Coe_power electronic

156
สาขา: ไฟฟาแขนงไฟฟากําลัง วิชา: EE05 Protection and Relay ขอที: 1 เลยหมายเลข 50 (Relay Device Number 50) หมายถึง รีเลยอะไร คําตอบ 1 : Undervoltage Relay คําตอบ 2 : Instantaneous Overcurrent Relay คําตอบ 3 : AC Time Overcurrent Relay คําตอบ 4 : Frequency Relay ขอที: 2 ขอใดไมใชวิธีการตรวจจับความผิดพรอง (Faults) ในระบบไฟฟา ของรีเลย คําตอบ 1 : การตรวจวัดระดับ ( Level Detection ) คําตอบ 2 : การเปรียบเทียบความแตกตางของกระแส ( Differential Current Comparison ) คําตอบ 3 : การเปรียบเทียบมุมเฟส ( Phase Angle Comparison ) คําตอบ 4 : การเปรียบเทียบความเร็วในการไหลของกระแสเมื่อเกิดลัดวงจร ขอที: 3 ตามมาตรฐาน IEC 60617 (IEC Relay Symbols) สัญลักษณของรีเลยดังรูป หมายถึงรีเลยใด คําตอบ 1 : Negative Sequence Relay คําตอบ 2 : Differential Relay คําตอบ 3 : Definite Time Earth Fault Overcurrent Relay คําตอบ 4 : Directional Overcurrent Relay ขอที: 4 Overcurrent Relays แบบไมมีทิศทาง ใชหลักการตรวจจับการเกิดผิดพรอง (Faults) ดวยวิธีใด คําตอบ 1 : การตรวจวัดระดับ คําตอบ 2 : การเปรียบเทียบมุมเฟส คําตอบ 3 : การเปรียบเทียบขนาดกําลังไฟฟา คําตอบ 4 : การเปรียบเทียบความแตกตางของกระแส สภาวิศวกรขอสงวนสิทธิห้ามจำหน่าย 1 of 156

Transcript of Coe_power electronic

Page 1: Coe_power electronic

สาขา: ไฟฟาแขนงไฟฟากําลัง วิชา: EE05 Protection and Relay

ขอที่ : 1 รีเลยหมายเลข 50 (Relay Device Number 50) หมายถึง รีเลยอะไร

คําตอบ 1 : Undervoltage Relay คําตอบ 2 : Instantaneous Overcurrent Relay คําตอบ 3 : AC Time Overcurrent Relay คําตอบ 4 : Frequency Relay

ขอที่ : 2 ขอใดไมใชวิธีการตรวจจับความผิดพรอง (Faults) ในระบบไฟฟา ของรีเลย

คําตอบ 1 : การตรวจวัดระดับ ( Level Detection ) คําตอบ 2 : การเปรียบเทียบความแตกตางของกระแส ( Differential Current Comparison ) คําตอบ 3 : การเปรียบเทียบมุมเฟส ( Phase Angle Comparison ) คําตอบ 4 : การเปรียบเทียบความเร็วในการไหลของกระแสเมื่อเกิดลัดวงจร

ขอที่ : 3

ตามมาตรฐาน IEC 60617 (IEC Relay Symbols) สัญลักษณของรีเลยดังรูป หมายถึงรีเลยใด

คําตอบ 1 : Negative Sequence Relay คําตอบ 2 : Differential Relay คําตอบ 3 : Definite Time Earth Fault Overcurrent Relay คําตอบ 4 : Directional Overcurrent Relay

ขอที่ : 4 Overcurrent Relays แบบไมมีทิศทาง ใชหลักการตรวจจับการเกิดผิดพรอง (Faults) ดวยวิธีใด

คําตอบ 1 : การตรวจวัดระดับ คําตอบ 2 : การเปรียบเทียบมุมเฟส คําตอบ 3 : การเปรียบเทียบขนาดกําลังไฟฟา คําตอบ 4 : การเปรียบเทียบความแตกตางของกระแส

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

1 of 156

Page 2: Coe_power electronic

ขอที่ : 5 Under Voltage Relay ใชหลักการตรวจจับการเกิดผิดพรอง (Faults) ดวยวิธีใด

คําตอบ 1 : การเปรียบเทียบมุมเฟส คําตอบ 2 : การเปรียบเทียบความแตกตางของกระแส คําตอบ 3 : การเปรียบเทียบขนาดกําลังไฟฟา คําตอบ 4 : การตรวจวัดระดับ

ขอที่ : 6 คา Pick up Value ของรีเลย หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : คาการปรับตั้งที่ใหรีเลยหยุดทํางาน คําตอบ 2 : คาการปรับตั้งเพื่อชดเชยใหคุณสมบัติการทํางานของรีเลยดีขึ้น คําตอบ 3 : คาการปรับตั้งรีเลยใหเริ่มทํางาน คําตอบ 4 : คาตัวคูณปรับตั้งเพื่อเรงใหรีเลยทํางานเร็วขึ้นชวยลดความเสียหายใหนอยลง

ขอที่ : 7 รีเลยตอไปนี้ ขอใดไมใช Distance Relay

คําตอบ 1 : Quadrilateral คําตอบ 2 : Lenticular คําตอบ 3 : Mho คําตอบ 4 : High Impedance Relay

ขอที่ : 8 รีเลยชนิดใดตอไปนี้ที่ใชหลักการตรวจจับ Faults ในระบบไฟฟา ดวยวิธีการเปรียบเทียบขนาด (Magnitude Comparison)

คําตอบ 1 : Directional Overcurrent Relay คําตอบ 2 : Distance Relay คําตอบ 3 : Current Balance Relay คําตอบ 4 : Differential Relay

ขอที่ : 9 การตรวจจับ Faults ในระบบไฟฟา ดวยวิธีการเปรียบเทียบมุมเฟส (Phase Angle Comparison) โดยทั่วไปจะใชปริมาณใดเพื่อนํามาเปรียบเทียบหามุมเฟส

คําตอบ 1 : ใชคากระแสไฟฟา และ แรงดันไฟฟา

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

2 of 156

Page 3: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : ใชคากําลังไฟฟา และ กระแสไฟฟา คําตอบ 3 : ใชคากําลังไฟฟา และ แรงดันไฟฟา คําตอบ 4 : ใชคากระแส Negative Sequence และ Positive Sequence เมื่อเกิด Fault

ขอที่ : 10 รีเลยชนิดใดตอไปนี้ ที่ใชหลักการตรวจจับ Faults โดยนําวิธีการเปรียบเทียบมุมเฟส (Phase Angle Comparison) มาใชรวมดวย

คําตอบ 1 : Differential Relay คําตอบ 2 : Directional Overcurrent Relay คําตอบ 3 : Frequency Relay คําตอบ 4 : Current Balance Relay

ขอที่ : 11 ขอใดตอไปนี้ กลาวถึง Electromagnetic Relays ผิดจากความเปนจริง

คําตอบ 1 : Electromagnetic Induction Relay อาศัยแรงดึงดูดแมเหล็กไฟฟาเพื่อบังคับให Relay Contact เปลี่ยนสถานะ คําตอบ 2 : Electromechanical Relay อาศัยแรงดึงดูดหรือแรงบิดทางไฟฟากลมาทําเปนรีเลย คําตอบ 3 : Electromagnetic Attraction Relay จะทํางานแบบทันทีทันใด (Instantaneous) โดยไมมีการหนวงเวลา คําตอบ 4 : Electromechanical Relay เปนรีเลยแบบเกา ที่ไมสามารถเก็บบันทึกขอมูลทางไฟฟาใดๆ ได

ขอที่ : 12 ขอใดไมใชคุณสมบัติของ Digital Relay

คําตอบ 1 : เปน Multiphase Multifunction Relay คําตอบ 2 : สามารถบันทึกเหตุการณหรือขอมูลทางสถิติการเกิด Fault ในระบบได คําตอบ 3 : สามารถวัดและแสดงผลคาปริมาณทางไฟฟาของระบบได เชน กระแส แรงดัน วัตต โวลตแอมแปร เปนตน คําตอบ 4 : เปน Single Phase / Single Function Relay

ขอที่ : 13 รีเลยชนิดใดตอไปนี้ อาศัยหลักการใชทั้งปริมาณกระแส และแรงดันเพื่อกระตุนใหรีเลยทํางาน

คําตอบ 1 : รีเลยระยะทาง (Distance Relay) คําตอบ 2 : รีเลยวัดคากระแสผลตาง (Current Differential Relay) คําตอบ 3 : รีเลยตรวจจับความถี่ต่ํา (Underfrequency Relay) คําตอบ 4 : รีเลยกระแสเกินแบบไมมีทิศทาง (Non-Directional Overcurrent Relay)

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

3 of 156

Page 4: Coe_power electronic

ขอที่ : 14 รีเลย Number 87 ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงรีเลยชนิดใด

คําตอบ 1 : Instantaneous Overcurrent Relay คําตอบ 2 : Distance Relay คําตอบ 3 : Differential Protective Relay คําตอบ 4 : Reverse-Phase or Phase-Balance Current Relay

ขอที่ : 15 รีเลย Number 51 ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงรีเลยชนิดใด

คําตอบ 1 : Ground Protective Relay คําตอบ 2 : AC Time Overcurrent Relay คําตอบ 3 : Reverse-Phase or Phase-Balance Current Relay คําตอบ 4 : Instantaneous Overcurrent Relay

ขอที่ : 16 รีเลย Number 21 ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงรีเลยชนิดใด

คําตอบ 1 : Ground Protective Relay คําตอบ 2 : AC Time Overcurrent Relay คําตอบ 3 : Distance Relay คําตอบ 4 : Reverse-Phase or Phase-Balance Current Relay

ขอที่ : 17 รีเลย Number 67 ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงรีเลยชนิดใด

คําตอบ 1 : AC Time Overcurrent Relay คําตอบ 2 : Reverse-Phase or Phase-Balance Current Relay คําตอบ 3 : Ground Protective Relay คําตอบ 4 : AC Directional Overcurrent Relay

ขอที่ : 18 รีเลย Number 49 ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงรีเลยชนิดใด

คําตอบ 1 : Thermal Relay คําตอบ 2 : Under Voltage Relay

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

4 of 156

Page 5: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : Instantaneous Overcurrent Relay คําตอบ 4 : Ground Protective Relay

ขอที่ : 19 ขอใดเปนหลักการตรวจจับการเกิดความผิดพรอง (Detection of Fault) ของรีเลย

คําตอบ 1 : รีเลยทํางานเมื่อปริมาณทางไฟฟาในระบบมีคาสูงกวาระดับที่ปรับตั้ง คําตอบ 2 : รีเลยทํางานเมื่อปริมาณทางไฟฟาในระบบมีคาต่ํากวาระดับที่ปรับตั้ง คําตอบ 3 : รีเลยทํางานเมื่อปริมาณทางไฟฟา 2 คามีผลตางมากเกินกวาระดับที่ปรับตั้ง คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 20 High Impedance Relay จัดเปนรีเลยประเภทใด

คําตอบ 1 : รีเลยระยะทาง (Distance Relay) คําตอบ 2 : รีเลยผลตาง (Differential Relay) คําตอบ 3 : รีแอกแตนซรีเลย (Reactance Relay) คําตอบ 4 : อิมพีแดนซรีเลย (Impedance Relay)

ขอที่ : 21 อุปกรณหลักที่ใชในการปองกันระบบไฟฟา มีอะไรบาง

คําตอบ 1 : Fuse , Circuit Breaker และ Cutout คําตอบ 2 : Fuse , Circuit Breaker และ Delay คําตอบ 3 : Fuse , Circuit Breaker และ Relay คําตอบ 4 : Circuit Breaker , Cutout และ Relay

ขอที่ : 22 อุปกรณในขอใดตอไปนี้ ที่ไมใชอุปกรณพื้นฐานในการปองกันระบบไฟฟากําลัง

คําตอบ 1 : ฟวส คําตอบ 2 : รีเลย คําตอบ 3 : เซอรกิตเบรคเกอร คําตอบ 4 : แมกเนติกคอนแทคเตอร

ขอที่ : 23

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

5 of 156

Page 6: Coe_power electronic

รีเลยชนิด Electro-mechanical Relay ถาตองการใหเปน High Speed Relay จะตองใชโครงสรางของรีเลยแบบใดคําตอบ 1 : แบบ Split Ring คําตอบ 2 : แบบ Induction Disc คําตอบ 3 : แบบ Induction Cup คําตอบ 4 : แบบ Attractive Armature

ขอที่ : 24 การตอหมอแปลงกระแส ( CT ) เพื่อตรวจจับ Zero-Sequence นั้น มีประโยชนอยางไร

คําตอบ 1 : เพื่อใชปองกัน Phase Fault คําตอบ 2 : เพื่อใชปองกัน Earth Fault คําตอบ 3 : เพื่อใชปองกัน Under Voltage คําตอบ 4 : เพื่อใชในการปองกันแบบ Differential

ขอที่ : 25 Voltage Relay ไมสามารถนํามาใชงานในลักษณะใดตอไปนี้ได

คําตอบ 1 : ใชตรวจจับกอนการทํา Synchronism Check คําตอบ 2 : ใชตรวจจับการกลับเฟส คําตอบ 3 : ใชตรวจสอบความผิดปกติดานความรอนรวมกับ Bimetal คําตอบ 4 : ใชตรวจจับเพื่อปองกัน Motor ขณะเริ่มเดินเครื่อง

ขอที่ : 26 หลักการตรวจจับ Faults ของรีเลยโดยทั่วไป ในระบบไฟฟาที่มีการตอลงดินที่ดี มักจะตรวจจับจากการตรวจคาเชิงปริมาณทางไฟฟาของคาใด

คําตอบ 1 : คากระแสที่เพิ่มขึ้นและแรงดันที่เพิ่มขึ้น คําตอบ 2 : คากระแสที่เพิ่มขึ้นและแรงดันที่ลดลง คําตอบ 3 : คากระแสที่เพิ่มขึ้นและความตานทานที่เพิ่มขึ้น คําตอบ 4 : คากระแสที่เพิ่มขึ้นและกําลังไฟฟาที่เพิ่มขึ้น

ขอที่ : 27 Voltage Restraint Overcurrent Relay ใชปริมาณใดเปน Pick up Value

คําตอบ 1 : ใชทั้งคากระแสและความถี่ ที่เปลี่ยนแปลงไป คําตอบ 2 : ใชทั้งคาแรงดันและความถี่ ที่เปลี่ยนแปลงไป คําตอบ 3 : ใชทั้งคากระแสและแรงดัน ที่เปลี่ยนแปลงไป

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

6 of 156

Page 7: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : ใชทั้งกระแสและอิมพีแดนซ ที่เปลี่ยนแปลงไป

ขอที่ : 28 Pressure Relay ใชเพื่อปองกันอุปกรณใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : เครื่องกําเนิดไฟฟา คําตอบ 2 : หมอแปลงกําลังแบบฉนวนน้ํามัน คําตอบ 3 : คาปาซิเตอร คําตอบ 4 : อุปกรณที่ใชกาซ SF6 เปนฉนวน

ขอที่ : 29 รีเลย Number 46 ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงรีเลยชนิดใด

คําตอบ 1 : Negative Sequence Current Relay คําตอบ 2 : Negative Sequence Voltage Relay คําตอบ 3 : Zero Sequence Current Relay คําตอบ 4 : Zero Sequence Voltage Relay

ขอที่ : 30 รีเลย Number 47 ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงรีเลยชนิดใด

คําตอบ 1 : Negative Sequence Current Relay คําตอบ 2 : Negative Sequence Voltage Relay คําตอบ 3 : Zero Sequence Current Relay คําตอบ 4 : Zero Sequence Voltage Relay

ขอที่ : 31 รีเลย Number 81U ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงรีเลยชนิดใด

คําตอบ 1 : Under Frequency Relay คําตอบ 2 : Over Frequency Relay คําตอบ 3 : Differential Relay คําตอบ 4 : Regulating Relay

ขอที่ : 32 รีเลย Number 40 ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงรีเลยชนิดใด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

7 of 156

Page 8: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : Frequency Relay คําตอบ 2 : Regulating Relay คําตอบ 3 : Lockout Relay คําตอบ 4 : Loss of Field Relay

ขอที่ : 33 รีเลย Number 27 ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงรีเลยชนิดใด

คําตอบ 1 : Under Frequency Relay คําตอบ 2 : Over Frequency Relay คําตอบ 3 : Under Voltage Relay คําตอบ 4 : Over Voltage Relay

ขอที่ : 34 รีเลย Number 59 ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงรีเลยชนิดใด

คําตอบ 1 : Under Frequency Relay คําตอบ 2 : Over Frequency Relay คําตอบ 3 : Under Voltage Relay คําตอบ 4 : Over Voltage Relay

ขอที่ : 35 รีเลย Number 50N ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึง รีเลยชนิดใด

คําตอบ 1 : Instantaneous Over Current Relay คําตอบ 2 : Time Delay Over Current Relay คําตอบ 3 : Instantaneous Earth Fault Relay คําตอบ 4 : Time Delay Earth Fault Relay

ขอที่ : 36 รีเลย Number 51V ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงรีเลยชนิดใด

คําตอบ 1 : Time Delay Over Current Relay คําตอบ 2 : Time Delay Over Voltage Relay คําตอบ 3 : Voltage Restraint Over Current Relay คําตอบ 4 : Time Delay Earth Fault Relay

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

8 of 156

Page 9: Coe_power electronic

ขอที่ : 37 รหัสอุปกรณ หมายเลข 52 ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงอุปกรณใด

คําตอบ 1 : Current Operated Circuit Breaker คําตอบ 2 : Relay Operated Circuit Breaker คําตอบ 3 : Thermally Operated Circuit Breaker คําตอบ 4 : Voltage Operated Circuit Breaker

ขอที่ : 38 Static Relays หมายถึงรีเลยแบบใด

คําตอบ 1 : Electromechanical Relays คําตอบ 2 : Solid State Relays คําตอบ 3 : Digital Relays คําตอบ 4 : Numerical Relays

ขอที่ : 39 ภายในโครงสรางของรีเลยแบบ Microprocessor หรือ Digital Relays ที่ใชงานในยุคปจจุบันจะประกอบดวย Isolation Transformers เพื่อใชทําหนาที่อะไร

คําตอบ 1 : ใชกรองสัญญาณรบกวนกอนเขารีเลย คําตอบ 2 : ใชแยกวงจรและแปลงลดสัญญาณกอนเขารีเลย คําตอบ 3 : ใชจายไฟเลี้ยงวงจรอิเล็กทรอนิกสภายในตัวรีเลย คําตอบ 4 : ใชสงสัญญาณขอมูลภายในตัวรีเลย

ขอที่ : 40 ภายในโครงสรางของรีเลยแบบ Microprocessor หรือ Digital Relays ที่ใชงานในยุคปจจุบันจะประกอบดวย Anti - Alias Filter เพื่อใชทําหนาที่อะไร

คําตอบ 1 : ใชกรองสัญญาณรบกวนกอนเขารีเลย คําตอบ 2 : ใชแยกวงจรและแปลงลดสัญญาณกอนเขารีเลย คําตอบ 3 : ใชจายไฟเลี้ยงวงจรอิเล็กทรอนิกสภายในตัวรีเลย คําตอบ 4 : ใชสงสัญญาณขอมูลภายในตัวรีเลย

ขอที่ : 41 รีเลย Number 21N ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงรีเลยชนิดใด

คําตอบ 1 : Ground Fault Over Voltage Relay

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

9 of 156

Page 10: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : Ground Fault Under Voltage Relay คําตอบ 3 : Ground Fault Distance Relay คําตอบ 4 : Ground Fault High Impedance Relay

ขอที่ : 42 Over-Voltage Relay จะทํางานตอ Contact ชนิด “a” ถึงกัน เมื่อใด

คําตอบ 1 : แรงดันถึงคาที่ตั้งไว คําตอบ 2 : แรงดันสูงเกินกวาคาที่ตั้งไว คําตอบ 3 : แรงดันต่ํากวาคาที่ตั้งไว คําตอบ 4 : แรงดันลดต่ําลงมาเปนศูนย

ขอที่ : 43 หนาที่หลักของ Relays คือ

คําตอบ 1 : เปนอุปกรณตัดวงจรไฟฟาโดยตรง เมื่อเกิด Faults คําตอบ 2 : เปนอุปกรณสั่งการให Circuit Breaker ตัดวงจร เมื่อเกิด Faults คําตอบ 3 : เปนอุปกรณตรวจหาตําแหนงของการเกิด Faults ในระบบไฟฟา คําตอบ 4 : เปนอุปกรณบันทึกความผิดปกติที่เกิดขึ้นในระบบไฟฟา

ขอที่ : 44 อุปกรณที่ใชวิเคราะหและประมวลผลสัญญาณขอมูลภายใน Digital Relays คือ

คําตอบ 1 : Memory Unit คําตอบ 2 : Microprocessor Unit คําตอบ 3 : Analog to Digital Converter คําตอบ 4 : Sample and Hold Device

ขอที่ : 45 Directional Power Relay (32) นิยมใชงานในกรณีใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : ใชตรวจจับทิศทางการไหลของกําลังไฟฟา คําตอบ 2 : ใชตรวจวัดปริมาณกําลังไฟฟา คําตอบ 3 : ใชในกรณีที่ตองการทํา Synchronization ระบบไฟฟา คําตอบ 4 : ใชตรวจจับสภาวะโหลดเกินในมอเตอรไฟฟา

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

10 of 156

Page 11: Coe_power electronic

ขอที่ : 46 เทคนิควิธีใดตอไปนี้ ที่ไมนํามาใชเพื่อตรวจจับ Earth Fault ดวย Overcurrent Relay

คําตอบ 1 : การตรวจจับ Positive Sequence Current คําตอบ 2 : การตรวจวัดกระแสเศษเหลือ( Residual Current) คําตอบ 3 : การตรวจวัดกระแส Ground Return คําตอบ 4 : การตรวจจับ Zero Sequence Current

ขอที่ : 47 รีเลย Number 81O ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงรีเลยชนิดใด

คําตอบ 1 : Under Frequency Relay คําตอบ 2 : Over Frequency Relay คําตอบ 3 : Differential Relay คําตอบ 4 : Regulating Relay

ขอที่ : 48 วิวัฒนาการของ Relays ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน แบงเปนกลุมตางๆ อะไรบาง

คําตอบ 1 : Electromechanical Relay, Static Relay, Digital Relay และ Numerical Relay คําตอบ 2 : Solid-state Relay, Static Relay และ Digital Relay คําตอบ 3 : Static Relay, Digital Relay และ Numerical Relay คําตอบ 4 : Electromechanical Relay, Static Relay และ Digital Relay

ขอที่ : 49 รีเลยชนิดใดตอไปนี้ ใชคา Impedance เปนปริมาณ Pick up เพื่อใหรีเลยทํางาน

คําตอบ 1 : Overcurrent Relay คําตอบ 2 : Differential Relay คําตอบ 3 : Distance Relay คําตอบ 4 : Under Voltage Relay

ขอที่ : 50 รหัสอุปกรณ หมายเลข 52-a ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงอุปกรณชนิดใด

คําตอบ 1 : Auxiliary Contact แบบปกติเปด (Normally Open) คําตอบ 2 : Auxiliary Contact แบบปกติปด (Normally Close)

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

11 of 156

Page 12: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : Auxiliary Relay แบบปกติเปด (Normally Open) คําตอบ 4 : Auxiliary Relay แบบปกติปด (Normally Close)

ขอที่ : 51 รหัสอุปกรณ หมายเลข 52-b ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงอุปกรณชนิดใด

คําตอบ 1 : Auxiliary Contact แบบปกติเปด (Normally Open) คําตอบ 2 : Auxiliary Contact แบบปกติปด (Normally Close) คําตอบ 3 : Auxiliary Relay แบบปกติเปด (Normally Open) คําตอบ 4 : Auxiliary Relay แบบปกติปด (Normally Close)

ขอที่ : 52 Under-Voltage Relay จะทํางาน เมื่อแรงดันต่ํากวาคาที่ตั้งไว โดยที่

คําตอบ 1 : รีเลยจะตอ Contact ชนิด “a” ถึงกัน คําตอบ 2 : รีเลยจะตอ Contact ชนิด “b” ถึงกัน คําตอบ 3 : รีเลยจะแยก Contact ชนิด “a” ออกจากกัน คําตอบ 4 : รีเลยจะแยก Contact ชนิด “b” ออกจากกัน

ขอที่ : 53 ขอใดที่ไมใชความแตกตางระหวาง Instantaneous Relay กับ Inverse Time Relay

คําตอบ 1 : Instantaneous Relay มีโครงสรางแบบ Hinged Armature แตของ Inverse Time Relay เปนแบบ Induction Type คําตอบ 2 : Instantaneous Relay มีโครงสรางแบบ Armature Attractive แตของ Inverse Time Relay เปนแบบ Induction Disc

คําตอบ 3 : Instantaneous Relay จะทํางานทันที เมื่อมีกระแส Fault ไหลผาน Coil เกินกวาคาที่ปรับตั้งไว แต Inverse Time Relay จะทํางานดวยเวลาที่แปรผันตามปริมาณกระแส

คําตอบ 4 : Instantaneous Relay สรางไดงายกวา Inverse Time Relay

ขอที่ : 54

จากขอความตอไปนี้ ขอใดกลาวถูกตอง A. Solid State Relay เปนรีเลยที่ไมมีสวนที่เคลื่อนที่ได B. Solid State Relay เปนรีเลยที่ไมตองใชพลังงานไฟฟาจากภายนอก C. Microprocessor Relay เปนรีเลยที่สามารถทํางานไดหลายหนาที่ในตัวเดียว D.Microprocessor Relay เปนรีเลยที่มีโครงสรางวงจรภายใน ไมซับซอน

คําตอบ 1 : ขอ A และ C คําตอบ 2 : ขอ A และ D คําตอบ 3 : ขอ B และ C คําตอบ 4 : ขอ B และ D

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

12 of 156

Page 13: Coe_power electronic

ขอที่ : 55

ตามมาตรฐาน IEC 60617 (IEC Relay Symbols) สัญลักษณของรีเลยดังรูป หมายถึงรีเลยใด

คําตอบ 1 : Instantaneous Overcurrent Relay คําตอบ 2 : Differential Relay คําตอบ 3 : Definite Time Earth Fault Overcurrent Relay คําตอบ 4 : Directional Overcurrent Relay

ขอที่ : 56

ตามมาตรฐาน IEC 60617 (IEC Relay Symbols) สัญลักษณของรีเลยดังรูป หมายถึงรีเลยใด

คําตอบ 1 : Distance Relay คําตอบ 2 : Underspeed Relay คําตอบ 3 : Underpower Relay คําตอบ 4 : Phase Angle Relay

ขอที่ : 57

ตามมาตรฐาน IEC 60617 (IEC Relay Symbols) สัญลักษณของรีเลยดังรูป หมายถึงรีเลยใด

คําตอบ 1 : Overspeed Relay คําตอบ 2 : Power Factor Relay คําตอบ 3 : Overtemperature Relay คําตอบ 4 : Phase Angle Relay

ขอที่ : 58

ตามมาตรฐาน IEC 60617 (IEC Relay Symbols) สัญลักษณของรีเลยดังรูป หมายถึงอุปกรณใด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

13 of 156

Page 14: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : Directional Relay คําตอบ 2 : Switch คําตอบ 3 : Circuit Breaker คําตอบ 4 : Thermal Relay

ขอที่ : 59

ตามมาตรฐาน IEC 60617 (IEC Relay Symbols) สัญลักษณของรีเลยดังรูป หมายถึงรีเลยใด

คําตอบ 1 : Phase Angle Relay คําตอบ 2 : Directional Overpower Relay คําตอบ 3 : Power Factor Relay คําตอบ 4 : Revers-Phase Relay

ขอที่ : 60

ตามมาตรฐาน IEC 60617 (IEC Relay Symbols) สัญลักษณของรีเลยดังรูป หมายถึงรีเลยใด

คําตอบ 1 : Overspeed Relay คําตอบ 2 : Underspeed Relay คําตอบ 3 : Overfrequency Relay คําตอบ 4 : Phase Angle Relay

ขอที่ : 61

ตามมาตรฐาน IEC 60617 (IEC Relay Symbols) สัญลักษณของรีเลยดังรูป หมายถึงรีเลยใด

คําตอบ 1 : Underspeed relay

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

14 of 156

Page 15: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : Underfrequency relay คําตอบ 3 : Underpower relay คําตอบ 4 : Undervoltage relay

ขอที่ : 62

ตามมาตรฐาน IEC 60617 (IEC Relay Symbols) สัญลักษณของรีเลยดังรูป หมายถึงรีเลยใด

คําตอบ 1 : Directional Overcurrent Relay คําตอบ 2 : Definite Time Overcurrent Relay คําตอบ 3 : Negative Sequence Relay คําตอบ 4 : Inverse Time Overcurrent Relay

ขอที่ : 63 รีเลยใดตอไปนี้ ใชคา Impedance เปนปริมาณ Pick up เพื่อใหรีเลยทํางาน

คําตอบ 1 : รีเลย Number 67 คําตอบ 2 : รีเลย Number 87 คําตอบ 3 : รีเลย Number 27 คําตอบ 4 : รีเลย Number 21

ขอที่ : 64 รีเลยใดตอไปนี้ อาศัยกระแสกระตุนที่ตอมาจาก CT เพียงอยางเดียว เปนปริมาณ Pick up เพื่อใหรีเลยทํางาน

คําตอบ 1 : รีเลย Number 50 คําตอบ 2 : รีเลย Number 67 คําตอบ 3 : รีเลย Number 27 คําตอบ 4 : รีเลย Number 21

ขอที่ : 65 กลไกลการทํางานของ Digital Relays จะขึ้นอยูกับอะไรเปนสําคัญ

คําตอบ 1 : ขึ้นอยูกับสัญญาณขอมูลที่ไดรับจาก ADC คําตอบ 2 : ขึ้นอยูกับคําสั่งจาก Software ที่ใช คําตอบ 3 : ขึ้นอยูกับหนวยความจํา

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

15 of 156

Page 16: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : ขึ้นอยูกับสวนปอนขอมูลและแสดงผล

ขอที่ : 66 รีเลยใดตอไปนี้ที่มีคุณสมบัติแบบ Adjustable Logic Elements

คําตอบ 1 : รีเลยแบบอาศัยการเหนี่ยวนําแมเหล็กไฟฟา คําตอบ 2 : รีเลยแบบอาศัยแรงดูดแมเหล็กไฟฟา คําตอบ 3 : Plunger Relays คําตอบ 4 : Static Relays

ขอที่ : 67 Over Load Relay แบบใชแผนโลหะคู (Bimetal) มีหลักการทํางานอยางไร

คําตอบ 1 : ใชหลักการของโลหะตางชนิดกัน เมื่อไดรับความรอนพรอมกันมีอัตราการขยายตัวไมเทากัน คําตอบ 2 : ใชหลักการสนามแมเหล็กดูดหนาคอนแทค โดยผานแผนโลหะ คําตอบ 3 : ใชหลักการของโลหะตางชนิดกัน เมื่อไดรับความรอนไมพรอมกันมีอัตราการหดตัวไมเทากัน คําตอบ 4 : ใชหลักการสนามแมเหล็กไฟฟาเหนี่ยวนําแผนโลหะ เพื่อเปด – ปด หนาคอนแทค

ขอที่ : 68 หลักการ Pilot Relaying นิยมใชปองกันอุปกรณใดในระบบไฟฟากําลัง

คําตอบ 1 : ใชปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟา คําตอบ 2 : ใชปองกันหมอแปลงไฟฟา คําตอบ 3 : ใชปองกันสายสงกําลังไฟฟา คําตอบ 4 : ใชปองกันมอเตอรไฟฟา

ขอที่ : 69 ภายในโครงสรางของรีเลยแบบ Microprocessor หรือ Digital Relays ที่ใชงานในยุคปจจุบันจําเปนตองมี Multiplexer ( MUX ) เพื่อใชทําหนาที่อะไร

คําตอบ 1 : ใชกรองสัญญาณรบกวนกอนเขาอุปกรณ ADC คําตอบ 2 : ใชเลือกและเรียงลําดับของสัญญาณกอนเขาอุปกรณ ADC คําตอบ 3 : ใชขยายขนาดสัญญาณกอนเขาอุปกรณ ADC คําตอบ 4 : ใชเปนตัวสรางสัญญาณนาฬิกาเทียบภายในรีเลย

ขอที่ : 70 รีเลยกลุมใดตอไปนี้ ตองใชงานรวมกับอุปกรณวัดทั้ง CT และ VT

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

16 of 156

Page 17: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : รีเลย Number 50 และ รีเลย Number 51 คําตอบ 2 : รีเลย Number 25 และ รีเลย Number 67N คําตอบ 3 : รีเลย Number 32 และ รีเลย Number 21 คําตอบ 4 : รีเลย Number 51 และ รีเลย Number 27

ขอที่ : 71 Incomplete Sequence Relay (48) นิยมใชปองกันอุปกรณใดในระบบไฟฟากําลัง

คําตอบ 1 : ใชปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟา คําตอบ 2 : ใชปองกันหมอแปลงไฟฟา คําตอบ 3 : ใชปองกันสายสงกําลังไฟฟา คําตอบ 4 : ใชปองกันมอเตอรไฟฟา

ขอที่ : 72

จากขอความตอไปนี้ ขอใดกลาวถูกตอง A) 59-Overvoltage Relay และ 27-Undervoltage Relay ใชปองกันแรงดันในระบบไฟฟามีความผิดปกติ B) 25-Synchronism Relay ใชตรวจสอบความถี่ และมุมเฟสของแรงดันไฟฟาใน 2 วงจรที่จะทําการตอขนานกัน C) 59-Overvoltage Relay และ 81-Undervoltage Relay ใชปองกันความถี่ในระบบไฟฟาผิดปกติ D) 21-Distance Relay และ 87-Differential Relay ใชปองกันอุปกรณหมอแปลงในระบบไฟฟาคําตอบ 1 : ขอ A และ B คําตอบ 2 : ขอ A และ C คําตอบ 3 : ขอ B และ C คําตอบ 4 : ขอ C และ D

ขอที่ : 73 รหัสและชื่ออุปกรณในขอใดตอไปนี้ ถูกตองทั้งหมด

คําตอบ 1 : 49-Frequency Relay, 50-Instantaneous Overcurrent Relay, 67-Undervoltage Relay คําตอบ 2 : 21-Distance Relay , 50-Instantaneous Overcurrent Relay, 51-Time Overcurrent Relay คําตอบ 3 : 40-Loss of Excitation Relay, 59-Overvoltage Relay, 78-Differential Relay คําตอบ 4 : 50-Time Overcurrent Relay, 51-Instantaneous Overcurrent Relay, 87-Differential Relay

ขอที่ : 74 รหัสและชื่ออุปกรณในขอใดตอไปนี้ ถูกตองทั้งหมด

คําตอบ 1 : 27-Overvoltage Relay, 51-Time Overcurrent Relay, 59-Undervoltage Relay คําตอบ 2 : 27-Overvoltage Relay, 51-Undervoltage Relay, 59-Time Overcurrent Relay คําตอบ 3 : 27-Undervoltage Relay, 51-Time Overcurrent Relay, 59-Overvoltage Relay

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

17 of 156

Page 18: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : 27-Undervoltage Relay, 51-Overvoltage Relay, 59-Time Overcurrent Relay

ขอที่ : 75 รหัสและชื่ออุปกรณในขอใดตอไปนี้ ไมถูกตอง

คําตอบ 1 : 21-Distance Relay, 40-Loss of Excitation Relay, 59-Overvoltage Relay คําตอบ 2 : 32-Power Direction Relay, 60V-Voltage Balance Relay, 87-Differential Relay คําตอบ 3 : 27-Undervoltage Relay, 37-Undercurrent Relay, 78-Out of Step relay คําตอบ 4 : 49-Frequency Relay, 50-Instantaneous Overcurrent Relay, 51-Time Overcurrent Relay

ขอที่ : 76 รีเลยกลุมใดตอไปนี้ อาศัยสัญญาณกระตุนที่ตอมาจาก VT เพียงอยางเดียว เพื่อใหรีเลยทํางาน

คําตอบ 1 : รีเลย Number 50 และ รีเลย Number 87 คําตอบ 2 : รีเลย Number 51 และ รีเลย Number 67 คําตอบ 3 : รีเลย Number 25 และ รีเลย Number 27 คําตอบ 4 : รีเลย Number 81 และ รีเลย Number 21

ขอที่ : 77 รีเลยกลุมใดตอไปนี้ ใชงานรวมกับ CT เพียงอยางเดียว

คําตอบ 1 : รีเลย Number 50 และ รีเลย Number 87 คําตอบ 2 : รีเลย Number 21 และ รีเลย Number 67N คําตอบ 3 : รีเลย Number 25 และ รีเลย Number 27 คําตอบ 4 : รีเลย Number 51 และ รีเลย Number 59

ขอที่ : 78 หลักการตรวจจับปริมาณฮารมอนิกสในรีเลยที่มีฟงกชัน Harmonics Restraint ใชเพื่อประโยชนใด

คําตอบ 1 : ใชปองกันการสั่งทริปของรีเลยเมื่อมี Faults เกิดขึ้นภายนอกเขตปองกัน คําตอบ 2 : ใชปองกันการสั่งทริปของรีเลยในสภาวะ Abnormal Conditions แตไมใชการเกิด Faults ภายในเขตปองกัน คําตอบ 3 : ใชปองกันการสั่งทริปของรีเลยในเขตปองกันอื่นที่ทับซอนกัน (Overlap) เพื่อใหรีเลยในเขตปองกันนั้นทํางานกอน คําตอบ 4 : ใชสั่งทริป Circuit Breaker เมื่อรีเลยตรวจพบปริมาณฮารมอนิกสเกินกวาคาที่ตั้งไว

ขอที่ : 79

ตามมาตรฐาน IEC 60617 (IEC Relay Symbols) สัญลักษณของรีเลยดังรูป หมายถึงรีเลยใด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

18 of 156

Page 19: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : Phase Angle Relay คําตอบ 2 : Voltage Restrained/Controlled Overcurrent Relay คําตอบ 3 : Revers-Phase Relay คําตอบ 4 : Directional Overcurrent Relay

ขอที่ : 80 รหัสอุปกรณ หมายเลข 25 ตามมาตรฐาน ANSI Standard หมายถึงอุปกรณใด

คําตอบ 1 : Thermally Operated Circuit Breaker คําตอบ 2 : Relay Operated Circuit Breaker คําตอบ 3 : Synchronizing or Synchronism-Check Device คําตอบ 4 : Over Voltage Relay

ขอที่ : 81 ขอใดตอไปนี้กลาวถึงหลักการปองกันกระแสเกินที่ไมถูกตอง

คําตอบ 1 : รีเลยกระแสเกินเปนรีเลยที่ใชมากที่สุดในการปองกัน Phase Faults และ Earth Faults คําตอบ 2 : ปริมาณที่ใชตรวจจับ Fault ที่เกิดขึ้นในระบบอาจใชเปนคากระแส, เวลา หรือทั้งกระแสและเวลา รวมกัน คําตอบ 3 : ปริมาณที่ใชตรวจจับ Fault ที่เกิดขึ้นในระบบอาจใชเปนคากระแส, แรงดัน หรือ เวลา ก็ได คําตอบ 4 : การปองกันกระแสลัดวงจร (Short Circuit) จะตองตั้งคาใหรีเลยตัวที่อยูใกล Fault มากที่สุดทํางานกอนเสมอ

ขอที่ : 82 คาเวลา Grading Margin ที่เหมาะสมที่สุด สําหรับรีเลยควรมีคาอยูในชวงใด

คําตอบ 1 : 0.1 – 1.0 วินาที คําตอบ 2 : 0.25 – 0.4 วินาท ีคําตอบ 3 : 1.0 – 3.0 วินาที คําตอบ 4 : 2.0 – 5.0 วินาที

