ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice)...

48

Transcript of ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice)...

Page 1: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ
Page 2: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

ผลงานดีเดน (Best Practice) ครูผูสอนคณิตศาสตร

กลุมนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา

สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒

Page 3: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

คํานํา

การพัฒนาคุณภาพงานวิชาการโดยเฉพาะดานคณิตศาสตร ถอืวาเปนหัวใจสําคัญของการ

พัฒนาคุณภาพการศึกษาท่ีมุงเนนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูท้ังระบบให

ทันสมัยปร ับวิธีเร ียนเปลี ยนวิธีสอนให เก ิดความกาวหนาและเห็นภาพความสําเร็จของปฏิรูป

การศึกษาท่ีชัดเจนเปนรูปธรรม ปลูกฝงใหผูเรียนเปนบุคคล แหงการเรียนรู คิดวิเคราะห มีทักษะ

การดํารงชีวิต มีความเปนไทย และมั่นใจในตนเอง และการสงเสริมการ วิจัยและพัฒนา

นวัตกรรมท้ังในดานการบริหาร การจัดการเรียนรู และการนิเทศ จะเปนเคร่ืองมือสำคัญท่ีจะ

ชวยใหการพัฒนาคุณภาพการศึกษาบรรลุตามเปาหมายความสําเร็จ สําหรับปงบประมาณ 2557

โดยกลุมนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดัการศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร สํานักงาน

เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 ไดคัดเลือกผลงานนวัตกรรม (Best Practice)

คณิตศาสตรของผูสอนคณิตศาสตร ท่ีมีคุณภาพ มีคุณคาและเปนประโยชนตอการพัฒนาคุณภาพ

การศึกษา สามารถใชเปนแบบอยางได จํานวน 5 ผลงาน

ขอขอบคุณผูมีสวนรวมในการดําเนินการในคร้ังนี้ใหสําเร็จลุลวงไปดวยดี อาทิ

ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 รองผูอํานวยการ

สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 ศึกษานิเทศก และผูสอนคณิตศาสตร

ท่ีสงผลงานเขาคัดเลือกทุกทาน

หวังเปนอยางย่ิงวาผลงานท้ัง 5 ผลงาน จะเปนประโยชนแกผูท่ีสนใจและนําไปใช

ในการจัดการเรียนการสอนตอไป

ศศิธร นาคดิลก

กลุมนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา

Page 4: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

สารบัญ

เรื่อง

การพัฒนาชุดฝกทักษะการแกโจทยปญหา โดยใชรูปบารโมเดล (Bar Model)

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6……………………..

ผลการใชปญหาปลายเปดเสริมดวยวิธกีารแกปญหาของโพลยาและแบบฝกทักษะ

ตอความสามารถในการเขียนและการแกปญหาทางคณิตศาสตรของนกัเรียน

ชั้นประถมศึกษาปที่ 6…………………………………………………………………………………………..

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

เรื่อง อัตราสวนและรอยละ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2

โดยการจัดกิจกรรมการเรยีนรูแบบโครงงาน………………………………………………………….

การพัฒนาทักษะการคูณโดยใชโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณ…………………………………

การเปรยีบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิดวิเคราะห

เรื่องสถิติและความนาจะเปนเบื้องตน ระหวางกอนเรียนและ หลังเรียน

ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนอนุบาลหนองแสง

ท่ีไดรับการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการโดยใชโครงงาน………………………………………….

หนา

1

10

19

27

36

Page 5: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

ช่ือผลงาน การพัฒนาชุดฝกทักษะการแกโจทยปญหา โดยใชรูปบารโมเดล (Bar Model)

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6

ช่ือผูเสนอผลงาน นางสาวเบญจมาศ ไชยทองพันธ

โรงเรียน ผาสุกประชานุกูล กลุมเครือขายโรงเรียนวังสามหมอ 3

สังกัด สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2

โทรศัพทมือถือ 08-2854-2936 e-mail : [email protected]

1. ความสำคัญของผลงานหรือนวัตกรรมท่ีนําเสนอ

ท่ีมาและความสําคัญ และสภาพปญหา

คณิตศาสตรเปนวิชาท่ีมีความสําคัญตอมนุษยมาก ในชีวิตประจําวันของมนุษยจะเก่ียวของ

กับคณิตศาสตรอยูตลอดเวลา เชน การติดตอสื่อสาร การดูเวลา การคาขาย แมกระท่ังความกาวหนา

ทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร ลวนอาศัยคณิตศาสตรท้ังสิ้น นอกจากนี้คณิตศาสตร

ยังเปนเครื่องมือท่ีจะปลูกฝง อบรมผูเรียนใหเปนคนชางสังเกต รูจักคิดอยางมีเหตุผล เปนศาสตรท่ี

พัฒนาความคิดมนุษย สามารถคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน และสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยาง

มีความสุข ทําใหมนุษยมีความคิดสรางสรรค คิดอยางเปนระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห

ปญหาและสถานการณไดอยางถ่ีถวน รอบคอบ ทําใหสามารถคาดการณ วางแผน ตัดสินใจและ

แกปญหาไดอยางถูกตองเหมาะสม สามารถพัฒนาคนใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณ มีความสมดุลท้ังทาง

รางกาย จิตใจ สติปญญา และอารมณ

ดวยความสําคัญและความจําเปนดังกลาว ครูผูสอนจะตองหาวิธีการสอนท่ีหลากหลาย

เพ่ือใหผูเรียนบรรลุตามจุดหมายของหลักสูตรคณิตศาสตร สงผลใหผูเรียนพัฒนาความสามารถของ

นักเรียนในการใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม โดยการจัดกิจกรรม

การเรียนการสอนควรคํานึงถึงผูเรียน ใหเรียนรูอยางมีเหตุผล ใหโอกาสฝกคิด ฝกเปนผูใหเหตุผล

ฝกเขียนอธิบายถึงสิ่งท่ีนักเรียนทําเพ่ือหาคําตอบ ฝกใชเหตุผลในการอธิบายหรืออภิปราย ไดคิด

วิเคราะห ประมาณการใหเหตุผลของผู อ่ืน รูจักใชเหตุผลเปนเครื่องมือสําหรับตรวจสอบหรือ

พิจารณาใหถูกตอง อาศัยการใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลและมีความสุขในการเรียน

เกิดความอยากรูอยากเรียนทําใหผูเรียนมีเจตคติท่ีดีตอการเรียน ซ่ึงจะทําใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดดี

มีความเขาใจและสนใจในการเรียน ซ่ึงจะสงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน สภาพการเรียนการสอน

คณิตศาสตรในปจจุบัน พบวา นักเรียนสวนหนึ่งไมเกิดทักษะ และไมสามารถท่ีจะปฏิบัติกิจกรรม

ทางคณิตศาสตรไดบรรลุตามวัตถุประสงค และไมสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวัน โดยเฉพาะการ

แกโจทยปญหา ซ่ึงเปนกระบวนการท่ีใชคนหาคําตอบ ทําใหนักเรียนรูจักวางแผนเกิดความคิดรวบ

ยอด มีทักษะการคิดคํานวณใชหลักการ กฎ หรือสูตร ท่ีนักเรียนไดเรียนไปแลวมาประยุกตใชให

Page 6: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

เหมาะสมกับปญหานั้นๆ ท้ังนี้สาเหตุท่ีทําใหนักเรียนไมสามารถโจทยปญหาคณิตศาสตรไดนั้น มาจาก

วิธีการจัดการเรียนการสอนการแกโจทยปญหาคณิตศาสตรในรูปแบบเดิมท่ีผานมาเปนวิธีการท่ีเปน

นามธรรม กลาวคือ เริ่มตนดวยการเขียนสิ่งท่ีโจทยกําหนดมาให และสิ่งท่ีโจทยตองการใหหา

จากนั้นเลือกตัวดําเนินการหาคําตอบ ซ่ึงวิธีการแกโจทยปญหาในรูปแบบนี้คอนขางยากตอการทํา

ความเขาใจของนักเรียนในระดับประถมศึกษา เพราะเปนวิธีการแกโจทยปญหาคณิตศาสตรท่ีใช

ภาษาท่ีเปนขอความอธิบายความสัมพันธของขอมูลในโจทยปญหาท่ีมีลักษณะเปนขอความเชนกัน

สงผลใหนักเรียนมองไมเห็นภาพของความสัมพันธของขอมูลในโจทยปญหาคณิตศาสตร จึงไม

สามารถเปลี่ยนจากประโยคภาษาเปนประโยคสัญลักษณได เนื่องจากเลือกตัวดําเนินการทาง

คณิตศาสตรท่ีถูกตองเพ่ือใชในการแกโจทยปญหาคณิตศาสตรไมได ทายท่ีสุดจึงไมสามารถ

ดําเนินการแกโจทยปญหาไดอยางถูกตอง

แนวทางการแกปญหา และพัฒนา

รูปบารโมเดล (Bar Model) เปนยุทธวิธีการแกโจทยปญหาคณิตศาสตรวิธีการหนึ่ง

ท่ีไดใชการวาดแถบเสน หรือเสน หรือวาดรูปเรขาคณิตเพ่ือแสดงสถานการณของโจทย แลวสามารถ

มองเห็นแนวทางการหาคําตอบไดงายข้ึน (สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา, 2551) ซ่ึงเปน

วิธีการแกโจทยปญหาคณิตศาสตรท่ีใชรูปธรรมอธิบายความสัมพันธของขอมูลในโจทยปญหาท่ีเปน

นามธรรม โดยนําเสนอผานแถบเสนท่ีเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา เพ่ือใหนักเรียนมองเห็นภาพและเขาใจ

ความสัมพันธของสิ่งท่ีโจทยกําหนดใหไดดียิ่งข้ึน อีกท้ังเปนวิธีท่ีสงเสริมใหนักเรียนไดพัฒนาองค

ความรูในการแกโจทยปญหาข้ันสูง

จึงมีความสนใจท่ีจะนํารูปแบบการแกโจทยปญหาคณิตศาสตร โดยใชรูปบารโมเดล

(Bar Model) มาพัฒนาความสามารถการแกโจทยปญหาคณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ให

ผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึนและเปนการพัฒนากิจกรรมการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญให

มีประสิทธิภาพมากข้ึน

2. จุดประสงคและเปาหมาย ของการดําเนินงาน

จดุประสงคของการดําเนินงาน

1. เพ่ือพัฒนาทักษะการแกโจทยปญหาทางคณิตศาสตร

2. เพ่ือเปนพ้ืนฐานในการพัฒนาผูเรียนใหเกิดทักษะการแกปญหา

3. เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรใหดีข้ึน

4. เพ่ือสงเสริมใหครูผูสอนจัดกิจกรรมในการจัดการเรียนการสอนการแกโจทยปญหา

ทางคณิตศาสตร

2

Page 7: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

เปาหมาย ของการดําเนินงาน

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนผาสุกประชานกูุล อําเภอวงัสามหมอ จังหวดั

อุดรธาน ี

3. กระบวนการผลิตผลงาน หรือข้ันตอนการดําเนินงาน

การออกแบบนวัตกรรม

การสรางชุดฝกทักษะการแกโจทยปญหา โดยใชรูปบารโมเดล (Bar Model) ได

กําหนดข้ันตอนการสรางชุดฝกทักษะการแกโจทยปญหา โดยใชรูปบารโมเดล (Bar Model)

ตามลําดับข้ันตอน ดังนี้

1. ศึกษารายละเอียดของหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

2. ศึกษาเทคนิค วิธีการ หลักการสรางชุดฝกทักษะ

3 กําหนดเนื้อหา จุดประสงคการเรียนรูเชิงพฤติกรรมและข้ันตอนการเรียนการวัดผล

และประเมินผลในเนื้อ หาท่ีจะนํามาสรางชุดฝกทักษะ คือ การแกโจทยปญหาคณิตศาสตร

ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

4. ศึกษาวิธีการ หลักการ ทฤษฎีและเทคนิควิธีการสรางชุดฝกทักษะ และหลักการแก

โจทยปญหาโดยใชรูปบารโมเดล (Bar Model) จากเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

5. ศึกษาจุดประสงคการเรียนรูจากหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้น

ประถมศึกษาปท่ี 6 ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนผาสุกประชานุกูล อําเภอวังสามหมอ จังหวัด

