Aw Brochure

2
วิกฤตการศึกษา วิกฤตประเทศ การศึกษาเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่สร้างโอกาสความมั่นคงในชีวิตเมื่อประชาชนมีความรู้ความสามารถย่อมเป็น พลังขับเคลื่อนประเทศอย่างแท้จริง กระแสโลกาภิวัตน์นำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมโดยเฉพาะการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี2558 อย่างไรก็ตามผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของประเทศไทยระบุว่า เด็กเยาวชนไทยกำลังเผชิญกับคุณภาพการศึกษา ที่ลดต่ำลง สวนทางกับงบประมาณที่รัฐลงทุนมากถึง 1 ใน 4 ของงบประมาณแผ่นดิน โดยสหประชาชาติ รายงานว่าประเทศไทยใช้จ่ายเพื่อการศึกษาสูงติดอันดับที่2ของโลก • ผลการศึกษาตามมาตรฐานสากลของ PISA/TIMMS พบว่า คะแนนเฉลี่ยของเด็กไทยต่ำกว่ามาตรฐาน ในทุกวิชาตลอดช่วงทศวรรษที่ผ่านมาสะท้อนความล้มเหลวและขาดประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา • เด็กและเยาวชนอายุ 6-17 ปีจำนวนมากถึง 5 ล้านคน (มากกว่าร้อยละ 30) ยังขาดโอกาสทางการศึกษา ประชาชนวัยแรงงานมีฝีมือระดับต่ำมีจำนวนกว่า8ล้านคนโดยมีแนวโน้มจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น • WorldEconomicForum2012ลดอันดับประเทศไทยด้านคุณภาพระบบการศึกษาลง11อันดับโดยอยูลำดับที่77จาก142ประเทศขณะที่ลดระดับการแข่งขันรวมของประเทศไทยลงหนึ่งอันดับอยู่ที่39ตาม หลังสิงคโปร์ มาเลเซีย และบรูไน ดังนั้น การศึกษาจึงเป็นองค์ประกอบที่ถ่วงดึงขีดความสามารถของ ประเทศ • สถาบัน IMD (Institute of Management Develop-ment) ประกาศผลความสามารถในการแข่งขันปี 2012 โดยประเทศ ไทยมีคะแนนรวมได้อันดับที่ 30 จาก 59 ประเทศที่เข้าร่วม ตกต่ำลงไป 3 อันดับจากปีท่แล้ว โดยเฉพาะคะแนนด้านการ ศึกษาเป็นตัวถ่วงคะแนนรวมของไทยโดยอยู่อันดับที่52 • ผลการศึกษาของธนาคารโลก (2012) ดรรชนีเศรษฐกิจบนฐาน ความรู้(KnowledgeEconomyIndex:KEI)ของไทยปรับตัว ลดลงในช่วง 10 ปีท่ผ่านมาจากอันดับที่ 54 (ปี 2543) เป็น อันดับ63(ในปี2552)สาเหตุหลักมาจากปัจจัยการศึกษาและ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในสภาวะแห่งการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการทางเทคโนโลยีที่รวดเร็ว ตลอดจนบริบททางเศรษฐกิจ สังคมที่ซับซ้อนขึ้น กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานรัฐย่อมต้องรับภาระอันหนักอึ้ง องค์การยูนิเซฟ เป็นหน่วยหนึ่งที่เรียกร้องให้สังคมทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมจัดการศึกษาแก่คนทั้งมวล(Education forAll-AllforEducation) สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน(สสค.) จัดตั้งขึ้นตามระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณภาพเยาวชน พ.ศ.2553 มีภารกิจ ในการ “เชื่อมช่วย” สร้างเครือข่ายส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ผ่านภาคท้องถิ่นภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการและภาคประชาสังคม โดยมีเป้าหมายสำคัญคือ ส่งเสริมสังคมไทยให้เป็น สังคมแห่งการเรียนรู้ (Learning Society) ทุกภาคส่วนร่วมกันสร้าง “สังคมแห่งการเรียนรู้” เพื่อนร่วมเดินทาง สร้าง “สังคมแห่งการเรียนรู้” นับตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน 2553 สสค.ได้ดำเนินงานภายใต้ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ ส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน พ.ศ.2553 คณะกรรมการส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นรองประธานคนที่หนึ่ง ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร ผู้ทรงคุณวุฒิอิสระ เป็นรองประธานคนที่สองพร้อมด้วยคณะกรรมการจากหลายภาคส่วนทางสังคมโดยมี นพ.สุภกร บัวสาย อดีตผู้ร่วมก่อนตั้งและผู้จัดการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพในฐานะกรรมการและ เลขานุการ ระยะเวลาสองปีท่ผ่านมา สสค.ได้สร้าง “พันธมิตร” ทางการศึกษา เพื่อขยายเครือข่ายการสร้างสังคม แห่งการเรียนรู้จากทุกภาคส่วนโดยมีสมาชิกสสค.ร่วมปณิธานร่วมขบวนการแล้วจำนวนมากกว่า30,000คน ร่วมสนับสนุน สสค. การปฏิรูปการศึกษาจำเป็นต้องดำเนินงานต่อเนื่องไปในระยะยาว โดยกลไกเชื่อมช่วยแบบสสค.จะยั่งยืนและ ขับเคลื่อนเต็มรูปเต็มกำลังได้ก็ด้วยการที่รัฐสภาจะเห็นชอบกับ ร่างพ.ร.บ.กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม คุณภาพการเรียนรู้พ.ศ…. สสค.จะเป็นตัว “เชื่อมช่วย”ทุกภาคส่วนในสังคมเพื่อร่วมกันพัฒนาเด็กเยาวชนและประชาชนไทยในยุคใหม่ ไปสู่เป้าหมายการศึกษาที่มีคุณภาพ เป่ยมประสิทธิภาพ ปราศจากความเหลื่อมล้ำ “ทุกคนสามารถร่วมกันสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้เพื่อคนทั้งมวล” (ALLforEducation-EducationforAll) สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน(สสค.) QualityLearningFoundation(QLF) เลขที่388ชั้น13ตึกไอบีเอ็มอาคารเอถ.พหลโยธินแขวงสามเสนในเขตพญาไทกรุงเทพมหานคร10400 โทร:+66(0)2619-1811แฟกซ์:+66(0)2619-1812 ติดตามความเคลื่อนไหว“สสค.”ได้ที่www.QLF.or.th Facebook:QualityLearningFoundationและTwitter:@qlfthailand สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรูและคุณภาพเยาวชน (สสค.)