ขอที่ : 83 การทํา Discrimination ของรีเลยในระบบปองกันกระแสเกิน สามารถทําไดกี่วิธี อะไรบาง

คําตอบ 1 : 2 วิธี คือ โดยใชกระแส และ เวลา

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

19 of 156

Page 20: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : 2 วิธี คือ โดยใชกระแส และ มุมเฟส คําตอบ 3 : 3 วิธี คือ โดยใชกระแส, เวลา และ ใชทั้งกระแสรวมกับเวลา คําตอบ 4 : 3 วิธี คือ โดยใชกระแส, เวลา และ มุมเฟส

ขอที่ : 84 ลักษณะสมบัติของรีเลยกระแสเกินแบบ Definite Time Overcurrent Relay คือขอใด

คําตอบ 1 : รีเลยจะทํางาน เมื่อตรวจพบวากระแส Fault มีคาเกินกวาคากระแสที่ปรับตั้งไว และมีเวลาทํางานเร็วที่สุดเกือบเปนแบบทันทีทันใด คําตอบ 2 : รีเลยจะทํางาน เมื่อตรวจพบวากระแส Fault มีคาเกินกวาคากระแสที่ปรับตั้งไว และมีเวลาทํางานแบบคงที่ตามคาที่ออกแบบไว คําตอบ 3 : รีเลยจะทํางาน เมื่อตรวจพบวากระแส Fault มีคาเกินกวาคากระแสที่ปรับตั้งไว และมีเวลาทํางานเปนปฏิภาคผกผันกับปริมาณกระแสผิดพรอง คําตอบ 4 : รีเลยจะทํางาน เมื่อตรวจพบวากระแส Fault มีคาเกินกวาคากระแสที่ปรับตั้งไว และมีเวลาทํางานเปนแบบแปรผันตามปริมาณกระแสผิดพรอง

ขอที่ : 85 ลักษณะสมบัติของรีเลยกระแสเกินแบบ Definite Current Overcurrent Relay คือขอใด

คําตอบ 1 : รีเลยจะทํางาน เมื่อตรวจพบวากระแส Fault มีคาเทากับหรือเกินกวาคากระแสที่ปรับตั้งไว และมีเวลาทํางานเปนปฏิภาคผกผันกับปริมาณกระแสผิดพรอง คําตอบ 2 : รีเลยจะทํางาน เมื่อตรวจพบวากระแส Fault มีคาเทากับหรือเกินกวาคากระแสที่ปรับตั้งไว และมีเวลาทํางานเปนแบบแปรผันตามปริมาณกระแสผิดพรอง คําตอบ 3 : รีเลยจะทํางาน เมื่อตรวจพบวากระแส Fault มีคาเทากับหรือเกินกวาคากระแสที่ปรับตั้งไว โดยรีเลยจะทํางานทันทีไมขึ้นอยูกับคากระแส คําตอบ 4 : รีเลยจะทํางาน เมื่อตรวจพบวากระแส Fault มีคาเทากับหรือเกินกวาคากระแสที่ปรับตั้งไว โดยรีเลยจะทํางานแบบมีเวลาหนวงคงที่ตามคาที่ปรับตั้งไว

ขอที่ : 86 ลักษณะสมบัติของรีเลยกระแสเกินแบบ Inverse Time Overcurrent Relay คือขอใด

คําตอบ 1 : รีเลยจะทํางาน เมื่อตรวจพบวาอิมพีแดนซที่ตรวจวัดไดมีคานอยกวาคาที่ปรับตั้งไว โดยรีเลยจะทํางานทันทีในชวงเริ่มตน และยิ่งทํางานเร็วขึ้นถาอิมพีแดนซมีคานอย คําตอบ 2 : รีเลยจะทํางาน เมื่อตรวจพบวากระแส Fault มีคาเกินกวาคากระแสที่ปรับตั้งไว โดยรีเลยจะทํางานทันทีในชวงเริ่มตน และยิ่งทํางานเร็วขึ้นถากระแสมีคานอย คําตอบ 3 : รีเลยจะทํางาน เมื่อตรวจพบวากระแส Fault มีคาเกินกวาคากระแสที่ปรับตั้งไว และมีเวลาทํางานเปนแบบแปรผันตามปริมาณกระแสผิดพรอง คําตอบ 4 : รีเลยจะทํางาน เมื่อตรวจพบวากระแส Fault มีคาเกินกวาคากระแสที่ปรับตั้งไว และมีเวลาทํางานเปนปฏิภาคผกผันกับปริมาณกระแสผิดพรอง

ขอที่ : 87 รีเลยกระแสเกินแบบไมมีทิศทาง (Non-directional Overcurrent Relay) ใชวิธีใดในการตรวจจับ Faults

คําตอบ 1 : การตรวจวัดระดับ คําตอบ 2 : การเปรียบเทียบมุมเฟส คําตอบ 3 : การเปรียบเทียบความแตกตางของกระแส คําตอบ 4 : การตรวจจับฮารมอนิกส

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

20 of 156

Page 21: Coe_power electronic

ขอที่ : 88 Grading Margin ขึ้นอยูกับแฟกเตอรใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : เวลา Overshoot ของรีเลย คําตอบ 2 : คาความผิดพลาดของอุปกรณ คําตอบ 3 : เวลาในการตัดวงจรของ Circuit Breaker คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 89 ขอใดไมใชปจจัยสําคัญที่ใชในการกําหนดคาเวลา Grading Margin สําหรับการจัดลําดับเวลาการทํางานของรีเลยกระแสเกิน

คําตอบ 1 : เวลาในการตัดวงจรของ Circuit Breaker คําตอบ 2 : เวลาการทํางานเกินเลย (Overshoot Time) ของรีเลย คําตอบ 3 : คาเวลาเผื่อ ( Allowance ) สําหรับความผิดพลาด คําตอบ 4 : ชวงเวลาคงอยูของกระแสลัดวงจร

ขอที่ : 90 ความหมายของ “กระแสเกิน (Overcurrent)” ในการปองกันระบบไฟฟากําลัง มีกี่ลักษณะ อะไรบาง

คําตอบ 1 : มี 2 ลักษณะ คือ Short Circuits กับ Inrush Current คําตอบ 2 : มี 2 ลักษณะ คือ Short Circuits กับ Interrupting Current คําตอบ 3 : มี 2 ลักษณะ คือ Short Circuits กับ Over Load คําตอบ 4 : มี 3 ลักษณะ คือ Short Circuits , Over Load และ Transient

ขอที่ : 91 สัญลักษณของ “Instantaneous Overcurrent Relay” ตามมาตรฐาน IEC (IEC Symbols) คือขอใด

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

21 of 156

Page 22: Coe_power electronic

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 92 สัญลักษณของ “Inverse Time Overcurrent Relay” ตามมาตรฐาน IEC (IEC Symbols) คือขอใด

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 93

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

22 of 156

Page 23: Coe_power electronic

สัญลักษณของ “Inverse Time Earth Fault Overcurrent Relay” ตามมาตรฐาน IEC (IEC Symbols) คือขอใด

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 94 สัญลักษณของ “Phase-Directional Overcurrent Relay” ตามมาตรฐาน IEC (IEC Symbols) คือขอใด

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

23 of 156

Page 24: Coe_power electronic

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 95 สัญลักษณของ “Ground-Directional Overcurrent Relay” ตามมาตรฐาน IEC (IEC Symbols) คือขอใด

คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ขอที่ : 96

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

24 of 156

Page 25: Coe_power electronic

ระบบไฟฟาแหงหนึ่งมีขนาดกระแสลัดวงจรสูงสุดเปน 8,000 A ใชรีเลยกระแสเกินในการปองกัน โดยตอผานหมอแปลงทดกระแส (CT) ที่มีอัตราการทดกระแส 500/5 A ใหคํานวณหาคา Plug Setting Multiplier (PSM) จะมีคาเทาใด เมื่อปรับตั้งกระแสไวที่ 150 %คําตอบ 1 : 6.0 คําตอบ 2 : 8.76 คําตอบ 3 : 9.56 คําตอบ 4 : 10.67

ขอที่ : 97 เงื่อนไขการทํางานของ Directional Overcurrent Relay คือขอใด

คําตอบ 1 : เมื่อกระแสที่รีเลยมองเห็น มากกวาหรือเทากับคากระแสปรับตั้ง รีเลยจะทํางาน คําตอบ 2 : เมื่อกระแสที่รีเลยมองเห็น มากกวาหรือเทากับคากระแสปรับตั้ง และมีทิศทางถูกตอง รีเลยจะทํางาน คําตอบ 3 : เมื่อกระแสที่รีเลยมองเห็น มากกวาหรือเทากับคากระแสปรับตั้ง และมีทิศทางตรงกันขาม รีเลยจะทํางาน คําตอบ 4 : เมื่อกระแสที่รีเลยมองเห็น นอยกวาหรือเทากับคากระแสปรับตั้ง และมีทิศทางถูกตอง รีเลยจะทํางาน

ขอที่ : 98

Phase Directional Overcurrent Relay และ Ground Directional Overcurrent Relay ตามมาตรฐาน IEEE C37.2 (ANSI Device Numbers) หมายถึงรีเลยเบอรใด ตามลําดับ

คําตอบ 1 : 67 และ 67N คําตอบ 2 : 51 และ 51N คําตอบ 3 : 50 และ 50N คําตอบ 4 : 32 และ 32N

ขอที่ : 99 Phase Directional Overcurrent Relay แบบ Electromechanical สามารถตอใชงานแบบใดไดบาง

คําตอบ 1 : 30 degree Connection คําตอบ 2 : 60 degree Connection คําตอบ 3 : 90 degree Connection คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 100 Directional Overcurrent Relay สามารถใชปริมาณใดเปน Polarizing Quantity ไดบาง

คําตอบ 1 : ใชแรงดันไฟฟา คําตอบ 2 : ใชกระแสไฟฟา

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

25 of 156

Page 26: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : ใชไดทั้งแรงดัน หรือ กระแส ไฟฟา แลวแตกรณีของการปองกัน คําตอบ 4 : ใชความถี่ทางไฟฟา

ขอที่ : 101 Directional Overcurrent Relay ใชปริมาณใดเปน Operating Quantity

คําตอบ 1 : ใชแรงดันไฟฟา คําตอบ 2 : ใชกระแสไฟฟา คําตอบ 3 : ใชไดทั้งแรงดัน และ กระแส ไฟฟา แลวแตกรณีของการปองกัน คําตอบ 4 : ใชความถี่ทางไฟฟา

ขอที่ : 102 Phase Directional Overcurrent Relay (67) สําหรับการปองกัน Phase Faults ตองใชปริมาณใดเปน Polarizing Quantity

คําตอบ 1 : ใชแรงดันไฟฟาไดอยางเดียว คําตอบ 2 : ใชกระแสไฟฟาไดอยางเดียว คําตอบ 3 : ใชไดทั้งแรงดัน และ กระแส ไฟฟา แลวแตกรณีของการปองกัน คําตอบ 4 : ใชความถี่ทางไฟฟาไดอยางเดียว ใชความถี่ทางไฟฟาไดอยางเดียว

ขอที่ : 103 Polarizing Quantity ของรีเลยกระแสเกินแบบรูทิศทาง (Directional Overcurrent Relays) หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : เปนปริมาณอางอิงสําหรับใชเปรียบเทียบขนาดและทิศทางของกระแสเกิน เพื่อใหรีเลยทํางาน คําตอบ 2 : เปนปริมาณอางอิงสําหรับใชเปรียบเทียบขนาดของกระแสเกิน เพื่อใหรีเลยทํางาน คําตอบ 3 : เปนปริมาณอางอิงสําหรับใชเปรียบเทียบทิศทางของกระแสเกิน เพื่อใหรีเลยทํางาน คําตอบ 4 : เปนปริมาณกระแสเปรียบเทียบกับคากระแสปรับตั้งเปนเปอรเซ็นต เพื่อใหรีเลยทํางาน

ขอที่ : 104 Overcurrent Relay ตอผานหมอแปลงทดกระแส (CT) ที่มี Current Ratio เปน 800/5 A ปรับตั้งใหทํางานที่ 80% กระแสเริ่มทํางานของ Relay มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 5 A คําตอบ 2 : 4 A คําตอบ 3 : 3 A คําตอบ 4 : 2.5 A

ขอที่ : 105

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

26 of 156

Page 27: Coe_power electronic

Overcurrent Relay ตอผานหมอแปลงทดกระแส (CT) ที่มี Current Ratio เปน 1000/1 A ปรับตั้งใหทํางานที่ 125% กระแสเริ่มทํางานของ Relay มีคาเทาใดคําตอบ 1 : 2.0 A คําตอบ 2 : 1.5 A คําตอบ 3 : 1.25 A คําตอบ 4 : 1.0 A

ขอที่ : 106

Overcurrent Relay ตอผานหมอแปลงทดกระแส (CT) ที่มี Current Ratio เปน 1000/5 A ปรับตั้งใหทํางานที่ 100% ถาเกิดกระแส Fault ขนาด 10,000 A จงหาคา PSM จะเปนเทาใด

คําตอบ 1 : PSM = 5 คําตอบ 2 : PSM = 10 คําตอบ 3 : PSM = 15 คําตอบ 4 : PSM = 20

ขอที่ : 107 ในระบบไฟฟาแบบ 3 เฟส 3 สาย การปองกัน Earth Fault Protection ดวยวิธี “Residual Connected”จะตองใชหมอแปลงทดกระแส (CT) ทั้งหมดกี่ตัว

คําตอบ 1 : ใช CT เพียงตัวเดียว คําตอบ 2 : ใช CT ทั้งหมด 2 ตัว คําตอบ 3 : ใช CT ทั้งหมด 3 ตัว คําตอบ 4 : ใช CT ทั้งหมด 4 ตัว

ขอที่ : 108 การปองกัน Earth Fault Protection ของเครื่องกําเนิดไฟฟา 3 เฟส ที่มีการตอลงดิน ดวยวิธี Ground Return จะตองใชหมอแปลงทดกระแส (CT) ทั้งหมดกี่ตัว

คําตอบ 1 : ใช CT ทั้งหมด 4 ตัว คําตอบ 2 : ใช CT ทั้งหมด 3 ตัว คําตอบ 3 : ใช CT ทั้งหมด 2 ตัว คําตอบ 4 : ใช CT เพียงตัวเดียว

ขอที่ : 109 การปองกันกระแสเกินแบบ High Setting Instantaneous Overcurrent ตองใชรีเลย Device Number ใด

คําตอบ 1 : 50 คําตอบ 2 : 51 คําตอบ 3 : 32

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

27 of 156

Page 28: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : 67

ขอที่ : 110

การปรับตั้งคากระแสของ Overcurrent Relay จะตองปรับที่คา Plug Setting ซึ่งมีอยู 7 Tap คือ 50%, 75%, 100%, 125%, 150%, 175%, 200% เมื่อ Relay ตัวนี้ตออยูกับ CT ซึ่งมีอัตราการทดกระแส 1000/5 A ถาปรับตั้งคาของ Plug Setting ไวที่ 150% จะเทากับกระแสกี่แอมแปรคําตอบ 1 : 5.0 A คําตอบ 2 : 6.25 A คําตอบ 3 : 7.5 A คําตอบ 4 : 8.75 A

ขอที่ : 111 รีเลยปองกันความผิดพรองลงดินแบบ Dual Polarizing Earth-Fault Relay ไมไดมีไว เพื่อแกปญหาใด

คําตอบ 1 : คาแรงดันเศษเหลือ (Residual Voltage) ต่ําเกินไป คําตอบ 2 : คามุม Phase Shift มากเกินไป คําตอบ 3 : คากระแส Residual Current ต่ําเกินไป คําตอบ 4 : คา Residual Voltage และ Residual Current ต่ําเกินไป

ขอที่ : 112 อุปกรณใดตอไปนี้ ไมจําเปนตองมีการปองกันดวย Directional Overcurrent Relay

คําตอบ 1 : Induction Motor คําตอบ 2 : Ring Main คําตอบ 3 : Parallel Source without Transformer คําตอบ 4 : Parallel Source with Transformer

ขอที่ : 113 Plug Setting Multiplier (PSM) หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : ตัวคูณลดสําหรับการปรับตั้งคาของรีเลยกระแสเกิน เพื่อใหรีเลยทํางานเร็วขึ้น คําตอบ 2 : คากระแสในวงจรที่ตองการปองกันคิดเปนจํานวนเทาของคากระแสเริ่มทํางาน คําตอบ 3 : คาแรงดันปรับตั้งที่เปนจํานวนเทาของแรงดันพิกัดของ VT เพื่อใหรีเลยกระแสเกินทํางาน คําตอบ 4 : ตัวคูณเผื่อสําหรับการปรับตั้งคาของรีเลยกระแสเกิน เพื่อความปลอดภัยในการทํางาน

ขอที่ : 114

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

28 of 156

Page 29: Coe_power electronic

Time Multiplier Setting (TMS) หมายถึงขอใดคําตอบ 1 : ตัวคูณลดสําหรับการปรับตั้งคาเวลาทํางานของรีเลยกระแสเกิน เพื่อใหรีเลยทํางานเร็วขึ้น คําตอบ 2 : ตัวคูณเผื่อสําหรับการปรับตั้งคาเวลาทํางานของรีเลยกระแสเกิน เพื่อความปลอดภัยในการทํางาน คําตอบ 3 : ตัวคูณเวลาทํางานของรีเลยกระแสเกิน สําหรับใชกําหนดคาเวลาทํางานจริงของรีเลยที่คา PSM คาหนึ่งๆ คําตอบ 4 : คาเวลาเผื่อสําหรับการปรับตั้งคาเวลาทํางานของรีเลยกระแสเกิน เพื่อการทํางานประสานกัน

ขอที่ : 115 Grading Margin หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : ตัวคูณลดสําหรับการปรับตั้งคาเวลาทํางานของรีเลยกระแสเกิน เพื่อใหรีเลยทํางานเร็วขึ้น คําตอบ 2 : ตัวคูณเผื่อสําหรับการปรับตั้งคาเวลาทํางานของรีเลยกระแสเกิน เพื่อความปลอดภัยในการทํางาน คําตอบ 3 : ตัวคูณเวลาทํางานของรีเลยกระแสเกิน สําหรับใชกําหนดคาเวลาทํางานจริงของรีเลยที่คา PSM คาหนึ่งๆ คําตอบ 4 : คาสวนตางของเวลาการทํางานต่ําสุดสําหรับการจัดลําดับเวลาการทํางานของรีเลยกระแสเกินหลัก กับรีเลยกระแสเกินสํารอง

ขอที่ : 116

Overcurrent Relay ตอผานหมอแปลงทดกระแส (CT) ที่มี Current Ratio เปน 1000/5 A ปรับตั้งใหทํางานที่ 125% ถาเกิดกระแส Fault ขนาด 15,000 A จงหาคา PSM จะเปนเทาใด

คําตอบ 1 : PSM = 20 คําตอบ 2 : PSM = 15 คําตอบ 3 : PSM = 12 คําตอบ 4 : PSM = 10

ขอที่ : 117 กรณีใดตอไปนี้ ใชงาน Overcurrent Relay ปองกันไมได

คําตอบ 1 : การปองกันสภาวะโหลดเกินในมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนํา คําตอบ 2 : การปองกันสภาวะ Locked Rotor ในมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนํา คําตอบ 3 : การปองกันความรอนสูงเกินในขดลวด Stator ของมอเตอรไฟฟา คําตอบ 4 : การปองกันฟลักซสูงเกินในหมอแปลงไฟฟา

ขอที่ : 118 ขอใดกลาวถึงการใชงาน Overcurrent Relay ผิด

คําตอบ 1 : Overcurrent Relay ใชปองกันการลัดวงจรไดเพียงอยางเดียว คําตอบ 2 : Overcurrent Relay ใชปองกันไดทั้งการลัดวงจรและสภาวะโหลดเกินในอุปกรณไฟฟา คําตอบ 3 : Overcurrent Relay มีคุณสมบัติในการปองกันดีกวาฟวส (Fuse)

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

29 of 156

Page 30: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : Overcurrent Relay สามารถใชปองกันกระแสรั่วไหลลงดินในอุปกรณไฟฟาได

ขอที่ : 119 ปริมาณใดตอไปนี้ สามารถนํามาใชเปน Polarizing Quantity ของ Directional Overcurrent Relay ได

คําตอบ 1 : Real Power คําตอบ 2 : Voltage คําตอบ 3 : Frequency คําตอบ 4 : Power Factor

ขอที่ : 120 ขอใดไมใชเงื่อนไขการทํางานของ Directional Overcurrent Relay

คําตอบ 1 : เมื่อคากระแสมากกวาคา Pick up คําตอบ 2 : เมื่อทิศทางของกระแสเกินตรงตามที่กําหนดใหกับ Relay คําตอบ 3 : เมื่อคามุม Power Factor สูงกวาคาที่กําหนด คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 121

Phase Directional Overcurrent Relay ตอแบบ 90 องศา Connection – 45 องศา MTA เมื่อพิจารณารีเลยที่เฟส A การตอรีเลยแบบนี้ ตัวรีเลยจะให Correct Directional Tripping Zone เมื่อกระแสเฟส A มีมุมอยูในชวงใดคําตอบ 1 : ตั้งแต 45 องศา Leading ถึง 90 องศา Lagging คําตอบ 2 : ตั้งแต 45 องศา Leading ถึง 135 องศา Lagging คําตอบ 3 : ตั้งแต 45 องศา Lagging ถึง 135 องศา Leading คําตอบ 4 : ตั้งแต 0 องศา ถึง 180 องศา Lagging

ขอที่ : 122 การทํา Discrimination ของระบบปองกันกระแสเกิน หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : เปนการปรับตั้งใหรีเลยในระบบที่มีหลายๆ ตัวทํางานแยกเปนกลุม โดยใหรีเลยชนิดเดียวกันทํางานพรอมกัน คําตอบ 2 : เปนการจัดลําดับการปองกัน โดยใหรีเลยที่อยูใกลแหลงจายทํางานกอน และรีเลยที่อยูไกลออกไปใหทําหนาที่เปนตัว Backup

คําตอบ 3 : เปนการปรับตั้งใหรีเลยในระบบที่มีหลายๆ ตัวทํางานประสานกัน โดยใหรีเลยที่อยูไกลจากแหลงจายมากที่สุดทํางานกอน และรีเลยที่อยูในตําแหนงใกลแหลงจายทํางานเปนลําดับถัดมาโดยไมตองคํานืงถืงคาสวนตางเวลา (Grading Margin)

คําตอบ 4 : เปนการจัดลําดับการปองกัน โดยใหรีเลยหลัก (Primary Relay) ที่อยูใกลจุดที่เกิดลัดวงจรทํางานกอน และรีเลยสํารอง (Back Up Relay) ที่อยูหางออกไปมีคาสวนตางเวลาการทํางาน (Grading Margin) นานเพียงพอที่จะมั่นใจไดวารีเลยสํารองจะมีความมั่นคง (Secure)

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

30 of 156

Page 31: Coe_power electronic

ขอที่ : 123

Overcurrent Relay แบบ Very Inverse มีการปรับตั้งดังนี้ Time Multiplier Setting (TMS) = 0.3, CT Ratio = 1000/1 A โดยปรับตั้งกระแสที่ 100% หากเกิดกระแส Fault 10,000 A จงคํานวณหาเวลาที่รีเลยทํางานมีคาเทาใดคําตอบ 1 : 0.24 วินาที คําตอบ 2 : 0.45 วินาท ีคําตอบ 3 : 0.90 วินาที คําตอบ 4 : 4.00 วินาที

ขอที่ : 124

รีเลยกระแสเกินมี Curve การทํางานแบบ Standard Inverse (SI) [IEC 60255] โดยตั้งคา TMS ไวที่ 0.5 ถาใช CT Ratio พิกัด 800/5 A และปรับตั้งคากระแสไวที่ 100% เมื่อเกิดกระแสผิดพรองมีคาเทากับ 5,000 A รีเลยจะทํางานดวยเวลาเทาใดคําตอบ 1 : 0.500 วินาที คําตอบ 2 : 1.875 วินาท ีคําตอบ 3 : 0.945 วินาที คําตอบ 4 : 3.750 วินาที

ขอที่ : 125

รีเลยกระแสเกินมี Curve การทํางานแบบ Very Inverse (VI) [IEC 60255] โดยตั้งคา TMS ไวที่ 0.6 ถาใช CT Ratio พิกัด 600/5 A และปรับตั้งคากระแสไวที่ 100% เมื่อเกิดกระแสผิดพรองมีคาเทากับ 4,000 A รีเลยจะทํางานดวยเวลาเทาใดคําตอบ 1 : 1.429 วินาท ีคําตอบ 2 : 2.025 วินาที คําตอบ 3 : 2.382 วินาที คําตอบ 4 : 3.375 วินาที

ขอที่ : 126

รีเลยกระแสเกินมี Curve การทํางานแบบ Standard Inverse (SI) [IEC 60255] ใช CT Ratio พิกัด 800/5 A โดยปรับตั้งคากระแสไวที่ 100% เมื่อเกิดกระแสผิดพรองมีคาเทากับ 4,000 A ถาตองการใหรีเลยทํางานที่เวลา 1.5 วินาที จะตองปรับตั้งคา TMS เทาใดคําตอบ 1 : TMS = 0.3 คําตอบ 2 : TMS = 0.2 คําตอบ 3 : TMS = 0.25 คําตอบ 4 : TMS = 0.35

ขอที่ : 127

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

31 of 156

Page 32: Coe_power electronic

รีเลยกระแสเกินมี Curve การทํางานแบบ Extremely Inverse (EI) [IEC 60255] ใช CT Ratio พิกัด 800/5 A โดยปรับตั้งคากระแสไวที่ 125% เมื่อเกิดกระแสผิดพรองมีคาเทากับ 5,000 A ถาตองการใหรีเลยทํางานที่เวลา 2.0 วินาที จะตองปรับตั้งคา TMS เทาใดคําตอบ 1 : TMS = 3.33 คําตอบ 2 : TMS = 0.60 คําตอบ 3 : TMS = 1.19 คําตอบ 4 : TMS = 0.95

ขอที่ : 128

Overcurrent Relay แบบ Extremely Inverse มีการปรับตั้งดังนี้ Time Multiplier Setting (TMS) = 0.2, CT Ratio = 1000/5 A , Pick Up Value = 4 A หากเกิดกระแส Fault = 8,000 A จงคํานวณหาเวลาที่รีเลยทํางาน มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 0.12 วินาที คําตอบ 2 : 0.16 วินาท ีคําตอบ 3 : 0.25 วินาที คําตอบ 4 : 0.33 วินาที

ขอที่ : 129 ลักษณะสมบัติของรีเลยกระแสเกินแบบใด ที่นิยมใชงานในปจจุบัน

คําตอบ 1 : Definite Time Overcurrent Characteristics คําตอบ 2 : Definite Current Overcurrent Characteristics คําตอบ 3 : Inverse Time Overcurrent Characteristics คําตอบ 4 : Inverse Definite Minimum Time Overcurrent Characteristics

ขอที่ : 130 Phase Directional Overcurrent Relay ตอแบบ 60 degree Connection เมื่อพิจารณาเฉพาะรีเลยที่เฟส A ปริมาณใดเปน Operating และปริมาณใดเปน Polarizing ตามลําดับ

คําตอบ 1 : ใชกระแสเฟส A เปน Operating และแรงดันระหวางเฟส B-C เปน Polarizing คําตอบ 2 : ใชกระแสเฟส A เปน Operating และผลรวมของเวคเตอรแรงดันระหวางเฟส B-C กับเฟส A-C เปน Polarizing คําตอบ 3 : ใชกระแสเฟส A เปน Operating และแรงดันระหวางเฟส A-B เปน Polarizing คําตอบ 4 : ใชกระแสเฟส A เปน Operating และผลรวมของเวคเตอรแรงดันระหวางเฟส A-B กับเฟส A-C เปน Polarizing

ขอที่ : 131 Phase Directional Overcurrent Relay ตอแบบ 90 degree Connection เมื่อพิจารณาเฉพาะรีเลยที่เฟส A ปริมาณใดเปน Operating และปริมาณใดเปน Polarizing ตามลําดับ

คําตอบ 1 : ใชกระแสเฟส A เปน Operating และแรงดันระหวางเฟส B-C เปน Polarizing คําตอบ 2 : ใชกระแสเฟส A เปน Operating และผลรวมของเวคเตอรแรงดันระหวางเฟส B-C กับเฟส A-C เปน Polarizing

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

32 of 156

Page 33: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : ใชกระแสเฟส A เปน Operating และแรงดันระหวางเฟส A-B เปน Polarizing คําตอบ 4 : ใชกระแสเฟส A เปน Operating และผลรวมของเวคเตอรแรงดันระหวางเฟส A-B กับเฟส A-C เปน Polarizing

ขอที่ : 132

Phase Directional Overcurrent Relay ชนิด Electromechanical ตอแบบ 90 degree Connection - 45 degree MTA คามุมระหวาง Operating Quantity กับ Polarizing Quantity ที่ทําใหเกิดแรงบิดสูงสุดมีคาเปนเทาใดคําตอบ 1 : แรงบิดสูงสุดจะเกิดขึ้นที่มุม 30 องศา คําตอบ 2 : แรงบิดสูงสุดจะเกิดขึ้นที่มุม 90 องศา คําตอบ 3 : แรงบิดสูงสุดจะเกิดขึ้นที่มุม 45 องศา คําตอบ 4 : แรงบิดสูงสุดจะเกิดขึ้นที่มุม 60 องศา

ขอที่ : 133

Overcurrent Relay แบบ Standard Inverse ตอผานหมอแปลงกระแส (CT) ที่มี Current Ratio เปน 1000/5 A , TMS = 0.2 ปรับตั้งไวที่ 100% ถาเกิดกระแส Fault ขนาด 5,000 A รีเลยจะทํางานดวยเวลาเทาใดคําตอบ 1 : 0.43 วินาที คําตอบ 2 : 4.30 วินาที คําตอบ 3 : 0.80 วินาที คําตอบ 4 : 0.86 วินาท ี

ขอที่ : 134

Overcurrent Relay แบบ Standard Inverse ตอผานหมอแปลงกระแส (CT) ที่มี Current Ratio เปน 1000/1 A , TMS = 0.1 ปรับตั้งไวที่ 125% ถาเกิดกระแส Fault ขนาด 5,000 A รีเลยจะทํางานดวยเวลาเทาใดคําตอบ 1 : 0.1 วินาที คําตอบ 2 : 5.0 วินาที คําตอบ 3 : 0.5 วินาท ีคําตอบ 4 : 0.43 วินาที

ขอที่ : 135 การปองกัน Earth Fault Protection ในระบบไฟฟา 3 เฟส ดวยวิธี Residual Connected จะตองตอหมอแปลงทดกระแส (CT) แบบใด

คําตอบ 1 : CT ตอแบบ Wye คําตอบ 2 : CT ตอแบบ Delta คําตอบ 3 : CT ตอแบบ Open Delta คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

33 of 156

Page 34: Coe_power electronic

ขอที่ : 136 Phase Directional Overcurrent Relay ชนิด Electromechanical ตอแบบ 90 degree Connection - 30 degree MTA จะเกิดแรงบิดสูงสุดที่มุม Power Factor เปนเทาใด

คําตอบ 1 : 0 องศา คําตอบ 2 : 30 องศา คําตอบ 3 : 45 องศา คําตอบ 4 : 60 องศา

ขอที่ : 137

Overcurrent Relay แบบ Standard Inverse ใชงานรวมกับ CT Ratio = 1000/5 A , Pick Up Value = 5 A , TMS = 0.1 เมื่อมีกระแส Fault 15 เทาของคาการปรับตั้ง รีเลยจะทํางานดวยเวลาเทาใด

คําตอบ 1 : 0.1 วินาที คําตอบ 2 : 2.5 วินาที คําตอบ 3 : 0.25 วินาท ีคําตอบ 4 : 1.5 วินาที

ขอที่ : 138

Overcurrent Relay มี Curve การทํางานแบบ Long Time Inverse (LTI) ตามมาตรฐาน IEC 60255 ที่คา PSM = 5 และ TMS = 1 รีเลยจะทํางานดวยเวลา 30 วินาที ถาตองการใหรีเลยทํางานดวยเวลา 3.0 วินาที ที่คา PMS เทาเดิม ตองใชคา TMS เปนเทาใดคําตอบ 1 : 10.0 คําตอบ 2 : 0.1 คําตอบ 3 : 0.2 คําตอบ 4 : 0.01

ขอที่ : 139 Phase Directional Overcurrent Relay ชนิด Electromechanical ตอแบบ 90 degree Connection - 45 degree MTA จะเกิดแรงบิดสูงสุดที่คา Power Factor เปนเทาใด

คําตอบ 1 : PF = 1.0 คําตอบ 2 : PF = 0.5 lagging คําตอบ 3 : PF = 0.707 lagging คําตอบ 4 : PF = 0.866 lagging

ขอที่ : 140 Ground Directional Overcurrent Relay แบบ Voltage Polarization เมื่อเกิด Single Line to Ground Faults แรงดัน Polarizing จะมีคาประมาณเทาใด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

34 of 156

Page 35: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : เทากับแรงดันเฟสของระบบ คําตอบ 2 : เทากับแรงดันแรงดันลําดับศูนยของเฟสที่เกิดลัดวงจรลงดิน คําตอบ 3 : ประมาณ 3 เทาของกระแสลําดับศูนยของเฟสที่เกิดลัดวงจรลงดิน คําตอบ 4 : ประมาณ 3 เทาของแรงดันลําดับศูนยของเฟสที่เกิดลัดวงจรลงดิน

ขอที่ : 141 การนํา Residual Current มาใชเปน Polarizing Signal เพื่อตรวจจับ Ground Faults แบบมีทิศทาง จะตองทําอยางไร

คําตอบ 1 : นําสัญญาณกระแส ซึ่งไดจาก CT ที่ตออยู ณ จุด Neutral ของอุปกรณ มาเปน Polarizing Signal คําตอบ 2 : นําสัญญาณกระแส ซึ่งไดจาก CT ทั้ง 3 เฟส ที่ขดลวดดาน Secondary ตอขนานกัน มาเปน Polarizing Signal คําตอบ 3 : นําสัญญาณแรงดัน ซึ่งไดจาก VT ตอแบบ Y ผานความตานทาน มาเปน Polarizing Signal คําตอบ 4 : นําสัญญาณกระแส ซึ่งไดจาก CT แบบ window คลองผานสายไฟทั้ง 3 เฟส มาเปน Polarizing Signal

ขอที่ : 142

ระบบจําหนายแบบ Radial ดังรูปดานลาง กําหนดใหรีเลยทั้งคูมี Curve การทํางานแบบ Standard Inverse (SI) [IEC 60255] เมื่อทําการ Discrimination ระหวางรีเลยที่ Bus A และที่ Bus B โดยใช Grading Margin = 0.35 วินาที และปรับตั้งคาตามที่ระบุ ใหคํานวณหาเวลาที่รีเลยที่ Bus B ทํางานเมื่อเกิด Fault ดังรูป

คําตอบ 1 : เวลาที่รีเลยที่ Bus B ทํางาน = 0.35 วินาที คําตอบ 2 : เวลาที่รีเลยที่ Bus B ทํางาน = 0.5 วินาที คําตอบ 3 : เวลาที่รีเลยที่ Bus B ทํางาน = 2.97 วินาที คําตอบ 4 : เวลาที่รีเลยที่ Bus B ทํางาน = 3.32 วินาที

ขอที่ : 143

ระบบจําหนายแบบ Radial System ดังรูป กําหนดใหรีเลยทั้งคูมี Curve การทํางานแบบ Extremely Inverse (EI) [IEC 60255] ถาปรับตั้งคารีเลยตามที่ระบุในรูป เมื่อทําการ Discrimination ระหวางรีเลยที่ Bus A และรีเลยที่ Bus B โดยใช Grading Margin = 0.35 วินาที จะตองตั้งคา TMS ของรีเลยที่ Bus B ไวเทาใด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

35 of 156

Page 36: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : รีเลยที่ Bus B ตั้งคา TMS = 0.06 คําตอบ 2 : รีเลยที่ Bus B ตั้งคา TMS = 0.433 คําตอบ 3 : รีเลยที่ Bus B ตั้งคา TMS = 0.35 คําตอบ 4 : รีเลยที่ Bus B ตั้งคา TMS = 0.19

ขอที่ : 144

ระบบจําหนายแบบ Radial System ดังรูป กําหนดใหรีเลยทั้งคูมี Curve การทํางานแบบ Extremely Inverse (EI) [IEC 60255] ถารีเลยที่ Bus B ถูกตั้งคาใหเปน Back up protection ของรีเลยที่ Bus A โดยใชคาสวนตางเวลาการทํางาน (Grading Margin) เทากับ 0.35 วินาที เมื่อเกิด Fault ภายใน Primary Zone (F2) ของรีเลยที่ Bus B เอง ถามวารีเลยที่ Bus B จะทํางานดวยเวลาเทาใด

คําตอบ 1 : 0.433 วินาที คําตอบ 2 : 0.350 วินาที คําตอบ 3 : 0.137 วินาท ีคําตอบ 4 : 0.260 วินาที

ขอที่ : 145

Phase Directional Overcurrent Relay ชนิด Electromechanical ตอแบบ 90 degree Connection - 30 degree MTA ถา Power Factor (PF) ของระบบมีคาเปน 1.0 ลักษณะ

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

36 of 156

Page 37: Coe_power electronic

การตอรีเลยกระแสเกินแบบนี้ จะใหคา Operating Torque เปนกี่เทาของ Maximum Torque (Tmax) คําตอบ 1 : 0.5 Tmax คําตอบ 2 : 0.707 Tmax คําตอบ 3 : 0.866 Tmax คําตอบ 4 : 0.95 Tmax

ขอที่ : 146

ระบบจําหนายแบบ Radial System ดังรูป กําหนดใหรีเลยทั้งคูมี Curve การทํางานแบบ Standard Inverse (SI) ตามมาตรฐาน IEC 60255 ถารีเลยที่ Bus B ถูกตั้งคาใหตองทํางานเปน Back up protection ใหกับรีเลยที่ Bus A โดยมี Margin Time = 0.35 วินาที ถามวาจะตองปรับตั้งคา TMS ของรีเลยที่ Bus B ไวเทาใด

คําตอบ 1 : TMS ของรีเลยที่ Bus B = 0.176 คําตอบ 2 : TMS ของรีเลยที่ Bus B = 0.078 คําตอบ 3 : TMS ของรีเลยที่ Bus B = 0.095 คําตอบ 4 : TMS ของรีเลยที่ Bus B = 0.35

ขอที่ : 147

ระบบจําหนายแบบ Radial ดังรูปดานลาง กําหนดใหรีเลยทั้งคูมี Curve การทํางานแบบ Standard Inverse (SI) [IEC 60255] เมื่อทําการ Discrimination ระหวางรีเลยที่ Bus A และที่ Bus B โดยใช Grading Margin = 0.4 วินาที และปรับตั้งคาตามที่ระบุในรูป ใหคํานวณหาคา TMS ของรีเลยที่ Bus B มีคาเทากับขอใด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

37 of 156

Page 38: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : รีเลยที่ Bus B ตั้งคา TMS = 0.1 คําตอบ 2 : รีเลยที่ Bus B ตั้งคา TMS = 0.45 คําตอบ 3 : รีเลยที่ Bus B ตั้งคา TMS = 0.13 คําตอบ 4 : รีเลยที่ Bus B ตั้งคา TMS = 0.4

ขอที่ : 148 ถาตองการทํา Earth Fault Protection ดวย Overcurrent Relay จะตองใชรีเลย Device Number ใด