อุดรธานี สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2

6. เขียนชุดฝกทักษะการแกโจทยปญหา โดยใชรูปบารโมเดล (Bar Model) กลุมสาระ

การเรียนรูคณิตศาสตร สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 จํานวน 13 เลม ดังนี้

เลม 1 เรื่อง รูจัก “รูปบารโมเดล (Bar Model)”

เลม 2 เรื่อง โจทยปญหานาลอง...การบวกจํานวนนบั

เลม 3 เรื่อง โจทยปญหานาลอง...การลบจํานวนนับ

เลม 4 เรื่อง โจทยปญหานาลอง...การคูณจํานวนนับ

เลม 5 เรื่อง โจทยปญหานาลอง...การหารจํานวนนับ

เลม 6 เรื่อง โจทยปญหานาลอง...การบวก ลบ คูณ หาร ระคน

เลม 7 เรื่อง โจทยปญหาของฉัน 1

เลม 8 เรื่อง เศษสวนเจาปญหา 1

เลม 9 เรื่อง เศษสวนเจาปญหา 2

3

Page 8: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

เลม 10 เรื่อง เศษสวนเจาปญหา 3

เลม 11 เรื่อง อัตราสวน จิ๊บ จิ๊บ 1

เลม 12 เรื่อง อัตราสวน จิ๊บ จิ๊บ 2

เลม 13 เรื่อง โจทยปญหาของฉัน 2

7. นําชุดฝกทักษะการแกโจทยปญหา โดยใชรูปบารโมเดล (Bar Model) ท่ีปรับปรงุ

แกไขแลว เสนอผูเชี่ยวชาญเพ่ือทําการประเมินความสอดคลองระหวางเนื้อหา กับจุดประสงคการ

เรียนรู เปนแบบมาตราสวนประมาณคาเปน 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคิรท (Likert)

8. นําชุดฝกทักษะการแกโจทยปญหา โดยใชรูปบารโมเดล (Bar Model) ท่ีปรับปรงุ

แกไขแลว ไปทดลองใช (Try-out) เพ่ือหาประสิทธิภาพของชุดฝกทักษะการแกโจทยปญหา โดยใช

รูปบารโมเดล (Bar Model) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา

2554 โรงเรียนบานคํานอย อําเภอวังสามหมอ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี

เขต 2

8.1 การทดลองข้ันแรกโดยเปนการทดลองแบบ หนึ่งตอหนึ่ง นําชุดฝกทักษะ

การแกโจทยปญหา โดยใชรูปบารโมเดล (Bar Model) ท่ีไดรับการแกไขแลว มาทดลองกับนักเรียน

จํานวน 3 คน ท่ียังไมเคยเรียนบทเรียนนี้มากอน ซ่ึงเปนนักเรียนท่ีมีผลการเรียนเกง ปานกลาง และ

ออน อยางละ 1 คน พบวาชุดฝกทักษะการแกโจทยปญหา โดยใชรูปบารโมเดล (Bar Model) มี

ความเหมาะสมท้ังดานรูปเลม ขนาดตัวอักษร และความสวยงามของชุดฝกทักษะนาสนใจ

8.2 นําชุดฝกทักษะ การแกโจทยปญหา โดยใชรูปบารโมเดล (Bar Model)

ท่ีไดรับการแกไขแลว มาทดลองแบบกลุมเล็ก โดยมีนักเรียน จํานวน 9 คน ซ่ึงเปนนักเรียนเกง

จํานวน 3 คน ปานกลาง จํานวน 3 คน และออน จํานวน 3 คน ใชชุดฝกทักษะ การแก

โจทยปญหา โดยใชรูปบารโมเดล (Bar Model) และทํากิจกรรมตามท่ีกําหนดไวและทําการทดสอบ

นักเรียนทันที พบวากิจกรรมในชุดฝกทักษะการแกโจทยปญหา โดยใชรูปบารโมเดล (Bar Model)

มีความเหมาะสมท้ังดานเวลาทีใชในการทํากิจกรรม และมีเนื้อหาท่ีนาสนใจ

8.3 การทดลองภาคสนาม โดยนําชุดฝกทักษะการแกโจทยปญหา โดยใชรูปบาร

โมเดล (Bar Model) ท่ีไดรับการแกไขปรับปรุงแลวมาทดลองสอนโดยใชนักเรียน ชั้นประถมศึกษา

ปท่ี 6 โรงเรียนบานคํานอย อําเภอวังสามหมอ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี

เขต 2

9. นําชุดฝกทักษะการแกโจทยปญหา โดยใชรูปบารโมเดล (Bar Model) ท่ีปรับปรงุ

แลว ไปทดลองกับกลุมตัวอยาง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนผาสุกประชานุกูล กลุม

เครือขายวังสามหมอ 3 สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2

4

Page 9: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

การดำเนินงาน ตามกิจกรรม

1. ทดสอบกอนเรียน (Pre-test) เพ่ือวัดความรูพ้ืนฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษา

ปท่ี 6 ดวยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การแกโจทยปญหา โดยใชรูปบารโมเดล

(Bar Model) จํานวน 30 ขอ ใชเวลา 1 ชั่วโมง

2. ดําเนินการทดลองสอน ชี้แจงใหนักเรียนทราบเนื้อหา วิธีการ กิจกรรมการเรียนรู

จากแผนการเรียนรูการแกโจทยปญหาคณิตศาสตร โดยใชรูปบารโมเดล (Bar Model) โดยระหวาง

ทดลอง ผูวิจัยจะใชวิธีการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนและประเมินผลในการจัดกิจกรรม

4. ผลการดําเนนิการ/ผลสัมฤทธ ิ/ประโยชนท่ีไดรับ

ผลท่ีเกิดตามจุดประสงค

ผูเรียนมีทักษะการแกโจทยปญหาทางคณิตศาสตร โดยใช บารโมเดล (Bar Model)

และมีพ้ืนฐานในการแกปญหาทางคณิตศาสตร สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของกลุมสาระการ

เรียนรูคณิตศาสตรใหดีข้ึน ครูผูสอนใชนวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอน เพ่ือแกปญหาทางการ

เรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ

ผลสัมฤทธิ์ของงาน

1. มีสื่อการเรียนการสอน การแกโจทยปญหาทางคณิตศาสตร โดยใช บารโมเดล

(Bar Model) ท่ีมีคุณภาพ สามารถพัฒนาทักษะการแกโจทยปญหาทางคณิตศาสตรได และ

สามารถสงเสริมใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางกาเรียนในสาระการเรียนรูคณิตศาสตรท่ีสูงข้ึน ผานเกณฑ

การประเมินการสอบระดับชาติ O-NET

2. ครูในกลุมสาระคณิตศาสตรไดรับการพัฒนาใหมีความรู ความเขาใจ ในการใช

เทคนิคการแกโจทยปญหาทางคณิตศาสตร โดยใช บารโมเดล (Bar Model)

ประโยชนท่ีไดรับ

ภายในโรงเรียน : ผูเรียนมีทักษะการแกโจทยปญหาทางคณิตศาสตร โดยใช บารโมเดล

(Bar Model) และมีพ้ืนฐานในการแกปญหาทางคณิตศาสตร สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของ

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรใหดีข้ึน

ภายนอกโรงเรียน : ขยายผลตอครูท่ีสอนคณิตศาสตรระดับประถมศึกษา ในเขตพ้ืนท่ี

การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2

5. ปจจัยความสําเร็จ

ไดรับการสนับสนุน จากผูบริหารสถานศึกษา คณะครูในโรงเรียน ในกลุมเครือขาย และ

ความรวมมือจากผูเรียน และไดรับโอกาสจากทาน ศึกษานิเทศกกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2

5

Page 10: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

6. บทเรียนท่ีไดรับ (Lesson Learned)

ชุดฝกทักษะการแกโจทยปญหา โดยใชรูปบารโมเดล (Bar Model) มีคุณภาพเหมาะสม

สามารถนําไปใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ในการพัฒนา

ทักษะการแกโจทยปญหาทางคณิตศาสตร ในอีกวิธหีนึ่ง

การใหนักเรียนพัฒนาทักษะการแกโจทยปญหา อยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ ตองอาศัย

ความรวมมือจากครูผูสอนท่ีมีความตั้งใจจริงท่ีจะพัฒนานักเรียนรวมกัน และปฏิบัติอยางจริงจัง

นักเรียนจึงจะเกิดทักษะการแกโจทยปญหา โดยใชรูปบารโมเดล (Bar Model) อยางแทจริง

ผูสอนตองไมทําใหผูเรียนรูสึกกดดันในการปฏิบัติกิจกรรม แตใหคอยแนะนําและเปน

กําลังใจใหผูเรียนปฏิบัติกิจกรรมไดอยางมีความสุข

ขอควรระวังในการจะนํานวัตกรรมไปพัฒนาหรือดําเนินใหประสบผลสําเร็จมากข้ึน ไป คือ

ผูสอนตองวางแผน และตองมีเวลามากพอในศึกษาเก็บรวมรวมขอมูลเพ่ือประสิทธิภาพในการปฏิบัติ

กิจกรรม และสงผลใหบรรลุเปาหมายตามท่ีกําหนด

7. การเผยแพร/การไดรับการยอมรับ/รางวัลท่ีไดรับ

การเผยแพร

1. มีการเผยแพรผลงานในกลุมครูผูสอน กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ระดับ

โรงเรียน ระดับเครือขาย และระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

2. เผยแพรผลงานในเว็บไซต สหวิชาดอทคอม

การไดรับการยอมรับ/ รางวัลท่ีไดรับ

เปนวิทยากรในการจัดการเรียนการสอน การแกโจทยปญหาทางคณิตศาสตร โดยใช

รูปแบบบารโมเดล (Bar Model) ท่ี สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลําภู เขต 2

และ ท่ีสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2

6

Page 11: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

ภาคผนวก

7

Page 12: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

วิทยากร

การแกโจทยปญหาทางคณิตศาสตร

ที่ สพป.หนองบัวลําภู เขต 2

8

Page 13: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

วิทยากร

การแกโจทยปญหาทางคณิตศาสตร

ที่ สพป.อุดรธานี เขต 2

9

Page 14: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

ช่ือผลงาน ผลการใชปญหาปลายเปดเสริมดวยวิธีการแกปญหาของโพลยาและแบบฝกทักษะตอ

ความสามารถในการเขียนและการแกปญหาทางคณิตศาสตรของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6

ช่ือผูเสนอผลงาน นางจิระพร เสนาภักดี

โรงเรียน อนุบาลประจักษศิลปาคม กลุมเครือขายโรงเรียนนามวง

สังกัด สพป.อุดรธานี เขต 2 โทรศัพท 042 -335110

โทรศัพทมือถือ 089-2782445 e-mail : [email protected]>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>

1. ความสําคญัของนวัตกรรมท่ีนําเสนอ

1.1 ความเปนมาและสภาพปญหา

การจัดการศึกษาใหกับเยาวชนถือเปนเรื่องสําคัญถาหากการศึกษาสามารถ

สรางสรรคคนไทยใหเปนคนท่ีมีคุณภาพจะเปนแรงผลักดันสําคัญท่ีสรางสังคมไทยใหเจริญรุงเรือง

เปนสุขยั่งยืนม่ันคงสันติประเทศไทยไดระบุถึงความสําคัญของการปฏิรูปการศึกษาโดยเฉพาะอยางยิ่ง

ในดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรดังจะเห็นไดจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542

ซ่ึงมีความมุงหมายท่ีจะพัฒนาคนไทยใหมีความรูและทักษะดานคณิตศาสตรวิทยาศาสตรเทคโนโลยี

และใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณท้ังรางกายจิตใจสติปญญาความรูและคุณธรรมจริยธรรม วิชาคณิตศาสตร

ถือวาเปนวิชาท่ีมีความสําคัญยิ่งเพราะเปนศาสตรท่ีตองอาศัยขอเท็จจริงหลักการวิธีการเหตุและผล

เปนปจจัยสําคัญในการพิจารณาหาขอยุติ วิชาคณิตศาสตรจึงเปนวิชาท่ีมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนา

ความคิดของผูเรียนใหเปนคนท่ีคิดอยางมีเหตุผลคิดอยางมีระบบและเปนเครื่องมือในการพัฒนา

ความกาวหนาของแขนงวิชาตางๆ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี

มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดเปนจุดหมายเพ่ือใหเกิด

กับผูเรียน เม่ือจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยจุดหมายในขอ 2 กลาววา เม่ือจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

