขณะนี้หลักสูตรเกษตรอินทรียที่อำเภอปายเปด

สอนได ๒ ปกวาแลว โดยยังมีการพัฒนาหลักสูตรอยาง

ตอเนื่อง เปนการเรียนรูพรอมกับการปฏิบัติจริง โดยจะ

สอนต้ังแตความรูพื้นฐาน เทคนิควิธีการผลิต การเก็บ

เกี่ยว การบรรจุ และการตลาด ซึ่งวิทยาลัยชุมชนไดชวย

หาตลาดรองรับสินคาคือ บริษัทสวิฟท และเทศบาล

อำเภอปาย”

ในอนาคตวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนมีความ

ตั้งใจจะพัฒนาหลักสูตรเกษตรอินทรียใหเปนหลักสูตร

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 22

Page 24: Community College Dynamic of Development

ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรระดับอนุปริญญา เพ่ือเพิ่ม

คุณภาพในดานเน้ือหาและวิชาการใหมากย่ิงขึ้น

บานสันติชน...สันติเกิดจากความรู

บานสันติชนเปนชุมชนชาวจีนยูนนานตั้งอยู ใน

เขตอำเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน ปจจุบันถือเปน

สถานที่ที่นักทองเที่ยวนิยมไปเที่ยว คร้ังหนึ่งนานมาแลว

ที่นี่คือหมูบานของชาวจีน ซึ่งมีบรรพบุรุษมาจากแผนดิน

ใหญ เปนอดีตทหารของกองพลเกาสิบสาม

กอนหนาน้ี ในหมูบานเต็มไปดวยปญหาและ

ความขัดแยงไมลงรอย มีการแบงแยกเปนหลายกลุม

หลายกก และยังประสบปญหากลุมเยาวชนประพฤติตัว

ไมเหมาะสม มีเร่ืองทะเลาะวิวาทบอยคร้ัง นายบุญหลอ

หลออริยวัฒน ผูนำของหมูบานไดพยายามแกปญหา

ดังกลาวโดยใชไมแข็ง แตไมสามารถชวยใหปญหาตางๆ

คลี่คลายไปไดเลย กลับยิ่งเพ่ิมความขัดแยงและแตก

แยกใหบานปลายย่ิงข้ึน

จุดเปลี่ยนของบานสันติชนเกิดขึ้น เม่ือป ๒๕๔๗

นายบุญหลอไดเขาศึกษาในหลักสูตรอนุปริญญา สาขา

วิชาการปกครองทองถ่ิน วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน ที่นี่

นายบุญหลอไดพบคำตอบและแนวทางหลายอยางที่จะ

นำไปใช

“ไดเรียนเรื่องภาวะผูนำ ผูนำที่ดีมีคุณสมบัติ

อยางไร ทำใหเกิดความรู มีความคิด เร่ิมมองตัวเอง

เริ่มมองหมูบานวาความสุขที่แทจริงของหมูบานคืออะไร

เริ่มเขาใจถึงการรอยใจประชาชนท้ังหมูบานใหเปนดวง

เดียว โดยตองใชสิ่งที่สำคัญ คือคุณธรรมของผูนำ” นาย

บุญหลอเลาถึงจุดเร่ิมตนของความคิดหลังจากไดเขา

เรียน

หลังจากสำเร็จการศึกษา เขานำความรู ทักษะ

และเครือขายตางๆ มาพัฒนาหมูบาน ปรับยุทธวิธีโดย

เนนการพัฒนาอาชีพ การสรางรายไดโดยรวมกลุม

อาชีพตางๆ เชน กลุมเมืองไกดำ กลุมแปรรูปอาหาร

กลุมทอผา กลุมเย็บผา และอื่นๆ ใชความเขาใจ ความ

รักในเช้ือสายเผาพันธุ ความรักตอเยาวชนด่ังลูกหลาน

และความรูจากการเรียน เปนธงนำในการแกปญหา

เริ่มทำงานอยางละเอียด มีระบบ มีการนัดประชุม ใช

จิตวิทยาเขาไปหา ใชการพูดคุยเพ่ือหาทางออก พรอม

จัดตั้งศูนยวัฒนธรรมจีนยูนนาน พัฒนาจนบานสันติชน

กลายเปนหมูบานทองเที่ยวเชิงนิเวศ สะทอนอัตลักษณ

จีนยูนนานที่โดดเดนของอำเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน

พรอมๆ กันนั้นก็เกิดการเปล่ียนแปลงที่นาชื่นชม

มากมายในหมูบาน เยาวชนที่เคยมีพฤติกรรมท่ีนาเปน

หวงกลับมาเปนกำลังในการพัฒนาหมูบาน ชุมชนมี

ความสมานฉันท กลายเปนชุมชนท่ีเขมแขง ปราศจาก

ความขัดแยง จนสามารถสรางความสุขใหกลับคืนสู

หมูบานอีกครั้ง

เบื้องหลังความสำเร็จในครั้งนี้ นายบุญหลอ

หลออริยวัฒน ยอมรับวา

“บานสันติชนของเราเปนแบบทุกวันนี้ได เพราะ

ผมมีโอกาสไดไปเรียนท่ีวิทยาลัยชุมชน คือเม่ือกอนการ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 23

Page 25: Community College Dynamic of Development

ดูแลการทำทุกอยางไมละเอียด ไมเปนระบบ แลวก็ไมมี

กระบวนการทำงาน เมื่อเราไดศึกษาจากวิทยาลัยชุมชน

มาแลว เราเริ่มจะมีวิสัยทัศนวาเราจะทำยังไง เริ่มมอง

ตัวเอง เริ่มมองหมูบานวาความสุขที่แทจริงของหมูบาน

คืออะไร สิ่งเหลานี้ทำใหเรารูจักมองตัวเองแลวก็มี

อนาคต หลังจากท่ีไดไปเรียนแลวทำใหเรามีความรูเกิด

ขึ้น วิทยาลัยน้ีสรางคน ถาไมมีโอกาสเขาวิทยาลัยชุมชน

ผมและบานสันติชนคงจะไมอยูในโฉมหนาน้ี”

จากเรื่องเลาของแมฮองสอน เมืองสามหมอกที่

ขึ้นชื่อในเรื่องความยากลำบากในการคมนาคม วิทยาลัย

ชุมชนแมฮองสอนไดพิสูจนใหเห็นวา แมจะอยูหางไกล

หรือมีความแตกตางทางภาษาและวัฒนธรรม ก็มิไดเปน

ขอจำกัดใหความรูเดินทางไปถึง ทุกวันนี้ไมวาจะเปนที่

บานหวยปูลิง หรือพ้ืนที่ ไหนๆ ในจังหวัดแมฮองสอน

วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอนก็จะยังคงทำหนาท่ีสงผาน

ความรูไปใหจนถึงชุมชนเสมอ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 24

Page 26: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชนตาก พนักงานสุขภาพชุมชนชายแดน ผลิตคนสรางปราการปองกันโรค

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 25

Page 27: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 26

Page 28: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชนตากจัดตั้งเมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน

พ.ศ. ๒๕๔๕ เพื่อเอ้ือประโยชนแกประชาชน

ผูพลาดโอกาสทางการศึกษา ใหมีทางเลือกในการเรียน

รูดานวิชาการและวิชาชีพตามความพรอมและความ

จำเปนของแตละบุคคล ปจจุบันตั้งอยูที่ หมู ๑ ตำบล

หนองบัวใต อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก มีหนวยจัด

การศึกษาจำนวน ๑๒ แหง ซึ่งมีทั้งสถานศึกษาและ

โรงพยาบาล เปดสอนอนุปริญญา ๔ หลักสูตร

หลักสูตรประกาศนียบัตร ๕ หลักสูตร และหลักสูตรฝก

อบรมอีกมาก

ความสำเร็จที่เห็นไดชัดของวิทยาลัยชุมชนตาก

คือ การพัฒนาหลักสูตรตามความตองการของชุมชน

และสอดคลองกับยุทธศาสตรของจังหวัด เชนที่ผานมา

ไดพัฒนาหลักสูตรอุตสาหกรรมการทองเที่ยว เพื่อ

รองรับคนในชุมชนที่มีความสนใจในธุรกิจทองเที่ยวและ

บริการ เพราะจังหวัดตากมีแหลงทองเที่ยวที่สวยงามติด

อันดับโลก ในปหนึ่งๆ จึงมีนักทองเที่ยวจากทั้งในและ

ตางประเทศเดินทางเขามาทองเที่ยวมากมาย

หรือจะเปนหลักสูตรซึ่งสอดคลองกับบริบทของ

จังหวัดในดานของธุรกิจการคา เชน การจัดการ (การคา

ชายแดน) และอัญมณี (การเดินพลอย) วิทยาลัยชุมชน

ตากไดรับการรองขอจากหอการคาจังหวัดใหดำเนินการ

ฝกอบรมความรูดานการเดินพลอยใหกับผูคาชาวไทย

เพราะผูคาขาดความรูและทักษะในการประเมินราคา

ทำใหขาดทุนและถูกหลอกบอยครั้ง

หลักสูตรที่ยกตัวอยางขางตนนั้น เปนหลักสูตรที่

เปดจัดการเรียนการสอนมาตั้งแตป ๒๕๔๙ นอกเหนือ

จากหลักสูตรท่ีสอดคลองกับสภาวะการณปจจุบันและ

แผนยุทธศาสตรของจังหวัดแลว ในดานของคุณภาพ

ชีวิตความเปนอยูของประชาชน วิทยาลัยชุมชนตากก็ให

ความสำคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน ดังเชนการเปดสอน

หลักสูตรการแพทยแผนไทยเปนรุนแรกของวิทยาลัย

ชุมชนทั่วประเทศ มีการพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรม

วิทยาศาสตรสุขภาพ ที่เปดรับนักศึกษารุนแรกเมื่อป

๒๕๕๑ ที่ผานมานี้

เหตุใดวิทยาลัยชุมชนตากจึงใหความสนใจดาน

สาธารณสุข และหลักสูตรนี้จะชวยพัฒนาชุมชนได

อยางไร

‘Health dam’ เข่ือนสุขภาพเพื่อชุมชน

จังหวัดตากมีสภาพพื้นที่ติดตอกับประเทศพมา

มีระยะทางถึง ๕๘๐ กิโลเมตร ติดพ้ืนที่ ๕ อำเภอ คือ

อำเภอทาสองยาง อำเภอแมระมาด อำเภอแมสอด

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 27

Page 29: Community College Dynamic of Development

อำเภอพบพระ และอำเภออุมผาง มีการเคลื่อนยายเขา

ออกของประชาชนและแรงงานอพยพจากประเทศ

เพ่ือนบานอยางสม่ำเสมอ ซึ่งจากแรงงานกลุมน้ีเองมี

ความเสี่ยงในการแพรระบาดของโรคติดตอตางๆ ไมวา

จะเปนไขกาฬหลังแอน โรคมาลาเรีย วัณโรค หรือโรค

เทาชาง เปนตน และในที่สุดก็จะมีการเคลื่อนยายจาก

ชายแดนเขาสูพื้นที่ชั้นในของประเทศ

เมื่อมองเห็นประเด็นที่เกิดข้ึนในปจจุบันของ

จงัหวดัตากและประเทศ ทำใหนายชวพันธ ชวเจรญิพันธ

ประธานกรรมการสภาวทิยาลยัชุมชนตาก และนายแพทย

พิเชฐ บัญญัติ กรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนไดเสนอ

แนวความคิดปองกันปญหาน้ีตอสภาวิทยาลัยชุมชนตาก

“จังหวัดตากมีความเสี่ยงจากการเกิดโรคติดตอ

เพราะการเคล่ือนยายเขามาของประชาชนและแรงงาน

จากประเทศเพ่ือนบาน อีกทั้งในจังหวัดเองยังมีชนเผา

ตางๆ ที่อาศัยในบางพ้ืนที่มีความหางไกล การคมนาคม

เปนไปอยางยากลำบาก ทำใหคนพื้นที่เหลานั้นไดรับ

โอกาสในการเขาถงึบริการทางการแพทยและสาธารณสุข

นอย” นายชวพันธกลาว

จากแนวคิดดังกลาวนำมาสูโครงการท่ีเรียกวา

Health Dam หรือโครงการเข่ือนสุขภาพ สภาวิทยาลัย

ชุมชนตากเห็นรวมกันวา ในปจจุบันประเด็นที่นาหวงใย

ของ จังหวัด คือ เรื่ อ งของ สุขภาพและการบ ริการ

สาธารณสุข เมื่อคนในพ้ืนที่หางไกลไมมีโอกาสเขาถึง

บริการของรัฐ และรัฐก็ไมมีกำลังที่จะเขาไปไดในทุก

พื้นที่ ดังน้ันวิทยาลัยชุมชนนาจะเขามาชวยดำเนินการใน

เรื่องนี้

“เราคิดวาถาเราใหคนในชุมชนมีความรู และคน

ที่มีความรูกลับไปชวยยกระดับคนในชุมชนของตนเอง

แทนท่ีจะรอกลไกของรัฐเขาไปดูแล นาจะชวยใหการ

ดูแลและปองกันโรคเกิดประสิทธิภาพย่ิงขึ้น เปนที่มา

ของโครงการเข่ือนสุขภาพ คือใหความรูแกคน ใหเขานำ

ความรูกลับไปในทองถิ่น เหมือนการสรางเขื่อนปองกัน

ดานสุขภาพในทองถ่ิน” นายชวพันธไดขยายความแนว

คิดดังกลาว

จากโครงการเขื่อนสุขภาพนำมาสูการเริ่มตน

พัฒนาหลักสูตรดานสาธารณสุขของวิทยาลัยชุมชนตาก

จากแนวคิดสูการปฏิบัติ

เมื่อสภาวิทยาลัยชุมชนตากมองเห็นภาพรวมกัน

แลว ลำดับตอไปจึงเร่ิมพัฒนาหลักสูตร โดยนายแพทย

พิเชฐ บัญญัติ กรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนตาก และ

หัวหนาหนวยจัดการศึกษาโรงพยาบาลบานตาก ไดขอ

ความรวมมือไปยังสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก

เพื่อรวมกันพัฒนาหลักสูตร โดยนายแพทยพิเชฐ

บัญญัติ และคณะไดสำรวจความตองการของชุมชนกอน

วา หากวิทยาลัยชุมชนตากเปดหลักสูตรพัฒนาคนใน

ทองถ่ินเพ่ือกลับมาทำงานน้ีใหกับชุมชน จะเห็นดวยหรือ

ไม เพราะประเด็นดานสาธารณสุขเปนเรื่องที่เก่ียวของ

กับชีวิต ปรากฏวาชุมชนก็เห็นดวย ประกอบกับมีการทำ

ประชาคม และมีการวิจัยทางการสาธารณสุขดวย นาย

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 28

Page 30: Community College Dynamic of Development

ปยศักดิ์ ตัณฑเจริญรัตน ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน

ตากเลากระบวนการเร่ิมตนใหทราบ

จากนั้ นวิทยาลัย ชุมชนตากและสำนักงาน

สาธารณสุขจังหวัดตากก็รวมกันจัดทำหลักสูตรฝกอบรม

พนักงานสุขภาพชุมชนชายแดน ซึ่งเปนหนึ่งในหลักสูตร

การฝกอบรมวิทยาศาสตรสุขภาพ “เม่ือทำหลักสูตรแลว

กอนใชจัดการเรียนการสอนก็ไดเชิญผูทรงคุณวุฒิจาก

สายวิชาการและสายสาธารณสุขมารวมวิพากษหลักสูตร

เพื่อใหหลักสูตรมีความสมบูรณยิ่งขึ้น หลักสูตรพนักงาน

สุขภาพชุมชนชายแดนนี้ยังไดรับความรวมมือจากองคกร

SHIELD และสำนักงาน USAID ดวย โดยองคกร

SHIELD และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตากไดรวม

สนับสนุนดานงบประมาณและสถานที่สำหรับฝกงานให

แกผูเรียน”

ผูทีจ่ะเขามาเรียนน้ัน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตากไดคัดเลือกจากอาสาสมัครสาธารณสุขหมูบาน หรือ

อสม. เพราะหลักสูตรนี้ตองการคนท่ีมีพื้นฐานทาง

สาธารณสุข และตองจบการศึกษาไมต่ำกวาระดับชั้น

มัธยมศึกษาปที่ ๓ แตไมไดจำกัดพื้นที่เฉพาะในจังหวัด

ตากเทาน้ัน หากยังเปดโอกาสใหผูสนใจจากจังหวัดอื่นที่

มีพื้นที่ติดตอกับชายแดนเชนกัน เชน จังหวัดเชียงใหม

จังหวัดแมฮองสอน เปนตน ไดมีโอกาสเขามาเรียนได

มีขอสงสัยวา เหตุใดจึงตองการคนในทองถิ่น

แลวหากคนทั่วไปมีความสนใจจะสามารถสมัครเรียน

ดวยไดหรือไม นายปยศักด์ิขยายความเพ่ิมเติมวา

“หลกัสูตรพนักงานสุขภาพชมุชนชายแดนน้ี พฒันา

ขึ้นเปนการเฉพาะสำหรับทองถ่ินชายแดน ดังนั้นเรามี

เปาหมายใหคนที่มีภูมิลำเนาอยูในทองถิ่นนั้นมาเรียนรู

เพื่อนำความรูกลับไปชวยยกระดับคุณภาพชีวิตของ

คนในทองถิ่นของเขาเอง ไมไดเปดรับสมัครคนที่สนใจ

ทั่วไป เพราะเรามองโอกาสท่ีคนในพ้ืนที่จะไดนำความรู

ไปใชมีมากกวา”

หลักสูตรพนักงานสุขภาพชุมชนชายแดน เปน

สาขาวิชาหนึ่งของหนวยจัดการศึกษาโรงพยาบาล

บานตาก มีระยะเวลาเรียน ๖ เดือน กำหนดใหผูเรียน

ไดเรียนทั้งวิชาคณิตศาสตรและภาษาอังกฤษที่เกี่ยวของ

กับงานสาธารณสุขชุมชน มีเนื้อหาการเรียนเร่ืองการ

รักษาพยาบาลเบื้องตน การสงเสริมสุขภาพแบบองค

รวม งานดานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดลอม การ

ควบคุมและปองกันโรค การฟนฟูสภาพผูปวย งานดาน

สาธารณสุขมูลฐาน นอกจากน้ียังไดเรียนในดานการ

บริหารงานสาธารณสุข จรรยาวิชาชีพ ทั้งยังไดรับความ

รูดานเภสัชกรรม สังคมวิทยาและมนุษยวิทยาทางการ

แพทย และที่สำคัญคือตองฝกประสบการณวิชาชีพดวย

ทางวิทยาลัยชุมชนก็มีโรงพยาบาลเครือขาย ซึ่งจะทำ

หนาท่ีเปนศูนยฝกประสบการณของผูเรียน เชน โรง

พยาบาลแมสอด โรงพยาบาลทาสองยาง เปนตน”

พัฒนาคนกลับคืนทองถิ่น

หลักสูตรพนักงานสุขภาพชุมชนชายแดนเปด

จัดการเรียนการสอนเม่ือป ๒๕๕๑ ผูเรียนรุนที่ ๑

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 29

Page 31: Community College Dynamic of Development

จำนวน ๒๗ คน กำลังจะสำเร็จการศึกษาในป ๒๕๕๒ นี้

เมื่อจบหลักสูตรพวกเขาจะไดรับประกาศนียบัตรรับรอง

ความรู และจะเดินทางกลับไปยังทองถิ่นของตนเองเพื่อ

ทำหนาที่พนักงานสุขภาพชุมชน

แลวมีคำถามตอไปวา เมื่อทั้ง ๒๗ คนเดินทาง

กลับบาน แลวพวกเขาจะสามารถประกอบอาชีพเปน

พนักงานสุขภาพชุมชนในหมูบานของตนเองไดอยางไร

นายปยศักดิ์เปดเผยวา

“ตั้งแตเริ่มตนทำหลักสูตร เราไดประสานความ

รวมมือกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก มีขอสรุปใน

ประเด็นเหลาน้ีไวแลววา เรามุงหวังใหคนเหลานี้ซึ่งเปน

คนของชุมชนไดกลับไปทำงานเพ่ือชุมชน ดังนั้นเมื่อจบ

หลักสูตร หนวยงานทางสาธารณสุขหรือผูที่เกี่ยวของ

ตองมีงานรองรับพวกเขา ขณะน้ีสำนักงานสาธารณสุข

จังหวัดตากมีแหลงงานรองรับไวแลว เชน สถานีอนามัย

ในหมูบานหรือชุมชนของพวกเขา ไปทำงานรวมกับ

เจาหนาที่อนามัย หรือหากพื้นที่ไหนหางไกลมาก ไมมี

เจาหนาท่ี ผูเรียนของเราก็จะทำหนาที่แทนเจาหนาที่

อนามัยไดเลย ทั้งนี้ ในบางพ้ืนที่องคการบริหารสวน

ตำบล หรือ อบต.ก็เขามามีสวนรวมในการรับคนกลุมน้ี

ไปทำงาน”

ในเดือนตุลาคม ป ๒๕๕๒ วิทยาลัยชุมชนกำลัง

จะเปดรับผู เรียนในหลักสูตรพนักงานสุขภาพชุมชน

ชายแดน เปนรุนท่ี ๒ แตรุนที่ ๑ ที่จบไปทางวิทยาลัย

ชุมชนก็ไมไดละเลย เพราะนับจากสำเร็จหลักสูตรไป

แลวไดปฏิบัติงานในสถานท่ีปฏิบัติงานจริง อีก ๕ เดือน

ทีมงานของวิทยาลัยชุมชนจะดำเนินการติดตามและ

ประเมินผลทั้งความรูที่ไดรับและประเมินความพึงพอใจ

ของหนวยงานท่ีรับผูเรียนเขาทำงาน เพราะหากพบ

ปญหาหรืออุปสรรคใดก็จะไดเขาไปชวยเหลือผูเรียนได

ทั้งปญหาตางๆ จะนำมาประมวลเพื่อพัฒนาหลักสูตรที่

จะใชในรุนตอๆไป ดวย

หนึ่งในผูสำเร็จการศึกษา ๒๗ คนของหลักสูตร

พนักงานสุขภาพชุมชนชายแดน รุนท่ี ๑ ที่วันน้ีเขาได

ออกไปทำงานรับใชชุมชนแลว ไดเลาถึงเหตุผลท่ีตัดสิน

ใจมาเรียนที่วิทยาลัยชุมชนตากวา

“ผมอยากมาเรียน เพราะอยากมีงานทำอยางตอ

เนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่งงานนั้นเปนงานที่มีโอกาสชวย

เหลือพ่ีนองท่ีตกทุกข ไดยากที่มีปญหาดานสุขภาพ

เนื่องจากการชวยเหลือไมทั่วถึง หรือเปนคนไมมีบัตร

หรือถือบัตรสี นอกจากน้ีเมื่อเรียนจบแลวยังไดรับ

ประกาศนียบัตรรับรอง วาเปนผูผานหลักสูตรการอบรม

มีความรูดานสาธารณสุขหรือสุขภาพท่ีถูกตอง” นาย

ชนินทรเลาใหฟงถึงเหตุผลที่ตัดสินใจมาเรียน

ขณะน้ีเขาสำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรแลว ได

มีโอกาสออกไปปฏิบัติงานในพื้นที่จริงในชุมชนของตัว

เอง สิ่งที่เขาไดรับจากการเปนพนักงานสุขภาพชุมชน

ชายแดน นอกเหนือจากประสบการณชีวิตแลว เขายัง

บอกวา

“หลักสูตรน้ีทำให ไดมีโอกาสชวยเหลือเพ่ือน

มนุษย ใหความเจ็บปวยของเขาไดบรรเทาลง ทุกคร้ังที่

ไดรับรอยย้ิม หรือคำกลาวขอบคุณจากผูมารับบริการ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 30

Page 32: Community College Dynamic of Development

ผมรูสึกภาคภูมิใจมาก ทำใหตัวเองรูสึกวาจะตองพัฒนา

ความรูดานสุขภาพใหเพิ่มขึ้น เพื่อพัฒนาชุมชนใหมี

คุณภาพและมีความสุขในเร่ืองของสุขภาพ” นายชนินทร

กลาวเสริมดวยรอยย้ิม

กาวตอไปในวิทยาลัยชุมชนตาก

โครงการเขื่อนสุขภาพของวิทยาลัยชุมชนตาก

เริ่มตนจากความหวงใยในประเด็นดานสุขภาพและ

สาธารณสุขของคนในพื้นที่ที่หางไกล การบริการของรัฐ

เขาถึงยากลำบาก จนนำมาสูหลักสูตรการฝกอบรม

วิทยาศาสตรสุขภาพ เพื่อชวยลดปญหาความขาดแคลน

บุคลากรดานสาธารณสุข ประกอบดวยหลักสูตรพนัก

งานสุขภาพชุมชนชายแดน พนักงานมาลาเรียชุมชน

ผูชวยเจาพนักงานสาธารณสุข และผูนำการสรางสุขภาพ

สำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบาน โดยเปด

จัดการเรียนการสอนต้ังแตป ๒๕๕๑

สำหรับความตั้งใจในปตอไปของวิทยาลัยชุมชน

ตากคอื ยงัคงมุงเนนทีก่ารพฒันาหลกัสตูรดานสาธารณสขุ

ใหมีความตอเนื่อง

“เดิมหลักสูตรดานสาธารณสุขที่เปดสอนเปน

หลกัสูตรฝกอบรม ใชเวลาประมาณ ๖ เดือน ตอไปเรา

จะพัฒนาเปนหลักสูตรประกาศนียบัตร ๑ ป เพ่ือเชื่อม

ตอระหวางหลักสูตรฝกอบรมกับระดับอนุปริญญา ทั้งนี้

เ พ่ือใหผู เรียนไดมี โอกาสเ พ่ิมเติมความรูและเ พ่ิม

ศักยภาพในการปฏิบัติงานของตนเองไดอีกทางหนึ่ง

ดวย” นายปยศักดิ์กลาวทิ้งทาย

วิทยาลัยชุมชนตากพัฒนาหลักสูตรตามความ

ตองการของชุมชน และใหมีสอดคลองกับยุทธศาสตร

ของจังหวัด หลักสูตรที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมการ

ทองเท่ียว หรือการจัดการ (การคาชายแดน) ก็ไดรับ

ความสนใจจากผูเรียนไมนอย เนื่องจากชวยเพิ่มพูน

ทักษะในการประกอบอาชีพ ทำใหสามารถพัฒนา

ศักยภาพในการทำงานไดอยางดียิ่งข้ึน

หลักสูตรอัญมณี (การเดินพลอย) ก็เชนเดียวกัน

บริเวณโรงแรมสยามและตลาดริมเมย เปนที่รูจักของนัก

ทองเท่ียวท้ังชาวไทยและชาวตางประเทศ เพราะเปน

แหลงคาขายอัญมณีที่มีชื่อเสียง วิทยาลัยชุมชนตากได

รับการรองขอจากหอการคาจังหวัดใหดำเนินการฝก

อบรมความรูดานการเดินพลอยใหกับผูคาชาวไทย

เพราะผูคาขาดความรูและทักษะในการประเมินราคา

หลักสูตรอัญมณี (การเดินพลอย)

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 31

Page 33: Community College Dynamic of Development

ทำใหขาดทุนและถูกหลอกลวงบอยคร้ัง

วิทยาลัยชุมชนตากพัฒนาหลักสูตรอัญมณี (การ

เดินพลอย) โดยมีเนื้อหาการจัดการเรียนการสอน

ตั้งแตประวัติความเปนมาของอัญมณี แหลงกำเนิด

ขอมูลพื้นฐาน ชนิด และคุณภาพของอัญมณี มีการ

จัดการเรียนการสอนและใหผูเรียนไดมีโอกาสฝกปฏิบัติ

จริงโดยอาจารยพิเศษผูมีประสบการณ เนนหลักการดู

พลอยดวยตาเปลา และการใชเคร่ืองมือ ทั้งยังสอนถึง

กระบวนการทางการตลาด เชน การวิเคราะหตลาดอัญ

มณี เทคนิคการขาย การประเมินคุณภาพและราคาของ

อัญมณี ตลอดถึงจรรยาบรรณของผูคาพลอย

การเดินพลอย คือการรับพลอยจากรานไปเดิน

ขายใหรานอ่ืน หรือนำไปขายใหแกผูซื้อโดยตรง ซึ่งผูคา

พลอยก็จะมีทั้งผูคาชาวไทย และผูคาชาวพมา โดยผูคา

ชาวไทยน้ัน สวนใหญก็เปนคนในทองถิ่น ดังนั้นหลักสูตร

นี้จึงมีสวนชวยสนับสนุนใหคนทองถ่ินมีอาชีพ ทำใหมี

รายได และชวยพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนอีกดวย

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 32

Page 34: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชนพิจิตร ขยาย “ทุนความรู” สูชุมชน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 33

Page 35: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 34

Page 36: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชนพิจิตรเปน ๑ ใน ๑๐ วิทยาลัย

ชุมชนที่ตั้งขึ้นในป ๒๕๔๕ ที่มาพรอมกับ

“ทุนความรู” ในดานการพัฒนาอาชีพใหกับนักเรียนนัก

ศึกษาในพ้ืนที่ เนื่องจากพัฒนาข้ึนมาจากวิทยาลัยการ

อาชีพโพทะเล และเครือขายที่ใหบริการทางการศึกษา

ต้ังแตป ๒๕๔๐ มาแลว โดยมี “ทุนความรู” ทั้งดาน

อาคาร สถานที่ บุคลากร องคความรู และการยอมรับ

จากชุมชนในระดับหนึ่ง

ภารกิจหลักของวิทยาลัยชุมชนพิจิตรจึงเปนการ

ขยายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา เนื่องจาก

พิจิตรเปนจังหวัดเดียวของบริเวณน้ีที่ไมมีสถานศึกษา

ระดับอุดมศึกษา ทั้งที่จังหวัดขนาบขางอยางนครสวรรค

กำแพงเพชร เพชรบูรณและพิษณุโลกตางมีสถานศึกษา

ระดับอุดมศึกษาท้ังสิ้น จึงถือวาจังหวัดพิจิตรเปนจุดบอด

ของบริเวณนี้ และประชากรจำนวนมากยังขาดโอกาส

ทางการศึกษา หลายคนตองทำงานเม่ือจบเพียงชั้น

มัธยมศึกษา เพื่อหาเลี้ยงชีพ โอกาสที่จะศึกษาตอในภาค

ปกติจึงแทบเปนไปไมได

“การปรับเปลี่ยนมาเปนวิทยาลัยชุมชนกลายเปน

โอกาสดี จากเดิมเนนสายอาชีพอยางเดียว ซึ่งวิทยาลัย

ชุมชนก็ยังคงมีสวนนี้ และยังเสริมทางดานวิชาการเขา

มาดวยคือขยายสวนที่เปนอนุปริญญาเขามา ดาน

อุดมการณก็ปรับเปลี่ยนใหมีการ “เปดรั้ว” ใหชุมชนเขา

มามีสวนรวมและก็เกื้อกูลกันและกัน ทำใหวิทยาลัยเปน

สมบัติของชุมชนมากข้ึน ขอดีอยางหนึ่งของการปรับ

เปล่ียนจากวิทยาลัยการอาชีพเปนวิทยาลัยชุมชน คือ มี

อาคาร สถานที่ ครุภัณฑ และมีบุคลากรเรียบรอยแลว

ทำใหการปรับตัวคอนขางเร็ว เพราะเราไมไดเริ่มตนจาก

ศูนย การมีฐานรากพวกน้ีมาชวยก็ทำใหงานสะดวกข้ึน

จะไดทุมเททำงานในสวนอื่นๆ ตอไปได คือเรื่องเนื้อหา

หลักสูตร ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน รวม

ถึงการขยายเครือขายเพ่ิมข้ึนไดเต็มที่ และคอนขาง

รวดเร็ว ทั้งนี้ก็เพราะไดรับความรวมมือทั้งภาครัฐและ

เอกชน เชน อบต. เทศบาล วัด โรงเรียน” นาย

ประดิษฐ บุดดีจีน ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนพิจิตร

กลาว

เขาถึงชุมชนดวย “แหลงเรียนรูเคล่ือนท่ี”

กลยุทธสำคัญที่วิทยาลัยชุมชนพิจิตรนำมาใช

เพื่อการประชาสัมพันธองคกร ควบคู ไปกับการให

บริการทางการศึกษา และเพื่อใหชุมชนเขามามีสวนรวม

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 35

Page 37: Community College Dynamic of Development

และรูสึกเปนเจาของวิทยาลัย คือ การใชแหลงเรียนรู

เคลื่อนเขาถึงหมูบานที่อยูหางไกล

ในป ๒๕๔๗ วิทยาลัยชุมชนพิจิตรไดริเริ่มสราง

แหลงเรียนรูเคล่ือนท่ี หรือ Mobile Resource Center

โดยดัดแปลงรถบัสขนาดกลางใหเปนหองเรียนเคล่ือนท่ี

ภายในบรรจุอุปกรณทางเทคโนโลยี คอมพิวเตอร มัลติ

มีเดีย หองสมุดคนควา เพ่ือรองรับกิจกรรมหลากหลาย

ทั้งเปนหองเรียนหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร หอง

ประชุม หองสมุด และหองคนควาดวยตนเอง ขับเคลื่อน

ไปจอดตามหมูบานตางๆ เปนเวลาหลายๆ วันจนถึงเปน

เดือนตามแตแผนงาน สามารถเปดสอนหลักสูตรตางๆ

ณ ทองท่ีของชาวบานจนจบหลักสูตรแลวจึงเคล่ือนยาย

ไปยังพื้นที่อื่นตอไป รถโมบายนี้จึงทำหนาที่ทั้งการ

ประชาสัมพันธวิทยาลัยชุมชนพิจิตร เปนหองเรียน

เคลื่อนท่ีใหนักเรียนลงเรียนหลักสูตรตางๆ ที่วิทยาลัยจัด

ขึ้นโดยไมตองเดินทางมาเรียน จัดประชุมกับผูนำชาว

บาน หรือประชุมกลางแจงรวมกับชาวบานท้ังหมดก็ได

เม่ือวางจากการเรียนการสอนก็เปดใหบริการคนควาจาก

สื่อตางๆ แกประชาชนท่ัวไป

รถบัสที่อัดแนนไปดวยอุปกรณสื่อการเรียนรู

พรอมท้ังวิทยากรและเจาหนาที่เขาถึงหมูบาน การรับรู

ถึงหนาท่ีและบทบาทของหนวยงานใหมอยางวิทยาลัย

ชุมชนจึงเกิดข้ึนไดไมยาก จนปจจุบันชาวบานคุนเคยกับ

วิทยาลัยชุมชนเปนอยางดี “ตอนรถบัสเสร็จ เมื่อเขาไป

ถึงหมูบานก็เปนสิ่งใหมที่หลายคนไมเคยเห็น ในชวงแรก

ตื่นเตนกนัมากทั้งผูใหญทั้งเด็ก โดยเฉพาะเด็กๆ เขาตื่น

เตนมากที่ไดเห็นไดจับคอมพิวเตอรเปนครั้งแรก เพราะ

บางพื้นที่หางไกลเด็กจำนวนมากไมเคยเห็นคอมพิวเตอร

มากอนเลย เพราะหลายแหงไมมีเรียนในโรงเรียน บาง

โรงเรียนไฟฟาและสัญญาณโทรศัพทยังเขาไมถึง แตใน

รถบัสเราใชระบบแอรการดทำใหเขาไปถึงที่ไหนก็ใชงาน

แหลงเรียนรูเคลื่อนที่นี้ไดตลอด” ผอ.ประดิษฐบรรยาย

ถึงบรรยากาศชวงแรก และยังเลาถึงวิธีการจัดทำรถบัส

เปนแหลงเรียนรูเคล่ือนที่ดวย

การเริ่มตนทำรถบัสดัดแปลงเปนแหลงเรียนรู

เคล่ือนที่นั้น ตองตั้งตนที่จุดมุงหมายวาตองการใหรถนั้น

สามารถใชงานดานใดบาง อุปกรณที่จะติดตั้งเพื่อจุด

ประสงคอะไร เพื่อใหจัดสรรทุกฟงชั่นที่ตองการใหลงตัว

ในพื้นที่อันจำกัด ปริมาณและขนาดอุปกรณตางๆ ตอง

สอดคลองกับการใชงาน

รถบัสที่วิทยาลัยพิจิตรไดจัดทำข้ึนนั้นตั้งใจให

เปนหองเรียนที่เหมาะสมกับการเรียนภาคปฏิบัติทาง

ดานคอมพิวเตอร คือจุนักศึกษาได ๑๕ คน เพราะเปน

ปริมาณที่วิทยากรจะดูแลอธิบายไดทั่วถึง เสริมดวยสวน

หองสมุดขนาดยอม สวนคนควาดวยตนเอง จัดเปนหอง

เรียนทางไกลผานอินเทอรเน็ต ภายในพรอมปรับเปล่ียน

เปนหองประชุมขนาด ๒๐ คน และระบบเสียงท่ีรองรับ

การจัดเวทีกลางแจงสำหรับการประชุมรวมกับชาวบาน

จำนวนมาก

“เมื่อไดแบบรถและความตองการก็พูดคุยกับทาง

ชางใหดำเนินการได ในการดัดแปลงรถมีชางที่เกี่ยวของ

๔ ดาน คือชางยนตดูเรื่องรถ ชางคอมพิวเตอรดูแล

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 36

Page 38: Community College Dynamic of Development

เรื่องสเปกของอุปกรณตางๆ และการเช่ือมตอ จัดวาง

ใหประหยัดเนื้อที่และใชงานสะดวก ชางไฟฟาเพ่ือดูแลมี

ระบบไฟ ความสวางและเครื่องปรับอากาศใหเหมาะสม

ชางอิเล็กทรอนิกสดูแลเร่ืองระบบเสียงสำหรับการใช

เปนหองเรียน หองประชุม และการกระจายเสียง เบ็ด

เสร็จแลวใชงบประมาณ ๒ ลานบาทในการปรับแตงจน

เปนแหลงเรียนรูเคลื่อนที่ ซึ่งคุมคาและใชงานไดครบ

ถวน สวนการออกบรกิารและคาบำรงุรักษาอยูทีป่ระมาณ

ปละ ๑ แสนบาท รวมคาจางเจาหนาที่และคาใชจาย

ตางๆ ที่ผานมามีผูเขาใชปละประมาณ ๑,๐๐๐ คน

จำนวนน้ีนับเฉพาะคนท่ีมาลงเรียนในหลักสูตรตางๆ แต

จำนวนคนท่ีมาเขาใชบริการอ่ืนทั่วไปนั้นมีมาก”

หลังจากที่แหลงเรียนรูเคลื่อนที่ของวิทยาลัยเกิด

ขึ้นและดำเนินงานไปไดไมนาน ก็เห็นผลสัมฤทธิ์วา

สามารถเขาถึงประชาชนไดอยางดี ทำใหมีหนวยงาน

ทางการศึกษาสวนหน่ึงจัดทำรถเคล่ือนที่ออกบริการบาง

ซึ่งถือวาเปนการเสริมกำลังเพ่ือพัฒนาชีวิตความเปนอยู

ของคนพิจิตรรวมกัน

เครือขายแหลงเรียนรูชุมชน “หนวยจัดการศึกษา”

นอกเหนือจากแหลงเรียนรู เคลื่อนที่ที่ เขาถึง

ชุมชนแลว วิทยาลัยยังไดจัดการศึกษาระบบเครือขาย

หนวยจัดการศึกษา เพื่อใหประชาชนไดเขาถึงการศึกษา

“เรียนใกลบาน ลูกหลานอบอุน” กระจายอยูตามชุมชน

ตางๆ ทุกอำเภอปจจุบันมีหนวยจัด ไดแก หนวยจัดการ

ศกึษา อบต.หวัดง ศนูยการศกึษานอกโรงเรียนวงัทรายพูน

อำเภอสากเหล็ก อบต.ปากทาง อบต.เมืองเกา วัด

สามงามโพธิ์ประทับชาง (ทุงใหญ) บึงนาราง (โปงวัว

แดง) บางมูลนาก (วังตะกู) และวัดมงคลทับคลอ ซึ่งผูที่

มาเรียนก็เปนชาวบานและเยาวชนในชุมชนเหลานั้นโดย

ยึดหลักจัดการศึกษาตามความตองการของชุมชน

ที่เกิดหนวยจัดการศึกษาไดมากเชนนี้ก็เพราะ

ความรวมมือจากชุมชนเปนสำคัญ วิทยาลัยไดสราง

ความสัมพันธจนชุมชนรับรูวาเปนเจาของ ดังจะเห็นได

จากชุมชนรวมกันจัดตั้งหนวยจัดการศึกษา ภูมิปญญา

รวมมาเปนอาจารยพิเศษ ผูมีอุปการะคุณบริจาค วัสดุ

อุปกรณตลอดจนอาคารสถานที่ และการลงนามความ

รวมมือสนับสนุนงบประมาณจัดการศึกษาปละกวาลาน

บาทขององคกรตางๆ อยางชัดเจน เชน อบจ.สนับสนุน

อาคารเรียน สนามกีฬา ถนน และโครงการอื่นๆ อีก

มาก อบต.ปากทาง อบต.ดงกลาง อบต.สากเหล็ก

อบต.หนองพะยอม อำเภอบึงนาราง รวม ๕ อบต.

อำเภอโพธิ์ประทับชาง เทศบาลอำเภอทับคลอ และ

อำเภอบางมูลนาก รวม ๓ เทศบาล ๑๑ อบต. ใหการ

สนับสนุนจัดการศึกษามานานกวา ๓ ปติดตอกัน ถือวา

เปนความสำเร็จที่เห็นไดชัดเจน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 37

Page 39: Community College Dynamic of Development

“โครงงานนักศึกษา” ผลงานนักศึกษาเพ่ือชุมชน

วิทยาลัยชุมชนพิจิตรจัดการศึกษาหลากหลาย

หลักสูตรเหมาะกับสภาพชุมชน เนนการผลิตและพัฒนา

กำลังคนในภาคเศรษฐกิจ ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ

ไดแก หลักสูตรอนุปริญญา ปวช. ปวส. และฝกอบรม

สรางวิชาเพ่ือการประกอบอาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิต

หลายสาขาวิชา เชน ชางซอมบำรุง เคร่ืองสูบน้ำดวย

ไฟฟา ชางบริการจักรยานยนต การใชโปรแกรมนำ

เสนอโครงงาน ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร การตัด

ผม-การโรล การเสริมสวยทรงผมสตรี เปนตน

วิธีการเรียนรูและการสรางองคความรู วิทยาลัย

ไดเชิญผูมีประสบการณตรงในสาขาอาชีพ และผูทรง

คุณวุฒิที่อยูในทองถ่ิน หรือเรียกวาปราชญชุมชน มา

เปนผูถายทอดความรู เนนประสบการณตรงที่พบอาชีพ

จริงท่ีนำมาเสริมเติมเต็มใหกับนักศึกษา โดยใชวิธีการ

แลกเปลี่ยนเรียนรูและดูจากของจริง ลงมือปฏิบัติจริง

การสรางองคความรู นำกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ

มาเพ่ิมพูนประสิทธิภาพการเรียนการสอน

นอกเหนือจากการเรียนตามเนื้อหาเพื่อใหจบ

หลักสูตรแลว ทางวิทยาลัยยังเสริมประสบการณทำงาน

วิธีการเรียนรูจริงใหแกนักศึกษาดวยการใหนักศึกษา

ระดับ ปวช. ปวส. และอนุปริญญาทุกคนทำโครงงาน

เปนกลุมมานำเสนอกอนที่จะจบการศึกษาเพื่อตรวจสอบ

ความรูความสามารถของผูที่สำเร็จการศึกษาวาจะนำ

ความรูความสามารถมาใชไดจริงหรือไม เพื่อใหไดคนท่ี

คิดเปน ทำเปน แกปญหาได ภาคภูมิใจในตนเอง และ

ทำงานรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข

โครงการที่วาคือผลงาน สิ่งประดิษฐ หรือองค

ความรูที่นักศึกษาคิดคนขึ้นมา โดยระหวางที่มีการเรียน

จะใหนักศึกษาออกไปสำรวจวาในทองที่ตองการอะไร

แลวนำเอารายวิชาที่เรียนตั้งแตปแรกจนจบมาใช เรียก

วาเปนการบูรณาการรายวิชามาใชงานใหไดในรูปของ

โครงการ โดยตองเปนโครงการที่ทางชุมชนเองตองการ

ตองเพิ่มเติมประสิทธิภาพหรือแกปญหาที่มีอยูของชุมชน

เพราะเม่ือเสร็จแลวตองนำไปใชงานไดจริง คือตองทำ

ใหชุมชนเห็นชอบความคิดนั้นเพ่ือเสนอใหชุมชนเปนผู

ออกคาใชจาย มีการปรับแก แลกเปลี่ยนความเห็นกัน

ระหวางนักศึกษากับผูทรงคุณวุฒิตลอด จนเม่ือผลงาน

เสร็จสมบูรณชุมชนก็ไดเครื่องมือไปใชเพื่อการพัฒนา

งานอาชีพหรือคุณภาพชุมชนตอไป

“เปนการวิน-วินกันทุกฝาย เพราะนักศึกษาได

ลงมือทำจริง ไดเรียนรู ชาวบานไดสิ่งของที่แกปญหา

หรือเสริมความสามารถของชุมชนได สวนทางวิทยาลัย

เองก็ประหยัดคาใชจาย และยังภูมิใจที่นักศึกษาของเรา

เปนผูผลิตผลงานอีกตางหาก” ผอ.ประดิษฐกลาวเสริม

“ที่ผานมานักศึกษาของวิทยาลัยชุมชนไดจัดทำโครงการ

มามากจนไดรับความไววางใจจากชาวบานและหนวยงาน

ตางๆ ไมวาจะเปน อบจ. อบต. หรือทางจังหวัด เมื่อมี

โครงการใดที่เห็นวามีประโยชนตอลูกหลาน เขาก็จะให

วิทยาลัยทำ ยกตัวอยางท่ีผานมา ทางจังหวัดสนับสนุน

งบประมาณในการพัฒนาเตาอบไอน้ำประหยัดเชื้อเพลิง

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 38

Page 40: Community College Dynamic of Development

พลังงานแสงอาทิตย เปนตน”

ตัวอยางผลงานโครงงานของนักศึกษา

เตาอบไอน้ำประหยัดเช้ือเพลิงพลังงานแสงอาทิตย สำหรับโรงเรือนเพาะเห็ด

การพัฒนาเตาอบไอน้ำประหยัดเชื้อ เพลิง

พลังงานแสงอาทิตยสำหรับโรงเรือนเพาะเห็ด เกิดขึ้น

จากการสำรวจปญหาและความตองการของคนในชุมชน

ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรผูเพาะเห็ด เนื่องจากชุมชนมี

ปญหาดานมลพิษ มีเขมาควันที่เกิดจากจากการใชเตา

อบไอน้ำสำหรับอบฆาเชื้อแบคทีเรียภายในโรงเรือนเพาะ

เห็ด นอกจากน้ีกระบวนการอบไอน้ำมีปญหาหลักที่

สำคัญประการหนึ่งคือ ความสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง ซึ่งเดิม

ใชไมฟนเปนเช้ือเพลิงหลักในการตมน้ำใหเกิดไอ แตตอ

มาผูเพาะเห็ดฟางจึงหันมาแกปญหาการขาดแคลนไมฟน

โดยการนำยางรถยนตมาเผาเพ่ือเปนเช้ือเพลิง ทำให

เกิดปญหามลพิษสิ่งแวดลอม

จังหวัดพิจิตร วิทยาลัยชุมชนพิจิตร และกลุม

เกษตรกรหมูบานเห็ดฟางผูผลิตเห็ดบานยางโทน ตำบล

บานนา อำเภอวชิรบารมี ทำโครงการวิจัยและพัฒนา

เตาอบไอน้ำประหยัดเช้ือเพลิงพลังงานแสงอาทิตยขึ้น

ซึ่งสามารถแกปญหามลพิษดานส่ิงแวดลอมที่เกิดขึ้นใน

ชุมชนได อีกทั้งเปนการรวมกันสรางองคความรูเพื่อให

เกิดความยั่งยืนของอาชีพภายในชุมชน

เตาอบดังกลาวมีจุดเดนคือ

๑. มีชุดรับความรอนจากพลังงานแสงอาทิตย

และถังเก็บน้ำรอน ที่สามารถรักษาอุณหภูมิไดประมาณ

๗๐ องศาเซลเซียส

๒. มีหองตมน้ำที่เล็กซึ่งสามารถทำใหน้ำเดือด

ไดเร็วกวาปกต ิ

๓. เนื่องจากน้ำที่นำไปตมเปนน้ำที่มีอุณหภูมิสูง

จึงทำใหน้ำเดือดเร็วกวาการใชน้ำที่อุณหภูมิปกติ

๔. ประหยัดเชื้อเพลิงฟนเนื่องจากทำความรอน

โดยใชแสงอาทิตยชวย

เคร่ืองแปรรูปอาหารสัตว (โคนม)

ปจจุบันเกษตรกรพิจิตรนิยมเล้ียงโคนมเพ่ิมขึ้น

เนื่องจากเปนอาชีพท่ีไดผลตอบแทนไมดอยกวาอาชีพ

เกษตรชนิดอื่น โดยใชขาวโพดเปนอาหารเสริมในการ

เลี้ยงโคนม เนื่องจากหางาย ราคาไมแพง และใหคุณคา

ทางอาหารตรงตามความตองการของโคมนม แตเนื่อง

จากกระเพาะของโคนมไมสามารถยอยเม็ดขาวโพดไดจึง

จำเปนตองนำขาวโพดแหงมายอยใหปนในระดับหน่ึง

กอน เพื่อใหการยอยกากเปนไปดวยความสมบูรณ ใน

การสำรวจความตองการของชาวบาน ตางสะทอนวา

ตองการเครื่องแปรรูปอาหารสัตวที่มีคุณภาพดี ราคา

ประหยัด

นักศึกษาวิทยาลัยชุมชนพิจิตรจึงริเริ่มโครงการ

“เคร่ืองแปรรูปอาหารสัตว” เพ่ือความความรูดานชางมา

ประยุกตใชในการแกปญหาใหแกเกษตรกร โดยเนน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 39

Page 41: Community College Dynamic of Development

การออกแบบส่ิงประดิษฐใหเกิดประโยชนและคุณคา

หลายดานดังน้ี

๑. ใชบดฝกขาวโพดแหงอาหารสัตว เหมาะ

สำหรับระบบการยอยซึ่งใชเวลาสั้น

๒. เคร่ืองมีขนาดเล็ก เหมาะสำหรับใชในครัว

เรือน และเคลื่อนยายไดสะดวก

๓. ซอมบำรุงรักษางาย ราคาถูก ชาวบาน

สามารถผลิตขึ้นใชเองได

จากตัวอยางโครงงานทั้งสองจะเห็นไดวา นัก

ศึกษาวิทยาลัยชุมชนพิจิตร ไดอาศัย “ทุนความรู” ที่ได

รับจากการศึกษาในสถาบันที่มีความพรอมดานเคร่ืองมือ

ชางอุตสาหกรรม และมีความรูเทคโนโลยีใหมๆ มา

พัฒนาโครงการสิ่งประดิษฐที่สามารถตอบสนองความ

ตองการของชาวบานไดเปนอยางดี โครงการทั้งสอง

สะทอนใหเห็นถึงการประยุกตใชความรูจากการศึกษาใน

วิทยาลัยชุมชน สรรคสรางนวัตกรรมส่ิงประดิษฐที่มุง

แกไขปญหาเฉพาะของพ้ืนที่ซึ่งอาจแตกตางจากพ้ืนที่

อื่นๆ สมดังเจตนารมณเริ่มตนของการจัดตั้งวิทยาลัย

ชุมชนวา เปนการศึกษาเพื่อ “สรางชาติ สรางคน สราง

งาน” อยางแทจริง

เม่ือมีโครงการจำนวนมาก ในแตละปมีผลงาน

กวา ๙๐ ชิ้น วิทยาลัยชุมชนพิจิตรจึงจัด “มหกรรมวิชา

การ” ขึ้น โดยดำเนินการตอเน่ืองกันมากวา ๕ ปแลว

เปนมหกรรมท่ีจัดเพื่อเผยแพรและโชวผลงานของนัก

ศึกษาใหประชาชนรับรูในวงกวางข้ึน

โครงการเหลาน้ี ลวนแสดงใหเห็นวานักศึกษา

วิทยาลัยชุมชนพิจิตรสามารถนำความรูความสามารถท่ี

ไดจากกระบวนการเรียนรูดวยวิธีการปฏิบัติจริงไปแก

ปญหาใหกับผูประกอบอาชีพตางๆ มากมายจนเปนท่ี

ยอมรับของชุมชนรอบขาง จนกลาวเปนเสียงเดียวกันวา

หากเกิดปญหาเกี่ยวกับการประกอบอาชีพใหมาที่

วิทยาลัยชุมชนพิจิตร

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 40

Page 42: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 41

Page 43: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 42

Page 44: Community College Dynamic of Development

“กลุมเครือขายโอท็อป จ.หนองบัวลำภู สุดปลื้ม

ขาวฮางผลผลิตจากภูมิปญญาทองถ่ินพบคุณประโยชน

ตอสุขภาพมากกวาขาวชนดิอืน่ ดาน มข.ออกหนงัสอืรบัรอง

คณุภาพขาวฮาง หลงัวจิยัสารกาบาสูงเกือบ ๑๕ เทา”