คําตอบ 1 : 50 , 51 คําตอบ 2 : 50N , 51N คําตอบ 3 : 67 คําตอบ 4 : 87

ขอที่ : 149

รีเลยกระแสเกินมี Curve การทํางานแบบ Extremely Inverse (EI) [IEC 60255] โดยตั้งคา TMS ไวที่ 0.5 ถาใช CT Ratio พิกัด 1200/5 A และปรับตั้งคากระแสไวที่ 100% เมื่อเกิดกระแสผิดพรองมีคาเทากับ 7,000 A รีเลยจะทํางานดวยเวลาเทาใดคําตอบ 1 : 0.094 วินาที คําตอบ 2 : 2.422 วินาที คําตอบ 3 : 1.667 วินาที คําตอบ 4 : 1.211 วินาท ี

ขอที่ : 150 Ground Directional Overcurrent Relay สามารถนําปริมาณใดมาใชทําเปน “Polarizing Signal” เพื่อใหรีเลยรูทิศทางไดบาง

คําตอบ 1 : ใช Phase Current เพียงอยางเดียว คําตอบ 2 : ใช Residual Current เพียงอยางเดียว

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

38 of 156

Page 39: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : ใช Residual Voltage เพียงอยางเดียว คําตอบ 4 : ใชไดทั้ง Residual Current และ Residual Voltage

ขอที่ : 151 การปองกันสายสงกําลังไฟฟาแรงดันสูง โดยทั่วไปจะใชรีเลยประเภทใดในการปองกัน

คําตอบ 1 : Voltage Relay คําตอบ 2 : Overcurrent Relay คําตอบ 3 : Differential Relay คําตอบ 4 : Distance Relay

ขอที่ : 152 สัญญาณ Input ที่ปอนใหกับรีเลยระยะทาง (Distance Relay) มาจากอุปกรณใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : CT คําตอบ 2 : VT คําตอบ 3 : Instrument คําตอบ 4 : CT และ VT

ขอที่ : 153 การวิเคราะหการทํางานของรีเลยระยะทางโดยทั่วไปนิยมใชการวิเคราะหบนแผนภาพ ( Diagram ) รูปแบบใด

คําตอบ 1 : R-X Diagram คําตอบ 2 : V-I Diagram คําตอบ 3 : P.F. Diagram คําตอบ 4 : I-T Diagram

ขอที่ : 154 การปรับตั้งสําหรับ Ground Fault Distance Relay ที่ใชในการปองกันเมื่อเกิด Single Line to Ground Fault (SLG) เราจะตองนําคาพารามิเตอรใดมาพิจารณาประกอบดวย

คําตอบ 1 : Power Factor คําตอบ 2 : Compensation Factor คําตอบ 3 : Full Load Current คําตอบ 4 : Frequency Factor

ขอที่ : 155

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

39 of 156

Page 40: Coe_power electronic

ขอใดคือคุณลักษณะสมบัติของ Impedance Relay คําตอบ 1 : เปนรีเลยระยะทางแบบไมมีทิศทาง คําตอบ 2 : ใชคาขนาดของอิมพีแดนซอยางเดียวในการปรับตั้งรีเลย คําตอบ 3 : ถาคาอิมพีแดนซที่วัดไดมากกวาคาอิมพีแดนซปรับตั้งรีเลยจะทํางาน คําตอบ 4 : เปนรีเลยระยะทางแบบไมมีทิศทางและใชคาขนาดของอิมพีแดนซอยางเดียวในการปรับตั้งรีเลย

ขอที่ : 156 ขอใดคือคุณลักษณะสมบัติของ Mho Relay

คําตอบ 1 : Impedance สวนมากตกอยูใน Quadrant ที่ 1 บน R-X diagram คําตอบ 2 : เปนรีเลยแบบมีทิศทางในตัวเอง คําตอบ 3 : ลักษณะเสนรอบวงบน R-X diagram เลยจุด Origin คําตอบ 4 : Impedance สวนมากตกอยูใน Quadrant ที่ 1 บน R-X diagramและเปนรีเลยแบบมีทิศทางในตัวเอง

ขอที่ : 157 การตั้งคารีเลยระยะทางแบบ Step Distance Protection รีเลย Zone 1 จะตองปรับตั้งเวลาการทํางานเปนแบบใด

คําตอบ 1 : หนวงเวลาไว 0.3 วินาที คําตอบ 2 : หนวงเวลาไว 0.5 วินาที คําตอบ 3 : หนวงเวลาไว 1.0 วินาที คําตอบ 4 : ปรับใหทํางานแบบทันที (Instantaneous)

ขอที่ : 158 การตั้งคารีเลยระยะทางแบบ Step Distance Protection รีเลย Zone 1 ควรปรับตั้งใหปองกันสายสงในระยะประมาณเทาใด

คําตอบ 1 : 40 – 50 % ของความยาวสายสงในชวงที่ตองการปองกัน คําตอบ 2 : 50 – 60 % ของความยาวสายสงในชวงที่ตองการปองกัน คําตอบ 3 : 80 – 90 % ของความยาวสายสงในชวงที่ตองการปองกัน คําตอบ 4 : 120 % ของความยาวสายสงในชวงที่ตองการปองกัน

ขอที่ : 159 การตั้งคารีเลยระยะทางแบบ Step Distance Protection รีเลย Zone 2 ควรปรับตั้งใหปองกันสายสงในระยะประมาณเทาใด

คําตอบ 1 : 90 – 100 % ของความยาวสายสงในชวงที่ตองการปองกัน คําตอบ 2 : 120 – 150 % ของความยาวสายสงในชวงที่ตองการปองกัน คําตอบ 3 : 180 – 200 % ของความยาวสายสงในชวงที่ตองการปองกัน

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

40 of 156

Page 41: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : 250 – 300 % ของความยาวสายสงในชวงที่ตองการปองกัน

ขอที่ : 160 การตั้งคารีเลยระยะทางแบบ Step Distance Protection รีเลย Zone 2 จะตองปรับตั้งแบบหนวงเวลาการทํางานไวที่ชวงเวลาประมาณเทาใด

คําตอบ 1 : หนวงเวลาไวประมาณ 0.3 วินาที คําตอบ 2 : หนวงเวลาไวประมาณ 0.8 วินาที คําตอบ 3 : หนวงเวลาไวประมาณ 1.0 วินาที คําตอบ 4 : หนวงเวลาไวประมาณ 1.5 วินาที

ขอที่ : 161 การตั้งคารีเลยระยะทางแบบ Step Distance Protection รีเลย Zone 3 จะตองปรับตั้งแบบหนวงเวลาการทํางานไวที่ชวงเวลาประมาณเทาใด

คําตอบ 1 : หนวงเวลาไวประมาณ 0.3 – 0.5 วินาที คําตอบ 2 : หนวงเวลาไวประมาณ 0.5 - 1.0 วินาท ีคําตอบ 3 : หนวงเวลาไวประมาณ 1.0 - 3.0 วินาที คําตอบ 4 : หนวงเวลาไวประมาณ 3.0 - 5.0 วินาที

ขอที่ : 162 รีเลยระยะทางที่ใชปองกันสายสง มี CT Ratio = 1000/5 A และ VT Ratio = 115 kV / 110 V คาตัวคูณสําหรับการปรับตั้งคาการทํางานของรีเลย คือขอใด

คําตอบ 1 : 0.5130 คําตอบ 2 : 0.1913 คําตอบ 3 : 0.1713 คําตอบ 4 : 0.0213

ขอที่ : 163 รีเลยใดตอไปนี้ จัดอยูในกลุมของ Distance Relays

คําตอบ 1 : Offset-Mho Relay คําตอบ 2 : Reactance Relay คําตอบ 3 : Mho Relay คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 164 Impedance Relay เหมาะสําหรับใชปองกันการลัดวงจรระหวางเฟสของสายสงที่มีความยาวสายแบบใด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

41 of 156

Page 42: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : สายสงที่มีความยาวสายแบบชวงสั้น คําตอบ 2 : สายสงที่มีความยาวสายแบบปานกลาง คําตอบ 3 : สายสงที่มีความยาวสายแบบชวงยาว คําตอบ 4 : สายสงที่มีความยาวสายแบบยาวมาก

ขอที่ : 165 การใชงานรีเลยระยะทาง (Distance Relay) เพื่อปองกันสายสงกําลังไฟฟา เหตุใดจึงตองมีการแบงโซนการปองกัน (Zone of Protections) ออกเปนสวนๆ

คําตอบ 1 : เพื่อใหสามารถปองกันสายสงไดตลอดทั้งชวงความยาวสายที่ตองการปองกัน คําตอบ 2 : เพื่อใหเปน Back Up Protection ใหสายสงเสนถัดไป คําตอบ 3 : เพื่อใหการปองกันมีประสิทธิภาพ กําจัด Faults ไดรวดเร็ว มีความเชื่อถือไดสูง แยกแยะไดถูกตอง คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 166 รีเลยระยะทางที่เหมาะสําหรับใชปองกันสายสงกําลังไฟฟาที่มีความยาวสายแบบยาวมากๆ คือ รีเลยแบบใด

คําตอบ 1 : แบบ Impedance Relay คําตอบ 2 : แบบ Lenticular Relay คําตอบ 3 : แบบ Quadrilateral Relay คําตอบ 4 : แบบ Mho Relay

ขอที่ : 167 รีเลยชนิดใดเหมาะสําหรับใชตรวจจับการเกิด Faults ในระบบสายสงกําลังไฟฟาแรงดันสูง

คําตอบ 1 : Distance Relays คําตอบ 2 : Over Voltage Relays คําตอบ 3 : Directional Power Relays คําตอบ 4 : Under Voltage Relays

ขอที่ : 168 รีเลยระยะทาง ( Distance Relays ) มีเงื่อนไขการทํางานเปนอยางไร

คําตอบ 1 : ถาอิมพีแดนซปรากฏที่รีเลย มีคาสูงกวา คาอิมพีแดนซที่ตั้งไว รีเลยจะทํางาน คําตอบ 2 : ถาอิมพีแดนซปรากฏที่รีเลย มีคาต่ํากวา คาอิมพีแดนซที่ตั้งไว รีเลยจะทํางาน

คําตอบ 3 : ถาอิมพีแดนซปรากฏที่รีเลย มีคาเทากับ คาอิมพีแดนซที่ตั้งไวพอดี รีเลยอาจจะทํางานหรือไมก็ได

คําตอบ 4 : ขอ 2 และ ขอ 3 ถูกดอง

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

42 of 156

Page 43: Coe_power electronic

ขอที่ : 169 รีเลยระยะทาง (Distance Relays) แบบใดตอไปนี้ ที่มีคุณลักษณะสมบัติไมมีทิศทางในตัวเอง

คําตอบ 1 : Mho Relay คําตอบ 2 : Impedance Relay คําตอบ 3 : Lenticular Relay คําตอบ 4 : Offset Mho Relay

ขอที่ : 170 รีเลยระยะทาง (Distance Relays) แบบใดตอไปนี้ ที่มีคุณลักษณะสมบัติมีทิศทางในตัวเอง

คําตอบ 1 : Mho Relay คําตอบ 2 : Impedance Relay คําตอบ 3 : Reactance Relay คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูกตอง

ขอที่ : 171 Reach ของ Distance Relays หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : การทํางานผิดพลาดของรีเลย คําตอบ 2 : การทํางานถูกตองของรีเลย คําตอบ 3 : ระยะทางยาวบนสายสง ซึ่งเมื่อเกิด Faults แลว รีเลยทํางาน คําตอบ 4 : ระยะทางยาวบนสายสง ซึ่งเมื่อเกิด Faults แลว รีเลยไมทํางาน

ขอที่ : 172 Overreach ของ Distance Relays หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : การที่รีเลยระยะทางเห็นตําแหนงจุดที่เกิด Faults อยูไกลกวาความเปนจริง คําตอบ 2 : การที่รีเลยระยะทางเห็นตําแหนงจุดที่เกิด Faults อยูใกลเขามามากกวาความเปนจริง คําตอบ 3 : การที่รีเลยระยะทางไมเห็นตําแหนงของจุดที่เกิด Faults คําตอบ 4 : การที่รีเลยระยะทางเห็นตําแหนงของจุดที่เกิด Faults แตไมยอมทํางาน

ขอที่ : 173 Underreach ของ Distance Relays หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : การที่รีเลยระยะทางเห็นตําแหนงจุดที่เกิด Faults อยูไกลกวาความเปนจริง

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

43 of 156

Page 44: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : การที่รีเลยระยะทางเห็นตําแหนงจุดที่เกิด Faults อยูใกลเขามามากกวาความเปนจริง คําตอบ 3 : การที่รีเลยระยะทางไมเห็นตําแหนงของจุดที่เกิด Faults คําตอบ 4 : การที่รีเลยระยะทางเห็นตําแหนงของจุดที่เกิด Faults แตไมยอมทํางาน

ขอที่ : 174 รีแอกแตนซรีเลย ( Reactance Relay ) เปนรีเลยระยะทางที่จะทํางาน เมื่อ

คําตอบ 1 : รีเลยมองเห็นคาอิมพีแดนซต่ํากวาคาที่ตั้งไว คําตอบ 2 : รีเลยมองเห็นคาอิมพีแดนซสูงกวาคาที่ตั้งไว คําตอบ 3 : รีเลยมองเห็นคารีแอคแตนซต่ํากวาคาที่ตั้งไว คําตอบ 4 : รีเลยมองเห็นคารีแอคแตนซสูงกวาคาที่ตั้งไว

ขอที่ : 175 เหตุใดเราจึงใชรีเลยระยะทาง (Distance Relay) ในการปองกันสายสงกําลังไฟฟาแรงดันสูง

คําตอบ 1 : เพราะรีเลยระยะทางมีราคาถูกกวารีเลยแบบอื่นๆ และใชงานสะดวก คําตอบ 2 : เพราะคากระแสลัดวงจรในระบบไฟฟาจะขึ้นอยูกับรูปแบบของระบบ (System Configuration) เราจึงใชการวัดคาอิมพีแดนซตอระยะทางแทนรีเลยแบบอื่น คําตอบ 3 : เพราะรีเลยระยะทางเปนรีเลยที่ใชทั้งปริมาณกระแสและแรงดันในการทํางานจึงมีความนาเชื่อถือมากกวาการใชรีเลยแบบอื่น คําตอบ 4 : เพราะรีเลยระยะทางเปนรีเลยแบบรูทิศทางจึงมีความนาเชื่อถือมากกวาการใชรีเลยแบบอื่น

ขอที่ : 176 สายสงกําลังไฟฟาแรงดันสูงมีคาอิมพีแดนซตอเฟสเปน 1 + j10 โอหม/เฟส จงหาขนาดและมุมของอิมพีแดนซ ตามลําดับ มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 10.00 โอหม , มุมเฟส 90 องศา /เฟส คําตอบ 2 : 10.05 โอหม , มุมเฟส 84.29 องศา /เฟส คําตอบ 3 : 1.00 โอหม , มุมเฟส 10 องศา /เฟส คําตอบ 4 : 10.00 โอหม , มุมเฟส 10 องศา /เฟส

ขอที่ : 177

สายสงกําลังไฟฟาแรงดันสูงมีคาอิมพีแดนซตอเฟสเปน 10 โอหม มุมเฟส 70 องศา ถาตองการปองกันสายสงใหไดระยะทางยาว 80% ของความยาวสายทั้งเสน คาอิมพีแดนซปรับตั้งจะเปนเทาใด

คําตอบ 1 : 10 โอหม คําตอบ 2 : 9 โอหม คําตอบ 3 : 8 โอหม คําตอบ 4 : 7 โอหม

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

44 of 156

Page 45: Coe_power electronic

ขอที่ : 178 คาอิมพีแดนซที่รีเลยระยะทางมองเห็น เมื่อรูคา CT Ratio และ VT Ratio จะตองคูณดวยตัวคูณใด

คําตอบ 1 : (CT Ratio/VT Ratio) ยกกําลังสอง คําตอบ 2 : VT Ratio / CT Ratio คําตอบ 3 : CT Ratio / VT Ratio คําตอบ 4 : CT Ratio x VT Ratio

ขอที่ : 179 การปรับตั้งคาสําหรับ Phase Fault Distance Relay จะตองใช Sequence Impedance ใด เพื่อปรับตั้งคาใหรีเลยทํางาน

คําตอบ 1 : Positive Sequence Impedance คําตอบ 2 : Negative Sequence Impedance คําตอบ 3 : Zero Sequence Impedance คําตอบ 4 : Positive และ Negative Sequence Impedance

ขอที่ : 180 เมื่อเกิด Arc Fault ในสายสงกําลังไฟฟา การทํางานของรีเลยใดตอไปนี้มีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดปญหา Underreach นอยที่สุด

คําตอบ 1 : Mho Relay คําตอบ 2 : Impedance Relay คําตอบ 3 : Reactance Relay คําตอบ 4 : Admittance Relay

ขอที่ : 181 สายสงขนาด 2.5 + j3.5 โอหม จะตองตั้งคาการทํางานของอิมพีแดนซรีเลยใหมีคาสูงสุดเทาใด จึงจะสามารถปองกันคา ค.ต.ท. อารคฟอลต ขนาด 1.0 โอหมได

คําตอบ 1 : 1.5 + j3.5 โอหม คําตอบ 2 : 2.0 + j4 โอหม คําตอบ 3 : 3 + j4 โอหม คําตอบ 4 : 3.5 + j3.5 โอหม

ขอที่ : 182

สายสงชวงหนึ่งมีคาอิมพีแดนซรวมทั้งเสนเปน 2 + j20 โอหม CT และ VT ที่ใชมีคา CT Ratio = 500/5 A และ VT Ratio = 20,000/69.3 V ตามลําดับ ถาตองการปรับตั้งโซน 1 เทากับ 90% ของความยาวสายสง อิมพีแดนซที่ใชปรับตั้งรีเลยควรมีคาเปนเทาใด

คําตอบ 1 : 0.50 + j 5.00 โอหม

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

45 of 156

Page 46: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : 0.40 + j 4.00 โอหม คําตอบ 3 : 0.63 + j 6.32 โอหม คําตอบ 4 : 0.73 + j 7.32 โอหม

ขอที่ : 183 ขอใดกลาวถึงคุณสมบัติของอิมพีแดนซรีเลย ( Impedance Relay ) ผิดจากความเปนจริง

คําตอบ 1 : อิมพีแดนซรีเลยเหมาะสําหรับใชปองกันการลัดวงจรระหวางเฟสของสายสงที่มีความยาวระยะปานกลาง คําตอบ 2 : เมื่อเกิด Power Swing ขึ้นในระบบไฟฟา อิมพีแดนซรีเลยยังคงทําหนาที่ไดอยางถูกตองโดยไมมีผลกระทบ คําตอบ 3 : ถาเกิดการลัดวงจรแบบมีอารคจะสงผลใหอิมพีแดนซรีเลยทํางานผิดพลาด คําตอบ 4 : ถาตองการใหอิมพีแดนซรีเลยทํางานแบบรูทิศทาง จะตองใชงานรวมกับรีเลยแบบรูทิศทาง

ขอที่ : 184 “Quadrilateral Relay” เปนรีเลยที่เหมาะสมสําหรับใชงานเพื่อการปองกันในลักษณะใด

คําตอบ 1 : ใชสําหรับการปองกันสายสงเมื่อเกิด Faults ระหวางสายตัวนําเฟส คําตอบ 2 : ใชสําหรับการปองกันสายสงเมื่อเกิด Faults ระหวางสายตัวนําเฟสกับดิน คําตอบ 3 : ใชสําหรับการปองกัน เมื่อสายตัวนําเฟสของสายปอนขาดตกลงบนพื้นดิน คําตอบ 4 : ใชสําหรับการปองกัน เมื่อเกิดการลัดวงจรระหวางสายตัวนําเฟสของสายปอน

ขอที่ : 185 รีเลยในขอใดตอไปนี้ เปนรีเลยหลักที่ใชในการปองกันสายสงกําลังไฟฟาแรงดันสูงแบบสามชวงระยะทาง (Step Three Zone Protection)

คําตอบ 1 : Pilot wire หรือ Differential relay คําตอบ 2 : Mho relay และ Reactance relay คําตอบ 3 : Quadrilateral relay และ Impedance relay คําตอบ 4 : ขอ 2 และ ขอ 3 ถูกตอง

ขอที่ : 186

รีแอกแตนซรีเลยตัวหนึ่งมีลักษณะการทํางานตามเงื่อนไขสมการ y = 4.5 ถาสายสงเสนหนึ่งมีคาอิมพีแดนซรวมเปน 4 + j4 โอหม สมมติวาเกิดฟอลตที่ปลายสายสงพอดีและความตานทานอารกมีขนาด 0.5 โอหม การตอบสนองของรีเลยดังกลาวจะเปนอยางไร

คําตอบ 1 : รีเลยไมทํางาน คําตอบ 2 : รีเลยทํางานไดถูกตองเพราะรีเลยสามารถมองเห็นฟอลตได คําตอบ 3 : รีเลยทํางานชาเพราะคาความตานทานอารกมีคาสูงกวาที่รีเลยจะมองเห็นได คําตอบ 4 : รีเลยทํางานผิดพลาดเพราะฟอลตอยูนอกโซนการมองเห็นของรีเลย

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

46 of 156

Page 47: Coe_power electronic

ขอที่ : 187 สายสงเสนหนึ่งยาว 80 km มีคาอิมพีแดนซ Z = 0.03 + j 0.21 Ohm/km จงหาคา Admittance ของสายสงเสนนี้ มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 0.416 – j0.059 Mho คําตอบ 2 : 33.33 – j4.762 Mho คําตอบ 3 : 0.667 – j4.673 Mho คําตอบ 4 : 0.0083 – j0.058 Mho

ขอที่ : 188

การปองกันสายสงกําลังไฟฟาแรงดันสูงโดยใชรีเลยระยะทางปรับตั้งแบบ Three-Zone Protection ถาตองการหลีกเลี่ยงความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจะตองปรับตั้งคาระยะทางไกลสุด (Zone 3) ไมเกินคาใดตอไปนี้คําตอบ 1 : Emergency Loading Impedance คําตอบ 2 : คาอิมพีแดนซของสายสงชวงถัดไปเสนที่ยาวที่สุด คําตอบ 3 : คาความตานทานอารค (Arc Resistance) คําตอบ 4 : คา Underreach

ขอที่ : 189 “Lenticular Relay” มีคุณลักษณะสมบัติ ดังนี้

คําตอบ 1 : มีพื้นที่การทํางานแคบเมื่อเทียบกับ Mho Relay คําตอบ 2 : ใชปองกันสายสงกรณีที่เกิด Faults แบบมีอารกไมได คําตอบ 3 : ใชปองกันสายสงกรณีที่มีโหลดสูงๆ ไดไมดี คําตอบ 4 : มีพื้นที่การทํางานบน R-X Diagram เปนแบบสามเหลี่ยม

ขอที่ : 190 ขอใดกลาวถึงการปองกันสายสงโดยใชรีเลยระยะทาง (Distance Relay) ไดอยางถูกตองที่สุด

คําตอบ 1 : ความตานทานอารกมีผลตอ Mho Relay มากกวา Impedance Relay คําตอบ 2 : Power Swing จะไมมีผลตอการทํางานของรีเลยระยะทาง เพราะระบบไฟฟาจะคืนสูสภาวะปกติไดเอง ถาระบบมีขนาดใหญเพียงพอ คําตอบ 3 : เมื่อเกิดฟอลตที่มีอารก คาความตานทานอารกจะมีผลตอการทํางานของ Reactance Relay คําตอบ 4 : รีเลยระยะทางเหมาะสําหรับใชปองกันสายสงเพราะทํางานไดเร็วมาก ไมวาจะเกิดฟอลตแบบใดหรือ ณ ตําแหนงใดๆ บนสายสง

ขอที่ : 191 การปองกันสายสงดวยรีเลยระยะทาง (Distance Relay) โดยใชหลักการปรับตั้งแบบ Three-Zone Protection ขอใดตอไปนี้กลาวไมถูกตอง

คําตอบ 1 : ปรับตั้งเวลาการทํางานของ Zone 1 ใหทํางานแบบทันทีทันใด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

47 of 156

Page 48: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : เมื่อเกิดฟอลตภายในโซนปองกัน รีเลย Zone 2 จะทําหนาที่เปนตัวปองกันสํารองใหแกรีเลย Zone 1 คําตอบ 3 : เมื่อเกิดฟอลตภายในโซนปองกัน รีเลย Zone 3 จะทํางาน หลังจากที่รีเลย Zone 2 ไดทํางานไปแลว คําตอบ 4 : ในกรณีที่มีสายสงยอยระยะสั้นๆ ตอแยกอยูกับสายสงหลักที่ตองการปองกันเราอาจตัดการตั้งคารีเลย Zone 2 ออกได

ขอที่ : 192 Power System Swing มีผลตอการทํางานของ Distance Relays อยางไร

คําตอบ 1 : ทําให Distance Relays ทํางานผิดพลาด โดยสั่งตัดวงจรหากคาอิมพีแดนซที่รีเลยมองเห็นขณะนั้นสูงกวาคาที่ตั้งไว คําตอบ 2 : ทําให Distance Relays ทํางานผิดพลาด โดยสั่งตัดวงจรหากคาอิมพีแดนซที่รีเลยมองเห็นขณะนั้นต่ํากวาคาที่ตั้งไว คําตอบ 3 : ทําให Distance Relays ทํางานสั่งตัดวงจรชาลงกวาปกติ คําตอบ 4 : ไมมีผลตอการทํางานของ Distance Relays

ขอที่ : 193 Fault Resistance ที่เกิดจากอารค มีผลตอ Distance Relay อยางไร

คําตอบ 1 : ทําใหรีเลยทํางานผิดพลาด หาก Fault Resistance ที่เกิดจากอารคมีคามาก รีเลยจะมองไมเห็นอิมพีแดนซ รีเลยจะไมทํางาน

คําตอบ 2 : ทําใหรีเลยทํางานผิดพลาด หาก Fault Resistance ที่เกิดจากอารคมีคามาก อิมพีแดนซปรากฏที่รีเลยมองเห็นจะออกนอก Zone ปองกันของรีเลยที่ไดตั้งคาไว รีเลยจะไมทํางาน

คําตอบ 3 : ทําใหรีเลยทํางานผิดพลาด หาก Fault Resistance ที่เกิดจากอารคมีคามาก รีเลยจะทํางานชาลง คําตอบ 4 : Fault Resistance ที่เกิดจากอารค ไมมีผลตอการทํางานของรีเลยระยะทางทุกประเภท

ขอที่ : 194 ขอใดคือลักษณะสมบัติการทํางานของรีเลยระยะทางแบบ Mho Relay บน R-X diagram

คําตอบ 1 : พื้นที่การทํางานของรีเลยจะมีลักษณะเปนวงกลมมีจุดศูนยกลางอยูที่จุดกําเนิด คําตอบ 2 : พื้นที่การทํางานของรีเลยจะมีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสครอบจุดกําเนิด คําตอบ 3 : พื้นที่การทํางานของรีเลยจะมีลักษณะเปนวงกลมมีเสนรอบวงตัดผานจุดกําเนิด โดยคา Impedance สวนมากตกอยูใน Quadrant ที่ 1 คําตอบ 4 : พื้นที่การทํางานของรีเลยจะมีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมูครอบจุดกําเนิด

ขอที่ : 195 Power System Swing มีผลตอรีเลยระยะทางอยางไร

คําตอบ 1 : เมื่อเกิด Power System Swing อาจทําใหรีเลยเกิด Overreach คําตอบ 2 : เมื่อเกิด Power System Swing อาจทําใหรีเลยเกิด Underreach คําตอบ 3 : เมื่อเกิด Power System Swing อาจทําใหรีเลยเกิดความเสียหายเนื่องจากแรงดันเกิน คําตอบ 4 : ไมมีผลใดๆ ตอรีเลย

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

48 of 156

Page 49: Coe_power electronic

ขอที่ : 196

1. อิมพีแดนซรีเลยตัวหนึ่งมีลักษณะการทํางานเปนวงกลมรัศมี 4 โอหม มีจุดศูนยกลางอยูที่จุดกําเนิด เมื่อตอใชงานรวมกับรีเลยทิศทาง (Directional Relay) ที่มีลักษณะการทํางานตามเงื่อนไขสมการ y = -x คาอิมพีแดนซปรากฏที่รีเลยมองเห็นในขอใดตอไปนี้ รีเลยจะไมทํางานคําตอบ 1 : 2 + j3 โอหม คําตอบ 2 : 2.5 + j3 โอหม คําตอบ 3 : 2 – j3 โอหม คําตอบ 4 : 1.5 + 3.5 โอหม

ขอที่ : 197

สายสงเสนหนึ่งมีคาอิมพีแดนซรวมทั้งเสนเปน 3 + j4 โอหม เมื่อเกิด Fault แตละครั้งจะมีคาความตานทานอารก 1.0 โอหม ถาตั้งคาอิมพีแดนซรีเลยใหมีลักษณะการทํางานเปนวงกลมรัศมี 4 โอหม มีจุดศูนยกลางอยูที่จุดกําเนิด เมื่อเกิด Fault บนสายสง ณ ตําแหนงใดตอไปนี้ รีเลยจะไมทํางาน

คําตอบ 1 : ตําแหนงกึ่งกลางสายสงพอดี คําตอบ 2 : ตําแหนงระยะ 70% ของความยาวสายสง นับจากจุดที่ติดตั้งรีเลย คําตอบ 3 : ตําแหนงระยะ 60% ของความยาวสายสง นับจากจุดที่ติดตั้งรีเลย คําตอบ 4 : ตําแหนงระยะ 45% ของความยาวสายสง นับจากจุดที่ติดตั้งรีเลย

ขอที่ : 198

สายสงเสนหนึ่งมีคาอิมพีแดนซรวมทั้งเสนเปน 6 + j8 โอหม เมื่อเกิด Fault แตละครั้งจะมีคาความตานทานอารกนอยมากจนสามารถละเลยได ถาตั้งคาอิมพีแดนซรีเลยใหมีลักษณะการทํางานเปนวงกลมรัศมี 8 โอหม มีจุดศูนยกลางอยูที่จุดกําเนิด รีเลยจะสามารถปองกัน Fault ไดคิดเปนระยะความยาวกี่เปอรเซ็นตของความยาวสายสงทั้งหมดคําตอบ 1 : 70% คําตอบ 2 : 75% คําตอบ 3 : 80% คําตอบ 4 : 90%

ขอที่ : 199 การลดโอกาสเสี่ยงตอการเกิดปญหา Underreach ของรีเลยระยะทาง สามารถแกไขไดดวยวิธีการปรับตั้งคามุมลักษณะการทํางานของรีเลยใหม ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตอง

คําตอบ 1 : ปรับตั้งคามุมของ Impedance Relay ใหมากขึ้น คําตอบ 2 : ปรับตั้งคามุมของ Impedance Relay ใหนอยลง คําตอบ 3 : ปรับตั้งคามุมของ Mho Relay ใหมากขึ้น คําตอบ 4 : ปรับตั้งคามุมของ Mho Relay ใหนอยลง

ขอที่ : 200

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

49 of 156

Page 50: Coe_power electronic

อิมพีแดนซรีเลยตัวหนึ่งมีลักษณะการทํางานเปนวงกลมรัศมี 10 โอหม มีจุดศูนยกลางอยูที่จุดกําเนิด นํามาใชงานรวมกับรีแอกแตนซรีเลยที่มีลักษณะการทํางานตามเงื่อนไขสมการ y - 8 = 0 ที่จุดตัดระหวางเสนลักษณะการทํางานของรีเลยทั้งสอง มีคา R ของสายสงเปนกี่โอหมคําตอบ 1 : 4.0 โอหม คําตอบ 2 : 6.0 โอหม คําตอบ 3 : 8.0 โอหม คําตอบ 4 : 10.0 โอหม

ขอที่ : 201 การปองกันสายสงกําลังไฟฟาแรงดันสูง โดยทั่วไปจะใชรีเลยประเภทใดในการปองกัน

คําตอบ 1 : Voltage Relay คําตอบ 2 : Overcurrent Relay คําตอบ 3 : Differential Relay คําตอบ 4 : Distance Relay

ขอที่ : 202 สัญญาณ Input ที่ปอนใหกับรีเลยระยะทาง (Distance Relay) มาจากอุปกรณใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : CT และ VT คําตอบ 2 : CT เพียงอยางเดียว คําตอบ 3 : VT เพียงอยางเดียว คําตอบ 4 : Meter

ขอที่ : 203 การวิเคราะหการทํางานของรีเลยระยะทางโดยทั่วไปนิยมใชการวิเคราะหบนแผนภาพ ( Diagram ) รูปแบบใด

คําตอบ 1 : R-X Diagram คําตอบ 2 : V-I Diagram คําตอบ 3 : P.F. Diagram คําตอบ 4 : I-T Diagram

ขอที่ : 204 การปรับตั้งสําหรับ Ground Fault Distance Relay ที่ใชในการปองกันเมื่อเกิด Single Line to Ground Fault (SLG) เราจะตองนําคาพารามิเตอรใดมาพิจารณาประกอบดวย

คําตอบ 1 : Power Factor คําตอบ 2 : Compensation Factor คําตอบ 3 : Full Load Current

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

50 of 156

Page 51: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : Frequency Factor

ขอที่ : 205 ขอใดคือคุณลักษณะสมบัติของ Impedance Relay

คําตอบ 1 : เปนรีเลยระยะทางแบบมีทิศทาง คําตอบ 2 : ใชคาความตานทานของสายสงอยางเดียวในการปรับตั้งรีเลย คําตอบ 3 : ถาคาอิมพีแดนซที่วัดไดมากกวาคาอิมพีแดนซปรับตั้งรีเลยจะทํางาน คําตอบ 4 : ใชคาอิมพีแดนซในการปรับตั้งรีเลย

ขอที่ : 206 ขอใดคือคุณลักษณะสมบัติของ Mho Relay

คําตอบ 1 : Impedance สวนมากตกอยูใน Quadrant ที่ 1 บน R-X diagram คําตอบ 2 : เปนรีเลยแบบไมมีทิศทาง คําตอบ 3 : ลักษณะเสนรอบวงบน R-X diagram เลยจุด Origin คําตอบ 4 : ถาคาอิมพีแดนซที่วัดไดมากกวาคาอิมพีแดนซปรับตั้งรีเลยจะทํางาน

ขอที่ : 207 การตั้งคารีเลยระยะทางแบบ Step Distance Protection รีเลย Zone 1 จะตองปรับตั้งเวลาการทํางานเปนแบบใด

คําตอบ 1 : หนวงเวลาไว 0.3 วินาที คําตอบ 2 : หนวงเวลาไว 0.5 วินาที คําตอบ 3 : หนวงเวลาไว 1.0 วินาที คําตอบ 4 : ปรับใหทํางานแบบทันที (Instantaneous)

ขอที่ : 208 การตั้งคารีเลยระยะทางแบบ Step Distance Protection รีเลย Zone 1 ควรปรับตั้งใหปองกันสายสงในระยะประมาณเทาใด

คําตอบ 1 : 40 – 50 % ของความยาวสายสงในชวงที่ตองการปองกัน คําตอบ 2 : 50 – 60 % ของความยาวสายสงในชวงที่ตองการปองกัน คําตอบ 3 : 80 – 90 % ของความยาวสายสงในชวงที่ตองการปองกัน คําตอบ 4 : 120 % ของความยาวสายสงในชวงที่ตองการปองกัน

ขอที่ : 209 การตั้งคารีเลยระยะทางแบบ Step Distance Protection รีเลย Zone 2 ควรปรับตั้งใหปองกันสายสงในระยะประมาณเทาใด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

51 of 156

Page 52: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : 90 – 100 % ของความยาวสายสงในชวงที่ตองการปองกัน คําตอบ 2 : 120 – 150 % ของความยาวสายสงในชวงที่ตองการปองกัน คําตอบ 3 : 180 – 200 % ของความยาวสายสงในชวงที่ตองการปองกัน คําตอบ 4 : 250 – 300 % ของความยาวสายสงในชวงที่ตองการปองกัน

ขอที่ : 210 การตั้งคารีเลยระยะทางแบบ Step Distance Protection รีเลย Zone 2 จะตองปรับตั้งแบบหนวงเวลาการทํางานไวที่ชวงเวลาประมาณเทาใด

คําตอบ 1 : หนวงเวลาไวประมาณ 0.3 วินาที คําตอบ 2 : หนวงเวลาไวประมาณ 0.8 วินาที คําตอบ 3 : หนวงเวลาไวประมาณ 1.0 วินาที คําตอบ 4 : หนวงเวลาไวประมาณ 1.5 วินาที

ขอที่ : 211 การตั้งคารีเลยระยะทางแบบ Step Distance Protection รีเลย Zone 3 จะตองปรับตั้งแบบหนวงเวลาการทํางานไวที่ชวงเวลาประมาณเทาใด

คําตอบ 1 : หนวงเวลาไวประมาณ 0.3 – 0.5 วินาที คําตอบ 2 : หนวงเวลาไวประมาณ 0.5 - 1.0 วินาที คําตอบ 3 : หนวงเวลาไวประมาณ 1.0 - 3.0 วินาที คําตอบ 4 : หนวงเวลาไวประมาณ 3.0 - 5.0 วินาที

ขอที่ : 212 รีเลยระยะทางที่ใชปองกันสายสง มี CT Ratio = 1000/5 A และ VT Ratio = 115 kV / 110 V คาตัวคูณสําหรับการปรับตั้งคาการทํางานของรีเลย คือขอใด

คําตอบ 1 : 0.5130 คําตอบ 2 : 0.1913 คําตอบ 3 : 0.1713 คําตอบ 4 : 0.0213

ขอที่ : 213 รีเลยใดตอไปนี้ จัดอยูในกลุมของ Distance Relays

คําตอบ 1 : Offset-Mho Relay และ Over Current Relay คําตอบ 2 : Reactance Relay และ Frequency Relay คําตอบ 3 : Mho Relay และ Offset-Mho Relay คําตอบ 4 : Impedance Relay และ Under Voltage Relay

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

52 of 156

Page 53: Coe_power electronic

ขอที่ : 214 Impedance Relay เหมาะสําหรับใชปองกันการลัดวงจรระหวางเฟสของสายสงที่มีความยาวสายแบบใด

คําตอบ 1 : สายสงที่มีความยาวสายแบบชวงสั้น คําตอบ 2 : สายสงที่มีความยาวสายแบบปานกลาง คําตอบ 3 : สายสงที่มีความยาวสายแบบชวงยาว คําตอบ 4 : สายสงที่มีความยาวสายแบบยาวมาก

ขอที่ : 215 การใชงานรีเลยระยะทาง (Distance Relay) เพื่อปองกันสายสงกําลังไฟฟา เหตุใดจึงตองมีการแบงโซนการปองกัน (Zone of Protections) ออกเปนสวนๆ

คําตอบ 1 : เพื่อใหสามารถปองกันสายสงไดตลอดทั้งชวงความยาวสายที่ตองการปองกัน คําตอบ 2 : เพื่อใหเปน Back Up Protection ใหสายสงเสนถัดไป คําตอบ 3 : เพื่อใหการปองกันมีประสิทธิภาพ กําจัด Faults ไดรวดเร็ว มีความเชื่อถือไดสูง แยกแยะไดถูกตอง คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 216 รีเลยระยะทางที่เหมาะสําหรับใชปองกันสายสงกําลังไฟฟาที่มีความยาวสายแบบยาวมากๆ คือ รีเลยแบบใด

คําตอบ 1 : แบบ Impedance Relay คําตอบ 2 : แบบ Lenticular Relay คําตอบ 3 : แบบ Quadrilateral Relay คําตอบ 4 : แบบ Mho Relay

ขอที่ : 217 รีเลยชนิดใดเหมาะสําหรับใชตรวจจับการเกิด Faults ในระบบสายสงกําลังไฟฟาแรงดันสูง

คําตอบ 1 : Distance Relays คําตอบ 2 : Over Voltage Relays คําตอบ 3 : Directional Power Relays คําตอบ 4 : Under Voltage Relays