ผูเรียนมีความรู ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต

ในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุงเนนพัฒนาใหผูเรียนมีคุณภาพ

ตามท่ีกําหนด

หลักสูตรวิชาคณิตศาสตรยังมุงเนนใหนักเรียนฝกฝนการแกปญหาเพ่ือท่ีจะใหนักเรียน

ไดพัฒนาทักษะพ้ืนฐานท่ีจําเปนในการแกปญหาซ่ึงเปนสิ่งสําคัญและจําเปนท่ีนักเรียนทุกคนจะตองนํา

กระบวนการนี้ไปใชในการแกปญหาในชีวิตประจําวันตอไปเพราะการท่ีไดฝกแกปญหาจะชวยให

นักเรียนรูจักคิดมีระเบียบข้ันตอนในการคิดรูจักคิดอยางมีเหตุผลและรูจักตัดสินใจเปนมาตรฐานท่ี

10

Page 15: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

สําคัญซ่ึงอยูในสาระท่ี 6 เรื่องทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรท่ีควรจะพัฒนากอนมาตรฐาน

อ่ืนและในการแกปญหาดังกลาวจําเปนตองอาศัยความสามารถในการสื่อสารทางคณิตศาสตรเพราะ

การสื่อสารทางคณิตศาสตรจะเปนสะพานเชื่อมโยงสาระความรูหรือแนวคิดท่ีเปนนามธรรมไปสู

รูปธรรมในรูปของสัญลักษณเพ่ือแสดงแนวคิดทางคณิตศาสตรในการแกปญหาและนําเสนอใหผูอ่ืน

เขาใจ (ศิริพร รัตนโกสินทร, 2546: 2)

การสื่อสารทางคณิตศาสตรเปนการฝกทักษะใหผูเรียนรูจักวิเคราะหปญหาสามารถเขียน

ปญหาในรูปแบบของตารางกราฟหรือขอความเพ่ือสื่อสารความสัมพันธของจํานวนเหลานั้นข้ันตอนใน

การดําเนินการเริ่มจากการกําหนดโจทยปญหาใหผูเรียนวิเคราะหกําหนดตัวแปรเขียนความสัมพันธ

ของตัวแปรในรูปของสมการหรืออสมการตามเง่ือนไขท่ีโจทยกําหนดและดําเนินการแกปญหาโดยใช

วิธีทางพีชคณิตดังนั้นโจทยปญหาคณิตศาสตรจึงเปรียบเสมือนเปนเครื่องมือในการฝกใหนักเรียนมี

ทักษะท่ีจะสามารถคิดแกปญหาเก่ียวกับคณิตศาสตรและสื่อสารทางคณิตศาสตรใหผูอ่ืนเขาใจโดย

การใชภาษาสัญลักษณหรือสื่อตางๆเชนรูปภาพตารางกราฟเพ่ือนําเสนอแนวคิดอธิบายแนวคิดแสดง

ความหมายและความสัมพันธของแนวคิดทางคณิตศาสตรของตนใหผูอ่ืนเขาใจไดอยางถูกตองแลวนํา

ความสามารถท่ีเกิดข้ึนถายโยงไปสูความสามารถในการคิดแกปญหาอ่ืนๆท่ีไมใชคณิตศาสตรไดและ

เพ่ือใหการจัดการศึกษาคณิตศาสตรบรรลุตามจุดหมายดังกลาวและเหมาะสมกับยุคสมัยปจจุบัน

ผลการทดสอบระดับชาติ ข้ันพ้ืนฐาน O-NET ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ปการศึกษา 2554

วิชาคณิตศาสตร พบวาในระดับประเทศ นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 34.85 ระดับจังหวัดอุดรธานี

คะแนนเฉลี่ยรอยละ 34.17 ระดับสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 คะแนน

เฉลี่ยรอยละ 33.96 และโรงเรยีนอนุบาลประจักษศิลปาคม คะแนนเฉลี่ยรอยละ 31.14 ผลการ

ประเมินระดับโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยต่ํากวาทุกระดับ และต่ํากวาเปาหมายท่ีโรงเรียนตั้งไวท่ีรอยละ 75

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูยังไมประสบความสําเร็จเทาท่ีควร สาเหตุอาจเนื่องท้ังนี้อาจ

เนื่องมาจากการแกโจทยปญหาคณิตศาสตรเปนทักษะชั้นสูง นักเรียนตองอาศัยความรู ความเขาใจ

ตลอดจนทักษะทางคณิตศาสตรหลายอยาง จึงทําใหนักเรยีน มีความบกพรองในเรื่องนี้ และการแกโจทยปญหาเปน

เรื่องท่ียากมากสําหรับความคิดของนักเรียน เนื่องจากนักเรียนไมเขาใจวิธีการและแนวทางในการแกโจทย

ปญหาเพราะลืมวิธีคิดไมทราบจะเริ่มตนอยางไร แปลงโจทยปญหาเปนประโยคสัญลักษณไมได

นักเรียนมีความบกพรองในการอานและทําความเขาใจ นอกจากนี้ อาจมาจากครูผูสอนไมมีวิธีการ

สอนท่ีหลากหลายยึดตัวเองเปนสําคัญ ผูเรียนไมไดแสดงออกเทาท่ีควรหรืออาจเปนเพราะวาวิชา

คณิตศาสตรนั้นเปนวิชาท่ีเปนนามธรรม เนื้อหาบางเรื่องยากเกินกวาท่ีจะอธิบายใหเขาใจไดงาย

(กชกร รุงหัวไผ, 2547: 2) จึงเปนปญหาตอการเรียนรู และยากตอการทําความเขาใจไดอยางรวดเร็ว

จากปญหาดังกลาวจึงมีความจําเปนท่ีครูผูสอนและผูมีสวนเก่ียวของจะตองคนหาวิธีการจัดการเรียนรู

ใหเหมาะสมกับเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร ดวยเหตุนี้ครูผูสอนจะตองคนหาเทคนิค วิธีการจัดกิจกรรม

11

Page 16: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

การเรียนรูแบบใหมท่ีสงเสริมใหผูเรียนมีทักษะ มีความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตรและมี

ความสามารถในการเขียนทางคณิตศาสตรใหสูงข้ึน

1.2 แนวทางการแกปญหาและพัฒนา

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชปญหาปลายเปดเปนนวัตกรรมหนึ่งท่ี

ครูจะนํามาชวยใหนักเรียนเกิดความคิดรวบยอดไดดวยตนเองท่ีถูกตอง กระตุนใหนักเรียนอยากตอบ

คําถามอยากมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการสอนซ่ึงในสภาพการสอนคณิตศาสตรมักมีการสื่อสาร

โดยการถาม-ตอบ ลักษณะคําถามท่ีใชถามนักเรียนควรเปนคําถามท่ีชวยกระตุนใหนักเรียนคิดและ

สามารถแสดงคําตอบหรือวิธีการไดอยางหลากหลาย โดยปญหาปลายเปดมีจุดเดนอยูท่ีการถามวา

นักเรียนไดคําตอบมาอยางไร ไมใชอยูท่ีการถามวาคําตอบคืออะไร คลายกับวาปญหาปลายเปดเปน

สถานการณเชิญชวนแกมบังคับใหนักเรียนตองแสดงเหตุผลและแนวคิดอยางละเอียดของตนออกมา

ซ่ึงสอดคลองกับ ชานนท จันทรา (2549: 29) ท่ีกลาววาการสรางและขยายปญหาท่ีเปนปลายเปด

เปนการเปดโอกาสใหนักเรียนไดสรางการเรียนรูและความเขาใจทางคณิตศาสตรดวยตัวของนักเรียน

เองโดยอาศัยประสบการณเดิมและทําการเชื่อมโยงระหวางหัวขอ (Topic) กับศาสตร (Disciplines)

ตางๆเขาดวยกัน ปญหาปลายเปดจะเปดโอกาสใหนักเรียนแตละคน ไดดึงหรือเลือกเอาวิธีการท่ีตนเอง

ถนัดออกมาใชในการแกปญหา การสอนการแกโจทยปญหา การวิเคราะหความหมายของโจทย

ปญหา และความเขาใจโจทยปญหาเปนทักษะท่ียากดังนั้นครูอาจตองชวยชี้แนะใหนักเรียนสามารถ

ตัดสินเก่ียวกับปญหาไดดวยตนเอง สงเสริมใหนักเรียนคนพบรูปแบบหรือวิธีการแกโจทยปญหาตาง ๆ

ดวยตนเอง กระบวนการแกปญหา 4 ข้ันตอนของโพลยา โดยมีข้ันตอนการปญหา4 ข้ันตอน ดังนี้

ข้ันท่ี 1 ข้ันทําความเขาใจปญหา ข้ันท่ี 2 ข้ันวางแผนแกปญหา เปนข้ันตอนท่ีสําคัญท่ีจะตองพิจารณา

กําหนดวาจะแกปญหาดวยวิธีใด จะแกอยางไร ข้ันท่ี 3 ข้ันดําเนินตามแผน เปนข้ันตอนท่ีลงมือปฏิบัติ

ตามแผนท่ีกําหนดไว ข้ันท่ี 4 ข้ันตรวจสอบผล เปนข้ันตอนท่ีผูแกปญหามองยอนกลับไปท่ีข้ันท่ีข้ันตอน

ตางๆท่ีผานมาเพ่ือพิจารณาความถูกตองของคําตอบและวิธีการแกปญหา

การใชแบบฝกทักษะจะชวยใหนักเรียนเขาใจบทเรียนไดดียิ่งข้ึนทําใหครูทราบความเขาใจ

ของนักเรียนท่ีมีตอการเรียน นักเรียนจะเกิดความเชื่อม่ันและมีความรับผิดชอบตองานท่ีไดรับ

มอบหมายเนื่องจากนักเรียนไดทํางานดวยตนเอง นักเรียนจําไดแมนยํา เพราะโดยปกติ การอาน ฟง

มองดู หรือทําเพียงครั้งเดียวยอมยากแกการจดจําไดท้ังหมด นอกจากนี้การฝกทักษะยังเปนรากฐาน

ในการพัฒนาประสิทธิภาพในการคิดคํานวณ ชวยใหมองเห็นวิธีลัดอันจะทําใหคิดไดเร็วข้ึน เม่ือ

ผูเรียนประสบความสําเร็จในการคิดคํานวณ หรือคิดคํานวณไดถูกตองและรวดเร็วยอมกอใหเกิด

แรงจูงใจ ทําใหมีเจตคติท่ีดีตอวิชาและอยากมีสวนรวม จะทําใหเด็กประสบผลสําเร็จทางดานจิตใจ

มากข้ึนดังนั้นแบบฝกจึงไมใชเปนเพียงสมุดฝกท่ีครูจะใหเด็กบทตอบทหรือหนาตอหนาแตเปนแหลง

ประสบการณสําหรับเด็ก

12

Page 17: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

วิธีการท่ีใชปญหาปลายเปด การแกปญหาของโพลยาและแบบฝกทักษะผูวิจัยมีความ

ตองการท่ีจะนํามาบูรณาการเขาดวยกัน เพ่ือนํามาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนการสื่อสารและการ

แกโจทยปญหาคณิตศาสตรใหประสบผลสําเร็จและมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน โดยผูวิจัยตองการศึกษา

วาการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชปญหาปลายเปดเสริมดวยวิธีการแกปญหาของโพลยาและแบบฝก

ทักษะ จะทําใหนักเรียนมีความสามารถในการแกปญหาและความสามารถในการเขียนทาง

คณิตศาสตรของนักเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนหรือไม อยางไร

2. จุดประสงคและเปาหมายของการดาํเนนิงาน

2.1 การกาํหนดจุดประสงคและเปาหมาย

2.1.1 เพ่ือศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตรของ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีเรียนรูโดยใชปญหาปลายเปดเสริมดวยวิธีการแกปญหาของโพลยา

และแบบฝกทักษะระหวางกอนเรียนและหลังเรียน

2.1.2 เพ่ือเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนทางคณิตศาสตรของนักเรียนชั้น

ประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีเรียนรูโดยใชปญหาปลายเปดเสริมดวยวิธีการแกปญหาของโพลยาและ

แบบฝกทักษะ

13

Page 18: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

14

3. กระบวนการผลิตผลงาน หรือข้ันตอนการดําเนนิงาน

3.1 การออกแบบนวัตกรรม

ภาพท่ี 1 ข้ันตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร โดยใชปญหาปลายเปดเสริมดวย