นับตั้งแตชวงตนป ๒๕๕๑ “ขาวฮาง” ผลผลิต

จากภูมิปญญาชาวหนองบัวลำภู เปนขาวดังในหนา

หนังสือพิมพ และสื่อมวลชนแขนงตางๆ ตามกระแส

ความต่ืนตัวตองการอาหารเพ่ือสุขภาพของคนเมือง

ตามยุคสมัยปจจุบันที่ผูคนใหความสนใจใสใจในการดูแล

รักษาสุขภาพ ทำใหอาหารเสริมที่มีการโฆษณาประชา-

สัมพันธวามีคุณประโยชนอยางมากมายตอรางกายไดรับ

ความนิยมอยางมาก แมวาจะมีสนนราคาแพงแคไหน

โดยเรากำลังหลงลืมไปวา แทจริงแลวเราสามารถดูแล

สุขภาพโดยการรับประทานอาหารที่มีอยูในทองถิ่น เปน

อาหารพ้ืนบานของเราน่ีเอง ซึ่งแทบไมนาเช่ือวาอาหาร

บางชนิดนั้นใหคุณคาทางอาหารสูงกวาอาหารเสริมราคา

แพงหลายเทาตัว

ปจจุบันน้ี สำหรับแวดวงคนรักสุขภาพแลว

ขาวฮางถือเปนอาหารหลักคูกับกับขาวจานโปรด เบื้อง

หลังของ “ขาวฮาง” ที่เปนขาวใหญ มีวิทยาลัยชุมชน

หนองบัวลำภูเปนสวนหนึ่งของความสำเร็จ จากการริเริ่ม

ฟนฟูภูมิปญญาชาวบานและจัดทำเปนหลักสูตรฝกอบรม

ขาวฮางอินทรยี ขาวพืน้บานซึง่เกิดจากภมูปิญญาชาวบาน

ในทองถิ่นอีสาน ที่เปยมไปดวยคุณคาและคุณประโยชน

มากมาย ดังนี้

ขาวฮางคืออะไร

“สมัยกอนขาวเปลือกที่เก็บในยุงฉางเปยกน้ำ มี

หนอเล็กๆ ขึ้นมา ชาวบานตองการเก็บรักษาขาวไมให

เสีย จึงนำไปน่ึงแลวนำไปตากแดดใหแหง จากน้ันนำมา

หุงกินพบวามีความอรอยนิ่มและเหนียวเหมือนขาวโพด

จึงเรียกวาขาวฮาง คำวาฮางหมายถึงการนึ่ง สมัยพอเลา

กันมาวา ขาวฮางจะทำสำหรับคนปวย เอามาหุงในหมอ

ดิน หรือบางทีก็หลามในบองไมไผ ถาคนปวยไมมีฟนก็

จะนำมาเค่ียวใหเปนน้ำนม พบวาคนปวยท่ีไดกินขาวฮา

งมีอาการดีขึ้น” นางละเอียด ปูหลุน หัวหนากลุมบาน

สวนสวรรค อำเภอศรีบุญเรือง วัย ๕๑ ป ผูผลิตขาว

ฮางซึ่งไดรับการถายทอดภูมิปญญานี้มาจากพอที่เปน

หมอยาโบราณ เลาถึงจุดเริ่มตนของขาวฮาง

ขาวฮางเปนภูมิปญญาทองถิ่น ชาวบานในสมัย

โบราณทำขาวฮางกันมานานแลว ถือเปนขาวสุขภาพ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 43

Page 45: Community College Dynamic of Development

และหาไดยากมากในปจจุบัน เพราะมีกรรมวิธีการผลิต

หลายข้ันตอน ตั้งแตการคัดพันธุขาว ไปจนถึงกระบวน

การสีเพื่อรักษาสารอาหารท่ีมีอยูใหครบถวน ขาวฮางนั้น

มีกลิ่นหอมและมีความน่ิม

ซึ่งในปจจุบันภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะ

เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน ไดทำการวิจัยสาร

ประกอบทางชีวภาพในขาวฮาง พบวาในขาวฮางอุดมไป

ดวยแรธาตุและวิตามินตางๆ รวม ๒๐ กวาชนิด โดย

เฉพาะสาร GABA (Gamma Amino Butyric Acid) สูง

กวาขาวชนิดอื่นๆ ถึง ๑๕ เทา สารกาบามีคุณสมบัติ

ชวยลดความดันโลหิตและปริมาณโคเลสเตอรอล ทั้งยัง

มีเสนใยอาหารปริมาณสูง มีสวนชวยในการควบคุม

น้ำหนัก ลดความเสี่ยงจากการเปนโรคอัลไซเมอร ลมชัก

โรคเครียด มีธาตุแมงกานีสในปริมาณสูงชวยตอตาน

อนุมูลอิสระ อันเปนสาเหตุของโรคมะเร็งอีกดวย

จากการถนอมอาหาร สูหลักสูตรขาวอินทรียเพื่อสุขภาพ

กอนท่ีขาวฮางในยุงฉางของชาวบานจะออกมา

เปดตัวในฐานะขาวท่ีมีคุณคาและคุณประโยชนมากมาย

ดังที่กลาวไปแลวนั้น หลายคนคงอยากทราบวา แลว

วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภูทำอยางไร ภูมิปญญาท่ี

กำลังจะสูญหายจึงกลับคืนมาไดอีกคร้ัง

นายวีระชัย กวีธีระวัฒน รักษาราชการแทน

ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู เลาใหฟง ดังนี้

“เมื่อประมาณปลายป พ.ศ. ๒๕๔๙ ผมไปคุยกับ

กลุมครุไทบาน ซึ่งเปนกลุมแมบานอำเภอศรีบุญเรือง

ทำใหไดทราบวาชุมชนมีความรูเรื่องการทำขาวฮาง ซึ่ง

เปนความรู เปนภูมิปญญาดั้งเดิมของคนอีสาน แตคน

ทั่วไปไมคอยรูจักแลว ชาวบานกลัววาจะสูญสิ้นไป กลัว

วาเด็กรุนหลังจะทำไมเปน เขาตองการอนุรักษสิ่งที่เปน

มรดกทางวัฒนธรรม เขาตองการนักวิชาการไปชวยเขา”

วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภูทำหนาที่จัดการ

ความรูรวมกับภูมิปญญาชาวบานในทองถ่ิน และหนวย

งานท่ีเกี่ยวของ เชน สำนักงานเกษตรจังหวัด เขาไป

ศึกษากรรมวิธีการผลิตขาวฮางจากภูมิปญญา ไดเห็นรูป

แบบวิธีการผลิตขาวฮางแบบตางๆ จนกระทั่งไดกรรมวิธี

ที่คิดวามีความเหมาะสม จากนั้นนำมาพัฒนาเปนหลัก

สูตรขาวฮางอินทรีย แลวใหทั้งภูมิปญญา ชาวบานใน

ชุมชน และนักวิชาการมารวมวิพากษหลักสูตร กอนนำ

เสนอใหสภาวิทยาลัยชุมชนอนุมัติ เมื่อไดหลักสูตรมา

แลวจึงนำไปฝกอบรมชาวบาน เริ่มที่กลุมครุไทบานกอน

แตบทบาทของวิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภูยังไม

หยุดเพียงเทานั้น เพราะวิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภูมอง

ไปถึงเรื่องของความยั่งยืนในอนาคตของชาวบาน กลุม

ผูผลิตขาวฮางนำโดยแมละเอียด ปูหลุน จึงไดประสาน

กับนักวิชาการจากภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะ

เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกนเพ่ือเขาไปชวยทำการ

วิจัยคุณคาอาหารของขาวฮางดังที่นายวีระชัย กลาววา

“ตอนนั้นชาวบานเริ่มมีความมั่นใจในผลิตภัณฑ

ของกลุมตนเอง กลุมผูผลิตขาวฮางนำโดยแมละเอียด

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 44

Page 46: Community College Dynamic of Development

ปูหลุนจงึตดิตอประสานงานกับนกัวิชาการจากมหาวิทยาลยั

ขอนแกน เพื่อมาวิเคราะหประเมินคุณคาทางอาหารของ

ขาวฮาง พบวามีสารกาบาสูงกวาขาวชนิดอื่นๆ

การท่ีมหาวิทยาลัยขอนแกนรับรองคุณภาพขาว

ฮาง ผมคิดวาเปนผลดี คือทำใหชาวบานตองรักษา

คุณภาพของผลผลิตใหดีสม่ำเสมอ ขณะนี้วิทยาลัยชุมชน

หนองบัวลำภูไดเสริมความรูเร่ืองสารกาบา ไวในหลัก

สูตรการฝกอบรม รวมทั้งพัฒนาหลักสูตรในเรื่องการ

ตลาด การรวมกลุมสรางแบรนดสินคารวมกัน และการ

แปรรูปขาวฮางเปนผลิตภัณฑอื่นๆ เชน ครีมพอกหนา

เปนตน

บทบาทของวิทยาลัยชุมชนไมเพียงเสริมความรู

และทักษะวิชาชีพเทาน้ัน ผมคิดวายังสงผลถึงการพัฒนา

คุณภาพชีวิต การอนุรักษภูมิปญญาทองถ่ิน และในทาย

ที่สุดสงผลใหชุมชนเขมแข็งข้ึน”

ปจจุบัน นอกจากความสำเร็จของวิทยาลัยชุมชน

หนองบัวลำภูในการชวยอนุรักษภูมิปญญาและสืบสาน

วิถีดั้งเดิมของชุมชนแลว ยังมีการนำหลักสูตรของ

วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภูไปขยายผลในสถานศึกษา

โดยพัฒนาเนื้อหาสาระเพ่ือจัดทำเปนหลักสูตรสถาน

ศึกษาใชในโรงเรียนในอำเภอศรีบุญเรือง และท่ีนายินดี

เปนอยางย่ิงคือชาวบานสามารถรวมกลุมกันจัดตั้งเปน

กลุมสหกรณการเกษตรโอทอปศรีบุญเรือง จำกัด แสดง

ใหเห็นพัฒนาการที่ตอเนื่อง ซึ่งจะนำไปสูความย่ังยืนใน

อนาคตของชุมชนตอไป

หลักสูตรเย็บผาสมุนไพรทอมือ ฟนวิถีชุมชน

นอกจากหลักสูตรขาวฮางอินทรียแลว ยังมีอีก

หนึ่งความสำเร็จที่ควรจะไดกลาวถึงของวิทยาลัยชุมชน

หนองบัวลำภู ซึ่งไดทำหนาที่อนุรักษภูมิปญญาของ

ทองถิ่น เพ่ือเปาหมายคือชุมชนยืนหยัดไดดวยตนเอง

อยางเขมแข็งและยั่งยืน

ที่อำเภอศรีบุญเรืองแหงนี้ จากจุดเริ่มตนเดียว

กันกับหลักสูตรขาวฮางอินทรีย หลักสูตรเย็บผาสมุนไพร

ทอมือเกิดขึน้เพราะความหวงใยของคนรุนเกาวาภมูปิญญา

ของทองถิ่นที่สั่งสมและถายทอดมานานกำลังจะสูญหาย

นางละเอียด ปูหลุน หรือแมละเอียดของชาว

บานในชุมชน เพราะเปนทั้งครูและผูนำองคกรเครือขาย

ภาคประชาชน เลาใหฟงถึงวิถีชีวิตดั้งเดิมของหมูบานวา

ใครจะออกเรือนไดนั้นตองมีคุณสมบัติคือผูหญิงตองทอ

ผาเปน และผูชายตองทำนาได แตปจจุบันคานิยมเปล่ียน

ไปกลายเปนวาแคมีบานหลังใหญก็พอแลว ซึ่งทั้งแม

ละเอียดและคนรุนราวคราวเดียวกันไมอยากใหเกิด

ความคิดแบบน้ัน จึงตั้งใจรวมกลุมกันเขาไปเสนอให

วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภูเขามาชวย

“กอนหนานี้ที่วิทยาลัยชุมชนจะเขามาสงเสริม

คนทอผาเปนกำลังจะหมดไป เพราะเหลืออยูแตในกลุมผู

เฒาผูแก ซึ่งทำได แตถายทอดไมเปน พอจะถายทอด

เด็กก็ไมยอมเรียน เราก็เลยประสานกับทางวิทยาลัย

ชุมชนหนองบัวลำภู ใหมาทำหลักสูตรนี้ โดยเริ่มจาก

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 45

Page 47: Community College Dynamic of Development

กลุมผูสูงอายุเพื่อถายทอดไปยังลูกหลาน แลวความตาง

ของชองวางก็จะขยับมาเจอกันพอดี ก็คาดวาสังคมเราก็

จะเกิดสุข” แมละเอียดเลาถึงความตั้งใจในการฟนฟูการ

ทอผา

เมื่อวิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู ไดทราบความ

ตองการของชาวบาน จึงเขาไปทำการวิจัยและพัฒนา

หลักสูตรเพ่ือใหครอบคลุมวิถีชีวิตและกระบวนการทอผา

ไดแบงลำดับข้ันตอนออกเปนตนน้ำ กลางน้ำ และปลาย

น้ำ ซึ่งนายวีระชัย เลาถึงแนวคิดน้ีวา

“วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภูเล็งเห็นวาการทำให

ชุมชนเขมแข็งตองใชทรัพยากรในทองถิ่น ประการแรก

คือชาวบานซื้อดายมาทอ ประการที่สองคือลวดลายเปน

ลายพื้นฐาน วิทยาลัยชุมชนเลยเริ่มจากตนน้ำคือ เราไม

ตองซื้อดายของคนอ่ืน แตเราปลูกเอง ก็เลยจัดหลักสูตร

การฝกอบรมเพาะพันธุกลาไม ปลูกฝาย ปลูกหมอน

เลี้ยงไหม แลวทอเปนเสนใยข้ึนมา ตอนน้ีเร่ิมปลูกแลว

เพื่อเอาเสนใยที่ไดไปทอผา กลายเปนหลักสูตรทอผา

สมุนไพรนั่นเอง

ท่ีนี่กลางน้ำ คือ การทอ ซึ่งเขาทอกันอยูแลว

เราทำหนาที่เขาไปสนับสนุนใหมันขยายวงกวางออกไป

สุดทายปลายน้ำ เรากำลังประสานกับมหาวิทยาลัย

ราชภัฏอุดรธานีและศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมเพ่ือใหเขา

มาอบรมหรือใหชาวบานไดไปดูงานเร่ืองลวดลายผา เพ่ือ

นำมาเพ่ิมมูลคาใหผา วิทยาลัยชุมชนสนับสนุนใหใช

วัตถุดิบในชุมชน ประหยัดรายจาย ลดตนทุน”

วิทยาลัยชุมชน นำชุมชนสูความพอเพียงที่ย่ังยืน

ดวยแนวคิด ๓ ชวงเวลา คือ ตนน้ำ กลางน้ำ

และปลายน้ำของวิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู เพ่ือจุด

หมายปลายทางคือชุมชนท่ีเขมแข็งดวยตนเองอยาง

ยั่งยืน นายวีระชัยไดกลาววาขณะน้ียังอยู ในชวงของ

ตนน้ำและกลางน้ำ ซึ่งในชวงดังกลาวนี้เอง วิทยาลัย

ชุมชนหนองบัวลำภูสามารถพัฒนาหลักสูตรการฝก

อบรมข้ึนมาตอบรับความตองการของชุมชนไดถึง ๕

หลักสูตรดวยกัน ไดแก หลักสูตรปุยอินทรียชีวภาพ

หลักสูตรเพาะพันธุกลาไม หลักสูตรชางทอผาสมุนไพร

มัดหมี่ หลักสูตรเสื้อสมุนไพรเย็บมือ และหลักสูตรขาว

ฮางอินทรีย

โดยในชวงปลายน้ำ ซึ่งเปนเรื่องของการเพ่ิม

มูลคาของผลผลิต การตลาด ฯลฯ ก็จะทำการพัฒนา

ตอไปอยางตอเนื่อง เพ่ือใหครบวงจร

ขณะน้ีในชุมชนเองก็มีการดำเนินการเปนชวง

เวลาเชนเดียวกัน ชวงปลายน้ำนั้นชุมชนมุงหวังใหคน

หนุมสาวมาเปนกำลังหลักในการสืบสานภูมิปญญาเหลา

นี้ ซึ่งแนนอนวาตองอาศัยระยะในการปลูกฝงสั่งสม

ดังนั้นในชวงตนน้ำและกลางน้ำจึงยังเปนหนาที่ของรุน

บุกเบิกอยางแมละเอียดและพองเพื่อนเปนกลุมหลัก

และเริ่มปลูกฝงในกลุมเยาวชนพรอมกันไปดวย

“เด็กจะตองทำเรื่องน้ีใหเปน สาวๆ จะตองทำ

เรื่องน้ีใหเปน แตขณะน้ียังไมมีสาวๆ ทำเปน ความรูจะ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 46

Page 48: Community College Dynamic of Development

อยูในกลุมเด็กกับกลุมผูสูงอายุที่เรากำลังถายทอด ตอง

อีกสัก ๕–๖ ป จนกวากลุมเด็กเหลานี้ก็จะโตและสืบ

ทอด สังคมมันถึงจะเกิดสุข... ถาวิทยาลัยชุมชนไมทำ

เรื่องน้ี ถามวาใครจะทำ ถาคนกลุมฉันหมดไป ก็จะไมมี

คนทำเปน ถายทอดเปน หรือรับชวงตออีกแลว” แม

ละเอียดกลาว

ความฝนถึงชุมชนที่ยั่งยืนเขมแข็งกำลังกอรูปขึ้น

ดวยความรวมมือจากหลายฝาย ไมวาจะเปนกลุมชาวบาน

ในชุมชน วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู และหนวยงานใน

ทองถิ่น ขณะนี้แมละเอียดไดกอตั้งศูนยพัฒนาเครือขาย

ผาฝาย ผาไหม ขึ้นที่บานโคกมวง ตำบลนากอก อำเภอ

ศรีบุญเรือง เพื่อใหเปนศูนยกลางทั้งตนน้ำ กลางน้ำ

และปลายน้ำ

“ตรงน้ีจะเปนศูนยเรียนรู จะมีแปลงปลูกฝาย มี

ตลาดนัดคุณธรรมจำหนายเส้ือ จำหนายขาว และอะไร

ตออะไรที่เราผลิตได กำลังของบประมาณจาก อบต.

ตอไปก็จะเกิดเปนธุรกิจชุมชน เกิดวิสาหกิจชุมชนแบบ

ยั่งยืน ไมแบบลอยๆ เหมือนในปจจุบัน แลวก็เกิดจาก

รากฐานจริงๆ ฐานรากเขมแข็ง ชุมชนเขมแข็ง ชาติเขม

แขง็ ก็อยูกันได” แมละเอียดเลาดวยความภูมิใจ

ความเขมแข็งและความย่ังยืน จะเกิดขึ้นไมได

หากทุกคนไมรวมมือรวมใจกัน วิทยาลัยชุมชนหนองบัว

ลำภูเปนตัวอยางที่ชัดเจนวา เมื่อทุกคนทุกฝายมองเห็น

หนทางรวมกัน ชวยกัน สิ่งที่มุงหวังตั้งใจยอมไปถึงได

อาจจะใชเวลาในการเดินทางนานสักหนอย แตเชื่อไดวา

ที่สุดสายปลายทางยอมสวยงามสมดังที่ตั้งใจ

วันนี้ที่อำเภอศรีบุญเรือง เริ่มตนจากชาวบาน

กลุมเล็กๆ กับการเริ่มตนสรางทางน้ำสายเล็กๆ ของ

ตนเอง จากตนน้ำ ไปถึงกลางน้ำ และกำลังจะไปสูปลาย

น้ำ ที่ซึ่งความสุขและความย่ังยืนรออยู

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 47

Page 49: Community College Dynamic of Development

กรรมวิธีการผลิตขาวฮาง ขาวฮางภูมิปญญาทองถิ่น มีกรรมวิธีการผลิต

หลายขั้นตอน นับตั้งแตคัดเลือกพันธุขาว โดยเลือกใช

ขาวเหนียวขาวเปลือกปลอดสารเคมี จากนั้นนำขาวมา

แชน้ำ ๑-๒ วัน แลวนำมาบมอีก ๑ วัน ในอุณหภูมิไม

เกิน ๔๐ องศาเซลเซียส ขั้นตอนนี้ทำใหเกิดสาร

กลูตามิก เพื่อสรางสารกาบา จากนั้นนำมานึ่งใหสุก

เมื่อสุกแลวก็นำไปตากใหแหงแลวนำไปสีหรือตำดวย

ครกกระเด่ือง

จากนั้นก็คัดแยกแกลบออก นำขาวไปหุงรับ

ประทานได โดยขาวที่หุงสุกจะไมแข็ง มีลักษณะคลาย

เม็ดขาวโพดขาวเหนียวตมสุก คือมีผิวตึงและนุมใน ขาว

นี้เมล็ดจะมีสีเหลืองทอง สารอาหารจะอยูครบหมด ไม

หลุดไปพรอมกับแกลบเหมือนการสีขาวกลอง ขาวที่ได

จะมีกลิ่นหอมและนิ่ม จึงถือไดวาขาวฮางเปนขาวสำหรับ

คนรักสุขภาพอีกชนิดหนึ่ง

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 48

Page 50: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร คือสะพานเชื่อมความรู

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 49

Page 51: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 50

Page 52: Community College Dynamic of Development

พลันที่มุกดาหารเร่ิมวางศิลาฤกษสะพาน

ขามแมน้ำโขงระหวางชาติแหงที่ ๒

ซึ่งเปรียบเสมือนสะพานเช่ือมเศรษฐกิจ สังคม และ

วัฒนธรรม ระหวางไทยกับเพ่ือนบานอินโดจีนในวันที่

๒๑ มีนาคม ๒๕๔๗ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารก็เริ่มวาง

แผนพัฒนาหลักสูตรที่เก่ียวกับการคาระหวางประเทศ

กวาสองปนับจากพิธวีางศิลาฤกษกอสรางสะพานฯ

งานกอสรางมีความคืบหนาอยางรวดเร็ว กระท่ังวันท่ี

๒๐ ธันวาคม ๒๕๔๙ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกมุารเีสดจ็พระราชดำเนนิเปนองคประธาน

ในพิธีเปดสะพานขามแมน้ำโขงแหงที่ ๒ มุกดาหาร-

สะหวันนะเขต รวมกับผูนำประเทศของ สปป.ลาว

พรอมแขกรับเชิญทูตานุทูตจากประเทศตางๆ

ชวงเวลานี้เองชาววิทยาลัยชุมชนมุกดาหารได

ประสานงานและทำงานรวมกับหนวยงานตางๆ ทั้งภาค

รัฐ ภาควิชาการ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพ่ือจัด

ทำหลักสูตรอนุปริญญา “ธุรกิจระหวางประเทศในกลุม

อินโดจีน” (การคาชายแดน) ซึ่งเปนหลักสูตรใหมที่ยังไม

มสีถาบันการศึกษาใดเปดสอนมากอน โดยมวีตัถปุระสงค

เพื่อผลิตบุคลากรในจังหวัดรองรับการขยายตัวทาง

เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการลงทุนในกลุม

ประเทศอินโดจีนที่คาดการวาจะขยายตัวอยางสูงเมื่อมี

การเปดสะพานขามแมน้ำโขงดังกลาวไดอยางทันทวงที

หากความสำเร็จในการพัฒนาหลักสูตร ”ธุรกิจ

ระหวางประเทศในกลุมอินโดจีน” สะทอนใหเห็นถึงภาพ

การทำงานของวิทยาลัยชุมชนมุกดาหารที่สามารถ

วิเคราะหศักยภาพของจังหวัดในการเปนเมืองทาที่สำคัญ

ของการคาขายกับกลุมประเทศอินโดจีน กระทั่งจัดทำ

แผนพัฒนาการจัดการศึกษาลวงหนา เพื่อผลิตบุคลากร

ปอนตลาดงานในภาคเศรษฐกิจไดทันทวงที ตรงตาม

หลักปรัชญาการดำเนินงานของวิทยาลัยชุมชนในการ

จัดการศึกษาที่ตอบสนองความตองการของทองถิ่นใน

การพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของจังหวัด หลักสูตร

ฝกอบรม “เกษตรอินทรีย” ยิ่งเนนย้ำบทบาทของ

วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารในฐานะสถาบันการศึกษาท่ีมุง

สรางเสริมความรูเพ่ือการพัฒนาท่ีสมดุล โดยประยุกต

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเขากับภูมิปญญาทองถ่ิน

ในดานการเกษตร เนนย้ำบทบาทของการเปนสะพาน

เชื่อมโยงความรูและวิทยาการสมัยใหมใหสอดรับกับ

บริบทของชุมชนทองถิ่น

ผลสำเร็จที่เกิดข้ึน ณ หมูบานสันติสุข อำเภอ

นิคมคำสรอย เปนกาวสำคัญที่เกิดจากการทำงานรวม

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 51

Page 53: Community College Dynamic of Development

กันอยางใกลชิดกับชาวบาน ที่ ใหความรูผานการฝก

อบรมในหลักสูตรตางๆ อยางตอเนื่องจนกระท่ังชาวบาน

สันติสุขสามารถเพาะภูมิคุมกันจากวิกฤติเศรษฐกิจ

“เรื่องเลาวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร” จึงขอนำ

เสนอภาพการทำงาน ๒ หลักสูตร คือ หลักสูตร

อนุปริญญาสาขาวิชา ”ธุรกิจระหวางประเทศในกลุม

อินโดจีน” (การคาชายแดน) และหลักสูตรฝกอบรม

“เกษตรอินทรีย” ที่สะทอนใหเห็นถึงบทบาทการเปน

สะพานเชื่อมระหวางการศึกษาขั้นพื้นฐานกับการศึกษา

ระดับอุดมศึกษา และเปนสะพานเช่ือมระหวางวิทยาการ

ใหมๆ กับภูมิปญญาทองถ่ิน

ธุรกิจระหวางประเทศในกลุมอินโดจีน

หลักสูตรอนุปริญญาสรางบัณฑิตรองรับตลาดงานในทองถิ่น

มุกดาหารเปนจังหวัดที่มีพรมแดนติดตอกับ

แขวงสะหวันนะเขตประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย

ประชาชนลาว แขวงสำคัญรองจากนครเวียงจันทน แม

จะอยูหางไกลกรุงเทพฯ แตจังหวัดนี้กลับมีศักยภาพทาง

เศรษฐกิจสูง เพราะมีโครงขายการคมนาคมท่ีสามารถ

เชื่อมตอกับประเทศกลุมอินโดจีนได มีสะพานขามแมน้ำ

โขงแหงที่ ๒ และเปนจุดเร่ิมตนของเสนทางหมายเลข ๙

ซึ่งเปนเสนทางท่ีผานแขวงสะหวันนะเขต สปป. ลาว ไป

จนถึงตอนกลางของประเทศเวียดนาม ที่เมืองกวางตริ

เมืองเว (เมืองหลวงเกา) และเมืองดานัง

เปดประตูสูการคากลุมอินโดจีน จากสภาพความเหมาะสมทางภูมิประเทศดานที่

ตั้งที่กลาวมาขางตน จังหวัดมุกดาหารจึงมีศักยภาพใน

การเปนเมืองทาหรือประตูที่สำคัญของการคาขายกับ

กลุมประเทศอินโดจีน และประเทศจีนตอนใต ดวยเหตุนี้

วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารไดจัดทำหลักสูตรอนุปริญญา

“ธุรกิจระหวางประเทศในกลุมอินโดจีน” (การคา

ชายแดน) เพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ สังคม

วัฒนธรรม และการลงทุนในกลุมประเทศอินโดจีน

ดร.อีดิธ นามประกาย กรรมการสภาวิทยาลัย

ชมุชนมกุดาหาร และประธานหอการคาจงัหวดัมกุดาหาร

ในขณะนั้น ไดกลาวถึงความเปนมาของหลักสูตรวา

ตั้งแตมีการเปดสะพานขามแมน้ำโขงแหงที่ ๒ รายได

หลักของจังหวัดมาจากการคาชายแดน ซึ่งดูจากการนำ

เขาสงออกสินคาที่มียอดสูงมาก ทุกวันจะมีจำนวนคน

หรือนักทองเที่ยวเพ่ิมมากขึ้น มีปริมาณการผลิต และ

การขายสินคาที่เพิ่มสูงขึ้นกวาเดิมประมาณ ๕ เทา

แสดงใหเห็นวา ธุรกิจขยายตัวอยางรวดเร็ว วิทยาลัย

ชุมชนเล็งเห็นถึงความสำคัญในการเตรียมคนในจังหวัด

ใหพรอมที่จะทำธุรกิจกับประเทศเพื่อนบานในกลุม

อินโดจีน คือประเทศไทย ลาว และเวียดนาม

“การจัดทำหลักสูตรนี้มีความมุงหวังใหเกิด

ประโยชนแกผูสนใจ ที่จะหันมาศึกษา และเมื่อจบการ

ศึกษาแลว สามารถเขาใจถึงข้ันตอนวิธีการทำธุรกิจ

โอกาส และอุปสรรคในการประกอบธุรกิจ และถาอยาก

ทำธุรกิจก็สามารถนำความรูที่ไดไปประยุกตใชไดอยาง

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 52

Page 54: Community College Dynamic of Development

มีประสิทธิภาพในเขตเศรษฐกิจกลุมอินโดจีนและหวังวา

อยากใหลูกหลานชาวมุกดาหารไดเรียนหลักสูตรนี้ เมื่อ

เรียนจบมีความรูสามารถทำงานสรางความเจริญให

ชุมชนของตนได” ดร. อีดิธกลาว

สานเครือขาย พัฒนาวิชาการ ดวยเหตุนี้ในป ๒๕๔๘ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร

ไดแตงตั้งคณะทำงานในการยกรางหลักสูตรธุรกิจ

ระหวางประเทศในกลุมอินโดจีน ประกอบดวยผูเชี่ยว

ชาญจากมหาวิทยาลัยตางๆ เชน มหาวิทยาลัยมหาสาร-

คาม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยนครพนม

มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ผูทรงคุณวุฒิจากหนวย

งานภาครัฐ และผูประกอบธุรกิจภาคเอกชนที่เก่ียวของ

เชน หอการคาจังหวัด ภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ

เอกชน และสำนักงานพาณิชยจังหวัด เปนตน

คณะทำงานไดสำรวจขอมูลที่เก่ียวของทั้งใน

ประเทศและตางประเทศ โดยลงพื้นที่จริงตามเสนทาง

หลวงหมายเลข ๙ ที่ไปถึงดานัง เพื่อศึกษาขอมูลโอกาส

ที่จะทำการคาวามีเรื่องใดบาง นอกจากน้ียังศึกษาขอมูล

ดานการทองเที่ยว และพูดคุยกับนักธุรกิจที่ทำคาขายกับ

ประเทศลาวและประเทศเวียดนามเพื่อนำขอมูลเหลานั้น

มาประกอบในการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนใหมี

คุณภาพและเกิดประโยชนกับผูเรียนอยางสูงสุด

ในดานความชวยเหลือดานวิชาการ วิทยาลัย

ชุมชนไดจัดทำขอตกลงความเขาใจ Memorandum of

Understanding: MOU กับมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

เพื่อรวมจัดทำหลักสูตรธุรกิจระหวางประเทศกลุม

อินโดจีน โดยมี ดร.กฤษดา พัชราวนิช และคณะ

อาจารยจากคณะบริหารศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราช-

ธานี เปนผูจัดทำหลักสูตรฯ รวมกับคณะทำงานของ

วิทยาลัยชุมชน โดยใชเวลารางหลักสูตรประมาณ ๖

เดือน

หลังจากนั้นเขาสูขั้นตอนในการวิพากษหลักสูตร

คณะทำงานไดเชิญผูทรงคุณวุฒิทั้งจากสวนกลาง ภาค

เอกชน และนักวิชาการในมหาวิทยาลัยจากทั่วประเทศ

จำนวนกวา ๑๐๐ ทาน มารวมวิพากษหลักสูตร เมื่อ

ปรับปรุงรางตามขอเสนอแนะจากการวิพากษหลักสูตร

แลว จึงสภาวิชาการและสภาวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร

เพ่ือพิจารณาเห็นชอบหลักสตูร แลวจึงขออนุมตัหิลกัสูตร

จากคณะกรรมการวิทยาลัยชุมชน โดยผานการกลั่น

กรองจากคณะอนุกรรมการดานมาตรฐานการศึกษาของ

วิทยาลัยชุมชน สำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน และรับ

ทราบการอนุมัติหลักสูตรจากสำนักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษาตอไป รวมใชระยะเวลาดำเนินงานกวา

๒ ป จึงสามารถเปดรับนักศึกษารุนแรกในปการศึกษา

๒๕๕๐

“หลักสูตรนี้ถือเปนเรื่องใหมที่เกิดขึ้นในวงการ

ศึกษาไทย เพราะยังไมมีสถาบันการศึกษาใดทำหลัก

สูตรนี้มากอน ถึงจะมีหลักสูตรใกลเคียงกันบาง แตก็

เปนหลักสูตรการคาชายแดนทั่วไป ไมไดเจาะจงที่กลุม

อนิโดจนีคอื ประเทศไทย ลาว และเวยีดนาม” ผอ.อญัญา

กลาววา การท่ีวิทยาลัยชุมชนสามารถจัดทำหลักสูตรน้ี

ไดสำเร็จ เพราะวิทยาลัยชุมชนมีการบริหารงานแบบ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 53

Page 55: Community College Dynamic of Development

เครือขายความรวมมือหรือพันธมิตรในการจัดการศึกษา

มีการจัดทำขอตกลงความรวมมือ (MOU) กับหนวยงาน

ตางๆ ทั้งจากสถาบันการศึกษา สถานประกอบการ

หนวยงานภาครัฐ และเอกชน

ครูผูสอนตองเกง การที่วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารไดสรางความรู

สรางหลักสูตรใหม จึงมีปญหาและอุปสรรคในการ

ดำเนินงานในชวงเร่ิมตนบาง ผอ.อัญญาเลาวา การจะ

หาอาจารยมาสอนไมใชเรื่องงาย ยกตัวอยางเชน วิชา

กฎหมายจะเชิญนักกฎหมายหรืออาจารยมหาวิทยาลัย

ทั่วไปมาสอนก็ไมได เพราะกฎหมายท่ีเรียนเปนกฎหมาย

ระหวางประเทศ เปนกฎหมายเก่ียวกับประเทศลาวและ

เวียดนาม อาจารยผูสอนตองเปนผูที่มีความรู มีประสบ

การณสูงในเรื่องการคากับประเทศลาวและเวียดนาม

จากปญหาดังกลาว วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารจึง

จัดการอบรมครูผูสอน และทำส่ือประกอบการสอน เชน

คูมือวิทยากร ในรูปแบบของท้ังสื่อเอกสารและส่ือ

อิเล็กทรอนิกส อยางไรก็ดีแมวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร

จะประสบปญหาเรื่องครูผูสอนในชวงเริ่มตน แตดวย

ระบบการทำงานเปนเครือขายของวิทยาลัยชุมชนฯ ที่

สรางพันธมิตรทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคสถาบัน

การศกึษา ประกอบกบัโครงสรางการบรหิารงานวทิยาลยั

ที่มีสภาวิทยาลัยชุมชนซ่ึงเปนผูทรงวุฒิจากหลากหลาย

สาขาอาชีพของจังหวัด ทำหนาที่กำกับดูแลดานนโยบาย

และคอยใหคำปรึกษา เมื่อมีปญหา ผูอำนวยการจะ

เขาไปขอคำปรึกษาจากทุกฝายที่เกี่ยวของ ซึ่งก็ไดรับ

การชวยเหลือเปนอยางดี

“การทำงานเปนเครือขายทำใหวิทยาลัยชุมชนไม

โดดเด่ียว เม่ือเจออุปสรรคและปญหาดิฉันจะเขาไปขอ

คำแนะนำจากผูที่เก่ียวของ ซึ่งทานทั้งหลายก็จะใหความ

ชวยเหลืออยางเต็มท่ี อยางในกรณีขาดอาจารยผูสอน

เมื่อดิฉันไปขอคำปรึกษาจากเครือขายและสภาวิทยาลัย

ชุมชนก็ใหความชวยเหลืออยางเต็มที่ ทั้งการแนะนำ

ผูทรงคุณวุฒิ การติดตอวิทยากรท่ีรูจักสนิทสนมใหมา

ชวยเปนอาจารยพิเศษใหกับวิทยาลัยชุมชน หรือการมา

เปนอาจารยพิเศษชวยสอนหนังสือกับนักศึกษา เปนตน

ดวยความรวมแรงรวมใจของทุกฝายที่เกี่ยวของ ทำให

วันนี้วิทยาลัยชุมชนมีอาจารยพิเศษที่เปนผูทรงคุณวุฒิ

หลายทาน อาทิ ทานกงสุลใหญประจำแขวงสะหวันนะ

เขต บุคลากรจากหอการคาจังหวัด สำนักงานพาณิชย

จังหวัด และนักธุรกิจผูมีประสบการณในการทำการคา

กับกลุมประเทศอินโดจีน” ผอ.อัญญากลาว

ปจจุบันหลักสูตรนี้มีนักศึกษาเรียนแลว ๒ รุน

นักศึกษารุนแรกจะจบการศึกษาในป ๒๕๕๓ นายชูโรจน

ตรีประภากร อายุ ๕๖ ป นักศึกษาอนุปริญญาปที่ ๒

หลักสูตรธุรกิจระหวางประเทศในกลุมอินโดจีน เลาวา

ตนประกอบอาชีพขายของชำอยูในตัวเมืองมุกดาหาร

เปนคนชอบเรียนหนังสือ แตไมมีโอกาสเพราะตอง

ทำงานมาตลอด ตอนท่ีวิทยาลัยชุมชนมาเปดที่จังหวัด

มุกดาหารใหมๆ ไดยินขาววาใชเวลาเรียนแคเสาร-

อาทิตย คาเลาเรียนถูก ตนคิดอยากจะสมัครเรียน แตก็

ไมไดเรียน เพราะไมมีสาขาวิชาที่ชอบ จนกระทั่งเปด

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 54

Page 56: Community College Dynamic of Development

หลักสูตรธุรกิจระหวางประเทศในกลุมอินโดจีน ซึ่งตรง

กับความสนใจตนเลยมาสมัครเรียน

“ผมตัดสินใจมาเรียนหลักสูตรน้ี เพราะเห็นเปน

เรื่องใหม และที่สำคัญคือเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับจังหวัด

ที่ผมประกอบอาชีพอยู คิดวาหลักสูตรนาจะมีประโยชน

กับอาชีพของผมบาง จนกระทั่งไดมาเรียน ผมพูดไดคำ

เดียววาสุดยอด วิทยาลัยชุมชนจัดการศึกษาไดดี เนื้อหา

หลักสูตรแนนมาก ผมไดเรียนคอมพิวเตอร กฎหมาย

ระหวางประเทศ หลักการทำคาชายชายแดน หลักการ

ตลาด และอื่นๆ อีกมากมาย ความรูที่ผมไดรับลวนแต

เปนเรื่องที่มีประโยชนทั้งสิ้น เพราะอาจารยผูสอนแตละ

ทานลวนมีประสบการณและความรูเร่ืองการคาชายแดน

สูงมาก ไมวาจะเปนทานกงสุลใหญประจำแขวงสะหวัน

นะเขต ทานสอนเรื่องราวเกี่ยวกับประเทศลาวนาสนใจ

มาก บางครั้งก็มีนักธุรกิจจากลาวและเวียดนามบาง มา

ใหความรู ขนาดคนอายุ ๕๖ ปอยางผมยังสนุกกับการ

เรียนเลย” นายชูโรจนกลาวอยางช่ืนชม

จะเห็นไดวา “ธุรกิจการหวางประเทศในกลุม

อินโดจีน” เปนตัวอยางหนึ่งของหลักสูตรที่สามารถ

วิเคราะหศักยภาพของจังหวัด แลวดึงความโดดเดนของ

พื้นท่ีมาจัดทำเปนหลักสูตรการเรียนการสอนใหกับคนใน

จังหวัด เพื่อรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจจังหวัด

อันเปนรากฐานท่ีสำคัญใหเกิดการพัฒนาและสรางความ

เขมแข็งใหทองถ่ินในที่สุด

หลักสูตรเกษตรอินทรีย : ความหวังของเกษตรกรหมูบานสันติสุข

“ตอนที่ผมยายมาอยูที่นี่ใหมๆ พื้นดินมีแตความ

วางเปลา ไมมีแมตนไมเลยสักตน ปลูกอะไรก็ไมขึ้น

เพราะดนิไมด ีแตพอ ออาจารยประสทิธิ ์ ไชยมหาวรรณ

และอาจารยจากวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ใหความรู

เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ แมผมจะเคยทำการ

เกษตรมาแลว แตก็ทำแบบงูๆ ปลาๆ ไมมีความรู แต

ปจจุบันผมมีความรู การปลูกผักของผมจะเนนความ

ปลอดภัย จากพื้นที่แหงแลงในอดีต ตอนนี้สีเขียวทั้ง

หมูบานแลวครับ นอกจากนี้วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารยัง

มาชวยเร่ืองการตลาด การจัดกลุมในชุมชน ทุกวันนี้ผม

ไมตองไปขายเอง จะมีพอคามาซื้อที่ชุมชนของเรา พวก

เราสามารถอยูไดแลว”

นี้เปนเพียงเสียงสะทอนหน่ึงของนายบุญเรือง

ปากหวาน ชาวบานหมูบานสันติสุข ๒ ตำบลกกแดง

อำเภอนิคมคำสรอย จังหวัดมุกดาหาร หนึ่งในชาวบานที่

เขารับการฝกอบรมหลักสูตรเกษตรอินทรีย กับวิทยาลัย

ชุมชนมุกดาหาร

“หมูบานสันติสุข” เปนชุมชนท่ีอยูในความดูแล

ของศูนยพัฒนาสังคมที่ ๔๒ จังหวัดมุกดาหาร ศูนย

พัฒนาสังคมมีภารกิจหลักในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา

ทรัพยากรมนุษย และยังมีบทบาทในการดูแลการจัดสรร

ทีด่นิใหประชาชนท่ีไรทีท่ำกนิ ในเขตอำเภอนคิมคำสรอย

ปจจุบันมีประชาชนเขาอาศัยอยูจำนวน ๒๓ ครัวเรือน มี

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 55

Page 57: Community College Dynamic of Development

พื้นที่ทำการเกษตรครอบครัวละ ๔ ไร

ในป ๒๕๔๙ ศูนยพัฒนาสังคมท่ี ๔๒ ไดติดตอ

ขอใหวิทยาลัยชุมชนมุกดาหารเขาไปใหความรูกับชาว

บานในการทำการเกษตร จากการวิเคราะหปญหา และ

สำรวจความตองการพบวา หมูบานสันติสุข ๒ ตองการ

ทำการเกษตรอินทรียเพื่อสุขภาพที่ด ีและหางไกลจาก

สารเคมี

วิทยาลัยชุมชนไดเชิญอาจารยประสิทธิ์ ไชย

มหาวรรณ ผูเช่ียวชาญดานเกษตรอินทรียมาชวยจัดทำ

หลักสูตรเกษตรอินทรีย และเปนวิทยากรใหวิทยาลัย

ชุมชน เม่ืออาจารยประสิทธิ์วิเคราะหดิน พบวา หมูบาน

สันติสุขเหมาะท่ีจะปลูกพืชผักทั่วไป เชน คะนา ถั่ว

ฝกยาว และพืชผักสวนครัว เปนตน

เนื้อหาของการฝกอบรมจะมีตั้งแตเรื่องการ

บำรุงดิน การสอนทำปุย การทำน้ำหมักชีวภาพไวฉีดพน

แมลงแทนการใชสารเคมี และที่สำคัญคือการสอนให

ชาวบานรูจักใชภูมิปญญาทองถ่ิน เชน การปลูกผักชีฝรั่ง

แซมในแปลงปลูกจะชวยไลแมลงได ทั้งนี้การสอนทุกขั้น

ตอนเปนการปฏิบัติจริงในที่ดินของชาวบาน และยังไดสง

ผูเรียนท่ีสนใจไปดูงานท่ีวิทยาลัยชุมชนสระแกว ซึ่งมี

ศูนยการเรียนรูเร่ืองเกษตรอินทรียอยูนั่น

นอกจากนี้วิทยาลัยชุมชนยังไดนำหลักปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการจัดการเรียนการสอนให

กับชาวบาน เพื่อใชเปนแนวทางดำเนินชีวิตใหอยูไดอยาง

ยัง่ยืน นายอุทยั แกวดี แกนนำเกษตรกรเลาวา วทิยาลัย

ชุมชนสอนใหกลุมเกษตรทำการเกษตรท่ีไมทำลาย

สิ่งแวดลอม ใหใชทรัพยากรท่ีมีอยูในชุมชนอยางคุมคา

โดยยึดหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยู

หัวฯ ยกตัวอยางเชน ปลูกทุกอยางที่กิน กินทุกอยางที่

ปลูก หรือ เดินทีละกาว กินขาวทีละคำ ทำทีละอยาง

หมายถึงสอนใหชาวบานทำการเกษตรแบบคอยเปนคอย

ไป ไมควรทำการส่ิงใดใหใหญเกินตัว เพราะถาพลาดจะ

ทำใหเราเกิดหนี้สิน การใชชีวิตแบบพอเพียง คือรูจัก

พอดี พอประมาณ แลวมีความสุขกับสิ่งที่เรามีอยู

ดวยความรูที่ ไดรับจากวิทยาลัยชุมชนบวกกับ

ความตั้งใจของกลุมเกษตรกร ทำใหวันนี้ชาวสันติสุข

สามารถจัดตั้งกองทุนปุยอินทรียที่บริหารจัดการโดยชาว

บาน และเปนชุมชนตนแบบใหหมูบานใกลเคียงมาศึกษา

ดูงานเรื่องเกษตรอินทรีย

วันนี้วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารสามารถพิสูจนตัว

เองใหเห็นวา เปนผูประสานและเชื่อมโยงความรูเพื่อ

พัฒนาชุมชนอยางเต็มรูปแบบ ทั้งหลักสูตรอนุปริญญา

และหลักสูตรฝกอบรม

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 56

Page 58: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย เราคือ “กก” ท่ีเติบโต แข็งแกรง

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 57

Page 59: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 58

Page 60: Community College Dynamic of Development

หนองน้ำเล็กๆ ณ หมูบานแหงหนึ่งใน

อำเภอพลบัพลาชยั จงัหวัดบรุรีมัย

เต็มไปดวยตนกกที่กำลังชูกานตระหงานตรง พรอมให

ชาวบานเก็บเกี่ยวไปทอสื่อกก เปนเสื่อกกในรูปแบบใหม

ที่มีวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมยชวยใหความรูเพื่อสรางมูลคา

เพิ่มใหกับสินคาพื้นเมืองที่เกิดจากภูมิปญญาทองถิ่น

หาก “กก” เปนไมลมลุก งานของวิทยาลัย

ชุมชนบุรีรัมยก็เชนกัน เปนงานท่ีพรอมจะ “ลุก” คือเกิด

และเติบโตในระยะเวลาอันรวดเร็ว เพื่อสนองความ

ตองการของชาวบาน เมื่อหมดความสนใจตองการใน

เรื่องใด วิทยาลัยชุมชนก็พรอมท่ีจะ “ลม” ยุบเลิกและ

หันไปทำเร่ืองใหมๆ ที่จะสนองความสนใจตองการไดดี

ยิ่งขึ้น

เร่ิมตนจากจุดเล็กๆ

ดวยจำนวนพื้นที่เขตบริการการศึกษาที่มีมาก

กวา ๒๐ อำเภอ กับจำนวนประชากรกวาลานหาแสนคน

จึงไมใชเร่ืองงายเลยท่ีจะจัดการศึกษาไดอยางครอบ

คลุมทั่วถึง แตวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมยสามารถดำเนินการ

มาไดอยางเขมแข็ง แมจะออกตัววายังเปนแคกาวเริ่มตน

แตนับเปนการเร่ิมตนเพื่อเดินไปขางหนาอยางมั่นคง

จากกำลังของคนเล็กๆ จากจุดเล็กๆ

ดงัที ่ผศ.วฒุนินัท รามฤทธ์ิ ผูอำนวยการวิทยาลัย

ชุมชนบุรีรัมย รำลึกความหลังใหเราฟงวา

“วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมยกอตั้งขึ้น เพื่อใหโอกาส

ทางการศึกษาแกชาวบุรีรัมย แมวาจังหวัดบุรีรัมยจะมี

สถาบันการศึกษาระดับอดุมศึกษาอยูแลวคือมหาวิทยาลัย

ราชภัฏบุรีรัมย และยังมีวิทยาเขตของมหาวิทยาลัย

รามคำแหง ทั้งยังมีสถาบันการศึกษาเอกชนอีกหลาย

แหง แตเนื่องจากบุรีรัมยเปนจังหวัดใหญ มีพื้นที่ ให

บริการถึง ๒๓ อำเภอ และมีประชากรถึงหนึ่งลานหา

แสนคน ซึ่งการบริการการศึกษาก็จะเปนไปคอนขางยาก

ถึงกระนั้นทุกคนในวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมยก็มีความตั้งใจ

และภูมิใจในความสำเร็จ ณ วันนี้อยางยิ่ง เพราะในวันนี้

กลาวไดวา วิทยาลัยชุมชนของเราเปนสถาบันที่มีนัก

ศึกษามากท่ีสุด ดังภาคการศึกษาปจจุบันมีผูสมัครเขามา

เรียนถึงกวา ๑,๖๐๐ คน”

แมจะมีขอจำกัดทั้งในเรื่องของอาคารสถานที่ตั้ง

สำนกังานและการจดัการเรยีนการสอน รวมถงึมบีคุลากร

และงบประมาณจำกัดมาก แตนั้นก็มิไดทำใหวิทยาลัย

ชุมชนบุรีรัมยทอถอยตอภารกิจเพื่อปวงชน ในทาง

ตรงกันขาม วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมยยังคงตระหนักและ

เดินหนาตอไปอยางไมหยุดยั้ง เพราะความเชื่อมั่นของ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 59

Page 61: Community College Dynamic of Development

คนในทองถิ่น จากจำนวนผูสมัครเขาเรียนในหลักสูตร

ตางๆ อยางตอเนื่องและเพ่ิมจำนวนมากข้ึน เปนกำลังใจ

สำหรับคนทำงานใหมุงพัฒนางานตอไป เปนความมุงมั่น

บนพ้ืนฐานของส่ิงที่มี และคอยๆ ตอยอดจากจุดเร่ิมตน

เล็กๆ

“วิทยาลัยชุมชนของเราจัดตั้งข้ึนมา แมจะยังมี

ความไมพรอมอยางย่ิงในเร่ืองอาคารสถานท่ี ตั้งแต

กอตั้งจนถึงปจจุบันเราไดอาศัยสถานท่ีของวัดเปนอาคาร

เรียน พระคุณเจาวัดพระพุทธบาทเขากระโดง ทานมี

ความเมตตากับวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมยอยางย่ิง เพราะให

ความเอื้อเฟอสนับสนุนดานสถานที่มานานหลายป

จนกระท่ังในปที่ผานมาจนถึงปนี้ วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย

ไดรับงบประมาณสนับสนุนสำหรับกอสรางอาคารเรียน

และศูนยวิทยบริการของเราเอง ผมเชื่อวาเมื่ออาคาร

เรียนสรางเสร็จในปหนา จะยิ่งชวยสงเสริมการจัดการ

ศึกษา ผูเรียนจะไดรับความสะดวกในการศึกษาเรียนรู

อยางมาก” ผอ.วุฒินันทกลาวถึงความคาดหวังในอนาคต

ที่กำลังจะเกิดข้ึนในวันขางหนา

หลากความตองการ หลายความสนใจ

เพราะประตูแหงการเรียนรูที่วิทยาลัยชุมชน

บุรีรัมยเปดเพื่อตอนรับคนที่สนใจศึกษาอยูเสมอ ดังนั้น

ในแตละปจึงมีคนใหความสนใจเขามาสมัครเรียนอยาง

มาก บางคนหางหายจากการเรียนไปนาน ก็เปนหนาที่

ของวิทยาลัยชุมชนในการปรับพื้นฐานเพื่อใหผูเรียนมี

ความพรอมที่จะเขาสูระบบการเรียนไดอีกครั้ง โดยมี

การสอนปรับพื้นฐานในวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร จนเมื่อผูเรียนมีความ

พรอมจึงจะเปดใหลงทะเบียนเรียนจริง ซึ่งนี้ก็เปนจุดเดน

อีกขอหนึ่งที่ทำใหผูเรียนเกิดความเชื่อมั่นในวิทยาลัย

ชุมชนบุรีรัมย

“หลักสูตรการฝกอบรม เราสามารถจัดการเรียน

การสอนไดปละประมาณ ๑,๓๐๐ คน แตก็ยังไมเพียง

พอกับความตองการศึกษาของคนในชุมชน ซึ่งเปนเร่ือง

ที่นายินดีที่ชาวบานมีความตองการเรียนรูสูงมาก ดวย

ขณะน้ีเรามีบุคลากรนอยคนเม่ือเทียบกับพื้นที่ที่ตองดูแล

ทำใหการบริการไมทั่วถึง อนาคตเราตั้งเปาวาจะขยาย

การบริการใหไดมากกวานี้ ก็จะพยายามทำใหไดมาก

ที่สุด ขณะเดียวกัน สิ่งที่สำคัญคือเรายังตองคำนึงถึง

เรื่องการรักษาคุณภาพการศึกษาไวดวย” ผอ.วุฒินันท

กลาว

แนวทางการจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนคือ

คนอยากเรียนตองไดเรียน ที่วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมยก็

ยึดมั่นในหลักการนั้นเชนเดียวกัน ขอเพียงชุมชนมีความ

ตองการอยากเรียนรู ไมวาจะมีความสนใจท่ีแตกตาง

หลากหลายเพียงใด วิทยาลัยชุมชนก็จะทำหนาท่ีจัดหา

ความรูตามความสนใจท่ีหลากหลายมาตอบสนองความ

ตองการของชุมชนอยางทั่วถึง

“ประชากรบุรีรัมยรอยละ ๘๙ เปนเกษตรกร

เราคิดวาทำอยางไร วิทยาลัยชุมชนจะตอบสนองความ

ตองการของชุมชนสวนใหญที่เปนเกษตรกรได เพราะ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 60