ขอที่ : 218 รีเลยระยะทาง ( Distance Relays ) มีเงื่อนไขการทํางานเปนอยางไร

คําตอบ 1 : ถาอิมพีแดนซปรากฏที่รีเลย มีคาสูงกวา คาอิมพีแดนซที่ตั้งไว รีเลยจะทํางาน

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

53 of 156

Page 54: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : ถาอิมพีแดนซปรากฏที่รีเลย มีคาต่ํากวา คาอิมพีแดนซที่ตั้งไว รีเลยจะทํางาน

คําตอบ 3 : ถาคาแรงดันปรากฏที่รีเลย มีคามากกวาหรือเทากับ คาแรงดันที่ตั้งไว รีเลยจะทํางาน

คําตอบ 4 : ถาคากระแสปรากฏที่รีเลย มีคามากกวาหรือเทากับ คากระแสที่ตั้งไว รีเลยจะทํางาน

ขอที่ : 219 รีเลยระยะทาง (Distance Relays) แบบใดตอไปนี้ ที่มีคุณลักษณะสมบัติไมมีทิศทางในตัวเอง

คําตอบ 1 : Mho Relay คําตอบ 2 : Impedance Relay คําตอบ 3 : Lenticular Relay คําตอบ 4 : Offset Mho Relay

ขอที่ : 220 รีเลยระยะทาง (Distance Relays) แบบใดตอไปนี้ ที่มีคุณลักษณะสมบัติมีทิศทางในตัวเอง

คําตอบ 1 : Mho Relay คําตอบ 2 : Impedance Relay คําตอบ 3 : Reactance Relay คําตอบ 4 : Quadrilateral Relay

ขอที่ : 221 Reach ของ Distance Relays หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : การทํางานผิดพลาดของรีเลย คําตอบ 2 : การทํางานถูกตองของรีเลย คําตอบ 3 : ระยะทางยาวบนสายสง ซึ่งเมื่อเกิด Faults แลว รีเลยทํางาน คําตอบ 4 : ระยะทางยาวบนสายสง ซึ่งเมื่อเกิด Faults แลว รีเลยไมทํางาน

ขอที่ : 222 Overreach ของ Distance Relays หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : การที่รีเลยระยะทางเห็นตําแหนงจุดที่เกิด Faults อยูไกลกวาความเปนจริง คําตอบ 2 : การที่รีเลยระยะทางเห็นตําแหนงจุดที่เกิด Faults อยูใกลเขามามากกวาความเปนจริง คําตอบ 3 : การที่รีเลยระยะทางไมเห็นตําแหนงของจุดที่เกิด Faults คําตอบ 4 : การที่รีเลยระยะทางเห็นตําแหนงของจุดที่เกิด Faults แตไมยอมทํางาน

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

54 of 156

Page 55: Coe_power electronic

ขอที่ : 223 Underreach ของ Distance Relays หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : การที่รีเลยระยะทางเห็นตําแหนงจุดที่เกิด Faults อยูไกลกวาความเปนจริง คําตอบ 2 : การที่รีเลยระยะทางเห็นตําแหนงจุดที่เกิด Faults อยูใกลเขามามากกวาความเปนจริง คําตอบ 3 : การที่รีเลยระยะทางไมเห็นตําแหนงของจุดที่เกิด Faults คําตอบ 4 : การที่รีเลยระยะทางเห็นตําแหนงของจุดที่เกิด Faults แตไมยอมทํางาน

ขอที่ : 224 รีแอกแตนซรีเลย ( Reactance Relay ) เปนรีเลยระยะทางที่จะทํางาน เมื่อ

คําตอบ 1 : รีเลยมองเห็นคาอิมพีแดนซต่ํากวาคาที่ตั้งไว คําตอบ 2 : รีเลยมองเห็นคาอิมพีแดนซสูงกวาคาที่ตั้งไว คําตอบ 3 : รีเลยมองเห็นคารีแอคแตนซต่ํากวาคาที่ตั้งไว คําตอบ 4 : รีเลยมองเห็นคารีแอคแตนซสูงกวาคาที่ตั้งไว

ขอที่ : 225 เหตุใดเราจึงใชรีเลยระยะทาง (Distance Relay) ในการปองกันสายสงกําลังไฟฟาแรงดันสูง

คําตอบ 1 : เพราะรีเลยระยะทางมีราคาถูกกวารีเลยแบบอื่นๆ และใชงานสะดวก คําตอบ 2 : เพราะคากระแสลัดวงจรในระบบไฟฟาจะขึ้นอยูกับรูปแบบของระบบ (System Configuration) เราจึงใชการวัดคาอิมพีแดนซตอระยะทางแทนรีเลยแบบอื่น คําตอบ 3 : เพราะรีเลยระยะทางเปนรีเลยที่ใชทั้งปริมาณกระแสและแรงดันในการทํางานจึงมีความนาเชื่อถือมากกวาการใชรีเลยแบบอื่น คําตอบ 4 : เพราะรีเลยระยะทางเปนรีเลยแบบรูทิศทางจึงมีความนาเชื่อถือมากกวาการใชรีเลยแบบอื่น

ขอที่ : 226 สายสงกําลังไฟฟาแรงดันสูงมีคาอิมพีแดนซตอเฟสเปน 1 + j10 โอหม/เฟส จงหาขนาดและมุมของอิมพีแดนซ ตามลําดับ มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 10.00 โอหม , มุมเฟส 90 องศา /เฟส คําตอบ 2 : 10.05 โอหม , มุมเฟส 84.29 องศา /เฟส คําตอบ 3 : 1.00 โอหม , มุมเฟส 10 องศา /เฟส คําตอบ 4 : 10.00 โอหม , มุมเฟส 10 องศา /เฟส

ขอที่ : 227

สายสงกําลังไฟฟาแรงดันสูงมีคาอิมพีแดนซตอเฟสเปน 10 โอหม มุมเฟส 70 องศา ถาตองการปองกันสายสงใหไดระยะทางยาว 80% ของความยาวสายทั้งเสน คาอิมพีแดนซปรับตั้งจะเปนเทาใด

คําตอบ 1 : 10 โอหม คําตอบ 2 : 9 โอหม

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

55 of 156

Page 56: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : 8 โอหม คําตอบ 4 : 7 โอหม

ขอที่ : 228 คาอิมพีแดนซที่รีเลยระยะทางมองเห็น เมื่อรูคา CT Ratio และ VT Ratio จะตองคูณดวยตัวคูณใด

คําตอบ 1 : (CT Ratio/VT Ratio) ยกกําลังสอง คําตอบ 2 : VT Ratio / CT Ratio คําตอบ 3 : CT Ratio / VT Ratio คําตอบ 4 : CT Ratio x VT Ratio

ขอที่ : 229 การปรับตั้งคาสําหรับ Phase Fault Distance Relay จะตองใช Sequence Impedance ใด เพื่อปรับตั้งคาใหรีเลยทํางาน

คําตอบ 1 : Positive Sequence Impedance คําตอบ 2 : Negative Sequence Impedance คําตอบ 3 : Zero Sequence Impedance คําตอบ 4 : Positive และ Negative Sequence Impedance

ขอที่ : 230 เมื่อเกิด Arc Fault ในสายสงกําลังไฟฟา การทํางานของรีเลยใดตอไปนี้มีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดปญหา Underreach นอยที่สุด

คําตอบ 1 : Mho Relay คําตอบ 2 : Impedance Relay คําตอบ 3 : Reactance Relay คําตอบ 4 : Admittance Relay

ขอที่ : 231 สายสงขนาด 2.5 + j3.5 โอหม จะตองตั้งคาการทํางานของอิมพีแดนซรีเลยใหมีคาสูงสุดเทาใด จึงจะสามารถปองกันคา ค.ต.ท. อารคฟอลต ขนาด 1.0 โอหมได

คําตอบ 1 : 1.5 + j3.5 โอหม คําตอบ 2 : 2.0 + j4 โอหม คําตอบ 3 : 3 + j4 โอหม คําตอบ 4 : 3.5 + j3.5 โอหม

ขอที่ : 232

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

56 of 156

Page 57: Coe_power electronic

สายสงชวงหนึ่งมีคาอิมพีแดนซรวมทั้งเสนเปน 2 + j20 โอหม CT และ VT ที่ใชมีคา CT Ratio = 500/5 A และ VT Ratio = 20,000/69.3 V ตามลําดับ ถาตองการปรับตั้งโซน 1 เทากับ 90% ของความยาวสายสง อิมพีแดนซที่ใชปรับตั้งรีเลยควรมีคาเปนเทาใดคําตอบ 1 : 0.50 + j 5.00 โอหม คําตอบ 2 : 0.40 + j 4.00 โอหม คําตอบ 3 : 0.63 + j 6.32 โอหม คําตอบ 4 : 0.73 + j 7.32 โอหม

ขอที่ : 233 ขอใดกลาวถึงคุณสมบัติของอิมพีแดนซรีเลย ( Impedance Relay ) ผิดจากความเปนจริง

คําตอบ 1 : อิมพีแดนซรีเลยเหมาะสําหรับใชปองกันการลัดวงจรระหวางเฟสของสายสงที่มีความยาวระยะปานกลาง คําตอบ 2 : เมื่อเกิด Power Swing ขึ้นในระบบไฟฟา อิมพีแดนซรีเลยยังคงทําหนาที่ไดอยางถูกตองโดยไมมีผลกระทบ คําตอบ 3 : ถาเกิดการลัดวงจรแบบมีอารคจะสงผลใหอิมพีแดนซรีเลยทํางานผิดพลาด คําตอบ 4 : ถาตองการใหอิมพีแดนซรีเลยทํางานแบบรูทิศทาง จะตองใชงานรวมกับรีเลยแบบรูทิศทาง

ขอที่ : 234 “Quadrilateral Relay” เปนรีเลยที่เหมาะสมสําหรับใชงานเพื่อการปองกันในลักษณะใด

คําตอบ 1 : ใชสําหรับการปองกันสายสงเมื่อเกิด Faults ระหวางสายตัวนําเฟส คําตอบ 2 : ใชสําหรับการปองกันสายสงเมื่อเกิด Faults ระหวางสายตัวนําเฟสกับดิน คําตอบ 3 : ใชสําหรับการปองกัน เมื่อสายตัวนําเฟสของสายปอนขาดตกลงบนพื้นดิน คําตอบ 4 : ใชสําหรับการปองกัน เมื่อเกิดการลัดวงจรระหวางสายตัวนําเฟสของสายปอน

ขอที่ : 235 รีเลยในขอใดตอไปนี้ เปนรีเลยหลักที่ใชในการปองกันสายสงกําลังไฟฟาแรงดันสูงแบบสามชวงระยะทาง (Step Three Zone Protection)

คําตอบ 1 : Pilot wire หรือ Differential relay คําตอบ 2 : Mho relay และ Quadrilateral relay คําตอบ 3 : Pilot wire และ Impedance relay คําตอบ 4 : Differential relay และ Reactance Relay

ขอที่ : 236

รีแอกแตนซรีเลยตัวหนึ่งมีลักษณะการทํางานตามเงื่อนไขสมการ y = 4.5 ถาสายสงเสนหนึ่งมีคาอิมพีแดนซรวมเปน 4 + j4 โอหม สมมติวาเกิดฟอลตที่ปลายสายสงพอดีและความตานทานอารกมีขนาด 0.5 โอหม การตอบสนองของรีเลยดังกลาวจะเปนอยางไร

คําตอบ 1 : รีเลยไมทํางาน คําตอบ 2 : รีเลยทํางานไดถูกตองเพราะรีเลยสามารถมองเห็นฟอลตได

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

57 of 156

Page 58: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : รีเลยทํางานชาเพราะคาความตานทานอารกมีคาสูงกวาที่รีเลยจะมองเห็นได คําตอบ 4 : รีเลยทํางานผิดพลาดเพราะฟอลตอยูนอกโซนการมองเห็นของรีเลย

ขอที่ : 237 สายสงเสนหนึ่งยาว 80 km มีคาอิมพีแดนซ Z = 0.03 + j 0.21 Ohm/km จงหาคา Admittance ของสายสงเสนนี้ มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 0.416 – j0.059 Mho คําตอบ 2 : 33.33 – j4.762 Mho คําตอบ 3 : 0.667 – j4.673 Mho คําตอบ 4 : 0.0083 – j0.058 Mho

ขอที่ : 238

การปองกันสายสงกําลังไฟฟาแรงดันสูงโดยใชรีเลยระยะทางปรับตั้งแบบ Three-Zone Protection ถาตองการหลีกเลี่ยงความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจะตองปรับตั้งคาระยะทางไกลสุด (Zone 3) ไมเกินคาใดตอไปนี้คําตอบ 1 : Emergency Loading Impedance คําตอบ 2 : คาอิมพีแดนซของสายสงชวงถัดไปเสนที่ยาวที่สุด คําตอบ 3 : คาความตานทานอารค (Arc Resistance) คําตอบ 4 : คา Underreach

ขอที่ : 239 “Lenticular Relay” มีคุณลักษณะสมบัติ ดังนี้

คําตอบ 1 : มีพื้นที่การทํางานแคบเมื่อเทียบกับ Mho Relay คําตอบ 2 : ใชปองกันสายสงกรณีที่เกิด Faults แบบมีอารกไมได คําตอบ 3 : ใชปองกันสายสงกรณีที่มีโหลดสูงๆ ไดไมดี คําตอบ 4 : มีพื้นที่การทํางานบน R-X Diagram เปนแบบสามเหลี่ยม

ขอที่ : 240 ขอใดกลาวถึงการปองกันสายสงโดยใชรีเลยระยะทาง (Distance Relay) ไดอยางถูกตองที่สุด

คําตอบ 1 : ความตานทานอารกมีผลตอ Mho Relay มากกวา Impedance Relay คําตอบ 2 : Power Swing จะไมมีผลตอการทํางานของรีเลยระยะทาง เพราะระบบไฟฟาจะคืนสูสภาวะปกติไดเอง ถาระบบมีขนาดใหญเพียงพอ คําตอบ 3 : เมื่อเกิดฟอลตที่มีอารก คาความตานทานอารกจะมีผลตอการทํางานของ Reactance Relay คําตอบ 4 : รีเลยระยะทางเหมาะสําหรับใชปองกันสายสงเพราะทํางานไดเร็วมาก ไมวาจะเกิดฟอลตแบบใดหรือ ณ ตําแหนงใดๆ บนสายสง

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

58 of 156

Page 59: Coe_power electronic

ขอที่ : 241 การปองกันสายสงดวยรีเลยระยะทาง (Distance Relay) โดยใชหลักการปรับตั้งแบบ Three-Zone Protection ขอใดตอไปนี้กลาวไมถูกตอง

คําตอบ 1 : ปรับตั้งเวลาการทํางานของ Zone 1 ใหทํางานแบบทันทีทันใด คําตอบ 2 : เมื่อเกิดฟอลตภายในโซนปองกัน รีเลย Zone 2 จะทําหนาที่เปนตัวปองกันสํารองใหแกรีเลย Zone 1 คําตอบ 3 : เมื่อเกิดฟอลตภายในโซนปองกัน รีเลย Zone 3 จะทํางาน หลังจากที่รีเลย Zone 2 ไดทํางานไปแลว คําตอบ 4 : ในกรณีที่มีสายสงยอยระยะสั้นๆ ตอแยกอยูกับสายสงหลักที่ตองการปองกันเราอาจตัดการตั้งคารีเลย Zone 2 ออกได

ขอที่ : 242 Power System Swing มีผลตอการทํางานของ Distance Relays อยางไร

คําตอบ 1 : ทําให Distance Relays ทํางานผิดพลาด โดยสั่งตัดวงจรหากคาอิมพีแดนซที่รีเลยมองเห็นขณะนั้นสูงกวาคาที่ตั้งไว คําตอบ 2 : ทําให Distance Relays ทํางานผิดพลาด โดยสั่งตัดวงจรหากคาอิมพีแดนซที่รีเลยมองเห็นขณะนั้นต่ํากวาคาที่ตั้งไว คําตอบ 3 : ทําให Distance Relays ทํางานสั่งตัดวงจรชาลงกวาปกติ คําตอบ 4 : ไมมีผลตอการทํางานของ Distance Relays

ขอที่ : 243 Fault Resistance ที่เกิดจากอารค มีผลตอ Distance Relay อยางไร

คําตอบ 1 : ทําใหรีเลยทํางานผิดพลาด หาก Fault Resistance ที่เกิดจากอารคมีคามาก รีเลยจะมองไมเห็นอิมพีแดนซ รีเลยจะไมทํางาน

คําตอบ 2 : ทําใหรีเลยทํางานผิดพลาด หาก Fault Resistance ที่เกิดจากอารคมีคามาก อิมพีแดนซปรากฏที่รีเลยมองเห็นจะออกนอก Zone ปองกันของรีเลยที่ไดตั้งคาไว รีเลยจะไมทํางาน

คําตอบ 3 : ทําใหรีเลยทํางานผิดพลาด หาก Fault Resistance ที่เกิดจากอารคมีคามาก รีเลยจะทํางานชาลง คําตอบ 4 : Fault Resistance ที่เกิดจากอารค ไมมีผลตอการทํางานของรีเลยระยะทางทุกประเภท

ขอที่ : 244 ขอใดคือลักษณะสมบัติการทํางานของรีเลยระยะทางแบบ Mho Relay บน R-X diagram

คําตอบ 1 : พื้นที่การทํางานของรีเลยจะมีลักษณะเปนวงกลมมีจุดศูนยกลางอยูที่จุดกําเนิด คําตอบ 2 : พื้นที่การทํางานของรีเลยจะมีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสครอบจุดกําเนิด คําตอบ 3 : พื้นที่การทํางานของรีเลยจะมีลักษณะเปนวงกลมมีเสนรอบวงตัดผานจุดกําเนิด โดยคา Impedance สวนมากตกอยูใน Quadrant ที่ 1 คําตอบ 4 : พื้นที่การทํางานของรีเลยจะมีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมูครอบจุดกําเนิด

ขอที่ : 245 Power System Swing มีผลตอรีเลยระยะทางอยางไร

คําตอบ 1 : เมื่อเกิด Power System Swing อาจทําใหรีเลยเกิด Overreach คําตอบ 2 : เมื่อเกิด Power System Swing อาจทําใหรีเลยเกิด Underreach

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

59 of 156

Page 60: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : เมื่อเกิด Power System Swing อาจทําใหรีเลยเกิดความเสียหายเนื่องจากแรงดันเกิน คําตอบ 4 : ไมมีผลใดๆ ตอรีเลย

ขอที่ : 246

อิมพีแดนซรีเลยตัวหนึ่งมีลักษณะการทํางานเปนวงกลมรัศมี 4 โอหม มีจุดศูนยกลางอยูที่จุดกําเนิด เมื่อตอใชงานรวมกับรีเลยทิศทาง (Directional Relay) ที่มีลักษณะการทํางานตามเงื่อนไขสมการ y = -x คาอิมพีแดนซปรากฏที่รีเลยมองเห็นในขอใดตอไปนี้ รีเลยจะไมทํางานคําตอบ 1 : 2 + j3 โอหม คําตอบ 2 : 2.5 + j3 โอหม คําตอบ 3 : 2 – j3 โอหม คําตอบ 4 : 1.5 + 3.5 โอหม

ขอที่ : 247

สายสงเสนหนึ่งมีคาอิมพีแดนซรวมทั้งเสนเปน 3 + j4 โอหม เมื่อเกิด Fault แตละครั้งจะมีคาความตานทานอารก 1.0 โอหม ถาตั้งคาอิมพีแดนซรีเลยใหมีลักษณะการทํางานเปนวงกลมรัศมี 4 โอหม มีจุดศูนยกลางอยูที่จุดกําเนิด เมื่อเกิด Fault บนสายสง ณ ตําแหนงใดตอไปนี้ รีเลยจะไมทํางาน

คําตอบ 1 : ตําแหนงกึ่งกลางสายสงพอดี คําตอบ 2 : ตําแหนงระยะ 70% ของความยาวสายสง นับจากจุดที่ติดตั้งรีเลย คําตอบ 3 : ตําแหนงระยะ 60% ของความยาวสายสง นับจากจุดที่ติดตั้งรีเลย คําตอบ 4 : ตําแหนงระยะ 45% ของความยาวสายสง นับจากจุดที่ติดตั้งรีเลย

ขอที่ : 248

สายสงเสนหนึ่งมีคาอิมพีแดนซรวมทั้งเสนเปน 6 + j8 โอหม เมื่อเกิด Fault แตละครั้งจะมีคาความตานทานอารกนอยมากจนสามารถละเลยได ถาตั้งคาอิมพีแดนซรีเลยใหมีลักษณะการทํางานเปนวงกลมรัศมี 8 โอหม มีจุดศูนยกลางอยูที่จุดกําเนิด รีเลยจะสามารถปองกัน Fault ไดคิดเปนระยะความยาวกี่เปอรเซ็นตของความยาวสายสงทั้งหมดคําตอบ 1 : 70% คําตอบ 2 : 75% คําตอบ 3 : 80% คําตอบ 4 : 90%

ขอที่ : 249 การลดโอกาสเสี่ยงตอการเกิดปญหา Underreach ของรีเลยระยะทาง สามารถแกไขไดดวยวิธีการปรับตั้งคามุมลักษณะการทํางานของรีเลยใหม ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตอง

คําตอบ 1 : ปรับตั้งคามุมของ Impedance Relay ใหมากขึ้น คําตอบ 2 : ปรับตั้งคามุมของ Impedance Relay ใหนอยลง คําตอบ 3 : ปรับตั้งคามุมของ Mho Relay ใหมากขึ้น คําตอบ 4 : ปรับตั้งคามุมของ Mho Relay ใหนอยลง

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

60 of 156

Page 61: Coe_power electronic

ขอที่ : 250

อิมพีแดนซรีเลยตัวหนึ่งมีลักษณะการทํางานเปนวงกลมรัศมี 10 โอหม มีจุดศูนยกลางอยูที่จุดกําเนิด นํามาใชงานรวมกับรีแอกแตนซรีเลยที่มีลักษณะการทํางานตามเงื่อนไขสมการ y - 8 = 0 ที่จุดตัดระหวางเสนลักษณะการทํางานของรีเลยทั้งสอง มีคา R ของสายสงเปนกี่โอหมคําตอบ 1 : 4.0 โอหม คําตอบ 2 : 6.0 โอหม คําตอบ 3 : 8.0 โอหม คําตอบ 4 : 10.0 โอหม

ขอที่ : 251 ขอใดไมใชลักษณะของการเกิดผิดพรอง (Faults) ในระบบไฟฟากําลัง

คําตอบ 1 : การเกิด Short Circuit ในระบบไฟฟา คําตอบ 2 : การเกิด Under Load ของมอเตอรไฟฟา คําตอบ 3 : การเกิด Over Load ของเครื่องกําเนิดไฟฟา คําตอบ 4 : การเกิด Loss of Synchronism ของเครื่องกําเนิดไฟฟา

ขอที่ : 252 ขอใดกลาวถึง “Faults” ในระบบไฟฟากําลังผิดจากความเปนจริง

คําตอบ 1 : Faults หมายถึง การเกิดลัดวงจรในระบบไฟฟาเพียงอยางเดียวเทานั้น คําตอบ 2 : การเกิดภาวะ Over Load จัดเปน Faults ในระบบไฟฟารูปแบบหนึ่ง คําตอบ 3 : การเกิดภาวะ Under Frequency จัดเปน Faults ในระบบไฟฟารูปแบบหนึ่ง คําตอบ 4 : การเกิดภาวะ Over Voltage จัดเปน Faults ในระบบไฟฟารูปแบบหนึ่ง

ขอที่ : 253 การเกิด Faults บนสายสงแบบ Overhead Line ในระบบ 3 phase รูปแบบใดที่มีความถี่ในการเกิดสูงที่สุด

คําตอบ 1 : Single Line to Ground Fault คําตอบ 2 : Line to Line Fault คําตอบ 3 : Line to Line to Ground Fault คําตอบ 4 : Three Phase Fault

ขอที่ : 254 การเกิด Faults บนสายสงแบบ Overhead Line ในระบบ 3 phase รูปแบบใดที่มีความรุนแรงในการเกิดสูงที่สุด

คําตอบ 1 : Single Line to Ground Fault

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

61 of 156

Page 62: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : Line to Line Fault คําตอบ 3 : Line to Line to Ground Fault คําตอบ 4 : Three Phase Fault

ขอที่ : 255 ขอใดคือคุณสมบัติของ SF6 Circuit Breaker

คําตอบ 1 : มีความคงทนไดอิเล็กตริกต่ํา ใชการดับอารกแบบลดความดัน ทนกระแส Interrupting ไดสูง คําตอบ 2 : มีความคงทนไดอิเล็กตริกต่ํา ใชการดับอารกแบบลดความดัน ทนกระแส Interrupting ไดต่ํา คําตอบ 3 : มีความคงทนไดอิเล็กตริกสูง ใชการดับอารกแบบอัดความดัน ทนกระแส Interrupting ไดสูง คําตอบ 4 : มีความคงทนไดอิเล็กตริกสูง ใชการดับอารกแบบลดความดัน ทนกระแส Interrupting ไดต่ํา

ขอที่ : 256 ขอใดคือคุณสมบัติของ Vacuum Circuit Breaker

คําตอบ 1 : มีความคงทนไดอิเล็กตริกสูง ใชการดับอารกแบบอัดความดัน Interrupter ไมตองบํารุงรักษาบอย คําตอบ 2 : มีความคงทนไดอิเล็กตริกสูง ใชการดับอารกแบบลดความดัน Interrupter ตองบํารุงรักษาบอย คําตอบ 3 : มีความคงทนไดอิเล็กตริกสูง ใชการดับอารกในสภาวะสุญญากาศ Interrupter ตองบํารุงรักษาบอย คําตอบ 4 : ใชการดับอารกในสภาวะสุญญากาศ มีความคงทนไดอิเล็กตริกสูง Interrupter ไมตองบํารุงรักษาบอย

ขอที่ : 257 ขอใดไมใชสวนประกอบของระบบปองกัน (Protective System)

คําตอบ 1 : Circuit Breaker & Trip Circuit คําตอบ 2 : Power Transformer คําตอบ 3 : Instrument Transformers คําตอบ 4 : Batteries

ขอที่ : 258 “Instrument Transformers” มีกี่ชนิด อะไรบาง

คําตอบ 1 : 1 ชนิด คือ Current Transformer คําตอบ 2 : 2 ชนิด คือ Current Transformer และ Voltage Transformer คําตอบ 3 : 2 ชนิด คือ Current Transformer และ Transducer คําตอบ 4 : 3 ชนิด คือ Current Transformer, Voltage Transformer และ Transducer

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

62 of 156

Page 63: Coe_power electronic

ขอที่ : 259 ขอใดไมใชหนาที่ของหมอแปลงทดกระแส (CT)

คําตอบ 1 : แปลงขนาดกระแสของระบบไฟฟาคาสูงใหเปนคาต่ํา เพื่อประโยชนในการวัดและการปองกัน คําตอบ 2 : แยกวงจร Secondary ออกจากวงจร Primary เพื่อความปลอดภัยของผูปฏิบัติงาน คําตอบ 3 : ทําใหสามารถใชกระแสมาตรฐานทางดาน Secondary ได คําตอบ 4 : แปลงขนาดกระแสของระบบไฟฟาคาต่ําใหเปนคาสูง เพื่อประโยชนในการปองกัน

ขอที่ : 260 “Rated Burden” ของหมอแปลงทดกระแส (CT) หมายถึง

คําตอบ 1 : คาพิกัดกระแสมาตรฐานทางดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส คําตอบ 2 : คาพิกัดแรงดันทางดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส คําตอบ 3 : คาพิกัดแรงดันทางดานปฐมภูมิของหมอแปลงกระแส คําตอบ 4 : คาพิกัดโหลดสูงสุดของวงจรทางดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแส อาจกําหนดเปน VA หรือ Ohm ก็ได

ขอที่ : 261 คา Standard secondary current ของหมอแปลงทดกระแส สําหรับระบบปองกันที่มีใชงานในปจจุบัน มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 1 A. และ 3 A. คําตอบ 2 : 1 A. และ 5 A. คําตอบ 3 : 5 A. และ 10 A. คําตอบ 4 : 5 A. และ 50 A.

ขอที่ : 262 หมอแปลงทดกระแส (CT) ขนาดพิกัดเบอรเดน 15 VA มีอัตราการทดกระแสเปน 200/5 A Accuracy Class 10 P 20 คา Accuracy Limit Factor (ALF) มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : ALF มีคาเทากับ 20 เทา คําตอบ 2 : ALF มีคาเทากับ 10 เทา คําตอบ 3 : ALF มีคาเทากับ 15 เทา คําตอบ 4 : ALF มีคาเทากับ 40 เทา

ขอที่ : 263 หมอแปลงทดกระแส (CT) มีขนาดพิกัดเบอรเดน 15 VA อัตราการทดกระแส 200/5 A Accuracy Class 10 P 20 ความคลาดเคลื่อนรวม (Composite Error) มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 5 % คําตอบ 2 : 10 %

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

63 of 156

Page 64: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : 15 % คําตอบ 4 : 20 %

ขอที่ : 264 “CCVT” ยอมาจากคําวาอะไร

คําตอบ 1 : Coupling Capacitor Voltage Transformer คําตอบ 2 : Coupling Circuit Voltage Transformer คําตอบ 3 : Constant Coupling Voltage Transformer คําตอบ 4 : Circuit Capacitor Voltage Transformer

ขอที่ : 265 ขอใดอธิบายความหมายของอุปกรณ “CCVT” ไดอยางถูกตอง

คําตอบ 1 : การใชตัวเก็บประจุตอขนานกับหมอแปลงทดแรงดันเพื่อความสะดวกและความเที่ยงตรงในการวัด คําตอบ 2 : การประยุกตใชหมอแปลงทดแรงดันตอรวมกับภาคแรงต่ําของโวลเตจดิไวเดอรแบบตัวเก็บประจุ คําตอบ 3 : การลดทอนแรงดันสูงโดยใชหมอแปลงทดแรงดันที่มีโวลเตจดิไวเดอรแบบตัวเก็บประจุตออยูทางดาน Secondary ของหมอแปลงทดแรงดัน คําตอบ 4 : การประยุกตใชหมอแปลงทดแรงดันตออนุกรมกับโวลเตจดิไวเดอรแรงสูงแบบตัวเก็บประจุเพื่อประหยัดคาใชจาย

ขอที่ : 266 คามาตรฐานทางดานทุติยภูมิ (Standard secondary) ของหมอแปลงทดแรงดัน (Voltage Transformer: VT) ที่มีใชงานในปจจุบัน มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 100 V. และ 220 V. คําตอบ 2 : 110 V. และ 120 V. คําตอบ 3 : 220 V. และ 380 V. คําตอบ 4 : 100 V. และ 150 V.

ขอที่ : 267 Protection Class ของหมอแปลงทดแรงดัน (Voltage Transformer : VT) ตามมาตรฐาน IEC คือขอใด

คําตอบ 1 : 3P และ 6P คําตอบ 2 : 3P และ 5P คําตอบ 3 : 5P และ 10P คําตอบ 4 : 10P และ 20P

ขอที่ : 268

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

64 of 156

Page 65: Coe_power electronic

ขอใดคือคุณสมบัติการมี “Selectivity” ของระบบปองกันที่ดีคําตอบ 1 : ระบบปองกันมีความแนนอนของ Relays ที่สามารถทํางานไดจริง มีความเชื่อถือได คําตอบ 2 : ระบบปองกันสามารถตัดวงจรไดรวดเร็ว แตบางครั้งอาจมีการหนวงเวลาบางเพื่อใหมีการทํางานประสานกัน คําตอบ 3 : ระบบปองกันตองไมทํางานเมื่อไมตองการใหทํางาน การตัดวงจรโดยไมจําเปนจะสงผลกระทบตอผูใชไฟ คําตอบ 4 : ระบบปองกันที่ออกแบบให Relays ทํางานแบงเปน Zone โดย Relays ที่อยูใกล Fault มากที่สุดทํางานกอน

ขอที่ : 269 ขอใดคือคุณสมบัติการมี “Speed” ของระบบปองกันที่ดี

คําตอบ 1 : ระบบปองกันมีความแนนอนของ Relays ที่สามารถทํางานไดจริง มีความเชื่อถือได คําตอบ 2 : ระบบปองกันสามารถตัดวงจรไดรวดเร็ว แตบางครั้งอาจมีการหนวงเวลาบางเพื่อใหมีการทํางานประสานกัน คําตอบ 3 : ระบบปองกันตองไมทํางานเมื่อไมตองการใหทํางาน การตัดวงจรโดยไมจําเปนจะสงผลกระทบตอผูใชไฟ คําตอบ 4 : ระบบปองกันที่ออกแบบให Relays ทํางานแบงเปน Zone โดย Relays ที่อยูใกล Fault มากที่สุดทํางานกอน

ขอที่ : 270 ขอใดคือคุณสมบัติการมี “Dependability” ของระบบปองกันที่ดี

คําตอบ 1 : ระบบปองกันมีความแนนอนของ Relays ที่สามารถทํางานไดจริง, มีความเชื่อถือได คําตอบ 2 : ระบบปองกันตองไมทํางานเมื่อไมตองการใหทํางาน การตัดวงจรโดยไมจําเปนจะสงผลกระทบตอผูใชไฟ คําตอบ 3 : ระบบปองกันที่ออกแบบให Relays ทํางานแบงเปน Zone โดย Relays ที่อยูใกล Fault มากที่สุดทํางานกอน คําตอบ 4 : ระบบปองกันสามารถทํางานถูกตองทุกครั้งเมื่อเกิด Fault ใน Zone ปองกัน แมจะไมไดทํางานมาเปนเวลานานก็ตาม

ขอที่ : 271 รีเลยชนิด Electro-mechanical relay ถาตองการใหเปน High speed relay จะตองใชโครงสรางของรีเลยแบบใด

คําตอบ 1 : Damping magnet คําตอบ 2 : Split ring คําตอบ 3 : Attracted armature คําตอบ 4 : Induction disc

ขอที่ : 272 เมื่อพิจารณาจากขอมูลสถิติการเกิด Faults ที่พบโดยทั่วไป ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตอง

คําตอบ 1 : Fault แบบสามเฟสสมดุล (Balanced three-phase fault) มีความถี่ของการเกิดมากที่สุด คําตอบ 2 : Fault แบบเสนเดียวลงดิน (Single line-to-ground fault) มีความถี่ของการเกิดมากที่สุด คําตอบ 3 : Fault แบบสามเฟสสมดุล (Balanced three-phase fault) มีความรุนแรงนอยที่สุด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

65 of 156

Page 66: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : Fault แบบเสนเดียวลงดิน (Single line-to-ground fault) มีความรุนแรงนอยที่สุด

ขอที่ : 273

ระบบไฟฟากําลังที่มีการตอลงดินแบบ Solidly-Grounded ขณะที่มีเหตุการณลัดวงจรลงดิน ปรากฏวาคากระแสลําดับศูนย (Zero Sequence) เปนศูนย ทานคิดวานาจะเปนเหตุการณประเภทใด ดังตอไปนี้

คําตอบ 1 : Three-phase-to-ground fault คําตอบ 2 : Single-phase-to-ground fault คําตอบ 3 : Two-phase-to- ground fault คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอที่ : 274 หนาที่ของ Circuit Breaker ในระบบไฟฟากําลังคือ

คําตอบ 1 : ใชตัดวงจรไฟฟาอยางรวดเร็วเมื่อเกิดลัดวงจร คําตอบ 2 : ใชตรวจจับและปองกัน Faults ที่เกิดขึ้นในระบบไฟฟา คําตอบ 3 : ใชควบคุมการจายไฟหรือตัดตอวงจรที่สถานีไฟฟาในสภาวะปกติ คําตอบ 4 : ขอ ก. และ ค. ถูกตอง

ขอที่ : 275 หมอแปลงทดกระแส (CT) ถาแบงตามลักษณะการใชงาน สามารถแบงไดเปนกี่แบบ อะไรบาง

คําตอบ 1 : 2 แบบ คือ CT สําหรับการวัด และ CT สําหรับการปองกัน คําตอบ 2 : 2 แบบ คือ Step up CT และ Step down CT คําตอบ 3 : 3 แบบ คือ CT สําหรับการปองกัน Step up CT และ Step down CT คําตอบ 4 : 3 แบบ คือ CT สําหรับการวัด CT สําหรับการปองกัน และ Step down CT

ขอที่ : 276 หมอแปลงทดกระแส (CT) Class 5 P 10 มีพิกัดเบอรเดน 10 VA อัตราการทดกระแสเปน 400/5 A คา Accuracy Limit Factor (ALF) มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : ALF มีคาเทากับ 5 เทา คําตอบ 2 : ALF มีคาเทากับ 2 เทา คําตอบ 3 : ALF มีคาเทากับ 10 เทา คําตอบ 4 : ALF มีคาเทากับ 80 เทา

ขอที่ : 277

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

66 of 156

Page 67: Coe_power electronic

ขอใดไมใชความตองการของระบบ Primary Protection คําตอบ 1 : รีเลยทํางานเร็วที่สุด คําตอบ 2 : ตองแยกสวนที่เกิด Fault ออกจากระบบใหนอยที่สุด คําตอบ 3 : สําหรับระบบไฟฟาที่มีความสําคัญ ในบางครั้งอาจจําเปนตองมีระบบ Duplication คําตอบ 4 : ตองทํางานเปน Closed Zone เพื่อจํากัดเขตการปองกัน

ขอที่ : 278 การใชงานหมอแปลงทดกระแส (CT) ในระบบแรงดันสูง ทําไมจึงหามเปดวงจรดาน Secondary ของ CT

คําตอบ 1 : เพราะจะทําใหกระแสดาน Secondary เปนศูนย จึงไมสามารถใชวัดคากระแสได คําตอบ 2 : เพราะจะทําใหเกิดแรงดันเกินดาน Secondary ทําใหเปนอันตรายตอการฉนวนและผูปฏิบัติงาน คําตอบ 3 : เพราะจะทําใหรีเลยมองเห็นคา Impedance สูง เหมือนการ Open Circuit ทําใหรีเลยทํางานผิดพลาด คําตอบ 4 : เพราะจะทํา CT เกิดอิ่มตัว เนื่องจากมีกระแสกระตุนสนามแมเหล็กเพิ่มขึ้น ทําให CT รอนจัดจนเกิดเสียหายได

ขอที่ : 279 การออกแบบระบบปองกันที่ดีจะตองคํานึงถึงคุณสมบัติในขอใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : จะตองไมเกิดจุดบอดในการปองกัน คําตอบ 2 : ตองพยายามตัดเฉพาะสวนที่เกิด Fault ออกจากระบบ เพื่อลดความเสียหายตอระบบโดยรวม คําตอบ 3 : ตองตัดสวนที่เกิด Fault ออกจากระบบ ในเวลาที่รวดเร็วที่สุดเทาที่จะสามารถทําได คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 280 อุปกรณที่ใชตรวจจับความผิดพรอง (Faults) ในระบบปองกันไฟฟากําลัง คือขอใด

คําตอบ 1 : CT คําตอบ 2 : VT คําตอบ 3 : Relay คําตอบ 4 : Circuit Breaker

ขอที่ : 281

หมอแปลงทดกระแส (CT) สําหรับระบบปองกัน มีอัตราการทดกระแส 400/5 A มีคาเบอรเดนเทากับ 3 VA ที่คา Plug Setting 2.5 A จงหาคา Burden ประสิทธิผลของ CT มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : Burden ประสิทธิผลมีคาเทากับ 3 VA คําตอบ 2 : Burden ประสิทธิผลมีคาเทากับ 6.25 VA คําตอบ 3 : Burden ประสิทธิผลมีคาเทากับ 7.5 VA

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

67 of 156

Page 68: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : Burden ประสิทธิผลมีคาเทากับ 12 VA

ขอที่ : 282 รีเลยกระแสเกินมี Burden 1.0 โอหม ที่คากระแส Pick Up = 5 A ถาตั้งคากระแส Pick Up ใหมีคาเปน 1 A คาเบอรเดนของรีเลยที่กระแส Pick Up ใหม มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 0.2 โอหม คําตอบ 2 : 0.4 โอหม คําตอบ 3 : 5.0 โอหม คําตอบ 4 : 25.0 โอหม

ขอที่ : 283

ระบบปองกันระบบหนึ่งประกอบดวย รีเลยกระแสเกินขนาด 10 VA, 5 A สาย pilot ของรีเลยมีความตานทานรวมเทากับ 0.15 โอหม ขนาดพิกัดของหมอแปลงทดกระแส (CT) ที่เหมาะสมควรมีคาเทาใด

คําตอบ 1 : ควรเลือกใช CT ขนาด 10 VA. และกระแสทุติยภูมิเทากับ 1 A. คําตอบ 2 : ควรเลือกใช CT ขนาด 15 VA. และกระแสทุติยภูมิเทากับ 1 A คําตอบ 3 : ควรเลือกใช CT ขนาด 10 VA. และกระแสทุติยภูมิเทากับ 5 A. คําตอบ 4 : ควรเลือกใช CT ขนาด 15 VA. และกระแสทุติยภูมิเทากับ 5 A.