วิธีการแกปญหาของโพลยาและแบบฝกทักษะ

ข้ันท่ี 2 ข้ันสอน

ข้ันท่ี 1 ข้ันนํา

ข้ันท่ี 3 ข้ันสรุป

1.1 ครูนําเขาสูบทเรียนโดยใชเกมและเพลง ทบทวนความรูเดมิ

1.2 ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ

2.1 ครูนําเสนอปญหาปลายเปดในช้ันเรียน

2.2 นักเรียนรวมกันแกปญหาในช้ันเรยีนท้ังช้ันเรยีนใชกระบวนการแกปญหาของโพลยาดังน้ี

2.2.1 ข้ันทําความเขาใจปญหา ครูใชคําถามใหนักเรยีนตอบวาโจทยกําหนดสิ่ง

ใดมาใหบาง หรือสิ่งท่ีโจทยตองการทราบคืออะไร จากน้ันรวมกับนักเรียนสรุปสิ่งท่ี

โจทยกําหนดให และสิ่งท่ีโจทยตองการทราบ

2.2.2 ข้ันวางแผนการแกปญหา ครูใชคําถามใหนักเรียนชวยกันคิดวาจะหา

คําตอบไดดวยวิธีใดและทําอยางไร โดยใหนักเรยีนเขียนประโยคสญัลักษณและแสดง

วิธีหาคําตอบ

2.2.3 ข้ันดําเนินการตามแผน ครูใหนักเรียนเขียนแสดงวิธีหาคาํตอบ

2.2.4 ข้ันตรวจสอบ ครูใหนักเรียนนําเสนอผลการหาคําตอบพรอมท้ังอธิบาย

ข้ันตอนการไดมาของคําตอบแลวรวมกันตรวจสอบคําตอบจากน้ันรวมกันสรปุข้ันตอนการแกปญหา

2.3 ครูแจกใบกิจกรรมใหนักเรียนแตละกลุม

2.3.1 นักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษาใบงานวิเคราะหโจทยปญหา ตามวิธีการ

แกปญหาของโพลยา และการเขียนทางคณิตศาสตร

2.3.2 ครูสุมนักเรียนแตละกลุมออกไปนําเสนอผลการแกโจทยปญหาและการ

เขียนทางคณิตศาสตร รวมท้ังข้ันตอนในการแกโจทยปญหาและการเขียนทางคณิตศาสตร

2.3.3 นักเรียนฝกทักษะเปนรายบุคคลจากแบบฝกทักษะท่ีครจูัดทําข้ึน ครูคอย

ใหคําแนะนําชวยเหลือ

2.3.4 ครูกับนักเรียนท้ังช้ันรวมกันตรวจสอบผลงาน

แบบฝกทักษะ

3.1 ครูรวมกันกับนักเรียนท้ังช้ันสรุปบทเรียนและกระบวนการเรยีนรูท้ังหมดโดย

สรุปหลักการและวิธีการวิเคราะหโจทยปญหาตามตามวิธีการแกปญหาของโพลยา

เพ่ือใหนักเรียนไดเช่ือมโยงนําไปใชในโจทยปญหาอ่ืนท่ีไมเคยพบ

3.2 นักเรียนทดสอบยอยเปนรายบุคคล

Page 19: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

15

3.2 การดาํเนินงานตามกิจกรรม

การใชปญหาปลายเปดเสริมดวยวิธีการแกปญหาของโพลยาและแบบฝกทักษะ

หมายถึง การดําเนินการเรียนการสอนท่ีเกิดข้ึนในชั้นเรียนใหผูเรียนไดสะทอนความคิดในการนํา

ความรูทางคณิตศาสตรมาใชกําหนดแนวทางเพ่ือหาคําตอบของปญหาโดยจัดนักเรียนเขากลุม

แบบคละความสามารถ เกง ปานกลาง ออน 1:2:1 ตั้งชื่อกลุมวา กลุม A กลุม B กลุม C และ

กลุม D ซ่ึงไดจัดทําแผนการจัดการเรียนรูท้ังหมด 8 แผน เวลา 16 ชั่วโมง เรือ่ง บทประยุกต ชัน้ประถมศึกษาปท่ี 6

มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามข้ันตอนดังนี้

ข้ันท่ี 1 ข้ันนําเขาสูบทเรียน

1.1 ครูนําเขาสูบทเรียนโดยใชเกมและเพลงทบทวนความรูเดิม

1.2 ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรยีนทราบ

ข้ันท่ี 2 ข้ันสอน

2.1 ครูนําเสนอปญหาปลายเปดในชั้นเรียน

2.2 นักเรียนรวมกันแกปญหาในชั้นเรียนท้ังชั้นเรียนโดยใชกระบวนการ

แกปญหาของโพลยา ดังนี้

2.2.1 ข้ันทําความเขาใจปญหาครูใชคําถามใหนักเรียนตอบวาโจทย

กําหนดสิ่งใดมาใหบางหรือสิ่งท่ีโจทยตองการทราบ คืออะไร จากนั้นรวมกับนักเรียนสรุปสิ่งท่ีโจทย

กําหนดใหและสิ่งท่ีโจทยตองการทราบ

2.2.2 ข้ันวางแผนการแกปญหาครูใชคําถามใหนักเรียนชวยกันคิดวาจะ

หาคําตอบไดดวยวธิีการใดและทําอยางไรโดยใหนักเรียนเขียนเปนประโยคสัญลักษณและแสดงวธิีหาคําตอบ

2.2.3 ข้ันดําเนินการตามแผน ครูใหนักเรียนเขียนแสดงวิธีหาคําตอบ

2.2.4 ข้ันตรวจสอบ ครูใหนักเรียนนําเสนอผลการหาคําตอบพรอมท้ัง

อธิบายข้ันตอนการไดมาของคําตอบแลวรวมกันตรวจสอบคําตอบจากนั้นรวมกันสรุปข้ันตอนการแกปญหา

2.3 ครูแจกใบกิจกรรมใหนักเรียนแตละกลุม

2.3.1 นักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษาใบกิจกรรมวิเคราะหโจทย

ปญหา ตามวิธีการแกปญหาของโพลยา และการเขียนทางคณิตศาสตร

2.3.2 ครูสุมนักเรียนแตละกลุมออกไปนําเสนอผลการแกโจทยปญหา

และการเขียนทางคณิตศาสตร รวมท้ังข้ันตอนในการแกโจทยปญหาและการเขียนทางคณิตศาสตร

2.3.3 นักเรียนฝกทักษะเปนรายบุคคลจากแบบฝกทักษะท่ีครูจัดทําข้ึน

ครูคอยใหคําแนะนําชวยเหลือ

2.3.4 ครูกับนักเรียนท้ังชั้นรวมกันตรวจสอบผลงาน

Page 20: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

16

ข้ันท่ี 3 ข้ันสรุปบทเรียน

3.1 ครูรวมกันกับนักเรียนท้ังชั้นสรุปบทเรียนและกระบวนการเรียนรู

ท้ังหมดโดยสรุปหลักการและวิธีการวิเคราะหโจทยปญหาตามตามวิธีการแกปญหาของโพลยาเพ่ือให

นักเรียนไดเชื่อมโยงนําไปใชในโจทยปญหาอ่ืนท่ีไมเคยพบ

3.2 นักเรียนทดสอบยอยเปนรายบุคคล

3.3 ประสิทธภิาพของการดาํเนินงาน

ไดจัดกิจกรรมการเรยีนการสอนตามท่ีออกแบบไวทุกข้ันตอน เชนผลงานนักเรยีน

Page 21: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

17

3.4 การใชทรัพยากร

1. ใชวัสดุเหลือใช ผลิตส่ือ

4. ผลการดาํเนนิงาน

4.1 ผลสัมฤทธิ์ของงาน จากการท่ีไดจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแลวนักเรียนผลการเรยีน

ดีข้ึน

4.2 ประโยชนท่ีไดรับ

1. ไดองคความรูเก่ียวกับวิธีการใชปญหาปลายเปดเสริมดวยวิธีการแกปญหาของโพลยา

และแบบฝกทักษะ

2. ไดแนวทางการพัฒนาทักษะการแกปญหาและทักษะการเขียนทางคณิตศาสตร เพ่ือ

นําไปสูการพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตรในดานตางๆ ตอไป

3. เปนแนวทางสําหรับครูผูสอนท่ีตองการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชปญหาปลายเปด

เสริมดวยวิธีการแกปญหาของโพลยาและแบบฝกทักษะเพ่ือสงเสริมทักษะความสามารถในการ

แกปญหาและการเขียนทางคณิตศาสตร

Page 22: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

18

5. ปจจัยความสําเร็จ

5.1 ส่ิงท่ีชวยใหงานประสบความสําเร็จ

ในการจัดทําขอมูลมีผูบิหารโรงเรียน คณะครูในโรงเรียนอนุบาลประจักษศิลปาคม และ

กรรมการตรวจใหคะแนนอีกคนคือนายปยะณัฐ ภักดีพันดอน เปนครูอัตรจางวชิาคณิตศาสตรท่ีเปน

ผูตรวจใหคะแนน

6. บทเรียนท่ีไดรับ

6.1 การระบุขอมูลท่ีไดรับจากการผลิตและการนาํผลงานไปใช

แผนการจัดการเรียนรูใชปญหาปลายเปดเสริมดวยวิธีการแกปญหาของโพลยาและแบบฝกทักษะตาม

เนื้อหาบทท่ี 13 เรื่องบทประยุกต จํานวน 8 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง เปนเวลา 16 ชั่วโมง

7. การเผยแพร/การไดรับการยอมรับ/รางวัลท่ีไดรับ

7.1 การเผยแพร

เผยแพรผลงานในโรงเรียนตางๆ และในเวปไซต สาํนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาอุดรธานี เขต 2

7.2 การไดรับการยอมรับ/รางวัลท่ีไดรับ เปนวิทยากรเผยแพรผลงานวิชาคณิตศาสตร

ท่ีโรงเรียน และท่ีสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานีเขต 2

Page 23: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

ช่ือผลงาน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวนและรอยละ

ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน

ช่ือผูเสนอผลงาน นายเชิดศักดิ์ ตั้นภูมี

โรงเรียน บานทายม กลุมเครือขายโรงเรียน หนองแสง 2

สังกัด สพป.อดรธานี เขต 2 โทรศัพท 042134435

โทรศัพทมือถือ 088-3392478 e-mail [email protected]

*******************************************************************************************

1. ความสําคัญของผลงานหรือนวัตกรรมท่ีนําเสนอ

1.1 ความเปนมาและสภาพปญหา

ปจจุบันเกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับโลกท่ีสําคัญ ไดแก การเปลี่ยนแปลงกฎ กติกา

ใหมของโลกสงผลใหทุกประเทศตองปรับตัวเขาสูเศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนยกลาง รวมท้ังภูมิภาค

เอเชียซ่ึงทวีความสําคัญเพ่ิมข้ึน การเขาสูสังคมผูสูงอายุของโลก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ของโลก การขาดแคลนอาหารและพลังงานของโลก ความกาวหนาทางเทคโนโลยี ภัยจากการกอ

การรายระหวางประเทศ การเปลี่ยนแปลงเหลานี้ทําใหสงผลกระทบตอการพัฒนาของประเทศไทย

(สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. 2554: ออนไลน) การพัฒนา

ประเทศไทยภายใตสถานการณการเปลี่ยนแปลงดังกลาว การศึกษาซ่ึงมีบทบาทสําคัญในการพัฒนา

ความคิดของเด็กและเยาวชน จึงมีความจําเปนอยางยิ่งท่ีตองจัดหลักสูตรการเรียนรูใหผูเรียนใหมี

สมรรถนะสําคัญหรือทักษะจําเปนในศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงไดแก ทักษะดานขอมูลขาวสาร สื่อ เทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสาร ทักษะการคิดและการแกปญหา ทักษะระหวางบุคคลและเขาใจตนเอง

รวมถึงมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค อันเปนรากฐานในการพัฒนาประเทศในระยะตอไป

(กระทรวงศึกษาธิการ. 2551: ออนไลน) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22

และ 23 ไดกําหนดแนวทางการจัดการศึกษาท่ีใหความสําคัญแกผูเรียน การจัดการศึกษาตอง

คํานึงถึงคุณภาพท้ังดานความรู กระบวนการเรียนรู และการเชื่อมโยงความรูท่ีผูเรียนสามารถนําไป