Page 62: Community College Dynamic of Development

ฉะนั้นจึงเกิดหลักสูตรการฝกอบรมตางๆ เพ่ือสนองตอบ

ความตองการของผูเรียนกลุมน้ี เชน หลักสูตรผสมพันธุ

ปศุสัตว หลักสูตรการกรีดยาง หลักสูตรการทำปุย

อินทรีย เปนตน

ในขณะท่ีบางกลุมมีความสนใจเร่ืองการศึกษา

ปฐมวัย คอมพิวเตอรธุรกิจ การปกครองทองถิ่น ที่

ตองการยกระดับทางการศึกษาของตนเอง วิทยาลัย

ชุมชนก็ใหโอกาสและตอบสนองความตองการของเขา

เหลาน้ีดวยเชนกัน เมื่อมีโอกาสที่จะไดเรียนใกลบาน

อัตราคาหนวยกิตก็ถูกกวาสถาบันการศึกษาอื่นๆ ทำให

พวกเขาสนใจเรียนรูเพื่อพัฒนาตัวเอง เชน กลุมของคน

ที่ประกอบอาชีพพนักงานปกครองทองถ่ิน หรือครูพี่

เล้ียงในศูนยเด็กเล็กขององคการบริหารสวนตำบล เปน

ตน” ผอ.วุฒินันทเลา

ดังที่ ผศ.ดร.ปราโมทย เบญจกาญจน ประธาน

สภาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย กลาวเสริมวา “วิทยาลัย

ชุมชนบุรีรัมย เรานำทรัพยากรในทองถ่ินมาใชใหเกิด

ประโยชนใหมากท่ีสุด ไมวาจะเปนทรัพยากรธรรมชาติ

และทรัพยากรบุคคล อาจารยของเรามาจากทองถ่ิน

โดยตรง มีผูเช่ียวชาญท้ังดานภูมิปญญา ดานวิชาการ

อาจารยพิเศษที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะดาน เชน ตำรวจ

ทนายความ อัยการ ผูพิพากษา มาสอนวิชากฎหมาย

อาจารยพิเศษท่ีเกษตรอำเภอมาสอนเก่ียวกับกรรมวิธีใน

การทำเกษตรพอเพียง เปนตน”

กกขางนา พัฒนาชีวิต หนึ่งในหลักสูตรการฝกอบรมท่ีเปนความสำเร็จ

อีกเรื่องหนึ่งของวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมยคือ หลักสูตรการ

ทอเสื่อกก นำมาท้ังรายไดและอาชีพ ซึ่งชวยพัฒนาชีวิต

ของคนในชุมชนอยางเห็นไดชัด

ครั้งหนึ่งที่บานนอย อำเภอพลับพลาชัย จังหวัด

บุรีรัมย หลังเสร็จจากฤดูทำนา หมูบานแทบจะรางไร

ผูคน เพราะคนทำงานวัยหนุมสาวตองอพยพโยกยายเขา

เมืองไปเปนแรงงานรับจาง แตเมื่อวิทยาลัยชุมชนเขามา

พรอมกับหลักสูตรทอเสื่อกก อะไรหลายอยางในหมูบาน

ก็เริ่มเปล่ียนไป

นางสมร วันนา ประธานกลุมทอเสื่อกกสตรีผูสูง

อายุบานนอย เลาใหฟงวา “แตเดิมเมื่อหมดหนานา ชาว

บานจะไมมีอาชีพ คนหนุมสาวก็ทิ้งบานไปรับจางทำงาน

เหลือแตผูเฒาผูแกไวในหมูบาน เพราะไมมีอาชีพใดมา

รองรับ”

เมื่อชาวบานมีความตองการเรื่องอาชีพเสริม

วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมยเขามาทำหนาที่พัฒนาหลักสูตรให

โดยเลือกจากสิ่งที่มีอยูในทองถ่ิน ผนวกกับภูมิปญญา

ดั้งเดิมของชุมชน จึงมาลงตัวที่หลักสูตรการทอเส่ือกก

“เพราะเปนคนที่มีพื้นเพที่นี่ เราเห็นวาชาวบานมี

ภูมิปญญาเร่ืองการทอเสื่อกกเปนทุนเดิมอยู แตรูปแบบ

และลวดลายไมทันสมัยเทาที่ควร เพราะสวนใหญจะทอ

เส่ือไวใชภายในครัวเรือน วิทยาลัยชุมชนมีปณิธานใน

การจัดการศึกษาเพื่อชุมชน เราอยากใหคนในชุมชนมี

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 61

Page 63: Community College Dynamic of Development

รายได มีอาชีพที่ยั่งยืน จึงพัฒนาหลักสูตรนี้ขึ้นมา”

อาจารยปวีณา พรหมพันธ อาจารยพิเศษของวิทยาลัย

ชุมชนบุรีรัมย เลาถึงจุดเร่ิมตนของการพัฒนาหลักสูตร

จากน้ันวิทยาลัยชุมชนก็เขามาดำเนินกระบวน

การพัฒนา จนไดหลักสูตรการทอเสื่อกก แลวนำมาฝก

อบรมใหแกชาวบาน ตั้งแตการปลูกตนกก การเตรียม

กกเพ่ือนำมาทอ ลวดลายตางๆ ซึ่งกลุมจะถายทอดมา

จากวิถีชีวิตทองถ่ินของชาวบุรีรัมย นำมาทอบนผืนเส่ือ

และรวมกระท่ังถึงเร่ืองของการบริหารจัดการ เชน การ

รวมกลุมกันทำงาน การวางระบบจัดการกลุม เปนตน

หลังจากการฝกอบรม สิ่งท่ีเกิดข้ึนกับชาวบาน

และชุมชนคืออาชีพและรายไดเสริมที่นอกเหนือจาก

อาชีพหลักคือการทำนา ทำใหชีวิตของคนในชุมชน

หมูบานมีความมั่นคงขึ้น อีกทั้งยังชวยประสานสัมพันธ

ระหวางคนตางวัยใหไดกลับมาใกลชิดกันดวยการทำงาน

รวมกัน ดังที่นางสมร วันนา เลาใหฟงวา

“เพราะวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมยเขามาชวยสงเสริม

ทำใหเกิดการสรางอาชีพ ทำใหชาวบานมีรายได คนเฒา

คนแกก็ไดถายทอดภูมิปญญาทองถิ่นใหกับรุนลูกรุน

หลาน ชาวบานกลับมารวมกลุมชวยกันทำงาน วิทยาลัย

ชุมชนทำใหเราไมตองทิ้งถิ่นฐานบานชองไปทำงานที่อื่น

แถมยังมีรายไดเพิ่มขึ้นไมต่ำกวา ๒,๐๐๐-๓,๐๐๐ บาท

ตอเดือน ทำใหใชชีวิตอยูไดสบาย”

ปจจบุนัวิทยาลยัชุมชนบรุรีมัยยงัคงเขาไปสงเสรมิ

กลุมชาวบานที่ทอเสื่อกกอยางตอเนื่อง ดวยการเพิ่ม

มูลคาของผลิตภัณฑดวยการออกแบบลวดลายที่ทันสมัย

และแปรรูปผลิตภัณฑใหมีความหลากหลาย ไมจำกัด

เพียงแคผืนเสื่อ ไดมีการทำเปนกระเปา ที่รองจาน หรือ

สินคาประเภทอ่ืนๆ ตามตองการของตลาด ขณะนี้ได

พัฒนาและสงเสริมใหชาวบานปลูกและจำหนายตนไหล

ไมมงคลจากพืชทองถิ่น เพราะเชื่อวาการปลูกตนไหลจะ

สงผลใหเงินทองไหลมาเทมา และยังสามารถนำตนไหล

มาทอเปนเส่ือไหลท่ีมีคุณภาพไมแพเส่ือกก สรางรายได

เสริมไดอีกทางหนึ่งดวย จากปจจบุนัสูอนาคต วทิยาลัยชุมชนบุรีรัมย

หลกัสูตรการทอเสือ่กก เปนตวัอยางความสำเรจ็

ของวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย ที่นอกจากจะชวยสรางรายได

เสริม ยังชวยพัฒนาชีวิตของคนในชุมชนใหมีความเปน

อยูทีด่ขีึน้ คนืวถิชีวีติชมุชน คนืความอบอุนของครอบครัว

ใหกลับคืนมา แตสำหรับภารกิจในอนาคตของวิทยาลัย

ชุมชนบุรีรัมยจะเปนอยางไรน้ัน ผอ.วุฒินันท มีคำตอบ

ดังนี้

“งานของวิทยาลัยชุมชมชนบุรีรัมยมีหลากหลาย

เรายังคงทำหนาที่พัฒนาหลักสูตรใหมๆ ตามความสนใจ

ใฝเรยีนรูของชาวบานอยูเสมอๆ หลักสตูรตองตอบสนอง

ความตองการและตองชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตหรือความ

เปนอยูของชาวบานใหดียิ่งขึ้น อยางเชน ขณะนี้เรากำลัง

พัฒนาหลักสูตรฝกอบรมหมูกระจก ซึ่งเกิดจากความ

ตองการของชาวบานอำเภอนางรอง เขามีความตองการ

ที่จะทำหมูกระจกเพื่อการบริโภค และนำไปขายสราง

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 62

Page 64: Community College Dynamic of Development

รายไดเสริม ชาวบานจึงรวมกลุมกันมาขอใหวิทยาลัย

ชุมชนบุรีรัมยจัดการสอนให เมื่อเปนความตองการของ

ชุมชน วิทยาลัยชุมชนจึงไดพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรม

การแปรรูปอาหาร (หมูกระจก) ขึ้น”

สิ่งท่ีนาภาคภูมิใจก็คือ ความรูที่ชาวบานไดรับ

จากวทิยาลัยชุมชนตอบความตองการท่ีพวกเขาตองการรู

ทำใหพวกเขามีทักษะความชำนาญจนเกิดอาชีพ ผูเรียน

บางคนสามารถสรางรายไดจากการทำหมูกระจกเดือน

ละประมาณ ๔,๐๐๐-๕,๐๐๐ บาทเลยทีเดียว

และน่ีก็ เปนสวนหน่ึงที่ทำใหวิทยาลัยชุมชน

บุรีรัมยมองเห็นแนวทางพัฒนาหลักสูตรในอนาคต เพ่ือ

พรอมรองรับสำหรับกลุมชุมชนตางๆ ที่ตองการทั้งความ

รูและรายไดเสริม นั่นก็คือหลักสูตรการแปรรูปอาหาร

เพราะในแตละทองถิ่นของจังหวัดบุรีรัมยตางก็มีวัตถุดิบ

ที่มีความนาสนใจแตกตางกันไป

“เรามีหลักสูตรที่กำลังพัฒนาตอไป คือหลักสูตร

การแปรรูปอาหาร เพราะในทองถ่ินมีวัตถุดิบมากมาย

ไมวาจะเปนกลวย มะขาม หรือปลา ซึ่งขณะน้ีเรากำลัง

พัฒนาเปนหลักสูตรการฝกอบรมเพื่อใหสอดคลองกับ

ทรัพยากรท่ีมีในทองถิ่นนั้น และใหตรงกับความสนใจ

ของตลาด เชน หลักสูตรการฝกอบรมกลวยเบรคแตก

สำหรับในทองถิน่ท่ีมกีลวยมาก หรอืในทองถ่ินทีม่มีะขาม

มาก เราก็จะมีหลักสูตรมะขามปรุงรสรูปแบบตางๆ และ

แมกระท่ังปลาสม อาหารข้ึนช่ือของจังหวัดบุรีรัมย ซึ่ง

ตลาดยังมีความตองการ แตบางชุมชนทำไมเปน และมี

ความตองการอยากเรียน ชาวบานก็รวมกลุมมาหา

วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมยใหชวย วิทยาลัยชุมชนก็จะทำ

หนาที่จัดฝกอบรมความรูให พัฒนาหลักสูตรและจัดหา

อาจารยพิเศษไปสอนให กระบวนการจัดการเรียนการ

สอนจะดำเนินไปในรูปแบบเชนนี้ คือเมื่อมีความตองการ

วิทยาลัยชุมชนก็จะตอบสนองความตองการให เมื่อหมด

ความจำเปน ก็พักไว สอนเฉพาะหลักสูตรที่จำเปน และ

ชาวบานสนใจเทานั้น ไมใชสอนตามใจเรา” ผอ.วุฒินันท

กลาว

จากภาระงานอันหนกัหนวง เมือ่เทยีบกบัทรพัยากร

ที่มีอยูอยางจำกัด ทำใหผอ.วุฒินันท รามฤทธิ์ ประเมิน

วานี่เปนเพียงการเริ่มกาวแรกๆ ของวิทยาลัยชุมชน

บุรีรัมยเทานั้น

“ไมวางานจะหนักสักเพียงใด เมื่อมีโอกาสเขาไป

ในพ้ืนที่ ไปพบปะกับนักศึกษา หรือไปศึกษาความ

ตองการของชาวบานและชุมชนตางๆ ชาวบานมักถามวา

ทำอยางไรเขาถึงจะมีโอกาสไดเรียนในระดับอุดมศึกษา

บาง คำถามเหลานี้ทำใหรูสึกวามีกำลังใจ มีพลังที่จะ

ทำงานมากข้ึน เพราะแสดงวาชาวบานยังตองการเรา

วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมยจึงตองทำงานใหสมกับที่ชาวบาน

รอคอยเรา” ผอ.วุฒินันทกลาวย้ำ

ในปหนา เมื่ออาคารสำนักงานและอาคารเรียน

หลังใหมของวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมยแลวเสร็จ เมล็ดพันธุ

“กก” หรือองคความรูและประสบการณในการทำงาน

กับชาวบุรีรัมยตลอดระยะเวลากวาแปดปที่ผานมา ก็

พรอมที่จะขยายแพรพันธุใหกวางขวางย่ิงขึ้น โดยทั้ง

ผอ.วุฒินันท รามฤทธิ์ คณะกรรมการสภาวิทยาลัย

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 63

Page 65: Community College Dynamic of Development

ชุมชนบุรีรัมย และบุคลากรของวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย

ทุกคน พรอมที่จะทำหนาที่เปนผูหวานเพาะความรูให

ขยายวงกวางออกไปจนครบทุกพื้นที่

ดวยความเชื่อมั่นวา บัดนี้ เราคือ “กก” ที่แข็ง

แรงเติบโต พรอมที่จะสรางมูลคาเพิ่มใหกับชาวบุรีรัมย

แลว

หลักสูตรการทอเส่ือกก ระยะเวลาการสอน ๓๐ ชั่วโมง ปจจุบันมีผู

สำเร็จการฝกอบรม ๖๐ คน และวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย

ยังคงจัดการสอนตอไปอยางตอเนื่อง

สำหรับการจัดการเรียนการสอน จะมีเนื้อหา

ตั้งแตการปลูกตนกก ตองปลูกไวประมาณ ๖ เดือนจึง

จะนำมาทอได จากน้ันนำตนกกมากรีดเปนเสนๆ แลวนำ

ไปตากแดดไว ๓ วัน จึงนำมามัดเพื่อยอมสี ซึ่งเปนสี

ธรรมชาติ จากน้ันนำไปตากใหแหงสนิท แลวจึงนำมาทอ

ได

เสื่อที่ไดแตละผืนจะใชเวลาแตกตางกันไปตาม

ลวดลาย ถาเปนลายธรรมดาจะใชเวลาทอ ๑ สัปดาห

แตหากลวดลายมีความยากข้ึน ก็จะใชเวลาประมาณ

๑๕ วัน ราคาขายจะขึ้นอยูกับลวดลายของเสื่อ สนน

ราคาตั้งแต ๑๕๐-๕๐๐ บาท และเสื่อของชาวพลับพลา

ชัยนั้นมีชื่อเร่ืองความคงทน รับรองวาใชไดไมต่ำกวา

๑๐ ปเลยทีเดียว

หมูกระจก สวนผสมของหมูกระจก

หนังหมูติดมัน ๑๐ กิโลกรัม

แปงขาวเจา ๑ กิโลกรัม

แปงขาวโพด ๑ กิโลกรัม

งาขาว ๑ กิโลกรัม

น้ำสมสายชู ๒ กิโลกรัม

ซอสปรุงรส ½ ถวยตวง

ซีอิ้วขาว ๓ ถวยตวง

ผงปรุงรส ½ ถวยตวง

น้ำตาลทราย ½ ถวยตวง

วิธีการทำหมูกระจก

ลวกหมูพอเนื้อหมูแข็ง ทำความสะอาดขนหมู

ซอยช้ินขนาด กวาง ๑ เซนติเมตร ยาว ๗ เซนติเมตร

หรือตามชอบ นำสวนผสมทุกอยางคลุกเคลาใหเขากัน

หมักทิ้งไว ๓๐ นาที ทอด ๒ ครั้ง ครั้งแรกไฟออน ตัก

ขึ้นพอเย็น ทอดคร้ังที่สอง พอกรอบเหลือพอง ตักขึ้น

พรอมใสใบมะกรูดพริกทอด กระเทียมเจียว โรยในถุง

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 64

Page 66: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 65

Page 67: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 66

Page 68: Community College Dynamic of Development

สระแกวเปน ๑ ใน ๑๐ จังหวัดแรกที่มี

วิทยาลัยชุมชน กวาแปดปที่ผานมา

วิทยาลัยชุมชนสระแกวมีผลงานโดดเดนหลายดาน

เฉพาะผลงานการจัดการศึกษา ทั้งในระดับอนุปริญญา

และหลักสูตรฝกอบรมก็สูงเปนลำดับตนๆ ของประเทศ

ในป ๒๕๕๒ วิทยาลัยชุมชนสระแกวไดยกเครื่อง

ระบบการบริหารจัดการใหม เพื่อเพิ่มศักยภาพของ

องคกรในการสนองตอบความสนใจใฝเรยีนรูของชาวสระแกว

ใหเปนหนวยงานมืออาชีพในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย

และพัฒนาสังคม โดยมุงมั่นที่จะเกาะติดชุมชน ฟนฟู

และพัฒนาภูมิปญญาทองถ่ิน เพื่อสรางสรรคเศรษฐกิจ

สังคมของจังหวัดสระแกวบนฐานความรู ผานกระบวน

การศึกษาและฝกอบรมของวิทยาลัยชุมชนสระแกวยุค

ใหม

‘เร่ืองเลา’ ของวิทยาลัยชุมชนสระแกวนี้ จะพา

ทานผูอานยอนไปเรียนรูผลงานท่ีนาประทับใจของวิทยาลัย

ชุมชนสระแกวผานหลักสูตรใหมลาสุดที่นาตื่นตาตื่นใจ

พรอมท้ังเปดวิสัยทัศนผูบริหารยุคใหม ดังน้ี

จากเกษตรอินทรียสู “บานม่ันคง”

สระแกวเปนจังหวัดหนึ่งที่มีความอุดมสมบูรณ

เหมาะสำหรับการเพาะปลูก ในอดีตเกษตรกรสวนใหญ

ของจังหวัดสระแกวมีอาชีพเล้ียงสัตว ปลูกขาว ขาวโพด

และมันสำปะหลัง รายไดที่ไดจากการทำอาชีพเหลานี้ไม

เพียงพอตอการเล้ียงชีพและยังทำใหเกิดหน้ีสินจากการ

ลงทุนเพาะปลูกอีกดวย ปจจุบันเกษตรกรชาวสระแกว

สวนหนึ่งเริ่มมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากการปลูกหนอไม

ฝรั่งดวยวิทยาการสมัยใหมที่ตลาดตองการ จนกลาย

เปนพืชเศรษฐกิจที่สรางรายไดอยางงามใหแกเกษตรกร

“เกษตรอินทรียหนอไมฝรั่ง” เปนการพัฒนาวิธี

การปลูกหนอไมฝรั่งโดยใชภูมิปญญาทองถ่ิน และวิธี

การจัดการสมัยใหม โดยมีจุดเร่ิมตนจากแนวความคิด

ของนายพงษศักดิ์ ธำรงรัตนศิลป กรรมการสภาวิทยา

ลัยชุมชนสระแกว และนายวิเชียร ใจจิตร จากศูนยฝก

และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนจังหวัด

สระแกว ไดเสนอโครงการฝกอบรมการปลูกหนอไมฝรั่ง

ปลอดสารพิษหรือการทำเกษตรอินทรียหนอไมฝรั่งให

แกเกษตรกร

การทำเกษตรอินทรียหนอไมฝรั่งคือ การเพาะ

ปลูกโดยไมใชสารเคมีในทุกขั้นตอนการปลูก ใชปุยหมัก

และน้ำสกัดชีวภาพ รวมไปถึงการใชสารปองกันกำจัด

ศัตรูพืชจากธรรมชาติ โดยวิทยาลัยชุมชนสระแกวทำ

หนาที่ศึกษาพัฒนาหลักสูตร และจัดการเรียนการสอน

ใหเปนระบบใหกับประชาชนทั้งในจังหวัดสระแกวและ

จังหวัดขางเคียง ซึ่งวิทยาลัยชุมชนสระแกวเปดอบรม

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 67

Page 69: Community College Dynamic of Development

หลักสูตรฝกอบรมเกษตรอินทรียมาอยางตอเนื่อง

จนกระทั่งในปจจุบันไดพัฒนาหลักสูตรเกษตรอินทรีย

เพื่อสอนในระดับอนุปริญญาแลว

นายพงษศักด์ิ ธำรงรัตนศิลป กรรมการวิทยาลัย

ชมุชนสระแกวผูรเิร่ิมและผลกัดนัหลกัสตูรดงักลาวเลาวา

“เราเร่ิมตนพัฒนาหลักสูตรอนุปริญญาเกษตรอินทรีย

โดยการวิเคราะหหาความตองการของชุมชน โดย

พิจารณาประกอบกับนโยบายระดับจังหวัดและระดับ

ชาติ พบวาเกษตรอินทรียเปนหลักสูตรที่สอดคลองและ

ตอบสนองนโยบายของหนวยงานตางๆ ทกุดาน ประกอบ

กบัในป ๒๕๔๖ มกีารประชุมผูบรหิารวทิยาลยัชมุชนระดบั

สงู ดร.สุเมธ แยมนุน ก็เห็นดวยถึงความสอดคลองและ

เหมาะสมท่ีจะทำหลักสูตรนี้ จึงไดเริ่มรางหลักสูตรข้ึน”

จากนั้นวิทยาลัยชุมชนสระแกวและสำนักบริหารงาน

วทิยาลยัชมุชนไดใชเวลายกรางหลกัสตูร วพิากษหลักสูตร

พฒันาหลักสตูร และเสนอขออนุมัติจากสำนักงานคณะ

กรรมการการอุดมศกึษา ตามข้ันตอนอยูหลายป จนกระทัง่

ไดรับอนุมัติใหเปดการเรียนการสอนไดในปการศึกษา

๒๕๕๑

อาจารยภรูริาชติ พลเดช อาจารยผูดแูลหลกัสูตร

นี้เลาถึงการจัดการเรียนการสอนวา “หลักสูตรนี้จะมี ๒

สวนคือทางวิชาการและทฤษฎี กับการปฏิบัติจริงซึ่งเรา

ใหความสำคัญเปนอยางมาก เพราะผูมาเรียนหลายคน

เปนผูที่ประกอบอาชีพอยูแลว บางคนมีแปลงหนอไมฝรั่ง

ที่งามมาก แตที่มาเรียนก็เพราะตองการระบบและ

ทฤษฎีเพื่อนำไปพัฒนางานของเขา กระบวนการเรียนรู

จึงไมไดอยูในช้ันเรียนอยางเดียว แตจะใหทำเปนโครง

งานที่นำไปปฏิบัติในที่ดินของตนเองไดดวย แลวใหครูไป

ตรวจผลงานในแปลงของผูเรียน จากนั้นจึงจัดเสวนา

เรื่ององคความรูที่ ได นี่คือกระบวนการเรียนรูของ

หลักสูตรอนุปริญญาเกษตรอินทรีย”

แตเหนืออื่นใด เปาหมายของหลักสูตรเกษตร

อินทรียไมใชเพียงเร่ืองการประกอบอาชีพเทานั้น แตจุด

มุงหมายสำคัญคือการสรางคุณธรรมและจริยธรรมอันดี

ใหกับผูเรียน อาจารยภูริราชิตไดกลาวถึงเรื่องนี้วา

“ปรัชญาของหลักสูตรนี้มุงเนนใหผูเรียนมีคุณธรรมและ

จริยธรรมอันดีกอน จึงจะนำไปสูความรูที่สามารถ

ประยุกตใชในชีวิตประจำวันได เพราะแนวความคิดของ

เกษตรอินทรียคือ ไมใชสารเคมี ไมทำใหเปนพิษตอ

สิ่งแวดลอม ทำใหสิ่งแวดลอมอยูอยางสมดุล สมบูรณ

ไมวาดิน พืช น้ำ ความช้ืน ไมตองเรง ไมใชเคมีใดๆ

ดังนั้นในชวงเร่ิมตนเกษตรกรจะตองใชความพยายามสูง

เพราะเราทำรายดิน ทำรายสิ่งแวดลอมไวเยอะ กวาจะ

ปรับเขาสูการทำเกษตรอินทรียที่ไดผลผลิตอยางจริงจัง

จึงตองใชมากกวาความรูและทฤษฎี”

นายสมนึก มีมุก เกษตรกรผูทำเกษตรอินทรีย

หนอไมฝรั่งเลาวา “เมื่อกอนผมทำงานรับจางไถดิน แต

เกิดอุบัติเหตุไถดินโดนระเบิดทำใหขาขางซายขาด หลัง

จากขาขาดจึงเปล่ียนอาชีพมาปลูกขาวโพด แตรายไดไม

พอเล้ียงครอบครัวและแถมยังมีหนี้สินจากการลงทุน

เพาะปลูกขาวโพดเสียอีก ทำใหตองสงลูกชายไปทำงาน

ทีก่รงุเทพฯ เพ่ือหารายไดมารกัษาผมและเล้ียงครอบครัว

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 68

Page 70: Community College Dynamic of Development

แตเมื่อวิทยาลัยชุมชนสงเสริมใหทำเกษตรอินทรียหนอ

ไมฝรั่ง ผมจึงลองปลูกและเขารวมกลุมผูปลูกหนอไม

ฝรั่งอินทรีย ตอนนี้ผมมีรายไดกวา ๒๐๐,๐๐๐ บาทตอป

จากการปลูกหนอไมฝรั่ง ๔ ไรเศษ และหลังจากปลูก

หนอไมฝรั่งมาได ๖ ป ก็สงลูกคนเล็กเรียนหนังสือได

แถมปลดหน้ีไดและยังมีเงินเหลือเก็บสรางบานและซ้ือ

รถได ลูกชายก็กลับจากกรุงเทพมาชวยกันทำเกษตร

อินทรียดวยกัน ครอบครัวผมมีความสุขขึ้นมาก”

นอกจากสอนตามหลักสูตรแลว วิทยาลัยชุมชน

สระแกวยังเปนผูประสานใหเกิดการซ้ือขายหนอไมฝรั่ง

อินทรียระหวางกลุมผูปลูกกับบริษัท สวีฟท จำกัด โดยมี

การทำสัญญาซ้ือขายกันไปแลวถึง ๓ ครั้ง และคร้ังลา

สุดมีเกษตรกรสมาชิกจำนวนถึง ๓๓๐ คนรวมในสัญญา

นอกเหนือจากการเปดหลักสูตรอนุปริญญา

เกษตรอินทรีย และการฝกอบรมท่ีเกี่ยวของกับเกษตร

อินทรียแลว วิทยาลัยชุมชนสระแกวยังไดสนับสนุน

เกษตรกรในโครงการบานมั่นคง ที่เกิดจากการคัดเลือก

ครอบครัวที่ยากจน ไมมีที่ทำกิน และไมมีอาชีพ ใหมี

ที่ดินทำกินและอยูอาศัยในอำเภอวังสมบูรณ จังหวัด

สระแกว โดยการใหความรูเก่ียวกับอาชีพการทำหนอ

ไมฝรั่งเกษตรอินทรีย ผานการฝกอบรมอยางตอเนื่อง

หลายหลักสูตร เชน การทำน้ำสกัดชีวภาพ การทำปุย

หมักชีวภาพ โดยอาจารยประสิทธิ์ ไชยมหาวัน วิทยากร

ระดับประเทศท่ีมีความรูในเร่ืองการทำน้ำสกัด อาจารย

วุฒิชัย ทองดอนแอ จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

วิทยาเขตกำแพงแสน จ.นครปฐม ใหความรูในเรื่อง

เกษตรอินทรียดีอยางไร มาตรฐานเกษตรอินทรียมีอะไร

บาง การปลูกหนอไมฝรั่งเกษตรอินทรีย การเพาะกลา

หนอไมฝรั่ง และอาจารยพงษศักดิ์ ธำรงรัตนศิลป ให

ความรูเรื่องหลักการทำเกษตรอินทรีย การปรับปรุง

บำรุงดิน การเตรียมดิน และยังมีกิจกรรมการปฏิบัติตน

อยางมีความสุข และการแลกเปล่ียนประสบการณ คิด

ทำอยางมีสวนรวมและเอ้ืออาทร การสรางกติกาการอยู

รวมกัน

อาจกลาวไดวา บทบาทของวิทยาลัยชุมชน

สระแกวขยายกวางไปในทุกปริมณฑลของชีวิต เนนการ

ปลูกฝงการศึกษาเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง ครอบครัว

ชุมชน และสังคม ใหมีสมดุล มีสันติสุข และมีความ

มั่นคงยั่งยืน โดยการพัฒนาศักยภาพของมนุษยในทุกมิติ

นั่นเอง

โฉมใหมของวิทยาลัยชุมชนสระแกว

กลาวไดวา นับตั้งแตเริ่มกอตั้ง ผูบริหารและ

บุคลากรของวิทยาลัยชุมชนสระแกวตางมานะอุตสาหะ

ในการขับเคลื่อนงานของวิทยาลัยชุมชนสระแกว

จนกระท่ังประสบความสำเร็จในการดำเนินงานพอ

สมควร อยางไรก็ดี การดำเนินงานของวิทยาลัยชุมชน

สระแกวก็เชนเดียวกับวิทยาลัยชุมชนอ่ืนๆ ที่ยอมมี

ปญหาและอุปสรรคในการทำงานอยูบาง หากแตปญหา

บางประการของวิทยาลัยชุมชนสระแกวไดสั่งสมมา

จนกระทั่งคณะกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนสระแกวเห็น

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 69

Page 71: Community College Dynamic of Development

ความจำเปนที่จะตอง “ยกเคร่ือง” ระบบบริหารจัดการ

ใหม เพื่อเอื้อใหวิทยาลัยชุมชนสระแกวเปนองคกรแหง

การเรียนรู และสามารถแบกรับภารกิจอันสำคัญเพ่ือ

ชาวสระแกวได

ในที่สุด ตนป ๒๕๕๒ สภาวิทยาลัยชุมชนจึงแตง

ตั้ง นายวิญู จริยาวุฒิกุล ใหดำรงตำแหนงผูอำนวย

การวิทยาลัยชุมชน พลันไดรับตำแหนง นายวิญู ได

เลาถึงวิสัยทัศนในการพัฒนาองคกรวา “การบริหาร

จัดการของวิทยาลัยชุมชนสระแกวจะตองมีจิตใจบริการ

ที่สูงมาก อาจจะมากกวาหนวยงานราชการท่ัวไป เพราะ

งานของวิทยาลัยตองการความรวมมือจากหนวยงานและ

บุคคลตางๆ หลากหลาย และการท่ีจะไดรับความ

รวมมือนั้น เราจะตองเปนผูใหกอน กอนอื่นจะตองถอด

ปาย “สถานที่ราชการหามเขา” ออกไปกอน ทั้งปาย

จริงๆ และความหมายท่ีอยูในจิตใจหรือวัฒนธรรมของ

ขาราชการดวย คนทำงานของวิทยาลัยจะตองมีความรู

ในหนาที่การงานของตนเองอยางดี จะตองมีการพัฒนา

บุคลากรอยางดี ทั้งการพูดคุยแลกเปล่ียนเรียนรูกัน การ

เชิญวิทยากรมาใหความรู การจัดโครงการพัฒนา

บุคลากรโดยตรง บุคลากรจะรูสึกวาเขาไดรับการพัฒนา

อยางตอเนื่อง และพรอมที่จะทำงาน ตองกลาตัด

วัฒนธรรมองคกรบางอยางที่ไมดีทิ้งไป ใหบุคลากรปรับ

เปล่ียนวัฒนธรรมใหมเพื่อสนองตอบภารกิจของวิทยาลัย

ใหได”

ในเร่ืองการบริหารงาน ผอ.วิญูไดอธิบายวา

“ที่ผานมาไดมีการปรับโครงสรางใหมของวิทยาลัย จาก

เดิมหนวยราชการมีโครงสรางแนวด่ิงลึกลงหลายช้ัน ผม

ผาตัดโครงสรางใหมเนนแนวราบมากข้ึน มีหัวหนากลุม

งาน ซึ่งมี Supervisor รับผิดชอบทีมงาน ปรับ

โครงสรางใหม ตั้งเปนผูชวยผูอำนวยการ ๔ ฝาย คือ

ฝายวิชาการ ฝายการเงินและพัสดุ ฝายแผนและงบ

ประมาณ ฝายกิจการนักศึกษา ตั้งเจาหนาที่ที่อาวุโสและ

มีความสามารถ ๔ คนใหชวยงานตามโครงสรางใหมนี้

โดยผมจะใหขอบเขตงานท่ีจะสามารถตัดสินใจไดชัดเจน

ยกเวนในเรื่องที่กระทบกับงบประมาณขอใหมาพิจารณา

รวมกัน เพราะฉะน้ันเราจึงสามารถทำงานหลายดานไป

พรอมๆ กัน เพราะมีหัวหนารับผิดชอบชัดเจน”

จากนั้น ผอ. วิญูไดพยายามสงเสริมสนับสนุน

ใหบุคลากรไดรับการฝกอบรมเพ่ือพัฒนาไปสูความเปน

มืออาชีพตามความสนใจ รวมถึงไดกำหนดบทบาทความ

สัมพันธกับสภาวิทยาลัยชุมชนใหชัดเจนขึ้น เหลานี้มีสวน

ใหวิทยาลัยชุมชนสระแกวเริ่มไดรับการสนับสนุนจาก

บุคคลและหนวยงานตางๆ มากขึ้น โดยเฉพาะอยางย่ิง

จากผูวาราชการจังหวัดสระแกว ที่เล็งเห็นถึงศักยภาพ

ของวิทยาลัยชุมชนในการพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดบน

ฐานความรู

สรางงานมัคคุเทศกทองถิ่น

จังหวัดสระแกวไมเพียงมีพื้นที่เกษตรกรรมเปน

แหลงสรางรายไดที่สำคัญ หากยังมีการทองเท่ียวเปน

แหลงรายไดของจังหวัด โดยมีทั้งแหลงทองเที่ยวตาม

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 70

Page 72: Community College Dynamic of Development

ธรรมชาติ โบราณสถาน ศูนยการคาชายแดนตลาดโรง

เกลือ และส่ิงศักด์ิสิทธิ์คูบานคูเมืองหลายแหง และทาง

จังหวัดยังไดกำหนดให “การทองเที่ยวเชิงนิเวศ” เปน

หน่ึงในยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด มุงใหที่มีความ

สมบูรณและส่ิงอำนวยความสะดวกครบวงจร บริการ

การแพทยแผนไทยและเช่ือมโยงประวัติศาสตรและ

วัฒนธรรม โดยเฉพาะในป ๒๕๕๓ จะเปดเปนป

ทองเที่ยวสระแกวหรือ Amazing Sakaeo ๒๐๑๐ ซึ่งจะ

จัดทำปฏิทินทองเที่ยวตลอดทั้ง ๑๒ เดือน พรอมตั้งสโล

แกนทองเทีย่ววา “ทองเทีย่วสระแกวคุมคา ๕๕๕” ไดแก

สกัการะสิง่ศกัดิส์ทิธ์ิ ๕ ที ่ชมของด ี๕ อยาง เทีย่วแหลง

ธรรมชาติ ๕ สถาน

เพื่อสนองตอยุทธศาสตรของจังหวัด วิทยาลัย

ชุมชนจึงเปดหลักสูตรมัคคุเทศกทองถ่ิน ๙ อำเภอข้ึน

เพื่อเพิ่มโอกาสใหคนทองที่ไดทำงานในทองถ่ินตัวเอง

และยังเปนการตอบสนองโครงการสงเสริมและสนับ

สนุนนโยบายเรงดวนของรัฐบาลและแกไขปญหาความ

เดือดรอนของประชาชนจังหวัดสระแกว ซึ่งเปนความ

รวมมือระหวางสำนักงานจังหวัดสระแกว วิทยาลัยชุมชน

สระแกว โดยมี ร.ต.อ. ดร.นิติภูมิ นวรัตน เปนผูอำนวย

การหลักสูตร โดยจัดเปนหลักสูตรระยะส้ัน ๔๐ ชั่วโมง

แบงการอบรมออกเปนภาคทฤษฎี ๓ วัน และภาคปฏิบัติ

๒ วัน มีการเยี่ยมชมแหลงทองเที่ยวสำคัญของ จ.

สระแกว เชน ตลาดโรงเกลือ อุทยานแหงชาติปางสีดา

ปราสาทสดกกอกทม เปนตน ผลปรากฏวามีผูสนใจ

สมัครเรียนหลักสูตรน้ีมาก

“มีผูสมัครเขารวมโครงการกวา ๒๐๐ คน แตรับ

ไดเพียง ๑๐๐ คน เปนประชาชนในสระแกว ๒๘ คน ที่

เหลือเปนจังหวัดใกลเคียง จึงมีโครงการเพ่ิมเติมใหกับผู

สนใจที่ตกคางอีก ๑๐๐ คน และตอยอดผูสำเร็จ

หลักสูตรรุนแรกที่เปนระดับหัวกะทิประมาณ ๒๐-๓๐

คน เพ่ือใหสามารถเปนผูประกอบการได มีอาชีพที่มั่นคง

และมีรายไดเพ่ิมขึ้น” ผอ.วิญู ชี้แจงเพิ่มเติมโดยคาด

วาการผลิตมัคคุเทศกทองถ่ินข้ึนมานี้จะรองรับกับแผน

งานสงเสริมการทองเท่ียวจะเกิดข้ึน ยังผลใหเศรษฐกิจ

สวนอื่นๆ ของจังหวัดดีขึ้นไปดวย

หลักสูตรมัคคุเทศกทองถิ่นเปนผลจากการท่ี

ผูบริหารและบุคลากรของวิทยาลัยชุมชนสระแกว ลง

สัมผัสประชาชนในพื้นที่อยางใกลชิด และตระหนักดีวา

จังหวัดสระแกวมีของดีๆ อีกมาก “บอยคร้ังที่ทีมงาน

ของวิทยาลัยเขารวมประชุมกับสภาประชาชน เพราะ

ตั้งใจที่จะทำหนาที่สนับสนุนภูมิปญญาทองถ่ินของ

จังหวัด ทำใหเล็งเห็นวาสระแกวเปนแหลงรวมภูมิปญญา

ทองถิ่นมากมาย เราจึงตั้งเปาวาภายใน ๔ ป หองสมุด

ของวิทยาลัยชุมชนสระแกวจะตองมีเรื่องราวของทองถ่ิน

รอยละ ๓๐ และอยากจะทำ GIS ชี้ตำแหนงของ

ภูมิปญญาทองถ่ินวา ถามาสระแกวแลวอยากเรียนรู

ภูมิปญญาทองถิ่นไปที่ไหนไดบาง แสดงรายละเอียดที่

ตั้ง ประวัติผูที่มีภูมิปญญาทองถิ่น และองคความรูของ

ทาน นี่เปนโครงการท่ีวางไวเพื่อรักษาและสงเสริม

ภูมิปญญา ของสระแกว” ผอ.วิญู กลาวทิ้งทายถึง

ความใฝฝนรวมกันของชาววิทยาลัยชุมชนสระแกว

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 71

Page 73: Community College Dynamic of Development

นี้ เปนตัวอยางผลงานหน่ึงท่ีเกิดข้ึนจากการ

พัฒนาองคกรใหมีประสิทธิภาพ กระท่ังไดรับความไว

วางใจและความรวมมือจากหนวยงานตางๆ มากยิ่งขึ้น

อนาคตเทานัน้ทีจ่ะพสิจูนวา หนวยงานทีพ่ฒันาไปสูความ

เปน “มืออาชีพ” แหงนี้จะสามารถสรางสรรคผลงาน

และชวยเหลือสนับสนุนใหชาวสระแกว “มีอาชีพ” และมี

คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นไดมากนอยเพียงใด

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 72

Page 74: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี พัฒนาคน สรางนักอนุรักษ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 73

Page 75: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 74

Page 76: Community College Dynamic of Development

อุทัยธานีเมืองสงบงาม ทามกลางสายน้ำ

สะแกกรัง โอบลอมไปดวยขุนเขา อุดม

สมบูรณไปดวยเหลาไมนานาพันธุ และสรรพส่ิงมีชีวิต

หลากหลายชนิดที่ดำรงชีวิตเพื่อเติมความสมดุลทาง

ธรรมชาติ นอกจากนี้ ยังเปนศูนยรวมของผูคนตางเชื้อ

ชาติ ตางวัฒนธรรม ทั้งลาวเวียง ลาวคร่ัง กะเหรี่ยง

ขมุ รวมไปถึงคนพื้นเพดั้งเดิมที่มีเชื้อสายไทย ถึง

อยางไรอุทัยธานียังเปนเพียงเมืองเล็กๆ ที่ตองต้ังใจ

เดินทางไป เพราะไมใชเมืองทางผาน ทั้งเศรษฐกิจ การ

ศึกษา ก็ไมทันสมัยเทานครสวรรค ซึ่งอยูหางไปทาง

เหนือไมมาก

เกือบ ๒๐ ปกอน หากอยากเรียนระดับที่สูงกวา

มัธยมศึกษาก็ตองเขากรุงเทพฯ หรือไปนครสวรรค หาก

จะเรียนสายอาชีพก็เฉพาะวิทยาลัยเทคนิคเพียงแหงเดียว

แตวันนี้ผูคนในอุทัยธานีมีทางเลือกมากขึ้น และ

เปนทางเลือกท่ีใหโอกาสเหมาะสำหรับผูที่มีการศึกษาต่ำ

กวาปริญญาตรี นั่นคือ “วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี” ซึ่ง

เดิมคือ “วิทยาลัยการอาชีพบานไร” ตั้งอยูเลขที่ ๗ หมู

๒ ถนนบานไร-ลานสัก ต.หวยแหง อ.บานไร โดยไดรับ

โอนจากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ใหเปน

วิทยาลัยชุมชน เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๗

วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานีใหบริการจัดการศึกษา

ในหลักสูตร ๓ ประเภท ไดแก หลักสูตรอนุปริญญา ๔

สาขาวิชา ไดแก คอมพิวเตอรธุรกิจ การปกครอง

ทองถิ่น การบัญชี และการจัดการทั่วไป หลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศ-

นียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ไดแก เครื่องกล ยานยนต

ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ไฟฟากำลัง พาณิชยกรรม

การบัญชี และคอมพิวเตอรธุรกิจ หลักสูตรฝกอบรม

กวา ๓๐ หลักสูตร

อนึ่ง การวิทยาลัยชุมชนอุทัยธานียังคงเปดสอน

ในระดับ ปวช. และ ปวส. ทั้งที่มิไดเปนภารกิจหลักของ

วิทยาลัยชุมชนน้ัน เนื่องจากเปนวิทยาลัยชุมชนท่ีรับโอน

สถานศึกษาจากวิทยาลัยการอาชีพ ซึ่งประชาชนในพื้นที่

ยังคงมีความตองการการศึกษาในระดับนี้อยูและยังไมมี

สถาบนัการศกึษาของรัฐในพืน้ทีท่ีจ่ะรบัภารกิจนีต้อได

ดวยปณิธานท่ีตองการให วิทยาลัยชุมชนเปน

หนวยงานจัดการศึกษา “ใหประชาชนไดเรียนรูตาม

ความตองการของตนเองและชุมชนไดอยางตอเน่ือง

ตลอดชีวติ” วทิยาลยัชมุชนอุทยัธานจีงึไดสานตอปณธิาน

ดังกลาว ดวยการรำลึกอยูเสมอวา “ตองจัดการศึกษาให

สอดคลองและเพ่ือประชาชนในทองถิ่น”

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 75

Page 77: Community College Dynamic of Development

ดึงศักยภาพจังหวัด พัฒนาหลักสูตร

จากสภาพที่ตั้งที่หางไกลจากตัวเมืองกวา ๘๐

กิโลเมตร อีกทั้งพื้นที่สวนใหญยังเปนปาเขาทำใหบานไร

และอำเภอใกลเคียงขาดสถานศึกษาที่ใหบริการความรู

ในระดับอุดมศึกษา วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานีจึงเปนสถาน

ศึกษาแหงแรก ที่ขยายโอกาสทางการศึกษาในระดับต่ำ

กวาปริญญา

ผศ.ดร.สมภพ เจิมขุนทด ผูอำนวยการวิทยาลัย

ชุมชนอุทัยธานี จึงไดกำหนดทิศทางและแนวนโยบายใน

การจัดระบบการเรียนการสอน โดยเนนไปที่การจัด

หลักสูตรการศึกษาใหสอดคลองกับวิถีชีวิต และสภาพ

แวดลอมของอุทัยธานีใหไดมากที่สุด

“วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานีมีความโดดเดนในเร่ือง

พื้นที่ตั้งที่อยูติดขอบชายปามรดกโลก หลักสูตรจึงมีกลิ่น

อายในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อศักยภาพ

ของจังหวัด เชน ทางดานทองเที่ยว หรือหลักสูตรอื่น ๆ

ที่สอดคลองและสงผลถึงการอนุรักษ การปรับภูมิทัศน

วัฒนธรรมท้ังวิถีชีวิต ความเปนอยู และสิ่งแวดลอม

ทรัพยากรธรรมชาติ” ผศ.ดร.สมภพกลาว

และวา “วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานีเห็นวามรดก

โลกหวยขาแขงมีความโดดเดนทางดานทรัพยากร

ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมที่หลากหลายทางดานชีวภาพ

ที่อุดมสมบูรณจนเปนที่ยอมรับของผูสนใจและนัก

ทองเท่ียวจำนวนมาก วิทยาลัยชุมชนไดเขาไปมีสวนรวม

กับจังหวัดในการพัฒนาหลักสูตร “ผูนำเดินปาศึกษา

ธรรมชาติ” และฝกอบรมใหกับกลุมผูสนใจ เพ่ือใหผูเขา

อบรมรูถงึวธิกีารเปนผูนำเดินปา และการศึกษาธรรมชาติ

ในเขตพ้ืนปาในพื้นที่จังหวัดอุทัยธาน ี ตลอดจนการ

บริการดานการศึกษาและการประชาสัมพันธ ใหนัก

ทองเที่ยว”

หลักสูตรผูนำเดินปาศึกษาธรรมชาติ

สำหรับแนวทางในการจัดทำหลักสูตร คณะ

ทำงานจะออกสำรวจขอมูลพ้ืนฐาน เชน จำนวนแหลง

ทองเท่ียว แหลงธรรมชาติที่สามารถใหความรูไดมีกี่

แหลง จากน้ันก็จะสำรวจความตองการกลุมผูเรียน เพ่ือ

นำขอมูลมาวางแผนวาเนื้อหาหลักสูตรที่ชาวบานตอง

การจะเรยีนมอีะไรบาง ขัน้ตอมาคณะทำงานจะประสานงาน

เชิญผูเชี่ยวชาญในสาขานั้นมารวมจัดทำหลักสูตรและ

วิพากษหลักสูตรกอนทุกคร้ัง เพื่อใหไดหลักสูตรท่ีดีและ

เปนประโยชนกับผูเรียนอยางแทจริง

รูปแบบของการจัดการเรียนการสอนจะเปนการ

ผสานธรรมชาติเขากับการเรียนการสอน ซึ่งเห็นไดจาก

การจัดหลักสูตรฝกอบรม “ผูนำเดินปา” ที่มุงเนนให

ความรูกับผูคนในชุมชน ในเรื่องชนิดของพืชพรรณไม

สมุนไพรพื้นบาน วงจรชีวิตและการดำรงชีวิตของแมลง

สัตวปา และระบบนิเวศวิทยา ดิน น้ำ เพ่ือรองรับการ

ทองเที่ยวเชิงนิเวศที่มีอยูภายในอุทัยธานี ใหผูเรียนมี

วิชาชีพพ้ืนฐานเพียงพอตอการ ยึดอาชีพการเปนผูนำ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 76

Page 78: Community College Dynamic of Development

เท่ียวใหกับนักทองเที่ยว ที่เดินทางมาสัมผัสธรรมชาติใน

พื้นที่ ซึ่งจะเปนการหยิบยกเอาจุดเดนทางภูมิศาสตรของ

พื้นท่ีมาสรางเปนอาชีพ และกอใหเกิดรายไดกับผูคนใน

ชุมชน

นายบัญชา รัตนโสภา หัวหนางานหลักสูตรฝก

อบรมวิทยาชุมชนอุทัยธานีกลาววา หลักสูตรนี้เปนการ

สรางอาชีพเสริมใหกับคนในพื้นที่แลว ยังเปนการ

สงเสริมและปลูกจิตสำนึกการอนุรักษธรรมชาติ และ

สรางใหเขาเหลาน้ันเปนผูนำเดินปาศึกษาธรรมชาติที่มี

ความรู มีระเบียบวินัย ยึดมั่นในอาชีพของตน โดยกลุม

ผูเรียนจะมีทั้งประชาชนท่ัวไป และเจาหนาที่ปาไม ซึ่ง

เปดอบรมไปแลวจำนวน ๒ รุน

“ในหลายจังหวัดของประเทศ การทองเท่ียวนับ

เปนแหลงสรางรายไดใหกับคนในพื้นที่ ดังนั้นการ

ปลูกจิตสำนึกใหคนในพ้ืนที่รูจักอนุรักษสิ่งแวดลอม รู

ขอมูลเกี่ยวกับประวัติศาสตร และอื่นๆ จึงนับเปนเรื่อง

สำคัญและจำเปนอยางยิ่ง เหมือนดังเชนจังหวัดอุทัยธานี

ซึ่งมีแหลงทองเที่ยวสำคัญมากมาย อาทิ เขตรักษาพันธุ

สัตวปาหวยขาแขง วัดฤๅษีลิงดำ ถ้ำเขาวง เปนตน แต

คนในพื้นที่ยังไมทราบขอมูลสำคัญของแหลงทองเที่ยว

เหลานั้น ทำใหไมสามารถสรางรายไดพิเศษจากการเปน

ผูนำเท่ียวแหลงทองเที่ยวทองถ่ินได” ผศ.ดร.สมภพกลาว

เสริม

นอกจากน้ี วทิยาลยัชมุชนอทุยัธานียงัไดจดัแหลง

เรียนรูทางธรรมชาติที่ครบวงจรดวยการ “เนรมิตหอง

เรียนธรรมชาติเปนเสนทางเดินปาหลังวิทยาลัย” ที่อุดม

สมบูรณไปดวยพันธุ ไมปาที่หายาก และ “PANDA

CAMP หองเรียนมีชีวิต” ที่นำเหลานักศึกษามาสัมผัส

วงจรชีวิตของตนไมนานาพันธุกวา ๓๐๐ ชนิด ดอกไมที่

ออกดอกชูชอบานสะพร่ังลอตาลอใจแมลงกวา ๓๐ ชนิด

ใหมาลิ้มลองรสหอมหวานของน้ำหวาน รวมไปเปนแหลง

ใหความรูการดูนก ซึ่งจะทำใหผูเขามาเรียนไดรับความรู

จากการเขาไปสัมผัสจริงกับธรรมชาติ ที่รายลอมอยูรอบ

ตัว

ปจจุบันหลักสูตรผูนำเดินปาศึกษาธรรมชาติของ

วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานีเปนหลักสูตรท่ีมีผูใหความสนใจ

มาก โดยเฉพาะนักอนุรักษธรรมชาติ เนื่องจากบุคคล

ดังกลาวตองการเรียนรูเทคนิค และวิธีการในการเปนผู

นำเดินปา เพ่ือศึกษาธรรมชาติที่ทำใหนักทองเท่ียวเกิด

ความพึงพอใจจนไดรับชื่อเสียงและจุดขายสนองยุทธ-

ศาสตรของจังหวัดอุทัยธานี ซึ่งในการจัดการศึกษาและ

จัดฝกอบรมในแตละคร้ัง วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานีรวม

กับนักอนุรักษธรรมชาติและส่ิงแวดลอมการทองเที่ยว

จังหวัดอุทัยธานี และหนวยงานภาครัฐและเอกชนภายใน

จังหวัดอุทัยธานี รวมกันจัดการศึกษาและผลิตนักศึกษา

ที่จบหลักสูตรไปแลว และสามารถนำความรูและทักษะที่

ไดรบัจากการฝกอบรมไปหารายไดเสรมิจากการประกอบ

อาชีพหลักได

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 77

Page 79: Community College Dynamic of Development

เ รียนรูพืชสมุนไพรกับวิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี

ผศ. ดร.สมภพ กลาววา วทิยาลัยชุมชนจัดหลักสตูร

ที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการท่ียืดหยุน สามารถ

ปรับเปล่ียนได เพ่ือความเหมาะสมกับชุมชน ตรงตาม

ศักยภาพของพ้ืนที่ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม

ธรรมชาต ิสิง่แวดลอม และไดดำเนนิการพัฒนาหลกัสตูร

ที่สามารถตอบปญหาของชุมชน โดยไดบูรณาการการ

จัดการศึกษารวมกับองคกรธุรกิจและเอกชน กิจกรรม

หนึ่งท่ีวิทยาลัยชุมชนอุทัยธานีไดรวมมือกับองคกรภาค

เอกชนดำเนินการจัดตั้งศูนยอนุรักษและเรียนรูพืชสมุน

ไพรข้ึน เพื่อใชเปนแหลงเรียนรู และฝกอบรมถายทอด

ความรูการทำสมุนไพรไทย

ในการดำเนินงานวิทยาลัยชุมชนอุทัยธานีจึง

ดำเนินการสำรวจและเก็บขอมูลในชุมชน คนหาผูที่มีภูมิ

ปญญาเกี่ยวกับยาสมุนไพรพื้นบานมาใหความรูกับกลุม

ผูที่มีความสนใจ โดยจุดมุงหมายท่ีสำคัญคือ

• เพื่อเรียนรู ศึกษา วิจัยและใหความสำคัญ

ของยาสมุนไพร

• เพื่อการอนุรักษพืชสมุนไพรไทยใหคงอยูกับ

คนไทย

• เพื่อสงเสริมและอนุรักษภูมิปญญาทองถ่ิน

ของคนไทย

“พืชสมุนไพรเปนพืชที่มีความเกี่ยวกับการรักษา

โรคตางๆ ตั้งแตอดีตสมัยโบราณจนถึงปจจุบันมีหลาก

หลายชนิดที่เกิดจากภูมิปญญาของบรรพบุรุษของคน

ไทยมาชานานแลว ซึ่งปจจุบันก็ยังนำมาใชรักษาโรคกัน

อยูบาง” ผศ.ดร.สมภพกลาว

สุขใจไดเรียนใกลบาน

หลักการของวิทยาลัยชุมชน คือ การเปดกวาง

และเขาถึงงาย ใหโอกาสและปฏิบัติตอนักศึกษาผูเขารับ

การบริการทุกคนอยางเทาเทียมกัน วิทยาลัยชุมชน

อุทัยธานียึดมั่นในหลักการดังกลาว มีการกำหนดแนว

ทางเพื่อเปดโอกาสใหผูเรียนไดเขาถึงการศึกษาอยางไม

มีขอจำกัด โดยเริ่มจากการกำหนดรูปแบบ/วิธีการเปด

รับนักศึกษา ที่เปดกวางใหโอกาสแกคนในทองถ่ินหาง

ไกล ทุกกลุมไมวาจะเปนผูที่ขาดโอกาสทางการศึกษา

และตองการพัฒนาทักษะงาน ทักษะอาชีพ และทักษะ

ชีวิต ผูสำเร็จการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท้ังใน และนอกระบบ

