Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

162

description

Programme of Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

Transcript of Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

Page 1: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University
Page 2: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University
Page 3: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

คูมือหลักสูตรศิลปบัณฑิต คณะมัณฑนศิลป มีวัตถุประสงคจัดทำขB้นเพื่อใหนักศึกษาใชเปนคูมือในการศึกษาและวางแผนการลงทะเบียนเรQยน ตลอดระยะเวลาตามหลักสูตร 4 ปการศึกษาของนักศึกษา โดยมีรายละเอียดของหลักสูตรแยกตามสาขาวTชา ดังนั้น นักศึกษาจBงควรศึกษาและเก็บรักษาคูมือไวใชเปนประโยชนตั้งแตชั้นปที่ 1 จนกระทั่งสำเร็จการศึกษา เพื่อใชตรวจสอบการลงทะเบียนเรQยนรายวTชาใหครบถวนและถูกตองตามขอกำหนดและเงW่อนไขของหลักสูตร

อนึ่ง เมื่อนักศึกษาลงทะเบียนเรQยนรายวTชาใด ควรจะจดบันทึกรายวTชานั้นๆ ในแผนการศึกษาแตละภาคการศึกษาของสาขาวTชา ซB่งจะทำใหนักศึกษาไมเสียประโยชนจากการลงทะเบียนเรQยนผิดพลาด ไมถูกตองตามเงW่อนไขของหลักสูตรฯ และเมื่อนักศึกษายื่นคำรองขอสำเร็จการศึกษา ก็สามารถตรวจสอบความครบถวนของการลงทะเบียนฯ ไดสะดวกยิ่งขB้น

คณะมัณฑนศิลป คาดหวังใหนักศึกษาไดใชประโยชนจากคูมือหลักสูตรฯ ตลอดระยะเวลาการศึกษา และชวยใหนักศึกษาสำเร็จการศึกษาไดตามเปาหมายที่ตั้งใจไว

1

Page 4: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

จัดทำโดย( งานบริการการศึกษา สำนักงานเลขานุการคณะฯ( ( คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ( ( โทรศัพท 02 221 5874 โทรสาร 02 225 4350( ( www.decorate.su.ac.th( ( facebook.com/decorate.su( ( [email protected]

ออกแบบ( ผูชวยศาสตราจารยอาวิน อินทรังษีพิมพที่ ( โรงพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ( (ปที่พิมพ ( 2555

2

Page 5: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

สารบัญสาขาวTชาการออกแบบภายใน 5

สาขาวTชาการออกแบบนิเทศศิลป 17สาขาวTชาการออกแบบผลิตภัณฑ 29

สาขาวTชาประยุกตศิลปศึกษา 43สาขาวTชาเครW่องเคลือบดินเผา 57

สาขาวTชาการออกแบบเครW่องประดับ 69สาขาวTชาการออกแบบเครW่องแตงกาย 81

คำอธTบายรายวTชา 93ภาคผนวก 157

3

Page 6: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ศาสตราจารยศิลป พีระศร0ภาพถายโดย อวบ สาณะเสน

4

Page 7: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

สาขาวTชาการออกแบบภายใน

สรางสรรคงานออกแบบภายใน สงเสรTมสุนทรQยภาพ

สืบสานศิลปวัฒนธรรม

5

Page 8: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

รายละเอียดของหลักสูตรหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบภายใน

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555)

1. รหัสและชื่อหลักสูตร B ภาษาไทย( ( ( หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบภายใน( ภาษาอังกฤษ(( ( Bachelor of Fine Arts Program in Interior Design

2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา B ชื่อเต็มภาษาไทย( ( ศิลปบัณฑิต (การออกแบบภายใน)( ชื่อยอภาษาไทย( ( ศล.บ. (การออกแบบภายใน) ( ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ(( Bachelor of Fine Arts (Interior Design)( ชื่อยอภาษาอังกฤษ( ( B.F.A. (Interior Design)

3. ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตรB 3.1 ปรัชญา ( ( สรางสรรคงานออกแบบภายใน สงเสริมสุนทรียภาพ สืบสานศิลปวัฒนธรรม( 3.2 ความสำคัญB B เปนหลักสูตรที่สรางมัณฑนากรผูมีรสนิยมและความคิดสรางสรรค สามารถใชศาสตรและศิลปในการ( ทำงานออกแบบภายใน เพื่อสงเสริมการพัฒนาดานเศรษฐกิจและสังคม สงเสริมสุนทรียภาพ คุณภาพชีวิต ( และศิลปวัฒนธรรมไทย B 3.3 วัตถุประสงค B B 3.3.1 ผลิตบัณฑิตผูมีความรูความสามารถในการออกแบบสรางสรรคงานออกแบบภายใน สามารถ( ประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป( ( 3.3.2 ผลิตบัณฑิตที่สามารถสรางสรรคงานออกแบบภายในที่มีสุนทรียภาพดานความงาม มี( คุณภาพ และมีประสิทธิภาพดานประโยชนใชสอย( ( 3.3.3 ผลิตบัณฑิตที่มีความใฝรู คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ มีความรับผิดชอบตอ( ตนเองและสังคม

4. อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสำเร็จการศึกษา B 4.1( มัณฑนากร นักออกแบบภายใน สถาปนิกสาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ( ( ตามพระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2543( 4.2( ผูบริหารงานโครงการออกแบบภายใน ที่ปรึกษาโครงการออกแบบภายใน ( 4.3 ( ผูสอน นักวิชาการดานการออกแบบภายใน ( 4.4( ผูประกอบธุรกิจที่เกี่ยวของตางๆ เชน ธุรกิจกอสราง ธุรกิจการคาวัสดุและอุปกรณ ธุรกิจการคาเครื่องเรือนและของตกแตง รวมทั้งงานที่เกี่ยวกับความคิดสรางสรรค

6

Page 9: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

5. ชื่อ นามสกุล ตำแหนง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยประจำหลักสูตรและผูรับผิดชอบหลักสูตรB 5.1( นายชัยณรงค อริยะประเสริฐ*( ( ตำแหนง( ผูชวยศาสตราจารย( ( คุณวุฒิ( ศ.ม. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2552)( ( ( ( ศ.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2539)( ( ( ( เลขใบประกอบวิชาชีพ ส-สน.157( 5.2( นางสาววราพร กฤษณมิษ*( ( ตำแหนง ( อาจารย( ( คุณวุฒิ( M.Sc. (Interior Design) Pratt Institute.,NY.,USA. (1993)( ( ( ( ศ.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2531)( ( ( ( เลขใบประกอบวิชาชีพ ว-สน.67( 5.3 ( นายไพบูลย จิรประเสริฐกุล*( ( ตำแหนง ( อาจารย( ( คุณวุฒิ( M.Sc. (Advance Architecture) Columbia University ,USA. (2002)( ( ( ( B.Arch. (Architecture) Pratt Institute. USA. (2001)( ( ( ( ศ.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2538)( ( ( ( เลขใบประกอบวิชาชีพ ภ-สถ.11008 ส-สน.110( 5.4( นายณัฐรฐนนท ทองสุทธิพีรภาส( ( ตำแหนง ( อาจารย( ( คุณวุฒิ( ศ.ม. (การออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2552)( ( ( ( ศ.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2545)( ( ( ( เลขใบประกอบวิชาชีพ ภ-สน.147 อยูระหวางการขอใบอนุญาตฯ ระดับสามัญ( 5.5( นายกศิตินทร ชุมวรานนท( ( ตำแหนง ( อาจารย( ( คุณวุฒิ( M. (Design) Firenze, Italia (2004)( ( ( ( ศ.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2532)( ( ( ( เลขใบประกอบวิชาชีพ อยูระหวางการขอใบอนุญาตฯ

หมายเหตุ * หมายถึง อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

7

Page 10: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

6. หลักสูตรB 6.1B จำนวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร จำนวนไมนอยกวา 140 หนวยกิต( 6.2B โครงสรางหลักสูตรB หมวดวิชาศึกษาทั่วไป( จำนวนไมนอยกวา( 30 B หนวยกิต( 1. วิชาบังคับ( จำนวน( 9 ( หนวยกิต( 2. วิชาบังคับเลือก( จำนวนไมนอยกวา( 12( หนวยกิต( 3. วิชาที่กำหนดโดยคณะวิชา( จำนวน( 9 ( หนวยกิต( หมวดวิชาเฉพาะB B จำนวนไมนอยกวา( 104B หนวยกิต( 1. วิชาแกน( จำนวน( 21( หนวยกิต( 2. วิชาบังคับ( จำนวน( 83 ( หนวยกิต( หมวดวิชาเลือกเสรBีB จำนวนไมนอยกวา( 6 B หนวยกิตB 6.3B รายวิชาB B หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวนไมนอยกวา 30 หนวยกิต( ( 1. วิชาบังคับ จำนวน 9 หนวยกิต( ( ( ( กลุมวิชาภาษา( 081 101( ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร( 3(3-0-6)( ( (Thai for Communication)( 081 102( ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน( 3(2-2-5)( ( (English for Everyday Use)( 081 103 ( การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ( 3(2-2-5)( ( (English Skill Development)( 2. วิชาบังคับเลือก จำนวนไมนอยกวา 12 หนวยกิต โดยเลือกจากทุกกลุมตอไปนี้ จำนวนไมนอย( กวากลุมละ 3 หนวยกิต( ( ( ( กลุมวิชามนุษยศาสตร( 082 101( มนุษยกับศิลปะ( 3(3-0-6)( ( (Man and Art)( 082 102( มนุษยกับการสรางสรรค( 3(3-0-6)( ( (Man and Creativity)( 082 103 ( ปรัชญากับชีวิต( 3(3-0-6)( ( (Philosophy and Life)( 082 104( อารยธรรมโลก( 3(3-0-6)( ( (World Civilization)( 082 105( อารยธรรมไทย( 3(3-0-6)( ( (Thai Civilization)( ( กลุมวิชาสังคมศาสตร ( 083 101( มนุษยกับสิ่งแวดลอม( 3(3-0-6)( ( (Man and His Environment)( 083 102( จิตวิทยากับมนุษยสัมพันธ( 3(3-0-6)( ( (Psychology and Human Relations)

8

Page 11: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 083 103 ( หลักการจัดการ( 3(3-0-6)( ( (Principles of Management)( 083 104( กีฬาศึกษา( 3(2-2-5)( ( (Sport Education)( 083 105( การเมือง การปกครองและเศรษฐกิจไทย( 3(3-0-6)( ( (Thai Politics, Government and Economy)( ( ( ( กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร( 084 101( อาหารเพื่อสุขภาพ( 3(3-0-6)( ( (Food for Health)( 084 102( สิ่งแวดลอม มลพิษและพลังงาน( 3(3-0-6)( ( (Environment, Pollution and Energy)( 084 103 ( คอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร( 3(3-0-6)( ( (Computer, Information Technology and Communication)( 084 104( คณิตศาสตรและสถิติในชีวิตประจำวัน( 3(3-0-6)( ( (Mathematics and Statistics in Everyday Life)( 084 105( โลกแหงเทคโนโลยีและนวัตกรรม( 3(3-0-6)( ( (World of Technology and Innovation)( 3. วิชาที่กำหนดโดยคณะวิชา จำนวน 9 หนวยกิต( 360 111 ( ภูมิปญญาไทยกับการสรางสรรค( 3(3-0-6)( ( (Thai Wisdom and Creativity)( 360 112( สุนทรียศาสตรเบื้องตน( 3(3-0-6)( ( (Basic Aesthetics)( 360 113 ( การออกแบบและสรางสรรคในศิลปะตะวันออก( 3(3-0-6)( ( (Design and Creation in Oriental Arts)B หมวดวิชาเฉพาะ(( 1. วิชาแกน จำนวน 21 หนวยกิต( 360 101( การออกแบบ 1( 2(1-3-2)( ( (Design I)( 360 102( การออกแบบ 2 ( 3(1-4-4)( ( (Design II)( 360 103 ( วาดเสน 1 ( 2(1-3-2)( ( (Drawing I)(( 360 104( วาดเสน 2 ( 3(1-4-4)( ( (Drawing II)( 360 105( ศิลปะปฏิบัติ 1 ( 2(1-3-2)( ( (Art Studio I)( 360 106 ( ศิลปะปฏิบัติ 2 ( 3(1-4-4)( ( (Art Studio II)( 360 107( การเขียนแบบเบื้องตน( 3(1-4-4)( ( (Basic Technical Drawing)

9

Page 12: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 360 108 ( ศิลปะไทยปริทัศน ( 3(1-4-4)( ( (Survey of Thai Art)( 2. วิชาบังคับ จำนวน 83 หนวยกิต( 361 101( การเขียนแบบภายใน( 3(1-4-4)( ( (Interior Design Working Drawing) ( 361 102( การออกแบบภายใน 1 ( 3(1-4-4)( ( (Interior Design I)( 361 103 ( การออกแบบภายใน 2 ( 3(1-4-4)( ( (Interior Design II)( 361 104( วัสดุและอุปกรณเพื่อการออกแบบภายใน( 3(2-2-5)( ( (Equipment and Materials for Interior Design) ( 361 105( สถาปตยกรรมศึกษา 1( 3(2-2-5)( ( (Architectural Studies I)( 361 106 ( การออกแบบเครื่องเรือน 1 ( 3(2-2-5)( ( (Furniture Design I)( 361 107( การออกแบบภายใน 3 ( 3(1-4-4)( ( (Interior Design III)( 361 108 ( สถาปตยกรรมศึกษา 2( 3(2-2-5)( ( (Architectural Studies II)( 361 109 ( การออกแบบเครื่องเรือน 2 ( 3(2-2-5)( ( (Furniture Design II) ( 361 110 ( ประวัติการออกแบบภายในและเครื่องเรือนตะวันตก( 3(3-0-6)( ( (History of Western Interior Design and Furniture Design)(( 361 111( คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบภายใน 1 ( 3(2-2-5)( ( (Computer for Interior Design I)( 361 201( การออกแบบภายใน 4 ( 5(2-6-7)( ( (Interior Design IV)( 361 202( เทคโนโลยีอาคารและงานระบบเพื่อการออกแบบภายใน( 3(2-2-5)( ( (Building Technology and System for Interior Design)( 361 203 ( มัณฑนศิลปไทย( 3(2-2-5)( ( (Thai Decorative Arts)( 361 204( คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบภายใน 2( 3(2-2-5)( ( (Computer for Interior Design II)( 361 205( การออกแบบภายใน 5 ( 5(2-6-7)( ( (Interior Design V)( 361 206 ( มัณฑนศิลปตะวันออก ( 3(2-2-5)( ( (Oriental Decorative Arts)( 361 207( สัมมนาการออกแบบภายใน( 3*(3-0-6)( ( (Seminar for Interior Design) (

10

Page 13: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 361 208 ( วิธีวิจัยเพื่อการออกแบบภายใน( 3(2-2-5)( ( (Research Method for Interior Design)( 361 209 ( การฝกประสบการณวิชาชีพ( 3*(ไมนอยกวา 270 ชั่วโมง)( ( (Practical Training)( 361 210 ( การออกแบบภายใน 6 ( 6(2-8-8)( ( (Interior Design VI)( 361 211( การเตรียมศิลปนิพนธ ( 3(2-2-5)( ( (Art Thesis Preparation)( 361 212( การบริหารองคกรและโครงการออกแบบภายใน( 3(3-0-6)( ( (Organization and Interior Design Project Management( 361 213 ( การปฏิบัติวิชาชีพมัณฑนากร( 3(3-0-6)( ( (Professional Practice in Interior Design) ( 361 214( ศิลปนิพนธ( 10(0-20-10)( ( (Art Thesis)

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิตในหลักสูตร

( หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาตาง ๆ( ดังตอไปนี้ หรือใหนักศึกษาเลือกเรียนรายวิชาตาง ๆ ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยความเห็นชอบ( ของอาจารยที่ปรึกษาทางวิชาการ( 361 215( ศิลปะและของตกแตงเพื่องานออกแบบภายใน( 3(1-4-4)( ( (Decorative Arts and Objects for Interior Design)( 361 216 ( การออกแบบฉาก ( 3(1-4-4)( ( (Scenic Design)( 361 217( มัณฑนศิลปไทยพื้นถิ่น ( 3(1-4-4)( ( (Vernacular-Thai Decorative Arts)( 361 218 ( การออกแบบตกแตงแบบไทย ( 3(1-4-4)( ( (Thai Motif in Decorative Arts)( 361 219 ( พันธุไมตกแตง ( 3(2-2-5)( ( (Plant for Decoration)( 361 220 ( การออกแบบภูมิทัศน   ( 3(2-2-5)( ( (Landscape Design)( 361 221( การนำเสนอผลงานออกแบบภายใน( 3(1-4-4)( ( (Interior Design Presentation)( 361 222( แนวความคิดสรางสรรคในการออกแบบภายใน ( 3(2-2-5) ( ( (Interior Design Creative Concept)( 361 223 ( การศึกษารายบุคคล ( 3(1-4-4)( ( (Individual Studies)( 361 224( ภาษาอังกฤษสำหรับการออกแบบภายใน( 3(2-2-5)( ( (English for Interior Design)( 361 225( นวัตกรรมความรูเพื่องานออกแบบภายใน( 3(3-0-6)( ( (Interior Design Innovation Knowledge)

11

Page 14: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

B 6.4B แผนการศึกษา

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

081 102360 111

วิชาศึกษาทั่วไป ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวันภูมิปญญาไทยกับการสรางสรรควิชาบังคับเลือก

3(2-2-5)3(3-0-6)

6

360 101360 103360 105360 107

วิชาเฉพาะการออกแบบ 1 วาดเสน 1 ศิลปะปฏิบัติ 1 การเขียนแบบเบื้องตน

2(1-3-2)2(1-3-2)2(1-3-2)3(1-4-4)

รวมจำนวนรวมจำนวน 21

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

081 103วิชาศึกษาทั่วไป การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)

360 102360 104360 106360 108361 101361 102

วิชาเฉพาะการออกแบบ 2 วาดเสน 2 ศิลปะปฏิบัติ 2 ศิลปะไทยปริทัศน การเขียนแบบภายในการออกแบบภายใน 1

3(1-4-4)3(1-4-4)3(1-4-4)3(1-4-4)3(1-4-4)3(1-4-4)

รวมจำนวนรวมจำนวน 21

12

Page 15: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

360 112วิชาศึกษาทั่วไปสุนทรียศาสตรเบื้องตนวิชาบังคับเลือก

3(3-0-6)6

361 103361 104361 105361 106

วิชาเฉพาะการออกแบบภายใน 2 วัสดุและอุปกรณเพื่องานออกแบบภายในสถาปตยกรรมศึกษา 1การออกแบบเครื่องเรือน 1

3(1-4-4)3(2-2-5)3(2-2-5)3(2-2-5)

รวมจำนวนรวมจำนวน 21

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

081 101360 113

วิชาศึกษาทั่วไปภาษาไทยเพื่อการสื่อสารการออกแบบและสรางสรรคในโลกตะวันออก

3(3-0-6)3(3-0-6)

361 107361 108361 109361 110361 111

วิชาเฉพาะการออกแบบภายใน 3 สถาปตยกรรมศึกษา 2 การออกแบบเครื่องเรือน 2 ประวัติการออกแบบภายในและเครื่องเรือนตะวันตก คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบภายใน 1

3(1-4-4)3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(2-2-5)

รวมจำนวนรวมจำนวน 21

13

Page 16: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ี 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

361 201361 202361 203361 204

วิชาเฉพาะการออกแบบภายใน 4 เทคโนโลยีอาคารและงานระบบเพื่อการออกแบบภายในมัณฑนศิลปไทย คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบภายใน 2

5(2-6-7)3(2-2-5)3(2-2-5)3(2-2-5)

วิชาเลือกเสรี 3

รวมจำนวนรวมจำนวน 17

ปที่ี 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

361 205361 206361 207361 208

วิชาเฉพาะการออกแบบภายใน 5 มัณฑนศิลปตะวันออก สัมมนาการออกแบบภายในวิธีวิจัยเพื่อการออกแบบภายใน

5(2-6-7)3(2-2-5)3*(3-0-6)3(2-2-5)

วิชาเลือกเสรี 3

รวมจำนวนรวมจำนวน 14

ปที่ 3 ภาคการศึกษาพิเศษฤดูรอน

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

361 209 การฝกประสบการณวิชาชีพ 3*(ไมนอยกวา270 ชั่วโมง)

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิตในหลักสูตร

14

Page 17: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

361 210361 211361 212

วิชาเฉพาะการออกแบบภายใน 6 การเตรียมศิลปนิพนธ การบริหารองคกรและโครงการออกแบบภายใน

6(2-8-8)3(2-2-5)3(3-0-6)

รวมจำนวนรวมจำนวน 12

ปที่ี 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

361 213361 214

วิชาเฉพาะการปฏิบัติวิชาชีพมัณฑนากรศิลปนิพนธ

3(3-0-6)10(0-20-10)

รวมจำนวนรวมจำนวน 13

15

Page 18: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

16

Page 19: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

สาขาวTชาการออกแบบนิเทศศิลป

เปนเลิศดานความคิดสรางสรรค มุงมั่นพัฒนาการศึกษา

ดานการออกแบบนิเทศศิลป

17

Page 20: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

รายละเอียดของหลักสูตรหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555)

1. ชื่อหลักสูตร( ภาษาไทย( ( ( หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป( ภาษาอังกฤษ(( ( Bachelor of Fine Arts Program in Visual Communication Design

2. ชื่อปริญญาB ชื่อเต็มภาษาไทย( ( ศิลปบัณฑิต (การออกแบบนิเทศศิลป)( ชื่อยอภาษาไทย( ( ศล.บ. (การออกแบบนิเทศศิลป)( ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ(( Bachelor of Fine Arts (Visual Communication Design)( ชื่อยอภาษาอังกฤษ( ( B.F.A. (Visual Communication Design)

3. ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร3.1 ปรัชญา( เปนเลิศดานความคิดสรางสรรค มุงมั่นพัฒนาการศึกษาดานการออกแบบนิเทศศิลป3.2 ความสำคัญ( หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป เปนหลักสูตรซึ่งผลิตบัณฑิตที่เปนเลิศดานการคิดวิเคราะหและการสื่อสารอยางสรางสรรค สามารถบูรณาการศาสตรตาง ๆ เขากับหลักการออกแบบนิเทศศิลป เพื่อสรางผลงานออกแบบที่มีประสิทธิภาพ เต็มเปยมดวยความคิดสรางสรรค ตอบสนองความตองการของตลาด กอใหเกิดมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ เปนแรงผลักดันเศรษฐกิจของชาติใหเติบโต ควบคูกับการปลูกฝงจรรยาบรรณ จิตสำนึกรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม3.3 วัตถุประสงค

1.3.1 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถและมีความเชี่ยวชาญดานการออกแบบนิเทศศิลป1.3.2 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความคิดสรางสรรค ทักษะ จรรยาบรรณในวิชาชีพ 1.3.3 เพ่ือผลิตบัณฑิตท่ีมีความสามารถในการบูรณาการความรูในศาสตรตาง ๆ1.3.4 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรูความเขาใจในการประกอบวิชาชีพ1.3.5 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรับผิดชอบตอสังคม และศิลปวัฒนธรรม

4. อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสำเร็จการศึกษา( 4.1( นักออกแบบกราฟก( 4.2( ผูกำกับศิลปในงานโฆษณา ภาพยนตรและแอนิเมชั่น( 4.3 ( ผูกำกับภาพยนตรและอนิเมชั่น( 4.4( นักสรางเทคนิคพิเศษทางวิดีโอและภาพยนตร( 4.5( นักวาดภาพประกอบ และนักเขียนการตูน( 4.6 ( นักถายภาพ นักตกแตงภาพ( 4.7( นักออกแบบงานดิสเพลยและงานจัดแสดงตาง ๆ( 4.8 ( ผูสอน นักวิชาการดานการออกแบบนิเทศศิลป( 4.9 ( นักเขียนขอความโฆษณา และนักเขียนบท

18

Page 21: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

5. ชื่อ นามสกุล ตำแหนงและคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยประจำหลักสูตรและผูรับผิดชอบหลักสูตรB 5.1 ( นางสาวชนิศา ชงัดเวช*( ตำแหนง( อาจารย( ปริญญาตรี( M.F.A. (Illustration Design) Academy of Art and University, USA (1993)( ( ศ.บ. (ออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2532)( 5.2( นางสาวกัญชลิกา กัมปนานนท*( ตำแหนง( อาจารย( คุณวุฒิ( M.S. (Computer - Aided Design) Arizona State University, USA (1994)( ( สถ.บ. มหาวิทยาลัยศิลปากร (2531)( 5.3 ( นางสาวสุพิชญา เข็มทอง*( ( ตำแหนง( ผูชวยศาสตราจารย( ( คุณวุฒิ( ศ.ม. (การออกแบบนิเทศศิลป) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2548) ( ( ( ( ศ.บ. (ออกแบบนิเทศศิลป) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2539)( 5.4( นายโชติวัฒน ปุณโณปถัมภ( ( ตำแหนง( ผูชวยศาสตราจารย( ( คุณวุฒิ( ศ.บ. (ประยุกตศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2525)( 5.5( นายอาวิน อินทรังษี( ( ตำแหนง( ผูชวยศาสตราจารย( ( คุณวุฒิ( ศ.ม. (นฤมิตศิลป) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2545)( ( ( ศ.บ. (ออกแบบนิเทศศิลป) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2538)

หมายเหตุ * หมายถึง อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

6. หลักสูตรB 6.1 B จำนวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร จำนวนไมนอยกวา 140BหนวยกิตB 6.2 B โครงสรางหลักสูตรB หมวดวิชาศึกษาทั่วไป( จำนวนไมนอยกวา( 30 B หนวยกิต( 1. วิชาบังคับ( จำนวน( 9 ( หนวยกิต( 2. วิชาบังคับเลือก( จำนวนไมนอยกวา( 12( หนวยกิต( 3. วิชาที่กำหนดโดยคณะวิชา( จำนวน( 9 ( หนวยกิต( หมวดวิชาเฉพาะB จำนวนไมนอยกวา( 98B หนวยกิต( 1. วิชาแกน( จำนวน( 21( หนวยกิต( 2. วิชาบังคับ( จำนวน( 62( หนวยกิต( 3. วิชาเลือก( จำนวนไมนอยกวา( 15( หนวยกิต( หมวดวิชาเลือกเสรBี จำนวนไมนอยกวา( 12 B หนวยกิต

19

Page 22: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 6.3B รายวิชาB B หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวนไมนอยกวา 30 หนวยกิต( ( 1. วิชาบังคับ จำนวน 9 หนวยกิต( ( ( ( กลุมวิชาภาษา( ( (( 081 101( ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร( 3(3-0-6)( ( (Thai for Communication)( 081 102( ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน( 3(2-2-5)( ( (English for Everyday Use)( 081 103 ( การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ( 3(2-2-5)( ( (English Skill Development)( 2. วิชาบังคับเลือก จำนวนไมนอยกวา 12 หนวยกิต โดยเลือกจากทุกกลุมตอไปนี้ จำนวนไมนอย( กวากลุมละ 3 หนวยกิต( (( ( ( ( กลุมวิชามนุษยศาสตร( 082 101( มนุษยกับศิลปะ( 3(3-0-6)( ( (Man and Art)( 082 102( มนุษยกับการสรางสรรค( 3(3-0-6)( ( (Man and Creativity)( 082 103 ( ปรัชญากับชีวิต( 3(3-0-6)( ( (Philosophy and Life)( 082 104( อารยธรรมโลก( 3(3-0-6)( ( (World Civilization)( 082 105( อารยธรรมไทย( 3(3-0-6)( ( (Thai Civilization)( ( กลุมวิชาสังคมศาสตร ( 083 101( มนุษยกับสิ่งแวดลอม( 3(3-0-6)( ( (Man and His Environment)( 083 102( จิตวิทยากับมนุษยสัมพันธ( 3(3-0-6)( ( (Psychology and Human Relations)( 083 103 ( หลักการจัดการ( 3(3-0-6)( ( (Principles of Management)(( 083 104( กีฬาศึกษา( 3(2-2-5)( ( (Sport Education)(( 083 105( การเมือง การปกครองและเศรษฐกิจไทย( 3(3-0-6)( ( (Thai Politics, Government and Economy)( ( ( ( กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร( 084 101( อาหารเพื่อสุขภาพ( 3(3-0-6)( ( (Food for Health)( 084 102( สิ่งแวดลอม มลพิษและพลังงาน( 3(3-0-6)( ( (Environment, Pollution and Energy)

20

Page 23: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 084 103 ( คอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร( 3(3-0-6)( ( (Computer, Information Technology and Communication)( 084 104( คณิตศาสตรและสถิติในชีวิตประจำวัน( 3(3-0-6)( ( (Mathematics and Statistics in Everyday Life)(( 084 105( โลกแหงเทคโนโลยีและนวัตกรรม( 3(3-0-6)( ( (World of Technology and Innovation)( 3. วิชาที่กำหนดโดยคณะวิชา จำนวน 9 หนวยกิต( 360 111 ( ภูมิปญญาไทยกับการสรางสรรค( 3(3-0-6)( ( (Thai Wisdom and Creativity)( 360 112( สุนทรียศาสตรเบื้องตน( 3(3-0-6)( ( (Basic Aesthetics)( 360 113 ( การออกแบบและสรางสรรคในศิลปะตะวันออก( 3(3-0-6)( ( (Design and Creation in Oriental Arts)

หมวดวิชาเฉพาะ จำนวนไมนอยกวา 98 หนวยกิต1. วิชาแกน จำนวน 21 หนวยกิต360 101( การออกแบบ 1( 2(1-3-2)( (Design I)360 102( การออกแบบ 2( 3(1-4-4)( (Design II)360 103( วาดเสน 1( ( 2(1-3-2)( (Drawing I)360 104( วาดเสน 2( ( 3(1-4-4)( (Drawing II)360 105( ศิลปะปฏิบัติ 1( 2(1-3-2)( (Art Studio I)360 106( ศิลปะปฏิบัติ 2( 3(1-4-4)( (Art Studio II)360 107( การเขียนแบบเบื้องตน( 3(1-4-4)( (Basic Technical Drawing)360 108( ศิลปะไทยปริทัศน( 3(1-4-4)( (Survey of Thai Art)2. วิชาบังคับ จำนวน 62 หนวยกิต362 101( การออกแบบนิเทศศิลป 1( 3(2-2-5)( (Visual Communication Design I)362 102( การออกแบบนิเทศศิลป 2( 3(2-2-5)( (Visual Communication Design II)362 103( การออกแบบนิเทศศิลป 3( 3(2-2-5)( (Visual Communication Design III)362 104( การใชสี( ( 3(2-2-5)( (Usage of Color)

21

Page 24: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

362 105( วาดเสนสรางสรรค( 3(1-4-4)( (Creative Drawing)362 106( โปรแกรมคอมพิวเตอรพื้นฐานในงานออกแบบ ( 3(2-2-5)( (Basic Computer Applications in Design)362 107( ประวัติศาสตรการออกแบบนิเทศศิลป( 2(2-0-4)( (Visual Communication Design History)362 108( การถายภาพเบื้องตน( 3(1-4-4)( (Basic Photography)362 109( การออกแบบและจัดวางตัวอักษร( 3(2-2-5)( (Lettering and Typography)362 110( ภาพประกอบ(( 3(2-2-5)( (Illustration)362 111( การสื่อสารเชิงสรางสรรค( 2(1-2-3)( (Creative Communication)362 201( การออกแบบนิเทศศิลป 4( 4(2-4-6)( (Visual Communication Design IV)362 202( การออกแบบนิเทศศิลป 5( 4(2-4-6)( (Visual Communication Design V)362 203( ศิลปะไทยเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป 1( 2(2-0-4)( (Thai Art for Visual Communication Design I)362 204( การใชแสงและเสียง( 2(1-1-4)( (Usage of Light and Sound)362 205( การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ( 3(3-0-6)( (Integrated Marketing Communication)362 206( การวิจัยเพื่อการสรางสรรค( 3(3-0-6)( (Research for Creative Works)362 207( การฝกประสบการณวิชาชีพ* ( (ไมนอยกวา 180 ชั่วโมง)( (Practical Training)362 208( โครงการพิเศษดานวิชาชีพ( 3(1-4-4)( (Professional Special Project)362 209( ศิลปนิพนธ( 10(0-20-10)( (Art Thesis)

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิต

3. วิชาเลือก จำนวนไมนอยกวา 15 หนวยกิต362 210( การออกแบบและจัดตัวอักษรขั้นสูง( 3(2-2-5)( (Advanced Typography and Lettering Design)362 211( การออกแบบสิ่งพิมพ( 3(2-2-5)( (Basic Publication Design)

22

Page 25: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

362 212( การออกแบบสิ่งพิมพอิเล็คทรอนิค( 3(2-2-5)( (Electronic Publication Design)362 213( การออกแบบเลขนศิลปบนบรรจุภัณฑ( 3(2-2-5)( (Graphic Design on Packaging)362 214( การออกแบบเลขนศิลปสิ่งแวดลอม( 3(2-2-5)( (Environmental Graphic Design)362 215( การออกแบบภาพขอมูล( 3(2-2-5)( (Information Graphic Design)362 216( การเขียนบทโฆษณา( 3(2-2-5)( (Copywriting)362 217( การกำกับศิลปในงานโฆษณา( 3(2-2-5)( (Art Direction in Advertising)362 218( กลยุทธการสรางสรรคงานโฆษณา( 3(2-2-5)( (Advertising Creative Strategy)362 219( การออกแบบการนำเสนอขอมูล( 3(2-2-5)( (User Interface and Content Designs)362 220( โปรแกรมเพื่องานอินเทอรแอคทีฟ( 3(2-2-5)( (Interactive Design Applications)362 221( การออกแบบสื่อออนไลน( 3(2-2-5)( (Online Media Design)362 222( การถายภาพแฟชั่น( 3(2-2-5)( (Fashion Photography)362 223( การถายภาพสารคด(ี 3(2-2-5)( (Editorial Photography)362 224( การถายภาพโฆษณา( 3(2-2-5)( (Advertising Photography)362 225( การถายภาพสรางสรรค( 3(2-2-5)( (Creative Photography)362 226( ดิจิทัล ดารครูม( 3(2-2-5)( (Digital Darkroom)362 227( ภาพประกอบหนังสือสำหรับเด็ก( 3(2-2-5)( (Children’s Book Illustration)362 228( ภาพประกอบหนังสือ( 3(2-2-5)( (Book Illustration)362 229( ภาพประกอบที่มีเอกลักษณเฉพาะตน( 3(2-2-5)( (Self-Expression Illustration)362 230( การออกแบบคาแรคเตอร( 3(2-2-5)( (Character Design)362 231( ภาพตอเนื่อง( 3(2-2-5)( (Sequential Art)

23

Page 26: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

362 232( ภาพเคลื่อนไหว( 3(2-2-5)( (Motion Picture)362 233( การเขียนบท( 3(2-2-5)( (Script Writing)362 234( การกำกับภาพยนตร( 3(2-2-5)( (Film Directing)362 235( การผลิตภาพยนตรขั้นสุดทาย( 3(2-2-5)( (Film Post-Production)362 236( แอนิเมชั่นสองมิติ( 3(2-2-5)( (2D Animation)362 237( แอนิเมชั่นสามมิติ 1( 3(2-2-5)( (3D Animation I)362 238( เรื่องเฉพาะทางการออกแบบนิเทศศิลป( 2(2-1-3)( (Selected Topic in Visual Communication Design) หมวดวิชาเลือกเสร ีจำนวนไมนอยกวา 12 หนวยกิต นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาตาง ๆ

( ดังตอไปนี้ หรือใหนักศึกษาเลือกเรียนรายวิชาตางๆ ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยความเห็นชอบ( ของอาจารยที่ปรึกษาทางวิชาการ

362 239( ธุรกิจการออกแบบ( 3(3-0-6)( (Entrepreneurship)362 240( การออกแบบอีเวนท( 3(2-2-5)( (Event Design)362 241( การนำเสนอผลงาน( 3(2-2-5)( (Project Presentation)362 242( จิตรกรรม( 3(1-4-4)( (Painting)362 243( วาดเสนกายวิภาค( 3(1-4-4)( (Figure Drawing)362 244( คอมมิค( 3(2-2-5)( (Comics)362 245( แนวคิดทางศิลปะสำหรับเกมและแอนิเมชั่น( 3(2-2-5)( (Concept Art for Game and Animation)362 246( แอนิเมชั่นสามมิติ 2( 3(2-2-5)( (3D Animation II)362 247( ศิลปกรรมไทยเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป 2( 2(1-2-3)( (Thai Art for Visual Communication Design II)

24

Page 27: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 6.4B แผนการศึกษา

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

081 102360 111

วิชาศึกษาทั่วไปภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันภูมิปญญาไทยกับการสรางสรรควิชาบังคับเลือก

3(2-2-5)3(3-0-6)

6

360 101360 103360 105360 107

วิชาเฉพาะการออกแบบ 1วาดเสน 1ศิลปะปฏิบัติ 1การเขียนแบบเบื้องตน

2(1-3-2)2(1-3-2)2(1-3-2)3(1-4-4)

รวมจำนวนรวมจำนวน 21

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

081 101081 103

วิชาศึกษาทั่วไปภาษาไทยเพื่อการสื่อสารการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

3(3-0-6)3(2-2-5)

360 102360 104360 106360 108362 101

วิชาเฉพาะการออกแบบ 2วาดเสน 2ศิลปะปฏิบัติ 2ศิลปะไทยปริทัศนการออกแบบนิเทศศิลป 1

3(1-4-4) 3(1-4-4)3(1-4-4)3(1-4-4)3(2-2-5)

รวมจำนวนรวมจำนวน 21

25

Page 28: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

360 112วิชาศึกษาทั่วไปสุนทรียศาสตรเบื้องตนวิชาบังคับเลือก

3(3-0-6) 6

362 102362 104362 105362 106

วิชาเฉพาะการออกแบบนิเทศศิลป 2การใชสีวาดเสนสรางสรรคโปรแกรมคอมพิวเตอรพื้นฐานในงานออกแบบ

3(2-2-5)3(2-2-5)3(1-4-4)3(2-2-5)

รวมจำนวนรวมจำนวน 21

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

360 113วิชาศึกษาทั่วไปการออกแบบและสรางสรรคในโลกตะวันออก 3(3-0-6)

362 103362 107362 108362 109362 110362 111

วิชาเฉพาะการออกแบบนิเทศศิลป 3ประวัติศาสตรการออกแบบนิเทศศิลปการถายภาพเบื้องตนการออกแบบและจัดวางตัวอักษรภาพประกอบการสื่อสารเชิงสรางสรรค

3(2-2-5)2(2-0-4)3(1-4-4)3(2-2-5)3(2-2-5)2(1-2-3)

รวมจำนวนรวมจำนวน 19

26

Page 29: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

362 201362 203362 204

วิชาเฉพาะการออกแบบนิเทศศิลป 4ศิลปะไทยเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป 1การใชแสงและเสียงวิชาเลือก

4(2-4-6)2(2-0-4)2(2-0-4)

6

วิชาเลือกเสรี 3

รวมจำนวนรวมจำนวน 17

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

362 202362 205

วิชาเฉพาะการออกแบบนิเทศศิลป 5การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการวิชาเลือก

4(2-4-6)3(3-0-6)

6

วิชาเลือกเสรี 3

รวมจำนวนรวมจำนวน 16

ปที่ 3 ภาคการศึกษาพิเศษฤดูรอน

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

362 207วิชาเฉพาะการฝกประสบการณวิชาชีพ 2*(ไมนอยกวา

180 ชั่วโมง)

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิตในหลักสูตร

27

Page 30: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

362 206362 208

วิชาเฉพาะการวิจัยเพื่อการสรางสรรคโครงการพิเศษดานวิชาชีพวิชาเลือก

3(3-0-6)3(1-4-4)

3

วิชาเลือกเสรี 6

รวมจำนวนรวมจำนวน 15

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

362 209วิชาเฉพาะศิลปนิพนธ 10(0-20-10)

รวมจำนวนรวมจำนวน 10

28

Page 31: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

สาขาวTชาการออกแบบผลิตภัณฑ

ผลิตบัณฑิตผูมีความเชQ่ยวชาญการออกแบบผลิตภัณฑ

มีทัศนคติ คุณธรรม จรTยธรรมอันงดงาม

29

Page 32: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

รายละเอียดของหลักสูตรหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555)

1. ชื่อหลักสูตร( ภาษาไทย( ( ( หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ( ภาษาอังกฤษ(( ( Bachelor of Fine Arts Program in Product Design

2. ชื่อปริญญา( ชื่อเต็มภาษาไทย( ( ศิลปบัณฑิต (การออกแบบผลิตภัณฑ)(( ชื่อยอภาษาไทย ( ( ศล.บ. (การออกแบบผลิตภัณฑ)(( ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ(( Bachelor of Fine Arts (Product Design)( ชื่อยอภาษาอังกฤษ ( B.F.A. (Product Design)

3. ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตรB 3.1 ปรัชญา( ( ผลิตบัณฑิตผูมีความเชี่ยวชาญการออกแบบผลิตภัณฑ มีทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรมอันงดงาม ( สามารถคนควา สรางสรรค เพื่อพัฒนาตน พัฒนาชาติ( 3.2 ความสำคัญ