Transcript of Aw Brochure

Page 1: Aw Brochure

วิกฤตการศึกษา วิกฤตประเทศ

การศึกษาเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่สร้างโอกาส ความมั่นคงในชีวิต เมื่อประชาชนมีความรู้ความสามารถย่อมเป็น

พลังขับเคลื่อนประเทศอย่างแท้จริง กระแสโลกาภิวัตน์นำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง

และวัฒนธรรม โดยเฉพาะการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558

อย่างไรก็ตามผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของประเทศไทยระบุว่า เด็กเยาวชนไทยกำลังเผชิญกับคุณภาพการศึกษา

ที่ลดต่ำลง สวนทางกับงบประมาณที่รัฐลงทุนมากถึง 1 ใน 4 ของงบประมาณแผ่นดิน โดยสหประชาชาติ

รายงานว่าประเทศไทยใช้จ่ายเพื่อการศึกษาสูงติดอันดับที่ 2 ของโลก

• ผลการศึกษาตามมาตรฐานสากลของ PISA/TIMMS พบว่า คะแนนเฉลี่ยของเด็กไทยต่ำกว่ามาตรฐาน

ในทุกวิชาตลอดช่วงทศวรรษที่ผ่านมา สะท้อนความล้มเหลวและขาดประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา

• เด็กและเยาวชนอายุ 6-17 ปีจำนวนมากถึง 5 ล้านคน (มากกว่าร้อยละ 30) ยังขาดโอกาสทางการศกึษา

ประชาชนวยัแรงงานมฝีมีอืระดบัตำ่มจีำนวนกวา่ 8 ลา้นคน โดยมแีนวโนม้จะมจีำนวนเพิม่มากขึน้

• World Economic Forum 2012 ลดอันดับประเทศไทยด้านคุณภาพระบบการศึกษาลง 11 อันดับ โดยอยู่

ลำดับที่ 77 จาก 142 ประเทศ ขณะที่ลดระดับการแข่งขันรวมของประเทศไทยลงหนึ่งอันดับอยู่ที่ 39 ตาม

หลังสิงคโปร์ มาเลเซีย และบรูไน ดังนั้น การศึกษาจึงเป็นองค์ประกอบที่ถ่วงดึงขีดความสามารถของ