ประยุกตใชในชีวิตจริงได และเปดโอกาสใหผูเรียนไดพัฒนาทักษะการคิดการปฏิบัติจริงเพ่ือสงเสริม

และพัฒนาการคิดเปน ทําเปน และแกปญหาไดอยางฉลาดและพอเพียง ตามความสนใจ

ความถนัด และความสามารถของผูเรียน กลุมสาระการเรียนรูหนึ่งท่ีมีความสําคัญอยางมากใน

การพัฒนาความคิดของผูเรียน คือ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

การจัดการเรียนรูสาระการเรียนรูคณิตศาสตรในชั้นเรียนของผูรายงาน พบวา ผูเรียนยังไม

19

Page 24: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

ประสบผลสําเร็จในการเรียนเทาท่ีควร เพราะผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนอยูในระดับต่ําไมเปน

ท่ีนาพอใจ ซ่ึงเปนอาจเปนผลมาจากผูเรียนขาดการฝกทักษะดานการสืบคนขอมูลขาวสาร การใชสื่อ

เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และทักษะการคิดและการแกปญหา แตปญหาผลสัมฤทธิ์ทาง

การเรียนต่ําไมเปนท่ีนาพอใจเปนผลมาจากหลายปจจัย ปจจัยหนึ่งเกิดข้ึนจากครูผูสอน เพราะครู

เปนผูมีบทบาทสําคัญในการจัดการเรียนรูใหเพ่ือใหผูเรียนบรรลุตามจุดประสงคท่ีกําหนดไวในหลักสูตร

ดังนั้น ครูจึงจําเปนตองมีการพัฒนาตนเองใหมีความรูความสามารถยิ่งข้ึน และครูผูสอนคณิตศาสตร

ตองปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนรูของตนเองใหเขากับยุคสมัยใหม ใหผูเรียนสวนรวมในการเรียน

การสอน เปดโอกาสใหผูเรียนไดสรางความรูดวย และผูสอนจําเปนตองปรับเปลี่ยนบทบาทของตน

โดยจะตองทําหนาท่ีอํานวยความสะดวก ใหคําปรึกษาชี้แนะ เก้ือหนุนการเรียนรูของผูเรียนเปน

สําคัญ

รูปแบบการจัดการเรียนรูท่ีเปนท่ียอมรับ คือ การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน ซ่ึงเปน

การจัดการเรียนการสอนแบบหนึ่งท่ีสอดคลองกับแนวทางการจัดการศึกษาตามมาตรา 22 และ

มาตรา 23 และใชพัฒนาวิธีการเรียนรูทางปญญา (Intellectual strategy) เพ่ือเก้ือหนุนผูเรียนให

เขาถึงตัวความรู (Body of Knowledge) และความชํานาญทางดานทักษะในสิ่งท่ีเรียน (Body of

Process) เพราะเปนการสอนท่ีมุงใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเอง สามารถคิดวิเคราะหอยางมีเหตุผล

มีกระบวนการทํางานและทํางานรวมกับผูอ่ืนไดโดยมีครูเปนท่ีปรึกษาใหคําแนะนํา และกระตุนให

ผูเรียนไดเรียนรูเต็มศักยภาพ (จิต นวลแกว. 2552 : ออนไลน) ซ่ึงสอดคลองกับธรารัตน เย็นใจ

ราษฎร (2556 : ออนไลน) กลาววาการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน เปนรูปแบบการเรียนการสอนท่ีมุง

สงเสริมใหผูเรียนไดคนหาความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเองในดานตาง ๆ มาจาก

แนวคิดพ้ืนฐานของการเรียนรูโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง (Child Center) และการเรียนรูตามสภาพ

จริง โดยมีการศึกษาหลักการ และวิธีเก่ียวกับโครงงานท่ีเลือกศึกษา วิเคราะห วางแผนการทํางาน

ลงมือทํางาน และปรับปรุง เพ่ือใหงานบรรลุตามวตัถุประสงค ในกระบวนการเรียนการสอนไดใช

ทักษะกระบวนการ สอดแทรกคุณธรรม ทํางานเปนกลุม ฝกปฏิบัติจริง เนนผูเรียนมีสวนรวม มีครู

เปนผูชี้แนะ ใหคําปรึกษาตลอดเวลา เนนฝกคนใหแสวงหาความรูดวยตนเอง ในดานการประเมินผล

การเรียนรูนั้น ครูผูสอนจําเปนตองมีการประเมินท้ังทางดานผลงาน (Product) และกระบวนการ

(Process) ซ่ึงสามารถใชวิธีการท่ีหลากหลาย เชน การประเมินตนเอง การประเมินโดยครูและเพ่ือน

การสังเกต การประเมินโดยใชแฟมผลงาน เปนตน ท้ังนี้ผูสอนจะตองดูแล กํากับ ติดตาม ตรวจสอบ

และประมวลผลการประเมินท่ีหลากหลายใหครอบคลุมถูกตอง ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูในป

การศึกษา 2555 ไมประสบความสําเร็จเทาท่ีควร เพราะผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนไมเปนท่ี

20

Page 25: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

นาพอใจ นักเรียนมีทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรไมเพียงพอ ไมสามารถคิดวิเคราะห ใช

เหตุผล และนําความรูไปใชแกปญหาได สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอยูในระดับต่ํา

ดวยความสําคัญและปญหาดังกลาว ผูรายงานจึงสนใจการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวนและรอยละ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2

โดยการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน และศึกษาผลท่ีไดจากการจัดการเรียนรูแบบโครงงานวาจะทําให

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนสูงข้ึนหรือไมอยางไร เพ่ือเปนแนวทางในการ

ปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตรท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญใหมีประสิทธิภาพมาก

ยิ่งข้ึนตอไป

1.2 แนวทางการแกปญหาและพัฒนา

1) ออกแบบการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเพ่ือนํามาใชในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทาง

การเรียนสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวนและรอยละ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2

โดยออกแบบใหความตองการของนักเรียน โรงเรยีน และชุมชน

2) ศึกษาผลท่ีไดจากการจัดการเรียนรูแบบโครงงานวาจะทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

วิชาคณิตศาสตรของนักเรียนสูงข้ึนหรือไมอยางไร โดยพิจารณาจากผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนหลังเรียน เรื่อง อัตราสวนและรอยละ แลวนําเสนอผลการศึกษาตอนักเรียน โรงเรียน

และชุมชนไดรับทราบถึงขอมูลการพัฒนานักเรียน

3) ปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตรท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญใหมี

ประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึนโดยอาศัยผลท่ีไดจากการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน เรื่อง อัตราสวนและ

รอยละ รวมถึงผลสะทอนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูจากตัวนักเรียน โรงเรียน และชุมชน

2. จุดประสงคและเปาหมายของการดําเนินงาน

2.1 การกําหนดจุดประสงคและเปาหมาย

จุดประสงคของการดําเนินงาน

1. เพ่ือพัฒนากิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง

อัตราสวนและรอยละ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑรอยละ 75

2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรระหวางกอนการทดลองกับหลัง

การทดลอง

3. เพ่ือศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวนและ

รอยละ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ภายหลังจากการจัดการเรียนรูแบบโครงงานกับเกณฑ

21

Page 26: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

2.2 เปาหมายของการดําเนินงาน

เปาหมายเชิงปริมาณ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนบานทายม สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 ซ่ึงเรียนในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2556 จํานวน 12 คน

จํานวนหองเรยีน 1 หองเรียน ท่ีไดมาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling)

เปาหมายเชิงคุณภาพ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนบานทายม สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 ซ่ึงเรียนในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2556 จํานวน 12 คน

มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง อัตราสวนและรอยละ สูงข้ึน เปนท่ีพอใจของนักเรียน โรงเรียน และ

ชุมชน

3. กระบวนการผลิตผลงาน หรือข้ันตอนการดําเนินงาน

3.1 การออกแบบนวัตกรรม

นวัตกรรม มีดังนี้

1. แผนการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวน

และรอยละ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2

2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวนและรอยละ

3.2 การดําเนินงานตามกิจกรรม

ดําเนินการพัฒนาและปรับปรุงนวัตกรรม รวมถึงดําเนินการสอนในชวงเดือน

มิถุนายน – กรกฎาคม 2556 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2556 ใชเวลาในการดําเนินกิจกรรม

การเรียนการสอนตามเนื้อหา 18 ชั่วโมง ทดสอบกอนเรียน (Pre – test) 1 ชั่วโมง และทดสอบ

หลังเรียน (Post – test) 1 ชัว่โมง รวม 20 ชั่วโมง

เนื้อหาท่ีใชในการผลิตผลงานครั้งนี้เปนเนื้อหาวิชาคณิตศาสตรพ้ืนฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ของสถาบันสงเสริมการสอน

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) เรื่อง อัตราสวนและรอยละ

3.3 ประสิทธิภาพของการดําเนินงาน

1. กิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวนและ

รอยละ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 มีประสิทธิภาพรอยละ 75.42 ซ่ึงเปนไปตามเกณฑ

รอยละ 75

22

Page 27: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนท่ีไดรับการสอนดวยกิจกรรมการ

เรียนรูแบบโครงงาน สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวนและรอยละ สําหรับนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปท่ี 2 สูงข้ึนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ท่ีไดรับ

การสอนดวยกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวนและรอย

ละ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ผานเกณฑรอยละ 65 ข้ึนไป อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี

ระดับ .01 โดยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยรอยละ 75.42

3.4 การใชทรัพยากร

ใชสื่อการเรียนการสอน จากวัสดุเหลือใช เชน กลองบรรจุภัณฑตาง ๆ กระบอกไม

ลูกบอล ลูกปงปอง ฝาขวดน้ํา ขวดน้ํา ถุงขนมตาง ๆ และกระดาษท่ีใชแลว นํามาสรางเปนตัว

แบบจําลองในการใหนักเรียนทําโครงงาน รวมถึงการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียน เชน สวนสมุนไพร

สนามบาสเกตบอล สนามเด็กเลน แหลงเรียนรูในชุมชน เชน วัด น้ําตกคอยนาง น้ําตกธารงาม

ภูฝอยลม เปนตน

4. ผลการดําเนินงาน/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชนท่ีไดรับ

4.1 ผลท่ีเกิดตามจุดประสงค

1. กิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวนและ

รอยละ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 มีประสิทธิภาพรอยละ 75.42 ซ่ึงเปนไปตามเกณฑ

รอยละ 75

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนท่ีไดรับการสอนดวยกิจกรรม

การเรียนรูแบบโครงงาน สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวนและรอยละ สําหรับนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปท่ี 2 สูงข้ึนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ท่ีไดรับ

การสอนดวยกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวนและรอย

ละ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ผานเกณฑรอยละ 65 ข้ึนไป อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี

ระดับ .01 โดยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยรอยละ 75.42

4.2 ผลสัมฤทธิ์ของงาน

1. กิจกรรมการเรยีนรูแบบโครงงาน สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวนและ

รอยละ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 มีประสิทธิภาพรอยละ 75.42 ซ่ึงเปนไปตามเกณฑ

23

Page 28: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

รอยละ 75

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนท่ีไดรับการสอนดวยกิจกรรม

การเรียนรูแบบโครงงาน สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวนและรอยละ สําหรับนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปท่ี 2 สูงข้ึนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ท่ีไดรับ

การสอนดวยกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวนและรอย

ละ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ผานเกณฑรอยละ 65 ข้ึนไป อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี

ระดับ .01 โดยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยรอยละ 75.42

4.3 ประโยชนท่ีไดรับ

1. ไดกิจกรรมกิจกรรมการเรยีนรูแบบโครงงาน สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง

อัตราสวนและรอยละ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ท่ีมีประสิทธิภาพสามารถนําไปใชจัดการ

เรียนการสอนได

2. ผลงานครั้งนี้จะเปนแนวทางสําหรับครู และผูท่ีเก่ียวของในการจัดการศึกษาท่ี

จะนาํรูปแบบการจัดการเรียนรูแบบโครงงานไปใชจัดการเรียนการสอนเพ่ือสงเสริมความสามารถใน

การเรียนรูคณิตศาสตรของนักเรียน

3. เปนแนวทางสําหรับครูในการพัฒนาและปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

คณิตศาสตรเพ่ือสงเสริมใหผูเรียนมีสมรรถนะและทักษะในศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะทักษะการตั้ง