ขอที่ : 284 หมอแปลงทดกระแส (CT) สําหรับระบบปองกัน มีอัตราการทดกระแส 50/5 A มีพิกัดเบอรเดน 12.5 VA ขอใดกลาวถูกตอง

คําตอบ 1 : หมอแปลงกระแสมีพิกัดเบอรเดน 0.6 โอหม ที่พิกัดกระแสทุติยภูมิ 5 แอมแปร คําตอบ 2 : หมอแปลงกระแสมีพิกัดเบอรเดน 0.6 โอหม ที่พิกัดกระแสทุติยภูมิ 1 แอมแปร คําตอบ 3 : หมอแปลงกระแสมีพิกัดเบอรเดน 0.5 โอหม ที่พิกัดกระแสทุติยภูมิ 5 แอมแปร คําตอบ 4 : หมอแปลงกระแสมีพิกัดเบอรเดน 0.25 โอหม ที่พิกัดกระแสทุติยภูมิ 5 แอมแปร

ขอที่ : 285

หมอแปลงทดกระแส (CT) สําหรับระบบปองกัน มีพิกัดกระแส Secondary เปน 5 A มีเบอรเดนเปนรีเลยขนาด 2 VA ที่คา Plug Setting 2.5 A จงหาคา VA ประสิทธิผลของ CT ที่พิกัดกระแส Secondary มีคาเทาใดคําตอบ 1 : VA ประสิทธิผลมีคาเทากับ 2.0 VA คําตอบ 2 : VA ประสิทธิผลมีคาเทากับ 2.5 VA คําตอบ 3 : VA ประสิทธิผลมีคาเทากับ 5.0 VA คําตอบ 4 : VA ประสิทธิผลมีคาเทากับ 8.0 VA

ขอที่ : 286

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

68 of 156

Page 69: Coe_power electronic

หมอแปลงทดกระแส (CT) สําหรับระบบปองกัน ขนาดพิกัด 100/5 A, 10 VA, 10 P 20 มีรีเลยปองกันกระแสเกินและสายตอวงจรตออยูทางดาน Secondary มี Burden รวมเทากับ 7.5 VA ถาทางดาน Primary มีกระแสไหล 200 A รีเลยจะมองเห็นกระแสปรากฏมีคาโดยประมาณเปนเทาใด

คําตอบ 1 : 5 A คําตอบ 2 : 7.5 A คําตอบ 3 : 10 A คําตอบ 4 : 20 A

ขอที่ : 287 ขอใดกลาวถึงหมอแปลงทดกระแส (CT) สําหรับระบบปองกัน ไดอยางถูกตองที่สุด

คําตอบ 1 : CT แบงตามลักษณะการใชงานไดเปน 2 กลุม คือ แบบ Bar Type และ แบบ Wound Type คําตอบ 2 : Standard secondary current ของ CT ที่มีใชงานในปจจุบันมี 3 คา คือ 1 A , 3 A และ 5 A คําตอบ 3 : การตอ CT ในวงจร 3-phase วงจรทางดาน Secondary ของ CT อาจตอเปนแบบ Wye หรือ Delta ก็ได โดยตองพิจารณา Polarity ของ CT ประกอบดวย คําตอบ 4 : การตอ CT ในวงจร 3-phase อาจตอเปนแบบ Wye หรือ Delta ก็ได โดยไมจําเปนตองคํานึงถึง Polarity ของ CT

ขอที่ : 288

หมอแปลงทดกระแส (CT) สําหรับระบบปองกัน ขนาดพิกัด 100/5 A, 10 VA, 10 P 20 มีรีเลยปองกันกระแสเกินและสายตอวงจรตออยูทางดาน Secondary มี Burden รวมเทากับ 7.5 VA ถาทางดาน Primary มีกระแสไหล 2000 A ขอใดกลาวถูกตองคําตอบ 1 : วงจรทางดาน Secondary จะมีกระแสไหลเทากับ 100 A

คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : วงจรทางดาน Secondary จะมีกระแสไหลเทากับ 200 A คําตอบ 4 : วงจรทางดาน Secondary จะมีกระแสไหลประมาณ 75 A

ขอที่ : 289

หมอแปลงทดกระแส (CT) สําหรับระบบปองกัน ขนาดพิกัด 200/5 A, 15 VA, 5 P 10 วงจรทางดาน Secondary มี Burden รวมเทากับ 0.2 Ohm ถาทางดาน Primary มีกระแสไหล 150 A จงหากระแสไหลในวงจรดาน Secondary โดยประมาณมีคาเทาใดคําตอบ 1 : 2 A คําตอบ 2 : 3 A คําตอบ 3 : 3.75 A คําตอบ 4 : 4 A

ขอที่ : 290

หมอแปลงทดกระแส (CT) สําหรับระบบปองกัน ขนาดพิกัด 200/5 A, 15 VA, 5 P 10 วงจรทางดาน Secondary มี Burden รวมเทากับ 5 Ohm ถาทางดาน Primary มีกระแสไหล

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

69 of 156

Page 70: Coe_power electronic

200 A จงหากระแสไหลในวงจรดาน Secondary ขอใดกลาวถูกตองคําตอบ 1 : วงจรทางดาน Secondary จะมีกระแสไหลเทากับ 5.25 A คําตอบ 2 : วงจรทางดาน Secondary จะมีกระแสไหลเทากับ 2 A คําตอบ 3 : วงจรทางดาน Secondary จะมีกระแสไหลเทากับ 5 A คําตอบ 4 : วงจรทางดาน Secondary จะมีกระแสไหลนอยกวา 5 A

ขอที่ : 291 หมอแปลงทดกระแส (CT) 3 เฟส ตอแบบ Wye ขอใดกลาวถูกตอง

คําตอบ 1 : กระแสทาง Secondary จะเปนปฏิภาคกับ Phase Current และเกิด Phase Shift 30 องศา คําตอบ 2 : กระแสทาง Secondary จะเปนปฏิภาคกับ Phase Current ไมมี Phase Shift คําตอบ 3 : กระแสทาง Secondary จะเปนปฏิภาคกับ Phase Current และเกิด Phase Shift 15 องศา คําตอบ 4 : กระแสทาง Secondary จะเปนปฏิภาคกับ Phase Current และเกิด Phase Shift 45 องศา

ขอที่ : 292 หมอแปลงทดกระแส (CT) 3 เฟส ตอแบบ Delta และมีเบอรเดน (Burden) ต่ํากวาพิกัด ขอใดกลาวถูกตอง

คําตอบ 1 : กระแสที่ตอเขา Burden จะเปนปฏิภาคกับ Phase Current และเกิด Phase Shift 30 องศา คําตอบ 2 : กระแสที่ตอเขา Burden จะเปนปฏิภาคกับ Phase Current ไมมี Phase Shift คําตอบ 3 : กระแสที่ตอเขา Burden จะเปนปฏิภาคกับ Phase Current คูณดวย 1.732 แตไมมี Phase Shift คําตอบ 4 : กระแสที่ตอเขา Burden จะเปนปฏิภาคกับ Phase Current คูณดวย 1.732 และเกิด Phase Shift 30 องศา

ขอที่ : 293 Local Back Up Protection หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : รีเลยที่ติดตั้งบริเวณเดียวกันกับรีเลยที่ทําหนาที่เปน Primary Protection คําตอบ 2 : รีเลยที่ติดตั้งบริเวณเดียวกันกับรีเลยที่ทําหนาที่เปน Primary Protection แตทํางานชากวา คําตอบ 3 : เซอรกิตเบรกเกอรที่ติดตั้งบริเวณเดียวกันกับรีเลยที่ทําหนาที่เปน Primary Protection แตสั่งทริปดวยรีเลยจากสถานีใกลเคียง คําตอบ 4 : รีเลยที่ติดตั้งบริเวณเดียวกันกับรีเลยที่ทําหนาที่เปน Primary Protection แตทํางานเร็วกวา

ขอที่ : 294 “Duplicate Primary Protection” หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : เปนระบบ Backup Protection System เพื่อทําหนาที่ปองกันสํารองเมื่อ Primary Protection ไมทํางาน

คําตอบ 2 : เปนระบบ Primary Protection System อีกชุดหนึ่งที่ติดตั้งสํารองไว มีคุณสมบัติเหมือน Primary Protection ทุกอยาง แตอาจใชอุปกรณตางกัน นิยมใชในระบบ UHV และ EHV

คําตอบ 3 : เปนระบบการปองกันสํารองที่ติดตั้งไวนอกเหนือจาก Primary Protection และ Backup Protection

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

70 of 156

Page 71: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : เปนระบบ Remote Backup Protection System เพื่อทําหนาที่ปองกันสํารองระยะไกลเมื่อ Primary Protection ไมทํางาน

ขอที่ : 295 การปองกันแบบใดตอไปนี้ จัดเปน Closed Zone

คําตอบ 1 : Overcurrent Protection คําตอบ 2 : Over Voltage Protection คําตอบ 3 : Under Voltage Protection คําตอบ 4 : Differential Protection

ขอที่ : 296

CCVT ความเที่ยงตรงสูง มีตัวเก็บประจุภาคแรงสูง 100 pF ตัวเก็บประจุภาคแรงต่ํา 10 nF หมอแปลงทดแรงดันมีอัตราสวนเปน 20:1 ตอวัดแรงดันในสายสงระบบ 115 kV จงหาแรงดันขาออกดานแรงต่ํา เทียบกับ Ground ในสภาวะปกติมีคาเทาใดคําตอบ 1 : 32.87 V คําตอบ 2 : 56.93 V คําตอบ 3 : 569.3 V คําตอบ 4 : 328.7 V

ขอที่ : 297

CCVT ความเที่ยงตรงสูง มีตัวเก็บประจุภาคแรงสูง 150 pF ตัวเก็บประจุภาคแรงต่ํา 15 nF หมอแปลงทดแรงดันมีอัตราสวนเปน 20:1 ตอวัดแรงดันในสายสงระบบ 500 kV จงหาแรงดันขาออกดานแรงต่ํา เทียบกับ Ground ในสภาวะปกติมีคาเทาใดคําตอบ 1 : 250 V คําตอบ 2 : 142.9 V คําตอบ 3 : 500 V คําตอบ 4 : 247.5 V

ขอที่ : 298

หมอแปลงทดกระแส (CT) ขนาดพิกัดเบอรเดน 15 VA อัตราการทดกระแส 300/5 A มี Accuracy Class เปน 10 P 20 คา Accuracy Limit Factor (ALF) และ Knee Point Voltage (Vk ) มีคาเทาใดคําตอบ 1 : ALF = 20 และ Vk ประมาณ 80 V คําตอบ 2 : ALF = 10 และ Vk ประมาณ 80 V คําตอบ 3 : ALF = 20 และ Vk ประมาณ 60 V คําตอบ 4 : ALF = 10 และ Vk ประมาณ 60 V

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

71 of 156

Page 72: Coe_power electronic

ขอที่ : 299

วงจรปองกันมีรีเลยกินไฟ 2.5 VA ที่คา Plug Setting 2.5 A ถาตองการเลือกใชงานหมอแปลงทดกระแส (CT) ที่มีพิกัดกระแส Secondary เปน 5 A ใหคํานวณหา Burden ประสิทธิผลของ CT ที่ตองการใชงาน อยางนอยตองมีพิกัดเปนเทาใด

คําตอบ 1 : 2.5 VA คําตอบ 2 : 5 VA คําตอบ 3 : 10 VA คําตอบ 4 : 15 VA

ขอที่ : 300 หมอแปลงทดกระแส (CT) มีอัตราการทดกระแส 100/5 A มี Accuracy Class เปน “10 P 20” ขอใดกลาวถูกตอง

คําตอบ 1 : เปน “Protection CT” คาความผิดพลาดรวมไมเกิน 10% เมื่อกระแสดานทุติยภูมิมีคาไมเกิน 6 A คําตอบ 2 : เปน “Protection CT” คาความผิดพลาดรวมไมเกิน 20% เมื่อกระแสดานปฐมภูมิมีคาไมเกิน 1000 A คําตอบ 3 : เปน “Protection CT” คาความผิดพลาดรวมไมเกิน 10% เมื่อกระแสดานทุติยภูมิมีคาไมเกิน 50 A และแรงดันจุดเขา (Knee point) มีคาเปน 20 V คําตอบ 4 : เปน “Protection CT” คาความผิดพลาดรวมไมเกิน 10% เมื่อกระแสดานปฐมภูมิมีคาไมเกิน 2000 A

ขอที่ : 301

Buchholz Relay คือ

คําตอบ 1 : รีเลยตรวจจับความผิดปกติที่เกิดภายในภายในถังของหมอแปลงชนิดที่มีถังเก็บน้ํามันสํารอง(Conservator) โดยการตรวจจับกาซที่เกิดจากการอารกภายใน

คําตอบ 2 : รีเลยเตือนบอกระดับน้ํามันฉนวนภายในหมอแปลงชนิดที่มี ถังเก็บน้ํามันสํารอง

คําตอบ 3 : รีเลยตรวจจับความผิดปกติภายในหมอแปลงโดยการตรวจจับกาซเพื่อบอกระดับความรอนที่เกิดขึ้น

คําตอบ 4 : รีเลยตรวจจับความผิดปกติในหมอแปลง โดยการตรวจจับกาซเพื่อบอกระดับความความดันกาซในหมอแปลง

ขอที่ : 302

หมอแปลงไฟฟา 3 เฟส ขนาดพิกัด 10 MVA, 22kV / 6.6kV, Delta–Wye Connected ใหคํานวณหาขนาดพิกัดกระแสทั้งทางดาน HV และ LV มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : พิกัดกระแสดาน HV เทากับ 454.55 A ; พิกัดกระแสดาน LV เทากับ 1515.15 A

คําตอบ 2 : พิกัดกระแสดาน HV เทากับ 787.3 A ; พิกัดกระแสดาน LV เทากับ 1515.15 A

คําตอบ 3 : พิกัดกระแสดาน HV เทากับ 262.43 A ; พิกัดกระแสดาน LV เทากับ 874.77 A

คําตอบ 4 : พิกัดกระแสดาน HV เทากับ 454.55 A ; พิกัดกระแสดาน LV เทากับ 874.77 A

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

72 of 156

Page 73: Coe_power electronic

ขอที่ : 303

เหตุใดจึงตองมีการปองกันความรอนสูงเกิน (Overheating) ในหมอแปลงไฟฟา

คําตอบ 1 :

เพราะความรอนที่เพิ่มขึ้น เปนสาเหตุทําใหเกิดแรงดันตกในหมอแปลง

คําตอบ 2 :

เพราะความรอนที่เพิ่มขึ้น เปนสาเหตุทําใหฉนวนของหมอแปลงเสื่อมสภาพและเกิดความเสียหายในที่สุด

คําตอบ 3 :

เพราะความรอนที่เพิ่มขึ้น อาจเปนสาเหตุทําใหแกนเหล็กหลอมละลาย

คําตอบ 4 : เพราะความรอนที่เพิ่มขึ้น เปนสาเหตุทําใหแกนเหล็กของหมอแปลงเกิดอิ่มตัวไดงาย

ขอที่ : 304

ขอใดไมใชลักษณะการเกิดภาวะผิดปกติ ที่มีผลกระทบตอการใชงานของหมอแปลงไฟฟา

คําตอบ 1 : การรั่วของถังน้ํามันหมอแปลง

คําตอบ 2 : การเกิดภาวะแรงดันเกินชั่วครูเนื่องจากระบบไฟฟาภายนอก

คําตอบ 3 : การเกิดลัดวงจรในระบบไฟฟาภายนอก

คําตอบ 4 : การเกิดกระแสพุงเขาขณะเริ่มจายไฟเขาหมอแปลง

ขอที่ : 305

ระยะเวลาที่หมอแปลงไฟฟาสามารถทนตอกระแสลัดวงจรคาสูงสุดจากภายนอกได (Permitted Fault Duration) ตามขอกําหนดมาตรฐาน IEC 60076 [2000] กําหนดไวอยางมากไมเกิน

กี่วินาที

คําตอบ 1 : 0.5 วินาที

คําตอบ 2 : 1.0 วินาที

คําตอบ 3 : 2.0 วินาที

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

73 of 156

Page 74: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : 3.0 วินาที

ขอที่ : 306

จากสถิติความเสียหาย (Failure) ที่เกิดขึ้นกับหมอแปลงไฟฟา ทานคิดวาสวนใดของหมอแปลงไฟฟาที่มีสถิติความถี่ของการเกิดความเสียหายมากที่สุด

คําตอบ 1 : Bushing Failures

คําตอบ 2 : Winding Failures

คําตอบ 3 : Core Failures

คําตอบ 4 : Tap Changer Failures

ขอที่ : 307

การปองกันกระแสเกินของหมอแปลงไฟฟาโดยใชรีเลยกระแสเกินนั้น จะใชเมื่อใด

คําตอบ 1 : ใชสําหรับปองกันหมอแปลงไฟฟาที่มีขนาดใหญ

คําตอบ 2 : ใชเมื่อตองการใหการตัดวงจรเปนไปอยางรวดเร็วในชวงที่กระแสลัดวงจรยังมีคาต่ํา

คําตอบ 3 : ใชเมื่อตองการใหปองกันการลัดวงจรลงดิน

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 308

Restricted Earth Fault Relay เปนรีเลยที่นิยมใชในการปองกันอุปกรณไฟฟาชนิดใด

คําตอบ 1 : สายสงกําลังไฟฟา

คําตอบ 2 : หมอแปลงไฟฟา

คําตอบ 3 : มอเตอรไฟฟา

คําตอบ 4 : บัสบาร

ขอที่ : 309

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

74 of 156

Page 75: Coe_power electronic

หมอแปลงสําหรับระบบสงจายกําลังไฟฟามีขนาดพิกัด 100 MVA, 115 kV (Y) / 22 kV (Y) ใหคํานวณหากระแส Full Load ดาน 115 kV และ 22 kV มีคาเทากับขอใดตามลําดับ

คําตอบ 1 : 869 A และ 4,545 A

คําตอบ 2 : 502 A และ 2,624 A

คําตอบ 3 : 289 A และ 1,515 A

คําตอบ 4 : 615 A และ 3,215 A

ขอที่ : 310

หมอแปลงสําหรับระบบสงกําลังไฟฟามีขนาด 300 MVA 132 kV Delta / 33 kV Delta ใหคํานวณหากระแส Full load ดาน 132 kV และ 33 kV มีคาเทากับขอใดตามลําดับ

คําตอบ 1 : 2,272 A และ 9,090 A

คําตอบ 2 : 1,606 A และ 6,420 A

คําตอบ 3 : 1,310 A และ 5,240 A

คําตอบ 4 : 757 A และ 3,030 A

ขอที่ : 311

รหัสอุปกรณของรีเลยผลตาง (Differential Relay) ตามมาตรฐาน ANSI Code คือขอใด

คําตอบ 1 : 50

คําตอบ 2 : 67

คําตอบ 3 : 87

คําตอบ 4 : 78

ขอที่ : 312

การใชงานรีเลยผลตางในวงจรแบบ 3 เฟส จะตองใช CT ทั้งหมดที่ตัว

คําตอบ 1 :

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

75 of 156

Page 76: Coe_power electronic

ใช CT ทั้งหมด 2 ตัว

คําตอบ 2 : ใช CT ทั้งหมด 4 ตัว

คําตอบ 3 : ใช CT ทั้งหมด 6 ตัว

คําตอบ 4 : ใช CT ทั้งหมด 8 ตัว

ขอที่ : 313

ขอใดกลาวถึงระบบปองกันแบบ Pilot Relaying ไดอยางถูกตองที่สุด

คําตอบ 1 : Pilot Relaying มักจะใชในการปองกันสายสงและบัสรวมกัน

คําตอบ 2 : Pilot Relaying อาศัยหลักการทํางานของรีเลยระยะทาง ( Distance Relay ) เพียงอยางเดียว

คําตอบ 3 : Pilot Relaying มักจะใชในการปองกันสายสงที่มีความยากมากกวา 240 กิโลเมตร

คําตอบ 4 : Pilot Relaying มักจะกําหนดใหเปนเขตปองกันชั้นตน (Primary) โดยไมมีการปองกันสํารอง (Backup)

ขอที่ : 314

การปองกันหมอแปลงขนาดใหญดวยวิธี Differential Protection เราจะไมคํานึงถึงผลของปจจัยใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : การเลื่อนเฟส (Phase Shift)

คําตอบ 2 : ความดันกาซที่เปลี่ยนแปลงไปจากคาที่ตั้งไว

คําตอบ 3 : อัตราการทดกระแสของ CT

คําตอบ 4 : คากระแสหลอเลี้ยงสนามแมเหล็กพุงเขา

ขอที่ : 315

ทางดาน Secondary ของหมอแปลงขนาดเล็ก ควรมีการปองกันแบบใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : Time Delay Overcurrent Relay

คําตอบ 2 : Residually Connected Ground Relay

คําตอบ 3 : Transformer Thermal Relay

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

76 of 156

Page 77: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 316

การใชงานรีเลยผลตางในวงจรแบบ 1 เฟส จะตองใช CT ทั้งหมดที่ตัว

คําตอบ 1 : ใช CT ทั้งหมด 1 ตัว

คําตอบ 2 : ใช CT ทั้งหมด 2 ตัว

คําตอบ 3 : ใช CT ทั้งหมด 4 ตัว

คําตอบ 4 : ใช CT ทั้งหมด 6 ตัว

ขอที่ : 317

ถาตองการปองกัน Internal Faults ภายในหมอแปลงไฟฟาขนาดใหญ ควรเลือกใชรีเลยชนิดใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : Overcurrent Relay

คําตอบ 2 : Transformer Thermal Relay

คําตอบ 3 : Differential Relay

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 318

หมอแปลง 1 เฟส 50 MVA, 20 kV / 400 kV ตองการปองกันดวย Differential Relay จงหา CT Ratio ที่ติดตั้งที่ดานแรงต่ําและดานแรงสูงตามลําดับ

คําตอบ 1 : 20:1 และ 400:1 แอมป

คําตอบ 2 : 2,500:1 และ 125:1 แอมป

คําตอบ 3 : 5,000:1 และ 20:1 แอมป

คําตอบ 4 : 1,500:1 และ 100:1 แอมป

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

77 of 156

Page 78: Coe_power electronic

ขอที่ : 319

เพื่อใหงายสมมติวาเปนหมอแปลง 1 เฟส ขนาด 10 MVA แรงดันดานปฐมภูมิเปน 100 kV ดานทุติยภูมิมีแรงดันออก 25 kV หมอแปลงนี้ปองกันดวย Differential Relay จงหาคาอัตรา

การทดกระแสของ CT ดานปฐมภูมิและทุตยภูมิตามลําดับ

คําตอบ 1 : 25/5 A และ 100/5 A

คําตอบ 2 : 100/5 A และ 25/5 A

คําตอบ 3 : 400/5 A และ 100/5 A

คําตอบ 4 : 100/5 A และ 400/5 A

ขอที่ : 320

หมอแปลงไฟฟาที่ปองกันดวย Differential Relay มี Mismatch (Spill) Current ที่จะไหลมาเขารีเลยเปน 0.25 A คา pick up ของรีเลยควรตั้งไวที่เทาไร

คําตอบ 1 : < 0.25 A

คําตอบ 2 : = 0.25 A

คําตอบ 3 : > 0.25 A

คําตอบ 4 : มากกวาหรือนอยกวา 0.25 A ก็ได

ขอที่ : 321

การปองกันหมอแปลงไฟฟาขนาดใหญ ถาตองการปองกัน “Overheating” ในหมอแปลงจะตองใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 51

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 63

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 49

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 87

ขอที่ : 322

การปองกันหมอแปลงไฟฟาขนาดใหญ ถาตองการปองกัน “Overload” สําหรับขดลวดดาน Secondary แบบหนวงเวลา จะตองใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

78 of 156

Page 79: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 51

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 63

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 50

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 87

ขอที่ : 323

การปองกันหมอแปลงไฟฟาขนาดใหญ ถาตองการปองกันลัดวงจรลงดินแบบทันทีทันใด จะตองใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 51G

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 63

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 50G

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 87

ขอที่ : 324

การปองกันหมอแปลงไฟฟาขนาดใหญ ถาตองการปองกัน Interturn Faults ภายในหมอแปลง จะตองใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 51

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 27

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 50

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 87

ขอที่ : 325

การปองกันหมอแปลงไฟฟาขนาดใหญ ถาตองการปองกันฟลักซสูงเกินไป (Overfluxing) จะตองใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 81O

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 59

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 51/46

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

79 of 156

Page 80: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 59/81

ขอที่ : 326

เหตุใดจึงตองมีการปองกันฟลักซสูงเกินไป (Overfluxing Protection) ในหมอแปลงไฟฟาขนาดใหญ

คําตอบ 1 : เพื่อปองกันแรงดันตกในหมอแปลงไฟฟา

คําตอบ 2 : เพื่อปองกันกระแสเกิน

คําตอบ 3 : เพื่อปองกันความถี่สูงเกิน

คําตอบ 4 : เพื่อปองกันความรอนสะสมสูงเกินที่แกนเหล็ก ซึ่งเปนอันตรายตอหมอแปลง

ขอที่ : 327

กรณีใดตอไปนี้ หลักการ Differential Protection ไมสามารถนํามาใชงานได

คําตอบ 1 : การปองกัน Bus ในสถานีไฟฟาแรงสูง

คําตอบ 2 : การปองกันสายสงไฟฟาแรงสูง

คําตอบ 3 : การปองกันขดลวดกระตุนสนาม (Field) ในเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส

คําตอบ 4 : การปองกันหมอแปลงไฟฟาขนาดใหญ

ขอที่ : 328

Through Faults ของระบบการปองกันแบบ Differential Protection หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : External Faults

คําตอบ 2 : Internal Faults

คําตอบ 3 : Earth Faults

คําตอบ 4 : Incipient Fault

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

80 of 156

Page 81: Coe_power electronic

ขอที่ : 329

กระแส Through Faults สงผลตอการปองกันแบบ Differential Protection ทั่วไป อยางไร

คําตอบ 1 : ทําให Differential Relay ทํางานชาลง

คําตอบ 2 : ทําให Differential Relay ไมทํางาน

คําตอบ 3 : ทําให Differential Relay ทํางานผิดพลาด

คําตอบ 4 : ทําให Differential Relay พังเสียหาย

ขอที่ : 330

ถากระแส Through Faults มีคามากกวาคา Pick up ของรีเลย ในระบบปองกันแบบ Differential Protection ทั่วไป จะมีผลตอระบบปองกันอยางไร

คําตอบ 1 : รีเลยจะ Trip Faults ที่เกิดขึ้นภายนอกเขตปองกัน ซึ่งเปนการทํางานที่ไมถูกตอง

คําตอบ 2 : รีเลยจะ Trip เฉพาะกรณีเมื่อเกิด Faults ขึ้นภายในเขตปองกันเทานั้น ซึ่งเปนการทํางานที่ถูกตอง

คําตอบ 3 : รีเลยจะไมทํางานเลย

คําตอบ 4 : จะทําใหรีเลยพังเสียหาย

ขอที่ : 331

Mismatch Current หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : Spill Current

คําตอบ 2 : Differential Current

คําตอบ 3 : Capacitive Current

คําตอบ 4 : Fault Current

ขอที่ : 332

รีเลยแบบผลตาง (Differential Relay) มีหลักการทํางานอยางไร

คําตอบ 1 : ใชคาผลรวมทางเวกเตอรของปริมาณทางไฟฟาที่เหมือนกันตั้งแต 2 คาขึ้นไป เกินคาที่ตั้งไวใหรีเลยทํางาน

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

81 of 156

Page 82: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : ใชคาผลตางทางเวกเตอรของปริมาณทางไฟฟาที่เหมือนกันตั้งแต 2 คาขึ้นไป เกินคาที่ตั้งไวใหรีเลยทํางาน

คําตอบ 3 : ใชคาผลรวมทางเวกเตอรของปริมาณทางไฟฟาที่แตกตางกันตั้งแต 2 คาขึ้นไป เกินคาที่ตั้งไวใหรีเลยทํางาน

คําตอบ 4 : ใชคาผลตางทางเวกเตอรของปริมาณทางไฟฟาที่แตกตางกันตั้งแต 2 คาขึ้นไป เกินคาที่ตั้งไวใหรีเลยทํางาน

ขอที่ : 333

คาเซตติ้งของรีเลยผลตางคิดอยางไร

คําตอบ 1 : Is = (I1+I2)/2

คําตอบ 2 : Is = I1-I2

คําตอบ 3 : Is = 2I1

คําตอบ 4 : Is = 2I2

ขอที่ : 334

Percentage Differential Relay มีขดลวดภายในทั้งหมดกี่ชุด อะไรบาง

คําตอบ 1 : 1 ชุด คือ Operating Coil

คําตอบ 2 : 1 ชุด คือ Restraining Coil

คําตอบ 3 : 2 ชุด คือ Operating Coil และ Restraining Coil

คําตอบ 4 : 2 ชุด คือ Operating Coil และ Tripping Coil

ขอที่ : 335

Differential Relay มีลักษณะสมบัติเปนแบบ Fixed Percentage ที่ 10% ถาเกิดมี Through-Fault Current ขนาด 10 A รีเลยจะเริ่มทํางานเมื่อมีกระแสผลตางไหลผานขดลวดทํางาน เปน

เทาใด

คําตอบ 1 : 0.1 A

คําตอบ 2 : 1.0 A

คําตอบ 3 : 5.0 A

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

82 of 156

Page 83: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : 10.0 A

ขอที่ : 336

Differential Relay มีลักษณะสมบัติเปนแบบ Fixed Percentage ที่ 20% ถาเกิดมี Through-Fault Current ขนาด 15 A รีเลยจะเริ่มทํางานเมื่อมีกระแสผลตางไหลผานขดลวดทํางาน เปน

เทาใด

คําตอบ 1 : 0.2 A

คําตอบ 2 : 2.0 A

คําตอบ 3 : 3.0 A

คําตอบ 4 : 15.0 A

ขอที่ : 337

Biased Differential Relay มีกระแสจายมาจาก CT ทั้ง 2 ดาน เปน I1 = 5.1 A และ I2 = 4.8 A กระแส Differential มีขนาดเทาใด

คําตอบ 1 : 5.05 A

คําตอบ 2 : 4.95 A

คําตอบ 3 : 0.3 A

คําตอบ 4 : 0.2 A

ขอที่ : 338

การเกิด CT Mismatch หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : การที่ CTs ทุกตัวในวงจร Differential Protection มีคุณสมบัติเหมือนกันทุกประการ

คําตอบ 2 : การที่มี CTs บางตัวในวงจร Differential Protection มีคุณสมบัติไมเหมือนกับ CTs ตัวอื่นๆ

คําตอบ 3 : การที่มี CTs บางตัวในวงจร Differential Protection เกิดสภาวะอิ่มตัว

คําตอบ 4 : ขอ ข. และ ขอ ค. ถูกตอง

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

83 of 156

Page 84: Coe_power electronic

ขอที่ : 339

รีเลยกระแสผลตางจะทํางานตามเงื่อนไขในขอใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : เมื่อรีเลยตรวจพบวามีกระแสผลตางเกิดขึ้นในเขตการปองกัน

คําตอบ 2 : เมื่อรีเลยตรวจพบวามีกระแสผลตางเกิดขึ้นในเขตการปองกัน ต่ํากวาคา Pick up ของรีเลย

คําตอบ 3 : เมื่อรีเลยตรวจพบวามีกระแสผลตางเกิดขึ้นในเขตการปองกัน สูงกวาหรือเทากับคา Pick up ของรีเลย

คําตอบ 4 : เมื่อรีเลยตรวจพบวาแรงดันตกครอมรีเลยต่ํากวาคาที่ตั้งไว

ขอที่ : 340

คุณสมบัติที่ดีของระบบการปองกันแบบ Differential Protection คือ

คําตอบ 1 : มี Sensitivity สูง

คําตอบ 2 : มี Security

คําตอบ 3 : มี Selectivity

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 341

กรณีใดตอไปนี้สามารถใชหลักการ Differential Protection ปองกันได

คําตอบ 1 : การปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟาจายโหลดเกิน

คําตอบ 2 : การปองกัน Loss of Excitation ในเครื่องกําเนิดไฟฟาแบบซิงโครนัส

คําตอบ 3 : การปองกัน Internal Faults ภายในหมอแปลงไฟฟา

คําตอบ 4 : การปองกัน Over Heating ในมอเตอรไฟฟา

ขอที่ : 342

หมอแปลงขนาด 200 MVA, 230 kV delta / 115 kV Wye กําหนดให CT ดาน 230 kV ตอเปนแบบ Wye และ CT ดาน 115 kV ตอเปนแบบ delta ถาCT ดาน 115 kV เลือกใชคาอัตราทด

กระแส 1732/5 คาอัตราทดกระแสของ CT ดาน 230 kV เมื่อใชกับ Differential Relay ควรมีคาเปนเทาใด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

84 of 156

Page 85: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : 502/5 A

คําตอบ 2 : 289/8.66 A

คําตอบ 3 : 289/5 A

คําตอบ 4 : 866/5 A

ขอที่ : 343

ประโยชนของการใช High Impedance Relay ในการปองกันแบบ Differential Protection คือขอใด

คําตอบ 1 : เพื่อลดผลความคลาดเคลื่อนอันเนื่องมาจาก Burden ของ CT

คําตอบ 2 : เพื่อแกปญหาการเกิด Mismatch ของ CT

คําตอบ 3 : เพื่อชวยไมให CT เกิดสภาวะอิ่มตัวในแกนเหล็ก

คําตอบ 4 : เพื่อเพิ่มขนาด Burden ในวงจรดานทุติยภูมิของ CT

ขอที่ : 344

Stabilizing Resistance ในระบบปองกันแบบ Differential Protection หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : ตัวความตานทานที่ตอขนานกับรีเลยผลตาง เพื่อเพิ่มคากระแสเริ่มทํางาน

คําตอบ 2 : ตัวความตานทานที่ตออนุกรมกับรีเลยผลตางเพื่อเพิ่มคากระแสเริ่มทํางาน

คําตอบ 3 : ตัวความตานทานที่ตอขนานกับรีเลยผลตาง เพื่อชวยใหรีเลยมีเสถียรภาพเมื่อเกิดฟอลตนอกเขตปองกัน

คําตอบ 4 : ตัวความตานทานที่ตออนุกรมกับรีเลยผลตาง เพื่อชวยใหรีเลยมีเสถียรภาพเมื่อเกิดฟอลตนอกเขตปองกัน

ขอที่ : 345

หมอแปลงเฟสเดียวสองขดลวดขนาดพิกัด 10 MVA, 66 kV / 22 kV มีการปองกันโดยใช Differential Relay หากทางดานขดลวดแรงสูงใช CT ขนาด 200 : 5 และดานขดลวดแรงต่ําใช

CT ขนาด 600 : 5 ตามลําดับ ปริมาณคากระแสที่ไหลผาน Operating Coil ของตัวรีเลยที่สภาวะโหลดพิกัดจะมีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 0 A

คําตอบ 2 : 3.79 A

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

85 of 156

Page 86: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : 7.58 A

คําตอบ 4 : 15.16 A

ขอที่ : 346

การเลือกใชงานหมอแปลงทดกระแส (CT) สําหรับงานการปองกันแบบใชคากระแสผลตาง (Current Differential) ในอุปกรณไฟฟาจะตองเลือกใชงานหมอแปลงทดกระแส Class ใด

จึงเหมาะสม

คําตอบ 1 : เลือกใช CT Class 0.2

คําตอบ 2 : เลือกใช CT Class 0.5

คําตอบ 3 : เลือกใช CT Class P

คําตอบ 4 : เลือกใช CT Class PX

ขอที่ : 347

การปองกันแบบ Current Differential Protection สําหรับอุปกรณไฟฟาตัวหนึ่ง โดยใช Differential Relay (87) แบบธรรมดา ในสภาวะปกติที่คากระแสพิกัดของอุปกรณที่ถูกปองกัน

ทําใหกระแสเขารีเลยที่มาจาก CT ทั้งสองดานมีความแตกตางกัน 0.5 A ถาตองการเนนปองกันลัดวงจรภายใน การตั้งคารีเลยในกรณีใดตอไปนี้ จึงจะเหมาะสมและไมทําใหเกิดความ

ผิดพลาด

คําตอบ 1 : ตั้งคากระแส Setting ที่รีเลย 0 A

คําตอบ 2 : ตั้งคากระแส Setting ที่รีเลย 0.25 A

คําตอบ 3 : ตั้งคากระแส Setting ที่รีเลย 0.5 A

คําตอบ 4 : ตั้งคากระแส Setting ที่รีเลย 0.8 A

ขอที่ : 348

Biased Differential Relay มีกระแสจายมาจาก CT ทั้ง 2 ดาน เปน I1 = 5 A และ I2 = 4.8 A กระแส Restrain มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 5 A

คําตอบ 2 : 4.9 A

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

86 of 156

Page 87: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : 4.8 A

คําตอบ 4 : 0.2 A

ขอที่ : 349

Percentage Differential Relay ใชปองกันหมอแปลงไฟฟาขนาดใหญ มีกระแสไหลในสาย Pilot จาก CT ดานแรงสูงมาเขารีเลยเปน 5.05 A และจาก CT ดานแรงต่ํามาเขารีเลยเปน 5.01

A จงหากระแส Operating Current ของ Relay มีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 0.04

คําตอบ 2 : 5.03

คําตอบ 3 : 5.00

คําตอบ 4 : 10.06

ขอที่ : 350

หมอแปลงกําลังหนึ่งเฟสขนาด 23 MVA, 115 kV / 22 kV เลือกใชCT ดาน 115 kV และ 22 kV ที่มีอัตราสวนเปน 200/5 A และ 1045/5 A ตามลําดับ เมื่อนําเอา Differential Relay GEC

Id /< K1 ถูกตั้งไวที่ 50% , K2 = K3 = K4 = 20% มาใชปองกันหมอแปลงดังกลาว เมื่อเกิด Fault นอกเขตปองกันหลัง CT ดาน 22 kV ดวยกระ แสขนาด 5,225 A ใหคํานวณหา Id และ

100 Id/I2 มีคาเปนเทาใด

คําตอบ 1 : 0 A และ 0 A

คําตอบ 2 : 5 A และ 5 A

คําตอบ 3 : 10 A และ 10 A

คําตอบ 4 : 15 A และ 15 A

ขอที่ : 351

หมอแปลงกําลังหนึ่งเฟสขนาด 23 MVA, 115 kV / 22 kV เลือกใช CT ดาน 115 kV และ 22 kV ที่มีอัตราสวนเปน 200/5 A และ 1045/5 A ตามลําดับ เมื่อนําเอา Differential Relay GEC