ประเทศ

• สถาบัน IMD (Institute of Management Develop-ment)

ประกาศผลความสามารถในการแข่งขันปี 2012 โดยประเทศ

ไทยมีคะแนนรวมได้อันดับที่ 30 จาก 59 ประเทศที่เข้าร่วม

ตกต่ำลงไป 3 อันดับจากปีที่แล้ว โดยเฉพาะคะแนนด้านการ

ศึกษาเป็นตัวถ่วงคะแนนรวมของไทยโดยอยู่อันดับที่ 52

• ผลการศึกษาของธนาคารโลก (2012) ดรรชนีเศรษฐกิจบนฐาน

ความรู ้ (Knowledge Economy Index: KEI) ของไทยปรับตัว

ลดลงในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาจากอันดับที่ 54 (ปี 2543) เป็น

อันดับ 63 (ในปี 2552) สาเหตุหลักมาจากปัจจัยการศึกษาและ

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ในสภาวะแห่งการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการทางเทคโนโลยีที่รวดเร็ว ตลอดจนบริบททางเศรษฐกิจ

สังคมที่ซับซ้อนขึ้น กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานรัฐย่อมต้องรับภาระอันหนักอึ้ง องค์การยูนิเซฟ

เป็นหน่วยหนึ่งที่เรียกร้องให้สังคมทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมจัดการศึกษาแก่คนทั้งมวล (Education

for All - All for Education)

สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) จัดตั้งขึ้นตามระเบียบ

สำนกันายกรฐัมนตรวีา่ดว้ยการสง่เสรมิสงัคมแหง่การเรยีนรู ้ และคณุภาพเยาวชน พ.ศ.2553 มีภารกิจ

ในการ “เชื่อมช่วย” สร้างเครือข่ายส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ ผ่านภาคทอ้งถิน่ ภาครฐั

ภาคเอกชน ภาควิชาการและภาคประชาสังคม โดยมีเป้าหมายสำคัญคือ ส่งเสริมสังคมไทยให้เป็น

สังคมแห่งการเรียนรู้ (Learning Society)

ทุกภาคส่วนร่วมกันสร้าง “สังคมแห่งการเรียนรู้”

เพื่อนร่วมเดินทาง สร้าง “สังคมแห่งการเรียนรู้”

นับตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน 2553 สสค.ได้ดำเนินงานภายใต้ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ

ส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน พ.ศ.2553

คณะกรรมการส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน

รฐัมนตรวีา่การกระทรวงศกึษาธกิาร เปน็รองประธานคนทีห่นึง่ ดร.กฤษณพงศ ์กรีตกิร ผูท้รงคณุวฒุอิสิระ

เป็นรองประธานคนที่สอง พร้อมด้วยคณะกรรมการจากหลายภาคส่วนทางสังคม โดยมี นพ.สุภกร บัวสาย

อดีตผู้ร่วมก่อนตั้งและผู้จัดการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ในฐานะกรรมการและ

เลขานุการ

ระยะเวลาสองปีที่ผ่านมา สสค.ได้สร้าง “พันธมิตร” ทางการศึกษา เพื่อขยายเครือข่ายการสร้างสังคม

แห่งการเรียนรู้จากทุกภาคส่วน โดยมีสมาชิกสสค.ร่วมปณิธานร่วมขบวนการแล้วจำนวนมากกว่า 30,000 คน

ร่วมสนับสนุน สสค.

การปฏิรูปการศึกษาจำเป็นต้องดำเนินงานต่อเนื่องไปในระยะยาว โดยกลไกเชื่อมช่วยแบบสสค.จะยั่งยืนและ

ขับเคลื่อนเต็มรูปเต็มกำลังได้ก็ด้วยการที่รัฐสภาจะเห็นชอบกับ ร่างพ.ร.บ.กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม

คุณภาพการเรียนรู้ พ.ศ….