( ศาสตรการออกแบบผลิตภัณฑเปนองคประกอบสำคัญสวนหนึ่งของการขยายตัว ทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ศาสตรการออกแบบผลิตภัณฑในปจจุบัน ถูกใชเปนตัวจักรสำคัญตอกระบวนการพัฒนา และผลิตสินคาเพื่อใหนาใช และใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ สงผลในการยกระดับคุณภาพชีวิตผูใชงานผลิตภัณฑเพื่อการอุปโภคในประเทศ และเพื่อการสงออก หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ พ.ศ. 2555 มุงผลิตบัณฑิตที่มีความรูและทักษะ ในการออกแบบผลิตภัณฑ หลากหลายประเภท มีความรอบรูในกระบวนการ วิธีการ ศาสตรการออกแบบเทคโนโลยี และการดำเนินธุรกิจ สามารถคนควาเพื่อสรางสรรค และพัฒนางานออกแบบรวมสมัย ปลูกฝงใหบัณฑิตมีจรรยาบรรณ คุณธรรม และจริยธรรม เพื่อเปนกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ

( 3.3 วัตถุประสงค( ( 3.3.1 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรูและทักษะในการออกแบบผลิตภัณฑ( ( 3.3.2 เพื่อผลิตบัณฑิตที่สามารถประยุกตนำศาสตรแขนงตาง ๆ อาทิ ศิลปะ เทคโนโลยี เศรษฐกิจ ( สังคม สิ่งแวดลอม วัสดุ กรรมวิธีการผลิต ธุรกิจและการตลาด มาใชในงานออกแบบผลิตภัณฑ ( ( 3.3.3 เพื่อผลิตบัณฑิตใหเปนผูสรางสรรค เชี่ยวชาญการคนควา และนักวิชาการทางการออกแบบ( ผลิตภัณฑ( ( 3.3.4 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรับผิดชอบ จรรยาบรรณ และสำนึกตอสังคม

4. อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสำเร็จการศึกษา( 4.1( นักออกแบบผลิตภัณฑในหนวยงานที่ใหบริการดานการออกแบบในสวนราชการและเอกชน( 4.2( ประกอบธุรกิจสวนตัวดานการออกแบบผลิตภัณฑและการออกแบบลักษณะอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ( 4.3 ( ผูบริหารดานงานออกแบบผลิตภัณฑในสวนราชการและเอกชน( 4.4( นักวิชาการทางการออกแบบผลิตภัณฑ

30

Page 33: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

5. ชื่อ นามสกุล ตำแหนงและคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยประจำหลักสูตรและผูรับผิดชอบหลักสูตร( 5.1( นายชาคร ผาสุวรรณ*( ( ตำแหนง ( อาจารย( ( คุณวุฒิ( วท.ม. (เทคโนโลยีที่เหมาะสมฯ) มหาวิทยาลัยมหิดล (2553)( ( ( ( M.I.D. (Industrial Design), Pratt Institute, USA (1993)( ( ( ( ศบ. (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2534)( 5.2( นายปติ คุปตะวาทิน*( ( ตำแหนง ( อาจารย( ( คุณวุฒิ( M.A. (Industrial design), Savannah College of Art and Design, USA (2003)( ( ( ( ศบ. (ออกแบบผลิตภัณฑ) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2539)( 5.3 ( นางสาวอินทิรา นาควัชระ( ( ตำแหนง ผูชวยศาสตราจารย( ( คุณวุฒิ( วท.ม.(การจัดการสารสนเทศ) ( ( ( ( สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง (2546)( ( ( ( สถ.บ. (ศิลปอุตสาหกรรม) ( ( ( ( สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง (2541)( 5.4( นายอินทรธนู ฟารมขาว( ( ตำแหนง( อาจารย( ( คุณวุฒิ( M.F.A. (Furniture Design) University of Tasmania, Australia (2007)( ( ( ( ศบ. (ออกแบบผลิตภัณฑ) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2546)( 5.5( นางสาวตรีชฎา โชติรัตนาภินันท( ( ตำแหนง ( อาจารย( ( คุณวุฒิ( M.Res. (Design) with Distinction, Goldsmiths College, ( ( ( ( University of London, UK (2008)( ( ( ( B.A. (Arts, Design and Environment) with First Class Honors, ( ( ( ( Central Saint Martins College of Art and Design, ( ( ( ( University of the Arts London, UK (2007)( ( ( ( นศ.บ. (การโฆษณา) เกียรตินิยมอันดับ 2 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2546)

หมายเหตุ * หมายถึง อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

31

Page 34: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

6. หลักสูตรB 6.1 B จำนวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร จำนวนไมนอยกวา 142 หนวยกิตB 6.2B โครงสรางหลักสูตรB หมวดวิชาศึกษาทั่วไป( จำนวนไมนอยกวา( 30 B หนวยกิต( 1. วิชาบังคับ( จำนวน( 9 ( หนวยกิต( 2. วิชาบังคับเลือก( จำนวนไมนอยกวา( 12( หนวยกิต( 3. วิชาที่กำหนดโดยคณะวิชา( จำนวนไมนอยกวา( 9 ( หนวยกิต( หมวดวิชาเฉพาะ( จำนวนไมนอยกวา( 106 B หนวยกิต( 1. วิชาแกน( จำนวน( 21( หนวยกิต( 2. วิชาบังคับ( จำนวน( 70 ( หนวยกิต( 3. วิชาโท/บังคับเลือก( จำนวนไมนอยกวา( 15( หนวยกิต( หมวดวิชาเลือกเสร(ี จำนวนไมนอยกวา( 6 B หนวยกิต( 6.3B รายวิชาB B หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวนไมนอยกวา 30 หนวยกิต( ( 1. วิชาบังคับ จำนวน 9 หนวยกิต( ( ( ( กลุมวิชาภาษา( ( (( 081 101( ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร( 3(3-0-6)( ( (Thai for Communication)( 081 102( ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน( 3(2-2-5)( ( (English for Everyday Use)( 081 103 ( การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ( 3(2-2-5)( ( (English Skill Development)( 2. วิชาบังคับเลือก จำนวนไมนอยกวา 12 หนวยกิต โดยเลือกจากทุกกลุมตอไปนี้ จำนวนไมนอย( กวากลุมละ 3 หนวยกิต( (( ( ( ( กลุมวิชามนุษยศาสตร( 082 101( มนุษยกับศิลปะ( 3(3-0-6)( ( (Man and Art)( 082 102( มนุษยกับการสรางสรรค( 3(3-0-6)( ( (Man and Creativity)( 082 103 ( ปรัชญากับชีวิต( 3(3-0-6)( ( (Philosophy and Life)( 082 104( อารยธรรมโลก( 3(3-0-6)( ( (World Civilization)( 082 105( อารยธรรมไทย( 3(3-0-6)( ( (Thai Civilization)( ( กลุมวิชาสังคมศาสตร ( 083 101( มนุษยกับสิ่งแวดลอม( 3(3-0-6)( ( (Man and His Environment)( 083 102( จิตวิทยากับมนุษยสัมพันธ( 3(3-0-6)( ( (Psychology and Human Relations)

32

Page 35: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 083 103 ( หลักการจัดการ( 3(3-0-6)( ( (Principles of Management)(( 083 104( กีฬาศึกษา( 3(2-2-5)( ( (Sport Education)(( 083 105( การเมือง การปกครองและเศรษฐกิจไทย( 3(3-0-6)( ( (Thai Politics, Government and Economy)( ( ( ( กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรB ( (( 084 101( อาหารเพื่อสุขภาพ( 3(3-0-6)( ( (Food for Health)(( 084 102( สิ่งแวดลอม มลพิษและพลังงาน( 3(3-0-6)( ( (Environment, Pollution and Energy)( 084 103 ( คอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร( 3(3-0-6)( ( (Computer, Information Technology and Communication)( 084 104( คณิตศาสตรและสถิติในชีวิตประจำวัน( 3(3-0-6)( ( (Mathematics and Statistics in Everyday Life)(( 084 105( โลกแหงเทคโนโลยีและนวัตกรรม( 3(3-0-6)( ( (World of Technology and Innovation)( 3. วิชาที่กำหนดโดยคณะวิชา จำนวน 9 หนวยกิต( 360 111 ( ภูมิปญญาไทยกับการสรางสรรค( 3(3-0-6)( ( (Thai Wisdom and Creativity)( 360 112( สุนทรียศาสตรเบื้องตน( 3(3-0-6)( ( (Basic Aesthetics)( 360 113 ( การออกแบบและสรางสรรคในศิลปะตะวันออก( 3(3-0-6)( ( (Design and Creation in Oriental Arts)B หมวดวิชาเฉพาะ(( 1. วิชาแกน จำนวน 21 หนวยกิต( 360 101( การออกแบบ 1( 2(1-3-2)( ( (Design I)( 360 102( การออกแบบ 2 ( 3(1-4-4)( ( (Design II)( 360 103 ( วาดเสน 1 ( 2(1-3-2)( ( (Drawing I)(( 360 104( วาดเสน 2 ( 3(1-4-4)( ( (Drawing II)( 360 105( ศิลปะปฏิบัติ 1 ( 2(1-3-2)( ( (Art Studio I)( 360 106 ( ศิลปะปฏิบัติ 2 ( 3(1-4-4)( ( (Art Studio II)( 360 107( การเขียนแบบเบื้องตน( 3(1-4-4)( ( (Basic Technical Drawing)

33

Page 36: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 360 108 ( ศิลปะไทยปริทัศน ( 3(1-4-4)( ( (Survey of Thai Art)( ( 2. วิชาบังคับ จำนวน 70 หนวยกิต( 363 101( ประวัติการออกแบบผลิตภัณฑ( 2(2-0-4)( ( (History of Product Design)( 363 102( การทำหุนจำลอง( 2(1-2-3)( ( (Model Making)( 363 103 ( การออกแบบผลิตภัณฑ 1( 2(1-2-3)( ( (Product Design I)( 363 104( การเขียนแบบเทคนิค( 2(1-2-3)( ( (Technical Drawing)( 363 105( คอมพิวเตอรสำหรับการออกแบบผลิตภัณฑ( 2(1-2-3)( ( (Computer – Aided Product Design)( 363 106 ( ศิลปะการขึ้นรูปดวยคอมพิวเตอร( 2(1-2-3)( ( (Art of Computer Modeling)( 363 107( การออกแบบผลิตภัณฑ 2( 3(2-2-5)( ( (Product Design II)( 363 108 ( การนำเสนอผลงาน( 2(1-2-3)( ( (Professional Presentation)( 363 109 ( การออกแบบ 3 มิต(ิ 2(1-2-3)( ( (Three Dimensional Design)( 363 110 ( วัสดุและวิธีการผลิต 1( 2(1-2-3)( ( ( ( (Materials and Production Methods I)(( 363 111( มนุษยปจจัยสำหรับการออกแบบ( 2(1-2-3)( ( (Human Factors for Design)((( 363 112( การออกแบบผลิตภัณฑ 3 ( 3(2–2–5)(( ( (Product Design III)(( 363 113 ( วัสดุและวิธีการผลิต 2( 2(1-2-3)( ( (Materials and Production Methods II)(( 363 114( การออกแบบเลขนศิลป 1( 2(1-2-3)( ( (Graphic Design I)(( 363 115( พื้นฐานการออกแบบสภาพแวดลอมประดิษฐ( 2(1-2-3)( ( (Fundamental of Built Environment)(( 363 116 ( การออกแบบผลิตภัณฑดานกลไก( 2(1-2-3)( ( (Mechanical Product Design)(( 363 201( การออกแบบผลิตภัณฑ 4( 4(2-4-6)(( ( (Product Design IV)(( 363 202( การตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค( 2(2-0-4)(( ( (Marketing and Consumer Behavior)

34

Page 37: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

(( 363 203 ( วิธีวิจัยเพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ( 2(2-0-4)(( ( (Research Methods for Product Design)(( 363 204( การออกแบบโครงสราง( 2(1-2-3)(( ( (Structural Design)(( 363 205( การออกแบบผลิตภัณฑ 5( 4(2-4-6)(( ( (Product Design V)(( 363 206 ( การสรางสรรคแนวคิดในงานออกแบบผลิตภัณฑ( 2(1-2-3)(( ( (Concept Creation in Product Design)(( 363 207( ธุรกิจออกแบบเบื้องตน( 2(2-0-4)(( ( (Introduction to Design Business)(( 363 208 ( การฝกประสบการณวิชาชีพ( 2*(ไมนอยกวา 180 ชั่วโมง)(( ( (Practical Training)(( 363 209 ( การออกแบบผลิตภัณฑ 6 ( 4(2-4-6)(( ( (Product Design VI)(( 363 210 ( การบริหารงานอุตสาหกรรม( 2(2-0-4)(( ( (Industrial Management)(( 363 211( สัมมนาการออกแบบ( 2(1-2-3)(( ( (Design Seminar)(( 363 212( ศิลปนิพนธ( 10(0-20-10)(( ( (Art Thesis)

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิตในหลักสูตร

B B 3. วิชาโท สำหรับนักศึกษาในสาขาวิชานี้ ที่ประสงคเรียนเปนวิชาโท ใหเลือกเรียนเพียงกลุมวิชาเดียวจำนวน 15 หนวยกิต จากกลุมวิชา 3 กลุม ดังนี้( ( กลุมวิชาโทการออกแบบบรรจุภัณฑ (Package Design)B 363 213 ( การออกแบบเลขนศิลป 2( 3(2-2-5)( ( (Graphic Design II)( 363 215( การออกแบบบรรจุภัณฑเชิงสรางสรรค( 3(2-2-5)( ( (Creative Package Design)( 363 216 ( การออกแบบบรรจุภัณฑเชิงพาณิชย( 3(2-2-5)( ( (Commercial Package Design)( 363 217( การออกแบบบรรจุภัณฑเชิงแนวคิด( 3(2-2-5)( ( (Conceptual Package Design)( 363 239 ( การออกแบบบรรจุภัณฑเชิงอัตลักษณ( 3(2-2-5)( ( (Identity Package Design)( ( กลุมวิชาโทการออกแบบนิทรรศการ (Exhibition Design)B 363 213 ( การออกแบบเลขนศิลป 2( 3(2-2-5)( ( (Graphic Design II)

35

Page 38: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 363 214( การออกแบบเลขนศิลป 3 ( 3*(2-2-5)( ( (Graphic Design III)( 363 218 ( การออกแบบที่วางเชิงอัตลักษณ( 3(2-2-5)( ( (Spatial Identity Design)( 363 219 ( การออกแบบฉากและเวที ( 3(2-2-5)( ( (Set and Stage Design)( 363 220 ( การออกแบบงานสรางสำหรับนิทรรศการ( 3(2-2-5)( ( (Production Design for Exhibition)( 363 222( พื้นฐานการออกแบบเครื่องเรือน( 3*(2-2-5)( ( (Furniture Design Fundamentals)

หมายเหตุ * หมายถึง นักศึกษาสามารถเลือกเรียนวิชา 363 214 การออกแบบเลขนศิลป 3 หรือวิชา 363 222 พื้นฐานการออกแบบเครื่องเรือนอยางใดอยางหนึ่ง

( ( กลุมวิชาโทการออกแบบเครื่องเรือน (Furniture Design)B 363 221( การออกแบบผลิตภัณฑตกแตงและของใชสวนบุคคล( 3(2-2-5)( ( (Home Decorative and Accessory Design)( 363 222( พื้นฐานการออกแบบเครื่องเรือน( 3(2-2-5)( ( (Furniture Design Fundamentals)( 363 223 ( การออกแบบเครื่องเรือนเชิงทดลอง( 3(2-2-5)( ( (Experimental Furniture Design)( 363 224( การออกแบบเครื่องเรือนเชิงระบบ( 3(2-2-5)( ( (Systematic Furniture Design)( 363 225( การออกแบบเครื่องเรือนสำหรับสาธารณะชน( 3(2-2-5)( ( (Furniture Design for the Mass)B 3. วิชาบังคับเลือก สำหรับนักศึกษาที่ไมตองการเรียนวิชาโท อาจเลือกเรียนรายวิชาบังคับเลือก ( ไมนอยกวา 15 หนวยกิต จากรายวิชาตอไปนี้( 363 213 ( การออกแบบเลขนศิลป 2( 3(2-2-5)( ( (Graphic Design II)( 363 214( การออกแบบเลขนศิลป 3 ( 3(2-2-5)( ( (Graphic Design III)( 363 215( การออกแบบบรรจุภัณฑเชิงสรางสรรค( 3(2-2-5)( ( (Creative Package Design)( 363 216 ( การออกแบบบรรจุภัณฑเชิงพาณิชย( 3(2-2-5)( ( (Commercial Package Design)( 363 217( การออกแบบบรรจุภัณฑเชิงแนวคิด( 3(2-2-5)( ( (Conceptual Package Design)( 363 218 ( การออกแบบที่วางเชิงอัตลักษณ( 3(2-2-5)( ( (Spatial Identity Design)

36

Page 39: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 363 219 ( การออกแบบฉากและเวที ( 3(2-2-5)( ( (Set and Stage Design)( 363 220 ( การออกแบบงานสรางสำหรับนิทรรศการ( 3(2-2-5)( ( (Production Design for Exhibition)! 363 221( การออกแบบผลิตภัณฑตกแตงและของใชสวนบุคคล( 3(2-2-5)( ( (Home Decorative and Accessory Design)( 363 222( พื้นฐานการออกแบบเครื่องเรือน( 3(2-2-5)( ( (Furniture Design Fundamentals)( 363 223 ( การออกแบบเครื่องเรือนเชิงทดลอง( 3(2-2-5)( ( (Experimental Furniture Design)( 363 224( การออกแบบเครื่องเรือนเชิงระบบ( 3(2-2-5)( ( (Systematic Furniture Design)( 363 225( การออกแบบเครื่องเรือนสำหรับสาธารณะชน( 3(2-2-5)( ( (Furniture Design for the Mass)( 363 226 ( การออกแบบยานพาหนะ 1( 3(2-2-5)( ( (Transportation Design I)! 363 227( การออกแบบยานพาหนะ 2( 3(2-2-5)( ( (Transportation Design II)! 363 228 ( การออกแบบยานพาหนะ 3 ( 3(2-2-5)( ( (Transportation Design III)! 363 229 ( การออกแบบผลิตภัณฑอยางยั่งยืน( 3(2-2-5)( ( (Sustainable Product Design)! 363 230 ( วัสดุและวิธีการผลิตรวมสมัย( 3(2-2-5)( ( (Contemporary Material and Production Methods)! 363 231( คอมพิวเตอรเพื่อการผลิต( 3(2-2-5)( ( (Computer – Aided Manufacturing)! 363 232( การออกแบบผลิตภัณฑเอกลักษณไทย( 3(2-2-5)( ( (Product Design in Thai Style)! 363 233 ( เรื่องเฉพาะทางการออกแบบผลิตภัณฑ 1( 3(2-2-5)( ( (Selected Topic in Product Design I)( 363 234( เรื่องเฉพาะทางการออกแบบผลิตภัณฑ 2( 3(2-2-5)( ( (Selected Topic in Product Design II)( 363 235( เรื่องเฉพาะทางการออกแบบผลิตภัณฑ 3 ( 3(2-2-5)( ( (Selected Topic in Product Design III)( 363 239 ( การออกแบบบรรจุภัณฑเชิงอัตลักษณ ( 3(2-2-5)( ( (Identity Package Design)( 363 240 ( การออกแบบผลิตภัณฑกระดาษ ( 3(2-2-5)( ( (Paper Product Design)( 363 241 ( การออกแบบของเลน ( 3(2-2-5)( ( (Toy Design)

37

Page 40: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 363 242 ( การออกแบบเชิงความรูสึก ( 3(2-2-5) ( ( (Emotional Design)( 363 243 ( วาดเสนเพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ( 3(2-2-5)( ( (Drawing for Product Design)( หมวดวิชาเลือกเสร ี จำนวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาตาง ๆ ( ดังตอไปนี้ หรือรายวิชาที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษาวิชาการ( 363 236 ( โครงการศึกษาสวนบุคคล 1( 2(2-0-4)( ( (Individual Project I)( 363 237( โครงการศึกษาสวนบุคคล 2( 2(2-0-4)( ( (Individual Project II)( 363 238 ( โครงการศึกษาสวนบุคคล 3( 2(2-0-4)( ( (Individual Project III)( 363 244 ( ภาษาอังกฤษสำหรับการออกแบบผลิตภัณฑ( 2(2-0-4)( ( (English for Product Design)( 363 245( พื้นฐานการถายภาพ( 2(1-2-3)( ( (Photography Fundamentals)( 363 246 ( การออกแบบพื้นผิว( 2(1-2-3)( ( (Surface Design)

(

38

Page 41: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 6.4 B แผนการศึกษา

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

081 102360 111

วิชาศึกษาทั่วไปภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน(ภูมิปญญาไทยกับการสรางสรรควิชาบังคับเลือก

3(2-2-5)3(3-0-6)

3

360 101360 103360 105360 107363 101363 102

วิชาเฉพาะการออกแบบ 1วาดเสน 1ศิลปะปฏิบัติ 1การเขียนแบบเบื้องตนประวัติการออกแบบผลิตภัณฑการทำหุนจำลอง

2(1-3-2)2(1-3-2)2(1-3-2)3(1-4-4)2(2-0-4)2(1-2-3)

รวมจำนวนรวมจำนวน 22

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

081 103วิชาศึกษาทั่วไปการพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)

360 102360 104360 106360 108363 103363 104363 105

วิชาเฉพาะการออกแบบ 2วาดเสน 2ศิลปะปฏิบัติ 2ศิลปะไทยปริทัศนการออกแบบผลิตภัณฑ 1การเขียนแบบเทคนิคคอมพิวเตอรสำหรับการออกแบบผลิตภัณฑ

3(1-4-4)3(1-4-4)3(1-4-4)3(1-4-4)2(1-2-3)2(1-2-3)2(1-2-3)

รวมจำนวนรวมจำนวน 21

39

Page 42: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

360 112วิชาศึกษาทั่วไปสุนทรียศาสตรเบื้องตนวิชาบังคับเลือก

3(3-0-6)6

363 106363 107363 108 363 109363 110363 111

วิชาเฉพาะศิลปะการขึ้นรูปดวยคอมพิวเตอรการออกแบบผลิตภัณฑ 2การนำเสนอผลงานการออกแบบสามมิติวัสดุและวิธีการผลิต 1มนุษยปจจัยสำหรับการออกแบบ

2(1-2-3)3(2-2-5)2(1-2-3)2(1-2-3)2(1-2-3)2(1-2-3)

รวมจำนวนรวมจำนวน 22

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

081 101360 113

วิชาศึกษาทั่วไป ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารการออกแบบและสรางสรรคในศิลปะตะวันออกวิชาบังคับเลือก

3(3-0-6)3(3-0-6)

3

363 112363 113363 114363 115363 116

วิชาเฉพาะการออกแบบผลิตภัณฑ 3วัสดุและวิธีการผลิต 2การออกแบบเลขนศิลป 1พื้นฐานการออกแบบสภาพแวดลอมประดิษฐการออกแบบผลิตภัณฑดานกลไก

3(2-2-5)2(1-2-3)2(1-2-3)2(1-2-3)2(1-2-3)

รวมจำนวนรวมจำนวน 20

40

Page 43: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

363 201363 202363 203363 204

วิชาเฉพาะการออกแบบผลิตภัณฑ 4การตลาดและพฤติกรรมผูบริโภควิธีวิจัยเพื่อการออกแบบผลิตภัณฑการออกแบบโครงสรางวิชาโท/บังคับเลือก

4(2-4-6)2(2-0-4)2(2-0-4)2(1-2-3)

6

รวมจำนวนรวมจำนวน 16

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

363 205363 206363 207

วิชาเฉพาะการออกแบบผลิตภัณฑ 5การสรางสรรคแนวคิดในงานออกแบบผลิตภัณฑธุรกิจออกแบบเบื้องตนวิชาโท/บังคับเลือก

4(2-4-6)2(1-2-3)2(2-0-4)

6

วิชาเลือกเสรี 2

รวมจำนวนรวมจำนวน 16

ปที่ 3 ภาคการศึกษาพิเศษฤดูรอน

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

363 208วิชาเฉพาะการฝกประสบการณวิชาชีพ 2*(ไมนอยกวา

180 ชม.)

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิตในหลักสูตร

41

Page 44: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

363 209363 210363 211

วิชาเฉพาะการออกแบบผลิตภัณฑ 6การบริหารงานอุตสาหกรรมสัมมนาการออกแบบวิชาโท/บังคับเลือก

4(2-4-6)2(2-0-4)2(1-2-3)

3

วิชาเลือกเสรี 4

รวมจำนวนรวมจำนวน 15

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

362 212วิชาเฉพาะศิลปนิพนธ 10(0-20-10)

รวมจำนวนรวมจำนวน 10

42

Page 45: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

สาขาวTชาประยุกตศิลปศึกษาสรางสรรคศิลปะที่มีประโยชนสูงสุด

ตอการดำรงชQวTต สังคม สิ่งแวดลอม บูรณาการความรูในวTชาการตาง ๆเนนคุณคาทางสุนทรQยและคุณธรรม

43

Page 46: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

รายละเอียดของหลักสูตรหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาประยุกตศิลปศึกษา

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555)

1. ชื่อหลักสูตร( ภาษาไทย( ( ( หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาประยุกตศิลปศึกษา( ภาษาอังกฤษ(( ( Bachelor of Fine Arts Program in Applied Art Studies

2. ชื่อปริญญา( ชื่อเต็มภาษาไทยB B ศิลปบัณฑิต (ประยุกตศิลปศึกษา)( ชื่อยอภาษาไทย B B ศล.บ. (ประยุกตศิลปศึกษา)( ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ( Bachelor of Fine Arts (Applied Art Studies)( ชื่อยอภาษาอังกฤษ B B.F.A. (Applied Art Studies)

3. ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตรB 3.1 ปรัชญาB B สรางสรรคศิลปะที่มีประโยชนสูงสุดตอการดำรงชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม บูรณาการความรูในวิชาการ( ตาง ๆ เนนคุณคาทางสุนทรียและคุณธรรมB 3.2 ความสำคัญB B ประยุกตศิลป เปนการสรางสรรคที่ใหสุนทรียะประโยชน ยกระดับคุณภาพชีวิต เปนองคความรู( ที่สามารถสรางมูลคาเพิ่มทางดานวัฒนธรรมและเศรษฐกิจของชาติ( ( หลักสูตรประยุกตศิลปศึกษา เนนการศึกษาและสรางสรรคศิลปะที่สัมพันธตอสังคม สิ่งแวดลอม ( ทรัพยากร และยุคสมัย ใหความสำคัญตอองคความรูจากศิลปะพื้นบาน ศิลปะไทยและภูมิปญญาไทย ที่นำ( มาพัฒนาใหเกิดแนวความคิดใหม สรางนวัตกรรมแหงศิลปะรวมสมัย สามารถผลิตผลงานทั้งเชิงหัตถกรรม( และอุตสาหกรรม ทำใหเกิดมูลคาเพิ่มในงานศิลปะและออกแบบ ตลอดจนผลิตภันฑสินคาที่เนนความคิด( สรางสรรค เพิ่มศักยภาพการแขงขันเชิงธุรกิจกับประเทศอื่นได นำเงินตรากลับเขาสูประเทศ เสริมสราง( พื้นฐานเศรษฐกิจ ของชาติใหเจริญมั่นคงB 3.3 วัตถุประสงคB B 1.3.1 สรางบัณฑิตที่มีความรูความสามารถในการสรางสรรคศิลปะที่มีคุณคาตอมนุษย ทั้งทางกาย( และจิตใจ( ( 1.3.2 สรางบัณฑิตที่มีคุณธรรมและจริยธรรม( ( 1.3.3 สรางบัณฑิตที่เปนผูนำในการขับเคลื่อนทางวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ

4. อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสำเร็จการศึกษา( 4.1( จิตรกร ( 4.2 ( ประติมากร ( 4.3 ( ศิลปนภาพพิมพ ( 4.4 ( ศิลปนศิลปะไทยประยุกต( 4.5 ( ศิลปนสิ่งทอ( 4.6 ( ศิลปนทัศนศิลป

44

Page 47: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 4.7 ( นักออกแบบ ( 4.8 ( ชางศิลป( 4.9 ( นักวาดภาพประกอบ( 4.10 ( ผูสอนศิลปะ( 4.11 ( นักวิชาการศิลปะ( 4.12 ( นักวิจารณศิลปะ( 4.13 ( ภัณฑารักษ ( 4.14 ( ที่ปรึกษาทางศิลปะและการออกแบบประยุกตศิลป ( 4.15 ( ผูออกแบบและจัดการนิทรรศการศิลปะ( 4.16 ( อาชีพอิสระ

5. ชื่อ นามสกุล ตำแหนง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยประจำหลักสูตรและผูรับผิดชอบหลักสูตร( 5.1( นางสาวพรพรม ชาววัง*( ( ตำแหนง( อาจารย( ( คุณวุฒิ( ศ.ม. (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2540) ( ( ( ( ศ.บ. (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2533)( 5.2( นางสาวประภากร สุคนธมณี*( ( ตำแหนง( ผูชวยศาสตราจารย( ( คุณวุฒิ( ศศ.ม. (ประยุกตศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2548)( ( ( ศ.บ. (ประยุกตศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2546)( 5.3 ( นายธีรวัฒน งามเชื้อชิต( ( ตำแหนง( ผูชวยศาสตราจารย( ( คุณวุฒิ( ศ.ม. (ภาพพิมพ) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2536)( ( ( ( ศ.บ. (ภาพพิมพ) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2532)( 5.4( นายสมพงษ แสงอรามรุงโรจน( ( ตำแหนง( อาจารย( ( คุณวุฒิ( ศศ.ม. (ประวัติศาสตรสถาปตยกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2537)( ( ( ศ.บ. (ประยุกตศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2532)( 5.5 ( นายวรภรรท สิทธิรัตน( ( ตำแหนง( อาจารย( ( คุณวุฒิ( M.F.A. (Sculpture) The University of New South Wales, Australia (2004)( ( ( ( ศ.บ. (การออกแบบนิเทศศิลป) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2540)

หมายเหตุ * หมายถึง อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

45

Page 48: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

6. หลักสูตรB 6.1B จำนวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 140 หนวยกิตB 6.2B โครงสรางหลักสูตร B หมวดวิชาศึกษาทั่วไป( จำนวนไมนอยกวาB 30 B หนวยกิต( 1. วิชาบังคับ( จำนวน( 9 ( หนวยกิต( 2. วิชาบังคับเลือก( จำนวนไมนอยกวา( 12( หนวยกิต( 3. วิชาที่กำหนดโดยคณะวิชา( จำนวน( 9 ( หนวยกิต( หมวดวิชาเฉพาะB จำนวนไมนอยกวาB 104B หนวยกิต( 1. วิชาแกน( จำนวน( 21( หนวยกิต( 2. วิชาบังคับ ( จำนวน( 62( หนวยกิต( 3. วิชาบังคับเลือก( จำนวน( 15( หนวยกิต( 4. วิชาเลือก( จำนวนไมนอยกวา( 6 ( หนวยกิต( หมวดวิชาเลือกเสรBี จำนวนไมนอยกวาB 6 B หนวยกิต( 6.3B รายวิชาB B หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวนไมนอยกวา 30 หนวยกิต( ( 1. วิชาบังคับ จำนวน 9 หนวยกิต( ( ( ( กลุมวิชาภาษา( 081 101( ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร( 3(3-0-6)( ( (Thai for Communication)( 081 102( ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน( 3(2-2-5)( ( (English for Everyday Use)( 081 103 ( การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ( 3(2-2-5)( ( (English Skill Development)( 2. วิชาบังคับเลือก จำนวนไมนอยกวา 12 หนวยกิต โดยเลือกจากทุกกลุมตอไปนี้ จำนวนไมนอย( กวากลุมละ 3 หนวยกิต( (( ( ( ( กลุมวิชามนุษยศาสตร( 082 101( มนุษยกับศิลปะ( 3(3-0-6)( ( (Man and Art)( 082 102( มนุษยกับการสรางสรรค( 3(3-0-6)( ( (Man and Creativity)( 082 103 ( ปรัชญากับชีวิต( 3(3-0-6)( ( (Philosophy and Life)( 082 104( อารยธรรมโลก( 3(3-0-6)( ( (World Civilization)( 082 105( อารยธรรมไทย( 3(3-0-6)( ( (Thai Civilization)( ( กลุมวิชาสังคมศาสตร ( 083 101( มนุษยกับสิ่งแวดลอม( 3(3-0-6)( ( (Man and His Environment)

46

Page 49: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 083 102( จิตวิทยากับมนุษยสัมพันธ( 3(3-0-6)( ( (Psychology and Human Relations)( 083 103 ( หลักการจัดการ( 3(3-0-6)( ( (Principles of Management)( 083 104( กีฬาศึกษา( 3(2-2-5)( ( (Sport Education)( 083 105( การเมือง การปกครองและเศรษฐกิจไทย( 3(3-0-6)( ( (Thai Politics, Government and Economy)( ( ( ( กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร( 084 101( อาหารเพื่อสุขภาพ( 3(3-0-6)( ( (Food for Health)( 084 102( สิ่งแวดลอม มลพิษและพลังงาน( 3(3-0-6)( ( (Environment, Pollution and Energy)( 084 103 ( คอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร( 3(3-0-6)( ( (Computer, Information Technology and Communication)( 084 104( คณิตศาสตรและสถิติในชีวิตประจำวัน( 3(3-0-6)( ( (Mathematics and Statistics in Everyday Life)( 084 105( โลกแหงเทคโนโลยีและนวัตกรรม( 3(3-0-6)( ( (World of Technology and Innovation)( 3. วิชาที่กำหนดโดยคณะวิชา จำนวน 9 หนวยกิต( 360 111 ( ภูมิปญญาไทยกับการสรางสรรค( 3(3-0-6)( ( (Thai Wisdom and Creativity)( 360 112( สุนทรียศาสตรเบื้องตน( 3(3-0-6)( ( (Basic Aesthetics)( 360 113 ( การออกแบบและสรางสรรคในศิลปะตะวันออก( 3(3-0-6)( ( (Design and Creation in Oriental Arts)B หมวดวิชาเฉพาะ( 1. วิชาแกน จำนวน 21 หนวยกิต( 360 101( การออกแบบ 1( 2(1-3-2)( ( (Design I)( 360 102( การออกแบบ 2 ( 3(1-4-4)( ( (Design II)( 360 103 ( วาดเสน 1 ( 2(1-3-2)( ( (Drawing I)( 360 104( วาดเสน 2 ( 3(1-4-4)( ( (Drawing II)( 360 105( ศิลปะปฏิบัติ 1 ( 2(1-3-2)( ( (Art Studio I)( 360 106 ( ศิลปะปฏิบัติ 2 ( 3(1-4-4)( ( (Art Studio II)

47

Page 50: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 360 107( การเขียนแบบเบื้องตน( 3(1-4-4)( ( (Basic Technical Drawing)( 360 108 ( ศิลปะไทยปริทัศน ( 3(1-4-4)( ( (Survey of Thai Art)( 2. วิชาบังคับ จำนวน 62 หนวยกิต( 364 101( กายวิภาคคนและสัตว( 2(1-3-2)( ( (Human and Animal Anatomy)( 364 102 ( องคประกอบศิลป 1( 2(1-3-2)( ( (Composition I)( 364 103 ( วาดเสนประยุกต 1( 2(1-3-2)( ( ( (Applied Drawing I)( 364 104 ( ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศไทย( 2(2-0-4)( ( (History of Art in Thailand)B ( 364 105( ประยุกตศิลปสมัยนิยม( 2(2-0-4)( ( ( (Applied Art Trend)( 364 106 ( องคประกอบศิลป 2( 2(1-3-2)( ( (Composition II)( 364 107( วาดเสนประยุกต 2( 2(1-3-2)( ( (Applied Drawing II)( 364 108 ( ประวัติศาสตรศิลปะตะวันตก( 2(2-0-4)( ( (Western Art History)( 364 109 ( ศิลปะพื้นบานไทย( 2(2-0-4)( ( (Thai Folk Art)( 364 110 ( หัตถกรรมรวมสมัย( 2(1-3-2)( ( (Contemporary Craft)( 364 201( องคประกอบศิลป 3( 2(1-3-2)( ( (Composition III)( 364 202( สุนทรียศาสตร( 3(3-0-6)( ( (Aesthetics)( 364 203 ( คอมพิวเตอรพื้นฐานสำหรับนักออกแบบ( 2(1-3-2)( ( (Basic Computer for Designers )( 364 204( ประยุกตศิลปในพื้นที่เฉพาะกรณ(ี 2(1-3-2)( ( (Site Specific Applied Art)( 364 205 ( โครงการสรางสรรคประยุกตศิลป( 5(2-6-7)( ( (Applied Art Project)( 364 206 ( ศิลปวิจารณ( 2(2-0-4)( ( (Art Criticism)( 364 207( คอมพิวเตอรสำหรับนักออกแบบ( 2(1-3-2)( ( (Computer for Designers)

48

Page 51: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 364 208 ( ภาษาอังกฤษในงานออกแบบ 1( 2(2-0-4)( ( (English in Design I)( 364 209 ( การฝกประสบการณวิชาชีพ( 2* (ไมนอยกวา180 ชั่วโมง)( ( (Practical Training)( 364 210 ( ภาษาอังกฤษในงานออกแบบ 2( 2(2-0-4)( ( (English in Design II)( 364 211 ( วิธีวิจัย( 2(2-0-4)( ( (Research Methods)( 364 212( การนำเสนอประยุกตศิลป( 2(1-3-2)( ( (Applied Art Presentation)( 364 213 ( การเตรียมการศิลปนิพนธ( 6(2-6-10)( ( (Art Thesis Preparation)( 364 214( ศิลปนิพนธ( 10(0-20-10)( ( (Art Thesis)

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิตในหลักสูตร

B B 3. วิชาบังคับเลือก แบงเปน 5 สาย เลือกเรียนเพียงสายเดียว จำนวน 15 หนวยกิต( ( ( ( 3.1 จิตรกรรมประยุกต (Applied Painting)( 364 111 ( จิตรกรรมประยุกต 1( 5(2-6-7) ( ( (Applied Painting I)( ( 364 116 ( จิตรกรรมประยุกต 2( 5(2-6-7)( ( ( (Applied Painting II)( ( 364 215 ( จิตรกรรมประยุกต 3 ( 5(2-6-7)( ( ( (Applied Painting III)( ( ( 3.2 ประติมากรรมประยุกต (Applied Sculpture)( 364 112 ( ประติมากรรมประยุกต 1( 5(2-6-7)( ( ( (Applied Sculpture I)( 364 117( ประติมากรรมประยุกต 2( 5(2-6-7)( ( (Applied Sculpture II)( 364 216 ( ประติมากรรมประยุกต 3( ( 5(2-6-7)( ( (Applied Sculpture III)( ( 3.3 ภาพพิมพประยุกต (Applied Print Making)( 364 113 ( ภาพพิมพประยุกต 1( 5(2-6-7)( ( (Applied Print Making I)( 364 118 ( ภาพพิมพประยุกต 2( 5(2-6-7)( ( (Applied Print Making II)

49

Page 52: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 364 217( ภาพพิมพประยุกต 3 ( 5(2-6-7) ( ( (Applied Print Making III)B B 3.4 ศิลปะไทยประยุกต (Applied Thai Art)( 364 114 ( ศิลปะไทยประยุกต 1( 5(2-6-7)( ( (Applied Thai Art I)( 364 119 ( ศิลปะไทยประยุกต 2( 5(2-6-7)( ( (Applied Thai Art II)( 364 218 ( ศิลปะไทยประยุกต 3 ( 5(2-6-7)( ( (Applied Thai Art III)( ( 3.5 ศิลปะสิ่งทอ (Textile Art)( 364 115 ( ศิลปะสิ่งทอ 1( 5(2-6-7)( ( (Textile Art I)( 364 120 ( ศิลปะสิ่งทอ 2( 5(2-6-7)( ( (Textile Art II)( 364 219 ( ศิลปะสิ่งทอ 3 ( 5(2-6-7)( ( (Textile Art III)B 4.วิชาเลือก จำนวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต(( 364 220 ( ปญหาศิลปะรวมสมัย( 2(2-0-4)( ( (Problems in Contemporary Art)( 364 221 ( ศิลปกรรมโลหะ( 2(1-3-2)( ( (Metal Art)( 364 222 ( ศิลปกรรมผา( 2(1-3-2)( ( (Fabric Art)(( ( 364 223 ( ศิลปกรรมกระดาษ( 2(1-3-2)( ( ( (Paper Art)(( ( 364 224 ( ศิลปะภาพถาย( 2(1-3-2)( ( ( (Photo Art)( ( 364 225( การออกแบบงานลายรดน้ำไทย( 2(1-3-2)( ( ( (Traditional Thai Lacquer Design)( ( 364 226 ( การออกแบบศิลปะปูนปนไทย( 2(1-3-2)( ( ( (Traditional Thai Stucco Design)( ( 364 227 ( การออกแบบบาติก( 2(1-3-2)( ( ( (Batik Design)( ( 364 228 ( เทคนิคการอนุรักษจิตรกรรมไทย( 2(1-3-2)( ( ( (Traditional Thai Painting Conservation Techniques)(( ( 364 229 ( โครงการศึกษาสวนบุคคล( 2(1-3-2)( ( ( (Individual Project)( ( 364 230 ( การเขียนภาพดอกไม( 2(1-3-2)( ( ( (Flower Painting)

50

Page 53: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( ( 364 231 ( เทคนิคการทอผาพื้นเมือง( 2(1-3-2)( ( ( (Folk Weaving Technique)( ( 364 232 ( ธุรกิจสิ่งทอ( 2(1-3-2)( ( (Textile Business)( 364 233 ( การออกแบบเครื่องแตงกาย( 2(1-3-2)( ( (Costume Design)( 364 234 ( เทคนิคการออกแบบสรางแบบตัด( 2(1-3-2)( ( (Pattern Design Technique)( 364 235 ( การเขียนภาพคนเหมือน( 2(1-3-2)( ( (Portrait Painting)B 364 236 ( ศิลปกรรมหนัง( 2(1-3-2)( ( (Leather Art)

364 237( ศิลปกรรมเสนใย( 2(1-3-2)( ( ( (Fiber Art)