ผูอยูวัยทำงานท่ีพลาดโอกาส ผูที่ตองการปรับเปล่ียน

อาชีพ ผูเกษียณงานแลว ผูเรียนในระบบปกติ มี

หลักสูตรที่หลากหลาย และคาใชจายต่ำ

จากการสัมภาษณกลุมนักศึกษาไดใหความคิด

เห็นเก่ียวกับการดำเนินงานของวิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี

วา เปดโอกาสใหผูเรียนเขาถึงการศึกษาโดยไมมีขอ

จำกัด เปนสถานศึกษาที่เขาถึงชุมชน ใกลบาน เดินทาง

สะดวกมีหลักสูตรท่ีดีหลากหลายสาขาเฉพาะซ่ึงที่อื่นไมมี

คาใชจายถูก เปดโอกาสใหทุกเพศทุกวัยไดเขามาเรียนที่

นี่ ถึงแมหมดโอกาสเรียนในสมัยกอน แตไดมีโอกาสเขา

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 78

Page 80: Community College Dynamic of Development

มาเรียนอีกครั้ง ทำใหเกิดแรงบันดาลที่ทำใหมีโอกาสใน

การศึกษาในระดับที่สูงข้ึน

นางสาวธนากร เลขยัน กลาววา “เหมือนไดยาง

กาวเขามาบานอีกหลังหน่ึง ไดทั้งความรูและท้ังเพ่ือน

ไดสารประโยชนมากมาย อาจารยผูสอนมีความรูความ

สามารถมีประสบการณ เมื่อเขามาอยูตรงนี้ทำใหได

อะไรหลายๆอยางท่ีสามารถนำไปปรับใชได”

นายวิรัตน แหวเพชร ใหความคิดเห็นวา สังคม

กวางข้ึนไดรูจักกับผูคนหลากหลายอาชีพ ซึ่งเปนสิ่งที่ดี

เพราะวาเราอาจจะไดรบัความชวยเหลอื ความอนเุคราะห

จากคนเหลาน้ีไดและยังไดเพ่ือนไดความสนิทชิดเช้ือกัน

บางทีชวยเหลือกันก็ทำใหมีความรูสึกพิเศษความรูสึก

เปนเพ่ือนกันในความรูสึกตรงน้ัน นั่นก็คือสิ่งที่เราได

นอกเหนือจากคำวาเรียนรวมถึงไดติดตอสื่อสารกับ

บุคคลระหวางวัย ระหวางอาชีพและมีสัมพันธภาพที่ดี

นายล้ีปุมไต พุเดื่อ ใหความคิดเห็นวา “มีความ

ภาคภูมิใจท่ีไดมาเรียนท่ีนี่เพราะอยูใกลบาน อยากได

ความรูมาพัฒนาหมูบาน ก็ดีใจที่ไดเรียนอยูใกลๆ บาน

จะไดรับวัฒนธรรมจากที่อื่นๆ เพ่ือนำมาปรับปรุงกับ

หมูบานบางและอีกอยางที่เรียนที่นี่ก็คือ อาจารยใจดี

และมีเพื่อนฝูงมากข้ึน มีความอบอุน มีการชวยเหลือกัน

อยูตลอด”

วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานีไดดำเนินการบริหาร

จัดการเพื่อตอบสนองความตองการของผูเรียน เนน

ความสำคัญของผูเรียนเปนศูนยกลาง มิใชเพียงจัดการ

เรียนการสอนในหองเรียนหรือตามตำราเรียนเทานั้น

แตวิทยาลัยชุมชนอุทัยธานีไดจัดการศึกษาใหผูเรียน

เรียนรูจากการปฏิบัติจริง จากแหลงเรียนรูที่มีอยู ใน

ชุมชน อีกทั้งยังมีการพัฒนาเครือขายการเรียนรู ให

กวางขวาง เพื่อจุดมุงหมายสูงสุดอยูที่การใหผูคนทุก

คนในชุมชนไดมีพื้นฐานทางการศึกษา และกอใหเกิด

อาชีพมั่งคงตอไป

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 79

Page 81: Community College Dynamic of Development

เปล่ียนวิธีทำการเกษตรจากเคมีสูเกษตรอินทรีย

นายสุวิทย จำเริญสุข (ลุงเบิ้ม) เกษตรกร

อำเภอบานไร ผูประสบความสำเร็จจากการประกอบ

อาชีพทางการเกษตรในการทำไรนาสวนผสม ดวยแนว

คิดอยูอยางพอเพียงเลาวา ประสบความสำเร็จไดก็

เพราะวิทยาลัยชุมชนอุทัยธานีใหการสนับสนุนและช้ีแนะ

แนวทางความรูตลอดจนคำแนะนำตางๆ ทำใหสามารถ

ทำเกษตรอินทรียมาปรับเปลี่ยนวิธีการทำเกษตรไร

นาสวนผสมของตนท่ีทำตามหลักเกษตรทฤษฎีใหมได

อยางมีประสิทธิภาพ และที่สำคัญการลดละเลิกใชสาร

เคมีไดนับวาเปนประโยชนอยางย่ิง

“นอกจากนี้ทางวิทยาลัยชุมชนอุทัยธานียัง

ติดตามวิเคราะหเก็บขอมูลปญหาตางๆ ที่เกิดข้ึนไปหา

แนวทางแกไขจนทำใหผมไววางใจในการดำเนินงานของ

วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานีที่ชวยแกปญหาและสงเสริม

อาชีพใหกับชุมชนของผมไดอยางแทจริง”

วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานีไดดำเนินการ

• ใหความรูเกี่ยวกับการทำเกษตรแบบผสม

ผสานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

• จัดฝกอบรมการทำปุยอินทรียและสงเสริม

สนับสนุนใหใชแทนการใชปุยเคมี

• จัดกิจกรรมเปนสถานที่ตัวอยางใหกับผูสนใจ

ศึกษาดูงานแลวนำไปประกอบอาชีพ

• จัดฝกอบรมการขยายพันธุไมผล

• ประสานวิทยากรใหความรูเกี่ยวกับการ

วิเคราะหสายพันธุไมผลชนิดตางๆ

วันนี้ที่สวนของลุงเบ้ิม จึงเปนสถานที่เรียนรูคู

งานสำหรับคนท่ีสนใจและเปนแหลงฝกอบรมดานการ

ขยายพันธุไมผลชนิดตางๆ จนลุงเบ้ิมมีรายไดทุกวันจาก

การขายผลไม พืชผักตามฤดูกาลถัวเฉลี่ย วันละ ๕๐๐-

๑,๐๐๐ บาท

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 80

Page 82: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชนระนอง เชื่อมพรมแดนแหงความเขาใจ

ดวยภาษา

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 81

Page 83: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 82

Page 84: Community College Dynamic of Development

“ดิฉันดีใจแทนชาวระนองท่ีวิทยาลัย

ชุมชนระนองเห็นความสำคัญ

ของหลักสูตรน้ี และเปดสอนอยางตอเนื่อง เราไมอาจ

ปฏิเสธไดวาเศรษฐกิจของจังหวัดระนองผูกพันเชื่อมโยง

กับประเทศพมา มีการพ่ึงพาท้ังวัตถุดิบและแรงงาน

ขณะเดียวกันก็อาศัยตลาดพมาในการระบายสินคาสง

ออกเพิ่มรายไดใหกับจังหวัด

ภาษาจะทำใหคนทั้งสองประเทศเขาใจกันมาก

ขึ้น ความสัมพันธอันดีกับประเทศเพื่อนบานก็จะตามมา

นี่คือสิ่งเล็กๆ ที่ประชาชนคนธรรมดาสามารถรวมกัน

สรางสรรคได”

นี้คือสวนหนึ่งของความในใจที่นางสุภากิตติ์

เกลี้ยงสงค ผูชวยผูอำนวยการพาณิชยจังหวัดระนอง

ผูสำเร็จหลักสูตรฝกอบรมภาษาตางประเทศเพ่ือการ

สื่อสารและธุรกิจ (ภาษาพมา) เปนอีกหน่ึงเสียงที่ชวยยืน

ยันความสำเร็จที่เกิดข้ึนของวิทยาลัยชุมชนระนอง

เปนที่ทราบกันดีวา แรงงาน โดยเฉพาะแรงงาน

ในภาคเกษตรกรรมของจังหวัดระนอง สวนใหญเปน

แรงงานจากประเทศพมา นอกจากน้ียังมีการติดตอกัน

ในภาคธุรกิจตางๆ อีกดวย

หลักสูตรภาษาตางประเทศเพื่อการส่ือสารและ

ธุรกิจ (ภาษาพมา) เกิดขึ้นไดอยางไร มีกระบวนการใน

การจัดการเรียนการสอนอยางไร จึงนำมาซ่ึงความ

สำเร็จในวันนี้

ภาษา…การส่ือสารเพ่ือลดชองวาง

หลักสูตรภาษาตางประเทศเพื่อการส่ือสารและ

ธรุกจิ (ภาษาพมา) ของวทิยาลัยชมุชนระนอง เริม่จดัการ

เรียนการสอนตั้งแตป ๒๕๔๖ จากแนวคิดที่วาภาษาคือ

เครื่องมือที่ใชสรางความเขาใจ อีกทั้งบริบทของจังหวัด

ที่มีพื้นที่ติดตอกับประเทศพมา มีความสัมพันธกันใน

ดานธุรกิจการคาและวิถีชีวิต

ในปจจุบันการเรียนภาษาถือเปนเคร่ืองมือสำคัญ

ในการใชติดตอสื่อสาร และทำธุรกิจ ไมวาจะเปนภาษา

อังกฤษหรือภาษาอื่นๆ สามารถทำใหบรรลุเปาหมาย

ของการดำเนินงาน หรือประกอบธุรกิจตางๆ ใหประสบ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 83

Page 85: Community College Dynamic of Development

ความสำเร็จไดมาก

ในสวนของวิทยาลัยชุมชนระนองมีสภาพที่ตั้งอยู

ในจังหวัดชายแดนติดตอกับประเทศพมา ปจจุบันมีการ

ใชภาษาในการประกอบกิจการในกลุมผูประกอบการ

นายจาง และผูประกอบอาชีพคาขายตลอดแนวชายแดน

อีกประการหน่ึงคือระนองมีแรงงานพมาจำนวนมาก วิถี

ชวีติในแตระดับตองเจอกับคนพมาทกุวัน ในภาคราชการ

กเ็ชนกนั ไมวาจะเปนในโรงพยาบาล สถานตีำรวจ ทีว่าการ

อำเภอ ดานตรวจคนเขาเมือง ฯลฯ ตองสัมพันธกับคน

พมาไมเรื่องใดก็เร่ืองหน่ึง ซึ่งทุกวันนี้มีปญหามากในการ

สื่อสารใหเขาใจตรงกัน การสรางความเขาใจโดยเฉพาะ

ใหคนไทยไดเรียนรูภาษาพมาเพื่อใชประโยชนในวิถีชีวิต

ประจำวันจึงมีความสำคัญมาก เพราะจะชวยลดชองวาง

ระหวางคนสองชาติใหพูดคุยกันรูเรื่อง ปฏิบัติไดถูกตอง

ตรงกัน ดังนั้นจึงคิดวานาจะเปนการดี จึงสนับสนุนใหมี

การพัฒนาหลักสูตรภาษาตางประเทศเพ่ือการส่ือสาร

และธุรกิจ โดยใหเรียนรูภาษาพมา เพื่อใชในชีวิตประจำ

วันไดจริง” นายขนบ พูนผล ประธานสภาวิทยาลัยชุมชน

ระนอง เลาใหทราบที่มาที่ไปของหลักสูตรการฝกอบรม

ที่เปดมาตั้งแตแรกกอตั้งวิทยาลัย

กวาจะมาเปนหลักสูตรภาษาพมา

เพื่อเชื่อมโยงคนจากสองประเทศใหเกิดความ

เขาใจระหวางกัน ใหการดำเนินธุรกิจเปนไปอยางราบรื่น

วิทยาลัยชุมชนระนองจึงเริ่มทำหนาที่ ใหความใสใจ

ตั้งแตการคัดเลือกอาจารยพิเศษที่จะมาเปนผูสอน

จากน้ันจัดทำแผนการสอน กอนจะออกมาเปนหลักสูตร

ที่ ไดเรียนกันในทุกวันนี้ มีกระบวนการอยางไร นาง

พรชิต ศรีบุญจิต ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนระนองได

เลาใหฟงวา

“กระบวนการในการคัดเลือกอาจารยผูสอน

หลักสูตรนี้ เราพิจารณาจากเกณฑสำคัญคือ เปนผูที่มี

ความรู ความสามารถ และประสบการณดานการสอน

ภาษาพมาเปนอยางดี โดยผานการประเมินดานการสอน

และมีคุณสมบัติตามเกณฑขอบังคับของวิทยาลัยชุมชน

ระนอง วาดวยการสรรหาและแตงตั้งอาจารยพิเศษของ

วิทยาลัยชุมชนระนอง โดยผานความเห็นชอบจากสภา

วิชาการ จากน้ันทำสัญญาจางเปนรายป พรอมใหคา

ตอบแทนการสอนเปนช่ัวโมงตามเกณฑหลักสูตรการฝก

อบรม

ในแตละครั้งในการจัดตั้งหองเรียนตองมีผูเรียน

หองละ ๒๕ คนเปนอยางนอย สิ่งสำคัญคือครูผูสอนตอง

มทีกัษะและเทคนคิการสอนและวเิคราะหผูเรียน สามารถ

ทำใหผูเรียนเรียนรูและพัฒนาได”

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 84

Page 86: Community College Dynamic of Development

ในสวนของแผนการสอนน้ัน เกิดจากความรวม

มือกันระหวางอาจารยพิเศษและวิทยาลัยชุมชนระนอง

กอนท่ีหลักสูตรจะใชจัดการเรียนการสอนไดนั้น ตอง

ผานความเห็นชอบของสภาวิชาการของวิทยาลัยชุมชน

กอน ซึ่งสภาวิชาการน้ีผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนระนอง

จะทำหนาที่เปนประธาน

ปจจบุนัหลักสตูรภาษาตางประเทศเพ่ือการส่ือสาร

และธุรกิจ (ภาษาพมา) มีอาจารยพิเศษ ๒ ทานคือ นาย

สมเกียรติ เอาจ่ีมิค และ จสอ. ชนวีร ศรีรักษา

“วิธีการจัดการเรียนการสอนคือจะฝกในหอง

เรียน โดยฝกสนทนากับผูสอนประกอบการใชสื่อการ

เรียนการสอน เชน บัตรคำ บัตรภาพ และอุปกรณ

เทคโนโลยีฝกสนทนา และใชเอกสารประกอบการเรียน

การสอน รวมทั้งฝกพูดกับคนพมาในหองเรียนและฝกใช

ในชีวิตประจำวัน” นายสมเกียรติ อาจารยพิเศษประจำ

หลักสูตรเลาใหทราบถึงกระบวนการจัดการเรียนการ

สอนในชั้นเรียน

เมื่อจัดการเรียนการสอนก็ตองมีการวัดและ

ประเมินผลผูเรียน โดยกระบวนการน้ี จสอ.ชนวีร

ศรีรักษา เลาใหฟงวา

“วิธีการวัดและประเมินผลผูเรียนจะดำเนินการ

๒ ระยะ คอื ระหวางการเรียนการสอนจะมีการฝกปฏิบตัิ

และทดสอบเก็บคะแนน โดยอาจารยผูสอนเปนผูดำเนิน

การ เมือ่ผานเกณฑ วทิยาลยัชมุชนระนองจะมอบวุฒบิตัร

ผานการฝกอบรมหลักสูตรดังกลาว ผูที่ไมไดเขาเรียนตอ

เนื่องและไมผานเกณฑก็จะไมไดวุฒิบัตร บางรายตอง

ลงเรียนหลายครั้งเพื่อใหสามารถสื่อสารไดจริง จึงจะ

ผานการวัดและประเมินผล”

นอกจากนี้ ผอ.พรชิต ยังมีการควบคุมคุณภาพ

การจัดการเรียนการสอนภายในของวิทยาลัยชุมชน

ระนอง โดยการจัดนิเทศการเรียนการสอนของอาจารย

พิเศษดวยตัวเอง และมีการจัดตั้งอนุกรรมการเปนทีม

นิเทศเพื่อชวยติดตามผลการเรียนในสวนของผูเรียนและ

นิเทศการสอนของอาจารยพิเศษดวย

เรียนภาษาพมาแลวไดอะไร

หลักสูตรภาษาตางประเทศเพื่อการส่ือสารและ

ธุรกิจ (ภาษาพมา) เปดสอนตั้งแตวิทยาลัยชุมชนระนอง

เริ่มเปดการสอน กลุมผูเรียนมีความหลากหลายทั้งภาค

รัฐและเอกชน ดังท่ีประธานสภาวิทยาลัยชุมชนระนอง

เลาใหทราบวา

“วิทยาลัยชุมชนระนองไดพัฒนาหลักสูตรภาษา

พมาใหเหมาะกับกลุมผูเรียนในแตละกลุมอยางหลาก

หลาย กลุมผูเรียนมีตั้งแต พอคาแมคา ผูประกอบการ

บริเวณชายแดน อาชีพอิสระ ครูอาจารย ผูบริหาร

ทหารเรือ ตำรวจ สื่อมวลชน ขาราชการหนวยงานตางๆ

เชน เจาหนาที่ฝายปกครอง เจาหนาที่สาธารณสุข

เจาของสถานประกอบการ รวมท้ังคณะกรรมการสภา

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 85

Page 87: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชนระนองและผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน

ระนองและบุคลากรภายในวิทยาลัยชุมชนระนองซึ่ง

สนใจก็สามารถสมัครเขาเรียนไดเชนกัน” นายขนบ

ประธานสภาวิทยาลัยชุมชนระนองเลาใหทราบ

“วิทยาลัยชุมชนระนองจะเปดสอนเปนรุนๆ

อยางตอเนื่อง และยังทำหนาที่เปนศูนยการเรียนรูภาษา

พมาของจังหวัดระนอง สวนของเนื้อหาและสื่อการเรียน

การสอนก็มีการพัฒนาตลอด โดยรวมมือกันระหวาง

ผูสอนและวิทยาลัยชุมชนระนองในรูปแบบของการวิจัย

ในชั้นเรียน” ผอ.พรชิตกลาวเสริม

มีบางทานอาจเคยสงสัยวาหลักสูตรน้ีมีความนา

สนใจอยางไร เรียนแลวจะไดอะไร คำถามนี้มีคำตอบ

จากผูเรียนในหลักสูตรดังกลาว

“ดิฉันทราบจากเพ่ือนวาวิทยาลัยชุมชนระนอง

เปดหลักสูตรภาษาตางประเทศเพ่ือการส่ือสารและธุรกิจ

(ภาษาพมา) จึงตัดสินใจสมัครเรียนทันที เพราะ

หลักสูตรตรงกับความตองการและสนใจเรียนรูประเทศ

เพื่อนบานผานภาษาของเขา ประกอบกับงานประจำที่

ทำมีภารกิจในการสงเสริมการคากับประเทศเพื่อนบาน

เรามีพรมแดนติดตอกันทั้งทางบก ทางน้ำ และมีความ

สัมพันธทางดานเศรษฐกิจสังคมกันมานาน ดวยเหตุผล

เหลาน้ีจึงตัดสินใจลงเรียน” นางสุภากิตติ์ เกล้ียงสงค

ผูชวยผูอำนวยการพาณิชยจังหวัดระนอง เลาใหทราบ

ความตั้งใจที่ลงเรียนในหลักสูตรนี้

นอกจากนางสุภากิตติ์ ซึ่งมาเรียนเพ่ือเสริม

ศักยภาพในการทำงาน ซึ่งในสายงานมีความเก่ียวของ

กับการใชภาษาพมาแลว ยังมีนางกอแกว วงศพันธุ

ประกอบอาชีพนักวิจัยอิสระ เผยใหทราบถึงเหตุผลที่

ตัดสินใจมาเรียนภาษาพมาวา

“ดิฉันตั้งใจที่จะเรียนรูภาษาพมา เหตุผลเพราะ

ดิฉันทำงานกับแรงงานชาวพมาแถบพื้นที่อันดามัน การ

สื่อสารกันอยางเขาใจเปนสิ่งจำเปนอยางย่ิง ดิฉันอยาก

จะรูจักประเทศเพื่อนบานมากกวานี้ อยากอานเรื่องราว

ทางประวัติศาสตรของประเทศพมา ผานภาษาหรือตัว

หนังสือของพวกเขา แมวาเวลาเรียนจะนอย แตซยาจ้ี

สมเกียรติมีหลักสูตรที่ชวยใหดิฉันซึ่งไมมีพื้นฐานภาษา

พมาสามารถเขาใจหลักหรือรูปประโยคท่ีจะสนทนากับ

เจาของภาษา นอกจากน้ีแลวยังเขาใจหลักภาษาชวยให

ดิฉันเริ่มอานและเขียนภาษาพมาได”

หลังจากเรียนจนสำเร็จหลักสูตร ผูเรียนตาง

กลาวเปนเสียงเดียวกันวา หลักสูตรภาษาตางประเทศ

เพื่อการส่ือสารและธุรกิจ (ภาษาพมา) ของวิทยาลัย

ชุมชนระนองน้ันใหอะไรมากกวาที่คิด

“เปนหลักสูตรท่ีดีมาก อาจารยผูสอนมีความรู

ความสามารถ มีประสบการณในการถายทอดและจัด

ระบบใหผูเรียนเขาใจไดภายในระยะเวลาสั้นๆ ที่สำคัญ

อาจารยมีจิตวิญญาณของการเปนครูอยางแทจริง พวก

เราเรียนหลักสูตรฝกอบรม แตการสอนก็เขมขนจริงจัง

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 86

Page 88: Community College Dynamic of Development

นอกจากน้ีบรรยากาศการเรียนการสอนเต็มไป

ดวยความสนุกสนาน เปดโอกาสใหทุกคนซักถามแสดง

ความคิดเห็นอยางเปนกันเอง ไดเกร็ดความรูมากมาย

เกี่ยวกับภาษาและประเทศเพ่ือนบานของเรา ที่สำคัญอีก

ประการหน่ึงนอกจากเน้ือหาวิชาแลวยังไดรูจักเพื่อนใหม

หลายคนใหไดคบหาเปนกัลยาณมิตร” นางสุภากิตติ์

บอกเลาความประทับและสิ่งที่ไดรับจากการมาเรียนใน

วิทยาลัยชุมชนระนอง

“การมาเรียนภาษาพมาที่วิทยาลัยชุมชนระนอง

ทำใหดิฉันรูจักประเทศพมา สุดทายก็ขอขอบคุณและให

กำลังใจตอซยาจี้สมเกียรติ เอาจี่มิด และวิทยาลัยชุมชน

ระนองที่เปดสอนหลักสูตรภาษาตางประเทศเพื่อการ

สื่อสารและธุรกิจ (ภาษาพมา) ซึ่งมีประโยชนตอชุมชน

อยางยิ่ง” นางกอแกวกลาวเสริม

ปจจบุนัหลักสตูรภาษาตางประเทศเพ่ือการส่ือสาร

และธุรกิจ (ภาษาพมา) ของวิทยาลัยชุมชนระนอง เปด

สอนอยางตอเนื่องและไดมีการพัฒนาเปน ๓ หลักสูตร

คือ หลักสูตรที่ ๑ (๖๐ ชั่วโมง) สนทนาภาษาพมาทั่วไป

ในชีวิตประจำวัน หลักสูตรที่ ๒ (๑๒๐ ชั่วโมง) อาน

เขียน ภาษาพมาในชีวิตประจำวัน ระดับกลาง และ

หลักสูตรที่ ๓ (๑๒๐ ชั่วโมง) สนทนา อาน เขียน เจรจา

ตอรอง ประวัติศาสตร วัฒนธรรมภาษาพมา และวิถี

ชีวิตชายแดน

ความสำเร็จของหลักสูตรภาษาตางประเทศเพ่ือ

การสื่อสารและธุรกิจ (ภาษาพมา) ของวิทยาลัยชุมชน

ระนอง นอกเหนือจากความรูที่ ไดถายทอดใหแกผูมา

เรียนแลว ยังไดทำหนาท่ีเปดพรมแดนแหงความเขาใจ

ระหวางคนสองประเทศ สมกับท่ีนางกอแกวกลาวย้ำกับ

เราวา “การเรียนภาษาพมาไดเรียนรูมากกวาการเรียน

ภาษาอยางเดียว”

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 87

Page 89: Community College Dynamic of Development

นอกจากหลักสูตรภาษาตางประเทศเพ่ือการ

สื่อสารและธุรกิจ (ภาษาพมา) แลววิทยาลัยชุมชน

ระนองยังมีหลักสูตรฝกอบรมอีกหลายหลักสูตรที่สนอง

ความตองการและสอดรับกับยุทธศาสตรการพัฒนาของ

จังหวัด อีกหนึ่งหลักสูตรที่เราตองพูดถึงคือ หลักสูตรฝก

อบรมการผลิตแผนยางคุณภาพชั้นดี ของวิทยาลัยชุมชน

ระนอง

ยางพาราเปนพืชเศรษฐกิจที่สำคัญอีกชนิดหนึ่ง

ของจังหวัดระนอง เพราะสภาพภูมิประเทศเอ้ืออำนวย

แตมีปญหาเร่ืองสภาพภูมิอากาศที่มีความช้ืนสูง ทำให

ยางแผนดิบที่เคยผลิตไดมีกลิ่นเหม็นและแผนไมสวย

วิทยาลัยชุมชนระนองจึงรวมกับสำนักงานเกษตร

จังหวัด สำนักงานเกษตรอำเภอ และเกษตรภูมิปญญา

จัดทำหลักสูตรการผลิตแผนยางคุณภาพชั้นดีเพื่อชวยแก

ปญหาดังกลาวใหเกษตรกรในพ้ืนที่ ใชพื้นที่ตำบล

บางแกว อำเภอละอุน เปนพื้นที่นำรองในการจัดการ

เรียนการสอน ใชกระบวนการผลิตแผนยางคุณภาพ ๑๓

ขั้นตอน เชน ขั้นเตรียมการและข้ันผลิต และจัดการ

เรียนการสอนเร่ืองการผสมน้ำยางใหไดแผนยางท่ีมี

ความสวยงาม ไรกลิ่น และปองกันเช้ือรา

นอกเหนือจากกระบวนการผลิตดังกลาวแลว

วิทยาลัยชุมชนยังเขามาชวยพัฒนาความรูดานการตลาด

โดยสงเสริมการจัดตั้งสหกรณของเกษตรชาวสวนยาง

เปดโอกาสใหสมาชิกเขามาถือหุน เปนเจาของธุรกิจรวม

กัน ภายใตการสนับสนุนของหนวยงานสหกรณจังหวัด

กองทุนสงเคราะหการทำสวนยาง และวิทยาลัยชุมชน

ระนอง กลายเปนธุรกิจที่สมาชิกเปนเจาของรวมกัน

กลุมอยูไดดวยการพึง่ตนเอง เพ่ิมศกัยภาพในการตอรอง

กับพอคา ทำใหชาวบานมีรายไดเพ่ิมขึ้น คุณภาพชีวิตดี

ขึ้น

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 88

Page 90: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 89

Page 91: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 90

Page 92: Community College Dynamic of Development

หลักสูตรของวิทยาลัยชุมชนแตละแหง

ยอมแสดงถึงเอกลักษณทรัพยากร

และภูมิปญญา ที่มีอยู ในพื้นที่ เปนที่ทราบกันดีวาใน

พื้นที่จังหวัดนราธิวาสข้ึนชื่อวาเปนแหลงผลิตลองกองท่ี

ใหคุณภาพดีที่สุดในประเทศ ซึ่งรูจักในนาม “ลองกอง

ตันหยงมัส” หรือ “ลองกองซีโป” ที่มีกลิ่นหอม และ

รสชาติหวานกลมกลอม

ลองกองจัดเปนผลไมหลักของจังหวัดนราธิวาส

ปจจุบันลองกองสามารถปลูกไดทั่วประเทศ และมีบาง

ชวงที่มีจำหนายมากจนราคาต่ำ ในป ๒๕๕๐ นราธิวาส

สามารถผลิตลองกองไดสามหมื่นตัน แตเนื่องจาก

ปญหาความไมสงบในจังหวัดสามชายแดนภาคใต

ลุกลามรุนแรงต้ังแตป ๒๕๔๗ เปนตนมา ทำใหการนำ

ลองกองจากแหลงปลูกจังหวัดนราธิวาสไปจำหนายยัง

ตลาดทำไดยาก ไมมีผูมีรับซื้อในพื้นที่ ทั้งที่มีศูนย

กระจายผลไมของสำนักงานเกษตรจังหวัดในพ้ืนที่ถึง ๙

แหงเพ่ือแกไขปญหาปกอนหนาน้ีมาก็ตาม จนเกิดความ

เสียหายแกเกษตรกรจำนวนมากถึงขนาดบางปมีการ

รวมกลุมกันประทวงดวยการทิ้งลองกองหนาจวนผูวา

ราชการจังหวัดนราธิวาส

ผลจากปญหาความไมสงบในพืน้ที ่ทำใหผลลองกอง

ถูกทิ้งคางอยูที่แหลงปลูกนานเกินระยะเวลาจำหนาย

(ประมาณ ๓-๕ วัน หลังการเก็บเกี่ยว) สงผลให

คุณภาพลองกองเกิดการสูญเสียไดงาย เชน สีน้ำตาลท่ี

ผิวเปลือก ผลเหี่ยว และรวงหลุดจากชอผล ไมเปนที่

ดึงดูดสายตาของผูบริโภคจนถึงหมดสภาพการซื้อขาย

ซึ่งปญหาเหลานี้สงใหกลุมเกษตรกรลมเลิกการปลูกลอง

กอง โดยการโคนตัดทิ้งและหันไปปลูกยางพาราแทน

วชช.นราธิวาสจับมือชาวบานรวมเรียนรูและแกปญหาดวยกัน

ดวยเหตุนี้ ในเดือนเมษายน ๒๕๕๑ วิทยาลัย

ชุมชนนราธิวาส จึงไดจัดทำเวทีหลายเวทีเพื่อหาแนวทาง

แกปญหาความเดือดรอนของเกษตรกรผูปลูกลองกอง

โดยวิทยาลัยชุมชนไดประสานเกษตรกรผูปลูกกองลอง

ในพื้นที่ ต. ตันหยงมัส อ.ระแงะ จ.นราธิวาส เปนพ้ืนที่

ตนแบบในการจัดทำหลักสูตรนำรองสำหรับเกษตรกร

ผูปลูกลองกอง เพื่อรวมเรียนรูและหาแนวทางแกไข

ปญหาของชุมชนรวมกัน

กระบวนการจัดการศึกษาเพ่ือแกไขปญหาชุมชน

วิทยาลัยชุมชนเร่ิมดวยเปนตัวกลางประสานในการจัด

เวทีและเชิญผูที่เกี่ยวของกับลองกองท้ังหนวยราชการ

นักวิชาการเกษตร และเกษตรกรมาพบปะแลกเปลี่ยน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 91

Page 93: Community College Dynamic of Development

ความคิดเห็นในพ้ืนที่ ๓ ครั้ง เพ่ือรวมเรียนรูและหา

แนวทางแกไขปญหาของชุมชนรวมกัน จนสามารถมอง

ภาพของลองกองเปนไปในทิศทางเดียวกัน และตกลง

ใจรวมมือกับวิทยาลัยชุมชนนราธิวาสในการพัฒนา

หลักสูตร “หลักสูตรการพัฒนาผลผลิตและการจัดการ

ลองกองนราธิวาส”

ความรู ความเขาใจ มากมายเก่ียวกับลองกอง

ไดเกิดข้ึนจากการแลกเปลี่ยนความคิดจากลานเสวนา

ทั้งเร่ืองประวัติความเปนมาของลองกอง วิทยาลัยชุมชน

ไดเชิญผูเฒาหลายทาน (ทานที่อายุมากที่สุดอายุ ๙๕

ป) มาบอกเลาประสบการณเรื่องราวความเปนมาลอง

กองที่มีอายุยาวนานกวา ๒๐๐ ป เพื่อใหชุมชนเกิดความ

รูสึกรัก มีความผูกพันกับลองกอง จนเกิดเปนความภาค

ภูมิใจในทองถ่ิน และหวนแหนอาชีพของตน

นอกจากน้ัน ในเวทียังไดเรียนรูความแตกตาง

ระหวางลองกองนราธิวาสกับลองกองในพื้นที่อื่น ตน

เปนอยางไร ลักษณะราก ระบบดินน้ำอากาศท่ีเหมาะสม

ลองกองที่หอมหวานเปนอยางไร วิทยาลัยชุมชนราธิวาส

ไดเชิญนักวิเคราะหดินของศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุล

ทองอันเนื่องมาจากพระราชดำรินำตัวอยางดินในพื้นที่

ไปวิเคราะห เพื่อตรวจหาจุลธาตุในดินที่ศูนยฯ พบวา

การที่ลองกองตันหยงมัสหวานหอมอรอย เพราะชุดดินที่

ตันหยงมัสมีจุลธาตุเหมาะกับการปลูกลองกองจึงทำใหมี

กล่ินหอม และรสชาติหวานอรอยกวาพื้นที่อื่น เมื่อรูวา

ดินทำใหลองกองมีคุณลักษณะที่โดดเดนแตกจากที่อื่น

คณะทำงานจึงไดเชิญหัวหนาสถานีพัฒนาที่ดินจังหวัด

นราธิวาสมาสอนเรื่องดิน แผนที่ชุดดินในนราธิวาสเปน

อยางไร ทำไมตองมีการบำรุงรักษาดิน และลงไปถึงการ

เรียนรูเรื่องโรค และแมลงท่ีมีผลทำใหลองกองเสียหาย

โดยเปนเวทแีลกเปลีย่นเรยีนรูของวทิยากรและเกษตรกร

ผูมีประสบการณอีกดวย

สืบคนงานวิจัย

เม่ือเห็นวาการเตรียมการแกไขปญหาลองกอง

อาจไมสามารถแกไขดวยวิธีการเดิมๆ ได นายปกรณ

ปรีชาวุฒิเดช และบุคลากรวิทยาลัยชุมชนนราธิวาสจึง

เริ่มศึกษาจากเอกสารสรุปผลการสัมมนาการพัฒนาการ

ผลิตและการจัดการลองกองในภาคใต (สำนักงานคณะ

กรรมการวิจัยแหงชาติ, ๒๕๔๗) และเดินทางเขาไปพบ

นักวิจัยเรื่องลองกองจากสถาบันอุดมศึกษาในเครือขาย

อุดมศึกษาภาคใตตอนลางท่ีอยู ไมไกลจากท่ีวิทยาลัย

ชุมชนนราธิวาสตั้งอยูมากนัก

จากการคนควาในหองสมุดงานวิจัย พบวามีนัก

วิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวในประเทศไทยเปนกลุม

เครือขายที่มีการประชุมสัมมนารวมกันทุกป อาทิเชน

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยพระจอมเกลา

ธนบุรี มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยเชียงใหม

มหาวิทยาลัยทักษิณ นอกจากน้ียังพบงานวิจัยที่เกี่ยวกับ

ลองกองหลายช้ินที่มีคุณคาในการพัฒนาการจัดการ

ผลผลิตลองกอง ดวยการใชเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

(Post-harvest Technology) ที่มีองคความรูอยู ใน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 92

Page 94: Community College Dynamic of Development

ประเทศไทย และสวนใหญพื้นที่ในการทดลองกลับอยูที่

ภาคตะวันออกของประเทศ

“ผมไดพยายามศึกษาจากนักวิจัยพรอมๆ กับ

เรียนรูกับเกษตรกรผูมีประสบการณในการปลูกลองกอง

ในชุมชนมานาน และไดไปพบนักวิจัยที่อยูพื้นที่ใกลเคียง

กับจังหวัดนราธิวาส ๒ ทาน ทานหนึ่งอยูมหาวิทยาลัย

ทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ชื่อ ดร.สมัคร แกวสุกแสง ได

ทำการวิจัยเก่ียวกับการยืดระยะเวลาลองกองหลังการ

เก็บเกี่ยว ซึ่งไดทำวิจัยและมีองคความรูรวมกับเครือขาย

นักวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเก่ียว อีกทานหน่ึงเปน

อาจารยอยูที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขต

หาดใหญ ชื่อ ดร.มุทิตา มีนุน ทำวิจัยเก่ียวกับการแปร

รูปผลิตภัณฑลองกองที่สำเร็จ แลวนำมาใชถายทอด

เทคโนโลยสีูชมุชนในพืน้ทีจ่รงิ” ผอ.ปกรณ เลาถึงวิธีการ

สืบเสาะหาความรู

จากงานวิจัยและการถายทอดความรูจากนักวิจัย

ที่วิทยาลัยชุมชนนำชาวสวนลองกองรวมเรียนรู พบวา มี

วิธีการยืดอายุการเก็บเก่ียวลองกองหลายวิธี แตวิธีที่

ชุมชนสามารถเรียนรูและนำไปใชไดเอง ทำใหชาวสวน

ลองกองสามารถยืดระยะหลังการเก็บเกี่ยวจาก ๓ วัน

เปน ๑๒ วัน โดยการใชสาร “ไคโตซาน” ซึ่งเปนสาร

โพลิเมอรธรรมชาติที่สกัดไดจากเปลือกกุง ปู แกนปลา

หมึก สามารถฝกทำไดดวยตัวเองและมีขายตามรานคา

อุปกรณการเกษตรทั่วไป วิธีใชงานก็นำสารไคโตซานฉีด

พนลองกองในชวงที่ลองกองเปลี่ยนจากชอดอกเปนลูกสี

เขียว ซึ่งไคโตซานยังสามารถแกปญหาจุดดางดำที่

เปลือกผิวไดอีกดวย เมื่อสามารถยืดอายุลองกอง และ

แกปญหาผิวดางดำที่เปลือกได เกษตรกรก็มีโอกาสใน

การขายมากข้ึน

ผูเรียนมีสวนรวม เนนลงมือปฏิบัติจริง

ดานนายรอเฮม เจะแว เกษตรกรผูปลูกลองกอง

วัย ๕๗ ป ผูเขารับหลักสูตรฝกอบรมการพัฒนาผลผลิต

และการจัดการลองกองนราธิวาสเลาถึงความเปนมาใน

การเขาฝกอบรมกับวิทยาลัยชุมชนวา ในอดีตการขาย

ลองกองจะมีพอคาคนกลางมารับซื้อผลไมถึงสวน แต

เนื่องจากปญหาความไมสงบในจังหวัดนราธิวาส ทำให

ผูซื้อไมกลามาซ้ือผลไมที่สวน ธรรมชาติของลองจะอยู

ได ๓ วัน หรืออยางมาก ๕ วัน นับหลังจากเก็บผลผลิต

กองลองก็จะมีผลเห่ียว เปลือกผิวเปนสีน้ำตาลดำ หมด

สภาพการขาย ซึ่งเปนปญหาที่สรางความเดือดรอนให

เกษตรกรมาก เมื่อรูวาวิทยาลัยชุมชนเปดสอนหลักสูตร

เกี่ยวกับการพัฒนาผลผลิตลองกองฯ ตนและเพ่ือน

เกษตรกรรวม ๓๐ คน จึงเขาไปสมัครเรียนที่วิทยาลัย

ชุมชนนราธิวาส

หลักสูตรการเรียนการสอนจะใชเวลาเรียน ๙๐

ชั่วโมง โดยจะเรียนครั้งละ ๓ ชั่วโมง และผูเรียนเปนคน

กำหนดวัน เวลา และสถานท่ีในการเรียนเอง คุณลุง

รอเฮมเลาถึงการจัดการเรียนการสอนดวยความชื่นชม

วา เนื่องจากตนและเพ่ือนๆ เกษตรกรตองทำงานหา

เลี้ยงชีพเปนหลัก การที่จะเอาเวลางานมาเรียนจึงเปนไป

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 93

Page 95: Community College Dynamic of Development

ไดยาก การที่ผูเรียนสามารถกำหนดเวลาเรียนเองได จึง

ทำใหตนมีโอกาสไดมาศึกษาหาความรูเพิ่มเติม

ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาลัยชุมชนจะพา

ผูเรียนไปเรียนรูจากแหลงปลูก บางคร้ังก็พาไปศึกษาดู

งาน กระบวนการจัดการเรียนการสอนจะเนนผูเรียนเปน

สำคัญ คุณลุงรอเฮมเลาวา การจัดการเรียนการสอนจะ

เนนการจัดกิจกรรมการเรียนรูหลากรูปแบบ เชน การ

ตั้งวงเปนเวทีเสวนาใหกลุมเกษตรกรกับวิทยากรใหแลก

เปล่ียนเรียนรูกัน ใครมีขอสงสัยอะไรก็ถามตรงเวที การ

เรียนรูแบบนี้ทำใหตนและเพื่อนๆ รูสึกสนุกและไม

เบื่อหนายกับการเรียน

นอกจากนั้นวิทยาลัยชุมชนยังไดพาผูเรียนไป

ทัศนศึกษาที่แหลงความรูตางๆ เชน การไปศึกษาดูงาน

ที่มหาวิทยาลัยทักษิณ จ.พัทลุง ซึ่งวันนั้นทำใหตนได

ความรูหลายเร่ือง เชน เทคนิคการยืดระยะลองกองหลัง

การเก็บเก่ียว เรือ่งมาตรฐานและคุณภาพทางจุลชวีวทิยา

ของผักและผลไมเพื่อการสงออก ซึ่งเวทีความรูวันนั้นถือ

เปนการแลกเปลี่ยนความรูระหวางนักวิจัยในหองทดลอง

กับกลุมเกษตรกรตัวจริง ผลสรุปก็คือตนไดความรูกลับ

มาพัฒนาสวนของตน

ปจจุบันนี้คุณลุงรอเฮมไดนำความรูที่ไดจากการ

ฝกอบรมมาใชพัฒนาสวนกองลองของตน ทำใหมี

ผลผลิตเพ่ิมขึ้นจากเดิมประมาณรอยละ ๒๐ แตสิ่งที่

สำคัญท่ีสุดคือ การมีโอกาสในการขายลองกองมากข้ึน

จากในอดตี สดุทายคณุลงุรอเฮมไดฝากขอบคณุวทิยาลยั

ชุมชนนราธิวาสท่ีไมทอดท้ิงกลุมเกษตรกร แมตนและ

เพ่ือนๆ จะเรียนจบ แตก็ยังมาติดตามผล สอบถาม

ความตองการของชาวบานอยูเสมอ

การศึกษาท่ีตอเช่ือมไปถึงโอกาสพัฒนาชีวิต

การชวยเหลือเกษตรกรในการแกไขปญหาลอง

กองไมไดยุติเพียงเทานี้ วิทยาลัยชุมชนไดทำหนาที่เปน

ตัวกลางในการประสานหนวยงานราชการ สถาบันการ

ศึกษา และเกษตรกรแกนนำ เพ่ือหาแนวทางรวมกันใน

การแปรรูปลองกองเพ่ือแกปญหาราคาผลิตตกต่ำในปที่

ลองกองลนตลาด อีกทั้งยังเปนเพิ่มมูลคาใหกับผลิตผล

ของชาวบานอีกดวย

ลองกองเปนผลไมที่แปรรูปยากมาก เนื่องมีน้ำ

อยูประมาณรอยละ ๙๐ และมีความเปรี้ยวไมมาก

ดังน้ันการท่ีแปรรูปลองกอง คณะทำงานจะเร่ิมศึกษา

จากคนที่มีประสบการณจริง ทั้งจากนักวิจัย และคนใน

พื้นที่ที่เขาเคยแปรรูปลองกองประสบผลสำเร็จมาแลว

พบวาเราสามารถแปรรูปลองกองไดหลายอยาง เชน

ลองกองผง น้ำลองกอง และการทำแยม เปนตน

สำหรับหลักสูตรในการแปรรูปผลิตลองกองกำลังอยูใน

ขั้นตอนศึกษาขอมูล และพัฒนาหลักสูตรตอไปใน

อนาคต

ดานการขายวิทยาลัยชุมชนพบวา แตเดิมมีการ

ขายลองกองแบบเก็บลูก แตปจจุบันนิยมขายเปนชอ ชอ

ที่มีน้ำหนัก ๗๐๐ กรัม ถือเปนเกรดเอ ราคาดี แตชอ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 94

Page 96: Community College Dynamic of Development

ไหนน้ำหนักนอยกวา ๗๐๐ กรัม เปนเกรดสอง ซึ่งแทที่

จรงิแลวเวลารบัประทานรสชาตอิรอยเหมอืนกนั วทิยาลยั

ชุมชนไดเขาไปคุยกับพาณิชยจังหวัด ทำใหวิทยาลัย

ชุมชนทราบเทคนิคการขายในตลาดใหม กลาวคือจาก

ความสำเร็จที่สามารถยืดอายุลองกองหลังการเก็บเกี่ยว

ไดนาน ๑๒ วัน ระยะเวลาในการขายก็จะมากข้ึน จึงทำ

ใหมีชองทางในการขายลองกองในรูปแบบ ”ของฝาก”

กลาวคือกลุมเกษตรกรสามารถนำลูกลองกองที่รวงๆ

มาใสกลองจัดเปนแพ็คเก็ตใหสวยงาม ซึ่งจากอดีตการ

ขายลองกองลูกรวงเปนเร่ืองปกติของชุมชนในนราธิวาส

เพราะเปนลูกท่ีหวานทานอรอย แตปจจุบันผูบริโภคจะ

ซื้อเปนชอทั้งที่เราทานผลเปนลูกๆ ซึ่งแกไขปญหาเร่ือง

มดดำที่เกาะตามชอลองกองไปดวย ดังน้ันดวยความรู

ดานเทคโนโลยีหลังการเก็บเก่ียว เชน ทำลูกเด่ียวติดข้ัว

คัดขนาดลูกเทาๆ กัน อาจเปล่ียนรูปแบบการขายใหเปน

สินคาที่ซื้อไปฝากคนอ่ืน

ปจจุบันหลักสูตรการพัฒนาผลผลิตและการ

จัดการลองกองนราธิวาสจะเปดสอนในเดือนพฤษภาคม

ของปโดยประมาณ เนื่องจากลองกองเปนผลไมตาม

ฤดูกาลที่จะออกในชวงเดือนสิงหาคมถึงกันยายน

หลักสูตรนี้ จึ ง เปดสอนกอนที่ผลผลิตออกสูตลาด

ประมาณ ๓ เดือน เพ่ือใหผูเรียนไดนำความรูที่ไดรับ

จากการเรียนไปใชไดทันทวงที นอกจากน้ีวิทยาลัยชุมชน

นราธิวาสไดลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือกับ

โรงเรียนดารุสสลามที่มีผู เรียนมาจากชุมชนรอบใน

ต.ตันหยงมัส อ.ระแงะ มากกวา ๔,๐๐๐ คนเมื่อเดือน

สิงหาคม ๒๕๕๒ เพ่ือรวมกันตอยอดการเรียนรูขยายผล

ไปสูชุมชนรอบๆ เพิ่มขึ้นและสรางเยาวชนท่ีตระหนักถึง

ทรัพยากรทองถ่ินและแนวคิดการพัฒนาชุมชนตนเอง

ตอไป

กวา ๗ ปที่ผานมาจะเห็นวา การจัดการศึกษา

ของวิทยาลัยชุมชนไมไดเพียงใหโอกาสทางการศึกษา

เทานั้น แตวิทยาลัยชุมชนนราธิวาสใหโอกาสการเรียนรู

ใหความรูที่สามารถนำมาประกอบอาชีพ เพ่ือพัฒนา

คุณภาพชีวิตท่ีดีกวาของคนในชุมชน หลักสูตรการ

พัฒนาผลผลิตและการจัดการลองกองนราธิวาส จึงเปน

อีกบทพิสูจนหนึ่งที่สะทอนใหเห็นวา วิทยาลัยชุมชน

นราธิวาสจัดหลักสูตรนี้ ไมใชเพราะวาเปนผูเชี่ยวชาญ

หากแตคณะทำงานเรียนรูที่จะเปนผูจัดการกระบวนการ

เรียนรู ใหเกิดขึ้น นี่คือสิ่งท่ีเกิดขึ้นในรั้ววิทยาลัยชุมชน

นราธิวาส

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 95

Page 97: Community College Dynamic of Development

การแปรรูป “น้ำมันมะพราวบริสุทธิ์” ผลิตภัณฑที่สรางมูลคาเพ่ิมกวา ๘ เทา

นราธิวาสเปนจังหวัดติดชายทะเล และพื้นที่ปลูก

มะพราวใน ๕ อำเภอ สำนักงานเกษตรจังหวัดใหขอมูล

วามีพื้นที่เพาะปลูกที่ใหผลแลวประมาณ ๓๐,๐๐๐ ไร

โดยเฉพาะในอำเภอตากใบ มีมะพราวคอนขางมาก ซึ่งที่

ผานมาเกษตรกรสวนมะพราวจะขายมะพราวมี ๒ แบบ

คือ หน่ึง ขายเนื้อมะพราวตากแหง ตกกิโลกรัมละ ๗

บาท แบบที่สอง คือการขายลูกมะพราว ตกลูกละ

๑.๕๐ บาทเทานั้นเอง และมีตลาดรับซื้อหลักอยูที่

จังหวัดชุมพร

วิทยาลัยชุมชนนราธิวาสจึงเชิญอาจารยกนิษฐ

สุวรรณประสิทธ์ิ สถาบันพัฒนาอาหารอยางยั่งยืน และ

ที่ปรึกษาดานเศรษฐกิจและสังคม ศูนยอำนวยการ

บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต มาใหความรูเรื่องหวงโซ

เศรษฐกิจของมะพราวแกทีมงานพัฒนาหลักสูตร ใหมี

ความเขาใจมิติการพัฒนาชุมชนภายใตแนวคิดวา

มะพราวคือสินทรัพยของชุมชน เปนตนหวงโซเศรษฐกิจ

ของชุมชน ตั้งแต ตนน้ำ กลางน้ำ ระหวางลำน้ำ จาก

ครัวเรือนถึงเครือขายอุตสาหกรรมและการตลาดปลาย

น้ำ โดยทุกสวนของมะพราวไมมีเหลือทิ้ง (Zero waste)