สสค.จะเปน็ตวั “เชื่อมช่วย” ทกุภาคสว่นในสงัคม เพือ่รว่มกนัพฒันาเดก็เยาวชนและประชาชนไทยในยคุใหม ่

ไปสู่เป้าหมายการศึกษาที่มีคุณภาพ เปี่ยมประสิทธิภาพ ปราศจากความเหลื่อมล้ำ

“ทุกคนสามารถร่วมกันสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้เพื่อคนทั้งมวล” (ALL for Education - Education for All)

สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) Quality Learning Foundation (QLF) เลขที่ 388 ชั้น 13 ตึกไอบีเอ็ม อาคาร เอ ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทร: +66 (0)2619-1811 แฟกซ์: +66 (0)2619-1812 ติดตามความเคลื่อนไหว “สสค.” ได้ที่ www.QLF.or.th Facebook: Quality Learning Foundation และ Twitter: @qlfthailand

สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

Page 2: Aw Brochure

สสค.คือ ผู้ช่วยกระทรวงศึกษาธิการร่วมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ วิสัยทัศน์เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สสค.เน้นการ “สร้างคุณภาพ เพิ่มประสิทธิภาพ และลดความเหลื่อมล้ำ” ซึ่งนำประสบการณ์จาก

องค์กรนวัตกรรม คือ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กับยุทธศาสตร์ “สร้างนำซ่อม” เข้ามาปฏิรูปด้านสุขภาพ

เปน็ตน้แบบในการขบัเคลือ่น สสค. (หรอือาจเรยีกวา่ สสส.การศกึษา) สสค.จงึเปน็อกีหนึง่หนว่ยสง่เสรมิ สนบัสนนุ กระทรวงศกึษาธกิาร ผูร้บัผดิชอบหลกั

ของการปฏริปูการศกึษา โดยการสนบัสนนุโครงการนวตักรรม และกจิกรรม ทีเ่ปดิโอกาสให ้“ผูเ้รยีน” และ “ผูส้อน” ไดค้ดิคน้ “นวตักรรมและองคค์วามรู”้

ที่สอดคล้องกับความต้องการในท้องถิ่น ในปี 2554-2555 มีกิจกรรมกระจายอยู่ทั่วประเทศ ดังนี้

1. สร้างคุณภาพ คือ การสนับสนุนและพัฒนาการกระบวนการเรียนรู้ โดย สสค.ส่งเสริมโครงการที่ริเริ่ม โดยครู นักเรียน โรงเรียน ชุมชนท้องถิ่น และองค์กรสาธารณประโยชน์ ร่วมคิดค้นนวัตกรรมทางการศึกษา ได้แก่

ระดับประถมศึกษาจำนวน 476 โครงการ

ระดับมัธยมศึกษา 421 โครงการ

ระดับอาชีวศึกษา 55 โครงการ

ระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาล) 35 โครงการ

3. ลดความเหลื่อมล้ำ การเพิ่มโอกาสเพื่อให้เด็กเยาวชนกลุ่มขาดโอกาสรวมถึงประชาชนกลุ่มยากลำบากเข้าถึง การเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของสังคมอย่างกว้างขวาง ได้แก่

1) พัฒนาระบบการดูแลรายกรณี (Case Management Unit: CMU) เพื่อช่วยเหลือเด็กขาดโอกาสทั้งกลุ่ม

นอกระบบและกลุ่มเสี่ยงในระบบการศึกษา ร่วมกับท้องถิ่น ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ 15 จังหวัด

ทั่วทุกภูมิภาค โดยคำนึงถึงปัญหาหลัก และปัญหาร่วมที่ส่งผลกระทบต่อเด็ก

2) การเฟ้นหา “ครูสอนดี” ในโครงการ “ครูสอนดี” จำนวน 18,871 คนทั่วประเทศ ค้นหาครูดีที่มีคุณสมบัติ

“สอนเป็น เห็นผล คนยกย่อง” คัดเลือกจากผลลัพธ์ที่ประจักษ์ต่อเด็กเยาวชนในชุมชน โดยมีคณะกรรมการ

ระดับท้องถิ่นและระดับจังหวัดทั่วประเทศกว่า 8,000 ชุดและผู้ร่วมกระบวนการหลายแสนคน ครูผู้ดูแลเด็กด้อย

โอกาสจำนวนประมาณ 549 คนจะได้รับ “ทุนครูสอนดี” ในรูปของงบประมาณโครงการจัดการเรียนรู้แก่เด็ก

เยาวชนกลุ่มเป้าหมาย

3) การพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแก่ครู ผ่านการฝึกอบรมเครือข่ายการเรียนรู้ผ่านเครือข่าย

สังคมออนไลน์ (Social Networks) และระบบสารสนเทศเพื่อดูแลเด็กเยาวชนขาดโอกาส

4) การพัฒนาชุมชนเพื่อสัมมาชีพ โดยส่วนร่วมขององค์กรปกครองท้องถิ่นในการรับบทบาทเจ้าภาพเพื่อพัฒนา

