chapter 15 basic network

15

Click here to load reader

description

Law in computer

Transcript of chapter 15 basic network

Page 1: chapter 15 basic network

กฎหมายที่เก่ียวของกับคอมพิวเตอร

ลิขสิทธ์ิซอฟตแวรและกฎหมายลิขสิทธ์ิ

ลิขสิทธ์ิคืออะไร : ลิขสิทธิ์ เปนทรัพยสินทางปญญาอยางหนึ่ง ท่ีกฎหมายใหความ

คุมครองโดยใหเจาของลิขสิทธิ์ถือสิทธิแตเพียงผูเดียวท่ีจะกระทําการใดๆ เกี่ยวกับงาน

สรางสรรคท่ีตนไดกระทําขึ้น

Page 2: chapter 15 basic network

งานอันมีลิขสิทธ์ิ : งานสรางสรรคท่ีจะไดรับความคุมครองตามพระราชบัญญัติลิชสิทธิ์

ตองเปนงานในสาขา วรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ

ภาพยนตร สิ่งบันทึกเสียง งานแพรเสียงแพราภาพ รวมถึงงานอื่นๆ ในแผนกวรรณคดี

วิทยาศาสตร หรือแผนกศิลปะ งานเหลานี้ถือเปนผลงานท่ีเกิดจากการใชสติปญญา

ความรูความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะ ในการสรางสรรคงานใหเกิดขึ้น ซึ่งถือ

เปนทรัพยสินทางปญญาประเภทหนึ่งท่ีมีคุณคาทางเศรษฐกิจ

การไดมาซึ่งลิขสิทธ์ิ : สิทธิในลิขสิทธิ์เกิดขึ้นทันที นับแตผูสรางสรรคไดสรางสรรค

ผลงานออกมาโดยไมตองจดทะเบียน หรือผานพิธีการใดๆ

การคุมครองลิขสิทธ์ิ : ผูเปนเจาของลิขสิทธิ์มีสิทธิแตเพียงผูเดียว ในการใช

ประโยชนจากผลงานสรางสรรคของตน ในการทําซ้ํา ดัดแปลง หรือเผยแพรตอ

สาธารณชน รวมท้ังสิทธิในการใหเชา โดยท่ัวไปอายุการคุมครองสิทธิจะมีผลเกิดขึ้นทันที

ท่ีมีการสรางสรรคผลงาน โดยความคุมครองนี้จะมีตลอดอายุของผูสรางสรรคและ

คุมครองตอไปนี้อีก 50 ปนับแตผูสรางสรรคเสียชีวิต

ประโยชนตอผูบริโภค : การคุมครองและพิทักษสิทธิในผลงานลิขสิทธิ์ มีผลใหเกิด

แรงจูงใจแกผูสรางสรรคผลงานท่ีจะสรางสรรคผลงานท่ีมีคุณคา ทางวรรณกรรมและ

ศิลปกรรมออกสูตลาดสงผลใหผูบริโภคไดรับความรู ความบันเทิง และไดใชผลงานท่ีมี

คุณภาพ

พระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ

กฎหมายลิขสิทธิ์มีวัตถุประสงคใหความคุมครอง ปองกันผลประโยชนท้ังทาง

เศรษฐกิจและทางศีลธรรม ซึ่งบุคคลพึงไดรับจากผลงานสรางสรรคอันเกิดจากความนึก

คิด และสติปญญาของตน นอกจากนี้ยังมุงท่ีจะสนับสนุนสงเสริมใหเกิดการสรางสรรค

ผลงาน กลาวคือ เม่ือผูสรางสรรคไดรับผลตอบแทนจากหยาดเหงื่อแรงกายและ

สติปญญา ของตน ก็ยอมจะเกิดกําลังใจท่ีจะคิดคนสรางสรรคและเผยแพรผลงานให

แพรหลายออกไปมากขิ่งขึ้นอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาประเทศชาติท้ังดาน

Page 3: chapter 15 basic network

เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี การกระตุนใหเกิดการพัฒนาสติปญญาของคนในชาติ

เปนปจจัยสําคัญท่ีสุดท่ีจะนําไปสูการพัฒนาท่ียั่งยืนตอไปในอนาคต ประเทศไทยได

ประกาศใชพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 เพื่อใชบังคับแทน พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์