เพื่อสงเสริมชุมชนใหรูจักการแปรรูปมะพราวใหเกิด

มูลคาเพิ่ม อาทิ ทางมะพราวและใบมะพราว นำไปมุง

หลังคาบาน เครื่องจักสาน เปลือกมะพราว แปรรูป อัด

เปนถานใหพลังงาน ปุยหมักชีวภาพ ขุยมะพราว แปรรูป

ทำท่ีเพาะกลาตนไม ใยมะพราว แปรรูป ทำเฟอรนิเจอร

แผนพาติเคิล ทำเบาะที่นอน กะลามะพราว แปรรูป

เครื่องประดับสตรี กระดุม โคมไฟตกแตงบาน และเชิญ

อาจารยพงษศักดิ์ ธำรงรัตนศิลป ประธานเครือขาย

เกษตรอินทรียจังหวัดสระแกวและท่ีปรึกษาสำนักบริหาร

งานวิทยาลัยชุมชน มาถายทอดการพัฒนาเครือขาย

ชุมชนตามแนวทางเกษตรอินทรีย เพ่ือมุงหวังในการ

สรางเศรษฐกิจของพ้ืนที่และสังคมที่เขมแข็ง

จากนั้นไดเริ่มตนพัฒนาหลักสูตรน้ำมันมะพราว

บริสุทธิ์ดวยกรรมาวิธีการสกัดเย็น หรือไมผานความ

รอน เพ่ือรักษาคุณคาทางโภชนาการ โดยความรวมมือ

กับโรงเรียนบานกูบูและเครือขายชุมชน “กลุมสตรีบาน

กูบู” อำเภอตากใบ จำนวน ๓๐ คน ใชระยะเวลาฝก

อบรม ๓ เดือน

ปจจุบันกลุมสตรีบานกูบูสามารถผลิตน้ำมัน

มะพราวบริสุทธิ์เปนอุตสาหกรรมครัวเรือนไดแลว และ

หลังจากทดลองจำหนาย ปรากฏวาไดรับการตอบรับจาก

ผูซื้อที่ดี กลุมสตรีบานกูบูยังรวมเรียนรูพัฒนาผลิตภัณฑ

กับวิทยาลัยชุมชนนราธิวาสอีกหลายหลักสูตร เชน การ

ขออนุญาตข้ึนทะเบียนหรือขอเคร่ืองหมาย อย. จาก

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา การออกแบบ

บรรจุภัณฑ การทำบัญชีตนทุนและบัญชีครัวเรือน

เปนตน

จะเห็นไดวา ภารกิจของวิทยาลัยชุมชนนั้นมี

ความยืดหยุน ปรับใหสอดคลองกับความสนใจและความ

ตองการของชุมชนเปนสำคัญ โดยมีปลายทางท่ีความ

เขมแข็งของชุมชนบนฐานความรูนั่นเอง

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 96

Page 98: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 97

Page 99: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 98

Page 100: Community College Dynamic of Development

สถานการณความไมสงบใน ๓ จังหวัด

ชายแดนภาคใต สงผลใหเกิด

ปญหาดานเศรษฐกิจ และนำไปสูปญหาดานสังคมในวง

กวาง ระบบเศรษฐกิจใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใตมี

การถดถอยอยางหนักไมมีการลงทุนในธุรกิจใหม โดย

เฉพาะผูประกอบการรายยอยไดรับผลกระทบ ตาง

ทยอยลมเลิกกิจการ เกิดการวางงานเน่ืองจากไมมีความ

รูเรื่องการตลาด ซ่ึงเปนสาเหตุใหเกิดปญหาดานสังคมที่

ทวีความรุนแรงมาก

ดวยตระหนักในบทบาทและหนาที่ของสถาบัน

อุดมศึกษาท่ีจัดการศึกษาเพ่ือตอบสนองความตองการ

ของชุมชนและสังคม ในป ๒๕๕๐ วิทยาลัยชุมชนยะลา

จึงพัฒนาหลักสูตร ”แผนการตลาดภาคปฏิบัติความรูสู

การประกอบอาชีพ” เพื่อสนับสนุนและชวยเหลือ

ผูประกอบการขนาดยอยในชุมชน ใหสามารถจัดการกับ

ผลผลิตหรือสินคาในชุมชนสูทองถ่ิน และตลาดสากลได

นายจรูญ พรหมสุข ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน

ยะลากลาววา จากปญหากอการรายใน ๓ จังหวัดทาง

ภาคใต สงผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูและการ

ประกอบอาชีพของประชาชนในวงกวาง ธุรกิจที่มีอยู

เดิมๆ ปดกิจการ โดยเฉพาะผูประกอบการรายยอย

วิทยาลัยชุมชนจึงเขาไปเก็บขอมูลเชิงลึก และผลของ

การวิเคราะหขอมูลพบวา นอกจากปจจัยเรื่องปญหา

ความไมสงบในจังหวัดแลว ยังมีอีกหนึ่งปจจัยสำคัญที่ทำ

ใหผูประกอบการไมประสบความสำเร็จในอาชีพ นั้นคือ

การขาดความรูเรื่องการวางแผนการตลาด

“ผูประกอบการสวนใหญในจังหวัดลวนแตมี

ความรูความชำนาญในอาชีพที่เขาทำอยูแลว แตที่ ไม

ประสบความสำเร็จ เพราะผูประกอบการทำการตลาด

ไมเปน ยังคงขายสินคาแบบเดิมๆ วิทยาลัยชุมชนจึง

อยากจะชวยผูประกอบการไดนำความรูดานการตลาดไป

ใชพัฒนาสินคาและบริการของตนใหดีขึ้น” ผอ.จรูญ

กลาว

หลกัสตูรการตลาดฯ สรางเจาของกิจการ

ในการฝกอบรมหลักสูตรแผนการตลาดจะเนน

กระบวนการเรียนรูแบบปฏิบัติ ที่ผูเรียนสามารถนำไปใช

ประกอบการไดทันที โดยวิทยาลัยชุมชนจะเชิญอาจารย

พิเศษท่ีมีความรูความสามารถตรงกับสาขาวิชา และมี

คุณวุฒิปริญญาโท หรือมีประสบการณตรงในวิชาชีพที่

สอนมาเปนอาจารยพิเศษ เพื่อใหจัดกระบวนการเรียนรู

ไดอยางดีและมาตรฐาน โดยหลักสูตรนี้วิทยาลัยชุมชน

ไดเชญิคณุสมคดิ ธรรมฤกษฤทธ์ิ กรรมการสภาวิทยาลัย

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 99

Page 101: Community College Dynamic of Development

ชุมชนยะลาและนักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จในการทำ

ธุรกิจสิ่งพิมพมาเปนวิทยากรถายทอดความรูและ

ประสบการณจากการทำธุรกิจ

ครั้งแรกในการเปดหลักสูตรน้ีมีผูสนใจมาสมัคร

เรียน ๓๐ คน โดยผูเรียนสวนใหญมีธุรกิจสวนตัว เชน

ขายอุปกรณเคร่ืองเขียน ขายอุปกรณอิเล็กทรอนิกส

ขายเคร่ืองหนัง และทำขนมขาย เปนตน

นางซูไฮลา สือธีรลักษณ อาจารยผูดูแลพัฒนา

หลักสูตรฝกอบรมกลาววา เนื้อหาหลักสูตรเร่ิมตั้งแต

การปรับพื้นฐานความรูของผูเรียน การเรียนเร่ืองหลัก

การตลาด สวนผสมการตลาด การสำรวจและการวิจัย

การตลาด การวางแผนการตลาด และการเขียนแผน

การตลาด เปนตน โดยทุกชั่วโมงผูเรียนจะไดฝกปฏิบัติ

เกี่ยวกับกับเนื้อหาที่เรียนในชั่วโมงนั้น แลวนำเสนอหนา

ชั้นเรียน

“ที่วิทยาลัยชุมชนไมไดสอนแตความรู แตเนน

สอนใหผูเรียนสามารถนำไปรู ไปประกอบอาชีพ การ

ออกแบบการสอนจึงตองเนนการปฏิบัติ หลายคนมองวา

หลักสูตรการตลาดสวนใหญเปนทฤษฎี ไมมีปฏิบัติ แลว

ผูเรียนจะนำความรูเหลานั้นไปใชจริงไดแคไหน ปญหา

ขอน้ีเปนเรื่องแรกๆ ที่วิทยาลัยชุมชนขบคิด และวาง

แนวทางการปฏิบัติงานไวแลว กลาวคือในกิจกรรมการ

เรียนการสอนจะถูกออกแบบใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติจริง

ทุกขั้นตอน ยกตัวอยางเชน เรียนเร่ืองการวิจัยการตลาด

ผูเรียนจะตองลงสำรวจตลาดเพ่ือหาขอมูลที่แทจริงใน

เรือ่งความตองการของลูกคา วเิคราะหตวัเอง คูแขง และ

ลูกคา โดยสวนใหญผูเรียนจะเลือกวิเคราะหสินคาและ

บริการท่ีตนประกอบอาชีพอยู พอทายช่ัวโมงอาจารยจะ

ใหผูเรียนนำเสนอหนาชั้นเรียน โดยมีครูผูสอนใหคำแนะ

เปนรายบุคคล พอจบหลักสูตรผูเรียนจะมีแผนการตลาด

เปนของตัวเองโดยไมรูตัว” อ.ซูไฮลากลาว

มีวันน้ีไดเพราะวิทยาลัยชุมชน

ดานนางอาซีเยาะ มาฮะ ผูเขารับการฝกอบรม

หลักสูตรการทำขนมและการตลาดเลาวา แตเดิมตน

อาชีพทำขนมปงขายสงตามหมูบานตอนเชาๆ เพ่ือกินกับ

แตออ (หรือชาหวาน) กาแฟ และโรยตี รายไดพอมีพอ

กิน แตเมื่อตนเขาฝกอบรมหลักสูตรระยะส้ันสอนทำ

ขนมและไดเรียนรูเรื่องหลักการตลาดจากวิทยาลัยชุมชน

ยะลา ทำใหทุกวันน้ี ตนสามารถขยายกิจการทำขนมสง

ตลาดครอบคลุม ๔ จังหวัดภาคใตตอนลาง และกำลัง

ติดตอตลาดมาเลเซียเพ่ือสงขายออกนอกประเทศ

ความเปลีย่นแปลงครัง้ยิง่ใหญในชวีติของอาซเียาะ

เริ่มขึ้นจากวันหน่ึงอาซีเยาะไดยินขาวประชาสัมพันธจาก

วิทยุและปายประกาศตามที่ตางๆ วา มีวิทยาลัยชุมชน

ยะลาเปดรับสมัครประชาชนท่ัวไปเขาเรียนหลักสูตรฝก

อบรมหลากหลายหลักสูตรตามความตองการของชุมชน

และหน่ึงในน้ันมีหลักสูตรการทำขนม อาซีเยาะจึงสนใจ

เขาไปสมัครเรียนทำขนมท่ีวิทยาลัยชุมชน

เวลาผานไปไมนาน เจาหนาที่วิทยาลัยชุมชน

ยะลาไดติดตอกลับมาใหอาซีเยาะมาเรียนทำขนมได

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 100

Page 102: Community College Dynamic of Development

โดยหลักสูตรที่สอนประกอบไปดวย การทำขนมปง

โดนัท ขนมปงแหง กะหร่ีปบ ซาลาเปา นอกจากสอนทำ

ขนมแลววิทยาชุมชนยังสอนเร่ืองการวางแผนการตลาด

โดยสอนวากอนจะลงมือทำธรุกิจตองทำการวิเคราะห

สินคา ๓ ดาน คือ วิเคราะหตัวเอง วิเคราะหคูแขง และ

วิเคราะหลูกคา กอนเปนสำคัญ

• วิเคราะหตัวเอง เริ่มจากการวิเคราะหจุดออน

จุดแข็งในดานตางๆ ของตนเอง อาทิเชน ทำเลที่ตั้ง ตัว

สินคา ราคา ชองทางการจัดจำหนวย การสงเสริมการ

ตลาด ตนทุน กำไร เปนตน

• วิเคราะหคูแขง เปนการวิเคราะหขอมูลคูแขง

ทั้งทางตรงและทางออม กลาวคือคูแข็งทางตรงคือการ

ขายสินคาชนิดเดียวกัน สวนคูแขงทางออมคือ ขาย

สินคาตางชนิดกัน แตมีลูกคากลุมเดียวกัน

• วิเคราะหลูกคา เปนการกำหนดกลุมเปาหมาย

วา ลูกคาตองการอะไร ชอบกินอะไร ซื้อท่ีไหน ซื้อ

เมื่อไร ซื้ออยางไร เพื่อทราบพฤติกรรมผูบริโภค

เมื่อเรียนจบตามหลักสูตรแลว อาซีเยาะไดนำ

ความรูที่ไดรับจากการฝกอบรมมาพัฒนาสินคาของตน

จากเดิมขายขนมปงอยางเดียว ก็เพิ่มขนมเปน ๓ อยาง

แลวทำการปรับปรุงบรรจุภัณฑ และมีตราอัสลีนา (ชื่อ

ลูกสาว) พรอมเบอรโทรศัพทติดตอ ขับรถโชเลยสงขนม

ขายรวมกับสามี (รถจักรยานยนตพวงทาย) โดยทำการ

ขยายฐานลูกคาไปตามหมูบานใกลเคียง

ดวยรสชาติความอรอยของขนมบวกกับการใช

ความรูเร่ืองการตลาดแบบงาย โดยการตดิเบอรโทรศัพท

ที่หอขนม ทำใหลูกคาสามารถโทรศัพทมาสั่งขนมกับอา

ซีเยาะไดโดยตรง ไมตองผานรานคา ราคาก็จะถูกลง

สวนอาซีเยาะก็มีกำไรเพิ่มขึ้น จากเดิมวันละ ๓๐๐ บาท

กลายเปน ๕๐๐ บาทตอวัน และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

ขนมปงของอาซีเยาะเร่ิมมีคนรูจักมากขึ้น จาก

ตลาดในหมูบานขยายไปสูระดับตำบล อำเภอและจังหวัด

กิจการเร่ิมขยายมากข้ึน ปจจุบันอาซีเยาะทำขนมสง

ตลาดครอบคลุม ๔ จังหวัดภาคใตตอนลาง และกำลัง

ติดตอตลาดมาเลเซียเพ่ือสงขายออกนอกประเทศ

สุดทายอาซีเยาะไดกลาวขอบคุณวิทยาลัยชุมชน

วา “ถาไมมีวิทยาลัยชุมชนยะลา ดิฉันคงไมไดเรียน และ

ไมมีการเปล่ียนแปลงความรู ชีวิตคงไมไดประสบความ

สำเร็จเชนทุกวันนี้ ตองยอมรับวาหลักสูตรที่วิทยาลัย

ชุมชนเปดสอนนั้นดีมีคุณภาพ และสามารถนำไปใชใน

ชีวิตไดจริง”

ไดเพื่อน ไดสังคม ไดเครือขาย

ภายในรั้ววิทยาลัยชุมชนยะลาไมไดมีเพียงแค

ความรูที่มอบใหผูเรียนเทานั้น แตยังมีภาพความงดงาม

ในหองเรียนวิทยาลัยชุมชนท่ียากจะหาสถาบันการศึกษา

ไหนเหมือน นายธวัช บุญศาสตร นักศึกษาหลักสูตร

อนุปริญญาโปรแกรมวิชาเทคโนโลยีการเกษตร กลาววา

สิ่งที่ผมสัมผัสไดจากวิทยาลัยชุมชนยะลา และรูสึกดี

ที่สุดคือ เปนแหลงเรียนรูที่ราคาถูกมาก เมื่อเปรียบ

เทียบกับสถาบันการศึกษาอ่ืน ไดรับความรูมากมายเปด

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 101

Page 103: Community College Dynamic of Development

กวาง และใหโอกาสกับคนทุกระดับไมวาจะเปนเด็ก

เยาวชน คนสูงอายุ เขาเรียนชวยแรกๆ คิดวาตัวเองจะ

อายุมากแลว แตปรากฏวายังมีคนอายุมากกวาผลอีก

หลายป อายุ ๗๐ กวาปยังมาเรียน ซึ่งผมถือวาบุคคล

เหลานี้เปนแบบอยางท่ีดี เปนส่ิงท่ีสะทอนใหเห็นวาการ

เรียนรูไมมีคำวาสาย ฉะนั้นใครก็ตามที่ยังไมมีโอกาสเขา

มาสูสถาบันแหงน้ี ถามีโอกาสอยากใหไดมาเรียน ซึ่งจะ

รูสึกภาคภูมิใจในสถาบันแหงน้ี

“ผูที่มาเรียนที่นี่มีความหลากหลายและแตกตาง

กันคอนขางมากไมวาจะเปนดานอายุ อาชีพ ซึ่งตอนแรก

คาดวานาจะมีปญหา แตจริงๆ แลวไมมีปญหา และยัง

เกิดความผูกพันในหองเรียน ชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ได

แลกเปล่ียนความรูระหวางกัน และบูรณาการรวมกัน ได

ชวยเหลือเกื้อกูล ทำใหมีความแนนแฟนมากย่ิงขึ้น” นาย

ธวัช กลาว

ผอ.จรูญกลาววา เสนหของวิทยาลัยชุมชนที่ไมมี

สถาบันใดเหมือนอีกเร่ืองหน่ึงคือ นักศึกษาของวิทยาลัย

มาจากหลายชุมชนหลายพ้ืนที่ หลายสาขาอาชีพ มีความ

แตกตางในเรื่องเพศ วัย ฐานะ ความรู พื้นฐานประสบ-

การณ ความสามารถ ศักยภาพ เมื่อไดรูจักกันมีการ

แลกเปล่ียนถายทอดแกกัน ไดรูไดเห็นถึงความสามารถ

ศักยภาพของแตละคน ทำใหเกิดการรวมตัวและรวมมือ

กันดำเนินงานดานตางๆ สรางประโยชนใหแกกันและกัน

และพัฒนาเปนเครือขายของนักศึกษาขึ้น

“บุคลากรทุกคนของวิทยาลัยชุมชนยะลาจะ

นับถือกัน เปนครูกับลูกศิษย เปนพี่เปนนอง เปนญาติ

สนิท มิตรสหาย ที่มีความปรารถนาดีตอกัน นับตั้งแต

ผูอำนวยการ ครูอาจารย กรรมการสภาฯ เจาหนาที่ ซึ่ง

ทุกคนเปนผูมีความรูความสามารถ มีบทบาทดานตางๆ

ในสังคม ทำใหนักศึกษามีผู ใหคำปรึกษาแนะนำ ชี้

แนวทาง ชวยแกไขปญหา เชน นักศึกษาไมมีความรูดาน

กฎหมายแตมโีอกาสไดรูจกักบัอาจารยซึง่เปนทนายความ

จึงทำใหมีที่ปรึกษาทางกฎหมายไดงายข้ึน ทั้งที่ปกติการ

ติดตอขอคำปรึกษากับทนายความถือเปนเร่ืองใหญยุง

ยากสำหรับบุคคลท่ัวไป ซึ่งทำใหเกิดความผูกพันและ

หลอมรวมเปนกลุมบุคคลในแบบเครือขายเชนกัน” ผอ.

จรูญกลาวทิ้งทาย

จะเห็นไดวาวิทยาลัยชุมชนกอใหเกิดสายใยความ

เช่ือมโยงทั้งในแนวระนาบ คือ ระหวางนักศึกษาดวย

กันเอง หรือในแนวต้ัง คือ ระหวางนักศึกษากับครู

อาจารย ผูหลกัผูใหญ และพฒันาสูความเปนเครอืขายท่ี

ขยายวงกวางออกไปเร่ือยๆ เหมือนใยแมงมุมหลายๆ ชัน้

ซอนกันเชนนี ้ยอมเปนความสวยงามท่ีเกิดขึ้นในสังคม

และในท่ีสุดเครือขายเหลานี้ก็จะกลายเปนผูทำหนาที่ใน

การพัฒนาชมุชนและสังคมของเมืองยะลาตอไป

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 102

Page 104: Community College Dynamic of Development

หลักสูตร “ขับรถขุดไฮดรอลิก” สรางอาชีพ แกปญหาขาดแคลนแรงงาน

แมปจจุบันทุกฝายท่ีเกี่ยวของจะพยายามคล่ีคลายสถานการณความไมสงบ

ในจังหวัดยะลา แตเหตุการณความไมสงบยังคงรอนระอุ ประชาชนบางสวนยาย

ออกจากจังหวัด ทำใหแรงงานในจังหวัดยะลาขาดแคลนหลากอาชีพ สงผลใหสถาน

ประกอบการหลายแหงประสบปญหาขาดแคลนแรงงาน

ในป ๒๕๕๑ สถานประกอบการอุตสาหกรรมการกอสรางในจังหวัดยะลา

มีความตองการพนักงานขับรถขุดไฮดรอลิก แตดวยปญหาความรุนแรงใน ๓

จังหวัดชายแดนภาคใต กรมการจัดหาแรงงานจังหวัดไมสามารถจัดหาพนักงาน

เหลานี้ใหกับสถานประกอบการจึงขอความรวมมือยังวิทยาลัยชุมชนยะลาใหชวยจัด

หลักสูตรฝกอบรม”การขับรถขุดไฮดรอลิก”

หลักสูตรการฝกอบรม “ขับรถขุดไฮดรอลิก” เปนหลักสูตรปฏิบัติที่ตองใช

รถขุดไฮดรอลิกในการจัดเรียนการสอน แตเนื่องจากวิทยาลัยชุมชนกอตั้งขึ้นเพ่ือ

เปนสถาบันการศึกษาที่ไมหวังผลกำไร เปดกวางใหทุกคนในสังคมไดเรียนรูและฝก

ทักษะไปประกอบอาชีพ โดยเก็บคาเลาเรียนเพียงชั่วโมงละ ๑-๕ บาท ทำให

วิทยาลัยชุมชนไมมีงบประมาณในการจัดซ้ือรถขุดไฮดรอลิกที่มีราคาแพงมาก ซึ่ง

ตามปกติสถาบันอื่นจะปฏิเสธการเปดหลักสูตรแบบน้ี เน่ืองจากเปนหลักสูตรที่ไม

คุมทุน และเปนภาระตอองคกร แตวิทยาลัยชุมชนตั้งขึ้นโดยมีวิธีการจัดการศึกษา

และฝกอบรมที่เปนเอกลักษณ ปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลง มีความยืดหยุน

ทั้งดานการเขาเรียน ตารงเรียน สถานที่เรียน และที่สำคัญคือหลักการบริหาร

จัดการใชทรัพยากรท่ีมีอยูทั้งของรัฐ เอกชน และชุมชนใหเกิดประโยชนสูงสุด

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 103

Page 105: Community College Dynamic of Development

ดวยเหตุวิทยาลัยชุมชนจึงมีไดประสานความรวมมือกับหนวยงานตางๆ ใน

พื้นที่ภาครัฐ และเอกชนในจังหวัด เพื่อขอใหทรัพยากรรวมกันในการพัฒนา

หลักสูตรการขับรถไฮโดรลิกขึ้น กลาวคือวิทยาลัยชุมชนยะลาไดประสานความ

รวมมือองคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) ขอยืมใชรถขุดไฮดรอลิกในการฝกอบรม

ซึ่งทาง อบจ. ยะลาก็ใหความอนุเคราะหใหยืมรถขุดไฮดรอลิกมาใชในการสอน

สวนดานครูผูสอนวิทยาลัยชุมชนไดประสานงานไปยังสำนักงานขนสงจังหวัด

และสำนักงานทางหลวงชนบทขอเจาหนาที่ของหนวยงานมาเปนวิทยากรใหความรู

เก่ียวกับการขับขี่ การตรวจเช็คสภาพรถและความรูเบื้องตนในการซอมบำรุง ตลอด

จนการพาผูเรียนไปสอบขอใบอนุญาตขับรถขุดไฮดรอลิก ผูที่ผานหลักสูตรนี้จึงมี

ความรูพรอมที่จะทำงานไดจริง

หลังจากฝกอบรมจบวิทยาลัยชุมชนไดมีการติดตามผลจากผูเรียนพบวา

ผูเรียนสวนใหญไดนำความรูและทักษะการปฏิบัติไดไปประกอบอาชีพ ในสถาน

ประกอบการอุตสาหกรรมกอสราง โดยเร่ิมตนจากการเปนผูชวยคนขบัรถขดุไฮดรอลิก

จะเห็นไดวา วิทยาลัยชุมชนยะลามีสวนรวมในการแกปญหาของชุมชน เพ่ือ

ใหคนในชุมชนมีอาชีพ สงผลใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เปนอีกหนวยงานหน่ึงที่มีสวน

รวมในการสรางสนัตสิขุใหเกิดขึน้ในพืน้ทีจ่งัหวดัชายแดนภาคใต

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 104

Page 106: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชนปตตานี เปลี่ยนนาราง เปนนาแหงรักและ

สามัคคี

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 105

Page 107: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 106

Page 108: Community College Dynamic of Development

ผืนนาที่ถูกทิ้งรางกวา ๒,๐๐๐ ไร เปนเวลากวา

๑๐ ป นอกจากนำสัมมาอาชีพที่เปนของ

บรรพบุรุษจากไปพรอมกับวิถีชุมชนเดิม จนมาถึงวันนี้ ป

๒๕๕๒ จากทุงนารางสุดลูกหูลูกตา เริ่มปรากฏรวงขาว

เขียวปล่ังระบัดใบพล้ิวตามแรงลม ตนขาวเติบโต พรอมๆ

กับพาชีวิตจิตใจคืนสูชุมชนแหงนี้ ที่ตำบลนาเกตุ อำเภอ

โคกโพธิ์ จังหวัดปตตานี

ที่นี่มีเรื่องราวเกิดข้ึนมากมาย เปนการมีสวน

รวมระหวางคนในชุมชนดวยกันเอง และระหวางคนใน

ตำบลกับวิทยาลัยชุมชน กับเรื่องราวที่จะไดบอกเลา

ตอไปนี้

เม่ือแหลงอาหาร กลายเปนนาราง

“แตกอน ทุงนาเกตุ ทุงบอทอง และทุงชะเมา

แถวน้ีมีแตขาว ชวงเดือนธันวาคมถึงมกราคม ทุงนาจะมี

แตตนขาว มองไปไกลสุดลูกหูลูกตา พอเดือนกุมภาพันธ

ถึงมีนาคม ทุงนาจะเต็มไปดวยคน เพราะชาวบานจะไป

ชวยกันเกี่ยวขาว ทุงนาเรานี่แหละที่ปลูกขาวใหคน

ปตตานี เขาวาขาวบานเราดีที่สุด” น้ำเสียงสะทอนความ

ระลึกถึง บรรยายภาพคืนวันเกาๆ ของคุณลุงโตย หรือ

คุณอารี ศักดแกว อดีตชาวนาอาชีพแหงบานนาเกตุ

ปจจุบันเปนหนึ่งในนักศึกษาหลักสูตรพลิกฟนผืนนาราง

ของวิทยาลัยชุมชนปตตานี

ครั้งหนึ่งพื้นที่เกือบท้ังตำบลของตำบลนาเกตุ

เปนแหลงปลูกขาวที่ดีที่สุดของจังหวัดปตตานี ถึงฤดูทำ

นา สุดสายตามองไปท่ีขอบฟา มองเห็นแตสีเขียวของตน

ขาว พอถึงฤดูเก็บเก่ียว ชาวบานทุกหลังคาเรือนจะออก

มาลงแขกชวยกัน จากบานนี้ไปบานนั้น ถอยทีถอยอาศัย

เปนความสุขแบบเรียบงาย แตหาซื้อที่ไหนไมได

แลวอะไรกันที่ทำใหวิถีชีวิตและวิถีของชุมชน

เปล่ียนแปลง ชนิดจากหนามือเปนหลังมือ คำตอบมา

จากคำบอกเลาของกำนันวิบูลย บุญมี กำนันตำบลนา

เกตุแหงนี้

“เกือบ ๑๐ ปกอน การปลูกยางพารา กำลังเปน

ที่นิยม เพราะราคายางพาราในตลาดราคาดีมาก ชาว

บานบางคนก็เลยหันไปรับจางกรีดยาง และรับจาง

ทำงานในโรงงาน เพราะทำนาแลวมันเหนื่อยกวา”

แตขณะนั้น ผืนนาก็ยังไมไดรกรางอยางใน

ปจจุบันนี้ และยังมีชาวบานบางกลุมยังคงออกมาทำนา

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 107

Page 109: Community College Dynamic of Development

อยู แลวเพราะเหตุใดแหลงปลูกขาวท่ีดีที่สุดของจังหวัด

ปตตานีจึงกลายเปนนาราง กลายเปนปาขนาดยอมๆ ไป

ได

“ชวงนัน้กย็งัพอมคีนทำนาอยูบาง แตชวงป ๒๕๔๗

มีชาวนาในหมูบานในตำบลของเราออกไปทำนา แลวถูก

ยิงตายไปหลายคน ตั้งแตนั้นมาชาวบานเลยท้ิงนากัน

จริงๆ ไมมีใครกลาออกไปทำนาอีกเลย” กำนันวิบูลยเทา

ความใหทราบถึงที่มาของนารางในตำบล

รวมดวยชวยกัน พลิกผืนนาราง

เมื่อชาวบานไมทำนา ก็ตองดิ้นรนไปประกอบอา

ชีพอ่ืนๆ เพื่อมีรายไดมาเล้ียงปากทองของตนเองและ

ครอบครัว จากเจาของท่ีนา มีขาวกินไมตองซื้อหา

เปล่ียนไปเปนลูกจางแรงงาน เปนแรงงานรับจาง ชีวิตที่

เคยสัมพันธเก้ือกูลชวยเหลือกัน ก็ตองเปลี่ยนแปลงไป

ดวย คนในหมูบานไมคอยไดพบปะสังสรรคกัน กิจกรรม

ที่เคยทำรวมกัน เคยชวยเหลือแรงงานกัน ก็กลายเปน

ตางคนตางอยู ตางใชชีวิตแบบตัวใครตัวมัน บานใคร

บานมัน

กำนันวิบูลยและชาวบานกลุมหน่ึงเร่ิมมองเห็นวา

หากปลอยท้ิงไวตอไป ชุมชนคงลมสลายในสักวัน เมื่อ

ปญหาเกิดแลว จึงไดมานั่งพูดคุยกันจนนำมาสูความคิด

วา ชาวบานตองทำนาอีกครั้ง เริ่มตนกำนันวิบูลยไปขอ

ความชวยเหลือจากศูนยบริหารราชการจังหวัดชายแดน

ภาคใต ไดรับรถไถนาและรถเก่ียวขาวมาอยางละ ๑ คัน

แตมีคำถามตอไปจากชาวบานวา

“เราตองการพลิกฟนผืนนาเราข้ึนมาใหม เรามี

รถไถนา เรามีรถเก่ียวขาว แตชาวบานทำเปนแตนาดำ

ชาวบานอยากเรียนรูวิธีการทำนาแบบใหม” คุณลุงโตย

เปนตัวแทนบอกถึงความฝนความตองการของชาวบาน

“เปนที่มาของการมารวมตัวกันของชาวบาน เรา

หารือกันวาตองทำนาแบบใหม เพ่ือใหเกิดความรวดเร็ว

ในการลงไปทำงานในแปลงนา ตองรวมกลุมกันทำ ซึ่ง

จะทำใหปลอดภัยเวลาลงไปทำนา ซึ่งวิทยาลัยชุมชนตอง

ชวยเรา” กำนันวิบูลยกลาวเสริม

จากนั้นกำนันวิบูลย ซึ่งเปนรองประธานสภา

วิทยาลัยชุมชนปตตานี จึงนำสมาชิกชาวบานที่รวมกลุม

กันไปพบนายอุดม ธรรมเจริญ ประธานสภาวิทยาลัย

ชุมชนปตตานี เพ่ือบอกเลาปญหาและความตองการ

สภาวิทยาลัยชุมชนนำเร่ืองดังกลาวเขาสูที่ประชุม

ปรึกษาหารือจนไดแนวทางแกไข เดือนมกราคม พ.ศ.

๒๕๕๒ การประชุมรวมกันระหวางชาวบานและวิทยาลัย

ชุมชนเริ่มขึ้น

วิทยาลัยชุมชนนำเสนอการทำนาหวานน้ำตม ซึ่ง

ตอบสนองความตองการของชาวบานทั้งในเร่ืองของ

ความประหยัดเวลาในการลงแปลงนา เรียนรูงาย ไมยุง

ยาก แตวิทยาลัยชุมชนไมมีความรู จึงจะทำหนาที่เปนผู

เสาะหาแหลงความรูมาใหแกชาวบาน จึงนึกถึงเครือขาย

วิทยาลัยชุมชนดวยกัน มีวิทยาลัยชุมชนพิจิตร เพราะที่

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 108

Page 110: Community College Dynamic of Development

จังหวัดพิจิตรมีการทำนา และยังทำนาไดตลอดทั้งป

กระบวนการรวมดวยชวยกันจึงเร่ิมตนขึ้น ดังที่

นายวิชาพร ชินประพัทธ ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน

ปตตานีเลาใหฟงตั้งแตเริ่มตนจนมาเปนหลักสูตรวา

“วิทยาลัยชุมชนปตตานีประสานไปท่ีวิทยาลัย

ชุมชนพิจิตร จากน้ันประสานกับกำนันวิบูลยใหคัดเลือก

ชาวบานจำนวน ๑๐ คนเพื่อไปศึกษาดูงาน วิทยาลัย

ชุมชนพิจิตรก็ดูแลชวยเหลืออยางดี พาคณะไปศึกษาดู

งานตั้งแตการไถ การหวาน การใสปุย การปองกันศัตรู

พืช การทดน้ำ การตากขาว การเก็บเก่ียว และการวัด

ความชื้น

หลังกลับจากพิจิตรเราก็กลับมาประชุมสรุปงาน

รวมกันระหวางวิทยาลัยชุมชนปตตานีและชาวบาน ให

คนที่ไปดูงาน เลาสิ่งที่ ไดไปพบใหเพื่อนๆ ในกลุมฟง

และออกเสียงลงประชามติวาจะทำนาแบบของจังหวัด

พิจิตรหรือไม เมื่อชาวบานเห็นชอบไดขอสรุปวาแมเราจะ

ทำนามาต้ังแตบรรพบุรุษ แตจากการดูงานทำใหได

ทราบวาขณะนี้เราลาหลังกวาพิจิตรไปเกือบ ๒๐ ป

เพราะที่พิจิตรคนสองคนสามารถทำนาได ๒๐๐ ไร

เพราะที่นั้นใชระบบจัดการท้ังหมด

เม่ือไดมติแลว วิทยาลัยชุมชนก็ทำหนาที่ติดตอ

วิทยากรจากจังหวัดพิจิตรเพื่อมาทำหลักสูตรรวมกับ

บุคลากรของวิทยาลัยชุมชน หลังจากเขียนหลักสูตร

เสร็จก็นำชาวบานกลุมที่จะทำนามาอบรมเปนเวลา ๓ วัน

จากนั้นก็ลงนาปฏิบัติจริง สอนตั้งแตการไถ การหวาน

เพราะบางคนหวานกลาไมเปนแลว”

ผอ.วิชาพร ยังเลาตอไปวา “หลังจากชาวบานไป

ปฏิบัติจริงในที่นาแลว ระหวางนั้นถามีปญหาอะไร ชาว

บานก็จะแจงมาที่วิทยาลัย เราก็จะสงคนไปชวยดู สิ่ง

ไหนท่ีไมรูก็จะประสานถามไปที่วิทยาลัยชุมชนพิจิตร

เรียกวาทำไป เรียนรูไป”

คืนลมหายใจสูตำบลนาเกตุ

จะมีใครเช่ือวาผืนที่นากวา ๒,๐๐๐ ไร ที่รางไป

กวา ๑๐ ป จะสามารถพลิกฟนกลับคืนมามีชีวิตไดอีก

ครั้ง ทั้งหมดน้ีเกิดขึ้นแลวเพราะความรวมมือรวมใจของ

ทุกฝาย แมวาจะยังไมไดฟนฟูพื้นที่ทั้ง ๒,๐๐๐ ไร

เพราะตองใชงบประมาณสูงมาก กลุมจึงดำเนินการแบบ

คอยเปนคอยไปตามกำลัง สมาชิกกลุม ๑๒๐ คน กับ

การทำนาคร้ังแรกในรอบ ๑๐ ป บนพื้นที่ริเริ่ม ๕๐๐ ไร

จนวันนี้ผลผลิตขาวรุนที่ ๑ ของกลุมเก็บเก่ียวแลว ได

ผลผลิตไรละ ๕๐๐ กิโล มากกวาผลผลิตที่เคยทำไดจาก

การทำนาดำแบบท่ีชาวบานเคยทำถึงไรละ ๑ เทาตัว นำ

ความยินดีปรีดามาสูทุกคนทุกฝายที่เกี่ยวของ

“ตอนเขารวมหลักสูตร ไมคิดเลยวามันจะได

ผลดี เพราะไมไดทำนามานานแลว ที่นาก็มีแตตนไมขึ้น

เต็มไปหมด” คุณปาประดับ อินทการณ หนึ่งในสมาชิก

ของกลุมเลาดวยความดีใจ

การทำนาทำใหชาวบานมีอาชีพ ไดผลผลิตที่ทำ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 109

Page 111: Community College Dynamic of Development

ใหเกิดรายได นำความสุขกลับสูหัวใจชาวบานอีกครั้ง ดัง

ที่กำนันวิบูลย เลาใหเห็นถึงผลที่เกิดข้ึนตอชาวบานตำบล

นาเกตุวา

“เราขอพื้นที่นาในจำนวน ๒,๐๐๐ ไร ที่เจาของ

เขาไมไดใชทำนา ใหกับคนท่ีจะรวมกลุมกันทำนา โดย

ทำสัญญากับเจาของท่ีนาวาจะขอใชพื้นท่ีนาเปนเวลา

สามป หลังจากนั้นแลวคอยทำเปนการขอเชา เพราะมี

คนท่ีเขารวมกลุมทำนาหลายคนท่ีวางงาน รายไดไมพอ

กับรายจาย ทั้งคนไทยมุสลิมและคนไทยพุทธ

การพลิกฟนพื้นที่นาครั้งนี้เปนเหมือนการเริ่มตน

วิถีชีวิตและชุมชนแบบเดิมของเราท่ีเคยอยูกันแบบพ่ีแบบ

นองใหกลับมาใหมอีกคร้ัง”

นอกเหนือจากน้ี ผลผลิตที่ไดยังมีการแนะนำให

ชาวบานบริหารจัดการโดย แบงผลผลิตทั้งหมดท่ีไดเปน

๓ สวน คือ สวนที่หนึ่งเก็บไวกินในครอบครัว สวนที่สอง

นำไปขายสรางรายได ซึ่งการขายนั้นก็ควรมารวมกลุม

กันเพ่ือขาย และสวนที่สามเก็บไวเปนพันธุขาวสำหรับฤดู

ทำนาตอไป

วิทยาลัยชุมชน นำชุมชนสรางสังคมใหม ผลสำเร็จจากการพลิกฟนผืนนาราง นอกจากจะ

ทำใหวิทยาลัยชุมชนมีหลักสูตรท่ีมีคุณภาพเพ่ิมขึ้นอีก ๑

หลักสูตรแลว สิ่งที่เห็นอยางชัดเจนคือสิ่งที่เกิดตอชุมชน

ที่ ผอ.วิชาพรกลาวไววา

“หลักสูตรพลิกฟนผืนนารางเปนการผสมผสาน

วิทยาการสมัยใหมและภูมิปญญาด้ังเดิม ชาวบานไดมา

รวมกันทำงาน เกิดความรักความสามัคคีปรองดองใน

ชุมชนหมูบาน เรียกไดวาหลักสูตรน้ีของวิทยาลัยชุมชน

ไดนำชุมชนสรางสังคมใหมขึ้นมา สังคมใหมก็มาจาก

คนในชุมชนนี้เอง นี่เปนความภาคภูมิใจ

นอกจากชาวบานนาเกตุแลว ตอนนี้มีกลุมชาวนา

จากหมูบานใกลเคียงที่ ไดทราบขาวความสำเร็จของ

หมูบานนี้ใหความสนใจพากันมาดูงานที่หมูบานอีกดวย”

“มันไมใชชุมชนใหมที่ไหน ก็มาจากผูคนเดิมๆ

ในตำบลเรานี้แหละ บานก็บานหลังเดิม แตความรัก

ความผูกพันของคนในตำบลท่ีหายไปชวงหนึ่ง ซึ่งเกิด

จากความหวาดระแวงกัน จากขาวสารและเร่ืองราย

ตางๆ ตอนนี้ดีขึ้น การงานตางๆ ก็เริ่มกลับมาชวยเหลือ

กัน ทักทายกัน พุดจากัน ทุกอยางมันดีขึ้น” กำนันวิบูลย

กลาวเสริมพรอมรอยยิ้ม

แมวาหลักสูตรการพลิกฟนผืนนารางจะเปน

หลักสูตรฝกอบรม แตทางวิทยาลัยชุมชนก็ตั้งธงไววาจะ

ตองทำการพัฒนาหลักสูตรตอไปใหครอบคลุมทั้ง

กระบวนการตั้งแตการผลิตไปจนถึงการหาตลาดรองรับ

สินคาของกลุม เมื่อไดผลผลิตแลว กระบวนการนับจาก

นี้ตอไปคือ การเตรียมเรื่องโรงสีและยุงฉางเก็บผลผลิต

รวมถึงเรื่องสำคัญคือตลาดที่จะรองรับผลผลิตของชาว

บาน

ซึ่งทางวิทยาลัยชุมชน หนวยงานทั้งภาครัฐ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 110

Page 112: Community College Dynamic of Development

เอกชน และชุมชน ไดชวยกันระดมความคิดหาแนวทาง

พัฒนารวมกัน เพ่ือเติมใหกระบวนการพรอมสมบูรณ

สำหรับชุมชนนำไปใช และสุดทายปลายทางคือหลักสูตร

ตองไดรับการขยายผลไปยังพ้ืนที่อื่นๆ ที่มีความสนใจ

ตองการ ซึ่งแนนอนวาหนาที่ของวิทยาลัยชุมชนยังไมจบ

เพียงเทาน้ี

“ตราบเทาที่มีความตองการ วิทยาลัยชุมชนใน

ฐานะผูอำนวยความรูก็จะตองพัฒนาหลักสูตรเพ่ือตอบ

สนองความตองการของชุมชนตอไปอยางเปนพลวัตร”

ผอ.วิชาพรกลาวท้ิงทายใหเห็นภารกิจสำคัญท่ีตองเดิน

หนาปฏิบัติตอไป

วิทยาลัยชุมชนนำการศึกษาสูชุมชน

อีกหนึ่งเรื่องราวแหงความภาคภูมิใจของการ

ดำเนินงานตลอดระยะเวลา ๕ ป ของวิทยาลัยชุมชน

ปตตานี นอกเหนือจากหลักสูตรการฝกอบรมที่ประสบ

ความสำเร็จ เพราะทำใหพื้นที่ที่ครั้งหนึ่งเคยวางเปลา

กลับมามีชีวิต เปนอูขาวอูน้ำของทองถ่ินชุมชนไดอีกครั้ง

ในเวลาเดียวกันวิทยาลัยชุมชนปตตานียังทำ

หนาที่นำโอกาสแหงการเรียนรูกลับคืนสูชุมชน ดังเรื่อง

ราวของนายเปาซี อีแต ผูสำเร็จการศึกษาหลักสูตร

อนปุรญิญา สาขาการปกครองทองถ่ิน อกีความประทับใจ

ที่ยังติดตรึงในความทรงจำของ ผอ.วิชาพร ชินประพัทธ

“ผมยงัจำวนัแรกทีพ่บคุณลงุเปาซีได” ผอ.วชิาพร

เริ่มตนเรื่องพรอมรอยยิ้มระบายทั่วใบหนา เหมือนเรื่อง

นั้นเพิ่งเกิดขึ้นเมื่อไมนานนี่เอง และเลาตอวา

“ตอนนั้นคุณลุงเปาซีอายุ ๕๘ ป ทานเปน

สารวัตรกำนันตำบล ทานขับรถกระบะเขามาในวิทยาลัย

พรอมพาลูกบานมาดวย ๑๐ กวาคน บอกวาจะมาเรียน

ที่วิทยาลัยชุมชน แตพอเปดเรียนไปได ๒ สัปดาห ทาน

มาหาผมบอกวา ไมไหวแลว ทานวาทานเรียนไมไหว ผม

บอกวาไมเปนไร เดี๋ยวพวกเราจะชวย เลยบอกอาจารย

ใหชวยดูแล ก็ชวยกันมา จนสุดทายทานก็เรียนจบ

หลักสูตรอนุปริญญา สาขาการปกครองทองถิ่น” ผอ.

วิชาพร เลาถึงอดีตนักศึกษาผูเปนตำนานบทหนึ่งของ

วิทยาลัยชุมชนปตตานี เพราะเปนนักศึกษาที่อายุมาก

ที่สุดที่มาเขาเรียนในวิทยาลัยชุมชน ซึ่งในเดือนกันยายน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 111

Page 113: Community College Dynamic of Development

๒๕๕๒ ไดสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัย

แมโจ วิทยาเขตปตตานีแลว

“ภาพที่จำไดติดตาคือ วันที่สำเร็จการศึกษา คุณ

ลุงเปาซีมีความสุขมาก ทานเดินถายภาพท่ัววิทยาลัย นัก

ศึกษาคนอ่ืนทะยอยกลับไปแลว แตทานยังไมยอมกลับ

เรื่องของคุณลุงเปาซีเปนอีกเรื่องที่ผมภาคภูมิใจ

ที่สุด เพราะเราทำสำเร็จแลว ระยะเวลา ๑ ปที่คุณลุง

เรียนกับเรานั้นคุณลุงไปลงสมัครเลือกตั้งนายกองคการ

บริหารสวนตำบล ปรากฏวาไดรับเลือกต้ัง หลังจากเขา

รับตำแหนงผมถามคุณลุงวาทานภูมิใจอะไรในวิทยาลัย

ชุมชนปตตานีบาง คุณลุงตอบผมวา สิ่งที่ภูมิใจคือตอนนี้

คุณลุงมีความรูความเขาใจในเอกสารและระเบียบตางๆ

เมื่อกอนไมเคยรู ตอนนี้ใครเอาอะไรมาใหเซ็น คุณลุงรู

และเขาใจหมด และท่ีสำคัญคือ อบต.ของคุณลุงไมมี

การคอรรัปชั่นเด็ดขาด แสดงวาธรรมาภิบาลท่ีเราสอน

ในวทิยาลัยชมุชนเกิดผลแลว นีค่อืความสำเรจ็ของวทิยาลยั

ชมุชน” ผอ.วิชาพรกลาวย้ำอีกครั้ง ใหสมกับปรัชญาของ

วิทยาลัยชุมชนที่วาทุกคนในชุมชนมีโอกาสที่จะเขาถึง

การศึกษา อยากเรียนตองไดเรียน อยากรูตองไดรู

เรื่องของคุณลุงเปาซี นอกจากจะชวยย้ำความ

สำเร็จของวิทยาลัยชุมชนปตตานีแลว ยังแสดงใหเห็นวา

การศึกษาไมเคยปดโอกาสใคร ไมวาจะอายุมากแคไหน

ก็ยังสามารถเขาถึงการศึกษาไดทุกคน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 112

Page 114: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร เพิ่มโอกาสทางการศึกษา ผลิตบุคลากร และพัฒนากำลังคน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 113

Page 115: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 114

Page 116: Community College Dynamic of Development

การสงเสริมอาชีพในชุมชนตองใหเกิดความ

หลากหลาย ใหชุมชนอยูดีมีสุข เพื่อ

ตอบสนองความตองการของประชาชนในทองถ่ิน เปด

โอกาสใหแกผูเรียนทุกเพศทุกวัยไดเลือกเขารับการ

ศึกษาอบรมไดตามความตองการและความเหมาะสม

มุงเนนใหผูเขารับการอบรมสามารถนำความรูที่ไดไปใช

ในชีวิตจริง นี่คือหลักการสำคัญของวิทยาลัยชุมชน

สมุทรสาคร

การจัดหลักสูตรฝกอบรมจึงเปนภารภิจหนึ่งที่

วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาครใหความสำคัญ ผลการสำรวจ

ความตองการและปญหาในชุมชนพบวา มีปญหาและ

ความตองการอยูหลากหลาย หนึ่งในน้ันคือผูสูงอายุไม

ไดรับการดูแลและสงเสริมสุขภาพใหถูกตองตามหลัก

วิชาการ ทำใหผูสูงอายุจำนวนมากมีปญหาดานสุขภาพ

อีกท้ังยังพบวาตลาดแรงงานมีแนวโนมตองการบุคลากร

ทางดานนี้มากข้ึน

ดังนั้น วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาครจึงไดจัดทำ

หลักสูตรสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุขึ้น เพื่อมุงหวังให

ผูผานการฝกอบรมนำความรูไปใชดูแลผูสูงอายุในบาน

ของตนเอง และเพื่อเปนการผลิตบุคลากรเขาสูตลาด

แรงงาน และยังแกปญหาการขาดแคลนกำลังคนดาน

การดูแลผูสูงอายุ

นายวิชัย เกียรติสามิภักดิ์ ผูอำนวยการวิทยาลัย

ชุมชนสมุทรสาคร กลาววา หลักสูตรฝกอบรมสงเสริม

สุขภาพผูสูงอายุ มีเปาหมายไมไดหยุดอยูเพียงแคการให

ความรูที่มีอยูในหองเรียนหรือในตำราเรียน แตวิทยาลัย

ชุมชนทำใหผู เรียนสามารถนำวิชาความรูที่ ไดรับไป

ปฏิบัติไดจริงในชีวิตประจำวัน สรางอาชีพ และรายได

ใหกับครอบครัว โดยกิจกรรมการเรียนการสอนจะถูก

ออกแบบเนนการเรียนรูจากประสบการณตรงจาก

ผูเชี่ยวชาญดานสุขภาพจริงๆ เพื่อใหผูเรียนมีความรู

และสามารถทำงานไดจริง

หลักสูตรสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุ

กระบวนการพัฒนาหลักสูตรวิทยาลัยชุมชน

สมุทรสาครไดเชิญผูเชี่ยวชาญภายนอกมาชวยในการ

สรางหลักสูตรและวิพากษหลักสูตรรวมท้ังมาชวยเปน

วิทยากร ดวยเหตุนี้วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาครจึงไดรวม

กับโรงพยาบาลบานแพว (องคการมหาชน) โดยมีนพ.