( 364 238 ( วาดภาพดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร ( 2(1-3-2)( ( (Digital Painting) ( 364 239 ( การออกแบบลวดลายผา( 2(1-3-2)( ( (Fabric Pattern Design) ( 364 240 ( ศิลปะภาพพิมพดวยสื่อใหม ( 2(1-3-2)( ( (New Media Print Making)( 364 241 ( ศิลปะผามัดหมี่รวมสมัย ( 2(1-3-2)( ( (Contemporary Art of Ikat) ( 364 242( ศิลปะจากวัสดุเหลือใช ( 2(1-3-2)( ( (Waste Material Art)B 364 243 ( วัตถุเชิงสรางสรรค ( 2(1-3-2)( ( (Creative Object)( หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาตาง ๆ ( ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษาทางวิชาการ

51

Page 54: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

B 6.4B แผนการศึกษา

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

081 102360 111

วิชาศึกษาทั่วไปภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันภูมิปญญาไทยกับการสรางสรรควิชาบังคับเลือก

3(2-2-5) 3(3-0-6)

6

360 101360 103360 105360 107

วิชาเฉพาะการออกแบบ 1วาดเสน 1ศิลปะปฏิบัติ 1(การเขียนแบบเบื้องตน(

2(1-3-2)2(1-3-2)2(1-3-2)3(1-4-4)

รวมจำนวนรวมจำนวน 21

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

080 101081 103

วิชาศึกษาทั่วไปภาษาไทยเพื่อการสื่อสารการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

3(3-0-6) 3(2-2-5)

360 102360 104360 106360 108364 101

วิชาเฉพาะการออกแบบ 2วาดเสน 2ศิลปะปฏิบัติ 2(ศิลปะไทยปริทัศนกายวิภาคคนและสัตว

3(1-4-4)3(1-4-4)3(1-4-4)3(1-4-4)2(1-3-2)

รวมจำนวนรวมจำนวน 20

52

Page 55: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

360 112วิชาศึกษาทั่วไปสุนทรียศาสตรเบื้องตนวิชาบังคับเลือก

3(3-0-6)3

364 102364 103364 104364 105

วิชาเฉพาะองคประกอบศิลป 1วาดเสนประยุกต 1ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศไทยประยุกตศิลปสมัยนิยมวิชาบังคับเลือก

2(1-3-2)2(1-3-2)2(2-0-4) 2(2-0-4)

5

วิชาเลือกเสรี 2

รวมจำนวนรวมจำนวน 21

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

360 113วิชาศึกษาทั่วไปการออกแบบและสรางสรรคในศิลปะตะวันออกวิชาบังคับเลือก

3(3-0-6)3

364 106364 107364 108364 109364 110

วิชาเฉพาะองคประกอบศิลป 2วาดเสนประยุกต 2ประวัติศาสตรศิลปะตะวันตกศิลปะพื้นบานไทยหัตถกรรมรวมสมัยวิชาบังคับเลือก(

2(1-3-2)2(1-3-2)2(2-0-4)2(2-0-4) 2(1-3-2)

5

รวมจำนวนรวมจำนวน 21

53

Page 56: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

364 201364 202364 203364 204

วิชาเฉพาะองคประกอบศิลป 3สุนทรียศาสตร (คอมพิวเตอรพื้นฐานสำหรับนักออกแบบประยุกตศิลปในพื้นที่เฉพาะกรณีวิชาบังคับเลือกวิชาเลือก

2(1-3-2)3(3-0-6)2(1-3-2)2(1-3-2)

52

วิชาเลือกเสรี 2

รวมจำนวนรวมจำนวน 18

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

364 205364 206364 207364 208

วิชาเฉพาะโครงการสรางสรรคประยุกตศิลป( ศิลปวิจารณ คอมพิวเตอรสำหรับนักออกแบบ ภาษาอังกฤษในงานออกแบบ 1 วิชาเลือก

5(2-6-7) 2(2-0-4)2(1-3-2)2(2-0-4)

4

วิชาเลือกเสรี 2

รวมจำนวน รวมจำนวน 17

ปที่ 3 ภาคการศึกษาพิเศษฤดูรอน

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

364 209วิชาเฉพาะการฝกประสบการณวิชาชีพ 2* (ไมนอยกวา

180 ช่ัวโมง)

รวมจำนวนรวมจำนวน

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิตในหลักสูตร

54

Page 57: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

364 210364 211364 212364 213

วิชาเฉพาะภาษาอังกฤษในงานออกแบบ 2(วิธีวิจัย(การนำเสนอประยุกตศิลปการเตรียมการศิลปนิพนธ(

2(2-0-4)2(2-0-4)2(1-3-2) 6(2-6-10)

รวมจำนวนรวมจำนวน 12

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

364 214วิชาเฉพาะศิลปนิพนธ 10(0-20-10)

รวมจำนวนรวมจำนวน 10

55

Page 58: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

56

Page 59: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

สาขาวTชาเครW่องเคลือบดินเผา

เปนผูนำทางดานการออกแบบและสรางสรรคงานเครW่องเคลือบดินเผา

มีคุณธรรมจรTยธรรมสามารถพัฒนาตนเองและสังคม

ใหอยูไดอยางมีความสุข

57

Page 60: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

รายละเอียดของหลักสูตรหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555)

1. รหัสและชื่อหลักสูตรB ภาษาไทย( ( ( หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา( ภาษาอังกฤษ(( ( Bachelor of Fine Arts Program in Ceramics

2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชาB ชื่อเต็มภาษาไทย( ( ศิลปบัณฑิต (เครื่องเคลือบดินเผา)( ชื่อยอภาษาไทย( ( ศล.บ. (เครื่องเคลือบดินเผา) ( ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ(( Bachelor of Fine Arts (Ceramics)( ชื่อยอภาษาอังกฤษ( ( B.F.A. (Ceramics)

3. ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร( 3.1 ปรัชญา ( ( เปนผูนำทางดานการออกแบบและสรางสรรคงานเครื่องเคลือบดินเผา มีคุณธรรมจริยธรรม สามารถ( พัฒนาตนเองและสังคมใหอยูไดอยางมีความสุข ( 3.2 ความสำคัญ ( ( เปนหลักสูตรที่ตอบสนองความตองการ การพัฒนากำลังคนดานการออกแบบและสรางสรรคงาน( เครื่องเคลือบดินเผาใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่มีการแขงขันกันสูง มีการใชเทคโนโลยีทางการ( ออกแบบและการผลิตในเชิงสรางสรรค ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ตลอดจนพัฒนาบัณฑิตใหเปนที่( ยอมรับอยางกวางขวางในระดับสากล B 3.3 วัตถุประสงคของหลักสูตรB B 3.3.1 เพื่อผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีทางเครื่องเคลือบดินเผา 3 สาย คือB B B 3.3.1.1 สายออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา เนนใหบัณฑิตมีความรูความสามารถในการ( ( ออกแบบและผลิตเครื่องเคลือบดินเผาเพื่องานอุตสาหกรรม( ( ( 3.3.1.2 สายศิลปะเครื่องเคลือบดินเผา เนนใหบัณฑิตมีความรูความสามารถในการสรางสรรค( ( ผลงานศิลปะทางเครื่องเคลือบดินเผา( ( ( 3.3.1.3 สายหัตถศิลปเครื่องเคลือบดินเผา เนนใหบัณฑิตมีความรูความสามารถในการ( ( สรางสรรคผลงานหัตถศิลปทางเครื่องเคลือบดินเผา( ( 3.3.2 เพื่อสนับสนุนการวิจัยและผลิตบัณฑิตใหมีขีดความสามารถในการพัฒนาเนื้อดิน น้ำเคลือบ ( และเทคนิค ที่มีคุณสมบัติตรงตามความคิดในการออกแบบและสรางสรรคงานเครื่องเคลือบดินเผา ( ( 3.3.3 เพื่อปลูกจิตสำนึกในวิชาชีพ และการใชวัสดุใหเกิดประโยชนสูงสุดโดยคำนึงถึงธรรมชาติและ ( สิ่งแวดลอม ( ( 3.3.4 เพื่อใหบริการทางวิชาการแกสังคม เผยแพรความรู และคุณคาผลงานเครื่องเคลือบดินเผา

4. อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสำเร็จการศึกษา( 4.1( นักออกแบบงานเครื่องเคลือบดินเผา( 4.2( ศิลปนสรางสรรคงานเครื่องเคลือบดินเผา

58

Page 61: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 4.3 ( นักวิชาการทางดานเครื่องเคลือบดินเผา( 4.4( ผูประกอบการและ /หรือผูจัดการโรงงานผลิตเครื่องเคลือบดินเผา( 4.5( นักออกแบบงานที่เกี่ยวของทางดานศิลปะและงานตกแตง

5. ชื่อ นามสกุล ตำแหนง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยประจำหลักสูตรและผูรับผิดชอบหลักสูตร( 5.1( นางกรธนา กองสุข*( ( ตำแหนง( ผู้ชวยศาสตราจารย( ( คุณวุฒิ( ศ.ม. (ประติมากรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2539)( ( ( ( ศ.บ. (ประติมากรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2534)( 5.2( นายสยุมพร กาษรสุวรรณ*( ( ตำแหนง( ผู้ชวยศาสตราจารย( ( คุณวุฒิ( ศ.ม. (เครื่องเคลือบดินเผา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2544)( ( ( ( ศ.บ. (เครื่องเคลือบดินเผา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2538)( 5.3 ( นายประเสริฐ พิชยะสุนทร( ( ตำแหนง( ผู้ชวยศาสตราจารย( ( คุณวุฒิ( ศ.ม. (ประติมากรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2534) ( ( ( ( ศ.บ. (ประติมากรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2527) ( 5.4( นายประดิพัทธุ เลิศรุจิดำรงคกุล( ( ตำแหนง( ผู้ชวยศาสตราจารย( ( คุณวุฒิ( ศ.ศ.ม. (ประวัติศาสตรศิลป) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2547)( ( ( ( ศศ.บ. (ไทยคดีศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช (2551)( ( ( ( ศ.บ. (เครื่องเคลือบดินเผา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2535)( 5.5( นายธาตรี เมืองแกว( ( ตำแหนง( อาจารย( ( คุณวุฒิ( M.F.A. (Sculpture), Visva Bharati University, India (2008)( ( ( ( ศ.บ. (เครื่องเคลือบดินเผา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2547)

หมายเหตุ * หมายถึง อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

59

Page 62: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

6. หลักสูตรB 6.1 จำนวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร จำนวนไมนอยกวา 140 หนวยกิต( 6.2( โครงสรางหลักสูตร B หมวดวิชาศึกษาทั่วไปB จำนวนไมนอยกวาB 30 B หนวยกิต( 1. วิชาบังคับ( จำนวน( 9 ( หนวยกิต( 2. วิชาบังคับเลือกB จำนวนไมนอยกวา( 12( หนวยกิต( 3. วิชาที่กำหนดโดยคณะวิชาB จำนวนไมนอยกวา( 9 ( หนวยกิต( หมวดวิชาเฉพาะB จำนวนB 104B หนวยกิตB 1. วิชาแกน( จำนวน( 21( หนวยกิต( 2. วิชาบังคับ( จำนวน( 67( หนวยกิต( 3. วิชาบังคับเลือก*( จำนวน( 16 ( หนวยกิต( หมวดวิชาเลือกเสร(ี จำนวนไมนอยกวาB 6 B หนวยกิต

หมายเหตุ * หมายถึง ใหนักศึกษาเลือกเรียนวิชาบังคับเลือกเพียงสายเดียว คือ สายออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา หรือ สายศิลปะเครื่องเคลือบดินเผา หรือ สายหัตถศิลปเครื่องเคลือบดินเผา

B 6.3B รายวิชาB B หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวนไมนอยกวา 30 หนวยกิต( ( 1. วิชาบังคับ จำนวน 9 หนวยกิต( ( ( ( กลุมวิชาภาษา( 081 101( ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร( 3(3-0-6)( ( (Thai for Communication)( 081 102( ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน( 3(2-2-5)( ( (English for Everyday Use)( 081 103 ( การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ( 3(2-2-5)( ( (English Skill Development)( 2. วิชาบังคับเลือก จำนวนไมนอยกวา 12 หนวยกิต โดยเลือกจากทุกกลุมตอไปนี้ จำนวนไมนอย( กวากลุมละ 3 หนวยกิต( ( ( ( กลุมวิชามนุษยศาสตร( 082 101( มนุษยกับศิลปะ( 3(3-0-6)( ( (Man and Art)( 082 102( มนุษยกับการสรางสรรค( 3(3-0-6)( ( (Man and Creativity)( (( 082 103 ( ปรัชญากับชีวิต( 3(3-0-6)( ( (Philosophy and Life)( 082 104( อารยธรรมโลก( 3(3-0-6)( ( (World Civilization)( 082 105( อารยธรรมไทย( 3(3-0-6)( ( (Thai Civilization)

60

Page 63: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( ( กลุมวิชาสังคมศาสตร ( 083 101( มนุษยกับสิ่งแวดลอม( 3(3-0-6)( ( (Man and His Environment)(( 083 102( จิตวิทยากับมนุษยสัมพันธ( 3(3-0-6)( ( (Psychology and Human Relations)( 083 103 ( หลักการจัดการ( 3(3-0-6)( ( (Principles of Management)(( 083 104( กีฬาศึกษา( 3(2-2-5)( ( (Sport Education)(( 083 105( การเมือง การปกครองและเศรษฐกิจไทย( 3(3-0-6)( ( (Thai Politics, Government and Economy)( ( ( ( กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรB ( (( 084 101( อาหารเพื่อสุขภาพ( 3(3-0-6)( ( (Food for Health)(( 084 102( สิ่งแวดลอม มลพิษและพลังงาน( 3(3-0-6)( ( (Environment, Pollution and Energy)( 084 103 ( คอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร( 3(3-0-6)( ( (Computer, Information Technology and Communication)( 084 104( คณิตศาสตรและสถิติในชีวิตประจำวัน( 3(3-0-6)( ( (Mathematics and Statistics in Everyday Life)(( 084 105( โลกแหงเทคโนโลยีและนวัตกรรม( 3(3-0-6)( ( (World of Technology and Innovation)( 3. วิชาที่กำหนดโดยคณะวิชา จำนวน 9 หนวยกิต( 360 111 ( ภูมิปญญาไทยกับการสรางสรรค( 3(3-0-6)( ( (Thai Wisdom and Creativity)( 360 112( สุนทรียศาสตรเบื้องตน( 3(3-0-6)( ( (Basic Aesthetics)( 360 113 ( การออกแบบและสรางสรรคในศิลปะตะวันออก( 3(3-0-6)( ( (Design and Creation in Oriental Arts)B หมวดวิชาเฉพาะ(( 1. วิชาแกน จำนวน 21 หนวยกิต( 360 101( การออกแบบ 1( 2(1-3-2)( ( (Design I)( 360 102( การออกแบบ 2 ( 3(1-4-4)( ( (Design II)( 360 103 ( วาดเสน 1 ( 2(1-3-2)( ( (Drawing I)(( 360 104( วาดเสน 2 ( 3(1-4-4)( ( (Drawing II)

61

Page 64: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 360 105( ศิลปะปฏิบัติ 1 ( 2(1-3-2)( ( (Art Studio I)( 360 106 ( ศิลปะปฏิบัติ 2 ( 3(1-4-4)( ( (Art Studio II)( 360 107( การเขียนแบบเบื้องตน( 3(1-4-4)( ( (Basic Technical Drawing)( 360 108 ( ศิลปะไทยปริทัศน ( 3(1-4-4)( ( (Survey of Thai Art)( 2. วิชาบังคับ นักศึกษาตองเรียนทุกรายวิชา จำนวน 67 หนวยกิตB 365 101( เครื่องเคลือบดินเผาเบื้องตนและกรรมวิธีการผลิต( 3(3-0-6)( ( (Introduction to Ceramics and Processes)( 365 102( การเขียนแบบเทคนิค( 3(1-4-4)( ( (Technical Drawing)( 365 103 ( การขึ้นรูปดวยมือ ( 3(1-4-4)( ( (Hand Forming)( 365 104( การขึ้นรูปดวยแปนหมุน 1( 3(1-4-4)( ( (Wheel Throwing I)( 365 105( การสรางพิมพ และวิธีการขึ้นรูป( 3(1-4-4)( ( (Mold Making and Forming Methods)( 365 106 ( ประวัติศาสตรเครื่องเคลือบดินเผา( 3(3-0-6)( ( (History of Ceramics)( 365 107( ดินและเนื้อดิน( 3(2-2-5)( ( (Clay and Clay Body)( 365 108 ( เคลือบ 1( 3(3-0-6)( ( (Ceramic Glazes I)( 365 109 ( เทคนิคการตกแตง( 3(1-4-4)( ( (Decorating Techniques)( 365 110 ( การขึ้นรูปดวยแปนหมุน 2( 3(1-4-4)( ( (Wheel Throwing II)( 365 201( การออกแบบเครื่องเคลือบดินเผาเบื้องตน( 3(1-4-4)( ( (Basic Ceramic Design)( 365 202( คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา( 3(2-2-5)( ( (Computer for Ceramic Design)( 365 203 ( เคลือบ 2 ( 3(1-4-4)( ( (Ceramic Glazes II)( 365 204( เตาและการเผา( 3(1-4-4)( ( (Kiln and Firing)( 365 205( สุนทรียศาสตร( 3(3-0-6)( ( (Aesthetics)

62

Page 65: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 365 206 ( สัมมนาเครื่องเคลือบดินเผา( 3(2-2-5)( ( (Ceramic Seminar)( 365 207( วิธีวิจัยสำหรับงานเครื่องเคลือบดินเผา( 3(2-2-5)( ( (Research Methods for Ceramics)( 365 208 ( การฝกประสบการณวิชาชีพ( 2* (ไมนอยกวา 180 ชั่วโมง)( ( (Practical Training)( 365 209 ( การเตรียมการศิลปนิพนธ( 6(3-6-9)( ( (Art Thesis Preparation)( 365 210 ( ศิลปนิพนธ( 10(0-20-10)( ( (Art Thesis)

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิตในหลักสูตร(

( 3. วิชาบังคับเลือก จำนวน 16 หนวยกิต ใหนักศึกษาเลือกเรียนสายออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา ( สายศิลปะเครื่องเคลือบดินเผา หรือ สายหัตถศิลปเครื่องเคลือบดินเผา เพียงสายเดียว และตองผาน( วิชาบังคับในชั้นปที่ 1 ชั้นปที่ 2 และไดรับอนุมัติจากภาควิชาฯ( ( สายออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา (Ceramic Design)B 365 211( การออกแบบโดยการทดลอง( 3(1-4-4)( ( (Experimental Design)( 365 212( คอมพิวเตอรสำหรับการออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา( 4(2-6-4)( ( (Computer – Aid for Ceramic Design)( 365 213 ( การออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา 1( 4(2-6-4)( ( (Ceramic Design I)( 365 214( การออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา 2( 5(2-8-5)( ( (Ceramic Design II)( ( สายศิลปะเครื่องเคลือบดินเผา (Ceramic Art )B 365 215( ประติมากรรม( 3(1-4-4)( ( (Sculpture( 365 216 ( ประติมากรรมสรางสรรค( 4(2-6-4)( ( (Creative Sculpture)( 365 217( ศิลปะเครื่องเคลือบดินเผา 1( 4(2-6-4)( ( (Ceramic Art I)( 365 218 ( ศิลปะเครื่องเคลือบดินเผา 2( 5(2-8-5)( ( (Ceramic Art II)( ( สายหัตถศิลปเครื่องเคลือบดินเผา (Pottery Art and Craft)( 365 219 ( การสรางสรรคเครื่องเคลือบดินเผาหัตถศิลป( 3(1-4-4)( ( (Creative Pottery Art and Craft)( 365 220 ( เครื่องเคลือบดินเผาหัตถศิลปรวมสมัย( 4(2-6-4)( ( (Contemporary Pottery Art and Craft)

63

Page 66: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 365 221( เครื่องเคลือบดินเผาหัตถศิลป 1( 4(2-6-4)( ( (Pottery Art and Craft I)( 365 222( เครื่องเคลือบดินเผาหัตถศิลป 2( 5(2-8-5)( ( (Pottery Art and Craft II)( หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาตางๆ( ดังตอไปนี้ หรือใหนักศึกษาเลือกเรียนรายวิชาตางๆ ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยความเห็นชอบ ( ของอาจารยที่ปรึกษา( 365 223 ( ภาษาอังกฤษสำหรับงานเครื่องเคลือบดินเผา( 2(2-0-4)( ( (English for Ceramics)( 365 224( สมาธิเบื้องตน( 2(1-3-2)( ( (Basic Meditation)( 365 225( จิตรกรรมเครื่องเคลือบดินเผา( 2(1-3-2)( ( (Ceramic Painting)( 365 226 ( การเผาแบบราก(ุ 2(1-3-2)( ( (Raku Firing)( 365 227( การเผาเตาฟน( 2(1-3-2)( ( (Wood Kiln Firing)( 365 228 ( การเผารมควัน( 2(1-3-2)( ( (Smoke Firing)( 365 229 ( เนื้อดินสี( 2(1-3-2)( ( (Colored Clay)( 365 230 ( การตลาด( 2(2-0-4)( ( (Marketing)( 365 231( โครงการศึกษาสวนบุคคล 1( 2(0-6-0)( ( (Individual Project I)( 365 232( โครงการศึกษาสวนบุคคล 2( 2(0-6-0)( ( (Individual Project II)( 365 233 ( โครงการศึกษาสวนบุคคล 3( 2(0-6-0)( ( (Individual Project III)

64

Page 67: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 6.4B แผนการศึกษา

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

081 102 360 111

วิชาศึกษาทั่วไป ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันภูมิปญญาไทยกับการสรางสรรค วิชาบังคับเลือก

3(2-2-5)3(3-0-6)

3

360 101360 103360 105360 107

วิชาเฉพาะการออกแบบ 1วาดเสน 1ศิลปะปฏิบัติ 1การเขียนแบบเบื้องตน

2(1-3-2)2(1-3-2)2(1-3-2)3(1-4-4)

รวมจำนวนรวมจำนวน 18

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

081 101081 103

วิชาศึกษาทั่วไป ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

3(3-0-6)3(2-2-5)

360 102360 104360 106360 108365 101

วิชาเฉพาะการออกแบบ 2วาดเสน 2ศิลปะปฏิบัติ 2ศิลปะไทยปริทัศนเครื่องเคลือบดินเผาเบื้องตนและกรรมวิธีการผลิต

3(1-4-4)3(1-4-4)3(1-4-4)3(1-4-4)3(3-0-6)

รวมจำนวนรวมจำนวน 21

65

Page 68: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

360 112วิชาศึกษาทั่วไป สุนทรียศาสตรเบื้องตนวิชาบังคับเลือก

3(3-0-6)6

365 102365 103365 104365 105

วิชาเฉพาะการเขียนแบบเทคนิค การขึ้นรูปดวยมือการขึ้นรูปดวยแปนหมุน 1การสรางพิมพและวิธีการขึ้นรูป

3(1-4-4)3(1-4-4)3(1-4-4)3(1-4-4)

รวมจำนวนรวมจำนวน 21

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

360 113วิชาศึกษาทั่วไป การออกแบบและสรางสรรคในศิลปะตะวันออกวิชาบังคับเลือก

3(3-0-6)3

365 106365 107365 108365 109365 110

วิชาเฉพาะประวัติศาสตรเครื่องเคลือบดินเผาดินและเนื้อดินเคลือบ 1เทคนิคการตกแตงการขึ้นรูปดวยแปนหมุน2

3(3-0-6)3(2-2-5)3(3-0-6)3(1-4-4)3(1-4-4)

รวมจำนวนรวมจำนวน 21

66

Page 69: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

365 201365 202365 203365 204

วิชาเฉพาะการออกแบบเครื่องเคลือบดินเผาเบื้องตนคอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบเครื่องเคลือบดินเผาเคลือบ 2เตาและการเผาวิชาบังคับเลือก*

3(1-4-4)3(2-2-5)3(1-4-4)3(1-4-4)

7

รวมจำนวนรวมจำนวน 19

หมายเหตุ * หมายถึง นักศึกษาตองเรียนตามสายการเรียนที่เลือก

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

365 205365 206365 207

วิชาเฉพาะสุนทรียศาสตรสัมมนาเครื่องเคลือบดินเผาวิธีวิจัยสำหรับงานเครื่องเคลือบดินเผาวิชาบังคับเลือก*

3(3-0-6)3(2-2-5)3(2-2-5)

9

วิชาเลือกเสรี 2

รวมจำนวนรวมจำนวน 20

ปที่ 3 ภาคการศึกษาพิเศษฤดูรอน

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

365 208วิชาเฉพาะการฝกประสบการณวิชาชีพ 2* (ไมนอยกวา

180 ช.ม.)

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิตในหลักสูตร

67

Page 70: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

365 209วิชาเฉพาะการเตรียมการศิลปนิพนธ 6(3-6-9)

วิชาเลือกเสรี 4

รวมจำนวนรวมจำนวน 10

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

365 210วิชาเฉพาะศิลปนิพนธ 10(0-20-10)

รวมจำนวนรวมจำนวน 10

68

Page 71: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

สาขาวTชาการออกแบบเครW่องประดับ

ผลิตบัณฑิตใหมีความรูทางศิลปะ สุนทรQยศาสตร ความคิดสรางสรรค

มีจรรยาบรรณในวTชาชQพการออกแบบเครW่องประดับ

69

Page 72: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

รายละเอียดของหลักสูตรหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบเครื่องประดับ

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555)

1.B ชื่อหลักสูตรB ภาษาไทย( ( ( หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบเครื่องประดับ( ภาษาอังกฤษ(( ( Bachelor of Fine Arts Program in Jewelry Design

2.B ชื่อปริญญาB ชื่อเต็มภาษาไทยB B ศิลปบัณฑิต (การออกแบบเครื่องประดับ)( ชื่อยอภาษาไทยB B ศล.บ. (การออกแบบเครื่องประดับ)( ชื่อเต็มภาษาอังกฤษB Bachelor of Fine Arts (Jewelry Design)( ชื่อยอภาษาอังกฤษBB B.F.A (Jewelry Design)

3.Bปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร3.1 ปรัชญาB ผลิตบัณฑิตใหมีความรู ทางศิลปะ สุนทรียศาสตร ความคิดสรางสรรค มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ

( การออกแบบเครื่องประดับ3.2 ความสำคัญ

B B ภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ จึงมีแผนดำเนินการเปดสอนหลักสูตรศิลปบัณฑิตในสาขาวิชาการ( ออกแบบเครื่องประดับ เพื่อมุงผลิตผูนำดานการออกแบบและสรางสรรคในวิชาชีพเครื่องประดับที่มีบทบาท( ตอการขับเคลื่อนระบบอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องประดับใหสอดคลองตอการเปลี่ยนแปลงรูปแบบธุรกิจ ( โดยอยูบนพื้นฐานของความรับผิดชอบตอสังคมและทรัพยากรธรรมชาติ มีความสามารถในการออกแบบ( เพื่อขับเคลื่อนภาคการผลิตสินคาและบริการใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางของการอนุรักษและใช( ประโยชนจากทรัพยากรอยางคุมคา มีประสิทธิภาพ เปนนักออกแบบที่ดำรงชีวิตอยางมีศักดิ์ศรีและเปนสุขB 3.3 วัตถุประสงค( ( 3.3.1 เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีความรู ความคิดสรางสรรคในวิชาชีพเครื่องประดับ และมีความรับผิดชอบ( ตอสังคม( ( 3.3.2 เพื่อสรางและพัฒนาความรู ความสามารถเฉพาะบุคคลทางวิชาชีพดานเครื่องประดับ

4.B อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสำเร็จการศึกษาB 4.1( นักออกแบบเครื่องประดับ และนักออกแบบโลหะภัณฑ( 4.2( ประกอบวิชาชีพอิสระในธุรกิจดานเครื่องประดับ และโลหะภัณฑ( 4.3 ( ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวของกับเครื่องประดับ และโลหะภัณฑ ทั้งดานระบบการผลิต เครื่องมือ และวัสดุที่ชวยพัฒนารูปแบบสินคาเครื่องประดับ และโลหะภัณฑของประเทศไทย( 4.4( ผูสอนและนักวิชาการดานการออกแบบเครื่องประดับ

70

Page 73: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

5. ชื่อ นามสกุล ตำแหนง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยประจำหลักสูตรและผูรับผิดชอบหลักสูตรB 5.1( นายภูวนาท รัตนรังสิกุล*( ตำแหนง( ผูชวยศาสตาจารย( คุณวุฒิ( M.A. (Jewellery and 3 Dimensional Design)( ( Curtin University of Technology, Australia (1997)( ( ศ.บ. (ออกแบบผลิตภัณฑ) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2532)( 5.2( นางสาวศิดาลัย ฆโนทัย*( ตำแหนง( อาจารย( คุณวุฒิ( ศป.ม. (แฟชั่นและสิ่งทอ) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2547)( ( ศ.บ. (ออกแบบเครื่องประดับ) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2543)( 5.3 ( นายเอกชัย พันธอารีวัฒนา( ตำแหนง( ผูชวยศาสตาจารย( คุณวุฒิ( ศ.บ. (ตกแตงภายใน) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2540)( 5.4( นายทวีศักดิ์ มูลสวัสดิ์( ตำแหนง( อาจารย( คุณวุฒิ( M.F.A. (With Honors in Metalsmithing and Jewelry)( ( The University of Kansas, USA (1999)( ( M.A. (Jewelry and Metalsmithing)( ( The Texas Woman's University, USA (1996)( ( สถ.บ. (ศิลปะอุตสาหกรรม) สถาบันเทคโนโลยีเจาคุณทหารลาดกระบัง (2534)( 5.5( นายภูษิต รัตนภานพ( ตำแหนง( อาจารย( คุณวุฒิ( ศ.ม. (ประติมากรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2549)( ( ศ.บ. (ประติมากรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2542)( 5.6 ( นายชาติชาย คันธิก( ตำแหนง( อาจารย( คุณวุฒิ( วท.บ. (ชางทองหลวง) สถาบันเทคโนโลยีชางกลปทุมวัน (2545)

หมายเหตุ * หมายถึง อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

6. หลักสูตรB 6.1B จำนวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 140 หนวยกิต( 6.2B โครงสรางหลักสูตรB หมวดวิชาศึกษาทั่วไป( จำนวนไมนอยกวา( 30 B หนวยกิต( 1. วิชาบังคับ( จำนวน( 9 ( หนวยกิต( 2. วิชาบังคับเลือก( จำนวนไมนอยกวา( 12( หนวยกิต( 3. วิชาที่กำหนดโดยคณะวิชา( จำนวนไมนอยกวา( 9 ( หนวยกิต( หมวดวิชาเฉพาะB จำนวนไมนอยกวา( 98B หนวยกิต( 1. วิชาแกน( จำนวน( 21( หนวยกิต( 2. วิชาบังคับ( จำนวน( 77( หนวยกิต( หมวดวิชาเลือกเสร(ี จำนวนไมนอยกวา( 12 B หนวยกิต

71

Page 74: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

B 6.3B รายวิชาB B หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวนไมนอยกวา 30 หนวยกิต( ( 1. วิชาบังคับ จำนวน 9 หนวยกิต( ( ( ( กลุมวิชาภาษา( ( (( 081 101( ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร( 3(3-0-6)( ( (Thai for Communication)( 081 102( ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน( 3(2-2-5)( ( (English for Everyday Use)( 081 103 ( การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ( 3(2-2-5)( ( (English Skill Development)( 2. วิชาบังคับเลือก จำนวนไมนอยกวา 12 หนวยกิต โดยเลือกจากทุกกลุมตอไปนี้ จำนวนไมนอย( กวากลุมละ 3 หนวยกิต( (( ( ( ( กลุมวิชามนุษยศาสตร( 082 101( มนุษยกับศิลปะ( 3(3-0-6)( ( (Man and Art)( 082 102( มนุษยกับการสรางสรรค( 3(3-0-6)( ( (Man and Creativity)( (( 082 103 ( ปรัชญากับชีวิต( 3(3-0-6)( ( (Philosophy and Life)( 082 104( อารยธรรมโลก( 3(3-0-6)( ( (World Civilization)( 082 105( อารยธรรมไทย( 3(3-0-6)( ( (Thai Civilization)( ( กลุมวิชาสังคมศาสตร ( 083 101( มนุษยกับสิ่งแวดลอม( 3(3-0-6)( ( (Man and His Environment)(( 083 102( จิตวิทยากับมนุษยสัมพันธ( 3(3-0-6)( ( (Psychology and Human Relations)( 083 103 ( หลักการจัดการ( 3(3-0-6)( ( (Principles of Management)(( 083 104( กีฬาศึกษา( 3(2-2-5)( ( (Sport Education)(( 083 105( การเมือง การปกครองและเศรษฐกิจไทย( 3(3-0-6)( ( (Thai Politics, Government and Economy)( ( ( ( กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรB ( (( 084 101( อาหารเพื่อสุขภาพ( 3(3-0-6)( ( (Food for Health)(( 084 102( สิ่งแวดลอม มลพิษและพลังงาน( 3(3-0-6)( ( (Environment, Pollution and Energy)

72

Page 75: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 084 103 ( คอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร( 3(3-0-6)( ( (Computer, Information Technology and Communication)( 084 104( คณิตศาสตรและสถิติในชีวิตประจำวัน( 3(3-0-6)( ( (Mathematics and Statistics in Everyday Life)(( 084 105( โลกแหงเทคโนโลยีและนวัตกรรม( 3(3-0-6)( ( (World of Technology and Innovation)( 3. วิชาที่กำหนดโดยคณะวิชา จำนวน 9 หนวยกิต( 360 111 ( ภูมิปญญาไทยกับการสรางสรรค( 3(3-0-6)( ( (Thai Wisdom and Creativity)( 360 112( สุนทรียศาสตรเบื้องตน( 3(3-0-6)( ( (Basic Aesthetics)( 360 113 ( การออกแบบและสรางสรรคในศิลปะตะวันออก( 3(3-0-6)( ( (Design and Creation in Oriental Arts)B หมวดวิชาเฉพาะ(( 1. วิชาแกน จำนวน 21 หนวยกิต( 360 101( การออกแบบ 1( 2(1-3-2)( ( (Design I)( 360 102( การออกแบบ 2 ( 3(1-4-4)( ( (Design II)( 360 103 ( วาดเสน 1 ( 2(1-3-2)( ( (Drawing I)(( 360 104( วาดเสน 2 ( 3(1-4-4)( ( (Drawing II)( 360 105( ศิลปะปฏิบัติ 1 ( 2(1-3-2)( ( (Art Studio I)( 360 106 ( ศิลปะปฏิบัติ 2 ( 3(1-4-4)( ( (Art Studio II)( 360 107( การเขียนแบบเบื้องตน( 3(1-4-4)( ( (Basic Technical Drawing)( 360 108 ( ศิลปะไทยปริทัศน ( 3(1-4-4)( ( (Survey of Thai Art)( 2. วิชาบังคับ จำนวน 77 หนวยกิต( 366 101( ประวัติเครื่องประดับ( 3(3-0-6)( ( (History of Jewelry)( 366 102( การทำเครื่องประดับ 1( 3(2-2-5)( ( (Jewelry Making I)( 366 103 ( การทำเครื่องประดับ 2( 3(2-2-5)( ( (Jewelry Making II)( 366 104( การออกแบบเครื่องประดับ 1( 4(2-4-6)( ( (Jewelry Design I)

73

Page 76: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 366 105( งานโลหะไทยประเพณี( 3(2-2-5)( ( (Metal Work in Thai Traditional Techniques)( 366 106 ( การออกแบบเครื่องประดับ 2( 4(2-4-6)( ( (Jewelry Design II)( 366 107( อัญมณีศาสตร( 3(3-0-6)( ( (Gemology)( 366 108 ( วัสดุและกระบวนการการผลิตในงานเครื่องประดับ( 3(3-0-6)( ( (Material and Process in Jewelry Production)( 366 109 ( การเขียนแบบและเสนอแบบเฉพาะดานการออกแบบเครื่องประดับ( 3(2-2-5)( ( (Technical Drawing and Presentation in Jewelry Design)( 366 201( ธุรกิจอัญมณี( 3(2-2-5)( ( (Gems Business)( 366 202( วิธีวิจัยและการจัดสัมมนา( 4(3-2-7)( ( (Research Methods and Seminar Management)( 366 203 ( ภาษาอังกฤษสำหรับการออกแบบเครื่องประดับ( 3(3-0-6)( ( (English for Jewelry Design)( 366 204( การออกแบบเครื่องประดับ 3 ( 5(2-6-7)( ( (Jewelry Design III)( 366 205( เครื่องประดับกับวิถีชีวิต( 3(3-0-6)( ( (Life-Style Jewelry)( 366 206 ( การออกแบบเครื่องประดับ 4( 5(2-6-7)( ( (Jewelry Design IV)( 366 207( การตลาดและการจัดการธุรกิจเครื่องประดับ( 3(3-0-6)( ( (Marketing and Management for Jewelry Business)( 366 208 ( ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจเครื่องประดับ( 3(3-0-6)( ( (English for Jewelry Business)( 366 209 ( การนำเสนอผลงานเครื่องประดับ( 3(2-2-5)( ( (Jewelry Presentation)( 366 210 ( การฝกประสบการณวิชาชีพ( 2*(ไมนอยกวา 180 ชั่วโมง)( ( (Practical Training)( 366 211( การออกแบบเครื่องประดับ 5( 6(2-8-8)( ( (Jewelry Design V)( 366 212( ศิลปนิพนธ( 10(0-20-10)( ( (Art Thesis)

หมายเหตุ( * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิต

74

Page 77: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาตางๆ( ดังตอไปนี้ หรือใหนักศึกษาเลือกเรียนรายวิชาตางๆ ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยความเห็นชอบ ( ของอาจารยที่ปรึกษา( 366 213 ( การออกแบบถักทอและแฟชั่น( 3(2-2-5)( (Fashion and Weaving Design)( 366 214( การออกแบบของขวัญและของที่ระลึก( 3(2-2-5)( ( (Gift and Souvenir Design)( 366 215( การออกแบบอุปกรณประกอบตกแตง( 3(2-2-5)( (Accessory Design)( 366 216 ( งานชางศิลปตะวันออก( 3(2-2-5)( ( (Oriental Artisan)( 366 217( การเจียระไน( 3(2-2-5)( ( (Gemstone Cutting)( 366 218 ( เครื่องถม( 3(2-2-5)( ( (Niello Ware)( 366 219 ( โบราณวัตถุ( 3(2-2-5)( ( (Antiques)( 366 220 ( กรรมวิธีตกแตงผิวเครื่องประดับ( 3(2-2-5)( ( (Surface Finishing on Jewelry)( 366 221( โครงการตอเนื่องจากการปฏิบัติงานวิชาชีพ( 3(2-2-5)( ( (Training Experienced Development)( 366 222( การสงเสริมและการพัฒนาคุณภาพชีวิตดวยเครื่องประดับ( 3(2-2-5)( ( (Jewelry as a Support for Developing Living)( 366 223 ( คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบเครื่องประดับ 1( 3(2-2-5)( ( (Computer Aided Jewelry Design I)( 366 224( คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบเครื่องประดับ 2( 3(2-2-5)( ( (Computer Aided Jewelry Design II)( 366 225( การออกแบบบรรจุภัณฑเครื่องประดับ( 3(2-2-5)( ( (Jewelry Packaging Design)( 366 226 ( เครื่องทองและเครื่องเงินไทย( 3(2-2-5)( ( (Thai Gold and Silver Wares)( 366 227( วัฒนธรรมและศิลปหัตถกรรมไทย( 3(2-2-5)( ( (Thai Culture, Arts and Crafts)( 366 228 ( โลกแหงการออกแบบ( 3(2-2-5)( ( (The Design World)( 366 229 ( ศิลปะและการออกแบบแกว( 3(2-2-5)( ( (Glass Art and Design)( 366 230 ( เครื่องประดับกับสภาวะแวดลอมโลก( 3(2-2-5)( ( (Jewelry and Global Environment)

75

Page 78: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 366 231( โครงการศึกษาเฉพาะบุคคล 1( 3(2-2-5)( ( (Individual Project I)( 366 232( โครงการศึกษาเฉพาะบุคคล 2( 3(2-2-5)( ( (Individual Project II)( 366 233 ( การออกแบบเครื่องประดับเฉพาะ 1( 3(2-2-5)( ( (Selected Topics in Jewelry Design I)( 366 234( การออกแบบเครื่องประดับเฉพาะ 2( 3(2-2-5)( ( (Selected Topics in Jewelry Design II)( 366 235( การบมเพาะธุรกิจเครื่องประดับ( 3(2-2-5)( ( (Simulation Model of Jewelry Business)( 366 236( เครื่องประดับกับวิถีชีวิตอาเซียน( 3(3-0-6)( ( (Jewelry and Asian Lifestyle)

76

Page 79: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 6.4B แผนการศึกษา

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

081 102360 111

วิชาศึกษาทั่วไปภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันภูมิปญญาไทยกับการสรางสรรควิชาบังคับเลือก

3(2-2-5)3(3-0-6)

3

360 101360 103360 105366 101366 102

วิชาเฉพาะการออกแบบ 1วาดเสน 1ศิลปะปฏิบัติ 1ประวัติเครื่องประดับการทำเครื่องประดับ 1

2(1-3-2)2(1-3-2)2(1-3-2)3(3-0-6)3(2-2-5)

รวมจำนวนรวมจำนวน 21

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

081 101วิชาศึกษาทั่วไปภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)

360 102360 104360 106360 107360 108366 103

วิชาเฉพาะการออกแบบ 2วาดเสน 2ศิลปะปฏิบัติ 2การเขียนแบบเบื้องตนศิลปะไทยปริทัศนการทำเครื่องประดับ 2