พ.ศ. 2521 โดยมีผลบังคับใชวันท่ี 21 มีนาคม 2538 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ใหความ

คุมครองตอโปรแกรมคอมพิวเตอร โดยจัดใหเปนผลงานทางวรรณการประเภทหนึ่ง งาน

ท่ีไดจัดทําขึ้นกอนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ และเปนงานท่ีไดรับความคุมครอง

ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ จะไดรับความคุมครองลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้

แมวาประเทศไทยจะมีกฎหมายคุมครองลิขสิทธิ์มาเปนระยะเวลานานแลว แตความ

เขาใจของประชาชนโดยท่ัวไปในเร่ืองลิขสิทธิ์ยังไมชัดเจน ความตระหนัก รูถึง

ความสําคัญขงการคุมครองลิขสิทธิ์ และทัศนคติท่ีถูกตองเกี่ยวกับการคุมครองทรัพยสิน

ทางปญญาท่ียั่งยืนกวาการปราบปรามการละเมิดลิขสิทธิ์ ซึ่งเปนการแกปญหาท่ีปลาย

เหตุ

Page 4: chapter 15 basic network

การละเมิดลิขสิทธ์ิ

การละเมิดลิขสิทธ์ิโดยตรง : คือ การทําซ้ํา ดัดแปลง เผยแพรโปรแกรมคอมพิวเตอรแก

สาธารณชน รวมท้ังการนําตนฉบับหรือสําเนางานดังกลาวออกใหเชา โดยไมไดรับ

อนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์

การละเมิดลิขสิทธ์ิโดยออม : คือ การกระทําทางการคา หรือการกระทําท่ีมีสวน

สนับสนุนใหเกิดการละเมิดลิขสิทธิ์ดังกลาวขางตนโดยผูกระทํารูอยูแลว วางานใดไดทํา

ขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผูอื่น แตก็ยังกระทําเพื่อหากําไรจากงานนั้น ไดแก การขาย มี

ไวเพื่อขาย ใหเชา เสนอใหเชา ใหเชาซื้อ เสนอใหเชาซื้อ เผยแพรตอสาธารณชน

แจกจายในลักษณะท่ีอาจกอใหเกิดความเสียหายตอเจาของลิขสิทธิ์และนําหรือสั่งเขามา

ในราชอาณาจักร

บทกําหนดโทษ

การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง : มีโทษปรับต้ังแต 20,000 บาท ถึง 200,000 บาท หากเปน

การกระทําเพื่อการคา มีโทษจําคุกต้ังแต 6 เดือน ถึง 4 ป หรือปรับต้ังแต 100,000 บาท

ถึง 800,000 บาท หรือท้ังจําท้ังปรับการละเมิดลิขสิทธิ์โดยออม : มีโทษปรับต้ังแต

10,000 บาท ถึง 100,000 บาท หากเปนการกระทําเพื่อการคา มีโทษจําคุกต้ังแต 3

เดือน ถึง 2 ป หรือปรับต้ังแต 50,000 บาท ถึง 400,000 บาท หรือท้ังจําท้ังปรับ ผูใด

กระทําความผิดตองระวางโทษตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ฉบับนี้ เม่ือพนโทษแลวยังไม

ครบกําหนดหาปกระทําความผิดตอพระราชบัญญัตินี้อีก จะตองระวางโทษเปนสองเทา

ของโทษท่ีกําหนดไวสําหรับความผิดนั้น กรณีท่ีนิติบุคคลกระทําความผิดตาม

พระราชบัญญัตินี้ ใหถือวากรรมการหรือผูจัดการทุกคนของนิติบุคคลนั้นเปนผูรวม

กระทําความผิดกับนิติบุคคลนั้น เวนแตจะพิสูจนไดวามิไดรูเห็นหรือยินยอมดวยคาปรับ

ท่ีไดมีการชําระตามคําพิพากษานั้น คร่ึงหนึ่งจะตกเปนของเจาของลิขสิทธิ์อยางไรก็ดีการ