คําถามแลการคิดวิเคราะห การคิดเชิงวิพากษแลการคิดเชิงสรางสรรค การสื่อสารดวยการเขียนและ

การพูด การทํางานเปนทีมและการแกไขปญหา เปนตน

5. ปจจัยความสําเร็จ

5.1 ส่ิงท่ีชวยใหงานประสบความสําเร็จ

1) ความเพียรพยายามในการศึกษาคนควาหาขอมูลเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู

แบบโครงงานเพ่ือนํามาออกแบบในการจัดกิจกรรมการเรียนรูสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง

อัตราสวนและรอยละ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2

2) การทําความเขาใจกับนักเรียนเก่ียวกับรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบ

โครงงาน

3) การสรางความตระหนักใหนักเรียนไดเห็นความสําคัญของกิจกรรมการเรยีนรูแบบ

โครงงาน

24

Page 29: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

4) การเสริมแรงใหนักเรียนไดรับกําลังใจไมทอถอยในการคิดและแกปญหาเม่ือประสบ

ปญหาตาง ๆ

5) การอดทนและรอคอยความสําเร็จของนักเรียน และความเอาใจใสในตัวนักเรียนเปน

รายบุคคล

6) ใชเวลานอกหองเรียนในการพูดคุยกับนักเรียน รวมถึงผูปกครอง เพ่ือใหนักเรียนและ

ผูปกครองไดรูถึงวัตถุประสงคของการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน เพราะบางครั้งนักเรียนตองมีความ

จําเปนในการรวมกลุมทํางานนอกเวลาเรียน เชน วันเสารอาทิตยตองมาทํางานรวมกัน เปนตน

7) ทบทวน และปรับปรุงผลงานโดยการฟงเสียงสะทอนในการจดัการเรียนรูจาก

นักเรียนทุกคน

8) ใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู อยางเปนข้ันตอน แลวนําแผนการจัด

กิจกรรมการเรียนรูมาปรับปรุงแกไขพัฒนาตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ

6. บทเรียนท่ีไดรับ

6.1 การระบุขอมูล ท่ีไดรับจากการผลิตและการนําผลงานไปใช

1. กิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวนและ

รอยละ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 มีประสิทธิภาพรอยละ 75.42 ซ่ึงเปนไปตามเกณฑ

รอยละ 75

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนท่ีไดรับการสอนดวยกิจกรรม

การเรียนรูแบบโครงงาน สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวนและรอยละ สําหรับนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปท่ี 2 สูงข้ึนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ท่ีไดรับ

การสอนดวยกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวนและรอย

ละ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ผานเกณฑรอยละ 65 ข้ึนไป อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี

ระดับ .01 โดยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยรอยละ 75.42

25

Page 30: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

7. การเผยแพร/การไดรับการยอมรับ/รางวัลท่ีไดรับ

7.1 การเผยแพร

1) เผยแพรในการนําเสนอผลงานเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรูในโครงการพัฒนาครูดวย

กระบวนการชี้แนะและการเปนพ่ีเลี้ยง (Coaching and Mentoring) ณ หองประชุมรวมคิด

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2

2) เผยแพรในเว็บไซต www.krubannok.com

7.2 การไดรับการยอมรับ/รางวัลท่ีไดรับ

1) เปนครูท่ีปรึกษานักเรียนไดรับรางวัลชนะเลิศ เหรียญทอง ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ในการประกวดโครงงานคณิตศาสตร ประจําปการศึกษา 2556 ของมูลนิธิพลเอกเปรม ติณสูลานนท

2) เปนผูสอนนักเรียน ไดรับรางวัลระดับเหรียญทอง ชนะเลิศ กิจกรรมการประกวด

โครงงานคณิตศาสตร ประเภท 1 ระดับชั้น ป.4-6 งานมหกรรมเปดโลกวิชาการสานพลัง สพป.อด.2

ครั้งท่ี 10 ประจําปการศึกษา 2556

3) ครูผูสอนนักเรียนไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดง กิจกรรมการประกวดโครงงาน

คณิตศาสตร ประเภท 1 ระดับชั้น ป.4-6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งท่ี

63 ประจําปการศึกษา 2556

4) ไดรับคัดเลือกเปนครูดีในดวงใจ ครูผูสอนระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับกลุม

เครือขายโรงเรียน ประจําป 2556 และประจําป 2557

5) ไดรับรางวัลครูผูสอนดีเดน ประเภทครูผูสอนกลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร

และรางวัลครุสภา ระดบักลุมเครือขายโรงเรียน ประจําป พ.ศ. 2556

6) ไดรับรางวัลครูดีเดนประเทศไทย (Thailand STEM Teacher Awards)

วิชาคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับจังหวัดอุดรธานี ประจําป พ.ศ. 2556

26

Page 31: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

ช่ือผลงาน การพัฒนาทักษะการคูณโดยใชโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณ

ช่ือผูเสนอผลงาน นางสาวปรียาภรณ ดอนจันทรโคตร ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ

โรงเรียน บานโคกศรี กลุมเครือขายโรงเรียนจําปศรีธาตุ

สังกัด สพป.อุดรธานี เขต 2 โทรศัพทมือถือ 081-8713251

e-mail : [email protected]

1. ความสําคัญของผลงานหรือนวัตกรรมท่ีนําเสนอ

1.1 ความเปนมาและสภาพปญหา

การศึกษาเปนกระบวนการสําคัญในการพัฒนามนุษยใหเปนคนท่ีสมบูรณท้ังทางดานรางกาย

จิตใจ สติปญญา คุณธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกันไดอยางมีความสุข

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มีแนวคิดหลักวาคณิตศาสตรมีบทบาทสําคัญ

อยางยิ่งตอการพัฒนาความคิดมนุษย ทําใหมนุษยมีความคิดสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบ

มีแบบแผน สามารถวิเคราะหปญหาหรือสถานการณไดอยางถ่ีถวน รอบคอบ ชวยใหคาดการณ วางแผน

ตัดสินใจ แกปญหา และนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางถูกตอง เหมาะสม นอกจากนี้คณิตศาสตรยังเปน

เครื่องมือในการศึกษาทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและศาสตรอ่ืน ๆ คณิตศาสตรจึงมีประโยชนตอ

การดําเนินชีวิต ชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตใหดี ข้ึนและสามารถอยูรวมกับผู อ่ืนไดอยางมีความสุข

(กระทรวงศึกษาธิการ 2551 : 56)

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตรควรเนนใหผู เรียนไดรับการฝก

ประสบการณเพ่ือพัฒนาความสามารถในการแกปญหา ซ่ึงเปนทักษะท่ีสําคัญท่ีสุด ท่ีจะตองพัฒนาใหเกิด

กับผูเรียนเพ่ือนําไปใชในการดํารงชีวิต จากการประเมินคุณภาพนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียน

บานโคกศรี สังกัด สพป.อด.2 ปการศึกษา 2556 พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระคณิตศาสตรมี

คะแนนเฉลี่ย 74.83 ซ่ึงตํ่ากวากลุมสาระการเรียนรูอ่ืน ผูวิจัยทําหนาท่ีรับผิดชอบสอนสาระการเรียนรู

คณิตศาสตรชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 พบวา ปญหาและสาเหตุของการเรียนรูกลุมสาระคณิตศาสตร คือ

นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ดานการเรียนไมนาพอใจโดยเฉพาะเรื่อง การคูณ ซ่ึงเปนพ้ืนฐานในการเรียนระดับชั้น

ท่ีสูงข้ึนเนื่องจากขาดการฝกทักษะอยางตอเนื่อง ครูขาดสื่อการเรียนรูท่ีเสริมเพ่ิมเติมจากหนังสือเรียน

เนื่องจากไมใชสื่ออ่ืนๆประกอบการสอน นักเรียนขาดความกระตือรือรน เพ่ือแกไขปญหาดังกลาว ผูวิจัย

จึงไดศึกษาเอกสารและคิดผลิตสื่อท่ีจะชวยสงเสริมและพัฒนาทักษะการคูณใหกับนักเรียน

27

Page 32: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

1.2 แนวทางการแกปญหาและพัฒนา

จากท่ีกลาวมาขางตนผูวิจัยจึงทําการสรางเครื่องมือเพ่ือชวยปรับพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร

เรื่อง การคูณเลข ของนักเรียนในชวงชั้นท่ี 1 ซ่ึงจะยังไมสามารถทําการคํานวณไดอยางถูกตอง ผูวิจัยจึง

ไดเลือกวิธีการ การคูณแบบแลตทิซ (Lattice Multiplication) ซ่ึงเปนวิธีการลากเสนตามจํานวนตัวเลข

ในแตละหลักของเลขตัวตั้งและตัวคูณ จากนั้นทําการหาจุดตัดเพ่ือหาคําตอบ ซ่ึงการนําวิธีการดังกลาวมา

ใชจริงจะเกิดขอจํากัดของเทคนิคดังกลาวคือ ในกรณีท่ีจํานวนตัวเลขมีอยูจํานวนมาก นักเรียนจะประสบ

ปญหาเรื่องการลากเสน กรณีท่ีลากเสนผิดจะตองทําการลากเสนใหมท้ังหมด เกิดความสิ้นเปลืองท้ัง

ทรัพยากรและเวลา สงผลทําใหเกิดความยุงยากตอการเรียนรูเก่ียวกับเทคนิคดังกลาว ผูวิจัยจึงใช

โปรแกรม Microsoft Visual Basic 2008 เพ่ือพัฒนาโปรแกรมสําหรับใชประกอบการเรียนการสอน เรื่อง

การคูณแบบไมใชสูตรคูณ เพ่ือใหนักเรียนสามารถเรียนรูวิธีการคูณดังกลาวไดดีข้ึน นักเรียนมีความ

สนใจกระตือรือรนตอเนื้อหาการเรียน และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรในเรื่อง การคูณ

สูงข้ึน

2. จุดประสงคและเปาหมายของการดําเนินการ

1) เพ่ือสรางโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณ ท่ีพัฒนาข้ึนจากโปรแกรม Visual Basic 2008

2) เปรียบเทียบความสามารถดานทักษะการคิดคํานวณ เรื่อง การคูณ ของนักเรียนชั้น

ประถมศึกษาปท่ี 3 หลังการสอนดวยโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณกับเกณฑปกติของโรงเรียนท่ี

กําหนดไวคือ รอยละ 65 ของคะแนนเต็ม

3) เพ่ือหาคาดัชนีประสิทธิผลจากการใชโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณ

4) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ท่ีมีตอโปรแกรมการคูณแบบไมใช

สูตรคูณ

3. ข้ันตอนการดําเนินงาน

3.1 การออกแบบนวัตกรรม

การสรางโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณ โดยใชเทคนิคการคูณแบบแลตทิซ (Lattice

Multiplication) และทําการพัฒนาข้ึนจากโปรแกรม Microsoft Visual Basic 2008 เริ่มตนการทํางาน

ของโปรแกรมจะปรากฏหนาจอหลัก ซ่ึงประกอบดวยสวนประกอบสําคัญไดแก คําอธิบายวิธีการคูณเลข

แบบแลตทิซ ชื่อผูจัดทําโปรแกรม ชองใสเลขตัวตั้ง ตัวคูณ และปุมสําหรับใหแสดงการวาดภาพ

นอกจากนี้ถานักเรียนสามารถวาดภาพไดคลองแลว นักเรียนสามารถใสคําตอบ แลวตรวจสอบคําตอบได

28

Page 33: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

29

เริ่มตน

หนาจอหลักและ

ใสเลขตัวตั้งและตัวคูณ

วาดเสน ตรวจสอบคําตอบ

ทําการวาดเสน และ

ใสคําตอบ เฉลยคําตอบ

เลยโดยไมตองวาดภาพ หรือใหโปรแกรมวาดเสนนักเรียนนับแลวจึงใสคําตอบและตรวจสอบคําตอบได

ทุกหนาจอถานักเรียนไมเขาใจวิธีการสามารถกดปุมเพ่ือกลับมาท่ีหนาจอหลักได โดยมีข้ันตอนการทํางาน

ของโปรแกรม ดังนี้

ภาพท่ี 1 หนาจอหลักของโปรแกรม ภาพท่ี 2 หนาจอวาดเสนของโปรแกรม

Page 34: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

ภาพท่ี 3 หนาจอตรวจสอบคําตอบ

3.2 การดําเนินงานตามกิจกรรม

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยก่ึงทดลอง (Quasi-experimental design) ผูวิจัยไดดําเนินการ