3(1-4-4)3(1-4-4)3(1-4-4)3(1-4-4)3(1-4-4)3(1-4-4)

รวมจำนวนรวมจำนวน 21

77

Page 80: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

360 112วิชาศึกษาทั่วไปสุนทรียศาสตรเบื้องตนวิชาบังคับเลือก

3(3-0-6)6

366 104366 105366 106

วิชาเฉพาะการออกแบบเครื่องประดับ 1งานโลหะไทยประเพณีวัสดุและกระบวนการการผลิตในงานเครื่องประดับ

4(2-4-6)3(2-2-5)3(3-0-6)

รวมจำนวนรวมจำนวน 19

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

081 103360 113

วิชาศึกษาทั่วไปการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษการออกแบบและสรางสรรคในศิลปะตะวันออกวิชาบังคับเลือก

3(2-2-5)3(3-0-6)

3

366 107366 108366 109

วิชาเฉพาะการออกแบบเครื่องประดับ 2อัญมณีศาสตรการเขียนแบบและเสนอแบบเฉพาะดานการออกแบบเคร่ืองประดับ

4(2-4-6)3(3-0-6)3(2-2-5)

รวมจำนวนรวมจำนวน 19

78

Page 81: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

366 201366 202366 203366 204366 205

วิชาเฉพาะธุรกิจอัญมณีวิธีวิจัยและการจัดสัมมนาภาษาอังกฤษสำหรับการออกแบบเครื่องประดับการออกแบบเครื่องประดับ 3เครื่องประดับกับวิถีชีวิต

3(2-2-5)4(3-2-7)3(3-0-6)5(2-6-7)3(3-0-6)

วิชาเลือกเสรี 3

รวมจำนวนรวมจำนวน 21

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

366 206366 207366 208366 209

วิชาเฉพาะการออกแบบเครื่องประดับ 4การตลาดและการจัดการธุรกิจเครื่องประดับภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจเครื่องประดับการนำเสนอผลงานเครื่องประดับ

5(2-6-7)3(3-0-6)3(3-0-6)3(2-2-5)

วิชาเลือกเสรี 6

รวมจำนวนรวมจำนวน 20

ปที่ 3 ภาคการศึกษาพิเศษฤดูรอน

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

366 210วิชาเฉพาะการฝกประสบการณวิชาชีพ 2*(ไมนอยกวา

180 ชั่วโมง)

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิต

79

Page 82: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ชั้นปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

366 211วิชาเฉพาะการออกแบบเครื่องประดับ 5 6(2-8-8)

วิชาเลือกเสรี 3

รวมจำนวนรวมจำนวน 9

ชั้นปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

366 212วิชาเฉพาะศิลปนิพนธ 10(0-20-10)

รวมจำนวนรวมจำนวน 10

80

Page 83: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

สาขาวTชาการออกแบบเครW่องแตงกาย

เปนเลิศดานความคิดสรางสรรค ผูนำดานการเรQยนการสอน

วTชาการออกแบบเครW่องแตงกาย

81

Page 84: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

รายละเอียดของหลักสูตรหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบเครื่องแตงกาย

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555

1. ชื่อหลักสูตรB ภาษาไทย( ( ( หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบเครื่องแตงกาย( ภาษาอังกฤษ(( ( Bachelor of Fine Arts Program in Fashion Design

2. ชื่อปริญญาB ชื่อเต็มภาษาไทย( ( ศิลปบัณฑิต (การออกแบบเครื่องแตงกาย)( ชื่อยอภาษาไทย( ( ศล.บ. (การออกแบบเครื่องแตงกาย)( ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ(( Bachelor of Fine Arts (Fashion Design)( ชื่อยอภาษาอังกฤษ( ( B.F.A. (Fashion Design)

3. ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตรB 3.1 ปรัชญาB B เปนเลิศดานความคิดสรางสรรค ผูนำดานการเรียนการสอนวิชาการออกแบบเครื่องแตงกายB 3.2 ความสำคัญB B หลักสูตรการออกแบบเครื่องแตงกายเปนหลักสูตรที่มุงผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีใหเปนผูที่มี( ความรูความสามารถในการสรางสรรคงานทางดานการออกแบบเครื่องแตงกาย เปนผูรอบรูมีทัศนคติ( อันดีงาม รูจักคิด วินิจฉัย มีความคิดสรางสรรค สามารถพัฒนาตนเอง และมีคุณธรรม นำคุณประโยชนสู( สังคมB 3.3 วัตถุประสงคของหลักสูตร( ( 3.3.1 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถ และมีความเชี่ยวชาญในการออกแบบเครื่องแตงกาย ( และสามารถประยุกตใชศิลปะใหสอดคลองกับเทคนิควิทยาการทางการออกแบบ( ( 3.3.2 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถในการดำเนินธุรกิจทางการออกแบบเครื่องแตงกาย( ( 3.3.3 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความคิดสรางสรรคและเขาใจในกระบวนการผลิตอุตสาหกรรมการ( ออกแบบเครื่องแตงกาย( ( 3.3.4 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรับผิดชอบตอสังคมและมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ

4. อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสำเร็จการศึกษา( 4.1( นักออกแบบเสื้อผาเครื่องแตงกาย( 4.2( นักวาดภาพประกอบแฟชั่น( 4.3 ( นักออกแบบสรางสรรคงานเครื่องประดับตกแตงกาย เชน หมวก กระเปา รองเทา เข็มขัด ฯลฯ( 4.4( นักออกแบบลายผา( 4.5( ศิลปนสรางสรรคงานผา( 4.6 ( ผูสอน ทางดานเครื่องแตงกาย( 4.7( นักวิจัย ทางดานงานเครื่องแตงกาย( 4.8 ( ผูประกอบการและ/หรือผูจัดการโรงงานผลิตเสื้อผาเครื่องนุงหม( 4.9 ( ชางภาพแฟชั่น

82

Page 85: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 4.10 ( นักออกแบบอิสระ( 4.11( สไตลลิสต

5. ชื่อ ตำแหนง ตำแหนงและคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยประจำหลักสูตรและผูรับผิดชอบหลักสูตรB 5.1( นางน้ำฝน ไลสัตรูไกล( ตำแหนง( ผูชวยศาสตราจารย( คุณวุฒิ( P.h.D. (Textile) Birmingham Institute of Art and Design( ( University of Central England/Birmingham, UK (2005)( ( Certificat De Stage ENSCI /Paris France (1998)( ( M.V.A. (Visual Arts) University of South Australia/Adelaide, Australia (1997)( ( ศ.บ. (ประยุกตศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2537)( 9.2( นางณัฏฐินี ผายจันเพ็ง( ตำแหนง( อาจารย( คุณวุฒิ( M.A. (Three Dimension Design)( ( Kent Institute College of Art and Design, UK (1999)( ( ศ.บ. (เครื่องเคลือบดินเผา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2539)( 9.3 ( นางสาววรุษา อุตระ( ตำแหนง( อาจารย( คุณวุฒิ( ศ.ม. (ประยุกตศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2553)( ( ศ.บ. (ประยุกตศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2549)( 9.4( นายภาส ทองเพ็ชร( ตำแหนง( อาจารย( คุณวุฒิ( Diploma in Industrial Pattern-Maker/ Fashion Designer( ( Istituto Carlo Secoli, Milan, Italy (2008)( ( สส.บ. (สังคมสงเคราะหศาสตร) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (2544)( 9.5( นางสาวดรุพร เขาจารี( ตำแหนง( อาจารย( คุณวุฒิ( MFA (Fashion) Academy of Art University /USA (2010)( ( ศ.บ. (ออกแบบนิเทศศิลป) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2547)

หมายเหตุ * หมายถึง อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

83

Page 86: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

6. หลักสูตรB 6.1B จำนวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 140 หนวยกิตB 6.2B โครงสรางหลักสูตร ( หมวดวิชาศึกษาทั่วไป( จำนวนไมนอยกวา( 30 B หนวยกิต( 1. วิชาบังคับ( จำนวน( 9 ( หนวยกิต( 2. วิชาบังคับเลือก( จำนวนไมนอยกวา( 12( หนวยกิต( 3. วิชาที่กำหนดโดยคณะวิชา( จำนวนไมนอยกวา( 9 ( หนวยกิต( หมวดวิชาเฉพาะ( จำนวนไมนอยกวา( 104B หนวยกิต( 1. วิชาแกน( จำนวน( 21( หนวยกิต( 2. วิชาบังคับ( จำนวน( 77( หนวยกิต( 3. วิชาบังคับเลือก( จำนวนไมนอยกวา( 6 ( หนวยกิตB หมวดวิชาเลือกเสร(ี จำนวนไมนอยกวา( 6 B หนวยกิตB 6.3B รายวิชาB B หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวนไมนอยกวา 30 หนวยกิต( ( 1. วิชาบังคับ จำนวน 9 หนวยกิต( ( ( ( กลุมวิชาภาษา( 081 101( ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร( 3(3-0-6)( ( (Thai for Communication)( 081 102( ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน( 3(2-2-5)( ( (English for Everyday Use)( 081 103 ( การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ( 3(2-2-5)( ( (English Skill Development)( 2. วิชาบังคับเลือก จำนวนไมนอยกวา 12 หนวยกิต โดยเลือกจากทุกกลุมตอไปนี้ จำนวนไมนอย( กวากลุมละ 3 หนวยกิต( (( ( ( ( กลุมวิชามนุษยศาสตร( 082 101( มนุษยกับศิลปะ( 3(3-0-6)( ( (Man and Art)( 082 102( มนุษยกับการสรางสรรค( 3(3-0-6)( ( (Man and Creativity)( (( 082 103 ( ปรัชญากับชีวิต( 3(3-0-6)( ( (Philosophy and Life)( 082 104( อารยธรรมโลก( 3(3-0-6)( ( (World Civilization)( 082 105( อารยธรรมไทย( 3(3-0-6)( ( (Thai Civilization)( ( กลุมวิชาสังคมศาสตร ( 083 101( มนุษยกับสิ่งแวดลอม( 3(3-0-6)( ( (Man and His Environment)(( 083 102( จิตวิทยากับมนุษยสัมพันธ( 3(3-0-6)( ( (Psychology and Human Relations)

84

Page 87: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 083 103 ( หลักการจัดการ( 3(3-0-6)( ( (Principles of Management)(( 083 104( กีฬาศึกษา( 3(2-2-5)( ( (Sport Education)(( 083 105( การเมือง การปกครองและเศรษฐกิจไทย( 3(3-0-6)( ( (Thai Politics, Government and Economy)( ( ( ( กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรB ( (( 084 101( อาหารเพื่อสุขภาพ( 3(3-0-6)( ( (Food for Health)(( 084 102( สิ่งแวดลอม มลพิษและพลังงาน( 3(3-0-6)( ( (Environment, Pollution and Energy)( 084 103 ( คอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร( 3(3-0-6)( ( (Computer, Information Technology and Communication)( 084 104( คณิตศาสตรและสถิติในชีวิตประจำวัน( 3(3-0-6)( ( (Mathematics and Statistics in Everyday Life)(( 084 105( โลกแหงเทคโนโลยีและนวัตกรรม( 3(3-0-6)( ( (World of Technology and Innovation)( 3. วิชาที่กำหนดโดยคณะวิชา จำนวน 9 หนวยกิต( 360 111 ( ภูมิปญญาไทยกับการสรางสรรค( 3(3-0-6)( ( (Thai Wisdom and Creativity)( 360 112( สุนทรียศาสตรเบื้องตน( 3(3-0-6)( ( (Basic Aesthetics)( 360 113 ( การออกแบบและสรางสรรคในศิลปะตะวันออก( 3(3-0-6)( ( (Design and Creation in Oriental Arts)B หมวดวิชาเฉพาะ(( 1. วิชาแกน จำนวน 21 หนวยกิต( 360 101( การออกแบบ 1( 2(1-3-2)( ( (Design I)( 360 102( การออกแบบ 2 ( 3(1-4-4)( ( (Design II)( 360 103 ( วาดเสน 1 ( 2(1-3-2)( ( (Drawing I)(( 360 104( วาดเสน 2 ( 3(1-4-4)( ( (Drawing II)( 360 105( ศิลปะปฏิบัติ 1 ( 2(1-3-2)( ( (Art Studio I)( 360 106 ( ศิลปะปฏิบัติ 2 ( 3(1-4-4)( ( (Art Studio II)( 360 107( การเขียนแบบเบื้องตน( 3(1-4-4)( ( (Basic Technical Drawing)

85

Page 88: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 360 108 ( ศิลปะไทยปริทัศน ( 3(1-4-4)( ( (Survey of Thai Art)( 2. วิชาบังคับ จำนวน 77 หนวยกิตB 367 101( การออกแบบสิ่งทอ 1( 3 (2-2-5)( ( (Textile Design I)( 367 102( การออกแบบสิ่งทอ 2( 3 (2-2-5)( ( (Textile Design II)( 367 103 ( การออกแบบเครื่องแตงกาย 1( 3 (2-2-5)( ( (Fashion Design I)( 367 104( การออกแบบเครื่องแตงกาย 2( 3 (2-2-5)( ( (Fashion Design II)( 367 105( การสรางแพตเทิรน 1( 3 (2-2-5)( ( (Pattern making I)( 367 106 ( การสรางแพตเทิรน 2( 3 (2-2-5)( ( (Pattern making II)( 367 107( เทคนิคการตัดเย็บ 1( 3 (2-2-5)( ( (Construction Techniques I)( 367 108 ( เทคนิคการตัดเย็บ 2( 3 (2-2-5)( ( (Construction Techniques II)( 367 109 ( ประวัติศาสตรศิลปะเครื่องแตงกาย( 3 (2-2-5)( ( (Fashion Design History)( 367 110 ( คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบเครื่องแตงกาย ( 3 (2-2-5)( ( (Computer for Fashion Design)( 367 201( การออกแบบเครื่องแตงกาย 3( 4 (2-4-6)( ( (Fashion Design III)( 367 202( การออกแบบเครื่องแตงกาย 4( 4 (2-4-6)( ( (Fashion Design IV)( 367 203 ( แพตเทิรนสรางสรรค( 3 (2-2-5)( ( (Creative Pattern making)( 367 204( วัสดุในงานออกแบบเครื่องแตงกาย( 2 (2-0-4)( ( (Material for Fashion Design)( 367 205( การออกแบบพื้นผิว( 3 (2-2-5)( ( (Surface Design)( 367 206 ( การออกแบบเครื่องแตงกายลักษณะไทย( 3 (2-2-5)( ( (Fashion Design in Thai Style)( 367 207( การออกแบบสิ่งประดับ( 3 (2-2-5)( ( (Accessory Design)( 367 208 ( การตลาดและการจัดการธุรกิจแฟชั่น( 3 (2-2-5)( ( (Fashion Marketing and Management)

86

Page 89: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

( 367 209 ( แฟชั่นระบบอุตสาหกรรม( 3 (2-2-5)( ( (Fashion Industry)( 367 210 ( การประสานงานและนำเสนอผลงานแฟชั่น( 2 (1-2-3)( ( (Fashion Coordination and Presentation)( 367 211( การฝกประสบการณวิชาชีพ( 2* (ไมนอยกวา 180 ชั่วโมง)( ( (Practical Training)( 367 212( การเตรียมการศิลปนิพนธ ( 4 (2-4-6)( ( (Art Thesis Preparation)( 367 213 ( แฟชั่นสไตลลิ่ง( 3 (2-2-5)( ( (Fashion Styling)( 367 214( ศิลปนิพนธ ( 10 (0-20-10)( ( (Art Thesis)

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิตในหลักสูตร

( 3. วิชาบังคับเลือก จำนวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต B 367 111( การพิมพผาเพื่องานแฟชั่น( 3 (2-2-5)( ( (Print for Fashion)( 367 112( ภาพประกอบในงานแฟชั่น( 3 (2-2-5)( ( (Fashion Illustration)( 367 215( การถัก( 3 (2-2-5)( ( (Knitwear)( 367 216 ( การทอ( 3 (2-2-5)( ( (Weaving)( หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาตางๆ( ดังตอไปนี้ หรือใหนักศึกษาเลือกเรียนรายวิชาตางๆ ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยความเห็นชอบ ( ของอาจารยที่ปรึกษาB 367 217( โครงการศึกษารายบุคคล( 2 (1-2-3)( ( (Individual Project)( 367 218 ( การออกแบบเครื่องหนังในงานแฟชั่น( 2 (1-2-3)( ( (Leather Design in Fashion)( 367 219 ( ชุดชั้นในและชุดวายน้ำขั้นพื้นฐาน( 2 (1-2-3)( ( (Basic Lingerie and Swimwear)( 367 220 ( การถายภาพแฟชั่น( 2 (1-2-3)( ( (Fashion Photography)( 367 221 ( การออกแบบเครื่องแตงกายสำหรับการแสดง( 2 (1-2-3)( ( (Costume Design for Performing Arts)( 367 222( ภาษาอังกฤษในงานออกแบบเครื่องแตงกาย( 2 (1-2-3)( ( (English for Fashion Design)

87

Page 90: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

B 6.4B แผนการศึกษา

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

081 102360 111

วิชาศึกษาทั่วไป ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันภูมิปญญาไทยกับการสรางสรรควิชาบังคับเลือก

3 (2-2-5)3 (3-0-6)

6

360 101360 103360 105360 107

วิชาเฉพาะการออกแบบ 1วาดเสน 1ศิลปะปฏิบัติ 1การเขียนแบบเบื้องตน

2 (1-3-2)2 (1-3-2)2 (1-3-2)3 (1-4-4)

รวมจำนวน 21

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

081 103081 101360 113

วิชาศึกษาทั่วไป การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษภาษาไทยเพื่อการสื่อสารการออกแบบและสรางสรรคในศิลปะตะวันออก

3 (2-2-5)3 (3-0-6)3 (3-0-6)

360 102360 104360 106360 108

วิชาเฉพาะการออกแบบ 2วาดเสน 2ศิลปะปฏิบัติ 2ศิลปะไทยปริทัศน

3 (1-4-4)3 (1-4-4)3 (1-4-4)3 (1-4-4)

รวมจำนวน 21

88

Page 91: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

360 112วิชาศึกษาทั่วไป สุนทรียศาสตรเบื้องตนวิชาบังคับเลือก

3 (3-0-6)6

367 101367 103367 105367 107

วิชาเฉพาะการออกแบบสิ่งทอ 1ออกแบบเครื่องแตงกาย 1การสรางแพตเทิรน 1เทคนิคการตัดเย็บ 1

3 (2-2-5)3 (2-2-5)3 (2-2-5)3 (2-2-5)

รวมจำนวน 21

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

367 102367 104367 106367 108367 109367 110

วิชาเฉพาะการออกแบบสิ่งทอ 2การออกแบบเครื่องแตงกาย 2การสรางแพตเทิรน 2เทคนิคการตัดเย็บ 2ประวัติศาสตรศิลปะเครื่องแตงกายคอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบเครื่องแตงกายวิชาบังคับเลือก

3 (2-2-5)3 (2-2-5)3 (2-2-5)3 (2-2-5)3 (2-2-5)3 (2-2-5)

3

รวมจำนวน 21

89

Page 92: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

367 201367 203367 204367 206367 208

วิชาเฉพาะการออกแบบเครื่องแตงกาย 3แพตเทิรนสรางสรรควัสดุในงานออกแบบเครื่องแตงกายการออกแบบเครื่องแตงกายลักษณะไทยการตลาดและการจัดการธุรกิจแฟชั่นวิชาบังคับเลือก

4 (2-4-6)3 (2-2-5)2 (2-0-4)3 (2-2-5)3 (2-2-5)

3

วิชาเลือกเสรี 2

รวมจำนวน 20

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

367 202367 205367 207367 209367 210

วิชาเฉพาะ การออกแบบเครื่องแตงกาย 4การออกแบบพื้นผิวการออกแบบสิ่งประดับแฟชั่นระบบอุตสาหกรรมการประสานงานและนำเสนอผลงานแฟชั่น

4 (2-4-6)3 (2-2-5)3 (2-2-5)3 (2-2-5)2 (1-2-3)

วิชาเลือกเสรี 4

รวมจำนวน 19

ปที่ 3 ภาคการศึกษาพิเศษฤดูรอน

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

367 211วิชาเฉพาะการฝกประสบการณวิชาชีพ 2* (ไมนอยกวา

180 ชั่วโมง)

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิตในหลักสูตร

90

Page 93: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

367 212367 213

วิชาเฉพาะการเตรียมการศิลปนิพนธแฟชั่นสไตลลิ่ง

4 (2-4-6)3 (2-2-5)

รวมหนวยกิต 7

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต

367 214วิชาเฉพาะศิลปนิพนธ 10 (0-20-10)

รวมหนวยกิต 10

91

Page 94: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

92

Page 95: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

คำอธTบายรายวTชา

93

Page 96: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

หมวดวTชาศึกษาทั่วไป081 101B ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารB 3(3-0-6)B (Thai for Communication)( หลักเกณฑและแนวคิดของการสื่อสาร ทักษะการใชภาษาไทยเพื่อการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพและสรางสรรค เพื่อใชในการดำเนินชีวิตและแสวงหาความรูไดดวยตนเอง

081 102 B ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน B 3(2-2-5)B (English for Everyday Use) B( การฝกทักษะภาษาอังกฤษทั้ง 4 ดาน โดยฝกการฟงและการพูดในชีวิตประจำวัน และในสถานการณตาง ๆ ฝกอานเพื่อความเขาใจ สามารถสรุปใจความสำคัญ ฝกเขียนในระดับยอหนา และสามารถใชภาษาอังกฤษเปนเครื่องมือแสวงหาความรูไดดวยตนเอง

081 103B การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ B 3(2-2-5)B (English Skill Development) ( การฝกทักษะภาษาอังกฤษทั้ง 4 ดาน โดยฝกการอานและพูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อาน สามารถนำขอมูลที่ไดจากการอานไปประกอบการเขียน ฟงจับใจความและสามารถใชภาษาอังกฤษเปนเครื่องมือแสวงหาความรูไดดวยตนเอง

082 101B มนุษยกับศิลปะB 3(3-0-6)B (Man and Art)( ความสำคัญของศิลปะ บทบาทของมนุษยในฐานะผูสรางสรรคงานศิลปะ ที่มาของแรงบันดาลใจ วิวัฒนาการของผลงานศิลปะในดานทัศนศิลป ศิลปะการแสดง และดนตรีจากอดีตถึงปจจุบัน ทั้งนี้ โดยครอบคลุมประเด็นสำคัญตอไปนี้ คือ ลักษณะเฉพาะของงานศิลปะ ศิลปะในฐานะสื่อความคิด อารมณ คติความเชื่อ และการสะทอนภาพสังคม วิธีการมองและชื่นชมผลงานศิลปะจากแงมุมสุนทรียศาสตร ปฏิสัมพันธ ระหวางศิลปะกับมนุษยและสังคม

082 102 B มนุษยกับการสรางสรรคB 3(3-0-6)B (Man and Creativity)( วิวัฒนาการของมนุษยและบทบาทของมนุษยในการสรางสรรคทั้งสิ่งที่เปนนามธรรมและรูปธรรม ซึ่งเปนรากฐานของความเจริญของสังคมมนุษยในดานตาง ๆ ที่สืบเนื่องจากโบราณสมัยมาถึงปจจุบัน โดยใหความสำคัญแกประเด็นสำคัญดังตอไปนี้ ปจจัยที่เอื้อตอการสรางสรรค กระบวนการสรางสรรค ลักษณะและผลผลิตของการสรางสรรค ตลอดจนผลกระทบตอมนุษยชาติในแตละยุคแตละสมัย ทั้งนี้ โดยการวิเคราะหขอมูลในปริทัศนประวัติศาสตร และจากมุมมองของศาสตรตาง ๆ ที่เกี่ยวของ

081 103B ปรัชญากับชีวิตB 3(3-0-6)B (Philosophy and Life)( ความหมาย ความคิดและวิธีการทางปรัชญาอันเกี่ยวเนื่องกับชีวิต การแสวงหาความจริง ความรู คุณคาทางจริยธรรมและความงาม การคิดอยางมีเหตุผล เพื่อใหนักศึกษาสามารถวิเคราะหประเด็น ปญหารวมสมัย อันจะนำไปสูการสรางสำนึกทางจริยธรรม ความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม

94

Page 97: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

082 104B อารยธรรมโลกB 3(3-0-6)B (World Civilization)( ความหมายของคำวา อารยธรรม รูปแบบและปจจัยพื้นฐานที่นำไปสูกำเนิด ความรุงเรืองและความเสื่อมของอารยธรรมสำคัญของโลกในแตละยุคสมัย กระบวนการสั่งสมความเจริญที่มาจากความคิดสรางสรรค การเรียนรูจากประสบการณ และปฏิสัมพันธระหวางอารยธรรมตาง ๆ ทั้งในดานวัตถุธรรมและจิตใจ ไมวาจะเปนระบบการเมืองการปกครอง กฎหมาย วรรณกรรม ศิลปกรรม ปรัชญา ศาสนาและคติความเชื่อ ซึ่งยังคงมีคุณูปการตอสังคมมนุษยในปจจุบัน

082 105B อารยธรรมไทยB 3(3-0-6)B (Thai Civilization)( พื้นฐานและวิวัฒนาการของอารยธรรมไทย ภูมิหลังทางดานประวัติศาสตร การสรางสรรค คานิยม ภูมิปญญาไทย และมรดกทางวัฒนธรรม โดยครอบคลุมภาษา วรรณกรรม ศิลปะ ศาสนา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งผลกระทบของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและบทบาทของไทยในประชาคมระหวางประเทศ

083 101B มนุษยกับสิ่งแวดลอมB 3(3-0-6)B (Man and His Environment)( ความสัมพันธระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอมและภูมินิเวศน โดยพิจารณาถึงความสัมพันธของการอยูรวมกันของสิ่งมีชีวิตเพื่อใหเกิดความสมดุลแหงธรรมชาติ ปจจัยที่นำไปสูความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดลอมธรรมชาติและภูมินิเวศน ลักษณะและขอบเขตของปญหาในปจจุบัน แนวโนมในอนาคต และผล กระทบตอมนุษยชาติ ตลอดจนสงเสริมใหมีสวนรวมในการจัดการสิ่งแวดลอมเพื่อนำไปสูสังคมแบบยั่งยืน

083 102 B จิตวิทยากับมนุษยสัมพันธB 3(3-0-6)B (Psychology and Human Relations) ( ธรรมชาติของมนุษยในดานพัฒนาการ พัฒนาการของชีวิตแตละชวงวัย ปจจัยที่มีอิทธิพลตอพัฒนาการ กระบวนการคิดและการรับรูตนเองและบุคคลอื่น ทัศนคติและความพึงพอใจระหวางบุคคล การสื่อสาร สัมพันธภาพระหวางบุคคล หลักการจูงใจและการใหกำลังใจ อารมณ การควบคุมอารมณและการจัดการความเครียด การพัฒนาบุคลิกภาพ การปรับตัว ภาวะผูนำ การทำงานเปนหมูคณะ การประยุกตจิตวิทยาเพื่อการพัฒนาตนและสรางสรรคคุณภาพชีวิต

083 103B หลักการจัดการB 3(3-0-6)B (Principles of Management)( ความหมาย นัยและความสำคัญของคำวา การจัดการ ตลอดจนจุดประสงคแนวคิดในเชิงปรัชญาและหลักการในเชิงทฤษฎีที่เอื้อตอความสำเร็จในการดำเนินชีวิต การประกอบกิจหรือภารกิจใด ๆ ก็ตามของปจเจกบุคคล องคกรและสังคมใหลุลวงไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทั้งนี้ โดยครอบคลุมประเด็นวาดวยจริยธรรมและความรับผิดชอบตอสังคม การกำหนดนโยบายและการวางแผน พฤติกรรมองคกร การจัดการองคกร การบริหารทรัพยากร และการติดตามประเมินผล

95

Page 98: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

083 104B กีฬาศึกษาB 3(2-2-5)B (Sport Education)( ความเปนมาของกีฬา เรียนรู ฝกฝน พัฒนา ทักษะ เทคนิคกีฬา กฎระเบียบและกติกา มารยาท ของผูเลนและผูชม สมรรถภาพทางกาย การปองกันอุบัติเหตุจากการเลนกีฬา การปฐมพยาบาลเบื้องตน รวมถึงบทบาทหนาที่การเปนนักกีฬาและผูชมที่ดี ประโยชนของกีฬาที่มีตอการเสริมสรางสุขภาวะ โดยเลือกศึกษากีฬาสากล หรือกีฬาสมัยนิยมหนึ่งชนิดกีฬา

083 105B การเมือง การปกครองและเศรษฐกิจไทยB 3(3-0-6)B (Thai Politics, Government and Economy)( โครงสราง ระบบ และกระบวนการทางการเมือง การปกครองและเศรษฐกิจ พัฒนาการบทบาทของภาครัฐ ภาคประชาสังคม วิเคราะหใหเห็นความสัมพันธระหวางกลไกทางการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจที่สงผลกระทบตอการพัฒนาประเทศตลอดจนศึกษาผลกระทบของโลกาภิวัตนที่มีตอระบบการเมือง การปกครองและเศรษฐกิจ

084 101B อาหารเพื่อสุขภาพB 3(3-0-6)B (Food for Health)( ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับความตองการอาหารของรางกาย องคประกอบอาหาร สุขลักษณะของอาหารกับสุขภาพ อาหารที่ไมไดสัดสวนกับโรค อุปนิสัยการรับประทานอาหารกับสุขภาพ ปญหาโภชนาการ โรคจากโภชนาการ จากการปนเปอน สารถนอมอาหารและบรรจุภัณฑ ความปลอดภัยดานอาหารและการคุมครองผูบริโภค

084 102 B สิ่งแวดลอม มลพิษและพลังงานB 3(3-0-6)B (Environment, Pollution and Energy)( สวนประกอบและความสัมพันธของสิ่งตาง ๆ ในธรรมชาติ สาเหตุ ผลกระทบ และการจัดการมลพิษดานตาง ๆ พลังงาน ผลกระทบจากการใชพลังงานและการจัดการ

084 103B คอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารB 3(3-0-6)B (Computer, Information Technology and Communication)( บทบาทและความสำคัญของคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในปจจุบัน แนวโนมในอนาคต ความรูพื้นฐาน การประยุกตใชอยางสรางสรรค การรักษาความมั่นคง กฎหมายและจริยธรรมที่เกี่ยวของ

084 104B คณิตศาสตรและสถิติในชีวิตประจำวันB 3(3-0-6)B (Mathematics and Statistics in Everyday Life)( เซต ระบบจำนวนจริง ตรรกวิทยา ความนาจะเปน ประเภทของขอมูล สถิติพรรณนา เลขดัชนี ดอกเบี้ย ภาษีเงินได บัญชีรายรับ-รายจาย

96

Page 99: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

084 105B โลกแหงเทคโนโลยีและนวัตกรรมB 3(3-0-6)B (World of Technology and Innovation)( ปรัชญา แนวคิด และการสรางสรรคเทคโนโลยีและนวัตกรรมตาง ๆ ในปจจุบันและอนาคตการพัฒนา การประยุกตใชและการจัดการ บทบาทและผลกระทบจากการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ตอชีวิต เศรษฐกิจและสังคม

360 111 B ภูมิปญญาไทยกับการสรางสรรคB 3(3-0-6)B (Thai Wisdom and Creativity)( วิธีการการสรางสรรคหรือการออกแบบตาง ๆ ของชาวไทยไมวาจะเปนดานงานหัตถกรรม การออกแบบผลิตภัณฑ การตกแตงประดับประดา รวมถึงการดัดแปลงวัสดุ เพื่อแกปญหาในการดำรงชีวิตประจำวัน โดยการสังเกตจากสิ่งแวดลอมใกลตัว และเก็บขอมูลดวยเทคนิคตาง ๆ เชน การถายภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว การรางภาพ การทำหุนจำลอง เปนตน แลวนำมาสังเคราะห เพื่อเผยถึงภูมิปญญาไทยที่เปนปจจัยหลักใหเกิดการสรางสรรคนั้น ๆ

360 112 B สุนทรียศาสตรเบื้องตน B 3(3-0-6)B (Basic Aesthetics)( ขอบเขตและความหมายของสุนทรียศาสตร ทฤษฎีวาดวยความงาม ประวัติแนวคิดและทัศนคติของมนุษย ตอความงามแตละยุคสมัย เพื่อเปนพื้นฐานความคิด และความเขาใจในดานความงาม อันจะเปนประโยชนตอการพัฒนารสนิยม และวิจารณญาณในการประเมินคุณคาทางสุนทรียศาสตร

360 113B การออกแบบและสรางสรรคในศิลปะตะวันออกB 3(3-0-6)B (Design and Creation in Oriental Arts)( กระบวนการและบริบทของการออกแบบและสรางสรรคในศิลปะตะวันออก ในชวงเวลาและพื้นที่ตาง ๆ การผสมผสานของแนวคิดและวิธีการ อันกอใหเกิดพัฒนาการดานรูปแบบและลักษณะเฉพาะ เพื่อเปนแนวทางการออกแบบและสรางสรรค การสืบทอดภูมิปญญาทองถิ่นและภูมิปญญาไทย

หมวดวTชาเฉพาะ (วTชาแกน)360 101B การออกแบบ 1B 2(1-3-2)B (Design I)( ศึกษาธรรมชาติที่เปนบอเกิดของทฤษฏีทางสุนทรียภาพ ทัศนธาตุ ทฤษฎีการออกแบบ และทฤษฎีสี พรอมทั้งฝกปฏิบัติ

360 102 B การออกแบบ 2 B 3(1-4-4)B (Design II) ( วิชาบังคับกอน : 360 101 การออกแบบ 1( ทฤษฏีการออกแบบและกระบวนการออกแบบสรางสรรค พรอมทั้งฝกปฏิบัติการใชทฤษฎีในการออกแบบผลงานทั้ง สองและสามมิติ

97

Page 100: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

360 103B วาดเสน 1B 2(1-3-2)B (ฺDrawing I)( หลักการ วิธีวาดภาพลายเสนและแรเงาพื้นฐาน จากหุนรูปทรงเรขาคณิต หุนนิ่งวัตถุตาง ๆ ทั้งจากธรรมชาติและที่มนุษยสรางขึ้น ตลอดจนทัศนียภาพของสถานที่จริง ศึกษาโดยเนนความถูกตองของโครงสรางรูปทรง น้ำหนัก แสงและเงา ลักษณะพื้นผิว รายละเอียด ระยะใกล-ไกล เพื่อใหแสดงลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้น ๆ ไดใกลเคียงตามสภาพที่เปนจริง พรอมทั้งฝกปฏิบัติ

360 104B วาดเสน 2B 3(1-4-4)B (Drawing II)( วิชาบังคับกอน : 360 103 วาดเสน 1( หลักการ วิธีวาดภาพคน สัตว หุนนิ่งวัตถุตาง ๆ ผลงานประติมากรรม อาคารสถานที่และทิวทัศน โดยเนนความถูกตองของโครงสรางรูปทรง น้ำหนัก แสงและเงา พื้นผิว รายละเอียด ระยะใกล-ไกล สามารถเลือกใชอุปกรณตางๆ เพื่อใหมีความหลากหลายของเทคนิค และสอดคลองกับวัตถุประสงค สามารถแสดงลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้น ๆ ตลอดจนอารมณความรูสึกของงานที่ไดจากแบบหรือโจทยที่กำหนด พรอมทั้งฝกปฏิบัติ( มีการศึกษานอกสถานที่

360 105B ศิลปะปฏิบัติ 1B 2(1-3-2)B (Art Studio I)( ศึกษาและฝกปฏิบัติการสรางสรรคงานทัศนศิลปสองมิติ โดยการใชเทคนิคตางๆ เพื่อสรางทักษะและความเขาใจในเรื่องสี มิติ และองคประกอบศิลปในการถายทอดลักษณะของวัตถุและทัศนียภาพ

360 106 B ศิลปะปฏิบัติ 2B 3(1-4-4)B (Art Studio II) ( วิชาบังคับกอน : 360 105 ศิลปะปฏิบัติ 1( ศึกษาและฝกปฎิบัติการสรางสรรคงานทัศนศิลป ทั้งสองมิติและสามมิติ โดยการประยุกตใชเทคนิค และวัสดุตาง ๆ เพื่อสรางทักษะและความเขาใจในเรื่องโครงสราง มิติ ปริมาตร และพื้นผิว

360 107B การเขียนแบบเบื้องตนB 3(1-4-4)B (Basic Technical Drawing)( หลักการเขียนแบบเพื่อแสดงขนาด รูปราง รูปทรง และ ความตอเนื่องของแบบในแตละรูป ดาน หลักการเขียนทัศนียภาพ ทฤษฎีการตกกระทบของแสงและเงา และปฎิบัติงานเขียนแบบ

360 108B ศิลปะไทยปริทัศนB 3(1-4-4)B (Survey of Thai Arts )( ศึกษารูปแบบและลักษณะของงานศิลปกรรมไทยจากแหลงขอมูลตางๆ และจากสถานที่จริง ฝกปฏิบัติดวยการคัดลอก และปฏิบัติตามโจทยดวยวิธีการอื่นๆ เพื่อเสริมสรางความรูดานประวัติศาสตรและเนื้อหาสาระ ภูมิปญญาและประสบการณดานสุนทรียะในงานศิลปกรรมไทยเบื้องตน ( มีการศึกษานอกสถานที่

98

Page 101: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

หมวดวTชาเฉพาะ (สาขาวTชาการออกแบบภายใน) 361 101B การเขียนแบบภายในB 3(1-4-4)B (Interior Design Working Drawing)( วิชาบังคับกอน : 360 107 เรขศิลปเบื้องตน( หลักและวิธีการเขียนแบบ การกำหนดการใชเสน สัญลักษณและองคประกอบตาง ๆ ที่ใชในการเขียนแบบ ปฏิบัติการเขียนแบบตั้งแตผังไปจนถึงแบบขยายเพื่อนำไปใชงานออกแบบภายใน ตามมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป

361 102 B การออกแบบภายใน 1B 3(1-4-4)B (Interior Design I)( หลักการ ทฤษฎีการออกแบบภายในที่อยูอาศัย ปฏิบัติการออกแบบพื้นที่ใชสอยใหตรงตามวัตถุประสงคของการใชพื้นที่ มีความเหมาะสมในการจัดวางเครื่องเรือน การสรางบรรยากาศ ตามหลักการ ทฤษฎีขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป

361 103B การออกแบบภายใน 2B 3(1-4-4)B (Interior Design II)( วิชาบังคับกอน : 361 102 การออกแบบภายใน 1( หลักการ ทฤษฎี ขั้นตอนการออกแบบภายในที่อยูอาศัย ปฏิบัติการออกแบบภายใน การจัดพื้นที่ใชสอยใหตรงตามวัตถุประสงคของการใชพื้นที่ ที่ครอบคลุมถึงความเหมาะสมในการจัดวางเครื่องเรือน การสรางบรรยากาศ คติความเชื่อที่มีอิทธิพลตอการออกแบบตกแตง คตินิยมในการอยูอาศัยของชาวไทย และ มาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป( มีการศึกษานอกสถานที่

361 104B วัสดุและอุปกรณเพื่อการออกแบบภายในB 3(2-2-5)B (Equipment and Materials for Interior Design)( ลักษณะ คุณสมบัติ ขั้นตอนการผลิต กรรมวิธีประกอบและติดตั้ง และเทคโนโลยีของวัสดุและอุปกรณเพื่อการออกแบบภายใน การเลือกใชวัสดุและประยุกตใชในงานออกแบบภายในไดอยางมีประสิทธิภาพ มีรสนิยม ถูกตองตามมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป และกฎหมายที่เกี่ยวของ ( มีการศึกษานอกสถานที่

361 105B สถาปตยกรรมศึกษา 1B 3(2-2-5)B (Architectural Studies I)( วิชาบังคับกอน : 361 101 การเขียนแบบภายใน( ลักษณะทางสถาปตยกรรม โครงสราง และการกอสรางอาคารที่พักอาศัยและอาคารพาณิชย ระยะ ขนาดโครงสราง สวนประกอบตกแตงอาคาร วัสดุ กรรมวิธีการกอสราง รายการประกอบแบบสถาปตยกรรม และกฎหมายอาคารที่เกี่ยวของ ปฏิบัติการเขียนแบบและการทำหุนจำลองโครงสรางสถาปตยกรรมขั้นพื้นฐานตามมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ( มีการศึกษานอกสถานที่

99

Page 102: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

361 106 B การออกแบบเครื่องเรือน 1B 3(2-2-5)B (Furniture Design I)( วิชาบังคับกอน : 360 107 เรขศิลปเบื้องตน( หลักการและทฤษฎีการออกแบบเครื่องเรือนแบบลอยตัวและแบบติดกับที่ กรรมวิธีในการสราง การติดตั้งเครื่องเรือนชนิดตาง ๆ ปฏิบัติการออกแบบและเขียนแบบโครงสราง วัสดุ และอุปกรณ ตามมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป( มีการศึกษานอกสถานที่

361 107B การออกแบบภายใน 3B 3(1-4-4)B (Interior Design III)( วิชาบังคับกอน : 361 103 การออกแบบภายใน 2( หลักการ ทฤษฎี ขั้นตอนและกระบวนการออกแบบภายในอาคารพาณิชยกรรมลักษณะตางๆปฏิบัติการออกแบบภายใน กำหนดภาพลักษณและบุคลิกลักษณะบรรยากาศตามแนวคิดเฉพาะ ศิลปะวิธีในการออกแบบตามสมัยนิยม และมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป( มีการศึกษานอกสถานที่