สุรพงษ บุญประเสริฐ ผอ.รพ.บานแพว นายวรวุฒิ

บุญเพ็ญ ประธานสภาวิทยาลัยชุมชน ในขณะนั้น รวม

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 115

Page 117: Community College Dynamic of Development

ลงนามทำความรวมมือทางวิชาการในการจัดการเรียน

การสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสำคัญ เปนหลักสูตรท่ีเนนการ

เรียนการสอนท้ังภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ มีจำนวน

ชั่วโมงทั้งสิ้น ๔๒๐ ชั่วโมง แบงเปนภาคทฤษฎี ๖๘

ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ ๓๕๒ ชั่วโมง โดยเน้ือหาหลักสูตรจะ

แบงออกเปน ๒ หมวดวิชา คือ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

และหมวดเฉพาะทาง

๑. หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป เนื้อหาประกอบดวย

กลุมวิชาความรูทั่วไป เชน ความหมายความสำคัญใน

การสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุ กฎหมายเบื้องตนที่

เกี่ยวของกับผูสูงอายุ ภาษาอังกฤษเบ้ืองตน บุคลิกภาพ

และกลุมวิชาคุณธรรมจริยธรรมของผูสงเสริมสุขภาพผู

สูงอายุ เปนตน

๒. หมวดเฉพาะทาง เนื้อหาจะแบงออกเปน ๕

กลุม ประกอบดวย

๑) กลุมวิชาเฉพาะ ประกอบไปดวย กายวิภาค

และสรีรวิทยาของมนุษย โภชนาการผูสูงอายุ จิตวิทยาผู

สูงอายุ การสื่อสารกับผูสูงอายุ และศาสนากับผูสูงอายุ

๒) กลุมวิชาการดูแลสุขภาพ เชน การชวยเหลือ

กิจวัตรประจำวัน การดูแลสุขภาพสวนบุคคล การบันทึก

และรายงานสุขภาพผูสูงอายุ การปฐมพยาบาลและการ

ใชยา การปองกันการแพรกระจายเช้ือโรคและการทำให

ปราศจากเช้ือโรค การชวยเหลือผูสูงอายุที่มีปญหา

สุขภาพ การจัดกิจกรรมสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุ

๓) กลุมวิชาการฟนฟูสุขภาพ เชน การนวดเพ่ือ

สุขภาพ ทักษะการชวยเหลือการเคล่ือนไหว

๔) กลุมวชิาการสงเสรมิสขุภาพ เชน นนัทนาการ

/สังคมผูสูงอายุ การออกกำลังกาย การตรวจสุขภาพ

ประจำป

๕) กลุมวิชาการปองกันภัย เชน ความเสี่ยงของ

ผูสูงอายุดานสุขภาพ ความเลี่ยงของผูสูงอายุดาน

สิ่งแวดลอม

สำหรับกระบวนการจัดการเรียนการสอนจะเนน

ใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณตรงภายในโรง

พยาบาลบานแพว เพ่ือฝกฝนทักษะและในการเรียนจะ

อยูภายใตการดูแลของคณะวิทยากรผูเช่ียวชาญเฉพาะ

ทาง รวมทั้งผูเรียนจะตองฝกงานเต็มรูปแบบ (อยู

ประจำ) ที่สถานสงเคราะหบานพักคนชรานครปฐม และ

บานพักคนชราเฉลิมราชกุมารี (หลวงพอเปนอุปถัมภ)

๑๐ วัน เพ่ือใหผูเรียนไดปรับตัวกอนออกไปทำงานจริง

และเปนการฝกการแกไขปญหาเฉพาะหนา โดยมีคณะ

อนุกรรมการนิเทศ และผูดูแลเปนผูประเมินการฝกงาน

เพ่ือใหผูผานการฝกอบรมมีความรูในทางวิชาการ และ

ความพรอมในทางปฏิบัติ

เสียงสะทอนจากผูเรียน

เมื่อทำการฝกอบรมเสร็จแลว วิทยาลัยชุมชน

สมุทรสาครไดทำการติดตามผลหลังผานการฝกอบรม

พบวา ผูผานการฝกอบรมสวนใหญสามารถนำความรูไป

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 116

Page 118: Community College Dynamic of Development

ประกอบอาชีพ เชน เปนลูกจางผูปฏิบัติ โรงพยาบาล

บานแพว โรงพยาบาลกระทุมแบน และสงเคราะหบาน

พักคนชรานครปฐม เปนตน

นางสาวสนธนีย จันทรโนนแซง ผูเขาฝกอบรม

หลักสูตรการสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุ ปจจุบันเปนลูก

จางสถานสงเคราะหบานพักคนชรานครปฐมเลาวา เดิม

ตนประกอบอาชีพคาขายอยูตามโรงงาน มีรายไดไม

มั่นคง ทำงานเหน่ือยมาก และมีเวลาพักผอนนอย ในใจ

คิดอยูตลอดเวลาวาอยากจะทำงานที่มีรายไดมั่นคง และ

มีเวลาพักผอนมากข้ึน แตทำไมได เพราะเรียนมานอย

จะไปสมัครงานที่ไหนก็ไมได เพราะไมมีความรู ตอง

อดทนทำงานมาเร่ือยๆ จนกระท่ังวันหน่ึงไดยินขาววามี

วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาครมาเปดสอนวิชาชีพมีหลักสูตร

จำนวนมาก ใหเลือกตนจึงคิดวานี่เปนโอกาสทองท่ีจะทำ

ใหตัวเองไดเปลี่ยนอาชีพวิถีชีวิตใหม

ตนจึงตัดสินใจไปสมัครเรียนหลักสูตรฝกอบรมที่

วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร โดยเลือกเรียนหลักสูตรการ

สงเสริมสุขภาพผูสูงอายุ เพราะตองการทำเปนลูกจาง

ตามสถานสงเคราะหคนชราหรือตามโรงพยาบาล เพ่ือที่

ตนจะไดมีงานประจำ มีรายไดที่มั่นคง

“การจัดการเรียนสอนสวนใหญเปนวิชาปฏิบัติ

อาจารยที่มาสอนจะเปนผูเช่ียวชาญเรื่องสุขภาพทั้งนั้น

ยกตัวอยางเชนวิชากายวิภาคและสรีรวิทยาของมนุษย

พวกเราจะไดเรียนกับอาจารยที่มีความเช่ียวชาญดานนี้

จากโรงพยาบาล วิธีการสอนของอาจารยไมใชเปดตำรา

แลวสอน แตอาจารยใชสื่อการสอนท่ีทันสมัย เชน หุน

คนที่สามารถมองเห็นถึงอวัยวะภายในรางกาย การได

เรียนกับครูที่เกง และมีสื่อการสอนที่ดี ทำใหดิฉันเขาใจ

ในบทเรียนไดงายขึ้น” นางสาวสนธนียกลาว

วิทยาลัยชุมชนเปนทางเลือกใหมสำหรับคนท่ี

มองหาสถานท่ีใหความรูแหงใหมมีคาใชจายนอย ครู

อาจารยทุกทานลวนแตมีความสามารถกันทุกคน ไมวา

ดานคุณวุฒิหรือวัยวุฒิ รวมทั้งประสบการณจริง อยาก

ใหเพื่อนๆ มาเรียนหลักสูตรนี้กับทางวิทยาลัยชุมชน

สมุทรสาคร ปจจุบันตนไดมาเปนลูกจางดูแลผูสูงอายุที่

สถานสงเคราะหบานพักคนชรานครปฐม ทำใหมีรายได

ประจำ มีชีวิตที่เปล่ียนไป

สุขใจไดเห็นความสำเร็จของผูเรียน

ภาพความสำเร็จในการจัดการศึกษาของ

วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาครน้ัน มิไดมีเพียงการจัดการ

ศึกษาหลักสูตรที่สอดคลองกับตลาดแรงงาน หรือ

หลักสูตรที่สามารถชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูเรียน

เทานั้น วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาครยังมุงมั่นจัดการศึกษา

ผลิตกำลังคนใหเปนผูนำทองถิ่นอีกดวย

ดังเชนนางสาวเบญญพร เฮงซิ้ม นักศึกษา

อนุปริญญาสาขาวิชาการปกครองทองถิ่น วิทยาลัย

ชุมชนสมุทรสาคร ปจจุบันดำรงตำแหนงกำนัน ตำบล

ชัยมงคล อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร เลาวา เดิม

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 117

Page 119: Community College Dynamic of Development

ตนเปนอาสาสมัครสาธารณสุขหมูบาน (อสม.) แตมี

ความสนใจเรื่องการเมืองทองถ่ิน ตองการจะมีความรู

เพื่อท่ีจะไดไมถูกเอาเปรียบจากผูนำชุมชน ตนจึงตัดสิน

ใจสมัครสอบการปกครองทองถ่ิน แตพอมาเรียนที่

วิทยาลัยชุมชน กลับทำใหตนมีความกลาคิด กลาพูด

กลาตัดสินใจ และมีความมั่นใจมากขึ้น ทำใหทุกวันนี้

จากเคยเปน อสม.กลายเปนกำนัน เปนตัวแทนของ

คนในหมูบาน

เสนทางการเปนผูนำทองถ่ินของเบญญพรเกิด

ขึ้นจากวันหน่ึงระหวางการประชุม อสม.ที่อำเภอ ไดมี

เจาหนาทีว่ทิยาลยัชมุชนสมทุรสาครเขาไปประชาสัมพันธ

การทำงานของวิทยาลัยชุมชนและหลักสูตรที่เปด หนึ่ง

ในนัน้มหีลกัสตูรการปกครองทองถิน่ซึง่ตรงกบัความสนใจ

เบญญพรจึงตัดสินใจสมัครเรียนในปการศึกษา ๒๕๔๙

“วนัแรกของการเปดเรียนดฉินัจำไดวามนีกัศกึษา

มาเรียนกวา ๕๐ คน เต็มหองเรียนไปหมด แตพอเรียน

ไปๆ นักศึกษาก็ลดลงเร่ือยๆ จนกระท่ังเหลือ ๒๐ กวา

คน ที่เปนอยางน้ันเพราะหลายคนเรียนไมไหว เนื่องจาก

เน้ือหาหลักสูตรยาก ตองอาศัยความขยันหม่ันเพียรใน

การเรียน” คุณเบญญพรกลาว

และเลาวา เมือ่กอนนีต้นเปนคนทีพ่ดูในทีส่าธารณะ

ไมเปนเลย แคแนะนำช่ือก็จะรองไหแลว แตพอมาเรียน

ที่วิทยาลัยชุมชนมีหลายวิชาท่ีอาจารยใหนักศึกษาออกไป

รายงานหนาช้ันเรียน นักศึกษาก็ตองออกไปพูดหนาชั้น

เรียน พูดผิดบาง ถูกบาง ปนๆ กันไป ตอนน้ันเครียด

มาก บางคนถึงขนาดกลับมาน่ังรองไห แตอาจารยก็ให

กำลังใจและชวยแนะนำขอผิดพลาดใหนักศึกษาทุกคร้ัง

ซึ่งอาจารยจะฝกนักศึกษาอยางนี้เปนประจำ พอเรียนไป

นานๆ เขา นักศึกษาไดฝกพูดหนาชั้นเรียนบอยๆ ก็เกิด

ความเคยชินและเปนความกลาไปโดยอัตโนมัติ

“มีอยูครั้งหนึ่งมีการประกวด อสม.ยอดเย่ียม

ดิฉันไดรับเลือกเปนคนหน่ึงในตัวแทนของตำบลไป

ประกวด วันนั้นทานนายอำเภอไดมาฟงดิฉันพูด ทาน

เดินตรงเขามาพูดกับดิฉันเลยวา เมื่อกอนนี้พูดไมเลย

แตเดี๋ยวนี้ทำไมพูดดีขึ้น ดิฉันบอกกับทานนายอำเภอวา

หนูเรียนมากับวิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร ทานชมวา

วิทยาลัยชุมชนทำใหคนกลาไดถึงขนาดนี้เชียวเหรอ” คุณ

เบญญพรเลาดวยความภาคภูมิใจ

ตอมาท่ีหมูบานมีการเลือกตั้งผูใหญบาน เบญญ

พรเห็นเปนโอกาสที่จะนำความรูที่เรียนมาพัฒนาชุมชน

ของตน จึงตัดสินใจลงสมัครเลือกตั้ง

“ตอนชวงลงสมัครเลือกต้ังเปนผู ใหญครั้งนั้น

สนุกมาก ตองออกหาเสียงไดใชความรูที่เรียนมาทุกวัน

บางวันตองโทรศัพทขอลาหยุดเรียนกับอาจารยทีว่ทิยาลัย

ชุมชน อาจารยก็อนุญาต แตมีขอแมวาตองโทรศัพทมา

รายงานครูวาอยูตรงไหน ทำอะไร ไดใชวิชาที่เรียนมา

อะไรในการหาเสียง แลวใหดิฉันถายรูประหวางหาเสียง

มาเลาใหเพ่ือนฟงหนาชั้นเรียน” คุณเบญญพรเลา

และวา พอถึงวันเลือกตั้งผูใหญบานปรากฏวาคู

แขงถอนตัวตนจึงชนะการเลือกตั้งไดเปนผูใหญบาน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 118

Page 120: Community College Dynamic of Development

ตอมามีการเลือกตั้งกำนันเกิดข้ึน ผู ใหญบาน

เบญญพรจึงตัดสินใจลงสมัครเลือกตั้งเปนกำนัน โดยทุก

ครั้งที่หยุดเรียนตนจะตองโทรศัพทแจงกับอาจารย

เหมือนเชนเคย อาจารยก็มีขอแมใหตนมาเลาประสบ-

การณในการหาเสียงใหเพื่อนฟงหนาชั้นเรียนเชนเคย

โดยอาจารยจะชวยใหคำแนะนำถึงจุดเดนจุดดอยของตน

และชี้แนะวาควรจะใชความรูที่เรียนมาใหเปนประโยชน

ตอการเลือกตั้งอยางไรบาง พอถึงวันเลือกตั้งมีการนับ

คะแนนปรากฏวาตนไดรับการเลือกตั้งเปนกำนัน

“ทุกวันนี้ดิฉันคิดอยูเสมอวาความสำเร็จที่ไดรับ

ในวันนี้ เพราะวิทยาลัยชุมชนสมุทรสาครท่ีใหโอกาส

ดิฉันไดมาศึกษาเลาเรียน เพิ่มเติมความรูจากเดิม โดย

เฉพาะอาจารยที่คอยใหความรู ใหคำแนะนำท่ีเปน

ประโยชนทั้งเรื่องการเรียนและการทำงาน มีเพื่อนรวม

หองที่คอยใหกำลังใจ” กำนันเบญญพรกลาวทิ้งทาย

อาจกลาวไดวา กวา ๕ ป นับตั้งแตเปดบริการ

ทางการศึกษา วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาครไดชวยพัฒนา

คุณภาพชีวิตใหกับผูเรียนจากท่ีไมมีงานทำ ใหมีงาน

ทำได โดยผูเรียนสามารถนำความรูไปประกอบอาชีพได

มีสวนชวยใหคนในชุมชนไมละท้ิงถิ่นฐาน และสามารถ

ทำงานควบคูกับการเรียนได วิทยาลัยชุมชนทำใหเกิด

ความผูกพันกับพื้นท่ีและชุมชน นั่นคือ การสรางผูนำ

ระดับทองถ่ินหรือชุมชน ที่พัฒนาชุมชนในลักษณะที่ไม

ทำใหวิถีชีวิตของบุคคลเหลานั้นเปลี่ยนแปลงไป

รอยย้ิมของผูเรียนคือกำลังใจของ “ชาววิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร” เรื่อง...พิพัฒน เพริดพริ้ง เจาหนาที่งานทะเบียน

กระดาษขาวขนาดประมาณแปดคูณหกน้ิว

หนาหนึ่งรอยแปดสิบแกรม ประดับตราสัญลักษณ

กราฟกงายๆ ไมซับซอน คลายรูปหลังคาทรงไทยครอบ

คนอานหนังสือสีทอง แทบโคงรองรับมุมขวาดานลาง

เปนธงชาติพลิ้วไหว แทนสัญลักษณวิทยาลัยชุมชน ตัว

อักษรบนกระดาษในน้ันสีดำสนิท ระบุชื่อเจาของ บง

บอกความสามารถในดานที่ เขาผานการฝกฝนจน

สามารถสำเร็จผล ดานลางลงลายเซ็นผูมอบ ประทับ

ตราดุล ทั้งหมดนั้นใชความพิถีพิถัน ตรวจทานอยาง

ละเอียดตอกหมายเลข ลงลายนามผูพิมพและผูตรวจ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 119

Page 121: Community College Dynamic of Development

ทานอยางใหเกียรติที่ดานหลัง

นี่ คื อ อ นุ ป ริ ญญ า บั ต ร ส ำ ห รั บ นั ก ศึ ก ษ า

อนุปริญญา และวุฒิบัตรสำหรับหลักสูตรฝกอบรมของ

วิทยาลัยชุมชน

ใครหลายคนอาจจะสบประมาณวา เปนเพียง

กระดาษแผนเดียว แตสำหรับคนท่ีดอยโอกาสทางการ

ศึกษาท่ีคิดวาตัวเองหมดโอกาสที่จะไดรับโอกาสเรียนมา

นานแสนนานมาแลว เพราะมีภาระท่ีจะตองรับผิดชอบ

ครอบครัวและตัวเองอยางหนัก วันที่เรียนสำเร็จจนจบ

อนุปริญญาบัตรจึงถือเปนเกียรติสูงสุดของผูเรียนและ

ครอบครัว โดยเฉพาะจังหวัดสมุทรสาคร ที่เปนแหลงที่

ตั้งของโรงงานอุตสาหกรรม ชาวบานสวนใหญทำงาน

แบบหาเชากินค่ำ

ในวันรับอนุปริญญาวิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร

มีโอกาสอยู ในบรรยากาศแหงความสุข สดชื่น ยินดี

และรอยย้ิมจากผูเรียน และบุคคลทุกคนในสถาบัน

เพราะเราเปนสวนหนึ่งของกันและกัน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 120

Page 122: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชนตราด กับการพัฒนาการทองเท่ียว

เชิงอนุรักษท่ี “เกาะกูด”

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 121

Page 123: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 122

Page 124: Community College Dynamic of Development

แสงสลัวยามเชาตรูที่เกาะกูด จ.ตราด ลม

กรรโชกเปล่ียนทิศทาง ทองน้ำที่เคยใส

เปนสีครามสวยกลับกลายเปนสีขุน คลื่นลูกโตซัดเขาหา

ฝงลูกแลวลูกเลา ทองฟาปกคลุมดวยเมฆมืดคร้ึม แสดง

ถึงฤดูมรสุมกำลังมาเยือนอีกวาระหนึ่ง

ยางเขาเดือนเมษายนถึงกันยายนโดยประมาณ

เปนชวงมรสุม ชาวเกาะกูดเรียกวาชวงปดเกาะ รีสอรท

ตางพากันทำการซอมแซมสถานที่เพื่อรอรับนักทองเที่ยว

ในฤดูถัดไป เชนเดียวกับธรรมชาติที่ตองการเวลาฟนฟู

ตัวเอง ชวงเวลานี้เอง เปน “นาทีทอง” ของวิทยาลัย

ชุมชนตราดท่ีจะเขามาเติมเต็มความรูใหกับชาวเกาะกูด

วทิยาลัยชุมชนตราดกับจดุเร่ิมตนท่ีเกาะกูด

กลางป ๒๕๕๑ ณ เกาะกูด ในวันที่มีฝนตกหนัก

สลับฟาโลง อากาศรอนจัด ที่เกิดขึ้นภายในวันเดียว

อยางน้ี ชาวเกาะกูดสวนใหญจะพักผอนอยูในบานของ

ตน แตในวันที่ฟาฝนไมเปนใจอยางนี้กลับมีนักศึกษา

กลุมเล็กๆ จากวิทยาลัยชุมชนตราดมาออกคาย “เรียนรู

คณุธรรมนำชวีติพอเพยีงทีอ่ำเภอเกาะกดู” ความนาสนใจ

ของนักศึกษากลุมนี้ไมอยูที่การมาสรางหองสมุด หรือ

สรางโรงเรียนใหคนเกาะกูด เหมือนคายอาสาพัฒนา

อื่นๆ แตความนาสนใจของนักศึกษากลุมนี้อยูที่การออก

เดินเคาะประตูตามบาน เพ่ือสำรวจและรับฟงความ

ตองการของชาวบาน นักศึกษาสวนใหญไดรับฟงเสียง

สะทอนจากชาวบานในชุมชนถึงเรื่องอุตสาหกรรมการ

ทองเที่ยว และการขายท่ีดินใหนายทุน

ดร.กรรณิกา สุภาภา ผูอำนวยการวิทยาลัย

ชุมชนตราด กลาวถึงการลงพ้ืนที่ในฤดูมรสุมวา ธรรม-

ชาติของเกาะกูดจะมีชวงเปดรับนักทองเที่ยว ๗ เดือน

เริ่มตั้งแตพฤศจิกายนถึงพฤษภาคมโดยประมาณ แลว

จะปดเกาะในฤดูมรสมุ ๕ เดอืน ประมาณเดือนมถินุายน

ถึงตุลาคม ซึ่งธรรมชาติบนเกาะกูดจะไมเอื้อตอการ

ทองเท่ียว ในฤดูมรสุมแบบน้ีชาวบานจะพักเหน่ือยจาก

การทำประมง และการตอนรับนักทองเที่ยว ซึ่งเปนชวง

เวลาเหมาะที่สุดสำหรับวิทยาลัยชุมชนในการลงพ้ืนที่

ทำงานรวมกับชาวบาน

“การทำงานรวมกับชุมชน สิ่งสำคัญคือตองรูจัก

ชุมชน และวิถีชีวิตของชาวบานใหดีกอน โดยธรรมชาติ

ของคนเกาะกูด ถาจะชวนชาวบานทำอะไร ตองมาใน

ชวงที่เขาปดเกาะ ไมมีนักทองเที่ยว ไมไดออกไปหาปลา

ซึ่งชวงน้ีถามีใครมาชวนเขาทำอะไร ชาวบานจะใหความ

รวมมือเต็มที่” ผอ.กรรณิกา กลาวถึงเคล็ดลับการ

ทำงานกับชุมชน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 123

Page 125: Community College Dynamic of Development

เสียงสะทอนจากคนเกาะกูด โดยปรัชญาการจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชน

เชื่อวา ทุกคนมีศักยภาพอยูในตัวถาเขามีโอกาสและได

รับคำแนะนำท่ีถูกตอง เหมาะสม เขาจะสามารถพัฒนา

ศักยภาพของตนเองไดเต็มที่ ผอ.กรรณิกากลาวถึงความ

เปนมาของวิทยาลัยชุมชนตราดวา วิทยาลัยชุมชนตราด

กอตั้งข้ึนในป ๒๕๔๗ เพื่อใหบริการการศึกษาทั้งใน

ระดับอนุปริญญา และหลักสูตรฝกอบรม โดยเก็บคา

เลาเรียนในราคาถูก นอกจากน้ีสิ่งที่เปนจุดเดนของ

วิทยาลัยชุมชนที่ทำใหแตกตางจากสถานศึกษาอื่นๆ คือ

ความยืดหยุนในการจัดการศึกษา มีหลักสูตรที่หลาก

หลายเพ่ือตอบสนองความตองการของประชาชน ดังนั้น

หนาที่สำคัญของวิทยาลัยชุมชนคือการรับฟงเสียงสะทอ

นของชาวบานใหมากที่สุด

“เกาะกูดเปนเกาะท่ีไกลท่ีสุดในจังหวัดตราด มี

ชายแดนติดประเทศกัมพูชา อยูหางจากตัวเมืองตราด

ประมาณ ๘๐ กิโลเมตร ตองเดินทางดวยทางเรือเทานั้น

เม่ือกอนนี้ชาวบานมีเพียงเรือหาปลาจะเขาเมืองทีหนึ่ง

ตองใชเวลาเดินทางถึง ๘ ชั่วโมง การที่คนเกาะกูดจะ

เดินทางไปมาระหวางตัวเมืองกับเกาะกูดจึงเปนไปได

ยาก เพราะฉะนั้นเกาะกูดจึงเปนพื้นที่ขาดโอกาสทาง

การศึกษาสูง” ผอ.กรรณิกากลาว และวา แมปจจุบันนี้

สามารถเดินทางดวยเรือเร็วที่ใชรับสงนักทองเที่ยว ที่ใช

เวลาเพียง ๒ ชั่วโมง แตการเดินทางก็ยังเปนเรื่อง

ลำบากของชาวเกาะกูดอยูดี

ดวยเหตุนี้วิทยาลัยชุมชนตราดจึงเปดศูนยการ

จัดการศึกษาที่เกาะกูดในป ๒๕๕๐ โดยไดรับการ

อนุเคราะหเรื่องสถานที่จากโรงเรียนบานคลองเจา หมู

๒ อ.เกาะกูด จ.ตราด เปดสอนหลักสูตรอนุปริญญา

สาขาการปกครองทองถิ่น โดยนักศึกษารุนแรกที่เขามา

เรียนจะเปนผูนำทองถ่ิน เชน ผู ใหญบาน รองนายก

อบต. และชาวบานที่ทำธุรกิจรีสอรท คละกันไป

เนื้อหาของหลักสูตรการปกครองสวนทองถิ่นนั้น

ประกอบไปดวย วิชากฎหมายเก่ียวกับการปกครอง

ทองถิ่นภาวะผูนำ การพัฒนาทองถิ่น การอนุรักษ

สิ่งแวดลอม และวิชาตราดศึกษา เปนตน ซึ่งวิชาเหลานี้

เปนเหมือนการจุดประกายความคิดใหนักศึกษาตระหนัก

ถึงความสำคัญของการอนุรักษธรรมชาติและวิถีชีวิต

ดั้งเดิมของคนเกาะกูด

จากการจุดประกายเล็กๆ ที่เกิดขึ้นในหองเรียน

ของวิทยาลัยชุมชน กอปรกับเสียงสะทอนเมื่อครั้งที่นัก

ศึกษาวิทยาลัยชุมชนตราดไดออกคายฯ ที่เกาะกูด ทำให

วันหนึ่งในปการศึกษา ๒๕๕๒ มีผูนำนักศึกษา โดยการ

นำของนายสัญญา แสงทอง ผูใหญบานหมู ๒ ต.เกาะ

กูด ไดเขามาปรึกษาวิทยาลัยชุมชนตราดวา อยากให

วิทยาลัยชุมชนตราดชวยใหความรูเรื่องการจัดการ

ทองเที่ยวเชิงอนุรักษ และความรูดานภาษาอังกฤษใหกับ

ชาวเกาะกูด

ผูใหญสัญญา แสงทอง นักศึกษาวิทยาลัยชุมชน

ตราด สาขาการปกครองสวนทองถ่ิน วัย ๕๐ ป กลาว

วา ในอดีตชาวเกาะกูดอยูกนัตามประสาชาวบาน ประกอบ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 124

Page 126: Community College Dynamic of Development

อาชีพ การประมง ทำสวนยาง สวนมะพราวไปวันๆ

หน่ึง ชาวบานสวนใหญมีความรูระดับประถมศึกษาก็

เพียงพอแลวสำหรับการใชชีวิตแลว แตปจจุบันความ

เจริญเขามาในเกาะกูด มีนักทองเที่ยวเขามาเกาะกูด

มากขึ้น วิถีชีวิตที่เรียบงายของชาวบานก็เปลี่ยนไป มีนัก

ลงทุนมาขอซื้อที่ดินบนเกาะ มีเรื่องของการจัดการ

ทองเที่ยว มีปญหาเรื่องขยะและสิ่งแวดลอม ที่เกิดจาก

การขยายตัวของเมือง เปนตน เมื่อมีปญหาเขามาใน

ชุมชน ชาวบานก็ไมรูจะแกไขอยางไร เพราะความรูนอย

ตนเลยเขาไปปรึกษากับวิทยาลัยชุมชนใหมาชวยใหความ

รูกับชาวบาน ซึ่งผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนก็ตอบรับ

และลงมาสำรวจพ้ืนที่ดวยตัวเอง

“ถาวิทยาลัยชุมชนไม ไดมาเปดหนวยจัดการ

ศึกษาท่ีเกาะกูด ผมคงไมมีโอกาสไดเรียนตอในระดับ

อดุมศกึษา วทิยาลยัชมุชนสอนใหผมรูจกัวชิาการปกครอง

มีความรูเร่ืองกฎหมาย และไดฝกฝนทักษะการเปนผูนำ

ซึ่งผมไดนำความรูเหลานี้มาดูแลและใหคำปรึกษากับลูก

บาน นอกจากเรียนในหองเรียนแลววิทยาลัยชุมชนไดพา

ผมและเพื่อนไปศึกษาดูงานตามที่ตางๆ ทำใหผมไดไป

เห็นตัวอยางดีๆ ของชุมชนที่มีการจัดการทองเที่ยวเชิง

อนุรักษ ผมจึงอยากเห็นเกาะกูดพัฒนาอยางยั่งยืน”

มุงสรางเครือขาย สานสัมพันธชุมชน จากโจทยที่ไดรับจากชาวเกาะกูด ทำใหวิทยาลัย

ชุมชนไดลงพ้ืนที่เก็บขอมูลเบื้องตนพบวา เกาะกูดเปน

เกาะที่มีพื้นที่ใหญเปนอันดับ ๔ ของประเทศ มีความ

สวยงามทางทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ ตลอด

จนเปนแหลงทองเท่ียวทางประวัตศิาสตร และวัฒนธรรม

ที่งดงาม ที่ดึงดูดนักทองเที่ยวใหหล่ังไหลมาเกาะกูดเปน

จำนวนมาก

จากการเขามาของนักทองเท่ียว สงผลใหวิถีชีวิต

ของคนเกาะกูดเริ่มเปลี่ยนไปจากเดิมเปนชุมชนเล็กๆ ที่

มีประชากรอาศัยประมาณ ๒,๐๐๐ คน มีอาชีพหลักคือ

การทำประมง ประกอบธุรกิจดานการทองเที่ยว และ

การทำสวนยาง แตปจจุบันนี้กลับมีนายทุนจากจังหวัดอื่น

เขามาขอซ้ือที่ดินจากชาวบาน

หลังจากไดขอมูลเบื้องตนแลว ผอ.กรรณิกาได

จัดประชุมเจาหนาที่ของวิทยาลัยชุมชนตราดเพื่อวาง

แผนการดำเนินงานไดขอสรุปวา การจะพัฒนาการ

ทองเที่ยวบนเกาะกูดจะผลสำเร็จหรือไม ขึ้นอยูกับคนใน

เกาะกูดที่ตองรวมแรงรวมใจในการพัฒนาทองถิ่น

วิทยาลัยชุมชนตราดมีทำหนาที่เปนเพียงผูสรางองค

ความรู และเปนผูประสานงานใหเกิดการรวมไมรวมมือ

ในการพัฒนาทองถิ่นของคนในชุมชนเทานั้น

“การสรางเครือขายและการประสานงาน เปน

สิ่งสำคัญตอการทำงานในพ้ืนที่ เราตองคิดเยอะๆเลยวา

ใครบางที่มีสวนผลักดันใหงานประสบความสำเร็จ ผู

ประสานงานจะตองไปพบทุกภาคสวนดวยตัวเอง ไมวา

จะเปนภาครัฐ หรือภาคการเมือง เพื่อดึงบุคคลสำคัญ

เหลานั้นเขามาเปนแนวรวมในการวางแผนพัฒนาการ

ทองเที่ยวของเกาะกูด” ผอ.กรรณิกากลาว

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 125

Page 127: Community College Dynamic of Development

ในการดำเนนิงานประสานเครอืขาย ผอ.กรรณิกา

เริ่มตนจากเขาพบนายอำเภอเกาะกูดซ่ึงเปนตัวแทนจาก

ภาครัฐเปนอันดับแรก เพื่อเลาปญหาและความตองการ

ของชาวบานที่ไดรับฟงมาใหนายอำเภอไดรับรู และขอ

เขารวมประชุมกับหัวหนาหนวยราชการอำเภอเกาะกูด

เพ่ือหาแนวรวมในการดำเนินงานรวมกัน ในสวนภาค

การเมือง ผอ.กรรณิกาไดขอเขาพบนายกองคการ

บริหารสวนจังหวัด(อบจ.)และนายกองคการบริหารสวน

ตำบล (อบต.) สมาชิกสภาจังหวัดที่ดูแลเกาะกูด และ

กำนัน ผูใหญบานทุกหมูบาน ตามลำดับ ซึ่งทุกฝายก็ให

ความรวมมือเปนอยางดี

เวทีวิชาการชาวบาน เมื่อทุกฝายเห็นพรองท่ีจะพัฒนาเกาะกูดรวมกัน

วิทยาลัยชุมชนตราดจึงไดจัดทำเวทีประชาคมข้ึน เพ่ือ

สรางความเขาใจไปในทิศทางเดียวกันใหกับคนในเกาะ

กูด การออกแบบรูปแบบเวทีประชาคมจะแบงออกเปน

๒ กลุม กลุมแรกเปนเวทีของกลุมผูใหญในจังหวัด เชน

นายอำเภอ ปลัดอำเภอ หัวหนาหนวยราชการ องคการ

บริหารการพัฒนาพ้ืนที่พิเศษการทองเท่ียวอยางย่ังยืน

(อพท.) นายก อบต. สมาชิกสภาจังหวัด กำนัน ผูใหญ

เพื่อรับฟงความคิดเห็นใหเชิงนโยบาย และการวาง

แนวทางการทำงานรวมกันในลักษณะภาคีเครือขาย

สวนกลุมที่สอง เปนเวทีประชาคมชาวบาน

วิทยาลัยชุมชนทำหนาที่เปนผูจุดประกายความคิดใหคน

เกาะกูดเกิดความรูสึกรักและหวงแหนแผนดินเกิดของ

ตน โดยการช้ีนำใหชาวบานเห็นถึงปญหาที่ขึ้นจากการ

จัดการทอง เที่ยวที่ขาดการวางแผนที่ดี โดยยกตัวอยาง

”เกาะชาง” แหลงทองเที่ยวใกลตัวคนเกาะกูด ที่ปจจุบัน

เต็มไปดวยบารเบียรและสีสันยามราตรี จนบางจุดมี

สภาพเส่ือมโทรม จากวงสนทนาท่ีเริ่มโดยวิทยาลัยชุมชน

เพียงไมนานก็กลายเปนวงสนทนาของชาวบานท่ีตางชวย

กันแสดงความคิดเห็นวาอยากจะเห็นเกาะกูดพัฒนาไป

ในทิศทางใด

เมื่อวิทยาลัยชุมชนตราดไดศึกษาความตองการ

และความคิดเห็นของทั้ง ๒ เวทีแลว จึงไดจัดเวที

ประชาคมอีกข้ึน โดยนำบุคคลท้ัง ๒ เวทีมาประชุมรวม

กัน ประเด็นสำคัญในวันนั้นเปนการจุดประกายความคิด

ทำใหคนในเกาะกูดตระหนักจึงผลกระทบจากการ

ทองเที่ยวอันเกิดจากการขาดการวางแผนพัฒนา ขาด

การผังเมืองที่ถูกตอง ปญหาขยะ เปนตน สรุปผลจาก

การประชุมวันนั้น ไดเกิดการเรียกรองใหวิทยาลัยชุมชน

ตราดสงเสริมการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ พรอมๆ กับจัด

ทำหลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการทองเที่ยว

สวนเร่ืองการพัฒนาพ้ืนที่เปนแหลงทองเท่ียวเชิง

อนุรักษเปนหนาที่ของหนวยงานราชการ และชาวเกาะ

กูด โดยมีองคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษการ

ทองเที่ยวอยางยั่งยืน (อพท.) เปนผู ใหงบประมาณ

สนับสนุนการจัดทำเสนทางการศึกษาธรรมชาติ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 126

Page 128: Community College Dynamic of Development

ภาษาอังกฤษวันน้ีที่ “เกาะกูด” จากความตองการของชาวบานท่ีตองการให

วิทยาลัยชุมชนจัดทำหลักสูตรฝกอบรมเพ่ือพัฒนาความรู

และทักษะดานภาษาอังกฤษ วิทยาลัยชุมชนตราดได

ระดมผูเชี่ยวชาญที่เก่ียวของกับการทองเที่ยว มาทำงาน

รวมกับคณะทำงานวิทยาลัยชุมชนตราดในยกรางจัดทำ

หลักสูตร เพื่อกำหนดขอบเขตของเน้ือหา กำหนด

วตัถปุระสงค ผลลัพธการเรยีนรู และวธิวีดัผลประเมนิผล

เมื่อยกรางหลักสูตรเสร็จแลว ก็เขาสูขั้นตอน

การวิพากษหลักสูตรโดยผูเชี่ยวชาญอีกครั้ง หลังจากก็

สงใหสภาวิชาการ และสภาวิทยาลัยชุมชน พิจารณาขอ

อนุมัติเปดหลักสูตรตามลำดับ โดยใชระยะเวลาในการ

ดำเนินงานประมาณ ๒ เดือน จึงไดหลักสูตรที่เปนความ

ตองการของชาวเกาะกูด โดยใชชื่อหลักสูตรวา “ภาษา

อังกฤษเพื่อชีวิตวันนี้ที่เกาะกูด”

เน้ือหาของหลักสูตรจะเนนภาษาอังกฤษเพ่ือการ

สื่อสารในการทองเที่ยว ใชเวลาเรียน ๓๐ ชั่วโมง เรื่อง

ที่จะเรียนก็ประกอบไปดวย การทักทายนักทองเท่ียว

การแนะนำตัว การแสดงความคิดเห็น การตอบรับขอ

ติชม การกลาวลา การกลาวตอนรับ และการใหบริการ

ในรานอาหาร การเขาพานักทองเที่ยวชมรอบเกาะ และ

การใหบริการในรีสอรท เปนตน

กอนที่จะมีการจัดการเรียนการสอน ครูผูสอนจะ

วิเคราะหผูเรียนกอนเปนอันดับแรก เพื่อจะไดออกแบบ

กิจกรรมการเรียนรูใหเหมาะสมกับผูเรียน พบวาผูเรียน

สวนใหญจบการศึกษาในระดับประถมศึกษา ขาดทักษะ

ในการพูดฟงอานเขียนภาษาอังกฤษ ครูผูสอนจึงออก

แบบกิจกรรมการเรียนรูโดยใชวิธีสอนภาษาอังกฤษแบบ

คาราโอเกะ โดยเริ่มจากการปรับความรูพื้นฐานของ

ผูเรียน จากนั้นก็จะพาผูเรียนไปเรียนตามสถานที่จริง

ไมวาจะเปนที่รีสอรท ที่ทาเรือ หรือแหลงทองเที่ยว

สำคัญๆ ของเกาะกูด เปนตน การจัดการเรียนการสอน

แบบนีจ้ะชวยใหผูเรยีนเขาใจและจดจำส่ิงทีเ่รยีนไดดยีิง่ขึน้

นายสัญญากลาววา เมือ่กอนน้ีมชีาวตางประเทศ

มาซื้อของที่รานคา ชาวบานสื่อสารกับเขาไมได สินคาก็

เลยขายไมได แตพอมีครูมาสอนภาษาอังกฤษใหเขา

ชาวบานก็สามารถส่ือสารกับชาวตางประเทศได ถึงจะ

ไมคอยดีนัก แตก็คุยกันรูเรื่อง ของที่เคยขายไมได ก็

กลับมาขายได สงผลใหชาวบานมีรายไดเพ่ิมขึ้น

“คนเกาะกูดมีความรูนอย เพราะไมมีโอกาสที่จะ

ไดเรียน แตวันนี้คนเกาะกูด พิสูจนใหเห็นแลววา ถาได

โอกาสเรียนรูในสิ่งที่เขาอยากเรียน เขาก็สามารถนำ

ความรูที่ ไดรับมาใชในการพัฒนาชีวิตตัวเองได” นาย

สัญญากลาวทิ้งทาย

วันนี้ชาวเกาะกูดมีความรู และสามารถใชภาษา

อังกฤษเพ่ือตองสนองการทองเที่ยวไดแลว วิทยาลัย

ชุมชนตราดหวังวาพลังเล็กๆ ของชาวเกาะกูดจะเปนพลัง

ในการอนุรักษ เผยแพรวัฒนธรรมและประวัติศาสตรอัน

ดงีามของไทย เปนฟนเฟองนอยๆ ทีจ่ะคอยหมนุอตุสาห-

กรรมการทองเที่ยวและตอบสนองแผนยุทธศาสตรของ

จังหวัดตราดที่มุงสงเสริมการทองเที่ยวตอไป

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 127

Page 129: Community College Dynamic of Development

หลักสูตร “การเพาะเล้ียงปูนิ่ม” สืบสานวิถีชีวิตชายฝงใหอยูคู จ.ตราด

การพัฒนาหลักสูตรถือเอกลักษณของวิทยาลัย

ชุมชน เปนสิ่งซ่ึงสถาบันการศึกษาอื่นๆ ไมสามารถจะ

ลอกเลียนแบบได โดยเฉพาะการจัดหลักสูตรฝกอบรม

ตางๆ ที่มีความหลากหลาย และมีเอกลักษณแตกตาง

กันไปในแตละพื้นที่ จังหวัดตราดมีพื้นที่ติดชายฝงทะเล

ชาวบานนิยมเลี้ยงกุง เลี้ยงปลากะพงขาว แตบางปก็

ประสบปญหาราคาสินคาประมงตกต่ำ ทำใหชาวบาน

ตองปดกิจการไปหลายราย จากปญหาดังกลาววิทยาลัย

ชุมชนตราดไดเขาไปศึกษาสภาพปญหาพบวา ในพ้ืนที่

ชายฝงของตราดมีการทำฟารมเลี้ยงปูนิ่ม ซึ่งกำลังเปนที่

ตองการของตลาดทั้งในและตางประเทศ มีราคาสูงถึง

กิโลกรัมละ ๒๐๐ – ๓๐๐ บาท

ดวยเหตุนี้วิทยาลัยชุมชนตราดจึงไดประสานงาน

ไปยังคุณวิไลวรรณ เอิบสภาพ เจาของฟารมเล้ียงปูนิ่ม

มาเปนวิทยากรใหกับวิทยาลัยชุมชนเผยแพรวิธีการเลี้ยง

ปูนิ่มใหเปนผูที่สนใจ แมตลอดเวลาที่ผานมาจะมีผู

ทักทวงคุณวิไลวรรณ ไมใหเผยแพรวิธีการเลี้ยง เพราะ

กลัวจะเกิดผลเสียตอกลุมได แตคุณวิไลวรรณไมไดคิด

เชนนั้น กลับเห็นวาการถายทอดความรูใหคนอื่นจะเปน

การตออายุของการเล้ียงปูนิ่มใหยาวนานย่ิงข้ึน

การพัฒนาหลักสูตรวิทยาลัยชุมชนใชวิธีการ

Development a Curriculum หรือ DACUM ซึ่งเปน

วิธีการพัฒนาหลักสูตรในแบบฉบับของวิทยาลัยชุมชน

โดยมีหลักการทำงานงายคือ การสงเจาหนาเขาไปเรียน

รูแบบฝงตัวอยูกับวิทยากร ศึกษาการทำงานของผู

เชี่ยวชาญวาในการประกอบอาชีพนั้นๆ ตองการทักษะ

ความรู ความเช่ียวชาญดานใดบาง จากน้ันเจาหนาที่จะ

เปนคนรวบรวมขอมูลอยางรอบดาน แลวเขาสูกระบวน-

การจัดทำหลักสูตรที่มีผูเชี่ยวชาญที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ

มารวมจัดทำหลักสูตรการเพาะเล้ียงปูนิ่ม

เนื้อหาของหลักสูตร จะเร่ิมตั้งแตการเตรียม

พื้นที่และอุปกรณในการเล้ียงปู ระบบการจัดการน้ำ

การเตรียมพันธุปู วิธีการเล้ียงปูนิ่ม การตลาด และท่ี

สำคัญที่สุดคือวิธีการดูแลรักษาสิ่ งแวดลอมไม ให

เสียหาย

หลักสูตรการเพาะเล้ียงปูนิ่ม สะทอนใหเห็นถึง

ศักยภาพของการเปนเมืองชายทะเล ที่การเพาะเลี้ยง

สัตวน้ำบริเวณชายฝงยังคงเปนอาชีพที่อยูกับชาวตราด

ตอไป

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 128

Page 130: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชนยโสธร ผลิตภัณฑจากผาลายขิด เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 129

Page 131: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 130

Page 132: Community College Dynamic of Development

หมอนลายขิดหลากสีสัน หลาย

ขนาด วางเรยีงรายอวดสายตา

ผูที่สนใจในสวนแสดงนิทรรศการของวิทยาลัยชุมชน

ยโสธร หมอนขิดเปนสัญลักษณหนึ่งของจังหวัดยโสธร

ดังปรากฏอยูในคำขวัญของจังหวัดที่วา “เมืองบ้ังไฟโก

แตงโมหวาน หมอนขวานผาขิด แหลงผลิตขาวหอม

มะลิ”

หมอนขิดก็เปนดังเชนภูมิปญญาทองถิ่นของ

ภูมิภาคอ่ืนๆ ที่ประสบปญหาในเชิงการถายทอด เพราะ

ผูที่มีความสามารถทำไดนั้นมีจำนวนนอย ในขณะท่ี

ความตองการของตลาดน้ันยังมีอยูมาก

และนี่คือความสำเร็จของวิทยาลัยชุมชนยโสธร

ในการพัฒนาหลักสูตรผลิตภัณฑจากผาลายขิด เพ่ือ

ตอบสนองความตองการของคนในชุมชน และเชื่อหรือ

ไมวาดวยความรูเร่ืองผาลายขิดน้ี สามารถทำใหชาวบาน

มีรายไดเสริม ชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตใหดีขึ้นกวาเดิม

หมอนลายขิด เพือ่ความตองการของชุมชน การทอผาขิดเปนวิถีชีวิตวัฒนธรรมของชาวลาว

ซึ่งสืบทอดกันมาตั้งแตคร้ังบรรพบุรุษ “ขิด” เปนภาษา

พื้นบานภาคอีสาน มาจากคำวาสะกิด หมายถึงงัดขึ้น

ชอนข้ึน หรือสะกิดขึ้น แตเดิมชาวยโสธรทอผาใชเองใน

ครัวเรือน ไมวาจะเปนที่นอน หมอน ผาหม ซึ่งความรู

เรื่องการทอผาลายขิดนี้ผูหญิงจะไดรับการถายทอดมา

จากคนรุนแม

แตกอนนั้นเชื่อกันวาผาลายขิดเปนของสูง นิยม

ทอเพื่อเย็บเปนหมอนสำหรับใช หรือนำไปถวายพระเพื่อ

ใชหอพระไตรปฎก ในยุคปจจุบันผาขิดไดถูกนำมาปรับ

เปล่ียนตัดเย็บเปนผลิตภัณฑหลากหลายแบบเพื่อให

เหมาะสมกับความตองการใชงาน เชน เสื้อผา ผาปู

ที่นอน ผามาน ผาสไบ รวมถึงทำเปนหมอนขิด ที่เรา

เห็นและคุนเคยกันนั้นเอง

แลวขิดเกี่ยวของอยางไรกับวิทยาลัยชุมชน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 131

Page 133: Community College Dynamic of Development

ยโสธร นายสงา เศษณสุวรรณ รักษาราชการแทน

ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนยโสธร เลาใหไดทราบวา

“ผลิตภัณฑจากผาลายขิดเปนหลักสูตรการ

อบรมระยะสั้นที่วิทยาลัยชุมชนยโสธรเปดสอนตั้งแตเปด

วิทยาลัยเม่ือป พ.ศ. ๒๕๔๙ เปนหลักสูตรซ่ึงไดมาจาก

การสำรวจความตองการของชาวบานในหมูบานตางๆ”

หลักสูตรผลิตภัณฑจากผาลายขิดเกิดจากความ

ตองการของชาวบานในชุมชน ในการสอบถามวิทยาลัย

ชุมชนมีกระบวนการในการเขาไปถึงชุมชนและหมูบาน

ตางๆ เพื่อไดทราบความตองการท่ีแทจริง

“แตเดิมชาวบานจะประกอบอาชีพทำนา มีบาง

คนเทานั้นที่สามารถทอผาลายขิดและทำหมอนขิดได

คนในหมูบานเรา อยางพวกผูหญิงพอวางเวนจากฤดูทำ

นาก็ไมมีอะไรทำแลว รายไดก็มีแตการทำนาอยางเดียว

ถาเรามีความรูอะไรที่จะสามารถนำมาทำเสริมได ก็จะ

ไดชวยทำใหครอบครัวมีรายไดเพ่ิมข้ึน จึงขอใหวิทยาลัย

ชุมชนเขามาชวยสอนเรื่องการทำหมอนลายขิด” นาง

เดี่ยว สิงหคุรธา สมาชิกของกลุมแมบานบานมะพริก

อำเภอคำเข่ือนแกว เลาใหฟง

“ตอนท่ีวิทยาลัยชุมชนเขามาชวย ทำใหกลุมแม

บานในหมูบานเราสามารถเรียนขั้นตอนการผลิตหมอน

ขิดได โดยเรียนที่วิทยาลัยชุมชนจายคาเลาเรียนถูกมาก

เพียงช่ัวโมงละ ๑ บาทเทานั้น ถาเรียนท่ีอื่นมีคาใชจาย

สูง ชาวบานจายไมไหว” นางสถิล ศรีมะพริก สมาชิก

ของกลุมแมบานบานมะพริก กลาวเสริม

จากหลักสูตรสูการปฏิบัติจริง

นายสงาเลาถึงกระบวนการกอนที่จะมาเปน

หลักสูตรผลิตภัณฑจากผาลายขิดใหไดทราบวา

“หลังจากเราสำรวจความตองการของชุมชนแลว

ชุมชนบอกวาอยากเรียนเรื่องการทำหมอนลายขิด อยาก

ทำเปนอาชีพเสริม เพราะเขารูวาตลาดยังมีความตอง

การผลิตภัณฑนี้สูง ชาวบานเห็นตัวอยางจากหมูบานอื่น

ที่มีคนท่ีทำได ชวยสรางรายไดอยางมาก เขาจึงมีความ

ตองการที่จะเรียนเพื่อเสริมรายได

หนาที่ของวิทยาลัยชุมชนคือเปนผูจัดหาความรู

เราเสาะหาตัวบุคคลในชุมชนท่ีมีความรูในเร่ืองนี้ พบวา

มีภูมิปญญาในทองถิ่นคือนางอรพิน เข็มเพชร และนาง

วาสนา การบรรจง แตทานไมสามารถถายทอดเขียน

เปนหลักสูตรได วิทยาลัยชุมชนก็ทำหนาที่เปนผูรวบรวม

ความรู โดยใหผูเชี่ยวชาญดานการเขียนหลักสูตร มา

เปนผูถายทอดความรูจากภูมิปญญาออกมาเปนหลักสูตร

รวมถึงจัดทำแนวทางการวัดและประเมินผลควบคู ไป

ดวย”

เมื่อหลักสูตรเสร็จสมบูรณ วิทยาลัยชุมชนก็

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 132

Page 134: Community College Dynamic of Development

จัดการเรียนการสอน หลักสูตรผลิตภัณฑจากผาลายขิด

ใชระยะเวลาในการอบรมท้ังส้ิน ๖๐ ชั่วโมง ผูเรียนจะ

ไดเรียนวิธีการทำผลิตภัณฑจากผาลายขิด ๒ แบบ คือ

หมอนขวานผาขิดสิบชอง และเบาะรองน่ัง ๑ พับ โดย

วิทยาลัยชุมชนทำหนาที่จัดเตรียมอุปกรณในการฝก

ปฏิบัติ และทำตารางเรียนสำหรับผูเรียน เนื่องจาก

ผูเรียนสวนใหญมีขอจำกัดเรื่องเวลา

“ผูเรียนของเรามีเวลาวางไมตรงกัน เพราะ

ผูเรียนอยูในหมูบานตางๆ และมีเวลาวางจากงานประจำ

ในไรนาไมพรอมกัน วิทยาลัยชุมชนจึงจัดตารางเรียน

โดยใหมีความยืดหยุนตามความสะดวกของผูเรียนแตละ

หมูบานเปนสำคัญ ใชวิธีสอบถามแตละกลุมบานวา

สะดวกชวงเวลาใดบาง จากน้ันก็จะจัดตารางเรียนใหครู

และผูเรียนไว จากนั้นจะอำนวยความสะดวก บริการ

จัดการสอนถึงที่ นำครูเขาไปสอนใหที่หมูบานเลย” นาย

สงาเลาถึงวิธีการจัดการเรียนการสอนท่ีผานมา

โดยกระบวนการเรียนรูของหลักสูตรผลิตภัณฑ

จากผาลายขิดน้ัน ประกอบดวย

๑. การเตรียมผาลายขิด ซึ่งประกอบดวย

ผาลายขิด ผาลิ้นหมอน ผาปดหนาหมอน ซึ่งทั้งหมดนี้จะ

นำมาเย็บประกอบกัน ขั้นตอนน้ีตองอาศัยประสบการณ

คอนขางมาก เพื่อใหลายขิดที่ปรากฏบนหมอนตรงกัน

๒. การยัดนุน โดยนำฟางมามัดเปนทอนแลว

สอดเขาไปตามชองเพ่ือใหอยูทรง

๓. การสอยผาปดหนาหมอนเปนขั้นตอนสุดทาย

จะเห็นไดวาการทำหมอนลายขิด ในแทบจะทุก

ขั้นตอนลวนตองอาศัยความประณีต การเรียนการสอน

ของวิทยาลัยชุมชนจึงมีการประเมินผลทั้งภาคทฤษฎีและ

ปฏิบัติ เพ่ือใหแนใจไดวาคนท่ีสำเร็จหลักสูตรแลวจะ

สามารถผลิตสินคาที่มีคุณภาพ เพื่อสรางรายไดตอไป

ดังที่นายสงาเลาเสริมวา

“การเรียนการสอนจะมีการประเมินความรูใน

ภาคทฤษฎี โดยอาจารยซักถามความรูวาผูเรียนมีความรู

ความเขาใจหรือไม และประเมินจากผลงาน ทั้งนี้ถาไม

ผานการประเมินก็จะไมไดรับประกาศนียบัตรรับรอง แต

วิทยาลัยชุมชนก็จะจัดการเรียนซอมเสริมให เพ่ือใหมั่น

ใจวาชาวบานเรียนแลวมีความรูและปฏิบัติไดจริง”

ลายขิดยกระดับคุณภาพชีวิต

ที่หมูบานมะพริก อำเภอคำเข่ือนแกว นาจะเปน

กรณีตัวอยางของความสำเร็จของวิทยาลัยชุมชนยโสธร

ในหลักสูตรผลิตภัณฑจากผาลายขิดไดอยางชัดเจนที่สุด

จากวันแรกที่แสดงความจำนงคขอเรียนในหลักสูตรนี้กับ

วิทยาลัยชุมชน เริ่มตนวันนั้นดวยจำนวนสมาชิก ๒๐ คน

ปจจุบันมีความกาวหนามากมายเกิดขึ้นกับกลุมแมบาน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 133

Page 135: Community College Dynamic of Development

บานมะพริกแหงนี้ ดวยจำนวนคนในกลุมที่ขยายเพิ่มขึ้น

เพราะรูปธรรมชัดเจนจากรายไดที่เกิดข้ึนจริง

“ผลิตภัณฑจากผาลายขิด สามารถทำรายไดให

ครอบครัวไดประมาณเดือนละ ๒,๐๐๐-๓,๐๐๐ บาท

ทำใหความเปนอยูเปลี่ยนไปจากเดิม” นางสัมภาษณ ศรี

ออน สมาชิกกลุมแมบานบานมะพริก เลาไปพรอมรอย

ย้ิมระบายไปท่ัวใบหนา

หมอนลายขิดเปนสินคาที่ตลาดยังมีความตอง

การในปริมาณมาก ไมวาจะเปนตลาดในทองถิ่น ตลาด

ในประเทศ และตลาดในตางประเทศ สินคาของกลุมแม

บานบานมะพริกก็เชนกัน มีตลาดจำหนายที่แนนอน

เพราะพอคาเขามารับซื้อถึงที่ ประกอบกับความเขมแข็ง

ของคนในชุมชนเองที่สามารถรวมตัวกันไดอยางเหนียว

แนนในรูปแบบของกลุมแมบาน วิทยาลัยชุมชนมองเห็น

ขอดีในเรื่องนี้จึงใหคำแนะนำและผลักดันใหกลุมจด

ทะเบียนเปนวิสาหกิจชุมชน

“ความสำเร็จของกลุมแมบานบานมะพริก

อำเภอคำเข่ือนแกว เปนตัวอยางหนึ่งที่วิทยาลัยชุมชน

ทำได เราทำหนาที่แนะนำและชวยผลักดันกลุมใหจด

ทะเบียนเปนวิสาหกิจชุมชน เพราะเรามองวาชาวบานมี

ศักยภาพ แตขาดแคลนทุน ดังนั้นเพื่อความม่ันคงใน

ระยะยาวของกลุมจึงตองเขาสูระบบวิสาหะกิจชุมชน

เพราะจากนั้นจะมีโอกาสเติบโตไปเปนธุรกิจขนาดเล็กได

อีก” นายสงาเลาถึงแนวคิดของการเสริมทางการตลาด

ใหแกกลุม

ทุกวันนี้ที่บานมะพริก เราจะไดเห็นภาพแมบาน

หลากหลายวัยมารวมตัวกัน ใบหนายิ้มแยมแจมใส นั่ง

ลอมวงชวยกันทำงานตามหนาที่ที่ถนัด เชน เย็บจักร ยัด

นุน เย็บปดขอบเบาะ ปดหนาหมอน มัดฟางสำหรับยัด

ไสหมอน เรียกไดวาเปนกิจกรรมกลุมที่ตอบสนองคนทุก

วัย ตั้งแตวัยรุนจนกระท่ังถึงผูเฒาผูแกใหไดมีรายได

เล็กๆ นอยๆ

เหมือนนางสุมาลัย เสนเศษ นักศึกษาหลักสูตร

การฝกอบรมผลิตภัณฑจากผาลายขิด ของวิทยาลัย

ชุมชนยโสธรเลาถึงส่ิงที่เกิดขึ้นจากความรูที่ไดรับวา

“วิทยาลัยชุมชนเปนสถาบันการศึกษาท่ีเปดกวาง

และเปนแหลงเรียนรูที่เขาถึงงาย มาจัดการเรียนการ

สอนใหถึงในชุมชน ทำใหเราไมตองเสียคาใชจายในการ

เดินทางไปเรียน สวนคาใชจายในการเรียนก็ไมสูงเกินไป

สวนตัวนั้นเดิมมีอาชีพหลักคือการทำนา และมี

อาชีพเสริมคือรับจางเย็บหมอนขิดอยูแลว แตความรู

เก่ียวกับหมอนขิดมีเพียงแคพื้นฐาน ทำไดเพียงบางขั้น

ตอนเทานั้น จึงไดคาตอบแทนนอย แตพอไดเขารับการ

ฝกอบรมหลักสูตรผลิตภัณฑจากผาลายขิด จากวิทยาลัย

ชุมชนยโสธรจนจบจบหลักสูตรแลว ขณะน้ีสามารถนำ

ความรูที่ ไดมาพัฒนาฝมือของตนเอง สิ่งที่เห็นอยาง

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 134

Page 136: Community College Dynamic of Development

ชัดเจนคือสามารถชวยใหการทำงานอาชีพเสริมไดดีขึ้น

ปจจุบันมีตัวแทนจำหนายหมอนขิดบางรายเขามาติดตอ

ใหงานทำเพ่ิมข้ึน ชวยเพ่ิมรายไดใหแกครอบครัวเปน

อยางดี”

นอกจากไดงาน ไดมีรายไดเสริมแลว ยังชวย

สานสัมพันธของคนตางวัยในหมูบานใหเหนียวแนนกลม

เกลียวย่ิงข้ึน บางรายยังสามารถชักชวนลูกหลานท่ีไป

เปนแรงงานในเมืองหลวงกลับมาทำงานในกลุมไดอีก

ดวย

กาวตอไปของหมอนลายขิด

คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของชุมชน เปนความภาค

ภูมิใจอยางยิ่งของวิทยาลัยชุมชน เพราะสามารถทำให

คนมีความรู มีวิชาชีพติดตัว และยังสามารถมีคุณภาพ

ชีวิตท่ีดีขึ้นกวาเดิม แมวาหลักสูตรผลิตภัณฑจากผาลาย

ขิดจะสามารถตอบสนองความตองการของชุมชนได แต

ยังมีสิ่งที่วิทยาลัยชุมชนตองพัฒนาตอไป นั่นคือพัฒนา

หลักสูตรน้ีใหมีความทันสมัยและตามใหทันกระแสของ

ตลาดอยูเสมอ

ในป ๒๕๕๒ วิทยาลัยชุมชนเปดสอนหลักสูตร

ผลิตภัณฑจากผาลายขิดไปแลว ๒ รุน เนื้อหาของการ

จัดการเรียนการสอนก็มีการพัฒนาอยางไมหยุดยั้ง มี

การปรับเนื้อหาใหสอดคลองและเปนปจจุบัน ทั้งยังมี

ความพยายามในการคิดคนสิ่งใหมๆ อยูเสมอ

“เนื้อหาการสอนมีการพัฒนาท้ังรูปแบบผลิต-

ภัณฑ ตอไปอาจจะไมไดมีแคหมอนขวานลายขิด อาจจะ

มีหมอนขนาดอ่ืนๆ ที่มีความกะทัดรัด เหมาะกับการใช

งานในโอกาสตางๆ มีการพัฒนาลวดลายของลายขิดให

ทันสมัย พยายามจะชวยลดตนทุนของผลิตภัณฑ เพราะ

นุนซึ่งเปนสวนประกอบท่ีสำคัญของหมอนลายขิดนั้นเปน

วัตถุดิบที่หาไดยากและมีราคาสูง หากเราสามารถหา

วัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติดีเทาๆ กัน แตราคาถูกกวามา

ทดแทนได จะชวยใหตนทุนการผลิตลดลง ขณะน้ีกำลัง

อยูในชวงทดลอง โดยวิทยาลัยชุมชนรวมกับคุณครูผูเปน

วิทยากรผูสอนหลักสูตรนี้คิดรวมกัน ใชวัตถุดิบที่มีใน

ทองถ่ิน เชน กก หรือ ฟาง เพ่ือนำมายัดเปนไสใน

หมอนขวาน เมื่อทดลองแลวไดผลดีจะนำไปสอนกลุม

เพ่ิมเติม เพ่ือใหตนทุนการผลิตของชาวบานลดลงได”

นายสงากลาวทิ้งทายถึงโครงการในอนาคต

ทิศทางอนาคตของวิทยาลัยชุมชนยโสธร

บริบทหนึ่งของวิทยาลัยชุมชนยโสธร คือ ผูเรียน

สวนใหญอยูในแวดวงเกษตรกรรม ดังนั้นแนวทางการ

พัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมที่ตองมุงมั่นตอไป จึงมุง

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 135

Page 137: Community College Dynamic of Development

เนนไปท่ีเร่ืองการสงเสริมหรือเพ่ิมศักยภาพทางดานการ

ประกอบอาชีพ ดวยเช่ือมั่นวาเมื่อมีความรู ก็สามารถนำ

ไปประกอบอาชีพเลี้ยงปากทอง ทำใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ขึ้น ทั้งในระดับครอบครัวและระดับชุมชน ดังกรณีที่เกิด

ขึ้นแลวท่ีบานมะพริก อำเภอคำเข่ือนแกว

“หลักสูตรการฝกอบรมท่ีสนใจและมุงหวังอยาก

จะพัฒนา คือ หลักสูตรการเล้ียงโคขุน เพราะมองเห็น

ชองทางในการสรางรายไดจากอาชีพนี้ แตการเล้ียงโค

ขุนก็มีขอจำกัดเรื่องของการลงทุนที่คอนขางสูง ดังนั้น

เมื่อเปดจัดการเรียนการสอนแลว ผูเรียนสำเร็จหลักสูตร

ออกไปพรอมความรู แตไมมีเงินในการลงทุน ก็คงจะไม

ชวยอะไรได

ขณะนี้กำลังหาแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร

ดังกลาว เนื่องจากองคความรูและอาจารยพิเศษมีไวแลว

สิ่งท่ีวิทยาลัยชุมชนยโสธรกำลังทำคือ กำลังหาแนวทาง

เพื่อใหผูเรียนจบไปแลว สามารถไปประกอบเปนอาชีพ

ได โดยคิดวาจะเกิดประโยชนที่สุดเมื่อผูเรียนสามารถ

รวมกลุมกันได คือ รวมกลุมทางดานการเงินเพ่ือใหมี

ความเขมแข็งในการลงทุนเบื้องตน หรือทำใหรูปแบบ

ของสหกรณ ถาทำไดเช่ือไดวาจะชวยยกระดับคุณภาพ

ชีวิตของเกษตรกรไดอยางย่ิง เพราะโคขุนเปนอาชีพที่

สามารถรับประกันรายไดได ตรงน้ีวิทยาลัยชุมชนตอง

ทำหนาที่หาแนวทางสำหรับการลงทุนรวมกันกอน” นาย

สงากลาวถึงหลักสูตรที่กำลังดำเนินการพัฒนา เปนอีก

หลักสูตรที่จะชวยยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในทองถิ่น

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 136

Page 138: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 137

Page 139: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 138

Page 140: Community College Dynamic of Development

“แรหมื่นลาน บานกลางน้ำ ถ้ำงามตา ภูผา

แปลก แมกไมจำปูน บริบูรณดวยทรัพยากร”

คำขวัญของจังหวัดพังงาส่ือถึงความร่ำรวยใน

ทรัพยากรธรรมชาติอยางชัดแจง แมวาในปจจุบัน “แร

หมื่นลาน” จะลดความสำคัญลงไป แตความสวยงาม

ทางธรรมชาติของจังหวัดเล็กๆ ชายฝงทะเลอันดามัน

แหงน้ียิ่งทวีคุณคาและมูลคาใหกับเศรษฐกิจ สังคมของ

ประชาชนในจังหวัด

ภารกิจของวิทยาลัยชุมชนพังงาจึงเปนงานที่

ทาทายยิ่งกวาวิทยาลัยชุมชนใดๆ เพราะอาจดูเหมือนวา

ฐานะทางเศรษฐกิจของประชากรในพ้ืนที่อยู ในขั้นดี

ประชาชนมีการศึกษาสูง แลวยังจะเหลืองานอะไรให

วิทยาลัยชุมชนซ่ึงเปนเพียงสถาบันอุดมศึกษาระดับต่ำ

กวาปริญญาแหงน้ีทำ

เรื่องเลาตอไปนี้ อาจมีคำตอบ!