Id / < K1 ถูกตั้งไวที่ 50 % , K2 = K3 = K4 = 20 % มาใชปองกันหมอแปลงดังกลาว ถาเกิด Fault ภายในโซนดาน 22 kV ดวยกระแสขนาด 1,045 A ใหคํานวณหา Id และรีเลยดังกลาว

จะทํางานหรือไม

คําตอบ 1 : Id = 0 A , รีเลยไมทํางาน

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

87 of 156

Page 88: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : Id = 2.5 A , รีเลยไมทํางาน

คําตอบ 3 : Id = 5 A , รีเลยทํางาน

คําตอบ 4 : Id = 2.5 A , รีเลยทํางาน

ขอที่ : 352

หมอแปลงกําลังหนึ่งเฟสขนาด 23 MVA, 115 kV / 22 kV เลือกใช CT ดาน 115 kV และ 22 kV ที่มีอัตราสวนเปน 200/5 A และ 1045/5 A ตามลําดับ เมื่อนําเอา Differential Relay GEC

Id / < K1 ถูกตั้งไวที่ 50 % , K2 = K3 = K4 = 20 % มาใชปองกันหมอแปลงดังกลาว ถาเกิด Fault ภายในโซนดาน 115 kV ดวยกระแสขนาด 150 A ใหคํานวณหา Id และรีเลยดังกลาว

จะทํางานหรือไม

คําตอบ 1 : Id = 0 A , รีเลยไมทํางาน

คําตอบ 2 : Id = 2.5 A , รีเลยทํางาน

คําตอบ 3 : Id = 5 A , รีเลยทํางาน

คําตอบ 4 : Id = 3.75 A , รีเลยทํางาน

ขอที่ : 353

ฟอลต (Faults) ชนิดใดเกิดขึ้นกับบัสไดมากที่สุด

คําตอบ 1 : สายตอลงดินถูกตอคางไว

คําตอบ 2 : การเกิดวาบไฟตามผิว

คําตอบ 3 : ความผิดพลาดของเซอรกิตเบรกเกอร

คําตอบ 4 : Disconnecting Switch เปดวงจรขณะมีโหลด

ขอที่ : 354

รูปแบบการปองกันบัสที่สําคัญไดแก

คําตอบ 1 : การปองกันแบบใชกระแสผลตาง

คําตอบ 2 : การปองกันแบบโครงสรางรองรับกับดิน

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

88 of 156

Page 89: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : การปองกันแบบเปรียบเทียบเทียบมุมเฟส

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 355

ลักษณะการจัดเรียงบัส (Bus) แบบใดตอไปนี้ ที่มีความยืดหยุนในการทํางานสูงสุด

คําตอบ 1 : Two Bus One Breaker (Main and Transfer Bus)

คําตอบ 2 : Ring Bus

คําตอบ 3 : Two Bus Two Breaker

คําตอบ 4 : Single Bus Single Breaker

ขอที่ : 356

เหตุใดจึงตองมีการปองกันบัส (Bus)

คําตอบ 1 : เพราะบัสจัดเปนจุดเชื่อมตอที่สําคัญในระบบสงจายกําลังไฟฟา

คําตอบ 2 : เพราะหากเกิด Fault ขึ้นที่บัสเมื่อใดแลว จะทําใหอุปกรณตางๆ ที่ตออยูไมมีไฟ สรางความเสียหายตอระบบไฟฟา

คําตอบ 3 : เพราะหากเกิด Fault ขึ้นที่บัสเมื่อใดแลว ขนาดกําลังของ Fault สูงมาก จะกอใหเกิดความเสียหายกับบริภัณทไฟฟาจํานวนมาก

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 357

หลักการปองกันรูปแบบใดตอไปนี้ ที่ไมนํามาใชเพื่อการปองกันบัส

คําตอบ 1 : การปองกันแบบเปรียบเทียบขนาด

คําตอบ 2 : การปองกันแบบใชคาผลตาง

คําตอบ 3 : การปองกันแบบเปรียบเทียบทิศทาง

คําตอบ 4 : การปองกันแบบใชระยะทาง

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

89 of 156

Page 90: Coe_power electronic

ขอที่ : 358

รีเลยชนิดใดตอไปนี้ ไมสามารถนํามาใชปองกันบัสได

คําตอบ 1 : Differential Relay (87)

คําตอบ 2 : Overvoltage Relay (59)

คําตอบ 3 : Field Relay (40)

คําตอบ 4 : Time Overcurrent Relay (51)

ขอที่ : 359

ขอเสียของการปองกันบัสแบบใชผลตางของกระแส (Current Differential Protection) คือ

คําตอบ 1 : เมื่อเกิดลัดวงจรนอกเขตปองกันโดยมีกระแสคาสูงๆ อาจทําใหรีเลยทํางานผิดพลาด เนื่องจากการอิ่มตัวของ CT บางตัวในวงจรปองกัน

คําตอบ 2 : เมื่อเกิดลัดวงจรนอกเขตปองกัน CT ทุกตัวในวงจรปองกันจะมีกระแสดานทุติยภูมิเปนศูนย

คําตอบ 3 : เมื่อเกิดลัดวงจรภายในเขตปองกัน CT ทุกตัวในวงจรปองกันจะมีกระแสดานทุติยภูมิเปนศูนย

คําตอบ 4 : เมื่อเกิดลัดวงจรภายในเขตปองกันโดยมีกระแสคาต่ําๆ อาจทําใหรีเลยทํางานผิดพลาด เนื่องจากการอิ่มตัวของ CT บางตัวในวงจรปองกัน

ขอที่ : 360

จากรูปขางลางนี้ เปนการปองกันบัส (Bus) โดยใชรีเลยแบบ

คําตอบ 1 : Overcurrent Relay

คําตอบ 2 : Percentage Differential Relay

คําตอบ 3 : Linear Coupler

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

90 of 156

Page 91: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : High Impedance Relay

ขอที่ : 361

การปรับตั้งคาเพื่อปองกันฟลักซสูงเกินไป (Overfluxing Protection) ในหมอแปลงไฟฟาขนาดใหญ โดยใชอัตราสวน E/f ควรมีคาประมาณเทาใดจึงจะเหมาะสม

คําตอบ 1 : 0.8

คําตอบ 2 : 1.0

คําตอบ 3 : 1.1

คําตอบ 4 : 1.5

ขอที่ : 362

หมอแปลงไฟฟาที่ติดตั้งใชงานในลักษณะใดตอไปนี้ จําเปนตองมีการปองกันฟลักซสูงเกินไป (Overfluxing Protection)

คําตอบ 1 : หมอแปลงในระบบจําหนายทั่วไป

คําตอบ 2 : หมอแปลงปรับลดแรงดันในสถานีไฟฟาแรงสูงทั่วไป

คําตอบ 3 : หมอแปลงแบบใชฉนวนแหงทั่วไป

คําตอบ 4 : หมอแปลง Step up ที่ติดอยูกับชุดเครื่องกําเนิดไฟฟาในโรงปนไฟฟาทั่วไป

ขอที่ : 363

การปองกันแรงดันเกินเสิรจฟาผาในขดลวดแรงสูงของหมอแปลงในระบบสงจายกําลังไฟฟา สามารถปองกันไดดวยอุปกรณใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : Circuit Breaker

คําตอบ 2 : Overvoltage Relay

คําตอบ 3 : Lightning Arrester

คําตอบ 4 : Overcurrent Relay

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

91 of 156

Page 92: Coe_power electronic

ขอที่ : 364

หมอแปลงไฟฟาที่มีขดลวดตอ แบบ Wye - Delta หรือ แบบ Delta - Wye จะมีเฟสของกระแสตางกันกี่องศา

คําตอบ 1 : 15 องศา

คําตอบ 2 : 30 องศา

คําตอบ 3 : 60 องศา

คําตอบ 4 : 0 องศา

ขอที่ : 365

Incipient Fault ในหมอแปลงไฟฟา หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : External Fault

คําตอบ 2 : Winding Earth Fault

คําตอบ 3 : Core Fault

คําตอบ 4 : Unbalanced Fault

ขอที่ : 366

Circulating Current Protection จัดเปนการปองกันรูปแบบใด

คําตอบ 1 : Overcurrent Protection

คําตอบ 2 : Directional Overcurrent Protection

คําตอบ 3 : Restricted Earth Fault Protection

คําตอบ 4 : Differential Protection

ขอที่ : 367

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

92 of 156

Page 93: Coe_power electronic

สาเหตุสําคัญที่ทําใหการฉนวนของขดลวดดานแรงต่ําของหมอแปลงไฟฟาในระบบจําหนายเกิดชํารุดเสียหายจนนําไปสูการลัดวงจรตามมา คือ

คําตอบ 1 : เกิดลัดวงจรภายนอกอยางรุนแรง ทําใหมีแรงเคนทางกลสูงกระทําตอขดลวดหมอแปลงจนฉนวนเกิดชํารุดเสียหาย

คําตอบ 2 : เกิดจากแรงดัน Power Frequency Over-voltage ทําใหฉนวนเสื่อมสภาพและชํารุดเสียหายในที่สุด

คําตอบ 3 : ฉนวนน้ํามันมีความชื้นเขาไปปนอยู เปนสาเหตุทําใหการฉนวนของหมอแปลงเสื่อมคุณภาพลง และนําไปสูการเกิดเบรกดาวนไดในที่สุด

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 368

ขอใดกลาวถึงลักษณะสมบัติการเกิดลัดวงจรของหมอแปลงผิดไปจากความเปนจริง

คําตอบ 1 : หมอแปลงที่ตอแบบ Y ซึ่งมีจุดศูนยตอลงดินผานอิมพีแดนซ คากระแสลัดวงจรจะขึ้นอยูกับคาอิมพีแดนซที่ตอลงดิน และระยะหางจากจุดที่เกิด Fault กับจุดศูนย

คําตอบ 2 : หมอแปลงที่ตอแบบ Y ซึ่งมีจุดศูนยตอลงดินโดยตรง คากระแสลัดวงจรจะถูกจํากัดโดย Leakage Reactance ของตัวหมอแปลงเองโดยตรง

คําตอบ 3 : หมอแปลงที่ตอแบบ Y ซึ่งมีจุดศูนยตอลงดินผานอิมพีแดนซ คากระแส Primary ที่ไหลผานขั้วของหมอแปลงจะขึ้นอยูอัตราสวนอิมพีแดนซของหมอแปลงยกกําลังสอง

คําตอบ 4 : หมอแปลงที่ตอแบบ Delta คากระแสลัดวงจรจะมีการเปลี่ยนแปลงไมมากเทากับกรณีที่หมอแปลงตอแบบ Y

ขอที่ : 369

ฟอลตที่แกนเหล็ก (Core Fault) เปนฟอลตชนิดหนื่งที่อาจเกิดขึ้นภายในหมอแปลงไฟฟาได ในทางปฏิบัติสามารถใชรีเลยชนิดใดตรวจจับเหตุผิดปกติจากกรณีนี้ได

คําตอบ 1 : Time Delay Overcurrent Relay

คําตอบ 2 : Transformer Thermal Relay

คําตอบ 3 : Volts-Per-Hertz Relay

คําตอบ 4 : Pressure Switch or Buchholz Relay

ขอที่ : 370

เหตุการณฟลักซสูงเกิน (Overfluxing) อาจเกิดขึ้นไดในหมอแปลงไฟฟาที่ใชงานกับชุดเครื่องกําเนิดไฟฟาในโรงปนไฟฟาทั่วไป ทางปฏิบัติเราสามารถใชรีเลยชนิดใดตรวจจับเหตุผิด

ปกติจากกรณีนี้ได

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

93 of 156

Page 94: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : Time Delay Overcurrent Relay

คําตอบ 2 : Transformer Thermal Relay

คําตอบ 3 : Volts-Per-Hertz Relay

คําตอบ 4 : Pressure Switch or Buchholz Relay

ขอที่ : 371

Magnetizing Inrush Current อาจมีผลกระทบทําใหรีเลยที่ใชปองกันหมอแปลงทํางานผิดพลาดเกินความจําเปน ในทางปฏิบัติเราสามารถแกปญหานี้ไดดวยวิธีการใด

คําตอบ 1 : ใช Buchholz Relay

คําตอบ 2 : ใช Restricted Earth Fault Relay

คําตอบ 3 : ใชวิธี Harmonics Restraint

คําตอบ 4 : ใช High Impedance Relay

ขอที่ : 372

คํากลาวในขอใดถูกตองเกี่ยวกับการปองกันหมอแปลงไฟฟาโดยใชหลักการ Differential Protection

คําตอบ 1 : ถาขดลวดของหมอแปลงกําลัง ตอแบบ Star ดานนั้นควรตอ CT แบบ Delta เพื่อชดเชย Phase Shift เมื่อหมอแปลงกําลังมีขดลวดทั้ง 2 ดานตอไมเหมือนกัน

คําตอบ 2 : ถาขดลวดของหมอแปลงกําลัง ตอแบบ Delta ดานนั้นควรตอ CT แบบ Delta เพื่อชดเชย Phase Shift เมื่อหมอแปลงกําลังมีขดลวดทั้ง 2 ดานตอไมเหมือนกัน

คําตอบ 3 : ในการตอ CT เพื่อปองกันหมอแปลงกําลังไมตองพิจารณาขั้ว (Polarity) ของ CT

คําตอบ 4 : กรณีหมอแปลงกําลังที่มีการเปลี่ยนแท็ป (Tab)ได ไมควรใชรีเลยแบบวัดคาผลตางเปนเปอรเซ็นต ในการปองกัน

ขอที่ : 373

หมอแปลงไฟฟาลูกหนึ่งถูกปองกันดวย Biased (Percentage) Differential Relay มีกระแสไหลเขารีเลยในกรณี Through Fault เปนดังนี้ Operating Current = 0.30 A, Restraining

Current = 5.05 A ถาเราตั้งคา Pick Up Current ของรีเลยเปน 0.05 A จะตองตั้ง Biased ไวที่กี่ % รีเลยจึงจะไมทํางานผิดพลาดในกรณี Through Fault

คําตอบ 1 : 4 %

คําตอบ 2 : 5 %

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

94 of 156

Page 95: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : 6 %

คําตอบ 4 : 7 %

ขอที่ : 374

หมอแปลงสําหรับระบบสงกําลังไฟฟามีขนาด 300 MVA, 132 kV Delta / 33 kV Delta กําหนดให CT ดาน 132 kV ตอเปนแบบ Wye และมีอัตราสวน 750/5 และ CT ดาน 33 kV ตอ

เปนแบบ Wye เพื่อตอเขากับ Differential Relay คาอัตราการทดกระแสของ CT ดาน 33 kV ควรมีคาโดยประมาณเปนเทาใดจึงจะเหมาะสม

คําตอบ 1 : 1310/5 A

คําตอบ 2 : 3030/5 A

คําตอบ 3 : 4540/5 A

คําตอบ 4 : 5240/5 A

ขอที่ : 375

ขนาดของ Inrush Current ในหมอแปลงไฟฟา ไมเกี่ยวของกับแฟกเตอรใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : การตอลงดินของหมอแปลง

คําตอบ 2 : ขนาดของระบบไฟฟา

คําตอบ 3 : Phase Angle ของแรงดันขณะทํา Switching

คําตอบ 4 : ชนิดของสารแมเหล็กที่ใชทําแกนหมอแปลง

ขอที่ : 376

หมอแปลงไฟฟา 3 เฟส ขนาดพิกัด 30 MVA, 24 kV / 6.6 kV, Delta–Wye Connected หมอแปลงนี้มีการปองกันโดยใชรีเลยผลตางกระแสแบบไฟฟากล และมีการเพิ่มหมอแปลงทด

กระแสชนิดปรับแกไขทั้งขนาดและมุมเฟส (Interposing CT) เขามาดวย ใหคํานวณหาอัตราการทดกระแสของ Line CT ที่เหมาะสม พรอมทั้งระบุวิธีการตอเขาสายของ Line CT ที่ถูก

ตอง

คําตอบ 1 : HV side ใช CT Ratio 800 / 5 A ตอแบบ Wye ; LV side ใช CT Ratio 3000 / 5 A ตอแบบ Delta

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

95 of 156

Page 96: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : HV side ใช CT Ratio 600 / 5 A ตอแบบ Wye ; LV side ใช CT Ratio 4000 / 5 A ตอแบบ Delta

คําตอบ 3 : HV side ใช CT Ratio 1000 / 5 A ตอแบบ Delta ; LV side ใช CT Ratio 4000 / 5 A ตอแบบ Wye

คําตอบ 4 : HV side ใช CT Ratio 600 / 5 A ตอแบบ Delta ; LV side ใช CT Ratio 2000 / 5 A ตอแบบ Wye

ขอที่ : 377

หมอแปลงไฟฟากําลังตอแบบ Delta-Wye, 33 kV / 132 kV แหลงกําเนิดไฟฟาตออยูทางดาน Delta เกิดลัดวงจรที่ขั้วของเฟส C ลงดินดาน Wye โดยกระแสมีขนาด 1,000 A ขนาด

ของกระแสที่ไหลในสายสงดาน Delta มีคาเปนเทาใด

คําตอบ 1 : Ia = 0 A, Ib = 0 A, Ic = 4000 A

คําตอบ 2 : Ia = 0 A, Ib = 4000 A, Ic = 4000 A

คําตอบ 3 : Ia = 4000/1.732 A, Ib = 4000 A, Ic = 4000/1.732 A

คําตอบ 4 : Ia = 4000/1.732 A, Ib = 0 A, Ic = 4000/1.732 A

ขอที่ : 378

เพื่อใหงาย สมมติวาเปนหมอแปลงไฟฟา 1 เฟส ขนาด 5 MVA ที่มี ON-LOAD TAP CHANGE ติดตั้งอยูดานปฐมภูมิ แรงดันดานปฐมภูมิเปน 100 kV ดานทุติยภูมิมีแรงดันออก 40 kV

เมื่อปรับ TAP ของหมอแปลงมาที่ 95% จงหาแรงดันดานทุติยภูมิมีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 42 kV

คําตอบ 2 : 40 kV

คําตอบ 3 : 38 kV

คําตอบ 4 : 36 kV

ขอที่ : 379

เพื่อใหงาย สมมติวาเปนหมอแปลงไฟฟา 1 เฟส ที่มี ON-LOAD TAP CHANGE ติดตั้งอยูดานปฐมภูมิ กระแสพิกัดดานปฐมภูมิเปน 50 A ดานทุติยภูมิเปน 125 A เมื่อปรับ TAP ของ

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

96 of 156

Page 97: Coe_power electronic

หมอแปลงมาที่ 104% จงหากระแสดานปฐมภูมิ เมื่อดานทุติยภูมิยังจายกระแสที่ 125 A เหมือนเดิม

คําตอบ 1 : 49.5 A

คําตอบ 2 : 49 A

คําตอบ 3 : 48.5 A

คําตอบ 4 : 48 A

ขอที่ : 380

หมอแปลงไฟฟาตอแบบ Delta-Wye, 33 kV / 132 kV แหลงกําเนิดไฟฟาตออยูทางดาน Wye เกิดลัดวงจร 3 เฟส โดยกระแสที่ไหลในสายสงดาน Wye มีขนาด 500 A จงหากระแสที่

ไหลในสาย Pilot จาก CT ทางดาน Wye ไปเขารีเลยโดยประมาณ เมื่อ CT Ratio = 200 / 5 A ทุกตัว

คําตอบ 1 : 12.5 A

คําตอบ 2 : 17.5 A

คําตอบ 3 : 21.5 A

คําตอบ 4 : 26.5 A

ขอที่ : 381

เพื่อใหงาย สมมติวาเปนหมอแปลงไฟฟา 1 เฟส ขนาดพิกัด 10 MVA แรงดันดานปฐมภูมิเปน110 kV ดานทุติยภูมิมีแรงดันออก 33 kV หมอแปลงนี้ปองกันดวย Differential Relay โดย

CT ดานแรงสูงมีอัตราสวน 100/5 A และ CT ดานแรงต่ํามีอัตราสวน 300/5 A จงหา Mismatch (Spill) Current ที่จะไหลมาเขารีเลย

คําตอบ 1 : 0 A

คําตอบ 2 : 0.5 A

คําตอบ 3 : 4.54 A

คําตอบ 4 : 5.05 A

ขอที่ : 382

หมอแปลงในสถานีไฟฟาของการไฟฟาสวนภูมิภาคลูกหนึ่ง มีขนาดพิกัดกําลัง 50 MVA พิกัดแรงดัน 115 kV / 22 kV มีกลุมเวกเตอรของการตอขดลวดแบบ Dyn1 ไดรับการปองกัน

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

97 of 156

Page 98: Coe_power electronic

โดยใชรีเลยผลตางผลิตภัณฑของ Alstom รุน MBCH หมอแปลงทดกระแส (CT) ที่ใชมีคาอัตราการทดกระแส 300/5 A และ 1500/5 A ตามลําดับ Interposing CT ควรมีคาอัตราการทด

กระแสและกลุมเวกเตอรของขดลวดตามเงื่อนไขในขอใด

คําตอบ 1 : 5/5.27 และ Yd1

คําตอบ 2 : 5/2.76 และ Yd1

คําตอบ 3 : 5/5.27 และ Yd11

คําตอบ 4 : 5/2.76 และ Yd11

ขอที่ : 383

หมอแปลงไฟฟา 3 เฟส ขนาดพิกัด 50 MVA, 115 kV / 24 kV, Wye–Delta Connected มีคา short term emergency 120% ของพิกัด ถาตองการปองกันหมอแปลงนี้โดยใชรีเลยผลตาง

กระแสแบบไฟฟากล ใหคํานวณอัตราการทดกระแสของ Line CT ที่เหมาะสม พรอมทั้งลักษณะการตอ Line CT ที่ถูกตอง

คําตอบ 1 : HV side ใช CT Ratio 300 / 5 A ตอแบบ Wye ; MV side ใช CT Ratio 1200 / 5 A ตอแบบ Delta

คําตอบ 2 : HV side ใช CT Ratio 600 / 5 A ตอแบบ Delta ; MV side ใช CT Ratio 3000 / 5 A ตอแบบ Wye

คําตอบ 3 : HV side ใช CT Ratio 500 / 5 A ตอแบบ Wye ; MV side ใช CT Ratio 1500 / 5 A ตอแบบ Delta

คําตอบ 4 : HV side ใช CT Ratio 300 / 5 A ตอแบบ Delta ; MV side ใช CT Ratio 1500 / 5 A ตอแบบ Wye

ขอที่ : 384

หมอแปลงไฟฟาตอแบบ Wye – Delta มีอัตราสวนการแปลงแรงดันเปน 100 kV / 10 kV และดานแรงสูงมีการเปลี่ยนแท็ปได +/- 10% จงคํานวณคา setting ของรีเลยผลตางกระแสคิด

เปนเปอรเซ็นต (Percentage Differential Relay) โดยสมมติวา CT ดานแรงต่ํามีอัตราการทดกระแสเปน 1000/1 A

คําตอบ 1 : เลือกคา setting ที่ 10%

คําตอบ 2 : เลือกคา setting ที่ 15%

คําตอบ 3 :

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

98 of 156

Page 99: Coe_power electronic

เลือกคา setting ที่ 20%

คําตอบ 4 : เลือกคา setting ที่ 30%

ขอที่ : 385

หมอแปลงไฟฟาตอแบบ Delta-Wye, 33 kV / 132 kV แหลงกําเนิดไฟฟาตออยูทางดาน Delta เกิดลัดวงจรที่กึ่งกลางของขดลวดเฟส B ลงดิน ดานที่ตอแบบ Wye โดยกระแสมีขนาด

1,000 A จงหาขนาดของกระแสที่ไหลในสายสงดาน Delta

คําตอบ 1 : Ia = 0 A, Ib = 4000/1.732 A, Ic = 4000/1.732 A

คําตอบ 2 : Ia = 0 A, Ib = 4000/1.732 A, Ic = 0 A

คําตอบ 3 : Ia = 0 A, Ib = 2000/1.732 A, Ic = 2000/1.732 A

คําตอบ 4 : Ia = 0 A, Ib = 2000/1.732 A, Ic = 0 A

ขอที่ : 386

หมอแปลงไฟฟาตอแบบ Delta-Wye, 33 kV / 132 kV แหลงกําเนิดไฟฟาตออยูทางดาน Delta เกิดลัดวงจรที่ขั้วของเฟส A ลงดิน ดานที่ตอแบบ Wye โดยกระแสมีขนาด 1,000 A จงหา

ขนาดของกระแสที่จายออกจากขดทุติยภูมิของ CT ดานที่ตอแบบ Delta เมื่อ CT Ratio = 100 / 5 A ทุกตัว

คําตอบ 1 : Ia = 200 x 1.732 A, Ib = 200 x 1.732 A, Ic = 0 A

คําตอบ 2 : Ia = 200 A, Ib = 200 A, Ic = 0 A

คําตอบ 3 : Ia = 200/1.732 A, Ib = 200/1.732 A, Ic = 0 A

คําตอบ 4 : Ia = 0 A, Ib = 200 A, Ic = 200 A

ขอที่ : 387

หมอแปลงไฟฟาตอแบบ Delta-Wye, 33 kV / 132 kV แหลงกําเนิดไฟฟาตออยูทางดาน Delta เกิดลัดวงจรระหวางเฟส A กับเฟส B ดานที่ตอแบบ Wye โดยมีกระแสไหล 500 A จง

หากระแสที่ไหลในสาย Pilot จาก CT ทางดานวายไปเขารีเลย เมื่อ CT Ratio = 100 / 5 A ทุกตัว

คําตอบ 1 : Ia = 50 A, Ib = 25 A, Ic = 25 A

คําตอบ 2 : Ia = 50 A, Ib = 25 A, Ic = 0 A

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

99 of 156

Page 100: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : Ia = 25 A, Ib = 25 A, Ic = 50 A

คําตอบ 4 : Ia = 25 x 1.732 A, Ib = 25 x 1.732 A, Ic = 50 x 1.732 A

ขอที่ : 388

Loss of Excitation ในเครื่องกําเนิดไฟฟา หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : การสูญเสียพลังงานในสนามแมเหล็กกระตุนในขด Field Winding ของเครื่องกําเนิดไฟฟา

คําตอบ 2 : คาความสูญเสียที่เกิดขึ้นในขด Field Winding ของเครื่องกําเนิดไฟฟา

คําตอบ 3 : การสูญเสียสนามแมเหล็กกระตุนในเครื่องกําเนิดไฟฟา

คําตอบ 4 : คาความความตานทานในขด Field Winding ของเครื่องกําเนิดไฟฟา

ขอที่ : 389

ความผิดปกติแบบใด ไมเกี่ยวของกับระบบปองกันขดลวดสเตเตอร (Stator) ของเครื่องกําเนิดไฟฟา

คําตอบ 1 : Ground fault

คําตอบ 2 : Unbalanced fault

คําตอบ 3 : Over-voltage

คําตอบ 4 : Over-speed

ขอที่ : 390

การปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟาที่สําคัญไดแก

คําตอบ 1 : การปองกันขดลวดสเตเตอร

คําตอบ 2 : การปองกันเมื่อความถี่สูงหรือต่ําเกินไป

คําตอบ 3 : การปองกันการสูญเสียสนามแมเหล็กกระตุน

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

100 of 156

Page 101: Coe_power electronic

ขอที่ : 391

Solidly Earthed หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : การตอลงดินโดยตรง

คําตอบ 2 : การตอลงดินโดยผานคาอิมพีแดนซที่มีคาสูงมากๆ

คําตอบ 3 : การตอลงดินในสถานที่ที่มีสภาพเปนหินกรวด เชน ภูเขา เปนตน

คําตอบ 4 : การตอลงดินของอาคารที่มีพื้นเปนคอนกรีต

ขอที่ : 392

ขอใดไมใชสาเหตุของการเกิด Overheating ในเครื่องกําเนิดไฟฟา

คําตอบ 1 : Overload

คําตอบ 2 : Failure of Cooling System

คําตอบ 3 : Shorted laminations in the Stator Iron

คําตอบ 4 : Over-excitation

ขอที่ : 393

รีเลยในขอใดตอไปนี้ไมจําเปนตองใชในการปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟา

คําตอบ 1 : Differential Protection Relay (87) และ Time Overcurrent Relay (51)

คําตอบ 2 : Field Relay (40) และ Directional Power Relay (32)

คําตอบ 3 : Phase-Balance Current Relay (46) และ Temperature Relay (49)

คําตอบ 4 : Buchholz Relay (63) และ Distance Relay (21)

ขอที่ : 394

คํากลาวในขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับการปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟา

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

101 of 156

Page 102: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : เมื่อเกิดลัดวงจรภายนอกเขตปองกันไมจําเปนตองปลดเครื่องกําเนิดไฟฟาออกจากระบบถึงแมวากระแสลัดวงจรจะสูงมากก็ตาม

คําตอบ 2 : การปองกันแบบ Differential Protection สามารถใชปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟาได

คําตอบ 3 : การปองกันสภาวะสูญเสียสนามกระตุน (Loss of Excitation Protection) ในเครื่องกําเนิดไฟฟา คือ การปองกันสภาวะสูญเสียซิงโครนิสซึม ทําใหเครื่องกําเนิดไฟฟามี

ความเร็วเกินพิกัด

คําตอบ 4 : Undervoltage Relay ใชปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟามีแรงดันต่ําเกินจนทําใหโรเตอรมีเสียงคราง และทําใหเกิดสิ่งผิดปกติอื่นๆ ตามมา

ขอที่ : 395

กรณีที่เครื่องกําเนิดไฟฟาตอลงดินจากจุดนิวตรอลผานตัวตานทานทําใหการปองกันโดยใช Differential Relay จะมีขดลวดบางสวนไมสามารถปองกันไดเมื่อเกิดลัดวงจรลงดิน ปญหา

นี้จะมีวิธีการแกไขไดอยางไร

คําตอบ 1 : ใช Time Overcurrent Relay

คําตอบ 2 : ใช Ground Relay

คําตอบ 3 : ใช Mho Relay

คําตอบ 4 : ใชการตอหมอแปลงเพื่อหา Negative Phase Sequence

ขอที่ : 396

ขอใดคือวิธีการตอลงดินของเครื่องกําเนิดไฟฟา (Generator Earthing)

คําตอบ 1 : Direct Earthing or Solidly Grounded

คําตอบ 2 : Resistance Earthing

คําตอบ 3 : Distribution Transformer Earthing

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 397

การตอเครื่องกําเนิดไฟฟาเขาสูระบบแบบ Unit Connected หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : การตอเครื่องกําเนิดไฟฟาเขาสูระบบโดยตรง

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

102 of 156

Page 103: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : การตอเครื่องกําเนิดไฟฟาเขาสูระบบโดยผานหมอแปลง Step Up

คําตอบ 3 : การตอเครื่องกําเนิดไฟฟาเขาสูระบบแบบเปนกลุมหลายๆ เครื่องพรอมกัน

คําตอบ 4 : การตอเครื่องกําเนิดไฟฟาสํารองขนาดเล็กเขาสูระบบ

ขอที่ : 398

สภาวะปญหาใดตอไปนี้ ไมไดมีสาเหตุมาจากโหลดของเครื่องกําเนิดไฟฟาเพิ่มสูงขึ้น

คําตอบ 1 : Under Frequency

คําตอบ 2 : Over Voltage

คําตอบ 3 : High Current

คําตอบ 4 : Under Speed

ขอที่ : 399

ขอใดไมใชขอดีของการตอลงดินโดยตรง สําหรับเครื่องกําเนิดไฟฟา

คําตอบ 1 : กระแสฟอลตมีคาสูง ทําใหอุปกรณปองกันทํางานไดอยางรวดเร็ว

คําตอบ 2 : ไมมีปญหา transient over voltage ดังนั้นฉนวนของขดลวดสเตเตอรจืงมีความปลอดภัยมากขื้น

คําตอบ 3 : ระบบมีความปลอดภัยเนื่องจากอุปกรณไมเกิดความเสียหายจากกระแสฟอลต

คําตอบ 4 : คาขนาดของแรงดันในอีก 2 เฟสที่ไมไดเกิดฟอลตจะไมมีปญหาแรงดันสูงเกินปกติ

ขอที่ : 400

การตอลงดินโดยผาน Distribution Transformer สําหรับเครื่องกําเนิดไฟฟา มีขอดี คือ

คําตอบ 1 : ชวยใหรีเลยตรวจจับ Ground Fault ทํางานเร็วขึ้น

คําตอบ 2 : ใชหมอแปลงแทน Reactor เพื่อความประหยัดในการตอลงดิน

คําตอบ 3 :

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

103 of 156

Page 104: Coe_power electronic

เพื่อชดเชยกระแส 3rd Harmonics

คําตอบ 4 : ชวยลดขนาดของตัวตานทานที่ใชตอลงดิน ซึ่งชวยใหประหยัดคาใชจาย

ขอที่ : 401

จุดประสงคหลักของการตอลงดินโดยผานความตานทานคาสูง สําหรับเครื่องกําเนิดไฟฟา คือ

คําตอบ 1 : ชวยใหรีเลยไมตัดวงจรในทันที ถากระแสยังมีคาต่ําอยู

คําตอบ 2 : ชวยทําใหรีเลยตรวจจับฟอลตลงดินมีเสถียรภาพ

คําตอบ 3 : เพื่อวัดคาแรงดันที่ตกครอมความดานทานสูง ใหรีเลยแรงดันทํางาน

คําตอบ 4 : เพื่อลดขนาดของกระแสฟอลตใหต่ําลง ซึ่งจะชวยลดความเสียหายที่อาจเกิดจากการลัดวงจร และถารีเลยทํางานเร็วเพียงพอก็จะไมมีความเสียหายใดๆ เกิดขึ้นเลย

ขอที่ : 402

ความผิดปกติของเครื่องกําเนิดไฟฟาในขอใดตอไปนี้ ไมสามารถใชรีเลยตรวจจับและปองกันได

คําตอบ 1 : การเกิดสภาวะแรงดันต่ํากวาปกต ิ

คําตอบ 2 : การเกิดสภาวะโหลดไมสมดุล

คําตอบ 3 : การสั่น (Vibration) ของแกนโรเตอรขณะเริ่มเดินเครื่อง

คําตอบ 4 : การเกิดสภาวะความถี่สูงเกินไป

ขอที่ : 403

เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส สําหรับเขื่อน ขนาดพิกัด (NOR.) 90 MVA, 18 kV, 85% P.F. Lagging, 32 poles, 50 Hz จงหากระแสพิกัดมีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 5000 A

คําตอบ 2 : 2886.75 A

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

104 of 156

Page 105: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : 3207.5 A

คําตอบ 4 : 2598 A

ขอที่ : 404

การปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟาขนาดใหญ ถาตองการปองกัน Loss of Field Protection จะตองใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 46

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 40

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 87

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 32

ขอที่ : 405

การปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟาทั่วไป ถาตองการปองกัน Reverse Power Protection จะตองใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 46

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 40

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 87

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 32

ขอที่ : 406

การปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟาทั่วไป ถาตองการปองกันสภาวะจายกระแสโหลดไมสมดุล (Unbalance Current) จะตองใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 46

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 40

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 87

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 32

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

105 of 156

Page 106: Coe_power electronic

ขอที่ : 407

การปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟาทั่วไป ถาตองการปองกันสภาวะการจายแรงดันเกิน (Overvoltage) จะตองใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 59

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 27

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 64

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 81

ขอที่ : 408

การทํา Synchronization เครื่องกําเนิดไฟฟาเขาสูระบบ จะตองใชงานอุปกรณเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code เพื่อทําการ Synchronism Check และ Synchronizing ระบบ

คําตอบ 1 : ใชอุปกรณเบอร 10

คําตอบ 2 : ใชอุปกรณเบอร 25

คําตอบ 3 : ใชอุปกรณเบอร 43

คําตอบ 4 : ใชอุปกรณเบอร 79

ขอที่ : 409

การปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟาทั่วไป ถาตองการปองกันสภาวะการทํางานเปนมอเตอร (Anti-motoring) จะตองใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 46

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 40

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 87

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 32

ขอที่ : 410

การปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟา แบบ Sensitive Earth Fault Protection (51N) ทําไดอยางไร

คําตอบ 1 : ใช Sensitive Earth Fault Relay (51N) ตอผาน CT จํานวน 3 ชุด ตรวจวัดกระแสเกินเฟสของเครื่องกําเนิดไฟฟา

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

106 of 156

Page 107: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : ใช Sensitive Earth Fault Relay (51N) ตอผาน CT จํานวน 1 ชุด ตรวจวัดกระแสในสาย Neutral ที่ตอลงดินของเครื่องกําเนิดไฟฟา

คําตอบ 3 : ใช Sensitive Earth Fault Relay (51N) ตอผาน VT จํานวน 3 ชุด ตรวจวัดแรงดันที่ขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟา

คําตอบ 4 : ใช Sensitive Earth Fault Relay (51N) ตอผาน VT จํานวน 1 ชุด ตรวจวัดแรงดันที่จุด Neutral ตอลงดินของเครื่องกําเนิดไฟฟา

ขอที่ : 411

เมื่อขดลวด Field ของเครื่องกําเนิดไฟฟาเกิดลัดวงจรลงดินหนึ่งจุด จะทําใหเกิดปญหาอะไรขึ้น

คําตอบ 1 : สนามแมเหล็กไมสมดุล

คําตอบ 2 : ตัวโรเตอรเกิดการสั่น

คําตอบ 3 : ไมมีปญหาใดๆ ยังสามารถเดินเครื่องตอไปไดตามปกติ

คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 412

การปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟาทั่วไป ถาตองการปองกันสภาวะความถี่สูง/ต่ําเกิน (Over and Under Frequency) จะตองใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 27 และ 59 ตามลําดับ

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 50 และ 51 ตามลําดับ

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 81O และ 81U ตามลําดับ

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 24 และ 25 ตามลําดับ

ขอที่ : 413

รีเลยกระแสเกินที่เหมาะกับการใชทําหนาที่ปองกันสํารอง สําหรับเครื่องกําเนิดไฟฟาขนาดใหญ คือ

คําตอบ 1 : Inverse Time Overcurrent Relay

คําตอบ 2 : Instantaneous Time Overcurrent Relay

คําตอบ 3 : Voltage Restraint Overcurrent Relay

คําตอบ 4 : Negative Sequence Overcurrent Relay

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

107 of 156

Page 108: Coe_power electronic

ขอที่ : 414

เมื่อขดลวด Field ของเครื่องกําเนิดไฟฟาเกิดลัดวงจรลงดินพรอมกันสองจุด จะทําใหเกิดปญหาอะไรขึ้น

คําตอบ 1 : ไมมีปญหาใดๆ ยังสามารถเดินเครื่องตอไปได

คําตอบ 2 : ตัวโรเตอรเกิดการสั่น

คําตอบ 3 : แรงดันจายออกจะสูงขึ้น

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 415

เมื่อกระแสทั้ง 3 เฟส ที่จายออกมาจากเครื่องกําเนิดไฟฟาไมสมดุล จะเกิดเหตุการณใดตอไปนี้ตามมา

คําตอบ 1 : โรเตอรจะสั่นและแกวง

คําตอบ 2 : เกิดความรอนสูงขึ้นในโรเตอร

คําตอบ 3 : กําลังไฟฟาที่จายออกมาจะแกวง

คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 416

เมื่อเครื่องกําเนิดไฟฟาอยูในสถานะจายกําลังไฟฟาแบบ Underexcited คาพารามิเตอรที่เกี่ยวของกับเครื่องกําเนิดไฟฟาจะเปนไปตามเงื่อนไขใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : Vt < Eg คามุม power factor มีคาเปนลบ