361 108B สถาปตยกรรมศึกษา 2B 3(2-2-5)B (Architectural Studies II)( วิชาบังคับกอน : 361 105 สถาปตยกรรมศึกษา 1( ลักษณะทางสถาปตยกรรม โครงสราง และวิธีการกอสรางอาคารขนาดกลางถึงขนาดใหญระบบโครงสราง วัสดุและกรรมวิธีกอสราง งานวิศวกรรมระบบประกอบอาคาร กฎหมายอาคารที่เกี่ยวของ กับการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมสาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป เชน การออกแบบ ภายในอาคารสาธารณะ อาคารขนาดใหญ อาคารขนาดใหญพิเศษ รวมถึงการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผูพิการ ทุพพลภาพ เด็ก และคนชรา ปฏิบัติการเขียนแบบงานสถาปตยกรรมในสวนที่เกี่ยวของกับงานออกแบบภายใน ตามมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป( มีการศึกษานอกสถานที่

361 109B การออกแบบเครื่องเรือน 2 B 3(2-2-5)B (Furniture Design II)( วิชาบังคับกอน : 361 106 การออกแบบเครื่องเรือน 1( หลักกายวิภาคและการยศาสตรเพื่อการออกแบบเครื่องเรือน วัสดุ วิธีการผลิต แนวความคิด หลักการเลือกและประยุกตใชวัสดุตางๆเพื่อการออกแบบเครื่องเรือนอยางมีประสิทธิภาพและมีรสนิยม ปฏิบัติการออกแบบและเขียนแบบเครื่องเรือน ขยายแบบโครงสราง และรายละเอียดตามมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป( มีการศึกษานอกสถานที่

100

Page 103: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

361 110 B ประวัติการออกแบบภายในและเครื่องเรือนตะวันตกB 3(3-0-6)B (History of Western Interior Design and Furniture Design)( ประวัติ วิวัฒนาการ รูปแบบและการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการออกแบบภายในและเครื่องเรือนตะวันตก สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี แรงบันดาลใจ หลักคิดของยุคสมัยอันนำไปสูการออกแบบภายใน และเครื่องเรือนตะวันตกตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน โดยเนนที่สมัยหรือประเทศที่มีความเปนตนแบบ มีรูปแบบเฉพาะ และมีอิทธิพลตอการออกแบบภายในและเครื่องเรือนตะวันตก

361 111B คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบภายใน 1B 3(2-2-5)B (Computer for Interior Design I)( หลักพื้นฐานในการนำคอมพิวเตอรและโปรแกรมสำเร็จรูปมาใชในการออกแบบภายในองคประกอบ พื้นฐานการประยุกตใชคอมพิวเตอรอยางมีประสิทธิภาพในดานการเขียนแบบ ฝกหัดการใชโปรแกรมสำเร็จรูปในงานออกแบบและเขียนแบบสองมิติ

361 201B การออกแบบภายใน 4B 5(2-6-7)B (Interior Design IV) ( วิชาบังคับกอน : 361 107 การออกแบบภายใน 3( หลักการ ทฤษฎีการออกแบบภายในสถานบริการสาธารณะ สำนักงาน สถานที่ราชการ สถาบันการศึกษา นิทรรศการ รวมถึงภูมิทัศนที่สัมพันธกับบริเวณภายในอาคาร ตามมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรม ควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ปฏิบัติการออกแบบภายใน แกปญหาการปรับสภาพแวดลอมภายในอาคารใหสอดคลองกับการตกแตง โดยใหจัดหาขอมูลและวางแผนการตกแตงกอนการปฏิบัติงานออกแบบ ( มีการศึกษานอกสถานที่

361 202 B เทคโนโลยีอาคารและงานระบบเพื่อการออกแบบภายใน B 3(2-2-5)B (Building Technology and System for Interior Design)( งานระบบไฟฟาและแสงสวางภายในอาคารระบบประปา ระบบน้ำทิ้ง งานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ระบบความปลอดภัยภายในอาคาร ทฤษฎีและวิธีปฏิบัติการกอสรางของระบบเทคนิคแตละระบบ และกฎหมายอาคารที่เกี่ยวของ เพื่อที่จะนำไปประกอบในการออกแบบภายในตามมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ใหเกิดทั้งความงาม ความปลอดภัย ประโยชนใชสอยและการพัฒนาสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน ( มีการศึกษานอกสถานที่

361 203B มัณฑนศิลปไทยB 3(2-2-5)B (Thai Decorative Arts)( ลักษณะ รูปแบบ คตินิยม กระบวนการความคิดในการออกแบบสรางสรรคงานมัณฑนศิลปไทยตลอดจนวัสดุและเทคนิคในการตกแตง( มีการศึกษานอกสถานที่

101

Page 104: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

361 204B คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบภายใน 2B 3(2-2-5)B (Computer for Interior Design II)( วิชาบังคับกอน : 361 111 คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบภายใน 1( การนำคอมพิวเตอรและโปรแกรมสำเร็จรูปมาใชในการออกแบบภายใน องคประกอบ ขบวนการประยุกตใชคอมพิวเตอรอยางมีประสิทธิภาพ ใชโปรแกรมสำเร็จรูปในการออกแบบสองมิติและสามมิติ ศึกษาและฝกปฏิบัติการสรางขอมูลเพื่อถายทอดเชื่อมโยงกับโปรแกรมสำเร็จรูปอื่นเพื่อการใชงานในระดับสูง

361 205B การออกแบบภายใน 5B 5(2-6-7)B (Interior Design V)( วิชาบังคับกอน : 361 201 การออกแบบภายใน 4( หลักการ ทฤษฎี กฏหมาย และปฏิบัติการออกแบบภายในสถานบริการสาธารณะขนาดใหญ ตามมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป โดยใหจัดหา วิเคราะหขอมูล และวางแผนการตกแตงกอนการปฏิบัติงานออกแบบ ( มีการศึกษานอกสถานที่

361 206 B มัณฑนศิลปตะวันออกB 3(2-2-5)B (Oriental Decorative Arts)( แบบอยางศิลปะการออกแบบมัณฑนศิลปของประเทศในภูมิภาคเอเชีย โดยเนนการออกแบบภายใน ลวดลายและลักษณะสวนประกอบอาคาร การออกแบบเครื่องเรือน เครื่องใชสอย และแนวทางการประยุกตใชในการออกแบบตามสมัยนิยม

361 207B สัมมนาการออกแบบภายในB 3*(3-0-6)B (Seminar for Interior Design)( เงื่อนไข : วัดผลโดย S กับ U( สัมมนาในหัวขอเกี่ยวกับการออกแบบภายใน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็น และแนวทางการออกแบบ ฝกฝนการวิเคราะห วิจารณงานออกแบบ ทำการคนควาขอมูลอยางเปนขั้นตอนบนพื้นฐานความเปนจริง เก็บรวบรวมขอมูลที่ไดจากการสัมมนาเพื่อใชประกอบการออกแบบภายใน

361 208B วิธีวิจัยเพื่อการออกแบบภายในB 3(2-2-5)B (Research Methods for Interior Design)( ขั้นตอน และวิธีวิจัยเพื่อการออกแบบภายใน การรวบรวมขอมูล วิเคราะห สังเคราะห กำหนดเกณฑในการออกแบบ และการทำรายละเอียดประกอบโครงการออกแบบภายใน ตามระเบียบ วิธีวิจัยพื้นฐาน การปฏิบัติวิชาชีพ และมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิตในหลักสูตร

102

Page 105: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

361 209B การฝกประสบการณวิชาชีพB 3*(ไมนอยกวา 270 ชม.)B (Practical Training)( เงื่อนไข : ตองลงทะเบียนเรียนมาแลวไมนอยกวา 6 ภาคการศึกษาปกติ( : ฝกงานในสถานประกอบการ หนวยงาน องคกร โครงการที่เกี่ยวของกับการออกแบบภายใน โดยได( รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการฝกประสบการณวิชาชีพที่แตงตั้งจากภาควิชาฯ( : วัดผลโดย S กับ U( บูรณาการและประยุกตความรูกับการปฏิบัติงานวิชาชีพ การแกปญหา การใชชีวิตและการปรับตัวเขากับวัฒนธรรมองคกร ธรรมเนียมและระเบียบปฏิบัติวิชาชีพ และมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิตในหลักสูตร

361 210 B การออกแบบภายใน 6B 6(2-8-8)B (Interior Design VI)( วิชาบังคับกอน : 361 205 การออกแบบภายใน 5( การออกแบบและการแกไขปญหาในการออกแบบภายในขั้นสูง ตามมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป คนควาหาลักษณะ สรางแนวความคิดใหม และทำการออกแบบภายในอาคารบริการสาธารณะ อาคารพาณิชย หรือสถาบันบริการสังคม

361 211B การเตรียมศิลปนิพนธB 3(2-2-5)B (Art Thesis Preparation)( วิชาบังคับกอน : 361 208 วิธีวิจัยเพื่อการออกแบบภายใน( : 361 209 การฝกประสบการณวิชาชีพ( จัดทำรายละเอียดโครงการออกแบบภายใน ตามมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ทำการคนควาขอมูลอยางเปนขั้นตอนบนพื้นฐานความเปนจริง วิเคราะหปจจัยที่สงผลตอการออกแบบ และสรุปเปนแนวทางการออกแบบเพื่อการทำศิลปนิพนธ

361 212 B การบริหารองคกรและโครงการออกแบบภายในB 3(3-0-6)B (Organization and Interior Design Project Management)( ทฤษฎี หลักการแนวคิดและวิธีการบริหารองคกรและโครงการออกแบบภายใน หลักและตัวอยางการจัดองคกร การบริหารงานบุคคล การเงิน การคิดงบประมาณโครงการออกแบบ การกำหนดและบริหารแผนงาน การตรวจและควบคุมงาน ตลอดจนเรียนรูประสบการณและแนวคิดในการบริหารจากผูเชี่ยวชาญ

103

Page 106: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

361 213B การปฏิบัติวิชาชีพมัณฑนากรB 3(3-0-6)B (Professional Practice in Interior Design)( เงื่อนไข : นักศึกษาตองผานรายวิชาแกนทุกรายวิชา และผานวิชาบังคับจำนวน ไมนอยกวา ( 70 หนวยกิต( จิตวิทยาในการเขาสังคม กฏหมาย จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ และสัญญากฎขอบังคับในการปฏิบัติวิชาชีพตามพระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2543 ในสาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป มาตรฐานในการปฏิบัติวิชาชีพ และการประกอบธุรกิจในวิชาชีพ

361 214B ศิลปนิพนธB 10(0-20-10)B (Art Thesis)( เงื่อนไข : นักศึกษาตองผานรายวิชาแกนทุกรายวิชา และผานวิชาบังคับจำนวน ไมนอยกวา ( 70 หนวยกิต( ปฏิบัติการออกแบบภายใน วางผังการจัดเครื่องเรือน ออกแบบ เขียนแบบ กำหนดวัสดุและรายละเอียดอื่นๆ โดยสมบูรณเชนเดียวกับงานออกแบบของมัณฑนากรอาชีพ ตามมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป

หมวดวTชาเลือกเสรQ (สาขาวTชาการออกแบบภายใน)361 215B ศิลปะและของตกแตงเพื่องานออกแบบภายในB 3(1-4-4)B (Decorative Arts and Objects for Interior Design)( ทฤษฎี หลักการเลือกงานศิลปะและของตกแตง แนวทางและวิธีการจัดวางงานศิลปะและของตกแตงใหสอดคลองกับการออกแบบภายใน( มีการศึกษานอกสถานที่

361 216 B การออกแบบฉากB 3(1-4-4)B (Scenic Design)( หลักและวิธีการออกแบบฉาก วิธีสรางฉาก การออกแบบแสง เสียง เครื่องแตงกาย และองคประกอบที่เกี่ยวของ ปฏิบัติการออกแบบ เขียนแบบ กำหนดวัสดุ กรรมวิธี และขั้นตอนการสราง( มีการศึกษานอกสถานที่

361 217B มัณฑนศิลปไทยพื้นถิ่นB 3(1-4-4)B (Vernacular-Thai Decorative Arts)( วิชาบังคับกอน : 361 203 มัณฑนศิลปไทย( รูปแบบ และปจจัยที่มีอิทธิพลตอศิลปะการออกแบบมัณฑนศิลปแบบพื้นถิ่นของประเทศไทย และนำมาประยุกตใชในการออกแบบตามสมัยนิยม( มีการศึกษานอกสถานที่

104

Page 107: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

361 218B การออกแบบตกแตงแบบไทยB 3(1-4-4)B (Thai Motif in Decorative Arts)( วิชาบังคับกอน : 361 203 มัณฑนศิลปไทย( แนวคิด การแปรรูปแนวคิดและกระบวนการออกแบบภายใน ออกแบบเครื่องเรือนเครื่องใช ที่มีที่มาจากศิลปกรรมไทย หัตถกรรมพื้นบาน และศิลปกรรมไทยรวมสมัยโดยใหคงเอกลักษณไทยไว ปฏิบัติการออกแบบ เขียนแบบ กำหนดวัสดุและกรรมวิธีการสราง( มีการศึกษานอกสถานที่

361 219B พันธุไมตกแตงB 3(2-2-5)B (Plant for Decoration) ( ลักษณะและชนิดของพันธุไม การแบงประเภทพันธุไม วิธีการปลูก การบำรุงรักษาและการขยายพันธุ การกำหนดสถานที่ปลูก การเลือกพันธุไมใหเหมาะสมกับการออกแบบภายใน จัดสวน การออกแบบภูมิทัศน ( มีการศึกษานอกสถานที่

361 220 B การออกแบบภูมิทัศนB 3(2-2-5)B (Landscape Design)( ทฤษฎี หลักการ แนวคิดในการออกแบบภูมิทัศนและการจัดสวนแบบตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอกอาคาร ปฏิบัติการออกแบบภูมิทัศนและการจัดสวนสำหรับที่พักอาศัยและสถานที่สาธารณะ( มีการศึกษานอกสถานที่

361 221B การนำเสนอผลงานออกแบบภายในB 3(1-4-4) B (Interior Design Presentation)( ศึกษาและฝกปฏิบัติ การนำเสนอผลงานดวยการพูด การเขียน การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคในการสื่อสารเพื่อการปฏิบัติวิชาชีพ

361 222 B แนวความคิดสรางสรรคในการออกแบบภายในB 3(2-2-5)B (Interior Design Creative Concept )( การหาและสรางแนวความคิดในการออกแบบภายใน การวิเคราะหจากขอมูลการใชพื้นที่ ลักษณะและความมุงหมายของการใชสอย พฤติกรรมของผูใชสถานที่ เพื่อกำหนดแนวคิดใหถูกตองเหมาะสม วิเคราะหผลงานออกแบบตกแตง เพื่อหาขอดี ขอเสีย เพื่อเปนแนวทางที่จะทำใหสามารถสรางงานที่มีลักษณะเฉพาะตน

361 223B โครงการศึกษาสวนบุคคลB 3(0-9-0)B (Individual Project)( ศึกษาในเรื่องที่เกี่ยวของกับการออกแบบภายใน ศิลปะและการออกแบบ นวัตกรรมการออกแบบ หรือเรื่องอื่นที่สามารถนำไปประยุกตกับการทำงานออกแบบภายในได

105

Page 108: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

361 224B ภาษาอังกฤษสำหรับการออกแบบภายในB 3(2-2-5)B (English for Interior Design)ล( การฝกทักษะภาษาอังกฤษในเรื่องที่เกี่ยวกับการออกแบบภายใน ศัพทเทคนิคในการเขียนแบบและรายการประกอบแบบ การนำเสนอผลงาน การอานและพูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อาน สามารถนำขอมูลที่ไดจากการอานไปประกอบการเขียน ฟงจับใจความและสามารถใชภาษาอังกฤษเปนเครื่องมือแสวงหาความรูไดดวยตนเอง

361 225B นวัตกรรมความรูเพื่องานออกแบบภายในB 3(3-0-6)B (Interior Design Innovation Knowledge)( องคความรูและกระบวนทัศนใหมที่เกี่ยวของกับงานออกแบบภายในและมาตรฐานวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป

หมวดวTชาเฉพาะ (สาขาวTชาการออกแบบนิเทศศิลป)362 101B การออกแบบนิเทศศิลป 1B 3(2-2-5)B (Visual Communication Design I)B ความหมาย คำศัพท นิยาม และลักษณะงานออกแบบนิเทศศิลปประเภทตางๆ วัสดุและอุปกรณในการทำงานออกแบบนิเทศศิลป การตัดทอนและคลี่คลายจากรูปทรงตาง ๆ เปนภาพกราฟคเบื้องตน ปฏิบัติงานออกแบบสื่อชิ้นเดี่ยว ทั้งในรูปแบบวัจนภาษาและอวัจนภาษา

362 102 B การออกแบบนิเทศศิลป 2B 3(2-2-5)B (Visual Communication Design II)B วิชาบังคับกอน : 362 101 การออกแบบนิเทศศิลป 1( ความหมายและวิวัฒนาการของอักษรภาพและภาพสัญลักษณ การออกแบบตราสัญลักษณประเภทตาง ๆ ทั้งลักษณะเดี่ยวและเปนชุด ระบบกริด ขอกำหนดหรือขอที่ควรคำนึงในการออกแบบตราสัญลักษณ การออกแบบอัตลักษณองคกรเบื้องตน โดยเนนการพัฒนาแบบราง และความประณีตในการปฏิบัติงาน

362 103B การออกแบบนิเทศศิลป 3B 3(2-2-5)B (Visual Communication Design III)( วิชาบังคับกอน : 362 102 การออกแบบนิเทศศิลป 2( กระบวนการออกแบบงานนิเทศศิลป การเขียนแบบสรุปยอการออกแบบ การศึกษาขอมูลเพื่อการออกแบบ การกำหนดแนวความคิด อารมณและน้ำเสียงในงานออกแบบ การออกแบบกราฟกขอมูลลักษณะตาง ๆ การออกแบบสื่อประชาสัมพันธ สรางสรรคผลงานโดยเนนการแกปญหาจากแบบสรุปยอทางการออกแบบ มีการฝกปฏิบัติงาน

362 104B การใชสBี 3(2-2-5)B (Usage of Color)B คุณคาขององคประกอบตางๆในเรื่องของสีและการใชสี ความสัมพันธระหวางสี รูจักเปรียบเทียบโครงสีตามทฤษฎีการใช จากผลงานศิลปะและงานออกแบบชิ้นสำคัญตาง ๆ รวมทั้งจากผลการศึกษาเพื่อเพิ่มทักษะและความคิดในการนำสีมาใชในงานออกแบบ มีการฝกปฏิบัติงาน

106

Page 109: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

362 105B วาดเสนสรางสรรคB 3(1-4-4)B (Creative Drawing)B ศึกษาและปฏิบัติงานวาดรูปในลักษณะทดลอง คนควาเทคนิคหรือกรรมวิธี และการแสดงออกในดานการสรางสรรคหลาย ๆ รูปแบบ โดยกำหนดใหสรางสรรคจากธรรมชาติ สภาพแวดลอมและจินตนาการ โดยเนนความคิดสรางสรรค( มีการศึกษานอกสถานที่

362 106 B โปรแกรมคอมพิวเตอรพื้นฐานในงานออกแบบB 3(2-2-5)B (Basic Computer Applications in Design)B แนวคิดและหลักการทำงานของแอพพลิเคชั่นตางๆ เพื่อชวยในงานออกแบบนิเทศศิลป พรอมฝกปฏิบัติเพื่อสรางความเขาใจในการนำไปใชงาน

362 107B ประวัติศาสตรการออกแบบนิเทศศิลปB 2(2-0-4)B (Visual Communication Design History)B ประวัติความเปนมาและวิวัฒนาการของงานออกแบบนิเทศศิลปสากลและไทย รวมทั้งอิทธิพลของงานศิลปะและงานออกแบบในสาขาตางๆ ที่มีตองานออกแบบนิเทศศิลป

362 108B การถายภาพเบื้องตน B 3(1-4-4)B (Basic Photography)B หลักการและการปฏิบัติขั้นพื้นฐานในการถายภาพ การใชกลอง ชนิดของเลนส การจัดแสงเบื้องตนศิลปะการถายภาพ กระบวนการลาง อัด ขยายภาพจากฟลมที่เปนพื้นฐานการถายภาพในระบบดิจิทัล เพื่อประกอบ การศึกษาคนควาวิธีการถายภาพขั้นสูงตอไปB มีการศึกษานอกสถานที่

362 109B การออกแบบและจัดวางตัวอักษรB 3(2-2-5)B (Lettering and Typography)B ประวัติและวิวัฒนาการของตัวอักษรไทยและโรมันศึกษารูปแบบของตัวอักษรตางๆ ที่ใชอยูในปจจุบัน เพื่อนำไปประกอบการออกแบบตัวอักษรใหมีรูปลักษณะเฉพาะ โดยคำนึงถึงความชัดเจนในการสื่อความหมายที่จะนำไปใชในงานนิเทศศิลปไดอยางมีประสิทธิภาพ

362 110 B ภาพประกอบB 3(2-2-5)B (Illustration)( หลักการเลาเรื่องดวยภาพ ขั้นตอนการทำงาน และปฏิบัติงานออกแบบภาพประกอบดวยรูปแบบ เทคนิค และอุปกรณตางๆ ที่เหมาะสมกับเนื้อหา( มีการศึกษานอกสถานที่

107

Page 110: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

362 111B การสื่อสารเชิงสรางสรรคB 2(1-2-3)B (Creative Communication)B การใชภาษาไทยในการสื่อสารอยางถูกตอง ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน มุงตอบสนองวัตถุประสงคในการสื่อสาร ความหมายและลักษณะของการสื่อสารเชิงสรางสรรค กระบวนการของความคิดสรางสรรค ฝกปฏิบัติการเขียนแผนผังความคิด การระดมความคิด การเขียนและการพูดเชิงสรางสรรค

362 201B การออกแบบนิเทศศิลป 4B 4(2-4-6)B (Visual Communication Design IV)( วิชาบังคับกอน : 362 103 การออกแบบนิเทศศิลป 3( การออกแบบอัตลักษณ ออกแบบสื่อประชาสัมพันธ สื่อสงเสริมการขาย และสื่อสรางสรรคลักษณะอื่นๆ ในรูปแบบของสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเลคทรอนิคส และสิ่งแวดลอม ที่มีลักษณะเปนชุดภายใตแนวความคิดเดียวกัน โดยเนนการพัฒนาแนวความคิด แบบราง และการนำเสนอผลงานอยางเปนขั้นตอน

362 202 B การออกแบบนิเทศศิลป 5B 4(2-4-6)B (Visual Communication Design V)( วิชาบังคับกอน : 362 201 การออกแบบนิเทศศิลป 4( การออกแบบสื่อประเภทตางๆ เพื่อสื่อสารแนวความคิดในลักษณะบูรณาการ ระหวางการออกแบบอัตลักษณ การออกแบบสื่อโฆษณา สื่อประชาสัมพันธ สื่อสงเสริมการขาย และสื่อสรางสรรคลักษณะอื่นๆ โดยเนนการแกปญหาจากโจทยทางการตลาดหรือความตองการเฉพาะ การพัฒนาแนวความคิด การพัฒนาแบบราง และการนำเสนอผลงานอยางเปนขั้นตอนและสรางสรรค

362 203B ศิลปะไทยเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป 1B 2(2-0-4)B (Thai Art for Visual Communication Design 1)B รากฐานการกำเนิดศิลปะไทย พัฒนาจินตภาพและทักษะในการถายทอดศิลปะไทยสูงานออกแบบอยางมีคุณคาดวยความคิดสรางสรรค อันมีเหตุผลภายใตความสัมพันธของวัฒนธรรมและยุคสมัย( มีการศึกษานอกสถานที่

362 204B การใชแสงและเสียงB 2(1-1-4)B (Usage of Light and Sound)( หลักการและเทคนิคการใชแสงและเสียงเปนองคประกอบในการสรางอารมณ สถานการณ หรือเพื่อสรางประสบการณ โดยมีจุดมุงหมายเพื่อใหงานออกแบบมีความสมบูรณตามเปาหมาย มีการฝกปฏิบัติ

362 205B การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการB 3(3-0-6)B (Integrated Marketing Communication)B ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการสรางตราสินคา ความหมาย ลักษณะ และกระบวนการการสื่อสารการตลาดหลักการและความสัมพันธของการโฆษณา การตลาดทางตรง การตลาดออนไลน การประชาสัมพันธ การสงเสริมการขาย

108

Page 111: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

362 206 B การวิจัยเพื่องานสรางสรรคB 3(3-0-6)B (Research for Creative Works)B รูปแบบและวิธีวิจัย ศึกษาวิเคราะหปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของกับการวิจัย ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งในกระบวนการออกแบบ นำเสนอกระบวนการและผลการวิจัย รวมทั้งนำผลการวิจัยมาประยุกตใชในการสรางสรรคผลงานออกแบบไดอยางมีประสิทธิภาพ

362 207B การฝกประสบการณวิชาชีพB 2*(ไมนอยกวา 180 ชั่วโมง)B (Practical Training)( เงื่อนไข : ตองลงทะเบียนเรียนมาแลวไมนอยกวา 6 ภาคการศึกษาปกติ( : ฝกงานในสถานประกอบการ หนวยงาน องคกร โครงการที่เกี่ยวของกับการออกแบบนิเทศศิลป ( โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการฝกประสบการณวิชาชีพที่แตงตั้งจากภาควิชาฯ( : วัดผลโดย S กับ UBB บูรณาการและประยุกตความรูกับการปฏิบัติงานวิชาชีพ การแกปญหา การใชขีวิตและการปรับตัวเขากับวัฒนธรรมองคกร ธรรมเนียมและระเบียบปฏิบัติวิชาชีพ

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิตในหลักสูตร

362 208B โครงการพิเศษดานวิชาชีพB 3(1-4-4)B (Professional Special Project)B วิชาบังคับกอน : 362 202 การออกแบบนิเทศศิลป 5( : 362 207 การฝกประสบการณวิชาชีพ( ศึกษาและปฏิบัติงานออกแบบ เพื่อพัฒนาเทคนิคเฉพาะบุคคลใหมีลักษณะเฉพาะตัวที่ชัดเจน เปนแนวทางในการประกอบวิชาชีพ

362 209B ศิลปนิพนธB 10(0-20-10)B (Art Thesis)( เงื่อนไข : นักศึกษาตองผานวิชาแกนทุกรายวิชา และผานวิชาบังคับ และวิชาเลือก ( จำนวนไมนอยกวา 67 หนวยกิต( การรวบรวมและวิเคราะหขอมูล กระบวนการออกแบบอยางเปนขั้นตอน รวมถึงการนำเสนอ และการจัดแสดงผลงาน โดยการนำเสนอโครงงานสวนบุคคล และฝกปฏิบัติงานออกแบบภายใตการดูแลของอาจารยที่ปรึกษา

362 210 B การออกแบบและจัดตัวอักษรขั้นสูงB 3(2-2-5)B (Advanced Typography and Lettering Design)B รูปแบบตัวอักษรไทยและตัวอักษรโรมันประเภทตาง ๆ การออกแบบและจัดตัวอักษร โดยคำนึงถึงการ นำไปใช เนนความชัดเจนในการสื่อความหมาย ผานความงามที่มีลักษณะเฉพาะ

109

Page 112: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

362 211B การออกแบบสิ่งพิมพB 3(2-2-5)B (Basic Publication Design)( ประวัติและวิวัฒนาการของสิ่งพิมพ ระบบการพิมพตาง ๆ หลักการออกแบบสิ่งพิมพ การประเมินราคาสิ่งพิมพ วัสดุในการพิมพ และเทคนิคพิเศษตางๆ รวมทั้งเทคโนโลยีการพิมพ และขอจำกัดในการผลิตสิ่งพิมพ( มีการศึกษานอกสถานที่

362 212 B การออกแบบสิ่งพิมพอิเล็คทรอนิคB 3(2-2-5)B (Electronic Publication Design)( การออกแบบสิ่งตีพิมพเพื่อการเผยแพรบนสื่ออิเล็คทรอนิคชนิดตาง ๆ เทคโนโลยีและขอจำกัดของการสรางงาน การวางโครงสรางของเนื้อหา การออกแบบเนื้อหาใหมีปฏิสัมพันธที่สรางประสบการณใหแกผูใช( มีการศึกษานอกสถานที่

362 213B การออกแบบเลขนศิลปบนบรรจุภัณฑB 3(2-2-5)B (Graphic Design on Packaging)( ประวัติความเปนมาและวิวัฒนาการของบรรจุภัณฑ ขอบังคับทางกฎหมายที่จำเปนในงานบรรจุภัณฑ หลักการและปฏิบัติงานออกแบบเลขนศิลปบนบรรจุภัณฑ ซึ่งไดรับการออกแบบรูปทรงแลว ทั้งในลักษณะพัฒนาและสรางสรรคขึ้นใหม ควบคูไปกับการวางแนวคิดเชิงการตลาดเพื่อใหบรรจุภัณฑมีความนาสนใจ และสามารถตอบสนองความตองการของผูบริโภคได( มีการศึกษานอกสถานที่

362 214B การออกแบบเลขนศิลปสิ่งแวดลอมB 3(2-2-5)B (Environmental Graphic Design)B หลักการและปฏิบัติงานออกแบบเครื่องหมายหรือสัญลักษณ รวมทั้งระบบปายทั้งภายใน และภายนอกอาคาร โดยคำนึงถึงพฤติกรรมมนุษย สภาพแวดลอมและการติดตั้ง( มีการศึกษานอกสถานที่

362 215B การออกแบบภาพขอมูลB 3(2-2-5)B (Information Graphic Design)B หลักการและปฏิบัติงานออกแบบขอมูล โดยการแปลความขอมูลที่ซับซอน และวิเคราะหหาความสัมพันธของขอมูลเหลานั้น เพื่อการนำเสนอใหเปนภาพที่สามารถเขาใจไดงายชัดเจน นาสนใจ

362 216 B การเขียนบทโฆษณาB 3(2-2-5)B (Copywriting)B รูปแบบของการสื่อความหมาย และการวางแนวคิดเพื่อนำไปสูแนวทางในการเขียนบทโฆษณา ฝกหัดการใชเทคนิคที่สามารถถายทอดความคิดและเนื้อความใหเขาใจไดชัดเจน นาสนใจ จดจำไดงาย บรรลุผลในการโฆษณาและการประชาสัมพันธอยางมีประสิทธิภาพ

110

Page 113: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

362 217B การกำกับศิลปในงานโฆษณาB 3(2-2-5)B (Art Direction in Advertising)B หลักการออกแบบโฆษณาในฐานะผูกำกับศิลป เทคนิคการนำเสนอสารโฆษณา การจัดองคประกอบที่เหมาะสมกับสื่อโฆษณาประเภทตางๆ ที่สามารถชวยใหวัตถุประสงคของการตลาดบรรลุผล( มีการศึกษานอกสถานที่

362 218B กลยุทธการสรางสรรคงานโฆษณาB 3(2-2-5)B (Advertising Creative Strategy)B การวิเคราะหแนวความคิดและกลยุทธในงานโฆษณา เทคนิคการจูงใจ และการบริหารสื่อตางๆ

362 219B การออกแบบการนำเสนอขอมูลB 3(2-2-5)B (User Interface and Content Designs)B หลักการและปฏิบัติงานออกแบบอินเตอรเฟสเพื่องานอินเทอรแอคทีฟ เนนการวางโครงสรางขอมูลการนำเสนอขอมูลดวยเทคนิคตางๆ และการออกแบบการปฏิสัมพันธที่งายเหมาะสมกับพฤติกรรมของผูใช เพื่อ สรางประสบการณใหผูใชงาน และสื่อสารมีประสิทธิภาพตรงตามเปาหมาย

362 220 B โปรแกรมเพื่องานอินเทอรแอคทีฟB 3(2-2-5)B (Interactive Design Application)( โครงสรางและหลักการทำงานของซอฟแวรที่ใชผลิตงานอินเทอรแอคทีฟ ฝกปฏิบัติการใชงานโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการสรางงานอินเทอรแอคทีฟ

362 221B การออกแบบสื่อออนไลนB 3(2-2-5)B (Online Media Design)B ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสื่อออนไลน ประวัติความเปนมาและประเภทของสื่อออนไลน กระบวนการและเครื่องมืออุปกรณที่ใชในการผลิตสื่อออนไลนประเภทตาง ๆ กลยุทธการใชสื่อออนไลนเพื่อการสื่อสารการตลาด ฝกปฏิบัติการออกแบบสื่อออนไลน ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรสำเร็จรูปตาง ๆ

362 222 B การถายภาพแฟชั่นB 3(2-2-5)B (Fashion Photography)B การถายภาพบุคคลในงานแฟชั่น เพื่อนำไปประยุกตใชในงานออกแบบนิเทศศิลป เนนการถายภาพในหองปฏิบัติการและนอกสถานที่ เรียนรูการจัดแสง มุมกลอง ฉาก และการกำกับทาทางของแบบ( มีการศึกษานอกสถานที่

362 223B การถายภาพสารคดBี 3(2-2-5)B (Editorial Photography)B การจัดแสงและการถายภาพประเภทตาง ๆ เพื่อนำไปประกอบเนื้อหาของบทความในนิตยสาร หนังสือพิมพและสิ่งพิมพอื่น ๆ ใหสอดคลองกับสาระของบทความและแนวทางการออกแบบของหนังสือหรือสิ่งพิมพนั้น ๆ( มีการศึกษานอกสถานที่

111

Page 114: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

362 224B การถายภาพโฆษณาB 3(2-2-5)B (Advertising Photography)B กระบวนการถายภาพเพื่อใชในการผลิตชิ้นงานโฆษณา การจัดแสง และการถายภาพตามแนวคิดสรางสรรคของผูสรางงานโฆษณา รวมทั้งการถายภาพเพื่อการพิมพ( มีการศึกษานอกสถานที่

362 225B การถายภาพสรางสรรคB 3(2-2-5)B (Creative Photography)B แนวทางการสรางสรรคภาพถายโดยอาศัยเทคนิคและกระบวนการตาง ๆ เพื่อถายทอดแนวความคิดและเนื้อหาของภาพ( มีการศึกษานอกสถานที่

362 226 B ดิจทิัล ดารครูมB 3(2-2-5)B (Digital Darkroom)B ลักษณะและชนิดของไฟลภาพ การจัดการคุณภาพ การจัดการสี และการตกแตงภาพดิจิทัลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อใชในสื่อตาง ๆ

362 227B ภาพประกอบหนังสือสำหรับเด็กB 3(2-2-5)B (Children’s book Illustration)B หลักการออกแบบภาพประกอบหนังสือสำหรับเด็ก รูปแบบและเทคนิคที่เหมาะสมกับเนื้อหา และ การเรียนรูตามวัย( มีการศึกษานอกสถานที่

362 228B ภาพประกอบหนังสือB 3(2-2-5)B (Book Illustration)( ศึกษาและปฏิบัติงานออกแบบภาพประกอบหนังสือ ทั้งภาพปกและภายในเลม ดวยรูปแบบและเทคนิคตาง ๆ ที่เหมาะสมกับหนังสือแตละประเภท

362 229B ภาพประกอบที่มีเอกลักษณเฉพาะตนB 3(2-2-5)B (Self-Expression Illustration)( การสรางสรรคภาพประกอบเพื่อถายทอดแนวคิด โดยพัฒนารูปแบบและเทคนิคใหมีเอกลักษณเฉพาะตน เหมาะสมกับสื่อประเภทตาง ๆ( มีการศึกษานอกสถานที่

362 230 B การออกแบบคาแรคเตอรB 3(2-2-5)B (Character Design)B หลักการและขั้นตอนการปฏิบัติงานออกแบบตัวละครคน สัตว และสิ่งของใหสมจริง ในรูปแบบที่เหมาะสมกับสื่อแตละประเภท

112

Page 115: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

362 231B ภาพตอเนื่องB 3(2-2-5)B (Sequential Art)( หลักการออกแบบภาพที่สื่อสารเรื่องราวไดอยางตอเนื่อง ทั้งตัวละคร เหตุการณ มุมมอง และฉากในรูปแบบและเทคนิคที่เหมาะสมกับสื่อแตละประเภท( มีการศึกษานอกสถานที่

362 232 B ภาพเคลื่อนไหวB 3(2-2-5)B (Motion Picture)( กระบวนการ ขั้นตอน และอุปกรณในการสรางภาพเคลื่อนไหวประเภทตาง ๆ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ

362 233B การเขียนบทB 3(2-2-5)B (Script Writing)B หลักการเขียนบทประเภทตาง ๆ การกำหนดโครงเรื่อง การใชภาษาเพื่อถายทอดจินตนาการ การพัฒนาบท

362 234B การกำกับภาพยนตรB 3(2-2-5)B (Film Directing)B การวิเคราะห ตีความ และการถายทอดอารมณจากบทภาพยนตรสูภาพยนตร การวางแผนการดำเนินงานและหนาที่ความรับผิดชอบของผูกำกับภาพยนตร ฝกปฏิบัติการกำกับภาพยนตรเพื่อนำเสนอมุมมองของตนเอง

362 235B การผลิตภาพยนตรขั้นสุดทายB 3(2-2-5)B (Film Post-Production)B กระบวนการผลิตหลังการถายทำ จนสำเร็จเปนภาพยนตรที่สมบูรณ รวมทั้งเทคนิคการตัดตอ การทำเทคนิคพิเศษ การผสมภาพและเสียงB มีการศึกษานอกสถานที่

362 236 B แอนิเมชั่นสองมิติ B 3(2-2-5)B (2D Animation)B หลักการสรางภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ ฝกปฏิบัติสรางภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ โดยการผสมผสานเทคนิคตาง ๆ

362 237B แอนิเมชั่นสามมิติ 1B 3(2-2-5)B (3D Animation I)B หลักการและการสรางภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ โดยใชโปรแกรมสำเร็จรูป และเทคนิคผสมผสานอื่น ๆ

113

Page 116: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

362 238B เรื่องเฉพาะทางการออกแบบนิเทศศิลปB 2(2-1-3)B (Selected Topic in Visual Communication Design)B องคความรูใหม หรือเรื่องที่นาสนใจทางการออกแบบนิเทศศิลป โดยหัวขออาจเปลี่ยนแปลงไปในแตละภาคการศึกษา อภิปรายเชิงสัมนา

หมวดวTชาเลือกเสรQ (สาขาวTชาการออกแบบนิเทศศิลป)362 239B ธุรกิจการออกแบบB 3(3-0-6)B (Entrepreneurship)B กระบวนการทางธุรกิจและชองทางในการประกอบวิชาชีพออกแบบนิเทศศิลปแขนงตาง ๆ ขั้นตอนการเสนองาน มาตรฐานงานออกแบบ กฎหมายทางธุรกิจและสัญญา มารยาท ในการเจรจาธุรกิจ การประชาสัมพันธ รวมทั้งเทคนิคการประเมินราคาคาออกแบบ

362 240 B การออกแบบอีเวนทB 3(2-2-5)B (Event Design)B การบูรณาการความรูเชิงนิเทศศิลปและเทคโนโลยี รวมกับความรูดานจิตวิทยาและพฤติกรรมมนุษยเพื่อใชสรางสรรคแนวคิดในงานออกแบบการจัดแสดงประเภทตาง ๆ ที่สื่อสารกับผูชมไดอยางมีประสิทธิภาพ และเนนวิธีการสรางประสบการณใหแกผูชมเปนสำคัญ( มีการศึกษานอกสถานที่

362 241B การนำเสนอผลงานB 3(2-2-5)B (Project Presentation)B หลักการปฏิบัติตนและการนำเสนอที่เหมาะสม ตลอดจนการใชเครื่องมือในการนำเสนอ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการถายทอดความคิดหรือขอมูล รวมทั้งรูปแบบของการสื่อความหมายใหผูรับเขาใจ( มีการศึกษานอกสถานที่

362 242 B จิตรกรรมB 3(1-4-4)B (Painting)( การเขียนภาพโดยกรรมวิธีตาง ๆ จากเนื้อหาและความมุงหมายที่กำหนดให และจากจินตนาการ โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อใหเขาใจในเรื่องการใชสี ความประสานกันของสีเพื่อสรางรสนิยมที่ดีในงานออกแบบทุกสาขา( มีการศึกษานอกสถานที่

362 243B วาดเสนกายวิภาคB 3(1-4-4)B (Figure Drawing)B หลักการและฝกปฏิบัติงานวาดโครงสรางรูปราง สัดสวนของคนและสัตว ความสัมพันธของกระดูก และกลามเนื้อ เมื่อเคลื่อนไหวในอิริยาบถตาง ๆ และเมื่อสวมใสเครื่องแตงกาย( มีการศึกษานอกสถานที่

114

Page 117: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

362 244B คอมมิคB 3(2-2-5)B (Comics)B หลักการ รูปแบบและเทคนิค ในการออกแบบการตูนคอมมิคใหมีลักษณะเฉพาะตนในสื่อประเภทตาง ๆ

362 245B คอนเซปตอารตสำหรับเกมและแอนิเมชั่น B 3(2-2-5)B (Concept Art for Game and Animation)B หลักการ แนวคิด และเทคนิคในการออกแบบเอกลักษณของตัวละครและฉาก เพ่ือผลิตเกมและแอนิเมชั่น

362 246 B แอนิเมชั่นสามมิติ 2 B 3(2-2-5)B (3D Animation II)B วิชาบังคับกอน : 362 237 แอนิเมชั่นสามมิติ 1( การสรางภาพเคลื่อนไหว 3 มิติขั้นสูง โดยใชโปรแกรมสำเร็จรูป และเทคนิคผสมผสานอื่นๆ

362 247B ศิลปะไทยเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป 2B 2(1-2-3)B (Thai Art for Visual Communication Design 2)B วิชาบังคับกอน : 362 203 ศิลปะไทยเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป 1( ศึกษาลักษณะแบบแผนเอกลักษณไทย ทั้งทางศิลปกรรม หัตถกรรมและวิถีชีวิตชุมชน เพื่อนำมาใชในการสื่อสารทางการออกแบบนิเทศศิลป( มีการศึกษานอกสถานที่