ไดรับคาปรับดังกลาวไมกระทบตอสิทธิของเจาของลิขสิทธิ์ ท่ีจะฟองเรียกคาเสียหาย

ในทางแพงสําหรับสวนท่ีเกินจํานวนเงินคาปรับท่ีเจาของลิขสิทธิ์ไดรับไวแลวนั้น

Page 5: chapter 15 basic network

ทราบไดอยางไรวาซอฟตแวรที่ใชมีลิขสิทธ์ิถูกตองหรือไม

เม่ือทานซื้อซอฟตแวรมาใชงาน ทานควรไดรับใบอนุญาตการใชงานซึ่งระบุสิทธิท่ี

เจาของลิขสิทธิ์อนุญาตใหทานใชงานซอฟตแวรเหลานี้ได รวมท้ังระบุขอบขายของการใช

งานอีกดวย เชน ซอฟตแวรบางประเภทอาจอนุญาตใหทานใชงานสําเนาท่ีสองสําหรับ

การทํางานท่ีบานไดทานควรอานเอกสาร เหลานี้ใหละเอียดเพื่อประโยชนของทานเอง

และเก็บเอกสารเหลานี้ไวเปนหลักฐานในการมีลิขสิทธิ์ท่ีถูกตองเสมอ

ขอสังเกตของซอฟตแวรละเมิดลิขสิทธิ์

ซอฟตแวรราคาถูกจนไมนาเชื่อโปรแกรมนั้นอยูในแผน CD-ROM ท่ีบรรจุซอฟตแวร

หลายชนิดซึ่งมักเปนผลงานจากผูผลิตซอฟตแวรหลายบริษัทซอฟตแวรจําหนายโดย

บรรจุในกลองพลาสติกใสโดยไมมีกลองบรรจุภัณฑไมมีเอกสารอนุญาตการใชงาน หรือ

คูมือการใชงาน

Page 6: chapter 15 basic network

กฎหมายบังคับใช : พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร

พ.ศ. 2550

ความเปนมา หลักการและเหตุผล

คณะรัฐมนตรีไดเสนอรางพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ

คอมพิวเตอรพ.ศ.... ตอสภานิติบัญญัติแหงชาติในการประชุมคร้ังท่ี 6/2549 เม่ือวันพุธท่ี

15 พฤศจิกายน 2549 โดยมี หลักการคือ “ใหมีกฎหมายวาดวยการกระทําความผิด

เก่ียวกับคอมพิวเตอร”

เหตุผล “เนื่องจากในปจจุบันระบบคอมพิวเตอรไดเปนสวนสําคัญของการประกอบ

กิจการและการดํารงชีวิตของมนุษย หากมีผูกระทําดวยประการใด ๆ ใหระบบ

คอมพิวเตอรไมสามารถทํางานตามคําสั่งท่ีกําหนดไวหรือทําใหการทํางานผิดพลาดไป

จากคําสั่งท่ีกําหนดไวหรือวิธีการใด ๆ เขาลวงรูขอมูล แกไข หรือทําลายขอมูลของบุคคล

อื่นในระบบคอมพิวเตอรโดยมิชอบ หรือใชระบบคอมพิวเตอรเพื่อเผยแพร

ขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จหรือมีลักษณะอันลามกอนาจาร ยอมกอใหเกิดความ

เสียหาย กระทบกระเทือนตอเศรษฐกิจ สังคม และความม่ันคงของรัฐ รวมท้ังความสงบ

สุขและศีลธรรมอันดีของประชาชน สมควรกําหนดมาตรการเพื่อปองกันและปราบปราม

การกระทําดังกลาว จึงจําเปนตองตามพระราชบัญญัตินี้”

ท่ีประชุมสภานิติบัญญัติแหงชาติไดลงมติรับหลักการรางพระราชบัญญัติดังกลาว

ไวพิจารณา และต้ังคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นคณะหนึ่งประกอบดวยสมาชิกสภานิติ

บัญญัติแหงชาติและผูทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับวิชาการคอมพิวเตอรและกฎหมายเพื่อ