เก็บตก “เด็กมัธยม” สูร้ัวอุดมศึกษา

วิทยาลัยชุมชนพังงา จัดตั้งขึ้นเมื่อ วันที่ ๘

ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยมี นายมานิต วิมุตติสุข ดำรง

ตำแหนง ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนพังงา ดำเนินงาน

ครั้งแรก วันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ และเปดรับนัก

ศึกษาเขาเรียนปการศึกษา ๒๕๔๙ เริ่มแรก ใชสถานท่ี

โรงเรียนทับปุดวิทยา ตำบลบอแสน อำเภอทับปุด

จังหวัดพังงา เปนที่ตั้งสำนักงานช่ัวคราววิทยาลัยชุมชน

พังงา และ วันที่ ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ยายไปยัง

สำนักงานถาวร ตั้งอยู ตำบลบอแสน อำเภอทับปุด

จงัหวัดพังงา มีเนื้อที่รวมทั้งหมด ๒๐ ไร โดยไดรับมอบ

จากโรงเรียนทับปุดวิทยา

ในชวงเริ่มกอตั้ง วิทยาลัยชุมชนพังงาไดรับการ

สนับสนุนและกำหนดแนวทางการจัดการศึกษา โดย

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตไดเปนผูดำเนินการในระยะเร่ิม

แรก เพื่อสำรวจความตองการและหลักสูตรที่สอดคลอง

ตอชุมชน และไดเปดดำเนินการจัดการเรียนการสอนใน

ปการศึกษา ๒๕๔๙ เปนปแรก ในป ๒๕๕๒ เปด

หลักสูตรอนุปริญญา ๖ สาขาวิชา มีนักศึกษาในปจจุบัน

๔๙๗ คน สำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญาไปแลวรวม

๑๒๕ คน ในขณะท่ีหลักสูตรฝกอบรมประสบความ

สำเร็จอยางสูงมีผูอบรมไปแลวถึง ๓,๖๘๗ คน

ผอ.มานิตเลาถึงการบริหารงานวิทยาลัยชุมชนวา

วิทยาลัยชุมชนกอตั้งขึ้นเพ่ือเปนสถาบันอุดมศึกษาทาง

เลือกใหมสำหรับผูจบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ และเปน

แหลงเพ่ิมพูนทักษะและการเรียนรูตลาดชีวิตใหแก

ประชาชนท่ัวไป โดยเฉพาะผูที่พลาดโอกาสทางการ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 139

Page 141: Community College Dynamic of Development

ศกึษา หลกัการทำงานของวิทยาลยัชมุชนกเ็ปนเอกลักษณ

เฉพาะตัวที่ไมมีสถาบันใดเหมือน กลาวคือ ในชวงเริ่ม

ตนมีมติคณะรัฐมนตรีที่ใหใชอาคารสถานท่ีที่มีอยูแลว

เพื่อที่จะนำงบประมาณสวนใหญไปใชในการสรางคน

มากกวาการสรางวัตถุ มุงพัฒนาคนในทองถ่ินไดมีความ

รูและอาชีพที่ดีขึ้น รวมถึงเก็บคาใชจายในการเขารับการ

ศกึษาอบรมในอัตราท่ีตำ่มาก การบริหารงานวิทยาลัยชมุชน

จึงไมใชเรื่องงายๆ สำหรับผูบริหาร

“เดิมผมเปนผูอำนวยการโรงเรียนระดับมัธยม-

ศึกษาในจังหวัดพังงามาหลายสิบป ทำใหผมรูจักคนมาก

มีเพ่ือน มีพี่ ลูกศิษยลูกหาเต็มจังหวัดไปหมด เมื่อผมมา

เปนผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชน ที่ตองทำงานรวมกับ

เครือขาย และเนนการใชทรัพยากรรวมในจังหวัดใหเกิด

ประโยชนสูงสุด จึงไมสรางปญหาใหกับผม เพราะผมมี

เครือขายโรงเรียนตางๆ อยูแลว ใหเพื่อนทุกคนเปน

หัวหนาหนวยจัด ชวยกันหานักเรียนที่ประสงคจะศึกษา

ตอ บุคลากรของวิทยาลัยชุมชนตอนเร่ิมตั้งไมมีคนเลย

ทำงานไมไดหรอก แตผมไดเครือขายเพื่อนฝูงกัน

ชวยเหลือ” ผอ.มานิตเลาถึงแนวทางการทำงานของ

วิทยาลัยชุมชนในชวงกอตั้ง

และวา “บุคลากรของวิทยาลัยชุมชนพังงาถึงแม

วาจะมีนอยนิด แตเราทำงานโดยใชเครือขายท่ีอยูใน

อำเภอตางๆ ทั้งการรับนักศึกษา การดูแลนักศึกษาที่มา

เขาเรียน และบริหารจัดการศูนยการเรียนรู อยางเชน

เมื่อครั้งไปรวมงานประชุมสัมมนาท่ีกรุงเทพฯ ตนเดือน

กันยายน ผมใหเครือขายเปนผูรับผิดชอบพานักศึกษาไป

รวมกิจกรรม... แตผมจะมีการประชุมทุกเดือน เพ่ือ

ติดตามงานตางๆ แตละศูนยจะชวยกันหาอาจารยพิเศษ

แลวนำเสนอใหสภาวิทยาลัยชุมชนพังงาพิจารณาอนุมัติ

การทำงานผมจะมอบความไววางใจใหกับศูนยตางๆ

มาก ผมจะทำหนาที่เปนคนติดตาม และกำกับดูแลเร่ือง

งบประมาณ”

สำหรับการจัดการเรียนการสอนในระดับ

อนุปริญญานั้น ผอ.มานิตเลาวา คนภาคใตสวนใหญมี

ฐานะ มีความสนใจกับการศึกษาอยางมาก จึงนิยมสงลูก

หลานเรียนจนถึงระดับปริญญาตรี ดังนั้นหลักสูตร

อนุปริญญาจึงไมไดรับความสนใจเทาท่ีควร ตนเองจึง

มาทบทวนศักยภาพของพื้นที่ใหมพบวา วิทยาลัยชุมชน

พังงาควรจะหลักสูตรเนนการทองเที่ยว เพ่ือผลิตคนเขา

สูงานภาคธุรกิจการทองเที่ยว วิทยาลัยชุมชนพังงาจึง

เริม่สำรวจความตองการของประชาชนในแถบจงัหวดัภเูกต็

อ.เขาหลัก จ.พังงา พบวาธุรกิจโรงแรมตองการคนที่มี

จิตใจรักงานบริการและมีทักษะดานภาษาอังกฤษดี ที่มี

วุฒิการศึกษาระดับมัธยมศึกษาถึงระดับอนุปริญญา

วิทยาลัยชุมชนจึงเนนผลิตผู เรียนรองรับตลาดการ

ทองเที่ยว โดยเปดหลักสูตรอนุปริญญาสาขาวิชา

อุตสาหกรรมการทองเที่ยว

“การดำเนินงานผมไดประสานใหโรงเรียนมัธยม

ในเครือขาย เพ่ือเปดสอนหลักสูตรการโรงแรมและการ

ทองเที่ยว โดยรับตั้งแตนักเรียนต้ังแตมัธยมศึกษาปที่

๔ - ๖ เพ่ือเตรียมความพรอมของนักเรียนไวกอนเขามา

เรียนหลักสูตรของวิทยาลัยชุมชน ดังนั้นคนท่ีมาเรียน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 140

Page 142: Community College Dynamic of Development

กับวิทยาลัยชุมชนรับรองมีงานทำอยางแนนอน” ผอ.

มานิตกลาว

นอกจากน้ีวิทยาลัยชุมชนพังงายังไดจัดหลักสูตร

เสริมการทองเที่ยว ๒ หลักสูตรคือ “หลักสูตรฝกอบรม

การรอยสรอยลูกปดโบราณ” และ หลักสูตรภาษา

อังกฤษเพื่อการทองเที่ยว” ผอ.มานิตกลาวอยางมั่นใจวา

ลาสุดวิทยาลัยชุมชนพังงารวมกับสถาบันคีนันแหงเอเชีย

ตกลงสรางความรวมมือพัฒนาหลักสูตรดวยกัน ๒

หลักสูตร คือ การรอยสรอยลูกปดโบราณที่ ไดเชิญ

วิทยากรผูเชี่ยวชาญการทำลูกปดแกวมาจากกรุงเทพฯ

สถาบันคีนันสนับสนุนงบประมาณในดานเครื่องมือและ

อุปกรณในการฝกอบรมประมาณสองแสนบาท วิทยาลัย

ชุมชนพังงาสมทบงบประมาณไปอีกสามหมื่นบาท ตน

คิดวาเปนการลงทุนที่คุมมาก เนื่องจากเปนหลักสูตรที่

ออกแบบมาเปนพิเศษ และเชื่อวาผูที่เขารับการอบรมใน

รุนแรกประมาณ ๒๐ คนจะมีงานและรายไดอยางตอ

เน่ือง โดยเปาหมายวาจะผลิตเคร่ืองประดับที่ทำจากลูก

ปดแกวจำหนายแกนักทองเที่ยวและสถานประกอบการ

โรงแรมในจังหวัดภูเก็ตและพังงา

สวนอีกหลักสูตรหนึ่งคือหลักสูตรภาษาอังกฤษ

เพื่อการทองเที่ยว ซึ่งหลักสูตรนี้มีความพิเศษกวาที่

วิทยาลัยชุมชนเคยจัด เพราะวิทยาลัยชุมชนพังงาไดเชิญ

อาจารยที่เปนเจาของภาษามาสอน โดยจะสอนใหกับ

ชาวบาน ๓ กลุมๆ กลุมละ ๖๐ ชั่วโมง โดยตั้งเปาหมาย

วาผูเขาฝกอบรมตองสามารถสื่อการภาษาอังกฤษใน

ชีวิตประจำวันไดจริง

หลากหลายหลักสูตรกับวิทยาลัยชุมชนพังงา

การจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนพังงา มีการ

ดำเนินการจัดหลักสูตรท่ีมีความหลากหลาย โดยเฉพาะ

หลักสูตรฝกอบรม เปนการจัดศึกษาแบบบูรณาการ

ความรูเชิงวิชาการ และวิชาชีพ ผสมผสานกัน ใน

กระบวนการจดัหลกัสูตรวทิยาลยัชมุชนไดมุงเนนถงึวธิกีาร

ตางๆ เพ่ือใหไดคุณภาพและมาตรฐานตามวัตถุประสงค

กอใหเกิดผลตามเปาหมายและชุมชนไดรับผลตามที่

ชมุชนตองการ ในทีน่ีข้อนำเสนอ ๓ หลกัสตูร คอื หลกัสตูร

ฝกอบรมขับรถยนตเพื่อชุมชน หลักสูตร Service Mind

and Team Work และหลกัสูตรฝกอบรมดอกไมประดษิฐ

จากใบยางพารา

หลักสูตรฝกอบรม “ขับรถยนตเพื่อชุมชน” เปนหลักสูตรที่ประสบความสำเร็จและสรางชื่อ

เสียงใหกับวิทยาลัยชุมชนที่สามารถจัดหลักสูตรที่ตอบ

สนองความตองการของชาวบาน จนมีผูสมัครเรียนเปน

จำนวนมาก ผอ.มานิตเลาวา จากการศึกษาขอมูลการ

จราจรของอำเภอทับปุดพบวา มีอุบัติเหตุทางรถยนต

เกิดขึ้นบอยครั้ง สงผลใหมีคนเสียชีวิตจำนวนมาก สวน

ใหญสาเหตุเกิดจากการไมเคารพกฎจราจร ความ

ประมาท และการขับขี่ดวยความเร็วสูง

ดวยเหตุนี้วิทยาลัยชุมชนพังงารวมมือกับขนสง

จังหวัดพังงาเปดการสอนขับรถยนตขึ้น โดยสำรวจ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 141

Page 143: Community College Dynamic of Development

ความตองการของชุมชนและกลุมคนท่ีมีความจำเปนตอง

ขับรถยนต เพื่อการประกอบอาชีพ และดำเนินชีวิต

ประจำวันพัฒนาหลักสูตรการขับรถยนต โดยวิทยาลัย

ชุมชนสอนปฏิบัติ สวนขนสงจังหวัดพังงาอบรมทฤษฎี

รวมถึงทำการสอบและออกใบขับขี่รถยนต

“การขับรถยนตอยางถูกกฎจราจรเปนส่ิงที่มี

ความสำคัญตอประเทศชาติ คนที่ผานการอบรมจะ

สามารถขับไดถูกตองตามกฎจราจร รับประกันไดวาถา

ผานหลักสูตรของวิทยาลัยชุมชนแลว ขนสงจะออกใบ

อนุญาตขับขี่ให ทำใหมีคนสนใจมาเรียนมาก เรียนกับ

เราชั่วโมงละ ๕ บาท เรียนกันถึง ๙๐ ชั่วโมง มีผูสนใจ

จองเรียนแนนตลอด เปนหลักสูตรที่มีคุณภาพมาก” ผอ.

มานิตกลาว และเพิ่มเติมขอมูลวา เพ่ือความสะดวกและ

มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ เนื่องจากวิทยาลัย

ชุมชนตองจัดหารถยนตมาใหผูเขารับการอบรมฝกหัด

ดังนั้นจึงขอเรียกเก็บคาใชจายในการใชรถยนตตางหาก

ซึ่งผูเขารับการฝกอบรมตางยินดีจาย เพราะไดขับรถ

สภาพใหมเอี่ยม

ผอ.มานิต กลาวยืนยันวา การเรียนการสอนน้ัน

ทำกันอยางมีคุณภาพ โดยเลาถึงบรรยากาศในการ

จัดการเรียนการสอนวา “มีอยูครั้งหนึ่ง วันสุดทายที่

สอบใบขับข่ี ฝนตกหนักมาก พายุลง ขนสงจังหวัดมาส

อบใบอนุญาตขับขี่ถึงวิทยาลัย ถนนหนาวิทยาลัยกวาง

เพียง ๕ เมตรกวาๆ มีการสอบถอยเขาถอยออก ผมยืน

ดูดวยความตื่นเตน เพราะทัศนวิสัยไมดี มองทางแทบไม

เห็น แตทุกคนสามารถสอบผานหมด แสดงวาครูเรา

สอนมีคุณภาพจริงๆ เปนหลักสูตรที่ผมมีความภูมิใจ

มากที่สุด”

ดานนางสาวปยนันท รักษาแกว ผูสำเร็จ

หลักสูตรฝกอบรมการขับรถยนตกลาววา ที่เลือกเรียน

ขับรถยนตกับวิทยาลัยชุมชนพังงา ทั้งที่มีที่อื่นใหเลือก

อีกเยอะ เพราะวาไมอยากเรียนแบบตัวตอตัว แตตอง

การเรียนเปนกลุม จะไดนำปญหาและขอผิดพลาดของ

เพ่ือนในกลุม มาแกไขปญหาที่เกิดขึ้นกับตัวเอง จะได

พูดคุย และชวยกันแกไขปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น วาทำไม

ถาเกิดเหตุการณอยางน้ี เพื่อนทำได แลวทำไมเราทำ

ไมได ในจุดนี้จะไดแลกเปล่ียนความรูซึ่งกันและกันได

“การเรียนการสอนของท่ีนี่ถือวาอยูในเกณฑดี มี

การสอนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติควบคูกันไป และเมื่อไดรับ

ใบอนุญาตขับขี่ก็ถือวาผานเกณฑการประเมินในระดับ

หนึ่ง และท่ีชอบท่ีสุดคือไดเรียนรูเทคนิคและวิธีตางๆ

มากมายจากครูผูสอน ที่ชวยใหดิฉันรูจักแกปญหากับ

เหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน เชน การขับ

รถบนเนินและลาดชัน หรือการขับรถในตลาด ซึ่งมีรถ

และผูคนจำนวนมาก ตองขับ ตองระวังอยางไร ในการ

ขับไมใหรถดับ หรือเฉี่ยวชน” นางสาวปยนันท กลาว

หลักสูตร Service Mind and Team Work เกิดขึ้นจากเจาของผูประกอบการโรงแรมคุระบุรี

กรีนวิว รีสอรท อำเภอ คุระบุรี จังหวัดพังงา ไดเห็น

ความสำคัญของการมีหัวใจบริการและการทำงานเปน

ทมี และตองการปลูกฝงใหพนกังานในองคกรมีสมรรถนะ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 142

Page 144: Community College Dynamic of Development

ในการบริหารและการทำงานเปนทีม จึงขอความรวมมือ

กับวิทยาลัยชุมชนพังงา ในการพัฒนาพนักงานของโรง

แรม ซึ่งวิทยาลัยชุมชนไดดำเนินการ ดังน้ี

• พฒันาหลกัสตูร Service Mind and Team Work

• จัดฝกอบรมใหกับพนักงานของโรมแรม

คุระบุรีกรีนวิว รีสอรท อำเภอคุระบุรี

• ผลสำเร็จ พนักงานของโรงแรมคุระบุรีกรีน

วิว รีสอรท มีศักยภาพในการปฏิบัติงาน สามารถขับ

เคล่ือนและผลักดันองคกรใหกาวไปสูความสำเร็จ

วิทยาลัยชุมชนพังงาไดรับความสนใจจากหนวยงานตางๆ

ในการจัดฝกอบรม

หลักสูตรดอกไมประดิษฐจากใบยางพารา ดวยความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ

ของจังหวัดพังงา เชน เปลือกหอย เกล็ดปลา ใบยาง

พารา เปนตน วัสดุทองถิ่นดังกลาวบางชนิดไมมีคุณคา

ทางเศรษฐกิจ เชน ใบยางพารา สามารถนำมาใชใหเกิด

ผลิตสรางรายไดและเสริมคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน

ไดเปนอยางดี

วิทยาลัยชุมชนพังงาจึงจัดอบรมหลักสูตร “การ

พัฒนาผลิตภัณฑจากใบยางพารา”ขึ้น เพื่อตอบสนอง

ความตองการของชุมชน โดยวิทยาลัยชุมชนไดเชิญ

วทิยากรทองถิน่มาสอนชาวบาน เพือ่ผลติดอกไมประดษิฐ

จากใบยางพารา เชน ดอกลิลลี่ ดอกกุหลาบมวน ดอก

กุหลาบติดเสื้อ ดอกบัว และดอกพิงคพิงงา ซึ่งลวนแต

เปนดอกไมประดิษฐที่มีสีสัน รูปทรงสวยงาม ทำงาย

ตนทุนต่ำเพราะใชวัตถุดิบที่มีในทองถิ่นรูปแบบของดอก

ใชตกแตงบรรจุภัณฑทุกประเภทไดสวยงามและสะดุดตา

ผลสืบเนื่องจากเปดอบรมหลักสูตรดังกลาว ทำ

ใหผู เรียนสามารถเพิ่มรายได ใหกับครอบครัวและ

สามารถใชเวลาวางใหเปนประโยชน

จากเรื่องเลาขางตนจะเห็นไดวา วิทยาลัยชุมชน

พังงาพยายามจัดการเรียนการสอนในรูปแบบที่เปดกวาง

และหลากหลายครอบคลุมผูเรียนทุกระดับช้ันในสังคม

เนนความสมัครใจ โดยยึดหลักการพัฒนานักศึกษาให

สามารถพัฒนาตนเอง พัฒนางาน พัฒนาสังคม และ

ดำรงชีวิตอยูอยางมีความสุข มีการจัดการเรียนการ

สอนในระดับอนุปริญญาและหลักสูตรระยะส้ันที่สอด

คลองตอความตองการของชุมชน โดยคำนึงถึงความรูที่

ผูเรียนจะไดรับ และสามารถนำไปพัฒนาและเพ่ิมเติม

ทักษะในการประกอบอาชีพ และดำรงชีวิต ใหทันตอ

การเปลี่ยนแปลงของสังคมและเศรษฐกิจ เปนหนึ่งใน

วิทยาลัยชุมชนที่เปดโอกาสใหเครือขายหนวยงาน และ

ประชาชนในพ้ืนที่เขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษาใน

แทบทุกๆ ดาน ทั้งดานอาคารสถานท่ีหนวยจัดการศึกษา

ดานบุคลากร และดานวิชาการ เปนตน

มาบัดนี้ จากผลงานและความมานะอุตสาหะ

ของผูบริหาร บุคลากร สภาวิทยาลัยชุมชน และ

เครือขายองคกรหนวยงานตางๆ ในจังหวัดพังงาที่

สามัคคีรวมแรงรวมใจกันพัฒนาวิทยาลัยชุมชน คำขวัญ

ของจังหวัดพังงา อาจตองเพ่ิมอีกสรอยวลีหนึ่งวา “มี

วิทยาลัยชุมชนเหมือนมีทรัพยอยูนับแสน” ก็เปนได

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 143

Page 145: Community College Dynamic of Development

เร่ืองเลาชาววิทยาลัยชุมชนพังงา บนเกาะหมากนอย

จังหวัดพังงา บางครั้งเปนพื้นที่ที่อยูหางไกล

การเดินทางคอนขางลำบาก

ครั้งหนึ่ง..เราชาววิทยาลัยชุมชนพังงา ตอง

เดินทางไปจัดฝกอบรมหลักสูตรคอมพิวเตอรเบื้องตน

ณ ตำบลเกาะหมากนอย อำเภอเมือง จังหวัดพังงา ซึ่ง

ตองเดินทางดวยเรือประมงขนาดเล็ก ในขณะนั้นเปน

ชวงมรสุม มีลมแรงและคลื่นสูงตลอดระยะเวลาในการ

เดินทางเกือบ ๒ ชั่วโมง แตความต้ังใจจริงของกลุมผู

เรียน และความมุงมั่นของพวกเรา..ชาววิทยาลัยชุมชน

พังงา ในที่สุด..พวกเราก็สามารถเดินทางมาถึงเกาะ

หมากนอยไดสำเร็จ ทามกลางความโลงใจของทุกๆ คน

แตเม่ือมาถึงก็พบวาบนเกาะมีรถกระบะเพียง ๑ คัน

ชาวบานสวนใหญเดินทางดวยรถจักรยานยนต ดวย

น้ำใจไมตรีของชาวบานที่นั่น ทำใหพวกเรามีรถ

จักรยานยนต ๓ คันสำหรับคน ๖ คน ในการจัดฝก

อบรมหลักสูตรคอมพิวเตอรใหแกชาวเกาะหมากนอยได

สำเร็จลุลวงไปดวยดี

และน่ีเปนอีกหน่ึงเหตุการณ..ในหลายตอ

หลายเหตุการณที่ยังคงอยู ในความทรงจำของชาว

วิทยาลัยชุมชนพังงาทุกคน ในทุกคร้ังที่ตองเดินทางไป

ในพื้นที่ไกลๆ ตองลำบากลำบนในการเดินทาง ทุกๆ

คนจะเหน็ดเหน่ือย และเม่ือยลา แตทันทีที่ไปถึงไดพบ

เจอกับผูเรียน พวกเราก็สัมผัสไดถึงความตั้งใจและ

ความหวังที่จะไดรับความรู ที่วิทยาลัยชุมชนหยิบยื่นให

ความเหน็ดเหนื่อยใดๆ ที่มีก็จะมลายหายไปทันที จะยัง

คงเหลือเพียงแตความมุ งมั่นที่ตองการจะพัฒนา

คน..และพัฒนาจังหวัดพังงาสืบตอไป ตามอุดมการณ

และแรงศรัทธาของวิทยาลัยชุมชน “การศึกษาของ

ประชาชน บริหารจัดการโดยประชาชน และจัดตาม

ความตองการของประชาชน”

บทความโดย อาจารยจิตตาภรณ กลอมแดง

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 144

Page 146: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชนสูตล ขอบฟากวางของชาวเล

ณ เกาะหลีเปะ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 145

Page 147: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 146

Page 148: Community College Dynamic of Development

หยกตื่นเชามาเตรียมงานรับนักทองเที่ยว

เปนวันใหมที่เขามุงมั่นทำงานดวย

ความมั่นใจ เปนความมั่นใจที่เกิดจากการมีความรูจาก

การเขารับการฝกอบรมภาษาอังกฤษและการบริการใน

รานคาที่วิทยาลัยชุมชนสตูลใหความรูแกเขา

วันนี้ของหยก เชนเดียวกับชาวเลอีกกวารอยชีวิตที่ไดรับโอกาสทางการศึกษา อยางที่ไมเคยคาดฝนมา

กอน... เขาจึงไดรูวา ขอบฟานั้นกวางเพียงใด ความรู

และกระบวนการเรียนรูที่วิทยาลัยชุมชน มาชวยเหลือ

สนับสนุนไดขยายขอบฟาแหงความรูของเขาและเพ่ือน

ชาวเลใหกวางไกลออกไปอีก...

วิถีชาวเล “อูรังลาโวย”

เกาะหลีเปะ เปนเกาะเดียวในอุทยานแหงชาติ

ตะรุเตา แหลงทองเท่ียวทางทะเลท่ีสวยงาม เปนที่นิยม

ของนักทองเที่ยวชาวตางชาติจำนวนมาก ประชากรสวน

ใหญที่อาศัยอยูบนเกาะเปนชาวเลอูรังลาโวย (อูรังลา

โวย หมายถึง คนทะเล) ประกอบอาชีพทำการประมง

แบบดังเดิม โดยการลองทองเรือตามหมูเกาะ กลุมละ

๕ - ๖ ลำ ลาสัตวทะเลดวยเคร่ืองมืองายๆ อยาง ฉมวก

สามงาม เบ็ด พวกเขามีความสามารถในการดำน้ำทะเล

ลึกเพ่ือแทงปลาหรือจับกุงมังกรดวยมือเปลา และดำน้ำ

เก็บหอยจากกนทะเล

เกาะหลีเปะ ตั้งอยูใจกลางมหาสุมทรอันดามัน

เปนพ้ืนที่ที่อยูหางไกลความเจริญ แตมีทรัพยากร

ธรรมชาติที่สวยงาม วิทยาลัยชุมชนสตูลไดดำเนินการ

สำรวจ ศึกษาความตองการ และแนวทางในการพัฒนา

คุณภาพชีวิต ของชาวเล ณ เกาะหลีเปะ พบสภาพ

ปญหาความยากจนของชาวเล ขาดความรู และทักษะใน

การประกอบอาชีพ เมื่อความเจริญเขาไปในพ้ืนที่ มีนัก

ธุรกิจเขาไปลงทุนประกอบอาชีพทองเที่ยวบนเกาะ

ชาวเลก็เปล่ียนวิถีชีวติกลายมาเปนลูกจางรานอาหาร

นายนำชัย กฤษณาสกุล ผูอำนวยการวิทยาลัย

ชุมชนสตูล กลาววา ประชากรบนเกาะหลีเปะสวนใหญ

จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ใชวิถีชีวิตแบบดังเดิม

ในขณะท่ีโลกมีความเปล่ียนแปลงมากมาย จากพ้ืนที่ที่

เคยเงียบสงบ กลับมีนักทองเท่ียว มีนักธุรกิจเขาไปบน

เกาะ เพ่ือทำธุรกิจดานการทองเที่ยว วิถีชีวิตของคน

ทองถิ่นจึงเปลี่ยนไป จากเดิมเคยทำประมง กลับกลาย

มาเปนลูกจางรานคา มีรายไดเล็กๆ นอยๆ ชาวบานก็

ขึ้นฝงไปใชจายเงินทองแบบเกินตัว ทำใหชาวบานยิ่งจน

ขึ้นเร่ือยๆ แมจะมีหลายหนวยงานเขามาสำรวจสภาพ

ปญหาในพ้ืนที่แลว แตยังไมมีหนวยงานใดลงมาแก

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 147

Page 149: Community College Dynamic of Development

ปญหาท่ีเกิดข้ึนใหชาวบานบนเกาะ วิทยาลัยชุมชนจึง

อยากมาชวยพัฒนาอาชีพใหกับชาวบาน

“เมื่อชาวบานเห็นคนจากขางนอกมาทำธุรกิจ

การทองเที่ยวบนเกาะ เห็นนักทองเที่ยวเขามา พวกเขาก็

อยากจะทำมาหากินแบบคนเมืองบาง แตเขาทำไมเปน

เพราะไมมีความรู ไมเคยมีใครเขามาใหโอกาส ใหความ

รูในการพัฒนาตนเองเลย” ผอ.นำชัยกลาว และวา จาก

การสำรวจความตองการของชาวบานพบวา ชาวบาน

ตองการท่ีจะประกอบอาชีพเกี่ยวกับการทองเท่ียว เชน

การใหบริการเชาเรือพานักทองเท่ียวชมรอบเกาะ การ

ทำอาหาร และขนมขาย เปนตน

พัฒนาหลักสูตรดวยกระบวนการ DACUM

ดวยเหตุนี้ในป ๒๕๕๐ วิทยาลัยชุมชนสตูลไดลง

มาเกบ็ขอมลูเชงิลกึ โดยการเขาไปสำรวจ และสัมภาษณ

ชาวเลที่อาศัยอยูบนเกาะหลีเปะ และนำผลมาวิเคราะห

ขอมูลพบวา นาจะพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวเล โดยให

สอดคลองกับยุทธศาสตรจังหวัดสตูล ที่เนนทางดานการ

ทองเท่ียว ดังน้ันจึงไดมีกระบวนการพัฒนาหลักสูตรที่จะ

นำสูยุทธศาสตรดานการทองเที่ยว และเหมาะสมกับ

ประชาชนบนเกาะหลีเปะ

วิทยาลัยชุมชนไดนำขอมูลดังกลาวมาพัฒนา

หลักสูตรดวยกระบวนการ DACUM : Development a

Curriculum ซึ่งเปนวิธีการพัฒนาหลักสูตรของวิทยาลัย

ชมุชน โดยเริม่จากการวิเคราะหสมรรถนะในการประกอบ

อาชีพของชาวเลบนเกาะหลี

นายมนัส จันทรพวง หัวหนางานพัฒนาหลักสูตร

ฝกอบรมเลาถึงการทำงานวา วิทยาลัยชุมชนจะมีทีมงาน

๕ คน เดินเทาลงไปสำรวจความตองการของชาวบานทุก

หลังบนเกาะกวา ๓๐๐ หลังคาเรือน แตเนื่องจากชาว

บานบนเกาะยังไมรูจักเจาหนาที่วิทยาลัยชุมชน ในระยะ

เริ่มแรกของการทำงานทีมงานจึงไดประสานไปยัง

โรงเรียน หรือสาธารณสุขหมูบานบนเกาะหลีเปะ เพื่อ

ขอความชวยเหลือจากครู และอาสาสมัครสาธารณสุข

หมูบาน (อสม.) ที่มีความรูจักคุนเคยกับชาวบานเปน

อยางดีใหชวยพาทีมงานลงพ้ืนที่ เพ่ือพบปะพูดคุยสอบ

ถามความตองการของชาวบาน

สำหรับวิธีการสอบถามความตองการของชาว

บาน ทีมงานจะไมใชวิธีการถาม แลวใหชาวบานตอบ

แตจะใชวิธีการชวนชาวบานพูดคุยไปเรื่อยๆ เพื่อสราง

ความคุนเคยใหเกิดขึ้นทั้ง ๒ ฝาย

“การทำงานของทีมงานจะใชวิธีการเดินเทา เดิน

ทุกรูปแบบทั้งแนวนอน แนวตั้ง แนวทแยง เพ่ือจะเขาไป

พูดคุยกับชาวบาน ไปถึงบานไหนก็เคาะประตูบานนั้น

ตอนแรกชาวบานก็งงวาพวกผมเปนใคร ดีที่ทีมงานไดครู

และอสม.ที่คุนเคยอยูกับชาวบานเปนผูชวยนำทางให

ชาวบานเลยใหความรวมมืออยางดี” นายมนัส กลาว

และวา กวาจะสำรวจความตองการของชาวบานจนครบทกุ

คน ทมีงานตองคลกุคลอีาศัยอยูกบัชาวบานนานรวมเดอืน

จนปจจบุนันีท้มีงานเดนิไปไหนจะมีแตคนทกัทัว่ทัง้เกาะ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 148

Page 150: Community College Dynamic of Development

หลักสูตรในฝนของชาวเล “เกาะหลีเปะ” เมื่อไดขอมูลตามที่ตองการแลว จากนั้นเขาสูขั้น

ตอนการรางหลักสูตร ในขั้นตอนนี้ทีมงานไดเชิญ

ผูเชี่ยวชาญในสาขาอาชีพดานการทองเที่ยวมารวมจัดทำ

หลักสูตร โดยทีมงานจะนำขอมูลที่ ไดสำรวจความ

ตองการของชาวบานทั้งหมดเสนอตอคณะทำงานยกราง

หลักสูตร เพื่อกำหนดขอบเขตของเน้ือหา กำหนด

วตัถปุระสงค ผลลพัธการเรียนรู และวธิวีดัผลประเมนิผล

เมื่อยกรางหลักสูตรเสร็จแลว ขั้นตอนตอมาคือ

การวิพากษหลักสูตรโดยผูเชี่ยวชาญอีกคร้ัง แลวสงตอ

ใหสภาวชิาการและสภาวทิยาลยัชมุชนพจิารณาขออนมุตัิ

เปดหลักสูตร ตามลำดับ จึงไดหลักสูตรที่เปนความ

ตองการของชาวเลบนเกาะหลีเปะ ๔ หลักสูตร ดังนี้

๑. หลักสูตรภาษาอังกฤษและการบริการในราน

อาหาร จำนวน ๓๐ ชั่วโมง จากการขยายตัวดานการ

ทองเท่ียวอยางมาก ทำใหมีความตองการพนักงานดาน

ทีพ่กั และพนกังานเสริฟ เปนจำนวนมาก โดยผูประกอบ

การเอกชนแตไดนำเอาลูกหลานของชาวเลท่ีอาศัยอยูบน

เกาะมาเปนพนักงานบริการดานที่พักและอาหาร ซึ่ง

พนักงานดังกลาวเปนผูดอยโอกาสทางการศึกษา สวน

ใหญจบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาช้ันปที่ ๓ ยังขาด

ความรูความสามารถ ทักษะ และประสบการณในการ

ใชภาษาอังกฤษเพ่ือสื่อสารกับนักทองเที่ยวชาวตางชาติ

และเทคนิควิธีการบริการตางๆ วิทยาลัยชุมชนสตูลได

ดำเนินการฝกอบรมหลักสูตรภาษาอังกฤษและการ

บริการในรานอาหาร เปนการสรางบุคลากรดานการ

ทองเที่ยว ทำใหนักเที่ยวที่มาเที่ยวยังเกาะหลีเปะ มี

ความประทับใจ ในการบริการและการใชภาษาอังกฤษ

เปนการสรางใหเปนการทองเท่ียวแบบย่ังยืนตอไปใน

อนาคต

๒. หลักสูตรอาหารขนมเพื่อธุรกิจ จำนวน ๖๐

ชั่วโมง เนื่องดวยกลุมแมบานและประชาชนท่ีอาศัยบน

เกาะยังขาดอาชีพที่พัฒนาคุณภาพชีวิตใหดียิ่งขึ้น ซึ่งบน

เกาะหลีเปะมีนักเที่ยวชาวตางชาติจำนวนมาก วิทยาลัย

ชุมชนสตูลจึงไดจัดฝกอบรมหลักสูตรอาหารขนมเพ่ือ

ธุรกิจ ซึ่งเปนการสรางอาชีพ และเสริมรายไดใหกับ

กลุมแมบานท่ีอาศัยอยูบนเกาะหลีเปะ ประกอบไปดวย

ขนมเคกกลวยหอม เคกมวน คุกก้ี พิซซา กะหร่ีพับ

โดนัท ขนมปงตางๆ รวมท้ังถายทอดเน้ือหาเก่ียวกับ

ความรู ความเขาใจ มีทักษะ มีความรูในการบรรจุหีบ

หอผลิตภัณฑ (Packaging) การจัดการธุรกิจและจัด

จำหนาย รวมถึงการมีคุณธรรมจริยธรรมและกิจนิสัยที่ดี

ในการทำงาน ปฏิบัติงานอยางระมัดระวัง ประณีต

สะอาดและถูกสุขลักษณะ

๓. การจัดการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ จำนวน ๓๐

ชั่วโมง เนื้อหาหลักสูตรเปนการใหความรูเบื้องตนเกี่ยว

กบัการทองเทีย่วเชิงอนรุกัษ วธิกีารดำเนินธุรกิจ นโยบาย

และกฎหมายท่ีเกี่ยวกับธุรกิจการทองเที่ยว เพื่อให

ประชาชนบนเกาะมีวิธีการในการจัดการเกี่ยวกับการ

ทองเท่ียว กับนักทองเท่ียวที่เขามาทองเท่ียวทุกคนมี

จิตสำนึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติควบคูไปกับ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 149

Page 151: Community College Dynamic of Development

การทองเที่ยวซึ่งเปนผลดีใหกับนักทองเที่ยวเองและยัง

เปนผลดีกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่มีอยู

ตามสถานท่ีทองเที่ยว

๔. หลักสูตรการชวยเหลือผูประสบภัยทางทะเล

จำนวน ๒๐ ชั่วโมง เพื่อสรางความม่ันใจของนัก

ทองเที่ยวในดานความปลอดภัย และพัฒนาศักยภาพ

ผูประกอบการอาชีพที่ใหบริการแกนักทองเที่ยว ไดแก

พนักงานขับเรือหางตามเกาะ พนักงานบริการดานที่พัก

รีสอรทที่ติดริมทะเล และเจาหนาที่ของภาครัฐที่ทำ

หนาท่ีเกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล ไดแก เจาหนาท่ี

อุทยาน ตำรวจน้ำ ทหารรักษาชายฝงสตูล วิทยาลัย

ชุมชนไดจัดในการฝกอบรมหลักสูตรฝกอบรมชวยเหลือ

ผูประสบภัยทางทะเล เพื่อพัฒนาบุคลากรทางดานการ

ทองเท่ียวทางทะเล ใหมีความรูทักษะในการชวยเหลือ

ผูประสบภัยทางทะเลอยางถูกตอง

นอกจากนี้ในดานการบริการวิชาการ วิทยาลัย

ชุมชนสตูลไดดำเนินการโครงการฟนฟูศิลปะพ้ืนบาน

“ดาระ” และหลักสูตรมัคคุเทศกนอย ใหนักเรียนที่

โรงเรียนบานเกาะอาดัง ณ เกาะหลีเปะ และประชาชน

ที่อาศัยอยูบนเกาะหลีเปะเพ่ือเปนการสืบสานวัฒนธรรม

และตระหนักในบทบาทความเปนเจาบานที่ดี

ดานนางสาวหยก หาญทะเล ลูกหลานชาวเลวัย

๑๙ ป ผูเขารับการฝกอบรมภาษาอังกฤษและการ

บริการในรานคากลาววา ตนประกอบอาชีพเปนพนัก

งานเสริฟที่รานคา ประสบปญหาเร่ืองการทำงานมาก

เพราะที่รานจะมีนักทองเที่ยวชาวตางชาติเขามาในราน

ตนสื่อสารกับเขาไมรูเรื่อง จึงตองคอยหลบ เพราะอายท่ี

พูดภาษาอังกฤษไมได พอหลบเขาปลอยๆ เจานายก็ดุ

เมื่อรูวาวิทยาลัยชุมชนเปดสอนภาษาอังกฤษในราน

อาหารจึงตัดสินใจเขาเรียน การจัดการเรียนการสอนครู

จะใหแบบเรียนมาใหตนทองจำกอน พอทายช่ัวโมง ครู

จะเรียกใหไปฝกพูดหนาชั้นเรียน ตนเองก็พูดได

“ปจจุบันนี้หนูไดนำความรูที่ไดในชั้นเรียนมาให

ในการทำงาน ทำใหทุกวันนี้สามารถสื่อสารแนะนำเมนู

อาหารใหกับนักทองเที่ยวได พอหนูทำงานดีขึ้น เจานาย

ก็ไมดุหนูเหมือนแตกอนแลว” หยกกลาวทิ้งทาย

ปจจุบันชาวเลบนเกาะหลีเปะไดนำความรู ไป

ประกอบอาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิตสรางสังคม สราง

รายได และสรางความประทับใจใหแกนักทองเที่ยว ซึ่ง

นำไปสูการพัฒนาศักยภาพการทองเท่ียวจังหวัดสตูล

อยางยั่งยืนตอไป

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 150

Page 152: Community College Dynamic of Development

“หลกัสตูรการจัดการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ” สรางเจาบานท่ีดี นำรายไดสูชุมชน

“สตูล” เปนจังหวัดที่มีแหลงทองเที่ยวทางธรรม-

ชาติมากมาย เนื่องจากมีสภาพทางภูมิประเทศหลาก

หลาย ทั้งภูเขา และที่ราบลุม สวนชายฝงทะลเปนที่ราบ

และปาชายเลน นอกจากน้ีเขตจังหวัดสูตลยังมีหมูเกาะ

ตางๆ ในทะเลอันดามันอีกวารอยเกาะ เชนหมูเกาะตง

หมูเกาะตะรุเตา เกาะเภตรา เกาะสาหราย ฯลฯ

ปจจุบันนักทองเที่ยวเริ่มหันมาใหความสนใจ

สถานท่ีทองเท่ียวท่ียังสะอาดบริสุทธ์ิ ผูคนไมพลุกพลาน

มากนัก จังหวัดสตูลจึงกลายเปนแหลงทองเที่ยวใหมที่มี

ผูคนจากทั่วทุกสารทิศเขามาเที่ยวชม อุตสาหกรรมการ

ทองเที่ยวที่เริ่มเติบโตข้ึนนั้นเปนสัญญาณดี ที่จะทำให

คนในจังหวัดมีรายไดเพิ่มมากขึ้น แตการบริหารจัดการ

ทรัพยากรทางธรรมชาติก็ไมอาจถูกละเลยได เพื่อการ

ทองเที่ยวที่ยั่งยืน

วิทยาลัยชุมชนสตูลไดตระหนักถึงความสำคัญ

ของทรัพยากรธรรมชาติ และตองการใชประชาชนใน

จังหวัดสูตลมีชองทางหารายไดเพิ่มมากข้ึน อีกทั้งยังเปน

การตอบสนองยทุธศาสตรจงัหวัดทีเ่นนเรือ่งการทองเทีย่ว

จึงเปดหลักสูตรการจัดการทองเที่ยวเชิงอนุรักษขึ้น ๒

หลักสูตรคือ หลักสูตรมัคคุเทศกเฉพาะทางทะเลชายฝง

และหลักสูตรมัคคุเทศกเฉพาะแหลงทองเที่ยวทาง

ธรรมชาติ (ทางบก) เพื่อสรางบุคคลกรในทองถิ่นใหเปน

เจาบานที่ดี

การจัดฝกอบรม ”มัคคุเทศกเฉพาะทางทะเล

ชายฝง” วิทยาลัยชุมชนไดรับการเห็นชอบจากสำนักงาน

ทะเบียนธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศกกลางใหดำเนินการ

จัดอบรม โดยใชหลักสูตรมาตรฐานการอบรมมัคคุเทศก

จำนวน ๑๐๙ ชั่วโมง เนื้อหาของหลักสูตรจะมีทั้งภาค

ทฤษฎี และทดลองปฏิบัติ การออกสนามผูที่ผานการ

อบรมสามารถนำความรูไปประกอบอาชีพมัคคุเทศก

และการบริการนำเท่ียวในทองถ่ินของตนเองไดอยางมี

คุณภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม และนำวุฒิบัตรขอใบ

อนุญาตประกอบธุรกิจนำเท่ียวมัคคุเทศกเฉพาะทาง

ชายฝงตอไป

สวนหลักสูตรมัคคุเทศกเฉพาะแหลงทองเที่ยว

ทางธรรมชาติ วิทยาลัยชุมชนไดจัดอบรมใหชาวบานท่ี

สนใจเปนมัคคุเทศก และการบริการนำเท่ียวในทองถ่ิน

ของตนเอง แตไมมีใบอนุญาตประกอบอาชีพมัคคุเทศก

โดยความเห็นชอบของการทองเท่ียวแหงประเทศไทยให

ใชหลักสูตร “มัคคุเทศกเฉพาะทองเที่ยวทางธรรมชาติ”

จำนวน ๘๘ ชั่วโมง ซึ่งผูผานการอบรมจะตองทดสอบทั้ง

ภาคทฤษฎี และปฏิบัติตามที่หลักสูตรกำหนด เพื่อให

สามารถนำเท่ียวใหกับนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาว

ตางประเทศชาติ ที่มาทองเที่ยวในเขตรักษาพันธุสัตวปา

เทือกเขาบรรทัดได

ดาน ด.ต.สมัคร สะดน ผูเขารับการอบรม

หลักสูตร ”การจัดการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ” เลาถึง

สาเหตุที่ตัดสินใจเขาฝกอบรมกับวิทยาลัยชุมชนวา

กอนหนานีช้มุชนบานหวัทาง อดุมสมบรูณดวยปาชายเลน

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 151

Page 153: Community College Dynamic of Development

และสัตวน้ำ แตหลังจากการใหสัมปทานปาโกงกาง

ทรัพยากรตางๆ ก็รอยหรอ ชาวบานบริเวณนี้ก็เลย

ปรึกษากันวาจะทำเร่ืองการทองเท่ียวควบคูไปกับการ

อนุรักษ เพื่อใหทรัพยากรที่มีอยูกลับสูสภาพเดิม และ

คนในชมุชนจะไดมอีาชพี โดยไมตองออกไปทำงานรบัจาง

ที่อื่น แตเนื่องจากชาวบานไมมีความรูเรื่องการบริหาร

จัดการ เลยคิดวาเปนโอกาสดีในการเริ่มดำเนินการฟนฟู

ทรัพยากรท่ีมีอยูกลับสูสภาพเดิมตามความตองการของ

ชุมชน ชาวบานจึงไดรวมกลุมกันไปติดตอประสานงาน

กับทางวิทยาลัยชุมชนสตูลใหชวยอบรมความรูเรื่องการ

จัดการทองเที่ยวเชิงอนุรกัษใหกับประชาชนในพ้ืนที่

“การจัดการเรียนการสอนจะมีทั้งทฤษฎี และ

ออกสนามจริง สอนเรื่องการบริหารจัดการ และกฎ

ระเบียบตางๆ เก่ียวกับการทองเที่ยว ปจจุบันผมก็นำ

ความรูที่ไดรับมาประกอบอาชีพเสริมเปนมัคคุเทศกนำ

เที่ยว ขอดีที่ผมเห็นไดชัดจากการเขาฝกอบรมในคร้ังน้ี

คือ การสอนท่ีเนนลงมือปฏิบัติจริงทุกข้ันตอน ทำให

เวลาไปปฏิบัติงานเจอปญหาติดขัดก็สามารถแกปญหา

ได“ ด.ต.สมัคร กลาว และวา

เม่ือกอนนี้ที่หมูบานไดรับเรือคายัดจากเทศบาล

มา ๑๐ ลำ ดวยความที่ชาวบานไมมีความรูเร่ืองการ

บริหารจัดการทองเที่ยวเลย ไดเรือคายัคมาก็ไมรูจัดทำ

อะไร ก็ปลอยวางทิ้งตากแดดตากฝนไวอยางนั้นเรือก็

ทรุดโทรมไป โดยไมไดใชประโยชน ดวยความรูเทาไม

ถึงการณนั่นเอง

หลังจากที่ไดผานการฝกอบรมกับทางวิทยาลัย

ชุมชนสตูล ชาวบานก็เร่ิมรวมกลุมกันจัดตั้งเปนชมรม

สงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษขึ้นในหมูบาน โดยทา

งกลุมฯไดจัดโปรแกรมการทองเที่ยวในหลายรูปแบบ

เชน การลองเรอืคายคัชมสถานทีท่องเทีย่วทางธรรมชาติ

หรือการเขามาในรูปแบบการศึกษาดูงาน โดยทางกลุมฯ

จะจัดใหมีแหลงใหศึกษาหาความรูเก่ียวกับการอนุรักษ

สิ่งแวดลอมในพ้ืนที่

สำหรับรายไดที่ไดรับจากการทองเที่ยวนั้น คน

ทำงานทุกคน เชน คนนำเที่ยว วิทยากร จะไดคา

ตอบแทน สวนรายไดที่เหลือก็จะนำเขาชุมชน เพ่ือใหใน

การพฒันาชมุชนตอไป นอกจากนี้ในสวนของกลุมแมบาน

ก็เริ่มมีรายไดจากการรับทำอาหารใหกับนักทองเที่ยว

และกลุมตางๆ ที่มาศึกษาดูงานของชุมชนอีกดวย

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 152

Page 154: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชนแพร หมอหอมยุคใหม ไปไกลท่ัวโลก!