วTชาเฉพาะ (สาขาวTชาการออกแบบผลิตภัณฑ)363 101B ประวัติการออกแบบผลิตภัณฑB 2(2-0-4)B (History of Product Design)B ประวัติและวิวัฒนาการทางดานการออกแบบผลิตภัณฑ ในชวงสมัยตาง ๆ เชน การปฏิวัติอุตสาหกรรม กระแสของศิลปะและหัตถกรรม การออกแบบสมัยใหม รวมถึงประวัติ และผลงานของนักออกแบบผลิตภัณฑที่สำคัญ

363 102 B การทำหุนจำลองB 2(1-2 -3)B (Model Making)( ทฤษฎีและประเภทของหุนจำลองที่จะนำมาใชในงานออกแบบผลิตภัณฑและฝกหัดปฏิบัติงานในโรงงานปฏิบัติงาน ในเรื่องวิธีใช วิธีบำรุงรักษาวิธีปรับแตงตลอดจนขีดความสามารถของเครื่องมือเครื่องจักรที่ใชในการทำหุนจำลอง รวมทั้งกฎของความปลอดภัย ความประหยัด การเลือกใชวัสดุ การตกแตงผิว การเตรียมงาน การถายแบบ และการแยกรายการเพื่อการปฏิบัติงาน

115

Page 118: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

363 103B การออกแบบผลิตภัณฑ 1B 2(1-2-3)B (Product Design I)( วิชาบังคับกอน : 363 101 ประวัติการออกแบบผลิตภัณฑ( แนะนำวิชาชีพและศาสตรการออกแบบผลิตภัณฑ ศึกษาและทบทวนพื้นฐานการออกแบบ ภาพรวมกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ การคนควาขอมูล และวิเคราะหผลิตภัณฑอยางงาย ทดลองออกแบบรูปทรง และความงาม เพื่อการใชงานขั้นพื้นฐาน

363 104B การเขียนแบบเทคนิคB 2(1-2-3)B (Technical Drawing)( วิชาบังคับกอน : 360 107 เรขศิลปเบื้องตน( การเขียนแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม เพื่อแสดงใหทราบถึงรูปทรง ขนาดของชิ้นงาน มาตรฐานสากล และรายละเอียดในการกำหนดแบบ เพื่อใชในขบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม

363 105B คอมพิวเตอรสำหรับการออกแบบผลิตภัณฑB 2(1-2-3)B (Computer - Aided Product Design)B วิชาบังคับกอน : 360 107 เรขศิลปเบื้องตน( หลักการและการใชโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการเขียนแบบ การใชคำสั่งเครื่องมือตาง ๆ ในการสรางภาพ ในลักษณะ 2 มิติฝกปฏิบัติการสรางภาพทางผลิตภัณฑ ดวยคอมพิวเตอร

363 106 B ศิลปะการขึ้นรูปดวยคอมพิวเตอรB 2(1-2-3)B (Art of Computer Modeling)B วิชาบังคับกอน : 363 105 คอมพิวเตอรสำหรับการออกแบบผลิตภัณฑ( ขั้นตอนการขึ้นรูปงานดวยคอมพิวเตอร ประยุกตใชโปรแกรมเพื่อสรางรูปทรงหรือประยุกตใชในกระบวนการออกแบบ การฝกใชโปรแกรมเพื่อการสรางงานศิลปะ นำเสนอผลงาน ทดลองปฏิบัติ

363 107B การออกแบบผลิตภัณฑ 2B 3(2-2-5)B (Product Design II)B วิชาบังคับกอน : 363 104 การเขียนแบบเทคนิค( : 363 102 การออกแบบผลิตภัณฑ 1( ประวัติความเปนมา ทฤษฎี และหลักเบื้องตนทางการออกแบบผลิตภัณฑ ฝกฝนการใชความคิด สรางสรรคในการออกแบบผลิตภัณฑสำหรับผูบริโภค โดยคำนึงถึงปจจัยพื้นฐานการออกแบบไดแกประโยชนใชสอย ความสวยงาม ขนาดสัดสวนที่เหมาะสมในการใชงาน ความสะดวกสบาย การใชวัสดุและการสื่อความหมาย ดานการเขียนแบบ( มีการศึกษานอกสถานที่

363 108B การนำเสนอผลงานB 2(1-2-3)B (Professional Presentation)B หลักการและวิธีการนำเสนอแบบ ขอมูลและผลงานการออกแบบดวยสื่อและเทคนิคตาง ๆ เชน การใชสี การแสดงภาพ หุนจำลอง และการใชคอมพิวเตอรเพื่อชวยในการนำเสนอผลงานออกแบบ นอกจากนี้ฝกฝนใน

116

Page 119: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

เรื่องหลัก และวิธีการสื่อสารดวยการพูดเพื่อนำเสนอผลงานออกแบบ รวมทั้งการเตรียมตัวและการใชอุปกรณประกอบการพูดตาง ๆ363 109B การออกแบบสามมิติB 2(1-2-3)B (Three Dimensional Design)B วิชาบังคับกอน : 360 102 การออกแบบ 2( การออกแบบผลงานสรางสรรคในลักษณะ 3 มิติ โดยคำนึงถึงหลักเกณฑและปจจัยในการออกแบบ ที่สัมพันธกับรูปลักษณของชิ้นงาน 3 มิติ เชน คุณคา ความงาม ประโยชนใชสอย วัสดุและการผลิต มนุษย สถานที่ และปจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อนำความรูที่ไดรับไปประยุกตใช ในการออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรมตอไป

363 110 B วัสดุและวิธีการผลิต 1B 2(1-2-3)B (Materials and Production Methods I)B วัสดุประเภทไมและโลหะประเภทตาง ๆ เกี่ยวกับ คุณลักษณะ คุณสมบัติ โครงสราง ตลอดจนวิธีการผลิต ที่สามารถนำมาประยุกต ใชกับผลิตภัณฑอุตสาหกรรม( มีการศึกษานอกสถานที่

363 111B มนุษยปจจัยสำหรับการออกแบบB 2(1-2-3)B (Human Factors for Design)B ปจจัยที่เกี่ยวของกับความสามารถของมนุษยในการทำกิจกรรมตาง ๆ โดยเนนศึกษาทั้งทางดาน ระบบทางกายภาพ ระบบทางการรับรู และการตอบสนองการรับรูที่สัมพันธกับการทำงานและเครื่องมือที่ใชใน การทำงาน เพื่อนำมาประยุกตใชในการออกแบบผลิตภัณฑ

363 112 B การออกแบบผลิตภัณฑ 3B 3(2-2-5)B (Product Design III)B วิชาบังคับกอน : 363 107 การออกแบบผลิตภัณฑ 2( : 363 110 วัสดุและวิธีการผลิต 1 ( หลักและแนวทางในการออกแบบผลิตภัณฑสำหรับผูบริโภคและทฤษฎีอื่น ๆ ทางการออกแบบ ฝกฝนการใชความคิดสรางสรรคในการออกแบบผลิตภัณฑ ซึ่งมีสวนประกอบของกลไก ระบบไฟฟาและอิเลคทรอนิกส อยางงาย โดยคำนึงถึงปจจัยพื้นฐานในการออกแบบ ไดแก ประโยชนใชสอย ความงาม การยศาสตร ความปลอดภัย การซอมบำรุง ความคงทน วัสดุและกรรมวิธีการผลิต การประกอบ ราคาและตนทุน( มีการศึกษานอกสถานที่

363 113B วัสดุและวิธีการผลิต 2 B 2(1-2-3)B (Materials and Production Methods II)B วิชาบังคับกอน : 363 111 วัสดุและวิธีการผลิต 1( พลาสติกประเภทตาง ๆ เกี่ยวกับ คุณลักษณะ คุณสมบัติ โครงสราง ตลอดจนวิธีการผลิตที่สามารถ นำมาประยุกต ใชกับผลิตภัณฑอุตสาหกรรม( มีการศึกษานอกสถานที่

117

Page 120: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

363 114B การออกแบบเลขนศิลป 1B 2(1-2-3)B (Graphic Design I)B เรื่องของงานพิมพ ไดแก ลักษณะของตัวพิมพ การเรียงพิมพ กรรมวิธีการพิมพ ฝกฝนการออกแบบ เลขนศิลปเบื้องตน ในเรื่องหลักและปจจัยที่เกี่ยวของในการออกแบบ ไดแกหลักการติดตอสื่อสาร สื่อกลางในการติดตอ ตัวอักษร คุณสมบัติในการอาน ภาพประกอบ สภาพแวดลอม

363 115B พื้นฐานการออกแบบสภาพแวดลอมประดิษฐB 2(1-2-3)B (Fundamental of Built Environment)( วิชาบังคับกอน : 363 113 มนุษยปจจัยสำหรับการออกแบบ( กระบวนการออกแบบเบื้องตน ที่เกี่ยวของระหวางมนุษย ผลิตภัณฑและสิ่งแวดลอม การ ประสานสัมพันธของผลิตภัณฑกับสิ่งแวดลอมอยางเหมาะสม แนวคิดในการออกแบบและจัดการกับที่วาง ในรูปแบบ 3 มิติและผลกระทบที่มีกับมนุษยในเชิงจิตวิทยา

363 116 B การออกแบบผลิตภัณฑดานกลไกB 2(1-2-3)B (Mechanical Product Design)B กลไกในดานระบบ หนาที่ การสงกำลัง และสวนประกอบของกลไก ที่ประกอบไปดวย เพลา และสวนประกอบของเพลา คันโยก ขอเหวียง ลูกเบี้ยว รอก โซ ลอ เฟอง แบริ่ง เพื่อนำมาประยุกตกับการออกแบบ ผลิตภัณฑที่มีกลไก

363 201B การออกแบบผลิตภัณฑ 4B 4(2-4-6)B (Product Design IV)B วิชาบังคับกอน : 363 112 การออกแบบผลิตภัณฑ 3( : 363 113 วัสดุและวิธีการผลิต 2( การออกแบบผลิตภัณฑที่สอดคลองกับความตองการและพฤติกรรมของกลุมเปาหมายเปนหลักสำคัญในการออกแบบในกลุมผลิตภัณฑที่มีความซับซอนดวยการประยุกตใชกลไกและหลักการที่สรางประโยชน ใชสอย ที่มีความสมเหตุสมผลในการนำไปใชงาน( มีการศึกษานอกสถานที่

363 202 B การตลาดและพฤติกรรมผูบริโภคB 2(2-0-4)B (Marketing and Consumer Behavior)B แนวความคิดและกระบวนการทางการตลาด รวมถึงพฤติกรรมผูบริโภคและการตัดสินใจซื้อ โดยใชจิตวิทยาและสังคมวิทยาทางการตลาด เพื่อเปนแนวทางในการตัดสินใจนำมาประยุกตใชประกอบการพิจารณา การออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรมใหสอดคลองกับความตองการผูบริโภค

363 203B วิธีวิจัยเพื่อการออกแบบผลิตภัณฑB 2(2-0-4)B (Research Methods for Product Design)B หลักพื้นฐานและวิธีวิจัยลักษณะตาง ๆ ในเรื่องของขั้นตอน การวางแผนงานวิจัย การรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล การสรุปความเห็น การเสนอผลงานวิจัย ตลอดจนรูปแบบและระเบียบ สำหรับการทำเอกสารวิจัย

118

Page 121: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

363 204B การออกแบบโครงสรางB 2(1-2-3)B (Structural Design)B ลักษณะโครงสราง และการออกแบบโครงสรางโดยใชวัสดุผลิตภัณฑชนิดตาง ๆ เกี่ยวกับสภาวะ การรับแรงเพื่อนำมาประยุกตกับการออกแบบผลิตภัณฑ

363 205B การออกแบบผลิตภัณฑ 5B 4(2-4-6)B (Product Design V)B วิชาบังคับกอน : 363 201 การออกแบบผลิตภัณฑ 4( : 363 202 การตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค( : 363 203 วิธีวิจัยเพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ( การวิจัยและการออกแบบผลิตภัณฑที่ตอบสนองความตองการเฉพาะดาน โดยเนนหนักผลิตภัณฑ สำหรับผูบริโภค ผลิตภัณฑเพื่อการขนสง และผลิตภัณฑเพื่อสาธารณะประโยชน โดยคำนึงถึงปจจัยที่เกี่ยวของ ในทุก ๆ ดาน รวมทั้งศึกษาถึงเทคนิคในการออกแบบผลิตภัณฑ การพิจารณาปจจัยที่เกี่ยวของกับการออกแบบ ผลิตภัณฑ และความสัมพันธระหวางการออกแบบผลิตภัณฑ กับสภาพแวดลอม วัฒนธรรม พฤติกรรมของมนุษย( มีการศึกษานอกสถานที่

363 206 B การสรางสรรคแนวคิดในงานออกแบบผลิตภัณฑB 2(1-2-3)B (Concept Creation in Product Design)B วิชาบังคับกอน : 363 201 การออกแบบผลิตภัณฑ 4 ( วิธีการสรางแนวคิดทางการออกแบบ ใหสอดคลองกับเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นมาใหม สามารถนำมา ประยุกตใชในการสรางแนวคิดในงานออกแบบแบบผลิตภัณฑใหเกิดคุณลักษณะพิเศษในผลงานออกแบบ เชิงสรางสรรค( มีการศึกษานอกสถานที่

363 207B ธุรกิจออกแบบเบื้องตนB 2(2-0-4)B (Introduction to Design Business)B วิชาบังคับกอน : 363 202 การตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค( ลักษณะของธุรกิจออกแบบ แนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑใหม เกณฑเบื้องตนสำหรับการประมาณราคาผลิตภัณฑ ทรัพยสินทางปญญา และการจดสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ

363 208B การฝกประสบการณวิชาชีพB 2*(ไมนอยกวา 180 ชม.)B (Practical Training)( เงื่อนไข : ตองลงทะเบียนเรียนมาแลวไมนอยกวา 6 ภาคการศึกษาปกติ( : ฝกงานในสถานประกอบการ หนวยงาน องคกร โครงการที่เกี่ยวของกับการออกแบบผลิตภัณฑ ( โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ การฝกประสบการณวิชาชีพ ที่แตงตั้งจากภาควิชา ฯ( : วัดผลโดย S กับ U( บูรณาการและประยุกตความรูกับการปฏิบัติงานวิชาชีพ การแกปญหา การใชชีวิตและการปรับตัว เขากับวัฒนธรรมองคกร ธรรมเนียม และระเบียบปฏิบัติวิชาชีพ

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิต

119

Page 122: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

363 209B การออกแบบผลิตภัณฑ 6B 4(2-4-6)B (Product Design VI)B วิชาบังคับกอน : 363 205 การออกแบบผลิตภัณฑ 5( 363 207 ธุรกิจออกแบบเบื้องตน( การวิจัยและการออกแบบผลิตภัณฑขั้นสูงการพัฒนาผลิตภัณฑใหมสำหรับผูบริโภค ภายใตเงื่อนไขตาง ๆ กันการใชความคิดสรางสรรค การพัฒนาความสมบูรณทางการออกแบบ ศึกษาถึงการ นำเทคโนโลยีใหม มาใชในการออกแบบและใชงานจริงความเหมาะสมในคุณสมบัติของผลิตภัณฑดานการผลิต และการตลาด การพิจารณา ทางการประเมินความนาพึงพอใจของงานออกแบบผลิตภัณฑ( มีการศึกษานอกสถานที่

363 210 B การบริหารงานอุตสาหกรรมB 2(2-0-4)B (Industrial Management)B วิชาบังคับกอน : 363 201 การออกแบบผลิตภัณฑ 4( กิจการอุตสาหกรรม ความรูเบื้องตนในดานการบริหารงานอุตสาหกรรม สถานที่ตั้งและการวางผัง โรงงาน การบริหารงานจัดซื้อและคลังสินคา การบริหารงานโครงการ การวางแผนการผลิตรวม การบริหารดาน การดำเนินงาน การบริหารงานบุคคล การบริหารการเงิน และเศรษฐศาสตรอุตสาหกรรม( มีการศึกษานอกสถานที่

363 211B สัมมนาการออกแบบB 2(1-3-2)B (Design Seminar)B วิชาบังคับกอน : 363 201 การออกแบบผลิตภัณฑ 4( การนำประสบการณตาง ๆ ที่ไดรับมาจัดการสัมมนา อภิปรายแลกเปลี่ยน วิเคราะห หาเหตุและสรุปผลที่เกิดขึ้น เขียนรายงานประกอบเพื่อนำมาเปนขอมูลในการพัฒนาผลิตภัณฑ หรือใชประกอบการทำศิลปนิพนธตอไป

363 212 B ศิลปนิพนธB 10(0-20-10)B (Art Thesis)B เงื่อนไข : นักศึกษาตองผานรายวิชาแกนทุกรายวิชา และผานรายวิชาบังคับและวิชาโท/( บังคับเลือก จำนวนไมนอยกวา 75 หนวยกิต( การวิจัยและการออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรมหรือสิ่งที่เกี่ยวของและประยุกตใชในงานออกแบบผลิตภัณฑ การสรางสรรค เสนอผลงานตอคณะกรรมการตรวจศิลปนิพนธ

363 213B การออกแบบเลขนศิลป 2B 3(2-2-5)B (Graphic Design II)B วิชาบังคับกอน : 363 114 การออกแบบเลขนศิลป 1( การออกแบบเลขนศิลปในเรื่องของการสื่อสารทางเลขนศิลปไดแก เครื่องหมายภาพ สัญลักษณ ภาพ และตัวอักษร รวมทั้งรูปแบบของการสื่อในการแสดงงานเลขนศิลปชนิดตาง ๆ ไดแก หนังสือและสิ่งพิมพ แผนปาย แผนประกาศ ภาพโฆษณาทั้งในสิ่งพิมพและโทรทัศน รวมทั้งเลขนศิลปที่ใชประกอบกับผลิตภัณฑและสิ่งอื่น ๆ ใหมีความเหมาะสมในดานความงาม การสื่อความหมาย ลักษณะงานจิตวิทยา กรรมวิธีการพิมพและปจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

120

Page 123: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

363 214B การออกแบบเลขนศิลป 3B 3(2-2-5)B (Graphic Design III)B วิชาบังคับกอน : 363 213 การออกแบบเลขนศิลป 2 ( การออกแบบสื่อกลางชนิดตาง ๆ ในการติดตอสื่อสารทางเลขนศิลป ไดแก เครื่องหมายสัญลักษณ ภาพตัวอักษร ใหมีความเหมาะสมในการติดตอประสานทั้งทางดานผูชม และการสื่อความหมาย ตลอดจนปจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

363 215B การออกแบบบรรจุภัณฑเชิงสรางสรรคB 3(2-2-5)B (Creative Package Design)B การเรียนรูประวัติความเปนมา ประเภท และบทบาทหนาที่ของบรรจุภัณฑในการชวยสรางมูลคาเพิ่ม ใหกับสินคา โดยเนนการสรางสรรคผลงานออกแบบในดานโครงสราง และงานเลขนศิลป เพื่อสนองประโยชนใชสอย ทั้งในดานการหอหุมคุมครองสินคา การสื่อสารและการบงชี้ ชวยอำนวยความสะดวกในการใชงาน รวมทั้งการสนอง ประโยชนในเชิงการคา ไดอยางเปนเอกลักษณ ผานกระบวนการพับขึ้นรูปในงานบรรจุภัณฑกระดาษ ตลอดจนถึงขั้นตอน การพิมพในงานออกแบบบรรจุภัณฑชั้นใน บรรจุภัณฑชั้นนอก และชุดบรรจุภัณฑรวมหนวย สำหรับกลุมสินคาของฝาก และสินคาประเภทอาหาร( มีการศึกษานอกสถานที่

363 216 B การออกแบบบรรจุภัณฑเชิงพาณิชยB 3(2-2-5)B (Commercial Package Design)B วิชาบังคับกอน : 363 215 การออกแบบบรรจุภัณฑเชิงสรางสรรค ( การออกแบบบรรจุภัณฑเพื่อสนองกลยุทธตราสินคาในกลุมสินคาที่มีการแขงขันทางการตลาดสูง โดยสรางสรรคผลงานที่ตองสนองเงื่อนไขทางดานการตลาด มุงสรางนักออกแบบที่มีความเปนมืออาชีพ โดยใหเกิด การเรียนรู หลักการออกแบบที่ครอบคลุมกลุมบรรจุภัณฑประเภทตาง ๆ ทั้ง บรรจุภัณฑขายปลีก ชุดบรรจุภัณฑของขวัญ บรรจุภัณฑชนสง และบรรจุภัณฑเพื่อการจำหนาย ณ จุดขาย โดยผานกระบวนการการคิดวิเคราะห พรอมการสรางสรรคเปนผลงานตนแบบ( มีการศึกษานอกสถานที่

363 217B การออกแบบบรรจุภัณฑเชิงแนวคิดB 3(2-2-5)B (Conceptual Package Design)B วิชาบังคับกอน : 363 216 การออกแบบบรรจุภัณฑเชิงพาณิชย ( : 363 239 การออกแบบบรรจุภัณฑเชิงอัตลักษณ( เทคนิค และวิธีการสรางแนวคิดใหมในงานออกแบบบรรจุภัณฑ ที่นำเอากระบวนการวิจัย เพื่อการออกแบบมาใช โดยการนำแนวคิด ทฤษฎี และหลักการตางๆทั้งในดานการออกแบบ ดานสุนทรียศิลป ดานการตลาด ดานจิตวิทยา และดานสังคม อาทิเชน การออกแบบเพื่อมวลชน การออกแบบเพื่อสิ่งแวดลอม การออกแบบเพื่อความยั่งยืน ทฤษฎีสัญญะ และทฤษฎีของเกสตอลท ฯลฯ เพื่อนำไปสูงานออกแบบ บรรจุภัณฑเชิงแนวคิด ( มีการศึกษานอกสถานที่

121

Page 124: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

363 218B การออกแบบที่วางเชิงอัตลักษณB 3(2-2-5)B (Spatial Identity Design)B วิชาบังคับกอน : 363 115 พื้นฐานการออกแบบสภาพแวดลอมประดิษฐ( การออกแบบในการผสานงานเลขนศิลปกับสภาพแวดลอมและเทคโนโลยี เพื่อสรางอัตลักษณ เพื่อใหเกิดการรับรูและเขาใจในคุณลักษณะของอัตลักษณนั้นและสื่อสารไดตรงกลุมเปาหมายอยางเหมาะสม ตลอดจนศึกษาปจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ( มีการศึกษานอกสถานที่

363 219B การออกแบบฉากและเวทBี 3(2-2-5)B (Set and Stage Design)B วิชาบังคับกอน : 363 115 พื้นฐานการออกแบบสภาพแวดลอมประดิษฐ( การออกแบบที่วางเพื่อการเลาเรื่อง จากการรวบรวมขอมูล การลำดับขอมูล การตีความ การเปรียบเทียบ การแปลความหมาย จนนำมาสูแนวคิดในการออกแบบ การสื่อสารแนวคิดเพื่อนำเสนอในรูปแบบตาง ๆ เชน การทำตนแบบ การสรางภาพเสมือนทั้ง 2 มิติและ 3 มิติเปนตน( มีการศึกษานอกสถานที่

363 220 B การออกแบบงานสรางสำหรับนิทรรศการB 3(2-2-5)B (Production Design for Exhibition)B วิชาบังคับกอน : 363 218 การออกแบบที่วางเชิงอัตลักษณ ( 363 219 การออกแบบฉากและเวที( ขั้นตอนการออกแบบงานสราง การเตรียมงาน การเลือกใชวัสดุและการประยุกตใช เทคโนโลยีที่เหมาะสม การวางแผนงานสรางและสิ่งที่เกียวของ การทำตนแบบ และการประเมินราคางานสราง( มีการศึกษานอกสถานที่

363 221B การออกแบบผลิตภัณฑตกแตงและของใชสวนบุคคลB 3(2-2-5)B (Home Decorative and Accessory Design)B การออกแบบรูปแบบแผน และลวดลาย ทั้ง 2 และ 3 มิติ การทดลองนำวัสดุชนิดตาง ๆ ไปประยุกต ใชเปนผลิตภัณฑ เครื่องใช เครื่องประดับ ของตกแตงบาน ของใชบนโตะทำงาน และของที่ระลึก

363 222 B พื้นฐานการออกแบบเครื่องเรือนB 3(2-2-5)B (Furniture Design Fundamental)B วิชาบังคับกอน : 363 115 พื้นฐานการออกแบบสภาพแวดลอมประดิษฐ( ความรูพื้นฐานในการออกแบบเครื่องเรือน เชน ประวัติศาสตรการออกแบบเครื่องเรือน ประเภทเครื่องเรือน วัสดุและกรรมวิธีการผลิตตาง ๆ ในอุตสาหกรรมเครื่องเรือน ความสัมพันธของพื้นที่ สัดสวนมนุษย และการใชสอยที่มีผลตอการออกแบบเครื่องเรือน ฝกฝนการออกแบบ เขียนแบบผลิต พรอมทั้งทำตนแบบในโรงปฏิบัติงาน( มีการศึกษานอกสถานที่

122

Page 125: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

363 223B การออกแบบเครื่องเรือนเชิงทดลองB 3(2-2-5)B (Experimental Furniture Design)B วิชาบังคับกอน : 363 222 พื้นฐานการออกแบบเครื่องเรือน( การออกแบบเครื่องเรือนเพื่อสรางสรรคคุณลักษณะพิเศษ จากการศึกษา พัฒนา พิสูจน ทดสอบ หรือทดลองดานตาง ๆ เชน ดานวัสดุและกรรมวิธีการผลิต ดานรูปทรง หรือดานการใชสอย โดยอาศัยพื้นฐานจากความเปนไปได และความเหมาะสม พรอมทั้งทำตนแบบในโรงปฏิบัติงาน( มีการศึกษานอกสถานที่

363 224B การออกแบบเครื่องเรือนเชิงระบบB 3(2-2-5)B (Systematic Furniture Design)B วิชาบังคับกอน : 363 222 พื้นฐานการออกแบบเครื่องเรือน( การออกแบบเครื่องเรือนแบบระบบ จากการศึกษา การถอดประกอบ การรวม การออกแบบ ชิ้นสวน และการใชชิ้นสวนที่เหมือนหรือตางกันเพื่อสรางรูปแบบที่หลากหลายใหกับผลิตภัณฑเครื่องเรือน โดยอาศัยพื้นฐานจากความเปนไปไดและความเหมาะสม พรอมทั้งทำตนแบบในโรงปฏิบัติงาน( มีการศึกษานอกสถานที่

363 225 B การออกแบบเครื่องเรือนเพื่อสาธารณชนB 3(2-2-5)B (Furniture Design for the Mass)B วิชาบังคับกอน : 363 223 การออกแบบเครื่องเรือนเชิงทดลอง( : 363 224 การออกแบบเครื่องเรือนเชิงระบบ( แนวความคิดในการออกแบบเคร่ืองเรือน วิธีการกำหนดแนวคิดในอุตสาหกรรม เคร่ืองเรือนกลุมตางๆ ในโลกปจจุบัน ท้ังการศึกษาดวยตนเองและจากการทำงานเชิงปฏิบัติการรวมกับผูประกอบการท่ีมีประสบการณ การดูแนวโนมทางการตลาด เพ่ือหาโอกาสท้ังในทางธุรกิจใหมๆ พรอมท้ังฝกทำตนแบบในโรงปฏิบัติงาน( มีการศึกษานอกสถานที่

363 226 B การออกแบบยานพาหนะ 1B 3(2-2-5)B (Vehicle Design I) B ประวัติความเปนมาเบื้องตนดานการออกแบบยานพาหนะ ฝกทักษะในการวาด เขียนแบบยานพาหนะ ฝกการออกแบบและการทำหุนจำลองยานพาหนะเบื้องตน

363 227B การออกแบบยานพาหนะ 2 B 3(2-2-5)B (Vehicle Design II)B วิชาบังคับกอน : 363 226 การออกแบบยานพาหนะ 1! การออกแบบยานพาหนะทั้งภายนอกและภายใน ฝกปฏิบัติการวาดภาพออกแบบ และการทำหุนจำลอง ดวยดินน้ำมันและการทำตนแบบดวยไฟเบอรกลาส

123

Page 126: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

363 228B การออกแบบยานพาหนะ 3B 3(2-2-5)B (Vehicle Design III)B วิชาบังคับกอน : 363 227 การออกแบบยานพาหนะ 2( การออกแบบและเทคโนโลยีดานออกแบบยานพาหนะขั้นสูง ฝกฝนการออกแบบยานพาหนะ ทั้งภายนอกภายใน สีและเสนรอยตอภายในยานพาหนะ ฝกฝนการออกแบบตกแตงเพิ่มเติมจากยานพาหนะ ในทองตลาด

363 229B การออกแบบผลิตภัณฑอยางยั่งยืน B 3(2-2-5)B (Sustainable Product Design)B หลักพื้นฐานการออกแบบผลิตภัณฑอยางยั่งยืนซึ่งคำนึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสังคมที่จะเกิดขึ้น ตลอดวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑรวมถึงแนวคิดตางๆที่เกี่ยวของ ไดแก การพัฒนาเศรษฐกิจอยางยั่งยืนภาวะเรือนกระจก และสภาวะการเปลี่ยนแปลงของอากาศ รอยเทาคารบอน การพิจารณาวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ หลักการออกแบบ เชิงนิเวศเศรษฐกิจ วิธีการคัดเลือกวัสดุโดยใชผลกระทบตอสิ่งแวดลอมเปนเกณฑ การออกแบบเพื่อความยั่งยืน ทางสังคมและหลักการวิเคราะหผูมีสวนไดสวนเสีย

363 230 B วัสดุและวิธีการผลิตรวมสมัยB 3(2-2-5)B (Contemporary Material and Production Methods)B วิชาบังคับกอน : 363 113 วัสดุและวิธีการผลิต 2( ชนิด ลักษณะเฉพาะ และคุณสมบัติของวัสดุรวมสมัยอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นมานอกเหนือจากวัสดุหลัก ตลอดจนวิธีการผลิตที่สามารถนำมาประยุกตใชกับผลิตภัณฑอุตสาหกรรม( มีการศึกษานอกสถานที่

363 231B คอมพิวเตอรเพื่อการผลิตB 3(2-2-5)B (Computer – Aided Manufacturing)B วิชาบังคับกอน : 363 106 ศิลปะการขึ้นรูปดวยคอมพิวเตอร( การประยุกตใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในการควบคุมเครื่องจักรอุตสาหกรรม เพื่อชวยในการทำตนแบบ และการผลิตในการออกแบบผลิตภัณฑ

363 232 B การออกแบบผลิตภัณฑเอกลักษณไทยB 3(2-2-5)B (Product Design in Thai Style)B วิชาบังคับกอน : 360 108 ศิลปะไทยปริทัศน( ศิลปไทยเพื่อนำมาใชในการออกแบบผลิตภัณฑลักษณะไทย ทั้งในดานการอนุรักษและการพัฒนา ผลิตภัณฑรวมสมัย โดยอาศัยหลักการออกแบบผลิตภัณฑสมัยใหม เพื่อใหเหมาะสมกับความตองการของสังคม( มีการศึกษานอกสถานที่

363 233B เรื่องเฉพาะทางการออกแบบผลิตภัณฑ 1B 3(2-2-5)B (Selected Topic in Product Design I)B เรื่องที่นาสนใจทางดานการออกแบบผลิตภัณฑ หัวขอเรื่องเปลี่ยนไปในแตละภาคการศึกษา

124

Page 127: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

363 234B เรื่องเฉพาะทางการออกแบบผลิตภัณฑ 2B 3(2-2-5)B (Selected Topic in Product Design II)B เรื่องที่นาสนใจทางดานการออกแบบผลิตภัณฑ หัวขอเรื่องเปลี่ยนไปในแตละภาคการศึกษา

363 235B เรื่องเฉพาะทางการออกแบบผลิตภัณฑ 3B 3(2-2-5)B (Selected Topic in Product Design III)( เรื่องที่นาสนใจทางดานการออกแบบผลิตภัณฑ หัวขอเรื่องเปลี่ยนไปในแตละภาคการศึกษา

363 236 B โครงการศึกษาสวนบุคคล 1B 2(2-0-4)B (Individual Project I)B วิชาบังคับกอน : 363 203 วิธีวิจัยเพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ( การวิจัยหรือการออกแบบดวยตนเองในเรื่องการออกแบบผลิตภัณฑหรือเรื่องที่สามารถประยุกตใชกับการออกแบบผลิตภัณฑได โดยความเห็นชอบของภาควิชา

363 237B โครงการศึกษาสวนบุคคล 2B 2(2-0-4)B (Individual Project II)B วิชาบังคับกอน : 363 203 วิธีวิจัยเพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ( การวิจัยหรือการออกแบบดวยตนเองในเรื่องการออกแบบผลิตภัณฑหรือเรื่องที่สามารถประยุกตใชกับการออกแบบผลิตภัณฑได โดยความเห็นชอบของภาควิชา

363 238B โครงการศึกษาสวนบุคคล 3B 2(2-0-4)B (Individual Project III)B วิชาบังคับกอน : 363 203 วิธีวิจัยเพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ( การวิจัยหรือการออกแบบดวยตนเองในเรื่องการออกแบบผลิตภัณฑหรือเรื่องที่สามารถประยุกตใชกับการออกแบบผลิตภัณฑได โดยความเห็นชอบของภาควิชา

363 239B การออกแบบบรรจุภัณฑเชิงอัตลักษณB 3(2-2-5)B (Identity Package Design)B วิชาบังคับกอน : 363 215 การออกแบบบรรจุภัณฑเชิงสรางสรรค ( การออกแบบบรรจุภัณฑที่มีอัตลักษณ จากการศึกษาผลิตภัณฑ เรื่องราว บุคลิกภาพ ภาพลักษณ รวมถึงเอกลักษณ ในระดับผูประกอบการ ชุมชน จังหวัด และในระดับภูมิภาค ดวยงานสรางสรรครูปทรง โครงสราง และงานอออกแบบเลขศิลป( มีการศึกษานอกสถานที่

363 240 B การออกแบบผลิตภัณฑกระดาษB 3(2-2-5)B (Paper Product Design)( ประวัติความเปนมา ประเภท คุณสมบัติ กระบวนการแปรรูป การขึ้นรูปในงานกระดาษ เพื่อนำมาสนองประโยชนใชสอยในเชิงสรางสรรคผลิตภัณฑจากกระดาษ หรือวัสดุที่มีระนาบแบน

125

Page 128: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

363 241 B การออกแบบของเลน B 3(2-2-5)B (Toy Design) ( การออกแบบผลิตภัณฑสำหรับเด็ก เพื่อการเรียนรูและเสริมสรางพัฒนาการดานตางๆ ทั้งแบบที่มีกลไก และไมมีกลไก ในระดับการเลนสวนบุคคลจนถึงการเลนเปนกลุม จากวัสดุประเภทกระดาษผา ไม และพลาสติก ดวยแนวคิดเชิงสรางสรรคตามปจจัยในการออกแบบที่เกี่ยวเนื่อง

363 242 B การออกแบบเชิงความรูสึกB 3(2-2-5) B (Emotional Design) ( การออกแบบผลิตภัณฑที่สนองมิติดานสุนทรียศิลปเชิงอารมณ ดวยแนวคิดและแรงบันดาลใจ ที่เพิ่มมูลคา และคุณคาใหกับผลงานออกแบบ

363 243 B วาดเสนเพื่อการออกแบบผลิตภัณฑB 3(2-2-5)B (Drawing for Product Design)( วิธีการเขียนภาพลายเสนทางการออกแบบผลิตภัณฑในลักษณะและวิธีการตาง ๆ เพื่อนำมาใชในการฝกคิดสรางรูปแบบในการออกแบบผลิตภัณฑ

363 244B ภาษาอังกฤษสำหรับการออกแบบผลิตภัณฑB 2(2-0-4)B (English for Product Design)B วิชาบังคับกอน : 081 103 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ( การฝกฝน การอาน การฟง การพูด และการเขียน เพื่อเขาใจศัพทและเนื้อหาที่เกี่ยวของ กับการออกแบบผลิตภัณฑ เพื่อนำความรูไปชวยเสริมการศึกษาคนควาขอมูลและการนำเสนอผลงาน

363 245B พื้นฐานการถายภาพB 2(1-2-3)B (Photography Fundamental)( การปฏิบัติขั้นพื้นฐานในการถายภาพดวยกลองดิจิตอล หลักการจัดภาพ การใชกลอง ชนิดของเลนส เพื่อนำไปเปนประโยชนในการออกแบบผลิตภัณฑ

363 246 B การออกแบบพื้นผิวB 2(1-2-3)B (Surface Design)B การนำวัสดุตาง ๆ และทดลองเทคนิคใหม ๆ สำหรับการนำมาใชในการสรางและออกแบบพื้นผิว สำหรับปรับใชในงานออกแบบผลิตภัณฑทั้งสองมิติ และสามมิติ

วTชาเฉพาะ (สาขาวTชาประยุกตศิลปศึกษา)364 101B กายวิภาคคนและสัตวB 2(1-3-2)B (Human and Animal Anatomy)B ศึกษาโครงสรางทางกายวิภาคของคนและสัตว หนาที่การใชงาน ลักษณะการเคลื่อนไหวของ กระดูก และกลามเนื้อในอิริยาบถตางๆ( มีการศึกษานอกสถานที่

126

Page 129: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

364 102 B องคประกอบศิลป 1B 2(1-3-2)B (Composition I)B กำหนดโครงสรางของแนวความคิด สำหรับการสรางสรรคศิลปะ สองมิติ เนนการพัฒนารูปทรง และเนื้อหาตาง ๆ ใหมีเอกภาพประสานกลมกลืนกันจนเกิดคุณคาทางสุนทรีย

364 103B วาดเสนประยุกต 1B 2(1-3-2)B (Applied Drawing I)B ประยุกตเทคนิคการวาดเสนดวยการใชวัสดุอุปกรณตาง ๆ ที่หลากหลาย ทั้งจากวัสดุธรรมชาติ และที่มนุษยสรางขึ้น โดยอาศัยแบบหุนนิ่ง คน อาคาร และทิวทัศน ( มีการศึกษานอกสถานที่

364 104B ประวัติศาสตรศิลปะในประเทศไทยB 2(2-0-4)B (History of Art in Thailand)( เรียนรู บูรณาการ ศิลปะกอนและชวงอารยธรรมไทย ศึกษาวิธีคิด คติความเชื่อ และบริบททางสังคม คุณลักษณะของรูปแบบ ทิศทางการสรางสรรค กระบวนการชางของศิลปกรรมไทย จนถึงระยะแรกของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง( มีการศึกษานอกสถานที่

364 105B ประยุกตศิลปสมัยนิยมB 2(2-0-4)B (Applied Art Trend)( ศึกษาบริบทที่เกี่ยวเนื่องกับความนิยมในแตละยุคสมัย ตลอดจนพัฒนาการของประยุกตศิลปจากอดีตถึงปจจุบัน

364 106 B องคประกอบศิลป 2 B 2(1-3-2)B (Composition II)B วิชาบังคับกอน : 364 102 องคประกอบศิลป 1( กำหนดโครงสรางของแนวความคิด สำหรับการสรางสรรคศิลปะ สามมิติ เนนการพัฒนารูปทรง และเนื้อหาตาง ๆ ใหมีเอกภาพประสานกลมกลืนกันจนเกิดคุณคาทางสุนทรีย

364 107B วาดเสนประยุกต 2 B 2(1-3-2)B (Applied Drawing II)B วิชาบังคับกอน : 364 103 วาดเสนประยุกต 1( กำหนดโครงสรางของแนวความคิด สำหรับการวาดเสนสรางสรรคเฉพาะบุคคล มีการประยุกต ใชวัสดุอุปกรณตาง ๆ และเทคนิคสื่อประสม

364 108B ประวัติศาสตรศิลปะตะวันตก B 2(2-0-4)B (Western Art History)B ศึกษาตนกำเนิด ความเปนมาของศิลปะตะวันตก สภาพแวดลอมทางภูมิศาสตร ที่กอใหเกิดการสรางศิลปกรรม การไดรับอิทธิพลและการถายทอดรูปแบบ เนื้อหาทางศิลปะที่มีพัฒนาการ จากยุคกอน ประวัติศาสตรถึงปจจุบัน

127

Page 130: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

364 109B ศิลปะพื้นบานไทยB 2(2-0-4)B (Thai Folk Art)( วิเคราะหบริบททางสังคมดั้งเดิมและการเปลี่ยนแปลง ศึกษาคุณคาของความหลากหลายในวัฒนธรรม วัสดุทองถิ่นและรูปแบบงานหัตถกรรมพื้นบานตามขอมูลของประเภทและชนิด ในงานศิลปกรรมพื้นบานของไทย( มีการศึกษานอกสถานที่

364 110 B หัตถกรรมรวมสมัยB 2(1-3-2)B (Contemporary Craft)( ศึกษารูปแบบและภูมิปญญาจากงานศิลปหัตถกรรมตาง ๆ ประยุกต สรางสรรคผลงานดวยวัสดุ เทคนิคที่หลากหลาย โดยเนนความงามทางศิลปะที่สอดคลองกับวิถีชีวิตในปจจุบัน ( มีการศึกษานอกสถานที่

364 111B จิตรกรรมประยุกต 1B 5(2-6-7) B (Applied Painting I)B วิชาบังคับกอน : 360 106 ศิลปะปฎิบัติ 2( สรางสรรคจิตรกรรมแบบเหมือนจริง ดวยสีน้ำมันและสีอะครีลิค จากแบบหุนนิ่ง คน ทิวทัศน และออกแบบประยุกตงานจิตรกรรมเปนเฉพาะกรณี( มีการศึกษานอกสถานที่