คําตอบ 2 : Vt > Eg คามุม power factor มีคาเปนลบ

คําตอบ 3 : Vt < Eg คามุม power factor มีคาเปนบวก

คําตอบ 4 : Vt > Eg คามุม power factor มีคาเปนบวก

ขอที่ : 417

การปองกันแบบใดตอไปนี้ จัดเปน Back Up Protection สําหรับเครื่องกําเนิดไฟฟา

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

108 of 156

Page 109: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : Stator Earth Fault Protection

คําตอบ 2 : Loss of Excitation Protection

คําตอบ 3 : Prime Mover Failure Protection

คําตอบ 4 : Under and Over Voltage Protection

ขอที่ : 418

หลังจากเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัสสูญเสียสนามกระตุน (Loss of Excitation) จะไมทําใหเกิดผลที่ตามมาในลักษณะใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัสจะกลายเปน Induction Generator

คําตอบ 2 : เกิดความรอนสูงขึ้นที่ตัว Rotor

คําตอบ 3 : เครื่องกําเนิดไฟฟาจะหยุดหมุนอยางกะทันหัน

คําตอบ 4 : เครื่องกําเนิดไฟฟาไมสามารถจาย Reactive Power ได

ขอที่ : 419

ถาตองการปองกันลัดวงจรลงดินของขดลวดสเตเตอรในเครื่องกําเนิดไฟฟา ใหสามารถปองกันขดลวดไดครอบคลุม 100% ควรใชวิธีปองกันแบบใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : ใชวิธี Low Frequency Injection

คําตอบ 2 : ใชการปองกันแบบ Restricted Earth Fault Protection

คําตอบ 3 : ใชวิธี Sensitive Earth Fault Protection

คําตอบ 4 : ใชวิธี Potentiometer

ขอที่ : 420

เมื่อเครื่องกําเนิดไฟฟาในระบบสงจายกําลังไฟฟา เกิดสภาวะสูญเสียเสถียรภาพ (Unstable) เราสามารถตรวจสอบไดโดยใชรีเลยใดตอไปนี้

คําตอบ 1 :

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

109 of 156

Page 110: Coe_power electronic

Power Relay

คําตอบ 2 : Distance Relay

คําตอบ 3 : Overcurrent Relay

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 421

เราสามารถปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟาใหปลอดภัยจากสภาวการณเครื่องกําเนิดไฟฟาจายกระแสโหลดไมสมดุลไดโดยใชรีเลยใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : Overcurrent Relay

คําตอบ 2 : Overfrequency Relay

คําตอบ 3 : Negative Phase Sequence Current Filter รวมกับ Overcurrent Relay

คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 422

Reverse Power Relay ที่ติดตั้งอยูในวงจรปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟานั้น ใชเพื่อปองกันอุปกรณใด

คําตอบ 1 : ปองกันขดลวด Stator ของเครื่องกําเนิดไฟฟา

คําตอบ 2 : ปองกันขดลวด Stator ของเครื่องกําเนิดไฟฟา และ หมอแปลง

คําตอบ 3 : ปองกันเครื่องตนกําลัง (Prime Mover)

คําตอบ 4 : ปองกันขดลวดสนามกระตุนบน Rotor ของเครื่องกําเนิดไฟฟา

ขอที่ : 423

เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส ขนาดพิกัด 75 MVA, 13.8 kV มีคา X1 = X2 = 20% และคา X0 = 10% ถาเครื่องกําเนิดไฟฟานี้ตอลงดินโดยตรง จงหากระแสลัดวงจร เมื่อเกิด 3

Phase Fault ที่ขั้ว Terminal ของเครื่องกําเนิดไฟฟา

คําตอบ 1 : 5.435 kA

คําตอบ 2 : 27.174 kA

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

110 of 156

Page 111: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : 3.14 kA

คําตอบ 4 : 15.69 kA

ขอที่ : 424

เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส ขนาดพิกัด 75 MVA, 13.8 kV มีคา X1 = X2 = 20% และคา X0 = 10% ถาเครื่องกําเนิดไฟฟานี้ตอลงดินโดยตรง จงหากระแสลัดวงจร เมื่อเกิด

Single Line to Ground Fault ที่ขั้ว Terminal ของเครื่องกําเนิดไฟฟา

คําตอบ 1 : 3.14 kA

คําตอบ 2 : 6.276 kA

คําตอบ 3 : 18.827 kA

คําตอบ 4 : 32.61 kA

ขอที่ : 425

เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส ขนาดพิกัด 50 MVA, 11 kV ถาตองการจํากัดกระแสลัดวงจรลงดินของเครื่องกําเนิดไฟฟานี้ใหมีคาไมเกิน 200 A จะตองใชตัวความตานทานตอไว

ระหวางจุด Neutral และจุดตอลงดิน จงหาขนาดความตานทานที่ตองการ

คําตอบ 1 : 55 โอหม

คําตอบ 2 : 13.12 โอหม

คําตอบ 3 : 31.75 โอหม

คําตอบ 4 : 200 โอหม

ขอที่ : 426

เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส ขนาดพิกัด 75 MVA, 13.8 kV มีคา X1 = X2 = 20% และคา X0 = 10% ถาเครื่องกําเนิดไฟฟานี้ตอลงดินผานคาความตานทาน 30 โอหม จงหาขนาด

กระแสลัดวงจรลงดิน

คําตอบ 1 : 523 A

คําตอบ 2 : 265.6 A

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

111 of 156

Page 112: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : 460 A

คําตอบ 4 : 181.16 A

ขอที่ : 427

เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส ขนาดพิกัด 75 MVA, 13.8 kV ตอลงดินผานคาความตานทาน 30 โอหม ถาตองการปองกันขดลวดสเตเตอรลัดวงจรลงดินใหได 95% ของความยาว

ขดลวด โดยใช Sensitive Ground Fault Relay (51G) และใช CT 300/5 A จะตองตั้งคา setting ของรีเลยไวเทาใด

คําตอบ 1 : 0.22 A

คําตอบ 2 : 13.27 A

คําตอบ 3 : 23.0 A

คําตอบ 4 : 0.38 A

ขอที่ : 428

การปองกันขดลวดสเตเตอรของเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส โดยใชรีเลย 50N และ51N เรานิยมตั้งคาเซตติ้งดังตอไปนี้

คําตอบ 1 : 50N ตั้งคากระแสเริ่มทํางาน 10% ทํางานทันทีทันใด, 51N ตั้งคากระแสเริ่มทํางาน 10% ทํางานแบบเวลาผกผันโดยลําดับเวลาทํางานตามหลังรีเลยฟอลตลงดินปลายน้ํา

ที่อยูใกลเคียง

คําตอบ 2 : 50N ตั้งคากระแสเริ่มทํางาน 5% ทํางานทันทีทันใด, 51N ตั้งคากระแสเริ่มทํางาน 10% ทํางานแบบเวลาผกผันโดยลําดับเวลาทํางานตามหลังรีเลยฟอลตลงดินปลายน้ําที่

อยูใกลเคียง

คําตอบ 3 : 50N ตั้งคากระแสเริ่มทํางาน 10% ทํางานทันทีทันใด, 51N ตั้งคากระแสเริ่มทํางาน 5% ทํางานแบบเวลาผกผันโดยลําดับเวลาทํางานตามหลังรีเลยฟอลตลงดินปลายน้ําที่

อยูใกลเคียง

คําตอบ 4 : 50N ตั้งคากระแสเริ่มทํางาน 5% ทํางานทันทีทันใด, 51N ตั้งคากระแสเริ่มทํางาน 5% ทํางานแบบเวลาผกผันโดยลําดับเวลาทํางานตามหลังรีเลยฟอลตลงดินปลายน้ําที่

อยูใกลเคียง

ขอที่ : 429

เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส สําหรับโรงจักรไฟฟาพลังความรอนรวม ขนาดพิกัด 150 MVA, 18 kV, 50 Hz, 1500 rpm, มีคา Sub-transient Reactance = 12.5% คากระแสลัด

วงจรสูงสุดจะเปนกี่เทาของคากระแสพิกัด (In)

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

112 of 156

Page 113: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : 12.5 เทา

คําตอบ 2 : 10 เทา

คําตอบ 3 : 8 เทา

คําตอบ 4 : 4 เทา

ขอที่ : 430

เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส สําหรับเขื่อน ขนาดพิกัด (NOR.) 150 MVA, 18 kV, 0.9 p.f. lagging, 50 Hz, 150 rpm ถูกปองกันกระแสเกิน Overload ดวยรีเลย 51 โดยตอผาน CT

มีอัตราลดทอน 5000/1 A ถาตั้งคาไวที่ 110% ของกระแส Full Load คากระแสปรับตั้งที่รีเลยควรปรับไวเทาใด

คําตอบ 1 : 1.83 A

คําตอบ 2 : 1.06 A

คําตอบ 3 : 1.17 A

คําตอบ 4 : 1.50 A

ขอที่ : 431

เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส สําหรับโรงไฟฟา Gas turbine ขนาดพิกัด 300 MVA, 18 kV, 0.9 p.f. lagging, 50 Hz, 1500 rpm ถูกตอลงดินผาน Distribution Transformer แบบ 1

เฟส 25 kVA, 22 kV/220V มี Secondary Loading Resistor = 1.0 โอหม จงหาคา Grounding Resistance ของเครื่องกําเนิดไฟฟานี้ เมื่อเกิดลัดวงจรลงดิน

คําตอบ 1 : 10 โอหม

คําตอบ 2 : 100 โอหม

คําตอบ 3 : 1,000 โอหม

คําตอบ 4 : 10,000 โอหม

ขอที่ : 432

เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส 3 เฟส สําหรับโรงไฟฟา Gas turbine ขนาดพิกัด 300 MVA, 18 kV, 0.9 p.f. lagging, 50 Hz, 1500 rpm ถูกตอลงดินผาน Distribution Transformer แบบ 1

เฟส 25 kVA, 22 kV/220V มี Secondary Loading Resistor = 1.0 โอหม จงหากระแสลัดวงจรลงดินที่ขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟา มีคาเทาใด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

113 of 156

Page 114: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : 1.04 A

คําตอบ 2 : 10.4 A

คําตอบ 3 : 104.0 A

คําตอบ 4 : 9.62 A

ขอที่ : 433

เครื่องกําเนิดไฟฟาแบบ 3-phase ขนาดพิกัด 10 MVA, 11 kV จุดนิวตรอลตอลงดินผานตัวตานทานขนาด 5 โอหม สมมติวาใช Differential Relay เปนตัวปองกันขดลวดอารเมเจอรของ

เครื่องกําเนิดไฟฟา โดยตั้งคา Relay ใหเริ่มทํางานเมื่อเกิดกระแสไมสมดุล 25% จงคํานวณหาเปอรเซ็นตของขดลวดที่ไมสามารถปองกันได

คําตอบ 1 : 5.96 %

คําตอบ 2 : 17.89 %

คําตอบ 3 :

10.33 %

คําตอบ 4 : 20.60 %

ขอที่ : 434

เครื่องกําเนิดไฟฟาแบบ 3-phase ขนาดพิกัด 10 kV จุดนิวตรอลตอลงดินผานตัวตานทานขนาด 10 โอหม รีเลยถูกตั้งใหทํางานเมื่อเกิดกระแสไมสมดุล 1 แอมแปร โดยใชหมอ

แปลงกระแสที่มีอัตราการทดกระแส 1000/5 A ใหคํานวณหาเปอรเซ็นตของขดลวดอารเมเจอรของเครื่องกําเนิดไฟฟาที่รีเลยสามารถปองกันไดเมื่อเกิดลัดวงจรลงดิน

คําตอบ 1 : 20.0 %

คําตอบ 2 : 34.6 %

คําตอบ 3 : 80.0 %

คําตอบ 4 : 65.4 %

ขอที่ : 435

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

114 of 156

Page 115: Coe_power electronic

เครื่องกําเนิดไฟฟาแบบ 3-phase ขนาดพิกัด 10 kV จุดนิวตรอลตอลงดินผานตัวตานทาน รีเลยถูกตั้งใหทํางานเมื่อเกิดลัดวงจรลงดิน โดยใชหมอแปลงกระแสที่มีอัตราการทดกระแส

1000/5 A ถาตองการปองกันขดลวดอารเมเจอรใหได 90% ของความยาวขดลวด ขนาดตัวตานทานที่นํามาใชตอที่จุดนิวตรอลลงดิน ควรมีคากี่โอหม

คําตอบ 1 : 2.88 โอหม

คําตอบ 2 : 3.28 โอหม

คําตอบ 3 : 5.00 โอหม

คําตอบ 4 : 26.00 โอหม

ขอที่ : 436

การสื่อสารแบบใด ไมนิยมใชงานเปน Communication Channels ในระบบการปองกันแบบ Pilot Relaying

คําตอบ 1 : ระบบดาวเทียม

คําตอบ 2 : ระบบไมโครเวฟ

คําตอบ 3 : ระบบคลื่นวิทยุ

คําตอบ 4 : ระบบโทรศัพท

ขอที่ : 437

เครื่องกําเนิดไฟฟาแบบ 3-phase ขนาดพิกัด 5 MVA , 11 kV ถาตองการใหเปอรเซ็นตของขดลวดที่ถูกปองกันเมื่อเกิดลัดวงจรลงดินเปน 90 % โดยรีเลยถูกตั้งคาใหทํางานเมื่อเกิด

กระแสไมสมดุลที่ 25% Full Load จงคํานวณหาคาความตานทานที่ใชตอระหวาง Neutral ลงดิน มีคากี่โอหม

คําตอบ 1 : 5.6 โอหม

คําตอบ 2 : 9.7 โอหม

คําตอบ 3 : 16.8 โอหม

คําตอบ 4 : 87.1 โอหม

ขอที่ : 438

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

115 of 156

Page 116: Coe_power electronic

Pilot Communication Channels ที่ใชงานในระบบปองกันสายสงปจจุบันมีทั้งหมดกี่ชนิด

คําตอบ 1 : 2 ชนิด

คําตอบ 2 : 3 ชนิด

คําตอบ 3 : 4 ชนิด

คําตอบ 4 : 5 ชนิด

ขอที่ : 439

เครื่องกําเนิดไฟฟาแบบ 3-phase ขนาดพิกัด 18 kV จุดนิวตรอลตอลงดินผานตัวตานทานขนาด 20 โอหม รีเลยถูกตั้งใหทํางานเมื่อเกิดกระแสไมสมดุล 0.4 แอมแปร โดยใชหมอ

แปลงกระแสที่มีอัตราการทดกระแส 1000/5 A ใหคํานวณหาเปอรเซนตของขดลวดอารเมเจอรของเครื่องกําเนิดไฟฟาที่รีเลยสามารถปองกันไดเมื่อเกิดลัดวงจรลงดิน

คําตอบ 1 : 15.4 %

คําตอบ 2 : 84.6 %

คําตอบ 3 : 95.0 %

คําตอบ 4 : 82.0 %

ขอที่ : 440

การติดตั้งใชงานระบบ Power Line Carrier ( PLC ) ในทางปฏิบัติ สามารถทําไดกี่วิธี

คําตอบ 1 : 2 วิธี

คําตอบ 2 : 3 วิธี

คําตอบ 3 : 4 วิธี

คําตอบ 4 : 5 วิธี

ขอที่ : 441

Channel Operating Mode ที่มีใชงานในระบบปองกันแบบ Pilot Relaying มีทั้งหมดกี่แบบ

คําตอบ 1 : 2 แบบ

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

116 of 156

Page 117: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : 3 แบบ

คําตอบ 3 : 4 แบบ

คําตอบ 4 : 5 แบบ

ขอที่ : 442

ระบบการปองกันแบบใดตอไปนี้ จัดเปน Unit Protection

คําตอบ 1 : Pilot Differential Protection

คําตอบ 2 : Overcurrent and Earth Fault Protection

คําตอบ 3 : Transformer Protection

คําตอบ 4 : Busbar Protection

ขอที่ : 443

ขอใดกลาวถึงระบบ Pilot Protection ไดอยางถูกตองที่สุด

คําตอบ 1 : สามารถใชรวมกับการปองกันแบบ Differential Protection ได

คําตอบ 2 : สามารถใชในการปองกันสายสงได

คําตอบ 3 : ใชหลักการสื่อสารขอมูลทางไกลระหวางตนทางและปลายทางของสายสงที่ตองการปองกันรวมกับรีเลย

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 444

ชองทางการสื่อสารขอมูลระยะไกล (Communication Channel) ของการปองกันแบบ Pilot Protection ในขอใด ไมตองใชสายนําสัญญาณ

คําตอบ 1 : การสื่อสารโดยใชสายสงกําลัง (Power Line Carrier)

คําตอบ 2 : การสื่อสารโดยใชคลื่นไมโครเวฟ (Microwave)

คําตอบ 3 : การสื่อสารโดยใชใยแกวนําแสง (Fiber Optics)

คําตอบ 4 : การสื่อสารโดยใชสายโทรศัพท (Communication Cable)

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

117 of 156

Page 118: Coe_power electronic

ขอที่ : 445

คุณสมบัติของ Pilot – Wire Relay คือขอใด

คําตอบ 1 : ความเร็วของรีเลยจะแปรผันตรงกับระยะจากจุดที่เกิด Faults ถึงตําแหนงติดตั้งรีเลย

คําตอบ 2 : รีเลยจะสงสัญญาณเพื่อทริปเซอรกิตเบรกเกอรที่อยูปลายสายทั้ง 2 ดานทันที ไมวา Faults จะเกิดที่ตําแหนงใด บนสายสงในชวงที่ตองการปองกัน

คําตอบ 3 : รีเลยชนิดนี้เหมาะสําหรับการปองกันเฉพาะสายสงที่มีความยาวสายสงมากๆ (Long Line)

คําตอบ 4 : รีเลยชนิดนี้ไมสามารถใชปองกันระบบสายเคเบิลใตดิน (Underground Cable) ได

ขอที่ : 446

ประโยชนของระบบการปองกันแบบ Pilot Relaying คือ

คําตอบ 1 : เพิ่มความนาเชื่อถือ ( Reliability ) ของระบบปองกัน

คําตอบ 2 : เพิ่มความสามารถแยกแยะ ( Selectivity ) ของระบบปองกัน

คําตอบ 3 : เพิ่มความรวดเร็วในการทํางาน ( Speed ) ของระบบปองกัน

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 447

การเลือกใชวิธีการสื่อสารในระบบปองกันแบบ Pilot Relaying System ขึ้นอยูกับปจจัยใดบาง

คําตอบ 1 : พิจารณาจากราคาและความนาเชื่อถือเปนสําคัญ

คําตอบ 2 : พิจารณาจากจํานวน Terminals และระยะทางของสายสงเปนสําคัญ

คําตอบ 3 : พิจารณาจากจํานวนชองสัญญาณที่ตองการใชงานและความถี่ของสัญญาณเปนสําคัญ

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 448

ขอใดกลาวถึงคุณสมบัติของระบบ Fiber Optic Link ไดอยางถูกตองที่สุด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

118 of 156

Page 119: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : เปนระบบที่มีจํานวนชองสัญญาณในการสื่อสารมาก จึงเหมาะที่จะใชงานรวมกับระบบสื่อสารอื่นในสถานีไฟฟา

คําตอบ 2 : เปนระบบที่ไมมีผลกระทบจากสนามไฟฟาและสนามแมเหล็กรบกวน จึงมีความเชื่อถือไดสูง

คําตอบ 3 : เปนระบบที่ตองมีตัวแปลงรหัสสื่อสาร มีประสิทธิภาพสูง แตมีราคาถูกวาการสื่อสารแบบอื่น

คําตอบ 4 : ขอ ก และ ข ถูกตอง

ขอที่ : 449

ขอดีของระบบสื่อสารโดยใชคลื่นไมโครเวฟ ( Microwave ) ในการปองกันแบบ Pilot Protection คือ

คําตอบ 1 : มีความคลองตัวในการใชงาน สามารถนําไปประยุกตใชกับระบบการปองกันแบบอื่นได

คําตอบ 2 : มีความไวตอสัญญาณรบกวนจากภายนอก เชน จากฟาผา ทําใหการตรวจจับ Faults เปนไปอยางรวดเร็ว

คําตอบ 3 : สามารถสงสัญญาณควบคุมการทํางานของรีเลยระยะทางไดในชวงระยะทางที่ไกลๆ

คําตอบ 4 : ไมมีผลกระทบจากกระแส Faults ในระบบ จึงทําใหโอกาสที่รีเลยระยะทางทํางานผิดพลาดมีนอย

ขอที่ : 450

ขอดีของระบบสื่อสารดวย Fiber Optic Link ในระบบปองกันแบบ Pilot Protection คือ

คําตอบ 1 : มีชองสัญญาณสื่อสารจํานวนมาก

คําตอบ 2 : ไมมีผลกระทบจากการรบกวนทางแมเหล็กไฟฟา เมื่อเกิด Faults

คําตอบ 3 : มีความหลากหลายในการประยุกตใชงาน

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 451

ขอใดกลาวถึง Current Differential Protection ผิดไปจากความเปนจริง

คําตอบ 1 : สามารถตรวจสอบไดวาเปน Faults ชนิดใด

คําตอบ 2 : สามารถตรวจจับ High Resistance Faults ได

คําตอบ 3 : จัดเปน Unit Protection จึงไมมีปญหาเรื่อง Coordination

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

119 of 156

Page 120: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : ไมตองใช Voltage Transformer

ขอที่ : 452

รูปแบบใดตอไปนี้คือรูปแบบของระบบ Pilot Relaying

คําตอบ 1 : Permissive Overreaching Transfer Tripping

คําตอบ 2 : Current Differential Scheme

คําตอบ 3 : Zone Acceleration Scheme

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 453

Pilot Relaying Scheme รูปแบบใดตอไปนี้ ใช Tripping Function เปนแบบ Under-reach (RU)

คําตอบ 1 : Directional Comparison Blocking Scheme

คําตอบ 2 : Permissive Overreaching Transferred Trip ( POTT ) Scheme

คําตอบ 3 : Zone Acceleration Scheme

คําตอบ 4 : Current Difference Scheme

ขอที่ : 454

Pilot Relaying Scheme รูปแบบใดตอไปนี้ ใช Tripping Function เปนแบบ Over-reach (RO)

คําตอบ 1 : Direct Underreaching Transferred Trip ( DUTT ) Scheme

คําตอบ 2 : Permissive Overreaching Transferred Trip ( POTT ) Scheme

คําตอบ 3 : Zone Acceleration Scheme

คําตอบ 4 : Current Difference Scheme

ขอที่ : 455

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

120 of 156

Page 121: Coe_power electronic

Pilot Relaying Scheme รูปแบบใดตอไปนี้ ใช Tripping Function ทั้งแบบ Under-reach (RU) และ Over-reach (RO) ในระบบเดียวกัน

คําตอบ 1 : Direct Underreaching Transferred Trip ( DUTT ) Scheme

คําตอบ 2 : Directional Comparison Blocking Scheme

คําตอบ 3 : Permissive Overreaching Transferred Trip ( POTT ) Scheme

คําตอบ 4 : Permissive Underreaching Transferred Trip ( PUTT ) Scheme

ขอที่ : 456

Pilot Relaying Scheme รูปแบบใดตอไปนี้ มี Blocking Function ในตัวเอง

คําตอบ 1 : Direct Underreaching Transferred Trip ( DUTT ) Scheme

คําตอบ 2 : Directional Comparison Blocking Scheme

คําตอบ 3 : Permissive Overreaching Transferred Trip ( POTT ) Scheme

คําตอบ 4 : Permissive Underreaching Transferred Trip ( PUTT ) Scheme

ขอที่ : 457

Pilot Relaying Scheme รูปแบบใดตอไปนี้ ไมตองใช Communication Channels

คําตอบ 1 : Zone Acceleration Scheme

คําตอบ 2 : Zone 1 Extension Scheme

คําตอบ 3 : Permissive Overreaching Transferred Trip ( POTT ) Scheme

คําตอบ 4 : Permissive Underreaching Transferred Trip ( PUTT ) Scheme

ขอที่ : 458

Pilot Relaying Scheme รูปแบบใดตอไปนี้ เปน Scheme ที่ Insecure เพราะจะมีการ Trip Faults ที่เกิดขึ้นบนสายสงที่อยูภายนอก Protective Zone นั้นๆ

คําตอบ 1 : Zone Acceleration Scheme

คําตอบ 2 : Zone 1 Extension Scheme

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

121 of 156

Page 122: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : Permissive Overreaching Transferred Trip ( POTT ) Scheme

คําตอบ 4 : Permissive Underreaching Transferred Trip ( PUTT ) Scheme

ขอที่ : 459

Communication Channels แบบใดตอไปนี้ ไมเหมาะที่จะใชเปนชองทางสงสัญญาณ Trip ในระบบ Pilot Relaying

คําตอบ 1 : Power Line Carrier

คําตอบ 2 : Microwave System

คําตอบ 3 : Fiber Optic Link

คําตอบ 4 : Communication Cable

ขอที่ : 460

Communication Channels แบบใดตอไปนี้ เหมาะที่จะใชเปนชองทางสงสัญญาณ Blocking ในระบบ Pilot Relaying

คําตอบ 1 : Microwave System

คําตอบ 2 : Fiber Optic Link

คําตอบ 3 : Power Line Carrier

คําตอบ 4 : Communication Cable

ขอที่ : 461

คุณสมบัติของ Channel Operating Modes แบบ Keyed Carrier คือ

คําตอบ 1 : สถานะเปนแบบปกติปด ( N/C )

คําตอบ 2 : ปกติจะใชกับฟงกชันการสั่ง Block รีเลย

คําตอบ 3 : ใชสัญญาณ RF กําลังงาน 10 W หรือ 100 W แลวแตกรณ ี

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

122 of 156

Page 123: Coe_power electronic

ขอที่ : 462

คุณสมบัติของ Channel Operating Modes แบบ Frequency Shift Keying คือ

คําตอบ 1 : ใชการทํางานดวยการเปลี่ยนความถี่จากสถานะปกติไปเปนสถานะคําสั่ง

คําตอบ 2 : สัญญาณปกติสามารถเปนไดทั้ง Guard Signal หรือ Trip Permission Signal

คําตอบ 3 : ชองสัญญาณแบบ FSK นี้ สามารถใชไดทั้งการปองกันสายสง และการปองกันอุปกรณ

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 463

Pilot Relaying Scheme รูปแบบใดตอไปนี้ ตองอาศัยสัญญาณควบคุมจาก Autoreclose ในการทํางาน

คําตอบ 1 : Zone Acceleration Scheme

คําตอบ 2 : Zone 1 Extension Scheme

คําตอบ 3 : Permissive Overreaching Transferred Trip ( POTT ) Scheme

คําตอบ 4 : Directional Comparison Blocking Scheme

ขอที่ : 464

หากตองการสงสัญญาณ Guard ตลอดเวลา ตองเลือกใช Channel Operating Modes แบบใดจึงเหมาะสม

คําตอบ 1 : Keyed Carrier

คําตอบ 2 : Frequency Shift Keying

คําตอบ 3 : Single Sideband Suppressed Carrier

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 465

Pilot Relaying System ใชในการปองกันอะไรเปนสําคัญ

คําตอบ 1 : ใชปองกันหมอแปลงไฟฟา

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

123 of 156

Page 124: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : ใชปองกันสายสงและสายจําหนายกําลังไฟฟา

คําตอบ 3 : ใชปองกันมอเตอรไฟฟา

คําตอบ 4 : ใชปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟา

ขอที่ : 466

Pilot Relaying System แบบ Current Difference Scheme เหมาะสําหรับใชปองกันสายจําหนาย เพราะเหตุใด

คําตอบ 1 : สามารถใชักับระบบ Multi-Terminal Lines ได

คําตอบ 2 : สามารถตรวจจับ High Resistance Fault ได

คําตอบ 3 : ไมมีปญหาเรื่อง Series Compensation

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 467

ขอดีของ Permissive Underreach Transfer Tripping (PUTT)

คําตอบ 1 : ระบบมีความนาเชื่อถือเนื่องจากหากเกิดฟอลตที่ปลายขางใดขางหนึ่งจะไมสั่งตัดวงจร ( Trip ) อยางทันทีทันใด

คําตอบ 2 : ระบบจะสั่งตัดวงจรอยางรวดเร็วถาไดรับสัญญาณจากฝงที่เห็นตําแหนงของฟอลต

คําตอบ 3 : ระบบจะมีความมั่นคง (security) เพราะจะทริพฟอลตที่เกิดขึ้นภายนอกเขตการปองกันดวย

คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 468

ขอเสียของระบบการสื่อสารโดยใชสายสงกําลัง ( Power Line Carrier : PLC ) คือ

คําตอบ 1 : ไมมีความคลองตัวในการนําไปประยุกตใชงานกับระบบการปองกันแบบอื่น

คําตอบ 2 : มีความไวตอสัญญาณรบกวนจากภายนอก เชน สัญญาณรบกวนจากฟาผา อาจทําใหระบบทํางานผิดพลาดได

คําตอบ 3 : มีความกวางของชวงสัญญาณในการสงแคบเกินไป

คําตอบ 4 : ตองใช Coupling Capacitor ตอขนานกับระบบ อาจทําใหเกิดการสูญเสียขึ้นในระบบ

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

124 of 156

Page 125: Coe_power electronic

ขอที่ : 469

Blocking Mode หมายถึง

คําตอบ 1 : การสงสัญญาณจากรีเลยดานหนึ่งไปยังอีกดานหนึ่งของสายสง เพื่อกันการทริปของ Circuit Breaker ที่ฝงตรงขาม

คําตอบ 2 : การสงสัญญาณจากรีเลยดานหนึ่งไปยังอีกดานหนึ่งของสายสง เพื่อทําการทริป Circuit Breaker ฝงตรงขาม

คําตอบ 3 : การสงสัญญาณจากรีเลยดานหนึ่งไปยังอีกดานหนึ่งของสายสง เพื่อสั่งทริป Circuit Breaker แบบ Trip ซ้ํา เพื่อความแนนอน

คําตอบ 4 : การสงสัญญาณ Guarding จากรีเลยดานหนึ่งไปยังอีกดานหนึ่งของสายสง เพื่อปองกันการทริปโดยไมจําเปน

ขอที่ : 470

ขอใดกลาวถึงคุณสมบัติของระบบ Fiber Optic Links ไดอยางถูกตองที่สุด

คําตอบ 1 : เปนระบบที่มีจํานวนชองสัญญาณในการสื่อสารมาก จึงเหมาะที่จะใชงานรวมกับระบบสื่อสารอื่นในสถานีไฟฟา

คําตอบ 2 : เปนระบบที่ไมมีผลกระทบจากสนามไฟฟาและสนามแมเหล็กรบกวน จึงมีความเชื่อถือไดสูง

คําตอบ 3 : เปนระบบที่ตองมีตัวแปลงรหัสสื่อสาร มีประสิทธิภาพสูง แตมีราคาแพงมาก

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 471

คุณสมบัติของ Carrier Current Pilot คือขอใด

คําตอบ 1 : รีเลยเพียงตัวเดียวสามารถควบคุมการเกิดฟอลตไดทั้ง 3 เฟส

คําตอบ 2 : ในระบบสายสงจะตองมีการติดตั้งตัวรับสัญญาณ และตัวสงสัญญาณแยกคนละสถานี โดยใชสัญญาณโทรศัพทติดตอระหวางกัน

คําตอบ 3 : การปรับความถี่ของสถานีรับ – สงสัญญาณที่ปลายสายแตละดานตองเทากัน

คําตอบ 4 : รีเลยชนิดนี้มีความนาเชื่อถือ (Reliable) ดีกวา Pilot – Wire Relay เหมาะสําหรับปองกันระบบสายสงแบบ Short Line

ขอที่ : 472

การปรับตั้ง Tripping Function ใหเปนแบบ Under-reach (RU) ในระบบ Pilot Relaying จะตองทําอยางไร

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

125 of 156

Page 126: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : ปรับตั้งคาการมองเห็นของรีเลยทั้งสองดานของชวงสายสงที่ตองการปองกันใหเห็นไมเกินความยาวสายสงในชวงนั้น แตตองมีชวงที่ Overlap กัน

คําตอบ 2 : ปรับตั้งคาการมองเห็นของรีเลยทั้งสองดานของชวงสายสงที่ตองการปองกันใหเห็นเลยความยาวสายสงในชวงนั้นไป

คําตอบ 3 : ปรับตั้งคาการมองเห็นของรีเลยดานหนึ่งใหเห็นไมเกินความยาวสายสงในชวงนั้น แตการมองเห็นของรีเลยฝงตรงขามใหเลยความยาวสายสงในชวงนั้นไป

คําตอบ 4 : ปรับตั้งคาการมองเห็นของรีเลยทั้งสองดานของชวงสายสงที่ตองการปองกันใหเห็นไมเกิน 48% ของความยาวสายสงในชวงนั้น

ขอที่ : 473

การปรับตั้ง Tripping Function ใหเปนแบบ Over-reach (RO) ในระบบ Pilot Relaying จะตองทําอยางไร

คําตอบ 1 : ปรับตั้งคาการมองเห็นของรีเลยทั้งสองดานของชวงสายสงที่ตองการปองกันใหเห็นไมเกินความยาวสายสงในชวงนั้น แตตองมีชวงที่ Overlap กัน

คําตอบ 2 : ปรับตั้งคาการมองเห็นของรีเลยทั้งสองดานของชวงสายสงที่ตองการปองกันใหเห็นเลยความยาวสายสงในชวงนั้นไป

คําตอบ 3 : ปรับตั้งคาการมองเห็นของรีเลยดานหนึ่งใหเห็นไมเกินความยาวสายสงในชวงนั้น แตการมองเห็นของรีเลยฝงตรงขามใหเลยความยาวสายสงในชวงนั้นไป

คําตอบ 4 : ปรับตั้งคาการมองเห็นของรีเลยทั้งสองดานของชวงสายสงที่ตองการปองกันใหเห็นไมเกิน 48% ของความยาวสายสงในชวงนั้น

ขอที่ : 474

สายสงไฟฟาแรงสูง 230 kV เชื่อมตอระหวางสถานีไฟฟาเสนหนึ่ง มีคาอิมพีแดนซปรากฏทางดาน Secondary เปน Z = 2 + j16 Ohm ถูกปองกันดวยระบบ Pilot Relaying แบบ DUTT

Scheme มี Tripping Function เปนแบบ Under-reach ปรับตั้งไวที่ 80% โดยใชรีเลยแบบ Admittance ทั้งสองดานของสายสง การตั้งคารีเลยในขอใดตอไปนี้ถูกตอง

คําตอบ 1 : รีเลยฝงหนึ่งปรับตั้งคาไวที่ Z1 = 1.6 + j12.8 Ohm , รีเลยฝงตรงขามปรับตั้งคาไวที่ Z2 = 2 + j16 Ohm

คําตอบ 2 : รีเลยฝงหนึ่งปรับตั้งคาไวที่ Z1 = 2 + j16 Ohm , รีเลยฝงตรงขามปรับตั้งคาไวที่ Z2 = 1.6 + j12.8 Ohm

คําตอบ 3 : รีเลยทั้งสองฝงปรับตั้งคาไวเทากัน คือ Z1 = Z2 = 1.6 + j12.8 Ohm

คําตอบ 4 : รีเลยทั้งสองฝงปรับตั้งคาไวเทากัน คือ Z1 = Z2 = 2 + j16 Ohm

ขอที่ : 475

สายสงไฟฟาแรงสูง 230 kV เชื่อมตอระหวางสถานีไฟฟาเสนหนึ่ง มีคาอิมพีแดนซปรากฏทางดาน Secondary เปน Z = 2 + j14 Ohm ถูกปองกันดวยระบบ Pilot Relaying แบบ POTT

Scheme มี Tripping Function เปนแบบ Over-reach ปรับตั้งไวที่ 150% โดยใชรีเลยแบบ Admittance ทั้งสองดานของสายสง การตั้งคารีเลยในขอใดตอไปนี้ถูกตอง

คําตอบ 1 : รีเลยฝงหนึ่งปรับตั้งคาไวที่ Z1 = 3 + j21 Ohm , รีเลยฝงตรงขามปรับตั้งคาไวที่ Z2 = 2 + j14 Ohm

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

126 of 156

Page 127: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : รีเลยฝงหนึ่งปรับตั้งคาไวที่ Z1 = 2 + j14 Ohm , รีเลยฝงตรงขามปรับตั้งคาไวที่ Z2 = 3 + j21 Ohm

คําตอบ 3 : รีเลยทั้งสองฝงปรับตั้งคาไวเทากัน คือ Z1 = Z2 = 2 + j14 Ohm

คําตอบ 4 : รีเลยทั้งสองฝงปรับตั้งคาไวเทากัน คือ Z1 = Z2 = 3 + j21 Ohm

ขอที่ : 476

ระบบ Pilot Relaying ดังรูป เปนการใช Pilot Communication Channels สําหรับสื่อสารดวยวิธีใด

คําตอบ 1 : การสื่อสารโดยใชไมโครเวฟ ( Microwave )

คําตอบ 2 : การสื่อสารโดยใชสายสงกําลัง ( Power Line Carrier )

คําตอบ 3 : การสื่อสารโดยใชใยแกวนําแสง ( Fiber Optics )

คําตอบ 4 : การสื่อสารโดยใชสายโทรศัพท ( Communication Cable or Pilot Wire )

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

127 of 156

Page 128: Coe_power electronic

ขอที่ : 477

ในระบบ Pilot Relaying รูปแบบ Communication Channels ใดตอไปนี้ ใชวิธีการสื่อสารผานทางสายสงกําลังไฟฟา

คําตอบ 1 : Microwave

คําตอบ 2 : Fiber Optics

คําตอบ 3 : Power Line Carrier

คําตอบ 4 : Communication Cable or Pilot Wire

ขอที่ : 478

สายสงไฟฟาแรงสูง 230 kV เชื่อมตอระหวางสถานีไฟฟาเสนหนึ่ง มีคาอิมพีแดนซปรากฏทางดาน Secondary เปน Z = 4 + j20 Ohm ถูกปองกันดวยระบบ Pilot Relaying แบบ DUTT

Scheme มี Tripping Function เปนแบบ Under-reach ปรับตั้งไวที่ 85% โดยใชรีเลยแบบ Admittance ทั้งสองดานของสายสง การตั้งคารีเลยในขอใดตอไปนี้ถูกตอง

คําตอบ 1 : รีเลยฝงหนึ่งปรับตั้งคาไวที่ Z1 = 4 + j20 Ohm , รีเลยฝงตรงขามปรับตั้งคาไวที่ Z2 = 3.4 + j17 Ohm

คําตอบ 2 : รีเลยฝงหนึ่งปรับตั้งคาไวที่ Z1 = 3.4 + j17 Ohm , รีเลยฝงตรงขามปรับตั้งคาไวที่ Z2 = 4 + j20 Ohm

คําตอบ 3 : รีเลยทั้งสองฝงปรับตั้งคาไวเทากัน คือ Z1 = Z2 = 4 + j20 Ohm

คําตอบ 4 : รีเลยทั้งสองฝงปรับตั้งคาไวเทากัน คือ Z1 = Z2 = 3.4 + j17 Ohm

ขอที่ : 479

สายสงกําลังไฟฟาแรงดันสูงแหงหนึ่ง ในชวงระหวางสถานีไฟฟา A และ B ใชการปองกันดวย Pilot Relaying แบบ Mho Relays มีคุณลักษณะสมบัติแสดงบน R-X Diagram ดังรูป การ

ตั้งคารีเลยในลักษณะนี้ มีชื่อเรียกวาอยางไร

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

128 of 156

Page 129: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : Permissive Under-reaching Transferred Trip Scheme