ดังนี้

1. ประชากร เปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2557 โรงเรียน

บานโคกศรี จํานวน 13 คน

2. เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย แบงออกเปน 2 สวน ประกอบดวย

1) เครื่องมือท่ีใชในการทดลอง ไดแก โปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณ

2) เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลมี 2 สวน ไดแก

2.1) แบบทดสอบวัดความสามารถดานทักษะการคิดคํานวณ เรื่อง การคูณ คือ

แบบทดสอบกอนและหลังเรียน มีลักษณะเปนแบบอัตนัย จํานวน 20 ขอ (20 คะแนน) โดยแตละขอมี

เกณฑในการใหคะแนนคือ ตอบถูกได 1 คะแนน ตอบผิดได 0 คะแนน

2.2) แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการใชโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตร

คูณ จํานวน 10 ขอ เปนการวัดความพึงพอใจของนักเรียนหลังจากท่ีนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน

เสร็จเรียบรอยแลว โดยมีขอคําถามเก่ียวกับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการใชโปรแกรมการคูณแบบ

ไมใชสูตรคูณ มีลักษณะเปนมาตรประมาณคา 5 ระดับ ไดแก พึงพอใจมากท่ีสุด พึงพอใจมาก พึงพอใจ

ปานกลาง พึงพอใจนอย พึงพอใจนอยท่ีสุด ใหคะแนนเปน 5 4 3 2 1

3. การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ดังนี้

3.1) ข้ันกอนการทดลองทําการทดสอบกอนเรียน (Pre – test) ดวยแบบทดสอบวัด

ความสามารถดานทักษะการคิดคํานวณ เรื่อง การคูณ ท่ีผูวิจัยสรางข้ึน เปนแบบทดสอบแบบอัตนัย

จํานวน 20 ขอ(20 คะแนน) โดยใชเวลาทดสอบ 30 นาที และบันทึกผลสอบท่ีไดเปนคะแนนกอนเรียน

30

Page 35: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

3.2) ข้ันดําเนินการทดลอง มีรายละเอียดข้ันตอนดังนี้

3.2.1) ชี้แจงวัตถุประสงคของการเรียน วิธกีารเรียนการสอน การวัดประเมินผล

ในการดําเนินการสอนใหกับนักเรียน

3.2.2) ดําเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู เรื่อง การคูณ

3.2.3) ดําเนินการสอนโดยใหนักเรียนทดลองใชโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตร

คูณ ใชเวลาในการทําการสอนจํานวน 3 ชั่วโมง

3.3) ข้ันหลังทดลอง มีรายละเอียดข้ันตอนดังนี้

3.3.1) ทําการทดสอบหลังเรียน (Post– test) ดวยแบบทดสอบวัดความสามารถ

ดานทักษะการคิดคํานวณ เรื่อง การคูณ ซ่ึงเปนแบบทดสอบฉบับเดิมอีกครั้ง โดยใชเวลาทดสอบ 30

นาที บันทึกผลสอบท่ีไดเปนคะแนนหลังเรียน

3.3.2) ใหนักเรียนทําแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการใชโปรแกรม

การคูณแบบไมใชสูตรคูณ จํานวน 10 ขอ แลวนําคะแนนท่ีไดไปหาคาเฉลี่ยความพึงพอใจของนักเรียน

4. การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยนําขอมูลท่ีเก็บรวบรวมไวท้ังหมดมาวิเคราะหดังนี้

1) เปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการทักษะการคิดคํานวณ เรื่อง การคูณ ของ

นักเรียนหลังการสอนดวยโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณ กับเกณฑปกติของโรงเรียนท่ีกําหนดไวรอย

ละ 65 ของคะแนนเต็มทําการวิเคราะหโดยใชสถิติคาเฉลี่ยเทียบกับเกณฑ

2) หาคาดัชนีประสิทธิผลของการสอนดวยโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณ โดย

เปรียบเทียบจากคะแนนการทดสอบวัดความสามารถดานทักษะการคิดคํานวณ เรื่อง การคูณ กอนเรียน

และหลังเรียน และคะแนนเต็มของการทดสอบหรือคะแนนสูงสุดจากคะแนนท่ีไดจากการทดสอบกอน

เรียน เพ่ือทําการประเมินผล การจัดการเรียนรู โดยหาไดจากการหาคาความแตกตางของแบบทดสอบวัด

ความสามารถดานทักษะการคิดคํานวณ เรื่อง การคูณ หลังเรียนและกอนเรียนเปนหลัก

3) หาคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักเรียนตอการสอนโดย

ใชโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณ กําหนดเกณฑความพึงพอใจของนักเรียนไมนอยกวาระดับมาก

3.3 ประสิทธิภาพของการดําเนินการ การดําเนินกิจกรรมประกอบดวย

1) การศึกษาเทคนิคท่ีสามารถเพ่ิมทักษะการคูณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3

2) นําเทคนิคท่ีเลือกมาวางรูปแบบเพ่ือเขียนเปนโปรแกรมคอมพิวเตอร ในท่ีนี้ เลือก

โปรแกรม Microsoft Visual Basic 2008 เนื่องจากเหมาะกับงานท่ีตองคํานวณ งานกราฟฟก และเปน

โปรแกรมท่ีมีขนาดเล็ก

31

Page 36: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

3) เขียนโปรแกรมและทดลองใชกับนักเรียนชั้นประถมปท่ี 3 ท่ีเรียนในปการศึกษา 2/2556

จํานวน 3 คน เพ่ือศึกษาขอผิดพลาดในการทํางานของโปรแกรม จากนั้นทําการปรับปรุงและแกไข

ขอผิดพลาด

4) ทําการออกแบบขอสอบกอนและหลังเรียนเรื่องการคูณ จํานวน 20 ขอ

5) ทําการทดสอบนักเรียนกอนเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ในปการศึกษา

1/2557 จํานวน 13 คน

6) ทําการสอนดวยโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณโดยทําการสอน 3 ชั่วโมง ซ่ึงเปนการ

ใชเทคนิคการคูณเลขแบบแลตทีช และใหนักเรียนฝกใชโปรแกรมเองตามระยะเวลาท่ีตองการของนักเรียน

7) ทําการทดสอบหลังเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ในปการศึกษา 1/2557

จํานวน 13 คน

8) ใหนักเรียนทําแบบประเมินสอบถามความพึงพอใจท่ีมีตอโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตร

คูณ

9) การวิเคราะหขอมูล เพ่ือเปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการทักษะการคิดคํานวณ

เรื่อง การคูณ ของนักเรียนหลังการสอนดวยโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณ วิเคราะหหาคาดัชนี

ประสิทธิผลของการสอนดวยโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณ และวิเคราะหคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบน

มาตรฐานความพึงพอใจของนักเรียนตอการสอนโดยใชโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณ

3.4 การใชทรัพยากร

นวัตกรรมเรื่องโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณ เปนโปรแกรมท่ีพัฒนาข้ึนจากโปรแกรม

Microsoft Visual Basic 2008 โดยทําการเขียนโปรแกรมตามข้ันตอนและรูปแบบการใชงานท่ีตองการ

จากนั้นการทําการคอมไพลใหอยูในรูปของไฟลตระกูล exe ซ่ึงเปนรูปแบบไฟลท่ีสามารถทํางานไดกับ

เครื่องไมโครคอมพิวเตอรท่ัวไป อีกท้ังโปรแกรมท่ีสรางข้ึนมีขนาดเล็ก ทําใหสามารถใชไดกับเครื่อง

ไมโครคอมพิวเตอร ท่ี มีอยูแลวภายในโรงเรียน หรือถ าตองการนําโปรแกรมไปใช กับ เครื่อง

ไมโครคอมพิวเตอรเครื่องอ่ืนสามารถสําเนาไฟลใสไดรฟ แผนซีดี หรือสงไฟลทางอีเมล เพ่ือบันทึกใชงาน

บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอรไดโดยตรง นอกจากนี้โปรแกรมยังสามารถอัพโหลดข้ึนบนเว็บของโรงเรียน

เพ่ือความสะดวกตอการนําไปใชงานท่ีตางๆ โปรแกรมท่ีสรางข้ึนชวยใหนักเรียนสามารถขีดเสนในกรณี

ท่ีมีตัวเลขจํานวนมากไดงายและรวดเร็ว และเปนการประหยัดกระดาษสําหรับการเขียนทดและสราง

ตาราง ซ่ึงเปนการชวยประหยัดและลดการใชกระดาษสําหรับการเรียนการสอน

32

Page 37: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

4. ผลการดําเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชนท่ีไดรับ

4.1 ผลท่ีเกิดตามจุดประสงค จากการทดลองใชโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณ เพ่ือพัฒนา

ทักษะการคูณของนักเรียน ไดผลดังตอไปนี้

1) มีโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณ ท่ีพัฒนาจากโปรแกรม Visual Basic 2008 ให

นักเรียนใชเปนสื่อประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การคูณ

2) ความสามารถดานทักษะการคิดคํานวณ เรื่อง การคูณ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี

3 หลังการสอนดวยโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณ สูงกวาเกณฑปกติของโรงเรียนท่ีกําหนดไวรอยละ

65 ของคะแนนเต็ม

3) คาดัชนีประสิทธิผลการสอนคณิตศาสตรดวยโปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณ ของ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 มีคาเทากับ 0.7844 คิดเปนรอยละ 78.44

4) ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป ท่ี 3 ท่ีมีตอการสอนคณิตศาสตรดวย

โปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณในภาพรวมอยูในระดับมาก

4.2 ผลสัมฤทธิ์ของงาน

โปรแกรมการคูณแบบไมใชสูตรคูณท่ีพัฒนาจากโปรแกรมVisual Basic 2008 ท่ีนักเรียน

ใชเปนสื่อประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การคูณ สามารถใชไดกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอรท่ีมีอยูแลว

ภายในโรงเรียน หรือถาตองการนําโปรแกรมไปใชกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอรเครื่องอ่ืนสามารถสําเนา

ไฟลใสไดรฟ แผนซีดี หรือสงไฟลทางอีเมล เพ่ือบันทึกใชงานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอรไดโดยตรง ซ่ึง

สะดวกตอการนําไปใชงานท่ีตางๆ โปรแกรมท่ีสรางข้ึนชวยใหนักเรียนสามารถขีดเสนในกรณีท่ีมีตัวเลข

จํานวนมากไดงายและรวดเร็ว และเปนการประหยัดกระดาษสําหรับการเขียนทดและสรางตาราง ซ่ึงเปน

การชวยประหยัดและลดการใชกระดาษสําหรับการเรียนการสอน

4.3 ประโยชนท่ีไดรับ

1) ไดนวัตกรรมการสอนแบบโปรแกรมคอมพิวเตอรเรื่อง การคูณแบบไมใชสูตรคูณ

2) ครูไดแนวทาง กระบวนการพัฒนาทักษะดานการคูณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3

โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรซ่ึงเปนวิธีการท่ีทําใหนักเรียนมีความสนใจตอการเรียนคณิตศาสตรมากข้ึน

3) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของวิชาคณิตศาสตรชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 เรื่อง

การคูณ สูงข้ึน

4) นักเรียนไดใชนวัตกรรมการเรียนการสอนบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอรซ่ึงชวยเพ่ิมทักษะ

ทางคณิตศาสตรและทักษะทางคอมพิวเตอรดวย

33

Page 38: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

34

5) ผูวิจัยไดเผยแพรสื่อบนอินเตอรเน็ตเพ่ือใหผูสนใจสามารถดาวนโหลดไปใชไดอยาง

แพรหลาย และเปนแนวทางในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรเพ่ือฝกทักษะนักเรียนในเรื่องตางๆ ตอไป

5. ปจจัยความสําเร็จ สิ่งท่ีชวยใหงานประสบความสําเร็จประกอบดวยสวนตางๆ ดังนี้

1) นักเรียนมีความรูพ้ืนฐานเก่ียวกับการบวก และการคูณ มีความรูความสามารถ มีความมุงม่ัน