364 112 B ประติมากรรมประยุกต 1B 5(2-6-7)B (Applied Sculpture I)B วิชาบังคับกอน : 360 106 ศิลปะปฎิบัติ 2B สรางสรรคประติมากรรมประเภทรูปทรงนูนต่ำ นูนสูง แบบเหมือนจริง และกึ่งนามธรรม จากแบบหุนนิ่ง แบบคน ดวยเทคนิคและวัสดุตาง ๆ B มีการศึกษานอกสถานที่

364 113B ภาพพิมพประยุกต 1B 5(2-6-7)B (Applied Print Making I)( วิชาบังคับกอน : 360 106 ศิลปะปฎิบัติ 2( สรางสรรคภาพพิมพเทคนิคแมพิมพโลหะ ดวยกระบวนการที่หลากหลาย เหมาะสมตามเนื้อหา การแสดงออก

364 114B ศิลปะไทยประยุกต 1B 5(2-6-7)B (Applied Thai Art I)B วิชาบังคับกอน : 360 106 ศิลปะปฎิบัติ 2( วิเคราะหกระบวนการทางจิตรกรรมไทยประเพณีและศิลปะไทยรวมสมัย สรางสรรคศิลปะสองมิติ ตามโจทยที่กำหนด( มีการศึกษานอกสถานที่

128

Page 131: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

364 115 B ศิลปะสิ่งทอ 1B 5(2-6-7)B (Textile Art I)B วิชาบังคับกอน : 360 106 ศิลปะปฎิบัติ 2( ศึกษาคุณสมบัติเสนใยผาชนิดตาง ๆ การยอมสีจากธรรมชาติและเคมี การกั้นสีดวยเทียน การมัดยอมแบบญี่ปุน การกัดฟอกสีและอื่นๆ ( มีการศึกษานอกสถานที่

364 116 B จิตรกรรมประยุกต 2 B 5(2-6-7)B (Applied Painting II)( วิชาบังคับกอน : 364 111 จิตรกรรมประยุกต 1B( สรางสรรคจิตรกรรม สื่อประสม แบบเหมือนจริง กึ่งนามธรรม นามธรรม ดวยการใชสี วัสดุ ที่หลากหลาย และออกแบบประยุกตงานจิตรกรรมเปนเฉพาะกรณี

364 117B ประติมากรรมประยุกต 2B 5(2-6-7)B (Applied Sculpture II)B วิชาบังคับกอน : 364 112 ประติมากรรมประยุกต 1( สรางสรรคประติมากรรมประเภทรูปทรงลอยตัว แบบเหมือนจริง กึ่งนามธรรม นามธรรม จากแบบหุนนิ่ง แบบคน ดวยเทคนิคและวัสดุตาง ๆ

364 118B ภาพพิมพประยุกต B 25(2-6-7)B (Applied Print Making II)B วิชาบังคับกอน : 364 113 ภาพพิมพประยุกต 1( สรางสรรคภาพพิมพ เทคนิคแมพิมพตะแกรงผาไหม ดวยกระบวนการที่หลากหลาย เหมาะสม ตามเนื้อหาการแสดงออก

364 119B ศิลปะไทยประยุกต 2 B 5(2-6-7)B (Applied Thai Art II)B วิชาบังคับกอน : 364 114 ศิลปะไทยประยุกต 1B วิเคราะหงานศิลปกรรมไทยประเภทตาง ๆ ทั้งแบบสองมิติและสามมิติ สรางสรรค ทดลองเทคนิค และวัสดุที่หลากหลาย สอดคลองกับโจทยกำหนด( มีการศึกษานอกสถานที่

364 120 B ศิลปะสิ่งทอ 2 B 5(2-6-7)B (Textile Art II)B วิชาบังคับกอน : 364 115 ศิลปะสิ่งทอ 1( ทอพรม ทอกี่ตะกอ ทอมัดหมี่ที่สัมพันธกับการออกแบบสรางสรรคลายผา( มีการศึกษานอกสถานที่

129

Page 132: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

364 201B องคประกอบศิลป 3B 2(1-3-2)B (Composition III)B วิชาบังคับกอน : 364 106 องคประกอบศิลป 2( กำหนดโครงสรางของแนวความคิด สำหรับการสรางสรรคศิลปะสองมิติ สามมิติ และศิลปะที่สัมพันธกับสิ่งแวดลอม เนนการพัฒนารูปทรงและเนื้อหาตาง ๆ ใหมีเอกภาพประสานกลมกลืน จนเกิดคุณคาทางสุนทรีย

364 202 B สุนทรียศาสตรB 3(3-0-6)B (Aesthetics)( ศึกษาปรัชญาสุนทรียศาสตรตะวันตกและตะวันออก อธิบายการสรางสรรคและปญหาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับความงามและศิลปะ วิเคราะหหลักสุนทรียะของศิลปนและที่มาของรูปแบบผลงานศิลปะตาง ๆ

364 203B คอมพิวเตอรพื้นฐานสำหรับนักออกแบบB 2(1-3-2)B (Basic Computer for Designers)B ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของฮารดแวรและซอฟทแวร การใชโปรแกรมและระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร เทคนิคการสรางภาพดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร สองมิติและสามมิติ

364 204B ประยุกตศิลปในพื้นที่เฉพาะกรณBี 2(1-3-2)B (Site Specific Applied Art)( ศึกษารูปแบบ ความคิด ปรัชญา หลักการออกแบบพื้นที่สวนบุคคล พื้นที่กึ่งสาธารณะ พื้นที่สาธารณะ การสรางสรรคประยุกตศิลปใหมีคุณภาพและเหมาะสมเฉพาะกรณี

364 205 B โครงการสรางสรรคประยุกตศิลปB 5(2-6-7)B (Applied Art Project)( โครงการสรางสรรคศิลปะตามประเภทและกระบวนการทางเทคนิคที่ไดเลือกศึกษา มีการกำหนดขอบเขตการศึกษา และสาระประโยชนเฉพาะกรณีอยางชัดเจน

364 206 B ศิลปวิจารณB 2(2-0-4)( (Art Criticism)( ศึกษาหลักการวิจารณ วิเคราะห ตีความ การประเมินคุณคาศิลปะโดยเนนการแสดงความคิดเห็นอยางเปนระบบ

364 207B คอมพิวเตอรสำหรับนักออกแบบB 2(2-0-4)B (Computer for Designers)B วิชาบังคับกอน : 364 203 คอมพิวเตอรพื้นฐานสำหรับนักออกแบบ ( ประยุกตพื้นฐานความรูทางโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบและสรางสรรคงานศิลปะรูปแบบตาง ๆ

130

Page 133: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

364 208 B ภาษาอังกฤษในงานออกแบบ 1B 2(2-0-4)B (English in Design I) B ฝกทักษะการฟงและพูดสื่อสารภาษาอังกฤษ เพื่อเสริมความสามารถทางการศึกษาและวิชาชีพดานการออกแบบ

364 209B การฝกประสบการณวิชาชีพB 2* (ไมนอยกวา 180 ชั่วโมง) B (Practical Training)B เงื่อนไข : ตองลงทะเบียนเรียนมาแลวไมนอยกวา 6ภาคการศึกษาปกติ ( : ฝกงานในสถานประกอบการหนวยงาน องคกร โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ( การฝกประสบการณวิชาชีพที่แตงตั้งจากภาควิชา( : วัดผลโดย S กับ U( บูรณาการและประยุกตความรูกับการปฏิบัติงานวิชาชีพ การแกปญหา การใชชีวิตและการปรับตัวเขากับวัฒนธรรมองคกร ธรรมเนียม และระเบียบปฏิบัติวิชาชีพ

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิตในหลักสูตร

364 210 B ภาษาอังกฤษในงานออกแบบ 2 B 2(2-0-4)B (English in Design II)B BB วิชาบังคับกอน : 364 208 ภาษาอังกฤษในงานออกแบบ 1( ฝกทักษะการเขียนและอานจับใจความบทความหรือวรรณกรรมภาษาอังกฤษ เพื่อเสริมความสามารถทางการศึกษาและวิชาชีพดานการออกแบบ

364 211 B วิธีวิจัยB 2(2-0-4)B (Research Methods)( ความรูพื้นฐานของวิธีการวิจัยโดยทั่วไป กำหนดประเด็นและเรียบเรียงความคิด การนำเสนอโครงรางการวิจัยและโครงงานการวิจัยสวนบุคคลเบื้องตน ที่เกี่ยวของกับงานศิลปะและการออกแบบ

364 212 B การนำเสนอประยุกตศิลปB 2(1-3-2)B (Applied Art Presentation)B ศึกษาหลักการจัดการความรูในการสรางสรรคประยุกตศิลป ใหมีระบบระเบียบ เปนลำดับขั้นตอน มีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการถายทอด และนำเสนอตอสาธารณะในรูปแบบตาง ๆ พรอมฝกปฏิบัติ

364 213B การเตรียมการศิลปนิพนธB 6(2-6-10)B (Art Thesis Preparation)B เตรียมความพรอมในการทำศิลปนิพนธ ดวยการศึกษาปญหา การวางแผนการปฏิบัติงาน การนำเสนอโครงการสรางสรรคประยุกตศิลปสวนบุคคล ที่แสดงพัฒนาการทางดานแนวคิด เนื้อหา และรูปแบบอยางเปนขั้นตอน

131

Page 134: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

364 214B ศิลปนิพนธB 10(0-20-10)B (Art Thesis)( เงื่อนไข : นักศึกษาตองผานวิชาแกนทุกรายวิชา และผานวิชาบังคับ วิชาบังคับเลือก จํานวน ( ไมนอยกวา 67 หนวยกิต( โครงการสรางสรรคประยุกตศิลปสวนบุคคล ที่แสดงกระบวนการศึกษาคนควาขอมูล การวิเคราะหและปฏิบัติการสรางสรรคผลงาน การสรุปและอภิปรายผลอยางเปนระเบียบขั้นตอน พรอมจัดทำเอกสารประกอบศิลปนิพนธ

364 215B จิตรกรรมประยุกต 3B 5(2-6-7)B (Applied Painting III)B วิชาบังคับกอน : 364 116 จิตรกรรมประยุกต 2( สรางสรรคจิตรกรรมประยุกตและสื่อประสม ที่แสดงกระบวนการทางความคิด รูปแบบ และเทคนิคเฉพาะตัว

364 216 B ประติมากรรมประยุกต 3B 5(2-6-7)B (Applied Sculpture III)( วิชาบังคับกอน : 364 117 ประติมากรรมประยุกต 2( สรางสรรคประติมากรรมประยุกต และสื่อประสม ที่แสดงกระบวนการทางความคิด รูปแบบ และเทคนิคเฉพาะตัว( มีการศึกษานอกสถานที่

364 217B ภาพพิมพประยุกต 3B 5(2-6-7)B (Applied Print Making III)( วิชาบังคับกอน : 364 118 ภาพพิมพประยุกต 2( สรางสรรคภาพพิมพ เทคนิคแมพิมพหิน ดวยกระบวนการที่หลากหลาย เหมาะสมตามเนื้อหา การแสดงออก

364 218B ศิลปะไทยประยุกต 3B 5(2-6-7)B (Applied Thai Art III)B วิชาบังคับกอน : 364 119 ศิลปะไทยประยุกต 2B รังวัดและเขียนแบบจากตัวอยางอาคารสถาปตยกรรมไทย เพื่อเปนแนวความคิดในการสรางสรรค ผลงานขนาดใหญ แสดงกระบวนการทางความคิด รูปแบบ และเทคนิคเฉพาะตัว( มีการศึกษานอกสถานที่

364 219B ศิลปะสิ่งทอ 3B 5(2-6-7)B (Textile Art III)( วิชาบังคับกอน : 364 120 ศิลปะสิ่งทอ 2( เย็บ ปก ถัก ออกแบบลายผาดวยเทคนิคการพิมพ การระบายสี เทคนิคอื่น ๆ และสื่อประสม( มีการศึกษานอกสถานที่

132

Page 135: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

364 220 B ปญหาศิลปะรวมสมัยB 2(2-0-4)B (Problems in Contemporary Art)( ศึกษาประเด็นปญหาตาง ๆ ที่นำไปสูการสรางสรรค หรือการนำประเด็นในศิลปะ มาฝกฝนการแสดงความคิดในรูปแบบการสัมมนา

364 221 B ศิลปกรรมโลหะB 2(1-3-2)B (Metal Art)B สรางสรรคศิลปกรรมโลหะ ดวยเทคนิคการเชื่อม การฉลุ การหลอ เปนตนB มีการศึกษานอกสถานที่

364 222 B ศิลปกรรมผาB 2(1-3-2)B (Fabric Art)B สรางสรรคศิลปะและหัตถกรรมผา ดวยเทคนิคการเย็บ ปก ปะ ระบายสี ยอมสี วัสดุผสม และอื่น ๆ

364 223 B ศิลปกรรมกระดาษB 2(1-3-2)B (Paper Art)( สรางสรรคศิลปกรรมกระดาษดวยเทคนิค การปน การอัดแมพิมพ การติดปะ พับ ตัด เจาะ ฉลุ เปนตน

364 224B ศิลปะภาพถายB 2(1-3-2)B (Photo Art)B ศึกษาประวัติศาสตรภาพถายโดยสังเขป เทคนิคการถายภาพ วิจารณภาพถายประเภทพาณิชยศิลป และความสัมพันธระหวางภาพถายกับงานศิลปะ ฝกหัดถายภาพใหมีคุณภาพเชิงวิจิตรศิลปB มีการศึกษานอกสถานที่

364 225B การออกแบบงานลายรดน้ำไทยB 2(1-3-2)B (Traditional Thai Lacquer Design)B สรางสรรคศิลปะลายรดน้ำไทย เทคนิคการเตรียมพื้น การเตรียมน้ำยาเขียนลาย การเขียนลาย การปดทองคำเปลว การซอมลายที่ชำรุด

364 226 B การออกแบบศิลปะปูนปนไทยB 2(1-3-2)B (Traditional Thai Stucco Design)B สรางสรรคศิลปะปูนปนไทย เนนทักษะเบื้องตนและเทคนิคการปนปูนสด

364 227B การออกแบบบาติกB 2(1-3-2)B (Batik Design)B ศึกษาประวัติศาสตรศิลปะผาบาติกโดยสังเขป สรางสรรคศิลปะผาบาติกดวยเทคนิคการกั้นสี ดวยเทียน การระบายสี การยอม การมัดยอมแบบญี่ปุน การพิมพดวยแมพิมพไม โลหะ การใชวัสดุแทนเทียน การใชสีจากธรรมชาติ

133

Page 136: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

364 228B เทคนิคการอนุรักษจิตรกรรมไทยB 2(1-3-2)B (Traditional Thai Painting Conservation Techniques)B ความรูและคุณคาของการอนุรักษจิตรกรรมไทย การนำเทคนิคการอนุรักษมาฝกปฏิบัติและประยุกต ใชเฉพาะกรณี

364 229 B โครงการศึกษาสวนบุคคลB 2(1-3-2)B (Individual Project)B สรางสรรคศิลปะตามแนวทางสวนบุคคล ในเงื่อนไข ประโยชนการใชงาน และ/หรือเหมาะสม กับพื้นที่เฉพาะ

364 230 B การเขียนภาพดอกไมB 2(1-3-2)B (Flower Painting)B วาดภาพดอกไม จากแบบจริง ทั้งหุนนิ่งและทิวทัศน ดวยเทคนิคตาง ๆ ทางจิตรกรรม B มีการศึกษานอกสถานที่B

364 231 B เทคนิคการทอผาพื้นเมืองB 2(1-3-2)B (Folk Weaving Technique)B ศึกษาเทคนิคการทอผาไทยในวิถีชนบทตามภูมิปญญาชาวบาน และขนบธรรมเนียม ประเพณีนิยม ที่มีพัฒนาการตอเนื่องถึงปจจุบัน พรอมฝกปฏิบัติ( มีการศึกษานอกสถานที่

364 232 B ธุรกิจสิ่งทอB 2(1-3-2)B (Textile Business)B ศึกษาหลักการ และวิธีการประกอบธุรกิจสิ่งทอทั้งตลาดในประเทศและตางประเทศ จรรยาบรรณในวิชาชีพ มีการฝกประกอบธุรกิจสิ่งทอ

364 233 B การออกแบบเครื่องแตงกายB 2(1-3-2)B (Costume Design)B ศึกษาวิวัฒนาการการออกแบบเครื่องแตงกาย รวมถึงสิ่งประกอบการแตงกายอื่น ๆ ที่สอดคลองกับบริบทการใชงานและยุคสมัย พรอมฝกปฏิบัติ

364 234 B เทคนิคการออกแบบสรางแบบตัดB 2(1-3-2)B (Pattern Design Technique)B ออกแบบระนาบ รูปรางที่สัมพันธกับรูปทรง เทคนิคการเชื่อมตอระนาบสองมิติ ที่นำไปสูการขึ้นรูปชิ้นงาน สามมิติ

364 235B การเขียนภาพคนเหมือนB 2(1-3-2)B (Portrait Painting)B วาดภาพคนเหมือนจากแบบคนจริงและภาพถาย เนนการถายทอดอารมณความรูสึกของผูเปนแบบ ความถูกตองตามหลักกายวิภาค การจัดองคประกอบศิลปและการใชสีตาง ๆ

134

Page 137: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

364 236 ( ศิลปกรรมหนังB 2(1-3-2)( (Leather Art)B สรางสรรคศิลปะและหัตถกรรมหนังดวยเทคนิคการฉลุ การสรางลวดลาย การระบายสี การตัดเย็บ การประกอบกับวัสดุตาง ๆ

364 237B ศิลปกรรมเสนใยB 2(1-3-2)B (Fiber Art) B ศึกษาคุณลักษณะของเสนใยชนิดตาง ๆ นำมาสรางสรรคศิลปะสองมิติและสามมิติที่มีความงามทางศิลปะ หรือเปนงานพาณิชยศิลป

364 238B วาดภาพดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร B 2(1-3-2)B (Digital Painting) B สรางสรรคศิลปะดวยระบบดิจิตอล โดยการวาดภาพดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร การใชอุปกรณเสริม เพื่อสนับสนุนเทคนิคการวาดภาพ

364 239B การออกแบบลวดลายผาB 2(1-3-2)B (Fabric Pattern Design)( ออกแบบลายผาแบบตาง ๆ ศึกษาการใชระบบแยกเฉดสี การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรออกแบบ ลวดลาย

364 240 B ศิลปะภาพพิมพดวยสื่อใหม B 2(1-3-2)B (New Media Print Making)B สรางสรรคศิลปะภาพพิมพดวยสื่อใหมจากความกาวหนาของเทคโนโลยีในปจจุบัน เชน การใชระบบดิจิตอล หรือวัสดุอุปกรณสมัยใหม

364 241 B ศิลปะผามัดหมี่รวมสมัย B 2(1-3-2)B (Contemporary Art of Ikat) ( ผามัดหมี่ดวยเทคนิคการทอแบบดั้งเดิม ตามภูมิปญญาชาวบานและวิถีชุมชน และแบบประยุกตรวมสมัย

364 242 B ศิลปะจากวัสดุเหลือใช B 2(1-3-2)B (Waste Material Art)B สรางสรรคงานศิลปะและออกแบบจากวัสดุเหลือใช โดยตระหนักถึงจิตสำนึกดานการอนุรักษสิ่งแวดลอม

364 243B วัตถุเชิงสรางสรรคB 2(1-3-2)B (Creative Object)B ศึกษาทางเลือกในการใชวัตถุใหมที่ไมไดอยูในแนวทางศิลปะในอดีต นำไปสูการสรางสรรคงานศิลปะและออกแบบ หรือดัดแปลงพัฒนาไปใชประโยชนในลักษณะอื่น ๆ

135

Page 138: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

วTชาเฉพาะ (สาขาวTชาเครW่องเคลือบดินเผา)365 101B เครื่องเคลือบดินเผาเบื้องตนและกรรมวิธีการผลิตB 3(3-0-6)B (Introduction to Ceramics and Processes)( คำจำกัดความ ความหมาย ลักษณะเฉพาะ วัตถุดิบและกระบวนการผลิตของวัสดุทางดานเซรามิกส เชน เครื่องเคลือบดินเผา แกว ปลาสเตอร ซีเมนต วัสดุทนไฟ โลหะเคลือบ วัสดุขัดถู ฉนวน และเซรามิกสที่ใชในงานเทคโนโลยีอื่นๆ( มีการศึกษานอกสถานที่

365 102 B การเขียนแบบเทคนิคB 3(1-4-4)B (Technical Drawing)( ปฏิบัตกิารเขียนแบบ เพื่อแสดงลักษณะรูปทรง และรายละเอียดในการกำหนดแบบตามมาตรฐาน สากล เพื่อใชในกระบวนการผลิตเครื่องเคลือบดินเผา

365 103B การขึ้นรูปดวยมือB 3(1-4-4)( (Hand Forming)( การขึ้นรูปผลิตภัณฑดวยวมือ วิธีบีบ วิธีขด วิธีทำเปนแผน หรือขึ้นรูปแบบประติมากรรม ฝกปฏิบัติการสรางรูปทรงดวยวิธีตาง ๆ วิธีเดียวหรือหลายวิธีประกอบกัน และการเคลือบผลงาน

365 104B การขึ้นรูปดวยแปนหมุน 1B 3(1-4-4)B (Wheel Throwing I)( หลักการขึ้นรูปดวยแปนหมุน การนวดดิน การบังคับดินใหอยูที่ศูนยกลางของแปนหมุน การสรางรูปทรงตาง ๆ เชน ทรงกระบอก ภาชนะทรงปากบาน ภาชนะทรงปด ฝกปฏิบัติการขึ้นรูป การขูดแตงชิ้นงาน และการเคลือบชิ้นงานดวยวิธีตางๆ ( มีการศึกษานอกสถานที่

365 105B การสรางพิมพและวิธีการขึ้นรูปB 3(1-4-4)( (Mold Making and Forming Methods) ( สมบัติของปูนปลาสเตอรชนิดตาง ๆ เทคนิคการสรางตนแบบ ตนแบบแมพิมพ การสรางพิมพชิ้นเดียวและพิมพหลายชิ้น เพื่อใชสำหรับการขึ้นรูปดวย วิธีการหลอกลวง วิธีการหลอตัน วิธีการอัด การตกแตงชิ้นงานหลังการขึ้นรูป และการเคลือบชิ้นงานดวยวิธีการตาง ๆ พรอมทั้งฝกปฏิบัติ

365 106 B ประวัติศาสตรเครื่องเคลือบดินเผาB 3(3-0-6)( (History of Ceramics)( ประวัติศาสตรความเปนมาของเครื่องเคลือบดินเผาในภูมิภาคเอเชีย และเครื่องเคลือบดินเผาของจีนสมัยตาง ๆ ที่มีอิทธิพลตอประเทศไทย ญี่ปุน เกาหลี เปนตน ( มีการศึกษานอกสถานที่

136

Page 139: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

365 107B ดินและเนื้อดินB 3(2-2-5)( (Clay and Clay Body)( การกำเนิดและชนิดของดิน อิทธิพลความชื้นและความรอนที่มีตอเนื้อดิน วัตถุดิบที่ใชในการเตรียมเนื้อดิน สมบัติทางกายภาพของดิน ทั้งกอนเผาและหลังการเผา เนื้อดินที่ใชในการขึ้นรูปดวยวิธีตาง ๆ การคำนวณและปฏิบัติการเตรียมเนื้อดิน

365 108B เคลือบ 1B 3(3-0-6)( (Ceramic Glazes I)( คำนิยามของเคลือบ ชนิดของเคลือบ ประโยชนของการเคลือบ วัตถุดิบ และสมบัติของวัตถุดิบที่ใชในการคำนวณสูตรเคลือบ การบดและผสมเคลือบ วิธีการเคลือบ สมบัติของเคลือบ ตำหนิของเคลือบและวิธีการแกไข สีสำเร็จรูปและวิธีการใช

365 109B เทคนิคการตกแตงB 3(1-4-4)B (Decorating Techniques)B การตกแตงชิ้นงานเครื่องเคลือบดินเผา ในชวงสภาวะตาง ๆ เชน กอนการขึ้นรูป สภาวะดินที่มีความเหนียว ดินหมาด ดินแหง ชิ้นงานที่เผาดิบแลวและชิ้นงานหลังเผาเคลือบ พรอมทั้งฝกปฏิบัติ

365 110 B การขึ้นรูปดวยแปนหมุน 2B 3(1-4-4)B (Wheel Throwing II)B วิชาบังคับกอน : 365 104 การขึ้นรูปดวยแปนหมุน 1( ปฏิบัติการขึ้นรูปดวยแปนหมุน การขูดแตงภาชนะมีฝาปด ภาชนะมีมือจับ และการเคลือบดวยวิธีตางๆ โดยอาจทำเปนชุดตามความเหมาะสม

365 201B การออกแบบเครื่องเคลือบดินเผาเบื้องตนB 3(1-4-4)B (Basic Ceramic Design)( การออกแบบงานเครื่องเคลือบดินเผาในลักษณะ สองมิติ สามมิติ และปฏิบัติการทดลองทำผลิตภัณฑสำเร็จ

365 202 B คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบเครื่องเคลือบดินเผาB 3(2-2-5)( (Computer for Ceramic Design)( ปฏิบัติการใชคอมพิวเตอร เพื่อการออกแบบงานเครื่องเคลือบดินเผา ฝกการสรางภาพเสมือนจริง และฝกใชฐานขอมูลเฉพาะผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

365 203B เคลือบ 2B 3(1-4-4)B (Ceramic Glazes II)B( วิชาบังคับกอน : 365 108 เคลือบ 1( ปฏิบัติการเตรียมเคลือบชนิดตาง ๆ การใชสีสำเร็จรูป ตำหนิเคลือบและวิธีการแกไข มีการวิเคราะหและนำเสนอผลการทดลอง ตลอดจนการนำผลการทดลองไปใชงานจริง

137

Page 140: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

365 204B เตาและการเผาB 3(1-4-4)( (Kiln and Firing)B( ประวัติเตาเผาเครื่องเคลือบดินเผา การจำแนกชนิดของเตา ลักษณะโครงสรางและวิธีการเลือกใชเตาชนิดตางๆ เชื้อเพลิงที่ใชในการเผา การอบแหงและการเผา การตั้งตารางการเผา การวัดและการควบคุมอุณหภูมิในเตา อิทธิพลความรอนที่มีตอวัตถุดิบที่ใชทำผลิตภัณฑเครื่องเคลือบดินเผา ปญหาและการแกปญหาที่เกิดขึ้นจากการเผา มีการฝกปฏิบัตกิารเผาชิ้นงานดวยเตาชนิดตางๆ( มีการศึกษานอกสถานที ่

365 205B สุนทรียศาสตรB 3(3-0-6)B (Aesthetics)B( ความหมาย ปรัชญาและหลักสุนทรียศาสตรของศิลปะตะวันตก ศิลปะตะวันออก ตั้งแตอดีตจนถึงคริสตศตวรรษที่ 19 โดยเนนการนำหลักการทางสุนทรียศาสตรมาใชในการวิเคราะหผลงานศิลปะ

365 206 ( สัมมนาเครื่องเคลือบดินเผาB 3(2-2-5)( (Ceramic Seminar)( สัมมนาผลงานเครื่องเคลือบดินเผา โดยเนนเนื้อหาที่สัมพันธกับปรัชญาความคิด เทคนิค วิธีการ และหลักสุนทรียศาสตรในงานเครื่องเคลือบดินเผา เพื่อเปนแนวทางในการสรางสรรคผลงาน และปฏิบัตกิารสัมมนา

365 207B วิธีวิจัยสำหรับงานเครื่องเคลือบดินเผาB 3(2-2-5)B (Research Methods for Ceramics)B ระเบียบวิธีวิจัย เพื่อนำมาใชในงานเครื่องเคลือบดินเผา ฝกการเขียนโครงการและรายงานผลการวิจัย

365 208B การฝกประสบการณวิชาชีพ( 2*(ไมนอยกวา 180 ชั่วโมง)( (Practical Training)( เงื่อนไข : ตองลงทะเบียนเรียนมาแลวไมนอยกวา 6 ภาคการศึกษาปกติ( : ฝกงานในสถานประกอบการ หนวยงาน องคกร โครงการที่เกี่ยวเนื่องกับเครื่องเคลือบดินเผา ( โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจำภาควิชา( : วัดผลโดย S กับ U( บูรณาการและประยุกตความรูกับการปฏิบัติงานวิชาชีพ การแกปญหา การใชชีวิตและการปรับตัวเขากับวัฒนธรรมองคกร ธรรมเนียม และระเบียบปฏิบัติวิชาชีพ

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิตในหลักสูตร

365 209B การเตรียมการศิลปนิพนธB 6(3-6-9) B (Art Thesis Preparation)BB เงื่อนไข : ตองสอบผานวิชาบังคับเลือก ครบตามจำนวนหนวยกิตที่กำหนดไวในหลักสูตร( กำหนดโครงการศิลปนิพนธตามสายการเรียน โดยศึกษาปญหาและวางแนวทางการศึกษา( ทดลองเพื่อการออกแบบและสรางสรรคผลงานเครื่องเคลือบดินเผา โดยมีการศึกษาวิเคราะห( ขอมูล สำหรับใชเปนแนวทางในการทำศิลปนิพนธ

138

Page 141: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

365 210 B ศิลปนิพนธB 10(0-20-10)B (Art Thesis)( เงื่อนไข : นักศึกษาตองผานวิชาแกนทุกรายวิชา และผานวิชาบังคับ วิชาบังคับเลือก จำนวน( ไมนอยกวา 73 หนวยกิต( คนควาทดลอง และ/หรือปฏิบัติงานตามสายการเรียน โดยไดรับความเห็นชอบ และอนุมัติจากคณะกรรมการศิลปนิพนธ

365 211B การออกแบบโดยการทดลองB 3(1-4-4)B (Experimental Design)( ปฏิบัติการทดลองการออกแบบ เพื่อการผลิตเครื่องเคลือบดินเผาใหตรงตามวัตถุประสงค มีการประเมินผลการออกแบบและปรับปรุงแกไข

365 212 B คอมพิวเตอรสำหรับการออกแบบเครื่องเคลือบดินเผาB 4(2-6-4)B (Computer – Aid for Ceramic Design)B โปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อการออกแบบผลิตภัณฑเครื่องเคลือบดินเผา และทดลองออกแบบผลิตภัณฑโดยเนนการออกแบบ สองมิติ สามมิติ ดวยโปรแกรมสำเร็จรูป

365 213B การออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา 1B 4(2-6-4)( (Ceramic Design I)( ปฏิบัติการออกแบบ และทดลองขึ้นรูปผลิตภัณฑเครื่องเคลือบดินเผาในลักษณะอุตสาหกรรม( มีการศึกษานอกสถานที่

365 214B การออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา 2B 5(2-8-5)B (Ceramic Design II)B วิชาบังคับกอน : 365 213 การออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา 1( ปฏิบัติการออกแบบเครื่องเคลือบดินเผาในขั้นสูง โดยเนนการออกแบบเพื่อการผลิตในระบบอุตสาหกรรม รวมถึงศึกษาปญหาในการผลิตที่อาจจะเกิดขึ้นจากการออกแบบ

365 215B ประติมากรรมB 3(1-4-4)B (Sculpture)B( วิชาบังคับกอน : 360 106 ศิลปะปฏิบัติ 2( ปฏิบัติการสรางสรรคผลงานประติมากรรม โดยคลี่คลายจากรูปแบบเหมือนจริง หรือรูปแบบอื่น มีการใชเนื้อดินและวิธีการขึ้นรูปที่เหมาะสมสำหรับงานเครื่องเคลือบดินเผา

365 216 B ประติมากรรมสรางสรรคB 4(2-6-4)B (Creative Sculpture)B วิชาบังคับกอน : 365 215 ประติมากรรม( การนำเสนอโครงการประติมากรรมสรางสรรคเฉพาะบุคคล ฝกปฏิบัติโดยใชกระบวนการทางเครื่องเคลือบดินเผา และ/หรือวัสดุอื่น ๆ โดยเนนการศึกษาวิเคราะหปญหาตาง ๆ ที่สัมพันธตอสภาพแวดลอมภายในและภายนอกอาคาร

139

Page 142: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

365 217B ศิลปะเครื่องเคลือบดินเผา 1B 4(2-6-4)( (Ceramic Art I)( ปฏิบัติการสรางสรรคผลงานประติมากรรมเครื่องเคลือบดินเผา โดยวิธีปนบนแปนหมุน วิธี ปนดวยมือ วิธีการขึ้นรูปดวยแบบพิมพ หรือวิธีการขึ้นรูปแบบประติมากรรม วิธีใดวิธีหนึ่ง หรือหลายวิธีประกอบกัน( มีการศึกษานอกสถานที่

365 218B ศิลปะเครื่องเคลือบดินเผา 2B 5(2-8-5)B (Ceramic Art II)( วิชาบังคับกอน: 365 217 ศิลปะเครื่องเคลือบดินเผา 1( การสรางสรรคผลงานศิลปะเครื่องเคลือบดินเผาเฉพาะบุคคล โดยนำเสนอแนวความคิด และกระบวนการในการปฏิบัติงานสรางสรรค

365 219B การสรางสรรคเครื่องเคลือบดินเผาหัตถศิลปB 3(1-4-4)B (Creative Pottery Art and Craft)B ปฏิบัตกิารสรางสรรคภาชนะเครื่องเคลือบดินเผา ดวยวิธีการขึ้นรูปดวยมือ วิธีขึ้นรูปดวยแปนหมุน วิธีการขึ้นรูปดวยแบบพิมพ วิธีใดวิธีหนึ่ง หรือหลายวิธีประกอบกัน โดยเนนความประณีตในงานหัตถศิลป เชน การสรางรูปทรงของภาชนะ การใชเทคนิคตกแตง ที่ประสานสัมพันธกับพื้นผิวของเนื้อดิน น้ำเคลือบ และการเผา

365 220 B เครื่องเคลือบดินเผาหัตถศิลปรวมสมัย B 4(2-6-4)( (Contemporary Pottery Art and Craft)( ศึกษาวิเคราะหเครื่องเคลือบดินเผาสมัยตางๆ ของไทยและตางประเทศ ที่เนนคุณคาความงามที่เกิดจากรูปทรง เนื้อดิน น้ำเคลือบ เทคนิค และกรรมวิธีการตกแตงลวดลายตามแบบอยางดั้งเดิม ปฏิบัติการสรางสรรคภาชนะเครื่องเคลือบดินเผาใหมีความรวมสมัย

365 221B เครื่องเคลือบดินเผาหัตถศิลป 1B 4(2-6-4)B (Pottery Art and Craft I)( ศึกษาวิเคราะห รูปแบบภาชนะเครื่องเคลือบดินเผาสมัยตางๆ ทั้งของไทยและตางประเทศ เพื่อเปนแนวทางในการสรางสรรคภาชนะเครื่องเคลือบดินเผาหัตถศิลป ใหมีความประสานสัมพันธระหวางพื้นผิว เนื้อดิน น้ำเคลือบ เทคนิคตกแตง และการเผา พรอมทั้งฝกปฏิบัติ( มีการศึกษานอกสถานที่

365 222 B เครื่องเคลือบดินเผาหัตถศิลป 2 B 5(2-8-5)B (Pottery Art and Craft II)B วิชาบังคับกอน : 365 221 เครื่องเคลือบดินเผาหัตถศิลป 1( การสรางสรรคผลงานเครื่องเคลือบดินเผาหัตถศิลปเฉพาะบุคคล โดยนำเสนอแนวความคิดในการทำงาน และเนนรูปแบบภาชนะที่มีความงามอันเกิดจากความประณีตที่ประสานสัมพันธระหวางรูปทรง พื้นผิว เนื้อดิน น้ำเคลือบ เทคนิค และการเผา พรอมทั้งฝกปฏิบัติ

140

Page 143: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

หมวดวTชาเลือกเสรQ (สาขาวTชาเครW่องเคลือบดินเผา)365 223B ภาษาอังกฤษสำหรับงานเครื่องเคลือบดินเผาB 2(2-0-4)( (English for Ceramics) ( การอาน การแปลบทความ เรียนรูศัพทที่เกี่ยวของกับงานศิลปะและการออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา ฝกการเขียน การพูด การนำเสนอแนวความคิดของนักศึกษา และสามารถตอบโตการสนทนาไดอยางเหมาะสม

365 224B สมาธิเบื้องตน( 2(1-3-2)( (Basic Meditation)( หลักการทำสมาธิเบื้องตน เพื่อนำไปใชในชีวิตประจำวัน มีการฝกปฏิบัติทั้งในและนอกสถานที่ ( มีการศึกษานอกสถานที่(

365 225B จิตรกรรมเครื่องเคลือบดินเผาB 2(1-3-2)B (Ceramic Painting)B( การสรางสรรคงานจิตรกรรมเครื่องเคลือบดินเผา ดวยเทคนิคตางๆ เชน การใชน้ำดินสี สีใตเคลือบ สีบนเคลือบ และเคลือบ เปนตน อาจใชเทคนิคใดเทคนิคหนึ่ง หรือหลายเทคนิคประกอบกัน พรอมทั้งฝกปฏิบัติ

365 226 B การเผาแบบรากBุ 2(1-3-2)( (Raku Firing)( การสรางสรรคงานเครื่องเคลือบดินเผาแบบรากุ มีการเตรียมเนื้อดิน เคลือบ การออกแบบเตาเผา และเทคนิคการเผา พรอมทั้งฝกปฏิบัติ

365 227B การเผาเตาฟนB 2(1-3-2)( (Wood Kiln Firing)B การสรางสรรคงานเครื่องเคลือบดินเผาตามกระบวนการสรางสรรคงานดวยเตาฟน มีการเตรียมเนื้อดิน เคลือบ และเทคนิคการเผา พรอมทั้งฝกปฏิบัติ

365 228B การเผารมควันB 2(1-3-2)( (Smoke Firing)( การสรางสรรคงานเครื่องเคลือบดินเผาตามกระบวนการสรางสรรคงานดวยการเผารมควัน มีการเตรียมเนื้อดิน การออกแบบเตาเผา และเทคนิคการเผารมควันในลักษณะตาง ๆ พรอมทั้งฝกปฏิบัติ

365 229B เนื้อดินสBี 2(1-3-2)( (Colored Clay)( การสรางสรรคงานเครื่องเคลือบดินเผา โดยใชเทคนิคตาง ๆ ที่ใชเนื้อดินสี ในการขึ้นรูปชิ้นงาน มีการเตรียมเนื้อดินสี เคลือบ การสรางสรรคงานและการเผา พรอมทั้งฝกปฏิบัติ

141

Page 144: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

365 230 B การตลาดB 2(2-0-4)( (Marketing)( ระบบการดำเนินงานทางดานธุรกิจและอุตสาหกรรม แนวความคิดการออกแบบและผลิตงานออกสูตลาด รสนิยมและความตองการของตลาดทั้งในและนอกประเทศ กฎหมายตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับลิขสิทธิ์ของผลิตภัณฑ และสิ่งประดิษฐ

365 231B โครงการศึกษาสวนบุคคล 1B 2(0-6-0)B (Individual Project I)B ศึกษาและปฏิบัติงาน โครงการเฉพาะบุคคลที่เกี่ยวของกับงานเครื่องเคลือบดินเผา โดยความเห็นชอบของภาควิชา ฯ

365 232 B โครงการศึกษาสวนบุคคล 2B 2(0-6-0)B (Individual Project II)( ศึกษาและปฏิบัติงาน โครงการเฉพาะบุคคลที่เกี่ยวของกับงานเครื่องเคลือบดินเผา โดยความเห็นชอบของภาควิชา ฯ

365 233B โครงการศึกษาสวนบุคคล 3B 2(0-6-0)B (Individual Project III)B ศึกษาและปฏิบัติงาน โครงการเฉพาะบุคคลที่เกี่ยวของกับงานเครื่องเคลือบดินเผา โดยความเห็นชอบของภาควิชา ฯ

วTชาเฉพาะ (สาขาวTชาการออกแบบเครW่องประดับ)366 101B ประวัติเครื่องประดับB 3(3-0-6)( (History of Jewelry)( ประวัติของงานออกแบบเคร่ืองประดับและอัญมณีในแตละยุคสมัย รูปแบบแนวคิด อิทธิพล ความเช่ือ ปรัชญาท้ังของไทยและตางประเทศ การนำวัสดุประเภทตางๆ ท่ีไดจากการคนพบมาแทนคาในงานเคร่ืองประดับ

366 102 B การทำเครื่องประดับ 1B 3(2-2-5)B (Jewelry Making I)( การใชเครื่องมือเบื้องตนกับงานเครื่องประดับ การดูแลรักษาและซอมบำรุงอุปกรณ ความปลอดภัยในการใชงาน สถานที่ และการใชอุปกรณเครื่องจักรที่เกี่ยวของกับการทำเครื่องประดับดวยตนเอง การปฏิบัติการขึ้นรูปโลหะดวยเทคนิคเบื้องตนไดแก ฉลุ ตัด เลื่อย เชื่อม การผสมน้ำประสาน วิธีการพับ ดัด เจาะ ทำความสะอาด ชิ้นงานเครื่องประดับ

366 103B การทำเครื่องประดับ 2B 3(2-2-5)B (Jewelry Making II)( วิชาบังคับกอน : 366 102 การทำเครื่องประดับ 1( พัฒนาการในการผลิตเครื่องประดับที่ซับซอนขึ้น อาทิ การทำขอตอ บานพับ และการทำระบบลอค การสรางสรรคและประยุกตเครื่องมือชวยในการขึ้นรูปดวยตนเอง วิธีการศึกษาและทดลองเกี่ยวกับขนาดและน้ำหนักของชิ้นงานที่สัมพันธกับการใชงานบนรางกาย