คําตอบ 2 : Permissive Over-reaching Transferred Trip Scheme

คําตอบ 3 : Directional Comparison Blocking Scheme

คําตอบ 4 : Direct Under-reaching Transferred Trip Scheme

ขอที่ : 480

รูปแบบของระบบ Pilot Relaying แบบใด ที่มี Time Delay Backup สามารถใชทํา Co-ordination กับรีเลย Zone อื่นได

คําตอบ 1 : DUTT Scheme

คําตอบ 2 : Zone1 Extension Scheme

คําตอบ 3 : PUTT Scheme

คําตอบ 4 : Current Differential Scheme

ขอที่ : 481

สายสงไฟฟาแรงสูง 230 kV เชื่อมตอระหวางสถานีไฟฟาเสนหนึ่ง ถูกปองกันดวยระบบ Pilot Relaying แบบ DUTT Scheme มี Tripping Function เปนแบบ Under-reach ปรับตั้งไวที่

85% โดยใชรีเลยแบบ Admittance ทั้งสองดานของสายสง ถาระบบสื่อสารมีความสมบูรณ กรณีใดตอไปนี้ระบบปองกันจะไมทํางาน

คําตอบ 1 : เมื่อเกิดลัดวงจรบนสายสงในชวงที่ถูกปองกัน แลวมีรีเลยเพียงฝงเดียวที่สามารถตรวจจับ Fault ที่เกิดขึ้นได

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

129 of 156

Page 130: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : เมื่อเกิดลัดวงจรบนสายสงในชวงที่ถูกปองกัน แลวรีเลยทั้งสองฝงสามารถตรวจจับ Fault ที่เกิดขึ้นได

คําตอบ 3 : เมื่อเกิดลัดวงจรบนสายสงในชวงที่ถูกปองกันพรอมกัน 2 จุด ณ ตําแหนงใกลกับสถานีไฟฟาทั้งสองฝง แลวรีเลยแตละฝงสามารถตรวจจับ Fault ที่เกิดขึ้นได

คําตอบ 4 : เมื่อเกิดลัดวงจรบนสายสง แตรีเลยทั้งสองฝงไมสามารถมองเห็น Fault ที่เกิดขึ้นได

ขอที่ : 482

รูปที่แสดงดานลาง จัดเปนรูปแบบของระบบ Pilot Relaying Scheme แบบใด

คําตอบ 1 : Directional Comparison Blocking Scheme

คําตอบ 2 : Direct Under-reaching Transfer Tripping Scheme

คําตอบ 3 : Permissive Over-reaching Transfer Tripping Scheme

คําตอบ 4 : Permissive Under-reaching Transfer Tripping Scheme

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

130 of 156

Page 131: Coe_power electronic

ขอที่ : 483

ระบบปองกันสายสงแบบ Pilot Protection มีแผนภาพแสดงดังรูป การปองกันรูปแบบนี้มีชื่อเรียกวาอะไร

คําตอบ 1 : Directional Comparison Blocking

คําตอบ 2 : Permissive Underreach Transfer Tripping

คําตอบ 3 : Permissive Overreach Transfer Tripping

คําตอบ 4 : Direct Transfer Tripping

ขอที่ : 484

ระบบปองกันสายสงกําลังไฟฟาแรงดันสูงดวย Pilot Relaying โดยมี Schematic แสดงดังรูป ขอใดกลาวถูกตองที่สุด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

131 of 156

Page 132: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : กรณีเกิด Internal Fault นอก Overlap Zone จะเกิดการสั่งทริป CB โดยตรงจากรีเลยทั้งสองขาง

คําตอบ 2 : ไมสามารถนํา Time-Delay Function มาใชกับระบบนี้ได เพราะใช Overcurrent Function

คําตอบ 3 : การทริป CB จะเปนไปอยางรวดเร็วเมื่อสัญญาณที่สงจากฝงที่เกิดฟอลตเขามาแรง แตจะไมทริปถาสัญญาณที่สงเขามาออน

คําตอบ 4 : ระบบนี้จะมีความปลอดภัยและมีความนาเชื่อถือสูง แมวาระบบสื่อสารดานใดดานหนึ่งจะไมทํางานก็ตาม

ขอที่ : 485

แผนภาพดังรูปดานลาง จัดเปนรูปแบบของระบบ Pilot Relaying Scheme แบบใด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

132 of 156

Page 133: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : Directional Comparison Blocking Scheme

คําตอบ 2 : Direct Underreach Transfer Tripping Scheme

คําตอบ 3 : Permissive Overreach Transfer Tripping Scheme

คําตอบ 4 : Permissive Underreaching Transfer Tripping Scheme

ขอที่ : 486

ระบบปองกันสายสงแบบ Pilot Protection มีแผนภาพแสดงดังรูป การปองกันรูปแบบนี้มีชื่อเรียกวาอะไร

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

133 of 156

Page 134: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : Directional Comparison Blocking

คําตอบ 2 : Permissive Underreach Transfer Tripping

คําตอบ 3 : Permissive Overreach Transfer Tripping

คําตอบ 4 : Direct Transfer Tripping

ขอที่ : 487

Percentage Differential Relay ใชปองกันหมอแปลงไฟฟาขนาดใหญ มีกระแสไหลในสาย Pilot จาก CT ดานแรงสูงมาเขารีเลยเปน 5.1 A และจาก CT ดานแรงต่ํามาเขารีเลยเปน 4.85

A จงหากระแส ผลตางเปนเปอรเซนตมีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 5.0 %

คําตอบ 2 : 10.0 %

คําตอบ 3 : 15.0 %

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

134 of 156

Page 135: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : 25.0 %

ขอที่ : 488

ในกรณีที่มีสายปอนจํานวนมากตอเชื่อมเขากับบัส ควรจะเลือกใชระบบปองกันดวยรีเลยแบบใด

คําตอบ 1 : Over-current relay

คําตอบ 2 : Percentage differential relay

คําตอบ 3 : High-impedance relay

คําตอบ 4 : Linear coupler

ขอที่ : 489

การปองกันบัสโดยใชหลักการ Differential Protection ดังรูป เมื่อเกิด Fault ขึ้นที่จุด F1 และมีกระแสไหลเขาบัสตามรูป คากระแสที่ไหลผาน Relay (R) จะเปนเทาใด

คําตอบ 1 : 100 A

คําตอบ 2 : 80 A

คําตอบ 3 : 70 A

คําตอบ 4 : 0 A

ขอที่ : 490

การปองกันบัสโดยใชหลักการ Differential Protection ดังรูป ถาเกิด Fault ขึ้นที่จุด F5 จะมีกระแสไหลออกจาก CT3 เทาใด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

135 of 156

Page 136: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : 30 A

คําตอบ 2 : 25 A

คําตอบ 3 : 20 A

คําตอบ 4 : 0 A

ขอที่ : 491

การปองกันบัส (Bus Protection) โดยใชหลักการปองกันแบบคากระแสผลตาง (Current Differential Protection) มีแนวคิดหลักเปนอยางไร

คําตอบ 1 : ผลรวมของปริมาณกระแสที่ไหลออกจากบัสมีคาเปนศูนย

คําตอบ 2 : ผลรวมของปริมาณกระแสที่ไหลขาบัสมีคาเปนศูนย

คําตอบ 3 : ผลรวมของปริมาณกระแสที่ไหลเขาบัสจะมีคาเทากับผลรวมของปริมาณกระแสที่ไหลออกจากบัส ขณะที่บัสบารอยูในสถานะจายไฟตามปกติ

คําตอบ 4 : ผลรวมของปริมาณกระแสที่ไหลเขาบัสกับปริมาณกระแสที่ไหลออกจากบัสเทากับกระแสพิกัดของบัส

ขอที่ : 492

การปองกันบัสโดยใช Backup Line Relays ดังรูป เมื่อเกิด Fault ที่บัส H เบรกเกอรตัวใดในวงจรควรจะเปดวงจรเปนอันดับแรก

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

136 of 156

Page 137: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : เบรกเกอรหมายเลข 3 , 4 , 6 และ 7

คําตอบ 2 : เบรกเกอรหมายเลข 1 , 2 , 8 และ 11

คําตอบ 3 : เบรกเกอรหมายเลข 3 , 4 , 5 , 6 และ 7

คําตอบ 4 : เบรกเกอรหมายเลข 1 , 2 , 4 และ 7

ขอที่ : 493

การปองกันบัสดังรูป เมื่อเกิด Fault ที่บัสขนาด 10,000 A โดยมีกระแสในสวนตางๆ แสดงดังรูป คากระแสที่ผานรีเลยมีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 0 A

คําตอบ 2 : 30 A

คําตอบ 3 : 90 A

คําตอบ 4 : 100 A

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

137 of 156

Page 138: Coe_power electronic

ขอที่ : 494

การปองกันบัสโดยใชหลักการ Differential Protection ดังรูป ถาเกิด Fault ขึ้นที่จุด F2 จะมีกระแสไหลออกจาก CT2 เทาใด

คําตอบ 1 : 100 A

คําตอบ 2 : 75 A

คําตอบ 3 : 50 A

คําตอบ 4 : 0 A

ขอที่ : 495

การปองกันบัสโดยใชหลักการ Differential Protection ดังรูป ถาเกิด Fault ขึ้นที่จุด F3 จะมีกระแสไหลออกจาก CT3 เทาใด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

138 of 156

Page 139: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : 100 A

คําตอบ 2 : 80 A

คําตอบ 3 : 70 A

คําตอบ 4 : 0 A

ขอที่ : 496

การปองกันบัสโดยใชหลักการ Differential Protection ดังรูป ถาเกิด Fault ขึ้นที่จุด F4 จะมีกระแสไหลออกจาก CT4 เทาใด

คําตอบ 1 : 100 A

คําตอบ 2 : 75 A

คําตอบ 3 : 50 A

คําตอบ 4 : 0 A

ขอที่ : 497

การปองกันบัสโดยใชหลักการ Differential Protection ดังรูป เมื่อเกิด Fault ขึ้นที่จุด F5 และมีกระแสไหลเขาบัสตามรูป คากระแสที่ไหลผาน Relay (R) จะเปนเทาใด

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

139 of 156

Page 140: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : 100 A

คําตอบ 2 : 70 A

คําตอบ 3 : 50 A

คําตอบ 4 : 0 A

ขอที่ : 498

การปองกัน Bus-bar โดยใช Linear-Coupler ระบบ 115 kV กําหนดให Linear Coupler ตัวที่ 1 ผิดพลาด +3% ตัวที่ 2 ผิดพลาด +2% ตัวที่ 3 ผิดพลาด +1% ตัวที่ 4 ผิดพลาด -4% สาย

ปอนที่ 1-3 เปนสายปอนเขาสู Bus-bar สายปอนที่ 4 เปนสายที่จายออกจาก Bus-bar เกิด Fault ภายใน Bus-bar ดวยกระแส 9,000 A โดยสายปอนที่ 1-3 จายกระแสเขาสู Bus-bar ที่คา

3000 A ใหคํานวณแรงดันครอมที่ Relay

คําตอบ 1 : 10.35 V

คําตอบ 2 : 13.5 V

คําตอบ 3 : 45.9 V

คําตอบ 4 : 53.5 V

ขอที่ : 499

บัสบารแบบ Single Bus Configuration วงจรรับไฟฟาเขามามี 1 วงจร วงจรจายไฟออกมี 2 วงจร ไดรับการปองกันจากรีเลยอิมพีแดนซสูง คาระดับกระแสลัดวงจรที่สถานี คือ 45 kA

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

140 of 156

Page 141: Coe_power electronic

หมอแปลงทดกระแส (CT) ทุกตัวมีคาอัตราการทดกระแส 1400/5 A ความตานทานของขดลวดทุติยภูมิเทากับ 0.36 โอหม ความตานทานของสาย 1 เสนในวงจรทุติยภูมิที่มีความยาว

มากที่สุดมีคา 0.25 โอหม คา setting ของรีเลย อิมพีแดนซสูงควรมีคาเทาใด

คําตอบ 1 : 50 V

คําตอบ 2 : 100 V

คําตอบ 3 : 125 V

คําตอบ 4 : 150 V

ขอที่ : 500

การปองกัน Locked Rotor Protection สําหรับมอเตอรไฟฟาในอุตสาหกรรม ควรจะเลือกใชรีเลยใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : Distance Relay

คําตอบ 2 : Differential Relay

คําตอบ 3 : Directional Relay

คําตอบ 4 : Over-current Relay

ขอที่ : 501

ความผิดปกติแบบใดตอไปนี้ ไมเกี่ยวของกับมอเตอรเหนี่ยวนําที่ไมใชชนิด Wound Rotor

คําตอบ 1 : Overload

คําตอบ 2 : Loss of Excitation

คําตอบ 3 : Unbalanced Current

คําตอบ 4 : Ground Fault

ขอที่ : 502

ขอใดจัดเปนลักษณะความผิดพรอง (Faults) ของมอเตอรไฟฟาที่เกี่ยวของกับโหลด

คําตอบ 1 : Frame Faults

คําตอบ 2 : Reverse Power

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

141 of 156

Page 142: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : Drop in Voltage

คําตอบ 4 : Unbalance

ขอที่ : 503

ขอใดจัดเปนลักษณะความผิดพรอง (Faults) ภายในมอเตอรไฟฟา

คําตอบ 1 : Frame Faults

คําตอบ 2 : Overload

คําตอบ 3 : Reverse Power

คําตอบ 4 : Jamming

ขอที่ : 504

Negative Sequence Overcurrent Protection ที่ใชในการปองกันมอเตอรขนาดใหญ จะตองเลือกใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 49

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 46

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 51

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 87

ขอที่ : 505

การปองกันมอเตอรขนาดใหญ ถาตองการปองกัน “Locked Rotor Protection” จะตองเลือกใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 49

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 46

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 51

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 87

ขอที่ : 506

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

142 of 156

Page 143: Coe_power electronic

ถาตองการปองกัน “Undervoltage Protection” ในมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนํา จะตองเลือกใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 49

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 87

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 27

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 59

ขอที่ : 507

การปองกัน Field Undercurrent Protection สําหรับมอเตอรซิงโครนัส ควรเลือกใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 27

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 87

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 51

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 37

ขอที่ : 508

การปองกัน Loss Excitation Protection สําหรับมอเตอรซิงโครนัส ควรเลือกใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 27

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 40

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 51

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 87

ขอที่ : 509

ถาตองการปองกันการเริ่มเดินเครื่องไมสมบูรณ (Incomplete Sequence) ในมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนําขนาดใหญสําหรับอุตสาหกรรม จะตองเลือกใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI

Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 51

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

143 of 156

Page 144: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 87

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 46

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 48

ขอที่ : 510

ถาตองการปองกันการเกิดลัดวง (Short Circuited) จรระหวางเฟสในมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนําขนาดใหญสําหรับอุตสาหกรรม จะตองเลือกใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 50

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 51

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 87

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 49

ขอที่ : 511

ถาตองการปองกันการเกิดลัดวงลงดิน (Ground Fault) ที่ขดลวดอารเมเจอรของมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนําขนาดใหญสําหรับอุตสาหกรรม จะตองเลือกใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน

ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 50GS

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 27

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 49

คําตอบ 4 : ใชรีเลยเบอร 46

ขอที่ : 512

ถาตองการปองกันสภาวะ Overload สําหรับมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนําทั่วไป นิยมเลือกใชรีเลยเบอรใด ตามมาตรฐาน ANSI Code

คําตอบ 1 : ใชรีเลยเบอร 27

คําตอบ 2 : ใชรีเลยเบอร 81U

คําตอบ 3 : ใชรีเลยเบอร 49

คําตอบ 4 :

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

144 of 156

Page 145: Coe_power electronic

ใชรีเลยเบอร 50

ขอที่ : 513

Incomplete Sequence Relay (48) สําหรับการปองกันมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนําทั่วไป ใชเพื่อปองกันเหตุการณใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : ใชปองกันการสตารทมอเตอรดวยเวลาที่ยาวนานเกินไป

คําตอบ 2 : ใชปองกันการสตารทมอเตอรซ้ํา หรือการสตารทถี่เกินไป

คําตอบ 3 : ใชปองกันการสตารทมอเตอรดวยความเร็วที่ไมปกติ

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 514

การปองกันมอเตอรไฟฟาสําหรับอุตสาหกรรมที่สําคัญ ไดแก

คําตอบ 1 : การปองกันกระแสเกินโหลด

คําตอบ 2 : การปองกันความรอนสูงเกินไป

คําตอบ 3 : การปองกันฟาผาและเสิรจ

คําตอบ 4 : การปองกันแรงดันเกิน

ขอที่ : 515

ขอที่ตองพิจารณาในการปองกันมอเตอรไฟฟาสําหรับอุตสาหกรรม คือ

คําตอบ 1 : Motor Characteristics

คําตอบ 2 : Motor Starting Conditions

คําตอบ 3 : Motor Importance

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 516

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

145 of 156

Page 146: Coe_power electronic

รีเลยใดตอไปนี้ ไมสามารถใชปองกันสภาวะ “Single Phasing” สําหรับมอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส ได

คําตอบ 1 : Phase Current Balance Relay

คําตอบ 2 : Negative-Sequence Voltage Relay

คําตอบ 3 : Negative-Sequence Current Relay

คําตอบ 4 : Time Overcurrent Relay

ขอที่ : 517

เหตุใดจึงตองมีการตรวจวัดการลดลงของกระแสกระตุนสนามแมเหล็ก (Field Current) ในมอเตอรไฟฟาแบบ Synchronous

คําตอบ 1 : เพื่อปองกันการเกิด Pull Out of Step ของมอเตอรไฟฟาในสภาวะที่มีโหลดนอย (Light Load)

คําตอบ 2 : เพื่อปองกันการดึงกระแสในขดลวด Armature สูงมากเกินในกรณีมอเตอรไฟฟาที่มีโหลดมากซึ่งขดลวดอาจไหมเสียหายได

คําตอบ 3 : เพื่อปองกันการเกิด Voltage Drop ในขด Exciting Winding ของมอเตอร

คําตอบ 4 : เพื่อปองกันการเกิด Over-Voltage ในขดลวด Armature ของมอเตอร

ขอที่ : 518

การปองกันกระแสเกินเฟสแบบทันทีทันใด ในมอเตอรไฟฟามีวัตถุประสงคเพื่ออะไร

คําตอบ 1 : ลดความเสียหายที่มีโอกาสเกิดขึ้นจากผลของการเกิดฟอลต (Fault)

คําตอบ 2 : ลดชวงเวลาของการเกิดแรงดันตกชั่วขณะ

คําตอบ 3 : ลดโอกาสที่ฟอลต (Fault) จะลุกลามและแพรขยายความรุนแรงมากยิ่งขึ้น

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 519

มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส 50 Hz ขนาดพิกัด 1000 kW (CMR), 3.3 kV, P.F. = 0.9 lagging, Efficiency 92% คากระแสพิกัด (In) ของมอเตอรมีคาเทาใด

คําตอบ 1 : In = 366.0 A

คําตอบ 2 : In = 211.3 A

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

146 of 156

Page 147: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : In = 398.0 A

คําตอบ 4 : In = 190.2 A

ขอที่ : 520

อุปกรณที่ใชสําหรับการตรวจจับอุณหภูมิสูงเกินในมอเตอรไฟฟาทั่วไป คืออุปกรณใด

คําตอบ 1 : Resistance Temperature Detectors หรือ RTD

คําตอบ 2 : Thermocouples

คําตอบ 3 : Thermistors

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 521

Thermistors แบบ Negative-Temperature Coefficient Type (NTC) มีคุณสมบัติตามขอใด

คําตอบ 1 : คาความตานทานจะคงที่เมื่ออุณหภูมิลดลง

คําตอบ 2 : คาความตานทานจะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น

คําตอบ 3 : คาความตานทานจะลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น

คําตอบ 4 : คาความตานทานจะคงที่เมื่ออุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น

ขอที่ : 522

Thermistors แบบ Positive-Temperature Coefficient Type (PTC) มีคุณสมบัติตามขอใด

คําตอบ 1 : คาความตานทานจะคงที่เมื่ออุณหภูมิลดลง

คําตอบ 2 :

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

147 of 156

Page 148: Coe_power electronic

คาความตานทานจะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น

คําตอบ 3 : คาความตานทานจะลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น

คําตอบ 4 : คาความตานทานจะคงที่เมื่ออุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น

ขอที่ : 523

การปองกัน Overload ในมอเตอรไฟฟาขนาดใหญจะตองนําคาพารามิเตอรใดมาใชเพื่อคํานวณหาคากระแสปรับตั้งของรีเลย

คําตอบ 1 : คา Locked Rotor Current ของมอเตอร

คําตอบ 2 : คา Maximum Symmetrical Starting Current ของมอเตอร

คําตอบ 3 : คา Rated Current ของมอเตอร

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 524

การปองกันมอเตอรไฟฟาแบบใดตอไปนี้ ที่ไมตองการใหมีการหนวงเวลาทํางานของรีเลย

คําตอบ 1 : Locked Rotor Protection

คําตอบ 2 : Overload Protection

คําตอบ 3 : Stall Protection

คําตอบ 4 : Short Circuit Protection

ขอที่ : 525

การปองกันมอเตอรไฟฟา RTD มีไวเพื่อใชประโยชนอะไร

คําตอบ 1 : ใชตรวจวัดแรงดันตกในมอเตอรไฟฟา

คําตอบ 2 : ใชตรวจวัดอุณหภูมิในขดลวดหรือใน Shaft Bearings ของมอเตอรไฟฟา

คําตอบ 3 : ใชตรวจวัดความเร็วรอบของมอเตอรไฟฟา

คําตอบ 4 : ใชตรวจวัดการสั่นทางกล (Vibration) ที่เกิดขึ้นที่แกนเพลาของมอเตอรไฟฟา

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

148 of 156

Page 149: Coe_power electronic

ขอที่ : 526

ฟอลต (Fault) ในขอใดตอไปนี้ ทําใหซิงโครนัสมอเตอรเสียหายนอยที่สุด

คําตอบ 1 : การสูญเสียซิงโครนัส

คําตอบ 2 : การลัดวงจรลงโครงโลหะ

คําตอบ 3 : การลัดวงจรระหวางเฟส

คําตอบ 4 : สภาวะที่โรเตอรถูกตรึง

ขอที่ : 527

การปองกันกระแสเกินแบบทันทีทันใด (Instantaneous) สําหรับมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนําขนาดใหญ การคํานวณหาคากระแสปรับตั้งของรีเลยจะตองพิจารณาถึงปจจัยใดบาง

คําตอบ 1 : คา Locked Rotor Current ของมอเตอร

คําตอบ 2 : DC Offset

คําตอบ 3 : Safety Factor

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 528

Induction Motor แบบ 3-phase ขนาด 300 kW, 3.3 kV, กระแสพิกัด (In) = 60 A, Locked Rotor Current (LRC) = 330 A (10 s) และ Maximum Starting Current (MSC) = 545 A (0.1 s)

การตั้งคาเวลาทํางานของรีเลยกระแสเกินเพื่อปองกัน Short Circuit Protection ควรตั้งคาอยางไร

คําตอบ 1 : ตั้งแบบ Instantaneous

คําตอบ 2 : ตั้งแบบ Time Delay ไวที่ 10 s

คําตอบ 3 : ตั้งแบบ Time Delay ไวที่มากกวา 10 s เล็กนอย

คําตอบ 4 : ตั้งแบบ Time Delay ไวที่มากกวา 0.1 s แตไมเกิน 10 s

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

149 of 156

Page 150: Coe_power electronic

ขอที่ : 529

การเกิด “Single Phasing” หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : การที่ขดลวดของมอเตอรไฟฟาแบบ 3 เฟส เกิดลัดวงจรแบบ 1 เฟส ลงดิน (L-G Fault)

คําตอบ 2 : การที่ไฟจากแหลงจายใหมอเตอรไฟฟาแบบ 3 เฟส เกิดมีสายหลุดหรือสายขาดไป 1 เสน

คําตอบ 3 : การที่ไฟจากแหลงจายใหมอเตอรไฟฟาแบบ 3 เฟส เกิดมีสายหลุดไป 2 เสน

คําตอบ 4 : การที่ขดลวดของมอเตอรไฟฟาแบบ 3 เฟส เกิดการลัดวงจรแบบ 2 เฟส ลงดิน (L-L-G Fault)

ขอที่ : 530

มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส ขนาดพิกัด 1.2 MVA, 3.6 kV, 85% efficiency ถาตองการจะปองกัน Internal Faults ใหคํานวณหาพิกัด Line CT ที่เหมาะสม

คําตอบ 1 : ใช Line CT 100/5 A

คําตอบ 2 : ใช Line CT 200/5 A

คําตอบ 3 : ใช Line CT 300/5 A

คําตอบ 4 : ใช Line CT 800/5 A

ขอที่ : 531

ขอใดไมใชสาเหตุของการเกิด Field Current Failure ในมอเตอรไฟฟาแบบ Synchronous

คําตอบ 1 : เมื่อความตานทานของหนาสัมผัสมีคาสูงหรือมีการเปดวงจรระหวาง Slip Ring และ Brushes

คําตอบ 2 : เกิดอุบัติเหตุทําใหเกิดการทริปของขดลวดกระตุน (Exciter)

คําตอบ 3 : การทริปของ Remote Exciter

คําตอบ 4 : เกิด Negative Sequence Voltage และ Unbalance Voltage จากแหลงจาย

ขอที่ : 532

ขอใดกลาวถึง “RTDs” ไมถูกตอง

คําตอบ 1 : RTDs คือ Resistance Temperature Detectors ใชตรวจจับการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิในขดลวดมอเตอร

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

150 of 156

Page 151: Coe_power electronic

คําตอบ 2 : RTDs ที่มีใชงานโดยทั่วไปจะมีคาความตานทานเปน 10 Ohm หรือ 120 Ohm ที่สภาวะอุณหภูมิปกต ิ

คําตอบ 3 : RTDs คือ Rotated Resistance Temperature Detectors ใชตรวจจับอุณหภูมิสูงเกินในขดลวดสนามกระตุน (Field Winding)

คําตอบ 4 : RTDs คือ รีเลยเบอร 26 (ANSI Code) สามารถเลือกปรับตั้งไดทั้งแบบสั่งให Alarm และ Trip

ขอที่ : 533

เหตุผลสําคัญของการปองกันเฟสไมสมดุล (Phase Unbalance Protection) ในมอเตอรไฟฟา คือขอใด

คําตอบ 1 : เพื่อปองกันแรงดันตกชั่วขณะ (Voltage Dip)

คําตอบ 2 : เพื่อปองกันแรงบิดทางกล (Torque) ของมอเตอรลดลง

คําตอบ 3 : เพื่อปองกันความรอนสูงเกินในมอเตอร

คําตอบ 4 : เพื่อปองกันการสั่น (Vibration) ทางกลในมอเตอร ซึ่งจะทําใหมอเตอรเกิดอาการสั่นคาง

ขอที่ : 534

รีเลยชนิดใดตอไปนี้ เหมาะสําหรับใชปองกันการลัดวงจรภายในขดลวด Armature ของมอเตอรไฟฟา

คําตอบ 1 : Impedance Relay

คําตอบ 2 : Undervoltage Relay

คําตอบ 3 : Current Balance Relay

คําตอบ 4 : Percentage Differential Relay

ขอที่ : 535

การปองกันมอเตอรไฟฟาโดยทั่วไป เพราะเหตุใดจึงตองมีการปองกันแรงดันตก (Under Voltage Protection) ที่เกิดขึ้นเนื่องจากแหลงจาย

คําตอบ 1 : เพื่อปองกันมอเตอรมีความเร็วรอบเพิ่มสูงขึ้นมากจนเกินพิกัด

คําตอบ 2 : เพื่อปองกันการเกิดความรอนสูงเกินในตัวมอเตอร เนื่องจากกระแสที่เพิ่มขึ้น

คําตอบ 3 : เพื่อปองกันการสั่นของมอเตอร ซึ่งอาจทําใหฉนวนของขดลวดเสียหายได

คําตอบ 4 : เพื่อปองกันการเพิ่มขึ้นของแรงบิด ซึ่งจะมีผลตอภาระทางกลของมอเตอร

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

151 of 156

Page 152: Coe_power electronic

ขอที่ : 536

การปองกันลัดวงจร (Short Circuit Protection) ระหวางเฟสแบบทันทีทันใด (Instantaneous) ในมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนําทั่วไป จะตองปรับตั้งคากระแสของรีเลยอยางไร

คําตอบ 1 : ตั้งคาใหรีเลยเริ่มทํางานเมื่อกระแสมีคาสูงกวาคา Locked Rotor Current ของมอเตอร

คําตอบ 2 : ตั้งคาใหรีเลยเริ่มทํางานเมื่อกระแสมีคาสูงกวาคา Rated Current ของมอเตอร

คําตอบ 3 : ตั้งคาใหรีเลยเริ่มทํางานเมื่อกระแสมีคาสูงกวาคา Maximum Symmetrical Starting Current ของมอเตอร

คําตอบ 4 : ตั้งคาใหรีเลยเริ่มทํางานเมื่อกระแสมีคาสูงกวาคา Locked Rotor Current แตไมเกินคา Maximum Symmetrical Starting Current ของมอเตอร

ขอที่ : 537

การปองกัน Thermal or Overload Protection ในมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนําทั่วไป ควรปรับตั้งคารีเลยอยางไรจึงจะเหมาะสม

คําตอบ 1 : ตั้งคาใหสูงกวาคาพิกัดกระแสของมอเตอร และใหรีเลยทํางานทันทีทันใด

คําตอบ 2 : ตั้งคาใหสูงกวาคาพิกัดกระแสของมอเตอรเล็กนอย และใหรีเลยทํางานแบบหนวงเวลา

คําตอบ 3 : ตั้งคาใหสูงกวาคา Locked Rotor Current ของมอเตอร แตใหรีเลยทํางานแบบหนวงเวลา

คําตอบ 4 : ตั้งคาใหต่ํากวาคาพิกัดกระแสของมอเตอรเล็กนอย แตใหรีเลยทํางานแบบหนวงเวลา

ขอที่ : 538

การปองกัน Stall Protection ในมอเตอรไฟฟาทั่วไป ควรปรับตั้งคารีเลยอยางไรจึงจะเหมาะสม

คําตอบ 1 : ตั้งคาใหเทากับ Locked Rotor Protection และใหรีเลยทํางานแบบหนวงเวลา

คําตอบ 2 : ตั้งคาใหเทากับ Overload Protection และใหรีเลยทํางานแบบหนวงเวลา

คําตอบ 3 : ตั้งคาใหเทากับ Locked Rotor Protection แตใหรีเลยทํางานทันทีทันใด

คําตอบ 4 : ตั้งคาใหสูงกวา Overload Protection ประมาณ 125% และใหรีเลยทํางานทันทีทันใด

ขอที่ : 539

การปรับตั้งคาประวิงเวลา (Time Delay) การทํางานของรีเลย สําหรับ Stall Protection ในมอเตอรไฟฟาทั่วไป ควรปรับตั้งคาเวลาอยางไรจึงจะเหมาะสม

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

152 of 156

Page 153: Coe_power electronic

คําตอบ 1 : ตั้งเวลาประวิงใหสูงกวาคา Starting Time ของมอเตอร

คําตอบ 2 : ตั้งเวลาประวิงใหสูงกวาคา Starting Time แตไมเกินคา Hot Stall Withstand Time ของมอเตอร

คําตอบ 3 : ตั้งเวลาประวิงใหสูงกวาคา Hot Stall Withstand Time แตไมเกินคา Cold Stall Withstand Time ของมอเตอร

คําตอบ 4 : ตั้งเวลาประวิงใหสูงกวาคา Hot Stall Withstand Time แตไมเกินคา Heating Time Constant ของมอเตอร

ขอที่ : 540

การปรับตั้งคาประวิงเวลา (Time Delay) การทํางานของรีเลย สําหรับ Locked Rotor Protection ในมอเตอรไฟฟา ควรปรับตั้งคาเวลาหนวงไวอยางไรจึงจะเหมาะสม

คําตอบ 1 : ตั้งเวลาประวิงใหต่ํากวาคา Hot Stall Withstand Time ของมอเตอร

คําตอบ 2 : ตั้งเวลาประวิงใหสูงกวาคา Starting Time แตไมเกินคา Hot Stall Withstand Time ของมอเตอร

คําตอบ 3 : ตั้งเวลาประวิงใหสูงกวาคา Starting Time แตไมเกินคา Cold Stall Withstand Time ของมอเตอร

คําตอบ 4 : ตั้งเวลาประวิงใหสูงกวาคา Hot Stall Withstand Time แตไมเกินคา Heating Time Constant ของมอเตอร

ขอที่ : 541

การตรวจจับ Bearing Failures ในมอเตอรไฟฟาขนาดใหญ โดยทั่วไปจะใชวิธีการใด

คําตอบ 1 : ใชวิธีตรวจวัดอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นที่ตัว Bearing

คําตอบ 2 : ใชวิธีตรวจวัดการสั่นทางกลที่แกนเพลาของมอเตอรไฟฟา

คําตอบ 3 : ใชวิธีตรวจวัดความเร็วรอบทางกล

คําตอบ 4 : ใชวิธีตรวจวัดกระแสรั่วไหลลงโครงโลหะของมอเตอรไฟฟา

ขอที่ : 542

Induction Motor แบบ 3-phase ขนาดพิกัด 300 kW, 3.3 kV, กระแสพิกัด (In) = 60 A, Locked Rotor Current (LRC) = 330 A (10 s) และ Maximum Starting Current (MSC) = 545 A

(0.1 s) การตั้งคาเวลาทํางานของรีเลยกระแสเกินเพื่อปองกัน Locked Rotor Protection ควรตั้งคาอยางไรจึงเหมาะสม

คําตอบ 1 : ตั้งแบบ Instantaneous

คําตอบ 2 : ตั้งแบบ Time Delay ไวที่ 0.1 s

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

153 of 156

Page 154: Coe_power electronic

คําตอบ 3 : ตั้งแบบ Time Delay ไวที่ 8 s

คําตอบ 4 : ตั้งแบบ Time Delay ไวที่ 15 s

ขอที่ : 543

Induction Motor แบบ 3-phase ขนาด 300 kW, 3.3 kV, กระแสพิกัด (In) = 60 A, Locked Rotor Current (LRC) = 330 A (10 s) และ Maximum Starting Current (MSC) = 545 A (0.1 s)

จงเลือกขนาดพิกัดของ CT ที่เหมาะสม สําหรับการปองกัน Overload และ Short Circuit Protection

คําตอบ 1 : 50/5 A

คําตอบ 2 : 100/5 A

คําตอบ 3 : 300/5 A

คําตอบ 4 : 600/5 A

ขอที่ : 544

ขอใดตอไปนี้ เปนอุปกรณปองกันมอเตอรทั้งหมด

คําตอบ 1 : 27/59 Under and Overvoltage, 37-Undercurrent, 46-Current Unbalance, 50/51-Instaneous and Time Overcurrent , 67-Directional Overcurrent

คําตอบ 2 : 27/59 Under and Overvoltage, 46-Current Unbalance,79-Recloser Relay, 48-Incomplete Sequence, 50/51-Instaneous and Time Overcurrent

คําตอบ 3 : 27/59 Under and Overvoltage, 37-Undercurrent, 46-Current Unbalance, 48-Incomplete Sequence, 50/51-Instaneous and Time Overcurrent

คําตอบ 4 : 67-Directional Overcurrent, 79-Recloser Relay, 46-Current Unbalance, 48-Incomplete Sequence, 50/51-Instaneous and Time Overcurrent

ขอที่ : 545

มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส ขนาดพิกัด 2400 kW, 6.6 kV, In = 244 A, LCR = 1250 A ใช CT Ratio = 500/5 A ถาตองการปองกัน Overload แบบหนวงเวลาจากอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้น โดย

ใชรีเลยเบอร “49/50” เมื่อกําหนด Margin ไวที่ 10% ของกระแสพิกัด ใหคํานวณหาคากระแสปรับตั้งที่รีเลย

คําตอบ 1 : คากระแสปรับตั้งที่รีเลย = 2.44 A

คําตอบ 2 : คากระแสปรับตั้งที่รีเลย = 2.68 A

คําตอบ 3 : คากระแสปรับตั้งที่รีเลย = 12.5 A

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

154 of 156

Page 155: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : คากระแสปรับตั้งที่รีเลย = 13.75 A

ขอที่ : 546

มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส ขนาดพิกัด 1200 kW, 3.3 kV, power factor = 0.9 , efficiency 92% ใช CT Ratio = 300/1 A ถาตองการปองกันอุณหภูมิสูงเกิน (Thermal Protection) โดยใช

Overcurrent Relay แบบหนวงเวลา ใหคํานวณหาคากระแสปรับตั้งที่รีเลย

คําตอบ 1 : คากระแสปรับตั้งที่รีเลย = 0.85 A

คําตอบ 2 : คากระแสปรับตั้งที่รีเลย = 1.20 A

คําตอบ 3 : คากระแสปรับตั้งที่รีเลย = 1.46 A

คําตอบ 4 : คากระแสปรับตั้งที่รีเลย = 0.7 A

ขอที่ : 547

มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส ขนาดพิกัด 1200 kW, 3.3 kV, power factor = 0.9 , efficiency 92%, มี Starting Current = 550% DOL ใช CT Ratio = 300/5 A ถาตองการปองกันการเกิดลัด

วงจร (Short Circuit Protection) โดยตั้งคาเผื่อไว 125% ใหคํานวณหาคากระแสปรับตั้งที่รีเลย

คําตอบ 1 : คา Setting Value ที่รีเลย = 6.25 A

คําตอบ 2 : คา Setting Value ที่รีเลย = 24.1 A

คําตอบ 3 : คา Setting Value ที่รีเลย = 26.7 A

คําตอบ 4 : คา Setting Value ที่รีเลย = 29.1 A

ขอที่ : 548

มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส ขนาดพิกัด 1200 kW, 3.3 kV, power factor = 0.9 , efficiency 92%, มี Starting Current = 550% DOL ใช CT Ratio = 300/5 A ถาตองการทําการปองกัน

Locked Rotor Protection โดยตั้งคาไวเทากับ 200% ของคากระแสพิกัด คากระแสปรับตั้งที่รีเลยกระแสเกินตองทํางานมีคาเปนเทาใด

คําตอบ 1 : คา Setting Value ที่รีเลย = 7.0 A

คําตอบ 2 : คา Setting Value ที่รีเลย = 12.13 A

คําตอบ 3 : คา Setting Value ที่รีเลย = 8.45 A

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

155 of 156

Page 156: Coe_power electronic

คําตอบ 4 : คา Setting Value ที่รีเลย = 14.64 A

ขอที่ : 549

ZCT หมายถึงขอใด

คําตอบ 1 : Zigzag Current Transformer

คําตอบ 2 : Zero-Sequence Current Transformer

คําตอบ 3 : Burden Impedance ของ CT มีหนวยเปนโอหม

คําตอบ 4 : Zero-Sequence Coupling Current Transformer

ขอที่ : 550

หมอแปลงไฟฟาในระบบจําหนาย 3-Phase พิกัด 800 kVA, 22 kV / 400 V – 230 V , Dyn11, Oil-Immersed (ONAN) ลักษณะการตอขดลวดทางดานแรงสูงและทางดานแรงต่ํา เปน

อยางไร

คําตอบ 1 : ขดลวดดานแรงสูงตอแบบ Wye ; ขดลวดทางดานแรงต่ําตอแบบ Delta

คําตอบ 2 : ขดลวดดานแรงสูงตอแบบ Wye ; ขดลวดทางดานแรงต่ําตอแบบ Wye

คําตอบ 3 : ขดลวดดานแรงสูงตอแบบ Delta ; ขดลวดทางดานแรงต่ําตอแบบ Wye

คําตอบ 4 : ขดลวดดานแรงสูงตอแบบ Delta ; ขดลวดทางดานแรงต่ําตอแบบ Delta

สภาวิศวกรขอสงวน

สิทธิ์ ห้ามจำหน่าย

156 of 156