ขีดความสามารถของแรงงานพร้อมไปกับการสร้างแหล่งงานที่สอดคล้องกับศักยภาพทรัพยากรของท้องถิ่น

ทั่วประเทศในพื้นที่นำร่องจำนวน 100 ตำบล

สสค.จะก้าวต่อไป

ดว้ยผลดำเนนิงานระยะสองปแีรก สสค.ไดค้น้พบศกัยภาพของหนว่ยงานระดบัพืน้ที ่ (เชน่ สถานศกึษา

เครอืขา่ยสถานศกึษา ภาคคีวามรว่มมอืระหวา่งรฐัเอกชนในพืน้ที ่ คณะกรรมการระดบัทอ้งถิน่และระดบัจงัหวดั

เป็นต้น) สสค.จึงประมวลชุดความรู้ในภาคปฏิบัติดังกล่าวออกมาเป็นกรณีศึกษา ผ่านการเปิดเวทีปฏิรูปการ

เรียนรู้เพื่อคนทั้งมวล เป็นประจำทุกเดือน เวทีเสวนาดังกล่าวจะเป็นชนวนนำไปสู่การตระหนักถึงขีดความ

สามารถของพืน้ทีต่ลอดจนรปูธรรมการปฏริปูการเรยีนรูท้ีพ่ืน้ทีส่ามารถรเิริม่และจดัปฏบิตักิารขึน้เอง สสค.จงึมี

ยุทธศาสตร์ระยะต่อไปในการส่งเสริมขบวนการปฏิรูปการเรียนรู้ในระดับพื้นที่ให้ขยายผลอย่างมีประสิทธิภาพ

และการสกัดชุดความรู้จากปฏิบัติการ พร้อมไปกับพยายามเชื่อมประสานการสนับสนุนจากระดับนโยบาย

ต้นแบบของสสค.

นอกเหนือจากประสบการณ์จากสสส.แล้ว ยังมีต้นแบบจากหลายประเทศ

ที่ชี้ชัดว่าหน่วยงาน “สนับสนุน” ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ

และมีงบประมาณพอสมควร ลักษณะเดียวกับสสค.สามารถดำเนินงาน

และเห็นผลสัมฤทธิ์มาแล้ว ได้แก่

• กองทุนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (Quality Education Fund-QEF)

ของฮ่องกง

• องค์การมหาชนเพื่อการศึกษา สื่อและวัฒนธรรม (Education,

Audiovisuals and Culture Executive Agency-EACEA)

ของประชาคมยุโรป

• กองทุนเพื่อพัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน (The Early Childhood

Development Fund) ของรัฐควิเบก แคนาดา

• มูลนิธิบิลล์และเบลินด้าเกตส์ (Bill & Belinda Gates

Foundation) สหรัฐอเมริกา

• กองทุนไอซีทีเพื่อการศึกษา (KERIS) เกาหลีใต้

• กองทุนอุดมศึกษาแห่งชาติ อินเดีย

2. เพิ่มประสิทธิภาพ โดยในระยะเริ่มแรก สสค.ได้ศึกษาวิจัยเพื่อหาแนวทางการบริหารการจัดการงบประมาณอย่าง คุ้มค่าและมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ได้แก่

1) จัดทำชุดสวัสดิการพื้นฐาน (Benefit Package) การประมาณการค่าใช้จ่ายรายหัว (Unit Cost) และระบบ

สารสนเทศเพื่อการดูแลเด็กด้อยโอกาสนอกระบบและเด็กกลุ่มเสี่ยงในระบบการศึกษาเพื่อจัดทำข้อเสนอเชิง

นโยบายในการปฏริปูระบบการจดัสรรทรพัยากรเพือ่สรา้งหลกัประกนัทางการศกึษาใหแ้กเ่ดก็และเยาวชนไทยทกุคน

อย่างเท่าเทียมกัน

2) จัดทำบัญชีรายจ่ายทางการศึกษา (National Education Account) ด้วยความร่วมมือทางวิชาการกับ

ธนาคารโลก เพื่อสร้างเครื่องมือสำคัญที่ภาครัฐสามารถใช้ปฏิรูประบบการเงินการคลังด้านการศึกษาของประเทศ

ให้มีประสิทธิภาพ และส่งเสริมการจัดสรรทรัพยากรด้านการศึกษาเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและ

เป็นธรรม