142

Page 145: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

366 104( การออกแบบเครื่องประดับ 1B 4(2-4-6)B (Jewelry Design I)B วิชาบังคับกอน : 366 101 ประวัติเครื่องประดับ( : 366 103 การทำเครื่องประดับ 2( วิเคราะห สังเคราะหแนวคิด และคนหาแรงบันดาลใจในการสรางองคประกอบเปนรูปทรงดวยทัศนธาตุ พื้นฐานทักษะเชิงชางเครื่องประดับ กระบวนการขึ้นรูปดวยมือ เคาะ เจาะ ฉลุ ตัด เชื่อม โลหะและแกะขี้ผึ้ง เทคนิคการผลิตเครื่องประดับดวยเครื่องจักรเบา การสรางสรรคและผลิตผลงานเครื่องประดับตนแบบดวยตนเอง( มีการศึกษานอกสถานที่

366 105B งานโลหะไทยประเพณBี 3(2-2-5)B (Metal Work in Thai Traditional Techniques)( การสรางสรรคการผลิตผลงานดวยเทคนิคเชิงชางลักษณะไทย รูปแบบศิลปะไทยประเพณี ลวดลายจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปตยกรรม และผลิตภัณฑตางๆ ตามแตละทองถิ่นในประเทศไทย ไดแกงาน ฉลุ สลักดุน เคาะ ถมลงยา ลงยาสี บุหุม และเทคนิคงานชางทองไทยอื่นๆ( มีการศึกษานอกสถานที่

366 106 B การออกแบบเครื่องประดับ 2 B 4(2-4-6)( (Jewelry Design II)B วิชาบังคับกอน : 366 104 การออกแบบเครื่องประดับ 1( แงมุมทางศิลปะ ปรัชญา และสุนทรียศาสตรของการออกแบบเครื่องประดับลักษณะไทย การนำเอารูปแบบแนวคิดของศิลปะการออกแบบเครื่องประดับนับตั้งแตยุคสมัยใหมเปนตนมา นำมาประกอบในการออกแบบและผลิตเครื่องประดับลักษณะไทยใหมีความรวมสมัย และแสดงความสัมพันธระหวางเครื่องประดับกับสรีระและ/หรือพื้นที่วางของรางกายมนุษย( มีการศึกษานอกสถานที่

366 107B อัญมณีศาสตรB 3(3-0-6)B (Gemology)( อัญมณีวิทยาขั้นพื้นฐาน การเกิดขึ้นในธรรมชาติ แหลงกำเนิดคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี การจำแนกตระกูล ประเภท และชนิดตางๆของอัญมณีและอัญมณีอินทรีย การปรับคุณภาพของอัญมณีชนิดตางๆ การวิเคราะหและประเมินคุณภาพ การตรวจสอบคุณสมบัติ โดยใชอุปกรณและเครื่องมือในการตรวจสอบจำแนกชนิดและคุณภาพ( มีการศึกษานอกสถานที่

366 108B วัสดุและกระบวนการการผลิตในงานเครื่องประดับB 3(3-0-6)B (Material and Process in Jewelry Production)( ชนิด คุณสมบัติ ที่มา รวมทั้งเครื่องมือเครื่องจักรและกรรมวิธีการผลิต เชน การขึ้นรูป การตอเชื่อม จับยึด การทำสี การตกแตงผิว โดยวิธีทางกายภาพ หรือทางเคมีของกลุมวัสดุที่นำมาใชในการผลิตเครื่องประดับ ตามหลักวัสดุศาสตร คือ โลหะ โพลิเมอรและ เซรามิก ศึกษาเทคนิคการประสานวัสดุตางชนิด หลักการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ ความปลอดภัยในการใชวัสดุและกรรมวิธีในการผลิตเครื่องประดับ( มีการศึกษานอกสถานที่

143

Page 146: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

366 109B การเขียนแบบและเสนอแบบเฉพาะดานการออกแบบเครื่องประดับB 3(2-2-5)B (Technical Drawing and Presentation in Jewelry Design)B หลักการเขียนแบบ วาดแบบ ทักษะการใชเครื่องมือและเทคโนโลยี เพื่ออธิบายแนวคิดที่ชัดเจนถูกตองทั้ง 3 มิติ การสงแบบถึงบุคลากรที่เกี่ยวของในสายการผลิตเครื่องประดับ

366 201B ธุรกิจอัญมณBี 3(2-2-5)B (Gems Business)( วิชาบังคับกอน : 366 107 อัญมณีศาสตร( การประเมินคุณภาพ และราคาอัญมณี เหตุปจจัยขอจำกัดตางๆ ที่เกิดขึ้นในเรื่องการวิเคราะห ประเมิน จำแนกและจัดอันดับคุณภาพของอัญมณีธรรมชาติ อัญมณีปรุงแตง และอัญมณีสังเคราะห ในเชิงพาณิชย แนวโนมการตลาดของอัญมณีในสภาวการณปจจุบัน ชื่อเรียกอัญมณีชนิดตางๆที่เปนสากล ทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ การจัดทำเอกสารทางธุรกิจที่เกี่ยวของกับการใชงาน การจัดจำหนาย ซื้อขายแลกเปลี่ยนอัญมณี( มีการศึกษานอกสถานที่

366 202 B วิธีวิจัยและการจัดสัมมนาB 4(3-2-7)B (Research Methods and Seminar Management)( ระเบียบและขั้นตอนการทดลอง วิเคราะห วิจัย ในเรื่องที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาการออกแบบ ทั้งดานทฤษฎีและปฏิบัติ การจัดสัมมนาเฉพาะดาน ในเรื่องที่เกี่ยวของกับวงการเครื่องประดับและอัญมณีในดานศิลปะและการออกแบบ

366 203B ภาษาอังกฤษสำหรับการออกแบบเครื่องประดับB 3(3-0-6)B (English for Jewelry Design)( เนื้อหา รูปประโยค ศัพทเทคนิคที่ใชในดานเครื่องประดับและอัญมณี เทคนิคการผลิตเครื่องมือ เครื่องจักร ขอมูลขาวสารตางๆ บทสัมภาษณ รายงานการสัมมนาทางวิชาการ ผลงานวิจัยจากตางประเทศ รวมถึงการพบปะสนทนา ฝกฝนการใชภาษาอังกฤษ ทั้งในดานการคนควา และการติดตอสื่อสารกับผูเกี่ยวของดานเครื่องประดับ

366 204B การออกแบบเครื่องประดับ 3B 5(2-6-7)B (Jewelry Design III)B วิชาบังคับกอน : 366 106 การออกแบบเครื่องประดับ 2( แนวคิด รูปแบบ กระบวนการ ยุคสมัยของนักออกแบบ ศิลปน บุคคลสำคัญ วิเคราะหเปรียบเทียบงานออกแบบประเภทตางๆ ตามสภาพสังคมและบริบททางวัฒนธรรม การสรางแนวโนมทางการตลาดที่ทันสมัย ความนิยม รสนิยม อิทธิพลของกระแสโลก ที่มีผลตอพฤติกรรมของผูบริโภค การออกแบบและผลิตเครื่องประดับชนิดตางๆ ดวยวิธีของการผลิตเครื่องประดับแฟชั่น การขึ้นรูปเครื่องประดับดวยวัสดุ เทคนิคตางๆ จากวัสดุที่เปนโลหะและ/หรือไมใชโลหะ และตกแตงผลงานดวยเทคนิคตางๆ เชน ลงยาสี ฝงอัญมณี สรางสรรคผลงานออกแบบเครื่องประดับเฉพาะบุคคล กลุมบุคคลหรือกลุมเปาหมาย( มีการศึกษานอกสถานที่

144

Page 147: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

366 205B เครื่องประดับกับวิถีชีวิตB 3(3-0-6)B (Life-Style Jewelry)( ความเปนมาของเครื่องประดับสมัยนิยม บริบททางสังคมและวัฒนธรรม วิถีชีวิตที่สงผลตอการเลือกใชเครื่องประดับ การพัฒนาลักษณะและการออกแบบ ในแตละยุคจนถึงปจจุบัน ความนาสนใจ และคุณสมบัติพิเศษของวัสดุ และเทคนิคการผลิตตางๆ ความสัมพันธของเครื่องประดับอันเปนการสะทอนวิถีชีวิตของผูบริโภคตามบริบทแตละยุคสมัย( มีการศึกษานอกสถานที่

366 206 B การออกแบบเครื่องประดับ 4B 5(2-6-7)B (Jewelry Design IV)B วิชาบังคับกอน : 366 204 การออกแบบเครื่องประดับ 3( งานศิลปะ งานออกแบบตางๆ ที่มีอิทธิพลและผลกระทบตองานออกแบบแฟชั่นและเครื่องประดับ เพื่อตอบสนองรูปแบบรสนิยมการดำเนินชีวิตของคนกลุมใหญและเพื่อการพาณิชย วิวัฒนาการของ ประวัติศาสตร กระแสตางๆ ในการสรางงานที่มีลักษณะเฉพาะดาน กระบวนการผลิตเครื่องประดับที่เนนในการผลิตซ้ำแบบคุมคาตามหลักอรรถประโยชนสูงสุด เทคนิคการผลิตเครื่องประดับดวยเครื่องมือเครื่องจักรที่มีในหองปฏิบัติงานและที่ไดจากการศึกษาเพิ่มเติมเองจากภายนอก กระบวนการศึกษาและฝกหัดการใชเครื่องมือ เครื่องจักร เทคโนโลยี ที่ตอบสนองการผลิตซ้ำที่ทันตอยุคสมัย( มีการศึกษานอกสถานที่

366 207B การตลาดและการจัดการธุรกิจเครื่องประดับB 3(3-0-6)B (Marketing and management for Jewelry business)( พฤติกรรมผูบริโภค การบริหารจัดการธุรกิจ ปจจัยทางธุรกิจ ที่เกี่ยวของกับเครื่องประดับ ในระดับของขนาดธุรกิจที่ตางกัน ระบบการตลาด การนำเขาสงออก การประกันภัย ขอจำกัดในดานตางๆ และจรรยาบรรณ รวมถึงปญหาตางๆ ที่เกี่ยวของกับธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ ทั้งระบบในประเทศและตางประเทศ( มีการศึกษานอกสถานที่

366 208B ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจเครื่องประดับB 3(3-0-6)B (English for Jewelry Business)( ทักษะทางการพูด ฟง อาน และเขียน ของการใชภาษาอังกฤษในเชิงธุรกิจ ศัพทเฉพาะ การเขียนโตตอบ จดหมาย เอกสารติดตอทางราชการและธุรกิจเอกชน เอกสารนำเสนอผลงานของตนเอง เสริมสรางความสามารถในการใชภาษาอังกฤษในธุรกิจการออกแบบและการนำเสนอเครื่องประดับ( มีการศึกษานอกสถานที่

366 209B การนำเสนอผลงานเครื่องประดับB 3(2-2-5)B (Jewelry Presentation)B วิธีการและการจัดการนำเสนอผลงานเครื่องประดับรวมสมัยและเครื่องประดับเชิงพาณิชย ดวยความรูและเทคนิคในการจัดแสดงผลงานเครื่องประดับ สื่อรูปแบบ มิติของงานแสดงขนาดตางๆ การจัดดิสเพลย การจัดอีเวนท การนำเสนอผานสื่ออินเตอรเน็ต( มีการศึกษานอกสถานที่

145

Page 148: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

366 210 B การฝกประสบการณวิชาชีพB 2*(ไมนอยกวา 180 ชั่วโมง)B (Practical Training)B วิชาบังคับกอน : 366 206 การออกแบบเครื่องประดับ 4( เงื่อนไข : ตองลงทะเบียนเรียนมาแลวไมนอยกวา 6 ภาคการศึกษาปกติ( : ฝกงานในสถานประกอบการ หนวยงาน องคกร โครงการ ที่เกี่ยวของกับการออกแบบ( เครื่องประดับ โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการฝกประสบการณวิชาชีพที่แตงตั้งจาก( ภาควิชาฯ( : วัดผลโดย S กับ U( บูรณาการและประยุกตความรูกับการปฏิบัติงานวิชาชีพ การแกปญหา การใชชีวิตและการปรับตัวเขากับวัฒนธรรมองคกร ธรรมเนียม และระเบียบปฏิบัติวิชาชีพ

หมายเหตุ * หมายถึง ลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิต

366 211B การออกแบบเครื่องประดับ 5B 6(2-8-8)B (Jewelry Design V)( วิชาบังคับกอน : 366 206 การออกแบบเครื่องประดับ 4( โครงการออกแบบเครื่องประดับที่มีปฏิสัมพันธกับหนวยงานภายนอก ในแบบจริงและ/หรือเสมือนจริง ศึกษาหาขอมูลและ/หรือรวมคนควาวิจัย สรางกระบวนการ ปฏิบัติงาน กับกลุม หนวยงาน องคกร สถาบัน ภายนอกภาควิชา หรือกระทั่งมีการผลิตผลงานตนแบบรวมโดยไดรับการอนุเคราะหจากหนวยงานดังกลาว( มีการศึกษานอกสถานที่

366 212 B ศิลปนิพนธB 10(0-20-10)B (Art Thesis)B วิชาบังคับกอน : 366 210 การฝกประสบการณวิชาชีพB : 366 211 การออกแบบเครื่องประดับ( เงื่อนไข : นักศึกษาตองผานวิชาแกนทุกรายวิชา และวิชาบังคับ จำนวนไมนอยกวา 76 หนวยกิต( คนควาและปฏิบัติการออกแบบ เพื่อนำความรูความชำนาญในดานตางๆของนักศึกษาจากรายวิชาที่ไดศึกษามาแลว ทำการศึกษาวิจัยและออกแบบเครื่องประดับ โดยวิธีการกำหนดหัวขอและสรุปพรอมทั้งเสนอผลงานการออกแบบและชิ้นงานจริง

หมวดวTชาเลือกเสรQ (สาขาวTชาการออกแบบเครW่องประดับ)366 213B การออกแบบถักทอและแฟชั่น B 3(2-2-5)B (Fashion and Weaving Design)B ประวัติของการถักทอและแฟชั่นทั้งของตะวันออกและตะวันตก รูปแบบ สมบัติ วัสดุ เทคนิคและกรรมวิธีในการถักทอ ฟอกยอม การออกแบบเพื่อการประดับตกแตง และใชประโยชนประเภทตางๆ พรอมทั้งสรางผลงาน

146

Page 149: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

366 214B การออกแบบของขวัญและของที่ระลึกB 3(2-2-5)B (Gift and Souvenir Design)B พฤติกรรมผูบริโภคที่เกี่ยวของกับความตองการในดานของขวัญ และของที่ระลึกทั้งในและตางประเทศ การคนหาอัตลักษณ เอกลักษณ ที่สามารถแปลคาเปนรูปแบบ รวมทั้งวัสดุ เทคนิคการผลิต อุปกรณ ขอจำกัดตางๆ ทั้งในดานการผลิตการตลาด การสงออก( มีการศึกษานอกสถานที่

366 215B การออกแบบอุปกรณประกอบตกแตงB 3(2-2-5)B (Accessory Design)B กระบวนการออกแบบอุปกรณประกอบเพื่อการประดับ ตกแตง เพิ่มความงาม ประโยชนใชสอย เพิ่มคุณคาแกผลิตภัณฑชนิดตางๆเชน เครื่องประดับ เครื่องแตงกาย เครื่องหนัง( มีการศึกษานอกสถานที่

366 216 B งานชางศิลปตะวันออกB 3(2-2-5)B (Oriental Artisan)B งานที่ทำลงบนวัสดุอื่นๆนอกเหนือจากทางดานโลหะภัณฑ โดยใชเทคนิคงานชางศิลปตะวันออก เชน งานแกะ งานสลัก งานดุน งานเครื่องรัก งานเครื่องเขิน งานปูนปน งานประดับมุก( มีการศึกษานอกสถานที่

366 217B การเจียระไนB 3(2-2-5)B (Gemstone Cutting)B ทฤษฏี หลักการ เทคนิค ขอจำกัด ของการเจียระไนอัญมณีชนิดตางๆ รวมทั้งวิธีการ เครื่องมืออุปกรณในการทำงานเกี่ยวกับการฝงอัญมณีที่มีความสัมพันธกับชนิดขนาด รูปแบบ ของอัญมณี( มีการศึกษานอกสถานที่

366 218B เครื่องถมB 3(2-2-5)B (Niello Ware)B ประวัติและรูปแบบวิธีการของการทำเครื่องถมเงิน ถมตะทอง ถมจุฑาธุช ขั้นตอนเทคนิค การทำยาถม ปญหาและขอจำกัดในการทำเครื่องถมและการออกแบบ การทำรูปพรรณ การลงถม หรือตะทอง การประยุกตใชในงานเครื่องประดับ

366 219B โบราณวัตถุB 3(2-2-5)B (Antiques)B คุณคาของการอนุรักษทรัพยากรดานวัฒนธรรม รูปแบบและสุนทรียภาพในบริบทรวมสมัยของโบราณวัตถุที่ผูเรียนสนใจ การคิดวิเคราะหอยางเปนตรรกะแบบนักโบราณคดี โดยการบูรณาการความรูสาขาวิชาตางๆ เพื่อสังเคราะหเปนความรอบรูในการวิเคราะหตีความโบราณวัตถุ( มีการศึกษานอกสถานที่

147

Page 150: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

366 220 B กรรมวิธีตกแตงผิวเครื่องประดับB 3(2-2-5)B (Surface Finishing on Jewelry)B ทฤษฎีและกรรมวิธีการตกแตงผิวเครื่องประดับ โดยวิธีทางกายภาพ เชน ขัด ขูด เจาะ เคาะ ดุน ขัดดาน ขัดมัน พนทราย แตงสี ฯลฯ และโดยวิธีทางเคมีไฟฟาในลักษณะการชุบ เคลือบผิว การทำสีผิวโลหะดวยวิธีเคมีไฟฟาทั้งเทคนิคเบื้องตนและชั้นสูง รวมทั้งการใชอุปกรณ วัสดุ เครื่องมือ เครื่องจักรที่เกี่ยวของในกระบวนการตกแตงผิวเครื่องประดับ

366 221B โครงการตอเนื่องจากการปฏิบัติงานวิชาชีพB 3(2-2-5)B (Training Experienced Development)( คนควา นำผลงาน ประสบการณ ที่ไดรับมาจากการฝกงานวิชาชีพ มาสรางเปนโครงงานเฉพาะสวนบุคคล และ/หรือ มีการรวมมือกับองคกร หนวยงานที่เคยฝกวิชาชีพมา( มีการศึกษานอกสถานที่

366 222 B การสงเสริมและการพัฒนาคุณภาพชีวิตดวยเครื่องประดับB 3(3-0-6)B (Support and Improving the Quality of Life with Jewelry)B กิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตและชุมชน ที่เนนการดำเนินชีวิตโดยมีความสุขเปนเปาหมายทฤษฎีปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความสัมพันธทางสังคมแบบสรางสรรคและสมานฉันท เพื่อนำไปบูรณาการเปนผลงานรูปแบบตางๆ เชน กิจกรรม โครงการ ผลิตภัณฑ หรือ ผลงานรูปแบบอื่นๆ ที่ผานกรรมวิธีในการสรางสรรคเครื่องประดับ( มีการศึกษานอกสถานที่

366 223B คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบเครื่องประดับ 1( 3(2-2-5)B (Computer Aided Jewelry Design I)B หลักการพื้นฐานในการนำคอมพิวเตอร และโปรแกรมสำเร็จรูปมาใชในงานออกแบบขบวนการประยุกตใชคอมพิวเตอรในดานการออกแบบกราฟฟค การเขียนแบบเครื่องประดับ

366 224B คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบเครื่องประดับ 2B 3(2-2-5)B (Computer Aided Jewelry Design II)B วิชาบังคับกอน : 366 222 คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบเครื่องประดับ 1( หลักการใชโปรแกรมสำเร็จรูปตอเนื่องจากรายวิชาคอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบเครื่องประดับหนึ่ง การนำไปประยุกตใช รวมทั้งการสรางขอมูลเพื่อเชื่อมกับโปรแกรมสำเร็จรูปอื่นๆ

366 225B การออกแบบบรรจุภัณฑเครื่องประดับB 3(2-2-5)B (Jewelry Packaging Design)B ความสำคัญของบรรจุภัณฑ เพื่อประโยชนใชสอยเฉพาะ คุณสมบัติของวัสดุที่ใชในการผลิต ความสวยงาม กรรมวิธีการผลิตและความสัมพันธระหวางแนวคิด ผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ เพื่อการปกปองและสงเสริมมูลคาแกเครื่องประดับ

148

Page 151: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

366 226 B เครื่องทองและเครื่องเงินไทยB 3(2-2-5)B (Thai Gold and Silver Wares)B ประวัติ รูปแบบ ลวดลาย ประเภท ชนิด การใชงาน แรงบันดาลใจ กรรมวิธีการผลิตของเครื่องเงินและเครื่องทองที่ใช และนิยมใชในประเทศไทยทั้งในลักษณะที่เปนวัฒนธรรมชาวบาน และเครื่องเงินเครื่องทองในราชสำนักหรือในกิจกรรมทางศาสนา( มีการศึกษานอกสถานที่

366 227B วัฒนธรรมและศิลปหัตถกรรมไทยB 3(2-2-5)B (Thai Culture, Art and Crafts)B ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี งานหัตถกรรมประเภทตางๆ รวมถึงภูมิปญญาชาวบานของไทย การประยุกตใชใหเหมาะสมกับความตองการของผูบริโภค( มีการศึกษานอกสถานที่

366 228B โลกแหงการออกแบบB 3(3-0-6)B (The Design World)B ผลงานออกแบบที่มีผลตอสังคม สิ่งแวดลอม การแกปญหารวมถึงกระบวนการคิดความสัมพันธของการออกแบบ ระบบเสียงและแสง สถาปตยกรรม การวางผังชุมชน แฟชั่น การออกแบบอุตสาหกรรม การออกแบบเรขศิลปและการออกแบบสื่อประเภทตางๆ การนำความรูมาประยุกตใชในการออกแบบสรางสรรคผลงานใหเหมาะสมกับความตองการของมนุษยและสังคม

366 229B ศิลปะและการออกแบบแกวB 3(2-2-5)B (Glass Art and Design)B สมบัติ กรรมวิธีการผลิต เทคนิคในการขึ้นรูปเครื่องแกว ทั้งโดยแรงคนและเครื่องจักร การใชประโยชน ขอจำกัดของแกว รวมทั้งการออกแบบและสรางผลิตภัณฑจากแกวทั้งในลักษณะผลงานศิลปะและลักษณะที่มีประโยชนใชสอย

366 230 B เครื่องประดับกับสภาวะแวดลอมโลกB 3(3-0-6)B (Jewelry and Global Environment)B การคิดและสรางสรรคผลงานเครื่องประดับในรูปแบบและเนื้อหาตางๆ ที่สอดคลองกับเหตุการณของโลกในยุคปจจุบัน โดยเนนถึงกระแสสภาวะโลกรอน แนวความคิด ผลกระทบ วิธีการนำเสนอการใชวัสดุ กระบวนการตางๆ ที่จะสรางสรรคผลงาน โครงการ กิจกรรม ที่สอดคลองกับสภาวะการณของสิ่งแวดลอมโลก( มีการศึกษานอกสถานที่

366 231B โครงการศึกษาสวนบุคคล 1B 3(2-2-5)B (Individual Project I)B วิชาบังคับกอน : 366 202 วิธีวิจัยและการจัดสัมมนา( เรื่องที่เกี่ยวของกับการออกแบบเครื่องประดับอัญมณี หรือการออกแบบเครื่องประดับอัญมณี หรือโลหะภัณฑหรือเรื่องอื่นที่สามารถนำไปประยุกตใชในแงที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาได โดยความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษาและภาควิชาฯ( มีการศึกษานอกสถานที่

149

Page 152: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

366 232 B โครงการศึกษาสวนบุคคล 2B 3(2-2-5)B (Individual Project II)B วิชาบังคับกอน : 366 231 โครงการศึกษาสวนบุคคล 2( การนำผลการศึกษาเรื่องที่เกี่ยวของกับการออกแบบหรือการผลิตเครื่องประดับอัญมณี หรือโลหะภัณฑ หรือเรื่องอื่นที่สามารถนำไปประยุกตใชในสาขาที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาได มาทำการออกแบบโดยความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษาและภาควิชาฯ

366 233B เรื่องเฉพาะทางการออกแบบเครื่องประดับ 1B 3(2-2-5)B (Selected Topic in Jewelry Design I)B ศึกษาคนควาเรื่องที่นาสนใจในดานการออกแบบเครื่องประดับและหรืออัญมณี

366 234B เรื่องเฉพาะทางการออกแบบเครื่องประดับ 2B 3(2-2-5)B (Selected Topic in Jewelry Design II)B วิชาบังคับกอน : 366 233 เรื่องเฉพาะทางการออกแบบเครื่องประดับ 1B ศึกษาคนควาเรื่องที่นาสนใจในดานอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องประดับและอัญมณี( มีการศึกษานอกสถานที่

366 235B การบมเพาะธุรกิจเครื่องประดับB 3(2-2-5)B (Incubation Model of Jewelry Business)B การสรางแผนธุรกิจเครื่องประดับ และการปฏิบัติจริง การทดลองดำเนินธุรกิจ ตั้งแตการสำรวจตลาด การคนหานวัตกรรมในผลิตภัณฑ การสรางกระบวนการผลิต กระบวนการบริการที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ และกิจกรรมที่เกี่ยวของอื่นๆ เชน การเจรจาตอรองทางธุรกิจ ธุรกิจเดินพลอย ธุรกิจนายหนา เปนตน( มีการศึกษานอกสถานที่

366 236 B เครื่องประดับกับวิถีชีวิตอาเซียนB 3(3-0-6)B (Jewelry and Asian Lifestyle)B การเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตในอาเซียนที่ไดรับผลกระทบจากขอตกลงการคาเสรีอาเซียน ประวัติศาสตรรวมของสมาชิกอาเซียน ประเด็นความเหมือนและแตกตาง ความรวมมือและขอขัดแยงที่สำคัญ ความรู ความเขาใจในแนวคิดการดำเนินนโยบายอาเซียนโดยเฉพาะเรื่องที่สงผลตอวิชาชีพการออกแบบเครื่องประดับ

วTชาเฉพาะ (สาขาวTชาการออกแบบเครW่องแตงกาย)367 101B การออกแบบสิ่งทอ 1B 3 (2-2-5)B (Textile Design I)( รูปแบบลายผาพิมพ และผาทอ หลักการออกแบบลาย การปฏิบัติงานออกแบบตามกระบวนการในงานอาชีพ และระบบการผลิตเพื่ออุตสาหกรรม

150

Page 153: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

367 102 B การออกแบบสิ่งทอ 2B 3 (2-2-5)B (Textile Design II)B วิชาบังคับกอน : 367 101 การออกแบบสิ่งทอ 1( รูปแบบลายและการทอ การประยุกต ตอลายผา การประดิษฐลายผาแบบตางๆ เพื่อสรางสรรคผลงานประกอบการตัดเย็บ และปฏิบัติงานสรางสรรคใหเกิดลวดลายตามแนวคิดในการออกแบบที่ตอเนื่องและสามารถผลิตไดจริง

367 103B การออกแบบเครื่องแตงกาย 1B 3 (2-2-5)B (Fashion Design I)( หลักการออกแบบเครื่องแตงกายขั้นพื้นฐาน แรงบันดาลใจและแนวคิดการออกแบบ การเลือกใชผาและวัสดุตกแตง โครงสี การเขียนโครงรางแพตเทิรน และการสรางมูดบอรดเพื่อการนำเสนอผลงาน

367 104B การออกแบบเครื่องแตงกาย 2 B 3 (2-2-5)B (Fashion Design II)( วิชาบังคับกอน : 367 103 การออกแบบเครื่องแตงกาย 1( การปฏิบัติงานออกแบบเครื่องแตงกายในลักษณะคอลเล็คชั่น และนำเสนอแนวทางเฉพาะบุคคลในการออกแบบ

367 105B การสรางแพตเทิรน 1B 3 (2-2-5)B (Pattern making I)( โครงสรางของเครื่องแตงกายสตรี การสรางแพตเทิรนขั้นพื้นฐาน การวิเคราะหแบบเสื้อ การเลือกใชวิธีการและเทคนิคที่เหมาะสมกับการสรางแพตเทิรนตามแบบ

367 106 B การสรางแพตเทิรน 2B 3 (2-2-5)B (Pattern making II)( วิชาบังคับกอน : 367 105 การสรางแพตเทิรน 1 ( การสรางแพตเทิรนขั้นสูง แพตเทิรนสตรีและบุรุษ รวมถึงแพตเทิรนระบบอุตสาหกรรมและแพตเทิรนรายบุคคล

367 107B เทคนิคการตัดเย็บ 1B 3 (2-2-5)B (Construction Techniques I)( เทคนิคการตัดเย็บเครื่องแตงกายขั้นพื้นฐาน เพื่อนำไปประยุกตใชกับการปฏิบัติงานเฉพาะตน

367 108B เทคนิคการตัดเย็บ 2B 3 (2-2-5)B (Construction Techniques II)B วิชาบังคับกอน : 367 107 เทคนิคการตัดเย็บ 1 ( เทคนิคการตัดเย็บเครื่องแตงกายขั้นสูง การวางแผนขั้นตอนการตัดเย็บที่เหมาะสมกับ การสรางสรรคผลงานการออกแบบเฉพาะตน(

151

Page 154: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

367 109B ประวัติศาสตรศิลปะเครื่องแตงกายB 3 (2-2-5)B (Fashion Design History)( ประวัติความเปนมา ความเชื่อตางๆ ของการแตงกาย และวิวัฒนาการของวัสดุ รูปแบบเครื่องแตงกายทั้งในสังคมตะวันตก ตะวันออก และสังคมไทย การฝกปฏิบัติดวยการคัดลอกและปฏิบัติตามโจทย

367 110 B คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบเครื่องแตงกายB 3 (2-2-5)B (Computer for Fashion Design)( การออกแบบเครื่องแตงกายดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรกราฟก

367 111B การพิมพผาเพื่องานแฟชั่นB 3 (2-2-5)B (Print for Fashion)B เทคนิคในการพิมพรูปแบบตางๆ ที่สอดคลองกับการใชผาสำหรับเครื่องแตงกายแตละประเภท

367 112 B ภาพประกอบในงานแฟชั่นB 3 (2-2-5)B (Fashion Illustration)B การสรางแนวทางการนำเสนอภาพในงานแฟชั่นลักษณะตางๆ เพื่อสงเสริมลักษณะที่โดดเดนในงานออกแบบ และการสรางสรรคจินตนาการ โดยสามารถนำเอาเทคนิควิธีตางๆมาใชในงานสรางภาพประกอบ

367 201B การออกแบบเครื่องแตงกาย 3B 4 (2-4-6)B (Fashion Design III)( วิชาบังคับกอน : 367 104 การออกแบบเครื่องแตงกาย 2( การปฏิบัติงานออกแบบเครื่องแตงกาย ที่ถายทอดจากจินตนาการ ความคิดสรางสรรค และมีบุคลิกโดดเดนเฉพาะตัว

367 202 B การออกแบบเครื่องแตงกาย 4B 4 (2-4-6)B (Fashion Design IV)( วิชาบังคับกอน : 367 201 การออกแบบเครื่องแตงกาย 3( การปฏิบัติงานออกแบบเครื่องแตงกายขั้นสูง โดยคำนึงถึงความสอดคลองกับความตองการของกลุมเปาหมาย

367 203B แพตเทิรนสรางสรรคB 3 (2-2-5)B (Creative Pattern making)B วิชาบังคับกอน : 367 106 การสรางแพตเทิรน 2( เทคนิคและวิธีการสรางแพตเทิรน และการตัดเย็บตามความคิดสรางสรรคเฉพาะบุคคล การออกแบบและทดลองสรางแพตเทิรนในลักษณะสามมิติ

152

Page 155: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

367 204B วัสดุในงานออกแบบเครื่องแตงกายB 2 (2-0-4)B (Material for Fashion Design)B วัสดุตางๆ ที่นำมาใชในงานออกแบบเครื่องแตงกายทั้งคุณสมบัติการใชงาน และการแปรรูปในลักษณะตางๆ เชน การใหสี สรางรูปทรง และการประยุกตใชเพื่อสรางงานที่มีเอกลักษณและบุคลิกเฉพาะตัว

367 205B การออกแบบพื้นผิวB 3 (2-2-5)B (Surface Design)B เทคนิคในการสรางสรรคงานพื้นผิวแบบตาง ๆ ที่สามารถเชื่อมโยงกับศาสตรการออกแบบ เครื่องแตงกาย

367 206 B การออกแบบเครื่องแตงกายลักษณะไทยB 3 (2-2-5)B (Fashion Design in Thai Style)( ประวัติความเปนมาของการแตงกายไทยในอดีต การนำมาประยุกต เพื่อการออกแบบรวมสมัย

367 207B การออกแบบสิ่งประดับB 3 (2-2-5)B (Accessory Design)( การออกแบบเครื่องประดับ สำหรับใชประกอบงานเครื่องแตงกาย

367 208B การตลาดและการจัดการธุรกิจแฟชั่นB 3 (2-2-5)B (Fashion Marketing and Management)B กระบวนการทางการตลาดแฟชั่น การสรางตราสินคา ปจจัยทางธุรกิจ รวมถึงระบบการจัดการและบริหารธุรกิจในดานสินคาแฟชั่น ทั้งในระดับประเทศและระดับตางประเทศ

367 209B แฟชั่นระบบอุตสาหกรรมB 3 (2-2-5)B (Apparel Clothing Industry)( การสรางตราสินคาแฟชั่นในเชิงอุตสาหกรรม และการนำแนวโนมแฟชั่นไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานจริง โดยผานกระบวนการทางความคิดอยางเปนระบบ

367 210 B การประสานงานและนำเสนอผลงานแฟชั่นB 2 (1-2-3)B (Fashion Coordination and Presentation)( การประสานงานและนำเสนอผลงานแฟชั่น เพื่อสรางความเขาใจในองคประกอบที่หลากหลายในการสรางสรรค และเผยแพรผลงานการออกแบบในรูปแบบตาง ๆ

153

Page 156: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

367 211B การฝกประสบการณวิชาชีพB 2* (ไมนอยกวา 180 ชั่วโมง)B (Practical Training)( เงื่อนไข : ตองลงทะเบียนเรียนมาแลวไมนอยกวา 6 ภาคการศึกษาปกติ( : ฝกงานในสถานประกอบการ หนวยงาน องคกร โครงการที่เกี่ยวของกับการออกแบบ( เครื่องแตงกาย ทั้งนี้โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจำหลักสูตร( : วัดผลโดย S กับ U(( บูรณาการและประยุกตความรูกับการปฏิบัติงานวิชาชีพ การแกปญหา การใชขีวิตและการปรับตัวเขากับวัฒนธรรมองคกร ธรรมเนียมและระเบียบปฏิบัติวิชาชีพMark

367 212 B การเตรียมการศิลปนิพนธB 4 (2-4-6) B (Art Thesis Preparation) ( เลือกโครงการเพื่อเสนอเปนศิลปนิพนธ เก็บรวบรวม เรียบเรียง และวิเคราะหขอมูล ศึกษาปญหาและแนวทางแกปญหาตามกระบวนการวิจัย พรอมทั้งเสนอแบบรางของโครงการ เพื่อใชประกอบในการทำศิลปนิพนธตอไป

367 213B แฟชั่นสไตลลิ่งB 3 (2-2-5)B (Fashion Styling)( รูปแบบแนวโนมแฟชั่น และการปฏิบัติงานดานแฟชั่นสไตลลิ่ง เพื่อนำไปประยุกตใชในการนำเสนอผลงานแฟชั่นและแฟชั่นโชว

367 214B ศิลปนิพนธB 10 (0-20-10)B (Art Thesis)( เงื่อนไข : นักศึกษาตองผานรายวิชาแกนทุกรายวิชา และผานวิชาบังคับ จำนวนไมนอยกวา ( 70 หนวยกิต( การรวบรวมและวิเคราะหขอมูล กระบวนการออกแบบอยางเปนขั้นตอน รวมถึงการนำเสนอ และการจัดแสดงผลงานโดยการนำเสนอโครงงานสวนบุคคล และฝกปฏิบัติงานออกแบบภายใตการดูแลของอาจารยที่ปรึกษา

367 215B การถักB 3 (2-2-5)B (Knitwear)B เทคนิควิธี และอุปกรณ การใชเครื่องมือเพื่อผลิตงานถัก เพื่อใหไดผลงานออกแบบตามความคิดสรางสรรค

367 216 B การทอB 3 (2-2-5)B (Weaving)B เทคนิควิธี และอุปกรณ การใชเครื่องมือเพื่อผลิตงานทอ เพื่อใหไดผลงานออกแบบตามความคิดสรางสรรค

154

Page 157: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

หมวดวTชาเลือกเสรQ (สาขาวTชาการออกแบบเครW่องแตงกาย)367 217B โครงการศึกษาสวนบุคคลB 2 (1-2-3)B (Individual Project)B โครงการศึกษาและวิจัยดวยตนเองที่เกี่ยวของกับการออกแบบเครื่องแตงกาย โดยความเห็นชอบของอาจารยผูควบคุมรายวิชา เขาใจถึงขั้นตอนและระเบียบวิธีการทำงานอยางเปนระบบ นำเสนอองคความรูที่ไดจากการศึกษา

367 218B การออกแบบเครื่องหนังในงานแฟชั่น B 2 (1-2-3)B (Leather Design in Fashion)( ลักษณะและคุณสมบัติของหนังประเภทตางๆ เพื่อการประยุกตใชในงานออกแบบตามความคิดสรางสรรค

367 219B ชุดชั้นในและชุดวายน้ำขั้นพื้นฐานB 2 (1-2-3)B (Basic Lingerie and Swimwear)B วิชาบังคับกอน : 367 106 การสรางแพตเทิรน 2B การออกแบบ และการตัดเย็บชุดชั้นในและชุดวายน้ำขั้นพื้นฐาน

367 220 B การถายภาพแฟชั่นB 2 (1-2-3)B (Fashion Photography)B หลักการและการปฏิบัติการขั้นพื้นฐานในการถายภาพแฟชั่น การใชอุปกรณถายภาพเบื้องตน หลัก

การจัดภาพ และการศึกษาองคประกอบของการถายภาพแบบแฟชั่น

367 221B การออกแบบเครื่องแตงกายสำหรับการแสดงB 2 (1-2-3)B (Costume Design for Performing Arts)B การออกแบบเครื่องแตงกายสำหรับการแสดงประเภทตางๆ

367 222 B ภาษาอังกฤษในงานออกแบบเครื่องแตงกายB 2 (1-2-3)B (English for Fashion Design)B นิยามศัพทและเนื้อหาทางเทคนิคในสาขาวิชาการออกแบบเครื่องแตงกาย เพื่อนำไปใชประโยชนในการศึกษาคนควาตอไป

155

Page 158: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ศาสตราจารยศิลป พีระศร0ภาพถายโดย อวบ สาณะเสน

156

Page 159: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

ภาคผนวก

157

Page 160: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

1. รูปแบบของหลักสูตรB 1.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ป( 1.2 ภาษาที่ใช ภาษาไทย( 1.3 การรับเขาศึกษา รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาตางชาติที่สามารถใชภาษาไทยไดดี( 1.4 ความรวมมือกับสถาบันอื่น เปนหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยศิลปากร( 1.5 การใหปริญญาแกผูสำเร็จการศึกษา ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

2. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 เริ่มเปดสอนภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2555คณะกรรมการวิชาการใหความเห็นชอบในการประชุมครั้งที่ 4/2555 วันที่ 23 กุมภาพันธ พ.ศ.2555สภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 4/2555 วันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2555

3. รหัสวิชาB กำหนดไวเปนเลข 6 หลักโดยแบงออกเปนสองกลุม กลุมละสามหลัก( เลขสามหลักแรก เปนเลขประจำหนวยงานที่รับผิดชอบรายวิชานั้นๆ ดังนี้( ( 081-084( มหาวิทยาลัยศิลปากร( ( 360( ( คณะมัณฑนศิลป( ( 361( ( ภาควิชาออกแบบตกแตงภายใน( ( 362( ( ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป( ( 363( ( ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ( ( 364( ( ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา( ( 365( ( ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา( ( 366( ( ภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ( ( 367( ( ภาควิชาการออกแบบเครื่องแตงกาย( เลขสามหลักหลัง เปนเลขบอกรหัสวิชา ดังนี้( ( เลขตัวแรก( 1 หมายถึง ระดับชั้นปที่ 1-2( ( ( ( 2 หมายถึง ระดับชั้นปที่ 3-4( ( เลขตัวที่สองและสาม หมายถึง ลำดับที่ของรายวิชา

4. หนวยกิต( การเขียนหนวยกิตในรายวิชาตาง ๆ ประกอบดวยเลข 4 ตัวคือ( ( เลขตัวแรกอยูนอกวงเล็บ เปนจำนวนหนวยกิตของรายวิชานั้น( ( เลขตัวที่สอง สาม และสี่ อยูในวงเล็บบอกโดยมีความหมาย ดังนี้( ( ( เลขตัวที่สองบอกจำนวนชั่วโมงบรรยายตอสัปดาห( ( ( เลขตัวที่สามบอกจำนวนชั่วโมงปฏิบัติตอสัปดาห( ( ( เลขตัวที่สี่บอกจำนวนชั่วโมงศึกษานอกเวลาตอสัปดาห

5. การลงทะเบียน( นักศึกษาตองลงทะเบียนดวยตนเองทางอินเตอรเนตที่ www.reg.su.ac.th เทานั้น( กองบริการการศึกษา( วังทาพระ โทร. 02 623 6115, 02 221 3903( ( ( ( ( พะราชวังสนามจันทร โทร. 034 255 750-1 ( งานบริการการศึกษา คณะมัณฑนศิลป โทร. 02 221 5874 (คุณภาวนา ใจประสาท)

158

Page 161: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University
Page 162: Bachelor of Fine Arts, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University