พิจารณา คณะกรรมาธิการไดประชุมพิจารณารวมท้ังสิ้น 27 คร้ัง และไดเสนอตอสภา

Page 7: chapter 15 basic network

นิติบัญญัติเพื่อพิจารณาในวาระท่ี 2 และวาระท่ี 3 เม่ือวันท่ี 9 พฤษภาคม 2550 และได

มีมติใหผานรางพระราชบัญญัติฉบับนี้เพื่อใหมีผลบังคับใชเปนกฎหมายตอไป ซึ่งตอมาได

มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาเลม 128 ตอน 27 ก. ลงวันท่ี 18 มิถุนายน 2550

และมีผลบังคับใชต้ังแต วันท่ี 19 กรกฎาคม 2550

ฐานความผิดและบทลงโทษสําหรับการกระทําโดยมิชอบ

มาตรา ๕ การเขาถึงระบบคอมพิวเตอร

มาตรา ๖ การลวงรูมาตรการปองกันการเขาถึง

มาตรา ๗ การเขาถึงขอมูลคอมพิวเตอร

มาตรา ๘ การดักขอมูลคอมพิวเตอรโดยมิชอบ

มาตรา ๙ การรบกวนขอมูลคอมพิวเตอร

มาตรา ๑๐ การรบกวนระบบคอมพิวเตอร

มาตรา ๑๑ สแปมเมล ( Spam Mail)

มาตรา ๑๒ การกระทําความผิดตอความม่ันคง

มาตรา ๑๓ การจําหนาย/เผยแพรชุดคําสั่งเพื่อใชกระทําความผิด

มาตรา ๑๔ การปลอมแปลงขอมูลคอมพิวเตอร/เผยแพรเนื้อหาอันไมเหมาะสม

มาตรา ๑๕ ความรับผิดของผูใหบริการ

มาตรา ๑๖ การเผยแพรภาพจากการตัดตอ/ดัดแปลง

Page 8: chapter 15 basic network

รวม ๑๒ มาตรา โดยเพิ่มเติม ๑ มาตรา คือ มาตรา ๑๑ อันเก่ียวเน่ืองกับความผิด

ตามมาตรา ๑๐

การเขาถึงระบบคอมพิวเตอรโดยมิชอบ

มาตรา ๕ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอรท่ีมีมาตรการปองกันการเขาถึง

โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือ

ปรับไมเกินหนึ่งหม่ืนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

การเปดเผยมาตรการปองกันการเขาถึง

มาตรา ๖ ผูใดลวงรูมาตรการปองกันการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรท่ีผูอื่นจัดทําขึ้นเปน

การเฉพาะ ถานํามาตรการดังกลาวไปเปดเผยโดยมิชอบในประการท่ีนาจะเกิดความ

เสียหายแกผูอื่น ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหม่ืนบาท หรือ

ท้ังจําท้ังปรับ

การเขาถึงขอมูลคอมพิวเตอรโดยมิชอบ

มาตรา ๗ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรท่ีมีมาตรการปองกันการเขาถึง

โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองป หรือ

ปรับไมเกินสี่หม่ืนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

การพิจารณาฐานความผิด

- การกระทําซึ่งเปนความผิดตามมาตรา 7 อาจตองมีการกระทําความผิดตาม

มาตรา 5 เสียกอน

Page 9: chapter 15 basic network

การดักขอมูลคอมพิวเตอรโดยมิชอบ

มาตรา ๘ ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสเพื่อดักรับ

ไวซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นท่ีอยูระหวางการสงในระบบคอมพิวเตอร และ

ขอมูลคอมพิวเตอรนั้นมิไดมีไวเพื่อประโยชนสาธารณะหรือเพื่อใหบุคคลท่ัวไปใช

ประโยชนได ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามปหรือปรับไมเกินหกหม่ืนบาท หรือท้ังจําท้ัง

ปรับ

การรบกวนขอมูลคอมพิวเตอร

มาตรา ๙ ผูใดทําใหเสียหาย ทําลาย แกไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไมวาท้ังหมดหรือ

บางสวน ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นโดยมิชอบ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือ

ปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

การรบกวนระบบคอมพิวเตอร

“มาตรา ๑๐ ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบ เพื่อใหการทํางานของระบบ

คอมพิวเตอรของผูอื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไมสามารถทํางาน

ตามปกติได ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือท้ังจําท้ัง

ปรับ

เหตุผล การกําหนดฐานความผิดคํานึงถึงการกอใหเกิดการปฏิเสธการใหบริการ (Denial

of Service) เปนสําคัญ

Page 10: chapter 15 basic network

สแปมเมล (Spam Mail)

มาตรา ๑๑ ผูใดสงขอมูลคอมพิวเตอรหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกสแกบุคคลอื่นโดย

ปกปดหรือปลอมแปลงแหลงท่ีมาของการสงขอมูลดังกลาว อันเปนการรบกวนการใช

ระบบคอมพิวเตอรของบุคคลอื่นโดยปกติสุข ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท

การกระทําซึ่งกอใหเกิดผลกระทบตอความมั่นคง

มาตรา ๑๒ ถาการกระทําความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐

(๑) กอใหเกิดความเสียหายแกประชาชน ไมวาความเสียหายนั้นจะเกิดขึ้น

ในทันทีหรือในภายหลังและไมวาจะเกิดขึ้นพรอมกันหรือไม ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน

สิบป และปรับไมเกินสองแสนบาท

(๒) เปนการกระทําโดยประการท่ีนาจะเกิดความเสียหายตอขอมูลคอมพิวเตอร

หรือระบบคอมพิวเตอรท่ีเกี่ยวกับการรักษาความม่ันคงปลอดภัยของประเทศ ความ

ปลอดภัยสาธารณะ ความม่ันคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือการบริการสาธารณะ

หรือเปนการกระทําตอขอมูลคอมพิวเตอรหรือระบบคอมพิวเตอรท่ีมีไวเพื่อประโยชน

สาธารณะ ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตสามปถึงสิบหาป และปรับต้ังแตหกหม่ืนบาทถึง

สามแสนบาท

ถาการกระทําความผิดตาม (๒) เปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย ตองระวางโทษ

จําคุกต้ังแตสิบปถึงยี่สิบป

เหตุผล กําหนดโทษหนักขึ้นตามความเสียหายท่ีเกิดขึ้น

Page 11: chapter 15 basic network

การใชอุปกรณ/ชุดคําสั่งในทางมิชอบ

มาตรา ๑๓ ผูใดจําหนายหรือเผยแพรชุดคําสั่งท่ีจัดทําขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนําไปใชเปน

เคร่ืองมือในการกระทําความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙

มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหม่ืน

บาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

เหตุผล จํากัดเฉพาะกรณีโปรแกรมคอมพิวเตอรเทานั้น ซึ่งแตเดิมรวมถึงฮารดแวร

(อุปกรณ) ดวย

การนําเขา/เผยแพรเน้ือหาอันไมเหมาะสม

มาตรา ๑๔ ผูใดกระทําความผิดท่ีระบุไวดังตอไปนี้ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป

หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

(๑) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรปลอมไมวาท้ังหมด

หรือบางสวน หรือขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการท่ีนาจะเกิดความเสียหาย

แกผูอื่นหรือประชาชน

(๒) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดย

ประการท่ีนาจะเกิดความเสียหายตอความม่ันคงของประเทศหรือกอใหเกิดความต่ืน

ตระหนกแกประชาชน

(๓) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ อันเปนความผิด

เกี่ยวกับความม่ันคงแหงราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการกอการรายตามประมวล

กฎหมายอาญา

Page 12: chapter 15 basic network

(๔) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ ท่ีมีลักษณะอัน

ลามก และขอมูลคอมพิวเตอรนั้นประชาชนท่ัวไปอาจเขาถึงได

(๕) เผยแพรหรือสงตอซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรโดยรูอยูแลววาเปน

ขอมูลคอมพิวเตอรตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔)

“ผูใหบริการ” หมายความวา

(๑) ผูใหบริการแกบุคคลอื่นในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึงกัน

โดยประการอื่น โดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ท้ังนี้ ไมวาจะเปนการใหบริการในนาม

ของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น

(๒) ผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น

การกําหนดบทลงโทษผูใหบริการ

มาตรา ๑๕ ผูใหบริการผูใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมใหมีการกระทําความผิดตาม

มาตรา ๑๔ ในระบบคอมพิวเตอรท่ีอยูในความควบคุมของตน ตองระวางโทษ

เชนเดียวกับผูกระทําความผิดตามมาตรา ๑๔

เหตุผล ผูใหบริการในท่ีนี้มุงประสงคถึงเจาของเว็บไซตซึ่งมีการพิจารณาวาควรตองมี

หนาท่ีลบเนื้อหาอันไมเหมาะสมดวย

การเผยแพรภาพซึ่งตัดตอในลักษณะหมิ่นประมาท

มาตรา ๑๖ ผูใดนําเขาสูระบบคอมพิวเตอรท่ีประชาชนท่ัวไปอาจเขาถึงไดซึ่ง

ขอมูลคอมพิวเตอรท่ีปรากฏเปนภาพของผูอื่น และภาพนั้นเปนภาพท่ีเกิดจากการสราง

ขึ้น ตัดตอ เติมหรือดัดแปลงดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือวิธีการอื่นใด ท้ังนี้ โดย

Page 13: chapter 15 basic network

ประการท่ีนาจะทําใหผูอื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหม่ิน ถูกเกลียดชัง หรือไดรับความอับอาย

ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหม่ืนบาท หรือท้ังจําท้ังปรับ

ถาการกระทําตามวรรค หนึ่ง เปนการนําเขาขอมูลคอมพิวเตอรโดยสุจริต

ผูกระทําไมมีความผิดความผิดตามวรรคหนึ่งเปนความผิดอันยอมความได

ถาผูเสียหายในความผิดตามวรรคหน่ึงตายเสียกอนรองทุกข ใหบิดา มารดา คู

สมรส หรือบุตรของผูเสียหายรองทุกขได และใหถือวาเปนผูเสียหาย

บทกําหนดโทษ

ฐานความผิด โทษจําคุก โทษปรับ

มาตรา ๕ เขาถึงคอมพิวเตอรโดยมิ

ชอบ

ไมเกิน ๖ เดือน ไมเกิน ๑๐,๐๐๐ บาท

มาตรา ๖ ลวงรูมาตรการปองกัน ไมเกิน ๑ ป ไมเกิน ๒๐,๐๐๐ บาท

มาตรา ๗ เขาถึงขอมูลคอมพิวเตอร

โดยมิชอบ

ไมเกิน ๒ ป ไมเกิน ๔๐,๐๐๐ บาท

มาตรา ๘ การดักขอมูลคอมพิวเตอร ไมเกิน ๓ ป ไมเกิน ๖๐,๐๐๐ บาท

มาตรา ๙ การรบกวน

ขอมูลคอมพิวเตอร

ไมเกิน ๕ ป ไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท

มาตรา ๑๐ การรบกวนระบบ

คอมพิวเตอร

ไมเกิน ๕ ป

ไมมี

ไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท

ไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท

Page 14: chapter 15 basic network

มาตรา ๑๑ สแปมเมล

มาตรา ๑๒ การกระทําตอความม่ันคง

(๑) กอความเสียหายแก

ขอมูลคอมพิวเตอร

(๒) กระทบตอความม่ันคงปลอดภัย

ของประเทศ/เศรษฐกิจวรรคทาย เปน

เหตุใหผูอื่นถึงแกชีวิต

ไมเกิน ๑๐ ป

๓ ป ถึง ๑๕ ป

๑๐ ป ถึง ๒๐ ป

+ ไมเกิน ๒๐๐,๐๐๐

บาท

๖๐,๐๐๐-๓๐๐,๐๐๐

บาท

ไมมี

มาตรา ๑๓ การจําหนาย/เผยแพร

ชุดคําสั่ง

ไมเกิน ๑ ป ไมเกิน ๒๐,๐๐๐ บาท

มาตรา ๑๔ การเผยแพรเนื้อหาอันไม

เหมาะสม

ไมเกิน ๕ ป ไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท

มาตรา ๑๕ ความรับผิดของ ISP ไมเกิน ๕ ป ไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐

บาท

มาตรา ๑๖ การตัดตอภาพผูอื่น ถา

สุจริต ไมมีความผิด

ไมเกิน ๓ ป ไมเกิน ๖๐,๐๐๐ บาท

Page 15: chapter 15 basic network