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 153

Page 155: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 154

Page 156: Community College Dynamic of Development

ภาพดาราสาวนักแสดงยอดนิยมแหงยุคใน

ชุดผาหมอหอมที่วิทยาลัยชุมชนแพร

จัดทำ สรางสีสันดึงดูดสายตาและความสนใจของผูเขา

ชมนิทรรศการ “วิทยาลัยชุมชน : ทางเลือกอุดมศึกษา

เพ่ือปวงชน” ที่จัดข้ึนเม่ือตนเดือนกันยายน ๒๕๕๒ เปน

อยางดี กระทั่งมีผูถามหาซื้อชุดหมอหอมจากเจาหนาที่

ประจำนิทรรศการของวิทยาลัยชุมชนแพรตลอดเวลา

เบื้องหลังภาพดังกลาว มีเรื่องราวที่เกิดจากการ

ทำงานอยางหนักและตอเน่ืองของวิทยาลัยชุมชนและ

หนวยงานตางๆ อาทิ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรสภา

อุตสาหกรรมจังหวัด พาณิชยจังหวัด หอการคาไทย

จังหวัดแพร และพัฒนาชุมชนจังหวัดแพร ฯลฯ ที่รวม

กันพัฒนาผลิตภัณฑหมอหอม “ยุคใหม” จากสินคาพ้ืน

เมืองที่ดูเครงขรึมออกแนวอนุรักษ ใหกลายเปนสินคาที่

ดูทันสมัย ทั้งดานการผลิตจากวัสดุธรรมชาติ ปลอดสาร

เคมี และการออกแบบตัดเย็บใหเขากับสมัยนิยม

นีค่อืหน่ึงในผลงานสรางสรรคของวิทยาลัยชุมชน

“นองใหม” ซึ่งจัดตั้งเปนแหงที่ ๑๘ ของประเทศ เปด

ทำการเรียนการสอนเม่ือป ๒๕๕๐ และไดพัฒนา

หลักสูตรท่ีนาตื่นตาต่ืนใจหลายหลักสูตร อาทิ การนวด

แผนไทยแบบราชสำนัก การทอผายกดอกลายโบราณ

น้ำสมุนไพรปรับธาตุเจาเรือน หลักการแพทยแผนไทย

การพัฒนาบุคลิกภาพและการพูด แฟช่ันผาและของ

ตกแตง และการเพิ่มมูลคาสินคาส่ิงทอและเครื่องนุงหม

จากผาหมอหอม โดยมีหลักสูตรระดับอนุปริญญา ๖

โปรแกรมวิชา คือ การปกครองทองถ่ิน เทคโนโลยีการ

เกษตร คอมพิวเตอรธุรกิจ การศึกษาปฐมวัย การ

จัดการทั่วไป และพัฒนาชุมชน

เรื่องราวของวิทยาลัยชุมชนแพรที่ ไดเริ่มออก

เดินทางกาวแรกๆ สูการพัฒนาคุณภาพชีวิตใหกับชาว

แพรผานการศึกษาในรูปแบบตางๆ ที่จะนำมาเลาสูกัน

ฟงนี้สะทอนคุณลักษณะของเมืองท่ีมีประวัติศาสตร

ยาวนานนับพันป สื่อถึงความรักความผูกพันในบานเกิด

และความมุงมัน่ทีจ่ะสืบสานภมูปิญญาทองถ่ินเปนอยางดี

กิจกรรมเสริมศักยภาพนักศึกษา

ดวยปณิธานหลักของวิทยาลัยชุมชนแพรคือ

การเสริมศักยภาพใหกับนักศึกษาทุกทางเทาที่จะอำนวย

ในการน้ี วทิยาลัยชมุชนแพรไดจดักจิกรรมเสริมหลักสตูร

ขึ้น อาทิ สงเสริมการรวมประกวดกับหนวยงานตางๆ

และการกอตั้งชมรมตามความสนใจของนักศึกษา เปน

ตน

“นอกจากการเรียนตามเนื้อหาหลักสูตร เรายัง

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 155

Page 157: Community College Dynamic of Development

สนับสนุนกิจกรรมอื่นๆ ที่เห็นวาเปนประโยชนตอนัก

ศึกษา เชน ที่ผานมามีนักศึกษาขอเขารวมประกวด

แขงขันทักษะคอมพิวเตอร เราไดสนับสนุนคาใชจายใน

การรวมประกวดเปนคาเดินทาง หากนักศึกษามาปรึกษา

วาสนใจรวมกิจกรรมที่เสริมความรูของเขาได วิทยาลัย

มักจะชวยเสมอ” นายบุญญพัฒน นามวงศพรหม รักษา

การแทนผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนแพร กลาวถึง

บทบาทของวิทยาลัยชุมชนแพรที่สนับสนุนการพัฒนานัก

ศึกษา

หลังจากเปดการเรียนการสอนมาไดปกวา

คณาจารยและผูบริหารวิทยาลัยชุมชนแพรไดพูดคุยกับ

นักศึกษาเปนประจำ จนกระทั่งเห็นวา นักศึกษาสวน

ใหญมีความสนใจที่จะทำกิจกรรมตางๆ รวมกัน ในป

การศึกษา ๒๕๕๒ จึงริเร่ิมใหนักศึกษาจัดตั้งชมรมขึ้นมา

ตามความสมัครใจ นักศึกษาสามารถเขารวมกิจกรรมได

ตามความสนใจและความสามารถ โดยนักศึกษาตอง

รวมตัวอยางนอย ๕๐ คนตอ ๑ ชมรม และจัดตั้ง

ประธาน รองประธาน กรรมการ และหนาที่ตางๆ ที่

จำเปนตองมีในชมรม เขียนแผนงานและโครงการท่ีจะ

จัดทำเพ่ือเสนอฝายกิจการนักศึกษา เม่ือไดรับอนุมัติจัด

ตั้งแลววิทยาลัยจะสนับสนุนโดยใหมีอาจารยที่ปรึกษา

ชมรม และใหงบประมาณสนับสนุนการทำกิจกรรม

นางสุขฤทัย ผัดผล ประชาสัมพันธวิทยาลัย

ชุมชนแพร เลาวา “ถึงแมจะเพิ่งมีกิจกรรมชมรมไดไม

นาน แตก็เห็นความเปล่ียนแปลงวานักศึกษาสนใจ

กิจกรรมน้ีกันมาก ประมาณรอยละ ๘๐ ของนักศึกษา

อนุปริญญาเขารวมกิจกรรมชมรมกันหลายชมรม เชน

ชมรมการแสดงและดนตรี ถึงขนาดมีคนมาจางวงของ

ชมรมดนตรีไปเลนดวย ซึ่งก็ใหไปในนามวิทยาลัย นัก

ศึกษาภาคภูมิใจที่ไดแสดงความสามารถ อยางไมนานนี้

ก็ไปแสดงลิลิตพระลอในงานการทองเท่ียวของท้ัง ๑๘

จังหวัดภาคเหนือ”

“เทาที่ผานมาเห็นวามีแตขอดี นอกจากนักศึกษา

จะไดแสดงศักยภาพแลว ยังเปนการใชเวลาวางใหเปน

ประโยชน นักศึกษาใกลชิดครูอาจารยมากข้ึน เลิกเรียน

ก็ยังอยูที่วิทยาลัยเพ่ือทำกิจกรรมของชมรม ชวงนี้จะเห็น

เปนเร่ืองปกติมากท่ีเมื่อเลิกเรียนแลวยังอยูที่วิทยาลัย

บางครั้งวันธรรมดาก็ยังมาที่วิทยาลัยชวงเย็นๆ นักศึกษา

จะแบงพื้นที่กันเอง ใชใตถุนอาคารบาง สนามบาง ที่นา

ภูมิใจคือกิจกรรมชมรมทำใหนักศึกษารักและผูกพันกับ

วิทยาลัย”

ทุกวันนี้ตอนเย็นๆ ของทุกวันโดยเฉพาะวัน

เสาร-อาทิตยจะเห็นภาพนักศึกษารวมกลุมทำกิจกรรม

ของชมรม ไมวาจะเปนซอมกีฬา ซอมการแสดง ซอม

ดนตรี เปนภาพธรรมดาไปแลว

จากความใกลชิดเปนกันเองระหวางอาจารยกับ

นักศึกษานี้เอง ทำใหอาจารยของวิทยาลัยชุมชนแพร

หลายทานพบวา นักศึกษามักขอปรึกษาเรื่องการแสดง

ออกในที่ชุมชน เพราะถึงแมจะมีความรูความสามารถ

จากการเลาเรียนตามหลักสูตรแลว แตเมื่อตองแสดงตัว

ตอที่สาธารณชนกลับไมมั่นใจเต็มที่นัก คณาจารย

วิทยาลัยชุมชนแพรจึงไดพูดคุยกันวา นาจะพัฒนา

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 156

Page 158: Community College Dynamic of Development

บุคลิกภาพและการแสดงออกใหกับนักศึกษา และได

ริเริ่มจัดการฝกอบรมเร่ืองการพัฒนาบุคลิกภาพใหแกนัก

ศึกษาในเทอมสุดทายเมื่อตนป ๒๕๕๒

หลักสูตรพัฒนาบุคลิกภาพน้ี มีวิทยากรที่ชำนาญ

เฉพาะดานมาสอนเน้ือหาเก่ียวกับการปรากฏตัวตอ

สาธารณะชน บุคลิกภาพ การเดิน ยืน การพูดในท่ี

ชุมชน มารยาทตางๆ ซ่ึงคาดวาจะชวยลดปญหาสวนนี้

ได “ที่ผานมาหลายครั้งที่นักศึกษามาปรึกษาวาเมื่อไปดู

งานแลวจะกลาวขอบคุณอยางไร คือจะมีคำปรึกษาเร่ือง

เลาน้ีเรื่อยๆ จึงคิดวานาจะสอนเปนเร่ืองเปนราว เพราะ

อยากใหนักศึกษาที่ออกไปนอกจากไดความรู ตอง

สมารทดวย” นางสุขฤทัยกลาวเสริม

และดวยความตั้งใจใหนักศึกษาที่สำเร็จจาก

วิทยาลัยเปนคนเกงมีความรู สามารถออกไปประกอบ

อาชีพเพื่อสังคมได เปนคนดีของสังคม และที่ขาดไมได

สำหรับเปาหมายของวิทยาลัยแพรคือตองมีจิตสำนึกรัก

ทองถิ่น

โดยทางวิทยาลัยไดจัด ๒ วิชาที่เนนในเรื่องนี้คือ

“แพรศึกษา” กับ “วิถีไทย” จุดเริ่มตนมาจากการสอน

หลักสูตรการปกครองทองถ่ิน ซึ่งคิดวาผูเรียนคงจะไป

ทำงานรับใชทองถิ่นนั่นเอง ดังนั้นการปลูกฝงหรือเพ่ิม

ความตระหนักเรื่องรักทองถิ่นจึงเปนเรื่องสำคัญ จึงได

ขยายมาสูการจัด ๒ วิชาน้ีใหกับนักศึกษาทุกสาขาวิชา

“เทาที่สังเกตเห็นนักศึกษามีความรูเรื่องทองถิ่น

อยูบาง แตเมื่อลงในเชิงลึก นักศึกษาที่เปนเด็กรุนใหม

จะไมเขาใจทีม่า หรือไมรูทีม่าของประเพณวีฒันธรรม หรือ

ภูมิปญญาดั้งเดิม การเสริมเปนเนื้อหาเร่ืองราวจึงทำให

นักศึกษาเขาใจถองแทขึ้น และเห็นคุณคาของของดีใน

ทองถิ่นตัวเอง” นางสุขฤทัยกลาว

หมอหอมยุคใหม ใสไดทุกวัย

“หมอฮอม ไมสัก ถิ่นรักพระลอ ชอแฮศรีเมือง

ลือเลืองแพะเมืองผี คนแพรนี้ ใจงาม” จากคำขวัญ

ประจำจังหวัดแพรที่ชูความสำคัญของผาหมอหอมหรือ

มอฮอม สะทอนใหเห็นวาเปนผลิตภัณฑที่เกิดจากภูมิ

ปญญาของชาวแพร เปนของฝากมีชื่อเสียงรูจักกันทั้ง

ประเทศ

อยางไรก็ตาม แมวาหมอหอมจะเปนผลิตภัณฑ

ดั้งเดิมที่เคยนิยมกันแพรหลาย แตจากการศึกษาขอมูล

จากผูผลิตและผูประกอบธุรกิจดานส่ิงทอและเคร่ืองนุง

หมในระดับชุมชนบานทุงโฮงพบวา สินคามียอดจำหนาย

ลดลง เนื่องจากขาดการพัฒนา ทำใหรูปแบบผลิตภัณฑ

ของสินคาไมมีความหลากหลาย และไมตรงกับความ

ตองการของตลาด ในขณะที่ผูประกอบการผาหมอหอม

ประสบปญหาดานการออกแบบ การตลาด และการสง

ออก

วิทยาลัยชุมชนแพรจึงรวมมือกับมหาวิทยาลัย

เกษตรศาสตร สภาอุตสาหกรรมจังหวัด พาณิชยจังหวัด

หอการคาไทยจังหวัดแพร และพัฒนาชุมชนจังหวัดแพร

จัดทำโครงการพัฒนาผลิตภัณฑหมอหอม เพ่ือเพิ่มมูลคา

และเพิ่มสินคาในรูปแบบที่จูงใจและถูกรสนิยมผูบริโภค

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 157

Page 159: Community College Dynamic of Development

ตลอดจนสามารถจำหนายไดทั้งตลาดภายในและนอก

ประเทศ โดยมีโจทยวา ทำอยางไรให “หมอหอม” ดูไม

เชย แตยังคงเอกลักษณเฉพาะตัวที่สีสัน และการยอม

จากสียอมธรรมชาติ ที่ถึงแมเวลาซักสีจะตก แตสีจะไม

ติดกับเส้ือผาอื่น ซึ่งถือวาเปนภูมิปญญาทองถ่ิน และทุก

ฝายเห็นตรงกันวา หมอหอมเปนสินคาที่มีศักยภาพของ

จังหวัดแพร

ในการนี ้วทิยาลยัชมุชนแพรจงึออกแบบหลกัสตูร

ผานกระบวนการ DACUM โดยมีกระบวนการดังนี้

๑. ศึกษาความตองการ วัตถุประสงคของชุมชน

และกลุมเปาหมายที่เปนลูกคาของชุมชน

๒. วิเคราะหงานโดยเชิญผูเชี่ยวชาญ ผูประกอบ

การ และชาวบานที่มีความเชี่ยวชาญในการเย็บผาหมอ

หอม มารวมกำหนดสมรรถนะดานความรู ทักษะ และ

คุณลักษณะที่ตองการ ใหเกิดขึ้นในตัวผูเรียน ตาม

หลักสูตรแฟช่ันผาหมอหอม

๓. จัดลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน และจัดการ

ทำเปนมาตรฐานงานหลักและงานยอย

๔. ใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเพ่ือปรับปรุงแกไข

๕. กำหนดวัตถุประสงคและคำอธิบายรายวิชา

๖. จัดทำการฝกอบรม

๗. นำเสนอสภาวิชาการ สภาวิทยาลัยชุมชน

เพื่อขออนุมัติการฝกอบรม

๘. จัดฝกอบรม

๙. ประเมินหลักสูตร

จนกระทั่งไดหลักสูตรฝกอบรม “การเพิ่มมูลคา

สินคาส่ิงทอและเคร่ืองนุงหมจากผาหมอหอม” พรอมท่ี

จะจัดฝกอบรมใหกับกลุมเปาหมายที่เปนผูประกอบการ

แถบตำบลทุงโฮงและผูสนใจทั่วไป โดยวิทยาลัยชุมชน

แพรไดเชิญ ผศ. ดร.อโณทัย ชลชาติภิญโญ ผูเชี่ยว

ชาญดานสิง่ทอจากภาควิชาวทิยาการส่ิงทอ คณะอตุสาห-

กรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และ Ms. Eva

Brown ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบลวดลายผาและนัก

คาดการณแนวโนมแฟช่ันส่ิงทอจากประเทศอังกฤษ มา

ใหความรูแกผูประกอบการ ผูผลิต และชาวบานที่มี

อาชีพตัดเย็บผาหมอหอม โดยใหความรูตั้งแตการทอผา

การตกแตงลายผา การออกแบบผา การตัดผา การเย็บ

ผา การตรวจสอบคุณภาพผลผลิต การจัดจำหนายและ

การตลาด

คุณอวิกา ถิ่นจอม เจาของกิจการ “รานอวิกา

หมอหอมแฟชั่น” ซึ่งสืบสานภูมิปญญาการทำผาหมอ

หอมจากครอบครัวมานับสิบปแลว เปนคนหน่ึงที่สนใจ

สมัครเรียนหลักสูตรนี้ตั้งแตเริ่มเปดอบรม เลาวา

“หลักสูตรท่ีเรียนนี้จะเนนที่เทคนิคการตกแตง

หมอหอม สีสัน และแพทเทิรนการตัดเย็บ ซึ่งตรงกับ

ความตองการอยางมาก เพราะเรื่องกรรมวิธีการทำน้ัน

ทำเปนอยูแลว แตอยากรูเทคนิคใหมๆ ในการตัดเย็บ

การตกแตงลวดลายบนเสื้อ เพราะเรารูสึกวาเสื้อหมอ

หอมตดิภาพลกัษณวา เปนเสือ้ผาทีช่าวบานและเกษตรกร

ใส ไมคอยใสกันทั่วไป ตอนหลังแมจะมีการตัดเย็บเปน

สูท เปนเชิ้ต หรือชุดกระโปรงบาง แตยังไมทันสมัยจน

ใสกันแพรหลาย ซึ่งเม่ือเรียนแลวจะคอยๆ นำไปปรับใช

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 158

Page 160: Community College Dynamic of Development

กับสินคาที่ราน เพราะตองทดลองตลาดไปดวยวาลาย

แบบใหมที่ทำข้ึนเปนที่ยอมรับของตลาดหรือไม เลน

ลวดลายหรือจัดเย็บแบบไหนลูกคาจึงจะชอบ รวมทั้งยัง

ตองหาคนรับเย็บพวกลูกเลนใหมๆ ที่คิดขึ้นดวย สวน

หน่ึงก็ไดจากเพ่ือนรวมช้ันเรียนที่วิทยาลัย พูดคุยจางวาน

ใหรับงานของท่ีรานไปทำได”

เจาของราน “อวิภาหมอหอมแฟช่ัน” กลาวเสริม

อีกวา นอกจากน้ันยังไดเพิ่มพูนความรูเรื่องการตลาด

เพราะในหลักสูตรน้ีมีวิทยากรสอนเร่ืองการวิเคราะห

ตลาดท้ังภายในและตางประเทศ “วิทยากรมีหลายคน

แตละคนก็เสริมเติมความรู ใหมๆ ที่นาจะนำมาใชได

และถึงบางเรื่องจะยังไมไดใชทันทีก็เปนการเปดโลก

ทัศนของเรา อยางคุณ Ena Brown เปนผูเชี่ยวชาญดาน

แฟชั่นผาและของตกแตงจากอังกฤษก็มาเลาถึงสภาพ

ตลาด ความตองการของแถบยุโรปวาเปนอยางไร ก็ทำ

ใหเห็นภาพความเหมือนความตางกับของไทย ถึงแมวาที่

รานจะยังทำเฉพาะตลาดในเมืองไทย แตก็เปนการเปดหู

เปดตาไดเปนอยางดี”

นางอำพรรณ เสภารัตนานันท เปนอีกหนึ่ง

ผูประกอบการหมอหอมบานทุงโฮงที่เขารับการฝกอบรม

เลาวา “สอนทุกข้ันตอนตั้งแตการออกแบบแฟชั่น การ

ยอม การตัด และการเย็บ เรียนแลวรูสึกวาดี เพราะ

เปนการรวมกลุมกัน จากที่แตกอนเวลาตัดเสื้อก็จะลอก

เลียนแบบของคนอ่ืน เอาของเขามาดัดแปลง แตที่

วิทยาลัยชุมชนจัดอบรมแลวก็จะดีไซนออกแบบมา จะดี

มาก เคยเอาไปขายท่ีงาน OTOP CITY ที่กรุงเทพฯ มีแต

คนชอบ เราจะมีการพัฒนาจากท่ีผาสีตก ปจจุบันนี้ก็ไม

ตก...”

และเพื่อใหผลิตภัณฑ “หมอหอม” มีเอกลักษณ

ใหมทีค่นทกุรุนทกุวยัสามารถสวมใสได ผศ. ดร.อโณทยั

ชลชาตภิญิโญ แหงคณะอตุสาหกรรมเกษตร มหาวทิยาลยั

เกษตรศาสตร จึงไดประสานงานกับหลายๆ ฝาย

จนกระท่ังได “แพนเคก” ดาราสาวนักแสดงช่ือดัง ศิษย

เกามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเปนนางแบบ โดยมี

หนวยงานราชการ และบริษัทเอกชนอีกหลายแหงที่ชวย

กันผลักดันผลิตภัณฑ “หมอหอม” ใหติดตลาดที่กวางขึ้น

อาจกลาวไดวา วิทยาลัยชุมชนแพรเปนหนวย

ตั้งตน เติมเต็มความรูและวิทยาการใหมๆ ใหกับผูผลิต

และผูประกอบการหมอหอมชาวแพร ทำใหผูผานการ

อบรมเร่ิมมีศักยภาพในการออกแบบผาหมอหอมใหมี

แนวแฟช่ันที่มีรสนิยมถูกใจผูบริโภคมากข้ึน การตัดเย็บ

มีความทันสมัยตอบสนองตอความตองการของตลาด

สรางมูลคาเพ่ิมใหกับสินคาผาหมอหอม และสรางราย

ไดเพ่ิมขึ้นใหแกผูประกอบการ และที่สำคัญที่สุดคือการ

สรางคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นใหแกผูผลิตและผูประกอบการ

ผาหมอหอม

ดีใจท่ีแพรมีวิทยาลัยชุมชน

ไมเพยีงแตการเขาไปมสีวนชวยพฒันาภมูปิญญา

เกี่ยวกับหมอหอมเทานั้น วิทยาลัยชุมชนแพรยังชวย

สงเสริมผาปกพ้ืนบานเผามง โดยรวมมอืกบัศนูยสงเคราะห

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 159

Page 161: Community College Dynamic of Development

ชาวเขาบานหวยฮอม เนื่องจากพบวาชาวบานหวยฮอม

ซึ่งเดิมมีรายไดเสริมจากการปกผากลับมีรายไดลดลง

เน่ืองจากสาเหตุเดยีวกับหมอหอม คอื รปูแบบผลิตภณัฑ

ลาสมัย ตลาดไมนิยม และผูประกอบการบางสวนหันไป

ใชเครื่องจักรปกแทน เพราะทำไดเร็วและราคาถูกกวา

จางชาวบาน วิทยาลัยชุมชนแพรจึงจัดทีมวิทยากรไปให

บริการอบรม “เทคนิคการสรางมูลคาเพ่ิมใหสินคาผา”

โดยสอนเทคนิคการปกลวดลายแบบใหมๆ ซึ่งทางชาว

บานก็ทำไดดี เมื่อนำไปเสนอผูประกอบการพบวาเปนท่ี

พอใจเพราะงานละเอียด ลวดลายทันสมัย สามารถขาย

เปนงานฝมือที่มีความเฉพาะตัวตางจากการปกเครื่อง

ทำใหชาวมงบานหวยฮอมมีงานปกเปนแหลงรายไดเสริม

ตอไป

“ดีใจท่ีวิทยาลัยชุมชนแพรมาชวยสอนใหถึงที่

หมูบาน เพราะหมูบานอยูไกล อยูบนดอย เดินทางไป

เรียนในเมืองไมสะดวก ทำใหไดความรูเพิ่ม และสรางให

มีรายไดเสริมในชวงที่เราไมไดทำไร ขอขอบคุณ

วิทยาลัยชมุชนแพรที่ชวยนำส่ิงดีๆ มาใหกลุมแมบาน ทำ

ใหครอบครัวมีรายไดดีขึ้นสามารถสงลูกเรียนหนังสือ

และไมเปนหน้ี อยากใหวิทยาลัยหาลายผาใหมๆ มาเปด

สอนอีก” นางเฟองฟา อวนสะอาด หน่ึงในผูเขาอบรม

กลาว

สวนการใหบรกิารทางการศกึษาระดบัอนปุรญิญา

นั้น ปจจุบันวิทยาลัยชุมชนแพรไดเปดสอนเปนปที่ ๓

แลว โดยเปด ๖ สาขาวิชา ไดแก การปกครองทองถ่ิน

เทคโนโลยีการเกษตร คอมพิวเตอรธุรกิจ การศึกษา

ปฐมวัย การจัดการทั่วไป และการพัฒนาชุมชน ซึ่งเปน

ประโยชนตอชาวแพรอยางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งสาขา

เทคโนโลยีการเกษตร เนื่องจากจังหวัดแพรมีพื้นที่ปาไม

สักอุดมสมบูรณที่สุดแหงหนึ่งของประเทศ แตมีพื้นที่

ทำการเกษตรจำกัด ทำใหมีประชาชนทุกเพศวัยสนใจ

เขาศึกษาสาขาวิชานี้คอนขางมาก

“การเรียนที่วิทยาลัยชุมชนไดใชประโยชนทั้ง

ดานการทำงานและสวนตัว ดานการทำงานไดประโยชน

เกี่ยวกับการเพาะกลาไม การขยายพันธุไม การตกแตง

สวนหยอม และทำใหไดรูจักพันธุไมวาคือตนอะไร ดาน

สวนตัววิทยาลัยชุมชนแพรใหฝกความกลาแสดงออก

สามารถพูดรายงานหนาชั้นเรียนได” นางสุจินต โพธิกุล

นักศึกษาช้ันปที่ ๒ ระดับอนุปริญญา สาขาเทคโนโลยี

การเกษตร กลาวแสดงความรูสึกถึงคุณประโยชนที่ได

รับจากการศึกษาที่วิทยาลัยชุมชนแพร พรอมทิ้งทายวา

“อยากแนะนำใหพี่ๆ นองๆ ที่เพ่ิมจบ ม.๖ มาเรียน

เพราะวิทยาลัยชุมชนแพรใหความรูและเปดโอกาสใหแก

คนทุกเพศทุกวัย และวิทยาลัยชุมชนแพรยังฝกใหเปนคน

กลาแสดงออก กลาคิด กลาทำ”

อาจกลาวไดวา เพียง ๓ ปหลังจากเปดจัดการ

เรียนการสอน วิทยาลัยชุมชนแพรไดเรงสานสรางความ

รูเพ่ือตอบสนองชุมชนอยูตลอดเวลา จุดใดตองการ

ความชวยเหลือ วิทยาลัยชุมชนแพรก็เขาไปรวมมืออยาง

แข็งขัน สมกับคำขวัญของวิทยาลัยคือ “อยากเรียน

อยากรู อยากสรางอนาคต ไปท่ี...วิทยาลัยชุมชนแพร”

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 160

Page 162: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชนสงขลา เขาถึง เขาใจ ใหโอกาส

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 161

Page 163: Community College Dynamic of Development

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 162

Page 164: Community College Dynamic of Development

ขาพเจา นายธำรงค แขวงเพ็ชรแกว อายุ ๕๓

ป...ถึงแมในอดีตขาพเจาเคยมาเรียนที่ กรุงเทพฯ จนจบ

ชั้น ม.๖ แตก็เรียนโรงเรียนวัด...แตดวยปญหาเรื่อง

เศรษฐกิจ เมื่อสึกจากพระมาทำงานก็ไมไดเรียนตออีก

เลย แตก็คิดอยูเสมอวายังอยากจะเรียนหนังสือเพ่ิมเติม

จนอายุลวงเลยมาได ๕๓ ป มีวิทยาลัยชุมชนสงขลา ตั้ง

อยูที่อำเภอเทพา ประกาศรับสมัครนักศึกษาระดับ

อนุปริญญา ...ขาพเจาจึงสมัครเขามาเรียนเปนคนแรกๆ

โดยไมลังเลใจเร่ืองอายุ เพราะเช่ือม่ันวาการศึกษาจะ

สรางโอกาส สรางปญญาใหกับกระผม...

ขาพเจา นางสาวนูรีดา บือราเฮง อายุ ๒๔ ป

ครอบครัวของขาพเจามีฐานะยากจน ขาพเจามีความใฝ

ฝนในเรื่องการเรียนมาก ขาพเจาเคยไดเรียนในโรงเรียน

เอกชนท่ีจังหวัดยะลา แตเมื่อขอกูเงินจากกองทุนกูยืม

เพื่อการศึกษาแลวไมได จึงจำเปนตองออกจากโรงเรียน

ดังกลาว เพราะไมมีเงินจายคาเลาเรียน... แรงบันดาลใจ

ที่ทำใหขาพเจาไดตัดสินใจศึกษาตอในวิทยาลัยชุมชน

สงขลา เพราะใกลบาน และมีคาใชจายนอย ...ขาพเจา

โชคดีที่ไดมีโอกาสทางการศึกษา ขาพเจาไมคิดเลยวา

ตัวเองจะสามารถเรียนตอในระดับอุดมศึกษาไดอีก

เพราะปจจุบันสถานที่เรียนตางๆ มีคาใชจายสูง ซึ่งแตก

ตางจากวิทยาลัยชุมชนที่ขาพเจาเรียนอยูมาก...

ความในใจท่ีปรากฏในจดหมายท้ังสองฉบับขาง

ตน จากหนุมใหญชาวพุทธ และสาวนอยมุสลิม คงไม

เกิดข้ึนหากวิทยาลัยชุมชนสงขลาเปนเชนเดียวกับ

สถาบันอุดมศึกษาอีก ๕ แหง ที่ตั้งอยูในจังหวัดสงขลา

คำสำคัญที่นักศึกษาสองคนใชรวมกันคือ “โอกาสทาง

การศึกษา” เปนวลีที่คนไทยทุกคนมีสิทธิที่จะไดรับ หาก

ในทางปฏิบัติคนสวนใหญกลับไขวความาดวยความ

ลำบากยากเย็นแสนเข็ญ ดังที่นูรีดา บือราเฮง สะทอน

ใหเห็นอยางชัดเจนแมวาโอกาสดังกลาวมาถึงแลว กลับ

จำตองปลอยใหหลุดลอยไปเพียงเพราะ “ไมมีเงินจายคา

เลาเรียน”

เรื่องราวจุดเริ่มตนของนักศึกษาทั้งสองคนนี้

เปนเร่ืองเลาเชนเดียวกับนักศึกษาสวนใหญที่เลือกศึกษา

ตอระดับอนุปริญญากับวิทยาลัยชุมชนท้ัง ๑๙ แหงทั่ว

ประเทศ อันเกิดจากวิทยาลัยชุมชนไปใหบริการทางการ

ศึกษาท้ังในระดับอนุปริญญาและการฝกอบรม และ

แนนอนที่การเกิดขึ้นของวิทยาลัยชุมชนสงขลาในจังหวัด

ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาถึง ๕ แหงแลวนั้นยอมมีนัยพิเศษ

เพื่อภารกิจสำคัญที่ทำใหเรื่องราวในระหวางการศึกษาที่

วิทยาลัยชุมชนสงขลามีสีสันแตกตางไปจากวิทยาลัย

ชุมชนอื่นๆ นั่นเอง

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 163

Page 165: Community College Dynamic of Development

จำเปนตองเกิด

วิทยาลัยชุมชนสงขลาเปนวิทยาลัยชุมชนนอง

ใหมลาสุดในทั้งหมด ๑๙ วิทยาลัยที่มีอยูในปจจุบัน ใน

เบื้องตนไดตั้งอาคารสำนักงานสวนบริหารอยูที่อาคาร

สำนักงานประถมศึกษา (เดิม) ตำบลเทพา และใช

อาคารเรียนของโรงเรียนเทพาจัดการเรียนการสอน เชน

เดียวกับวิทยาลัยชุมชนอื่นๆ ที่บริหารจัดการโดยมุงใช

ทรัพยากรที่มีอยูเดิมใหเกิดประโยชนสูงสุดตอประเทศ

ชาติ

แตกวาจะไดเปดวิทยาลัยข้ึนมาไดนั้น นายนิยม

ชูชื่น ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนสงขลาเลาถึงกระบวน

การทำงานกอนที่จะไดรับอนุมัติจัดตั้งวา “กอนที่จะมี

วิทยาลัยชุมชนขึ้นได ตองทำงานทามกลางความยาก

ลำบาก เพราะไมมีทั้งคนและปจจัยอื่นๆ” แตดวยคำ

รับรองยืนยันในการสนับสนุนจากผูใหญในพื้นที่หลาย

ทาน ที่สำคัญคือ ความศรัทธาในการจัดการศึกษารูป

แบบวิทยาลัยชุมชนวานาจะสามารถพัฒนาพ้ืนที่ได ทำ

ให ผอ.นิยม ชูชื่น ตัดสินใจมาชวยงานวิทยาลัยชุมชน

การปฏิบัติงานภาคสนามชวงแรกมีเพียงนายนิยม ชูชื่น

ซึ่งขณะนั้นยังคงดำรงตำแหนงผูอำนวยการโรงเรียน

เทพา กับเจาหนาที่อีก ๓ คนที่ไดรับอนุญาตจาก สพท.

สงขลาเขต ๓ ใหมาชวยปฏิบัติราชการเปนการชั่วคราว

รวมกันดำเนินการ สำรวจความตองการและนำเสนอ

ขอมูลผานคณะกรรมการหลายคณะ จนกระท่ังไดรับ

อนุมัติใหจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนสงขลาไดในวันที่ ๒๔

สิงหาคม ๒๕๕๐

ผอ.นิยมเลาวา เหตุผลสำคัญที่ทำใหพื้นที่อำเภอ

เทพาและอำเภอโดยรอบไดรับเลือกใหจัดตั้งวิทยาลัย

ชุมชนไดทั้งๆ ที่จังหวัดสงขลาไดชื่อวาวาเปนเมือง

มหาวิทยาลัยของภาคใต มีสถาบันอุดมศึกษาจำนวนมาก

เนื่องจากจังหวัดสงขลาเปนจังหวัดใหญ ประกอบไปดวย

๑๖ อำเภอ แตมี ๔ อำเภอคือ เทพา จะนะ สะบายอย

และนาทวี ที่ถูกจัดใหเปนพ้ืนที่พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจของ

ภาคใต เนื่องจากเปนพ้ืนที่ที่ มีความเส่ียงภัยไมตางจาก

พื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต และยังมีผูที่ตองการ

ศึกษาในระดับอุดมศึกษาอีกจำนวนมาก แตขาดโอกาส

เน่ืองจากเหตุปจจัยหลายประการ จึงพิจารณาเห็นวา

การจัดการศึกษาในรูปแบบวิทยาลัยชุมชน นาจะมีความ

เหมาะสมสอดคลองกับบริบทและความตองการของ

ประชาชนในพื้นที่ไดเปนอยางดี และในประการสำคัญ

คือยังสนองนโยบายของรัฐบาลในการแกปญหาพื้นที่

พิเศษภาคใต ตามยุทธศาสตรการพัฒนาสูสังคมสันติสุข

ของศูนยอำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนใต (ศอ.บต.)

ที่ใชการศึกษาและการพัฒนาสังคมเปนหลักในการสราง

สันติสุขและความเจริญกาวหนาใหเกิดข้ึนกับประชาชน

ในพ้ืนที่ จึงไดรับการสนับสนุนงบประมาณดำเนินการจัด

ตั้งวิทยาลัยชุมชนสงขลาในระยะเร่ิมตน ๒ ปแรก

เมื่อวิทยาลัยชุมชนสงขลาเปดรับสมัครนักศึกษา

ภาคแรกในปการศึกษา ๒๕๕๑ หลักสูตรอนุปริญญา ๒

หลักสูตร คือการปกครองทองถิ่นและการศึกษาปฐมวัย

ปรากฏวาไดรับความสนใจมาก มีผูสมัครมากกวาที่

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 164

Page 166: Community College Dynamic of Development

คาดการณไว คือตั้งเปาที่ ๘๐ คนของทั้งสองหลักสูตร

รวมกัน แตมีผูสนใจมากสมัครเรียนถึง ๑๒๖ คน และ

ทางดานหลักสูตรฝกอบรมระยะสั้นก็เชนกันมีผูสมัคร

รวม ๔๖๓ คน ทั้งที่เพิ่งเปดเปนปแรกเทาน้ัน

ทั้งนี้สะทอนใหเห็นวาคนในชุมชนเทพาและ

อำเภอใกลเคียงมีความตองการท่ีจะพัฒนาศักยภาพของ

ตนเอง ใหมีความรูและทักษะตางๆ สูงข้ึน ตลอดจน

ตองการจะเรียนรูที่เปนประโยชนตอการสรางงาน สราง

อาชีพ หรือใหรูเทาทันกับการเปลี่ยนแปลงเพราะ

ปจจุบันวิธีการทำงานอาชีพหลายอยางเปลี่ยนแปลงไป มี

บางอาชีพที่มีความตองการนอยลง และขณะเดียวกันก็มี

ชองทางสรางอาชีพใหมๆ ขึ้นในทองถ่ิน เชน การจัดขัน

หมากในพิธีแตงงานของชาวไทยมุสลิมเมื่อกอนไมคอย

พิถีพิถันในรูปแบบอาศัยการชวยเหลือกันในชุมชน แต

เมื่อนักศึกษามาเรียนหลักสูตรการจัดข้ันหมากท่ีมีการ

ประดิษฐวัสดุใหเปนรูปทรงสวยงามและมีความหมาย

มากยิ่งขี้น ก็เกิดเปนอาชีพขึ้นมาได เปนตน

การจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนสงขลาก็เชนเดียวกับ

วิทยาลัยชุมชนแหงอื่นๆ ที่อาจมีปญหาและอุปสรรคใน

ระยะตน แตเนื่องจาก ผอ.นิยม ชูชื่น เปนคนที่มีความ

ตั้งใจในการทำงานตามหลักการปฏิบัติงานที่ยึดถือ “วิธี

การเลือกได เปาหมายคือความสำเร็จ” ประกอบกับเคย

เปนผูอำนวยการโรงเรียนประจำอำเภอและเปนวิทยากร

ตามโอกาสตางๆ จึงมีเพื่อนฝูงและลูกศิษยลูกหามาก

ทำใหสามารถขอความรวมมือกับหนวยงานและบุคลากร

ในพื้นที่ไดทุกระดับ และแทบทุกเร่ือง จึงชวยบรรเทา

อุปสรรคไดพอสมควร และประการสำคัญ สามารถ

ใกลชิดและเขาใจถึงความตองการของประชาชนในพื้นที่

เปนอยางดี จึงพัฒนาหลักสูตรที่ตอบสนองการเรียนรู

ของชาวบานอยางนาสนใจดังนี้

ขันหมากสรางงาน

“ขันหมาก” เปนองคประกอบสำคัญของงาน

มงคลสมรสที่มีลักษณะเฉพาะของชุมชนมุสลิมในจังหวัด

ชายแดนภาคใต และเปนงานศิลปะหัตถกรรมท่ีแสดงถึง

ภูมิปญญาของชาวมุสลิมภาคใต เนื่องเพราะการ

ประดิษฐสรรคสราง “ขันหมาก” ที่มีความประณีต

สวยงามนั้น ไมเพียงแตตองอาศัยการเรียนรูงานฝมือชั้น

สูงเทานั้น หากยังตองเขาใจถึงความหมายที่แฝงอยูใน

ชุดขันหมากอีกดวย

กอนที่วิทยาลัยชุมชนสงขลาจะริเริ่มหลักสูตรฝก

อบรม “ขันหมาก” การสูขอเจาสาวในพ้ืนที่เขตบริการ

ของวิทยาลัยชุมชน มักจัดเตรียมขันหมากดวยขาวของ

เครื่องใชและสิ่งของในเครื่องขันหมากตามที่เคยทำกัน

มา ไมวิจิตรสวยงามนัก ขอเพียงจัดของมงคลตามคติที่

สืบทอดมา ซ้ำของหลายอยางเริ่มถูกตัดทอนออกไปตาม

ความสะดวกมากขึ้น กลุมแมบานในชุมชนเห็นวานาจะมี

วธิกีารทำใหชดุขันหมากของญาติพีน่องลูกหลานสวยงาม

ประณีตกวาเดิม จึงติดตอวิทยาลัยชุมชนสงขลาใหชวย

หาวิทยากรมาฝกอบรม

วิทยาลัยชุมชนสงขลาจึงไดสืบคนสรรหาอาจารย

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 165

Page 167: Community College Dynamic of Development

ผูมีฝมือเชี่ยวชาญในการทำขันหมาก และพบวาอาจารย

แจะอุเซ็ง อาลีอิสเฮาะ หัวหนาฝายบริการวิทยาการ

ชุมชน สำนักสงเสริมการศึกษาตอเนื่อง มหาวิทยาลัย

สงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี เปนผูฝมือทางงาน

สรางสรรคของประดับการตกแตงหลายอยาง ไมวาจะ

เปนการจัดดอกไม แบบงานจัดเลี้ยง ของชำรวย จึง

ติดตอขอความอนุเคราะหใหชวยเหลือศึกษาความตอง

การผูเรียนและวางแผนเน้ือหาหลักสูตรขันหมากข้ึน

“ผมยินดีมากท่ีวิทยาลัยชุมชนสงขลาใหเกียรติ

ผมเปนอาจารยหลักสูตรนี้ ปกติผมรับเปนวิทยากรเร่ือง

งานฝมืออยูแลว ถึงแมจะไมเคยสอนเรื่องทำขันหมาก

แตคิดวานาจะสรางสรรคบทเรียนข้ึนมาได กอนท่ีจะรับ

สอนก็ตองพูดคุยวางแผนกันกอนวาตองการอะไรแบบ

ไหน เมื่อเขาใจความตองการและเราคิดแบบที่จะสอนได

ก็ตกลงรับสอน ขณะน้ีเปดสอนไป ๒ รุนแลว ยังมีราย

ชื่อผูสนใจขอลงเรียนในรุนตอๆ ไปอีกมาก” และวา ผล

การอบรม ๒ รุนแรก รูสึกช่ืนใจที่คนเรียนอยากรู อยาก

ทำเปน ทำใหตนสอนอยางมีความสุข

โดยทั่วไปขันหมากประกอบดวยของมงคลหลาย

อยาง รวมท้ังเงินทอง ของมีคาที่นำมาใหฝายเจาสาว

ทุกพานจะคลุมดวยผาหลากสีสวยงาม หรือตกแตงดวย

ผาและผาละหมาด หลักสูตรขันหมากจะเนนที่การพับผา

ละหมาดใหเปนรูปทรงท่ีสวยงาม เชน รูปเตียง บาน

ดอกไม ของใชในบาน ในครัว และผลไมตางๆ เปนตน

อาจารยแจะอุเซ็งเลาใหฟงถึงความหมายของ

การพับผาละหมาดวา “จากเดิมนำผาละหมาดมาพับ

ธรรมดาใหเรียบรอยเทานั้น จึงคิดประดิษฐสรางสรรค

ใหเปนส่ิงของรูปแบบตางๆ แทน ซึ่งเปนของที่สื่อความ

หมายดีๆ เพ่ือเปนมงคลแกงานแตงงาน เชน เตียงก็ให

รักกันยืนยาว เพราะบาวสาวตองใชเตียง ใหอยูเรียง

เคียงหมอน ซึ่งเฉพาะเตียงอยางเดียวก็ทำไดหลายรูป

แบบ มีหัวเตียงแบบไหน ใหมีเสา มีผามานก็ได หรือ

เปนเตียงธรรมดาแตเลือกสีสันของผาใหสวยงามแทน

ก็ได ทำเปนรปูนกสือ่หมายความวาลกูสาวบานนัน้แขง็แรง

พอทีจ่ะไปเผชิญโลกภายนอกไดแลว ทำเปนกระเทยีม สื่อ

ความหมายวาใหมีลูกหลานเยอะๆ น้ำตาลทรายนำมาจัด

หอใหสวยงาม ถือวาเปนการเชื่อมสายสัมพันธของ

ครอบครัวบาวสาว เพราะปกติน้ำตาลทรายนำมาทำน้ำ

เชื่อม พับผาละหมาดเปนผลสับปะรด ก็ถือวาใหชีวิต

สมรสมีทั้งรสหวานรสเปร้ียว มีรสชาติ หวานบาง เปรี้ยว

บางเหมือนสับปะรด เหลานี้เปนตน ซึ่งทั้งหมดก็อยูที่

เทคนิคการตกแตง และความประณีตของผูทำ”

ที่นายินดีไปกวาการที่ผูเรียนไดความรูเทคนิค

การทำขันหมากไปชวยงานญาติพี่นองเทานั้น แตกลับ

สรางรายไดใหกับกลุมแมบานท่ีมาเรียนหลักสูตรน้ีอีก

ดวย เพราะหลังจากจบหลักสูตรไปไมนานก็มีคนมาจาง

วานใหทำขันหมากสำหรับงานแตง ซึง่ทัง้ผูเรยีน วทิยากร

และวิทยาลัยชุมชนสงขลาตางปล้ืมใจเพราะเปนส่ิงเกิน

คาดหมาย ไมคิดวาจะมีคนวาจางทันทีเมื่อเรียนสำเร็จ

กลายเปนชองทางเสริมรายไดใหกลุมแมบาน จนกระท่ัง

สงเสริมใหตั้งเปนกลุมเพ่ือรับงาน โดยมีวิทยาลัยชุมชน

สงขลาเปนกำลังสำคัญในการชวยประชาสัมพันธ

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 166

Page 168: Community College Dynamic of Development

นางสุณี อุมา อายุ ๓๖ ป เปนคนหนึ่งที่ลงเรียน

หลักสูตรขันหมากต้ังแตรุนแรกเลาวา “จากแตเดิมตั้งใจ

มาเรียนเพื่อเอาความสามารถไปชวยญาติๆ ที่จะมีงาน

แตงงานเทานั้น แตเมื่อเรียนแลวมีคนมาจางก็ดีใจมาก

โดยคิดราคาตามความยากงายของช้ินงาน ๑๕๐-๓๐๐

บาท แลวแตจะตกลงราคากัน ตองการอะไรบาง กี่ชิ้น

ก็วากันไป ไมกลาคิดแพงมากเพราะเราเพ่ิงเร่ิมทำ ไม

เคยทำแบบนี้มากอน ที่มีคนมาจางเพราะคนในหมูบาน

เขารูวาเราไปเรียนหลักสูตรนี้มา จนตอนนี้ก็จัดตั้งเปน

กลุมกันเรียบรอย โดยสมาชิกในกลุมก็พยายามประชา-

สัมพันธเพื่อหาลูกคา ทางวิทยาลัยก็ชวยดวยอีกทางหนึ่ง

ถึงเรียนจบไปแลวก็ยังติดตามผล การต้ังกลุมขึ้นมาน้ี

ทางวิทยาลัยก็สนับสนุนสงเสริม ทั้งใหคำปรึกษาและหา

อุปกรณมาให”

ผลจากการเรียนรูหลักสูตรนี้และมีรายไดเพ่ิม

เติมอยางไมคาด ทำใหกลุมแมบานเกิดความคิดที่จะ

เพิ่มเติมความรูความสามารถย่ิงข้ึนไปอีก โดยสนใจท่ีจะ

เรียนรูเรื่องการจัดดอกไมสด การจัดงานเลี้ยงทั้งงาน

“พอมีคนจาง เราก็มาคิดวาถาเราทำอยางอื่นไดดวยก็นา

จะดี เชน จัดดอกไมประดับงานเลี้ยง จัดสถานที่

ตกแตงโตะเกาอี้ใหสวยงาม รวมถึงการแตงหนาเจาสาว

ถาสามารถทำไดครบวงจรเลยก็คงจะดี โดยเฉพาะพวก

นองๆ ที่อายุนอย อยากใหเขาไดเรียนเพื่อทำเปนอาชีพที่

มั่นคงได ซึ่งก็คงตองปรึกษากับทางวิทยาลัยตอไป” นาง

สุณีกลาวถึงความตองการในใจ และเช่ือมั่นวาวิทยาลัย

ชุมชนสงขลาจะเปนที่พึ่งในเร่ืองความรูเหลานี้ได

ศาสนาเช่ือมชุมชน

ในพื้นที่ ๔ อำเภอดังกลาว มีประชากรสวนใหญ

นับถือศาสนาอิสลามซ่ึงมีผูนำศาสนาหลายตำแหนง ทั้ง

อิหมาม คอเต็บ และบิหล่ัน เปนกลุมคนท่ีมีบทบาทใน

ทองถิ่น เปนผูนำทางความคิดของชุมชน ในวันหนึ่งกลุม

คอเต็บ หรือผูที่ทำหนาที่บรรยายธรรม ราว ๓๐ คนรวม

ตัวกันเขามาที่วิทยาลัยชุมชนสงขลาเพ่ือบอกเลาถึง

ปญหาและความตองการของพวกเขา

“ในศาสนาอิสลาม การใชชีวิตแทบทุกดานจะ

ตองปฏิบัติตามหลักศาสนา แตปจจุบันสังเกตวาคนรุน

หลังไมคอยสนใจเทาไรนัก ทางประธานคณะกรรม

อิสลามประจำจังหวัดสงขลาเห็นวานาจะพัฒนาความ

สามารถทางการพูดของบรรดาคอเต็บท่ีตองบรรยาย

ธรรมประจำวันศุกร จึงรวมกลุมเขามาปรึกษาวาทาง

วิทยาลัยสามารถจัดสอนเรื่องเทคนิคการพูดสมัยใหมที่

นาฟงนาสนใจไดไหม อยากไดคนที่เปนนักพูดทั่วๆ ไป

ไมตองรูเรื่องทางศาสนาก็ได แตสามารถสอนเทคนิค

ลีลาการพูดที่เราใจ ดึงความสนใจของผูฟงได เพ่ือจะได

ปรับไปใชกับแนวคิดทางศาสนา นำเร่ืองราวทางศาสนา

มาสอนผานเทคนิคการพูดแบบใหมนี้ได ซึ่งทางวิทยาลัย

ก็จัดหาวิทยากรมาให โดยจัดสอนเรื่องการพูดอยาง

ครอบคลุมเลย ทั้งการพูดในที่สาธารณะ การพูดออก

รายการ การจัดรายการวิทยุ รวมทั้งดึงเทคนิคการสอน

ธรรมของพระอาจารยสมปอง พระนักพูดที่นำเอามัลติ

มีเดียเขาชวยในการสอนธรรมะจนเปนที่ถูกใจของเหลา

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 167

Page 169: Community College Dynamic of Development

วัยรุนมาสอนดวย” ผอ.นิยมเลา “จึงเปนการเปดทัศนะ

ใหมวาการสอนศาสนาก็เขากับเทคโนโลยีสมัยใหมได

เขาสอนกันแบบน้ีแลว เพราะถายังสอนแบบเดิม คนรุน

ใหมอาจจะไมรับก็ได เปนภาพท่ีประทับใจนะ ที่เห็นคน

อายุไมนอยแลวมาเรียนรูสิ่งใหมของเขาเพื่อนำไปปรับใช

เพื่อสอนศาสนา สำหรับผมแลวถือวาเปนนิมิตรหมายที่ดี

นาจะเปนตัวอยางแกคนอ่ืนๆ ใหสนใจการเรียนรู แม

กระทั่งเลยวัยเรียนมานานแลว”

นายมานพ หมากปาน คอเต็บผูหนึ่งที่ไดลงเรียน

ในหลักสูตรการพัฒนาผูนำทางศาสนา เลาวา “เมื่อได

ไปเรียนก็ประทับใจมาก ทานวิทยากรสอนเรื่องราวใหมๆ

กับพวกเรา และใหปฏิบัติจริงกันทุกคน เพื่อจะไดแนะนำ

ใหแกไขปรับปรุงไดถูกจุดเปนรายคน เชน มีโจทยใหพูด

ในสถานการณตางๆ แลวก็ใหนักศึกษาพูดตามโอกาส

นั้นๆ แลวก็ติชมกันไป จนเมื่อจบหลักสูตรรูสึกมีความ

มั่นใจมากขึ้น และไดเทคนิคการพูดในสถานการณที่

หลากหลายดวย”

“หลังจากจบหลักสูตรการพูดแลว ผมยังลงเรียน

อีก ๒ หลักสูตรกับทางวิทยาลัย คือคอมพิวเตอรเบื้อง

ตน และการใชงานโปรแกรม Excel เพราะตัวผมเอง

ทำงานหลักเปนครูที่โรงเรียนบานปางาม อำเภอจะนะ

ซึ่งก็ชวยในการทำงานที่โรงเรียนไดมาก...การมีวิทยาลัย

ชุมชนทำใหผมไดพัฒนาความสามารถมากข้ึนโดยไมตอง

เสียเงินมาก และก็ไปเรียนไดสะดวก ไมตองเดินทางไป

ตางอำเภอ เพราะวิทยาลัยเปดสอนที่โรงเรียนจะนะ

วิทยา และโรงเรียนจะนะชนูปถัมภ” นายมานพกลาว

เพ่ิมเติม

เรื่องเลาจากวิทยาลัยชุมชนสงขลาทั้งสองเรื่องนี้

เปนเพียงสวนหน่ึงของผลลัพทที่เกิดจากความพยายามท่ี

ผอ.นิยม ชูชื่น และบุคลากรของวิทยาลัยชุมชนสงขลา

ไดฝาฟนปญหาอุปสรรคตางๆ ในการดำเนินงาน จน

กระทั่งสามารถใหบริการทางวิชาการ ใหโอกาสในการ

เรียนรูเพ่ือพัฒนาอาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของ

ประชาชนในพื้นที่ที่เปนจุดยุทธศาสตรสำคัญในการสราง

ความรักและสามัคคีของคนในชาติ ผลท่ีเกิดข้ึนนี้นา

ชื่นใจยิ่งนัก ผอ.นิยม กลาววาเปนงานที่สรางความปติ

อยางยากท่ีจะบรรยายได จึงขอฝากขอความในตอนทาย

ของจดหมายของนักศึกษารายหน่ึงท่ีนำเสนอในตอนตน

มาสื่อแทนดังนี้

สำหรับในปการศึกษา ๒๕๕๒ นี้ขาพเจาได

ชักชวนสามีของขาพเจาไดเขามาเรียนในวิทยาลัยชุมชน

สงขลา ในสาขาการปกครองทองถิ่นแลว เราทั้งสองมี

ความเชื่อตรงกันวา “การศึกษาจะเปนชองทางในการ

พัฒนาชีวิตครอบครัวของเราได ดวยวัยของพวกเราอายุ

เพียง ๒๐ กวาป และเริ่มตนการศึกษาระดับอุดมศึกษา

ที่นี่ ยังมีเวลาที่จะเรียนรูและพัฒนาไดอีกยาวไกล

อนาคตแหงความฝนและความสุขเริ่มตนที่วิทยาลัยชุมชน

สงขลา ขาพเจาภูมิใจที่ ไดเปนนักศึกษาที่นี่ ที่สราง

โอกาสในการเปล่ียนแปลงชีวิต ความคิด และปญญา

โดยท่ี ไมตองละท้ิงวิถีชีวิตเดิมของชาวมุสลิมและ

ทองถิ่น”

วิทยาลัยชุมชน : พลวัตแหงการพัฒนา 168

Page 170: Community College Dynamic of Development

CC Book 2 Cover Created Outline.indd 1CC Book 2 Cover Created Outline.indd 1 10/31/2009 11:06:21 AM10/31/2009 11:06:21 AM