ในการฝกทักษะ และใหความรวมมือในการดําเนินกิจกรรม

2) ครูเปนผูมีความรู มีความสามารถ มีความตั้งใจ มีการเสียสละ มีความใสใจตอการสอนและ

การคนควาหาวิธีสรางนวัตกรรมเพ่ือเพ่ิมทักษะความรูดานการคูณแกนักเรียน

3) โรงเรียนมีเครื่องไมโครคอมพิวเตอร สําหรับลงโปรแกรมและฝกทักษะดานคณิตศาสตรแก

นักเรียน

4) ผูบริหารโรงเรียนมีวิสัยทัศน ใหการสนับสนุนและสงเสริมการทํางานสงผลใหการทํางาน

ประสบผลสําเร็จอยางราบรื่น

5) ผูปกครองใหความรวมมือในการพัฒนาทักษะความรูคณิตศาสตร เรื่องการคูณของนักเรียน

อยางเต็มศักยภาพ

6. บทเรียนท่ีไดรับ (Lesson Learned)

การพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน เรื่องโปรแกรมการคูณแบบไมตองใชสูตร เปนโปรแกรมท่ี

ชวยพัฒนาทักษะดานการคูณเลข ลักษณะของกิจกรรมจะมีความสนุกสนาน การใชโปรแกรมมีข้ันตอน

ไมยุงยาก และงายตอการใชงาน ทําใหนักเรียนมีความสนใจตอการเรียนคณิตศาสตรเพ่ิมข้ึน นักเรียน

สามารถฝกไดดวยตนเอง เปนแนวทางท่ีทําใหนักเรียนมีความสามารถทางคณิตศาสตร เรื่องการคูณสูงข้ึน

และสงผลทําใหผลการเรียนของนักเรียนมีคาเพ่ิมสูงข้ึน โดยผานเกณฑ ท่ีกําหนดไวของโรงเรียน

นอกจากนี้โปรแกรมท่ีใชมีความงายตอการติดตั้ง ไฟลท่ีใชมีขนาดเล็ก โปรแกรมทํางานไดโดยไมตองใช

เครือขายอินเตอรเน็ตทําใหนักเรียนไมสามารถใชโปรแกรมอ่ืนได คําถามท่ีใชสําหรับการประเมินผล

สามารถมีรูปแบบไดหลากหลาย หรือสามารถออกขอสอบไดแบบสุม ทําใหสามารถวัดทักษะและความรู

นักเรียนไดอยางแมนยํา ทําใหครูและนักเรียนสามารถเรียนรูและฝกทักษะในเรื่องการคูณไดอยางมี

ประสิทธิภาพ

Page 39: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

35

7. การเผยแพร/การไดรับการยอมรับ/รางวัลท่ีไดรับ

7.1 ผูวิจัยไดเผยแพรโปรแกรมใหกับโรงเรียนในกลุมเครือขายจําปศรีธาตุ

7.2 ผูวิจัยไดเผยแพรผลงานทางเว็ปไซตสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี

เขต 2 และเว็บไซตของโรงเรียนบานโคกศรี โดยผูสนใจสามารถดาวนโหลดโปรแกรมไปใชไดท่ีเว็บไซต

http://www.udesa2.go.th/bankhoksri

7.3 ผลงานนี้ไดสงเขารวมการประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย ครั้งท่ี 4 ท่ีมหาวิทยาลัย

พะเยา จังหวัดพะเยา โดยนําเสนอผลงานแบบบรรยาย

Page 40: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

ช่ือผลงาน การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิดวิเคราะห

เรื่องสถิติและความนาจะเปนเบื้องตน ระหวางกอนเรียนและ หลังเรียน ของนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนอนุบาลหนองแสง ท่ีไดรับการจัดการเรียนรูแบบ

บูรณาการโดยใชโครงงาน

ช่ือผูนําเสนอผลงาน นางสุภี แถนสีแสง

โรงเรียน อนุบาลหนองแสง กลุมเครือขาย หนองแสง 1

สังกัด สพป.อุดรธานี เขต 2 โทรศัพท 042 396301

โทรศัพทมือถือ 09 3321 0420 e-mail : [email protected]

1. ความเปนมาและสภาพปญหา

คณิตศาสตรมีบทบาทสําคัญยิ่งตอการพัฒนาความคิดของมนุษย ทําใหมนุษยมีความ

คิดสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบ ระเบียบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะหปญหา และ

สถานการณไดอยางถ่ีถวนรอบคอบ ทําใหสามารถคาดการณ วางแผน ตัดสินใจ และแกปญหาได

อยางถูกตองและเหมาะสม คณิตศาสตรเปนเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ตลอดจนศาสตรอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของ คณิตศาสตรจึงมีประโยชนตอการดํารงชีวิตและชวยพัฒนา

คุณภาพชีวิตใหดีข้ึน นอกจากนี้ คณิตศาสตรยังชวยพัฒนามนุษยใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณ มีความ

สมดุลท้ังทางรางกาย จิตใจ สติปญญา และอารมณ สามารถคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน

และสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 1) เม่ือพิจารณา

ธรรมชาติหรือลักษณะของคณิตศาสตร จะพบวาคณิตศาสตรมีลักษณะเปนนามธรรม มีโครงสราง

ซ่ึงประกอบดวย อนิยาม บทนิยาม สัจพจน ท่ีเปนขอตกลงเบื้องตน จากนั้นจึงใชการใหเหตุผล

ท่ีสมเหตุสมผล สรางทฤษฎีบทตาง ๆ ข้ึน และนําไปใชอยางเปนระบบ คณิตศาสตรมีความถูกตอง

เท่ียงตรง คงเสนคงวา มีระเบียบแบบแผน เปนเหตุเปนผล และมีความสมบูรณในตัวเอง

คณิตศาสตรยังเปนท้ังศาสตรและศิลป ท่ีศึกษาเก่ียวกับแบบรูปและความสัมพันธเพ่ือใหไดขอสรุป

และนําไปใชประโยชน คณิตศาสตรมีลักษณะเปนภาษาสากลท่ีทุกคนเขาใจตรงกันในการสื่อสาร

สื่อความหมาย และถายทอดความรูระหวางศาสตรตาง ๆ (กรมวิชาการ. 2545 : 1 – 2)

คณิตศาสตรเกิดข้ึนและพัฒนามาจากความจําเปนในดานการนําไปใชประโยชนในการดํารงชีวิตของ

มนุษยอยางแทจริง มีลักษณะเปนนามธรรม มีโครงสรางประกอบดวย อนิยาม นิยาม และสัจพจน

ท่ีเปนขอตกลงเบื้องตน จากนั้นจึงใชการใหเหตุผล ท่ีสมเหตุสมผลสรางทฤษฎีบทตาง ๆ แลวนํากฎ

หรือทฤษฎีท่ีไดไปประยุกตใชในธรรมชาติ อยางเปนระบบ คณิตศาสตรมีความถูกตองเท่ียงตรง

คงเสนคงวา มีระเบียบแบบแผน เปนเหตุ เปนผลและ มีความสมบูรณในตัวเอง คณิตศาสตรเปนท้ัง

ศาสตรและศิลป ท่ีศึกษาเก่ียวกับแบบรูปและความสัมพันธ เพ่ือใหไดขอสรุปและนําไปใชประโยชน

36

Page 41: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

คณิตศาสตรมีลักษณะเปนภาษาสากลท่ีทุกคนเขาใจตรงกันในการสื่อสาร สื่อความหมาย และ

ถายทอดความรูระหวางศาสตรตาง ๆ (สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. 2548 : 1)

การจัดการเรียนรูโดยใชกิจกรรมโครงงาน (Project activities) เปนการจัดการเรียนรู

โดยสอดแทรกการทําโครงงาน เขาไปในกิจกรรมการเรียนรูหลังจากเรียนรูเนื้อหาสาระจาก

บทเรียนแลว เปนการนําการทําโครงงานเขามาเปนกิจกรรมเพ่ือฝกทักษะ เสริมสรางความเขาใจ

เพ่ิมพูนความรู และประยุกตใชความรูรวมท้ังการขยายฐานความรูท่ีสัมพันธสอดคลองกับบทเรียน

การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชกิจกรรมโครงงานจัดวาเปนวิธีการจัดการเรียนรูวิธีหนึ่ง สําหรับ

นักเรียนท่ีเริ่มตนเรียนรู การทําโครงงาน ควรใหนักเรียนเริ่มลงมือทําโครงงานอยางงาย หรือ

โครงงานเล็ก ๆ (mini project) ท่ีมีองคประกอบนอย ๆ สอดรบักับกิจกรรมการเรียนและการทํา

แบบฝกหัดตามปกติ แลวคอย ๆ เพ่ิมงาน และองคประกอบของการเขียนรายงานในลักษณะคอย

เปนคอยไป จนกระท่ังมีความสมบูรณตามรูปแบบของการเขียนรายงานการจัดทําโครงงาน

คณิตศาสตรเต็มรูป โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหนักเรียนไดเพ่ิมพูนความรูความเขาใจในสาระสําคัญ

ของบทเรียนและเชื่อมโยงความรูผานการทําโครงงาน ครอบคลุมถึงการประยุกตใชความรูทาง

คณิตศาสตรท่ีเก่ียวของกับบทเรียน (สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. มปป. : 2)

การเรียนการสอนคณิตศาสตรโรงเรียนอนุบาลหนองแสง ในปจจุบันพบวาผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนต่ํา ไมประสบผลสําเร็จตามวัตถุประสงคของหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เห็นไดจาก

การสรุปผลการสอบวัดคุณภาพการศึกษาระดับชาติ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้น

ประถมศึกษาปท่ี 6 ปการศึกษา 2555 ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษาอุดรธานี เขต 2 สาระการเรียนรู

ท่ีโรงเรียนควรเรงพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนต่ํากวาคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ไดแก

สาระการวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 67.00 ระดับประเทศ

คะแนนเฉลี่ย 69.88 (รายงานผลการทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน O-NET 2555) ทําใหผูศึกษา

สนใจท่ีจะศึกษา การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคิดวิเคราะห

เรื่อง สถิติและความนาจะเปนเบื้องตน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โดยการจัดการเรียนรู

แบบบูรณาการโดยใชโครงงานระหวางกอนเรียนและหลังเรียน

2. จุดประสงคและเปาหมายของการดําเนินงาน

2.1 เพ่ือใหนักเรียนไดฝกทักษะ เสริมสรางความเขาใจเพ่ิมพูนความรู และประยุกตใช

ความรูท่ีสัมพันธสอดคลองกับบทเรียนท่ีเรียนแลว

2.2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิดวิเคราะห

สาระคณิตศาสตรโดยใชโครงงาน

37

Page 42: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

3. กระบวนการผลิตผลงาน หรือข้ันตอนการดําเนินงาน

3.1 การออกแบบนวัตกรรมโดยใชวงจรคุณภาพเดม่ิง (PDCA)

ครูสุภี แถนสีแสง : 2556

3.2 การดําเนินงานตามกิจกรรม

จากการศึกษาสภาพปญหาการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตรโรงเรียนอนุบาล

หนองแสง จากผลสอบ O-net พบวาสาระการเรียนรูท่ีโรงเรียนควรเรงพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ย

ของโรงเรียนต่ํากวาคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ไดแก สาระการวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน

นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 67.00 ระดับประเทศ คะแนนเฉลี่ย 69.88 (รายงานผลการทดสอบ

ระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน O-NET 2555) ผูศึกษาจึงจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชโครงงาน โดยมี

แนวทางการดําเนินการคือ กอนเรียนเรื่องสถิติและความนาจะเปนเบื้องตนเบื้องตน มีการทดสอบ

กอนเรียน ระหวางเรียน แตละหัวขอแลวใหนักเรียนไดฝกทักษะโดยการทําโครงงานแบบ

38

Page 43: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

mini project ทุกหัวขอ หลังจากเรียนเรื่องสถิติและความนาจะเปนเบื้องตน เสร็จแลวทดสอบ

หลังเรียน แลวใหนักเรียนแตละกลุมเลือกโครงงานท่ีดี สมบูรณ ถูกตองตามข้ันตอนท่ีสุด มาจัด

บอรดโครงงานเพ่ือนําเสนอโครงงานในหองเรียน และนําโครงงานท่ีดีท่ีสุดในหองเรียน ไปแขงขัน

ระดับหองเรียน เพ่ือหาตัวแทนไปนําเสนอผลงานในวันเกียรติยศ ท่ีโรงเรียนจัดเผยแพรผลงานวิชาการ

สูสาธารณชน ประจําปการศึกษา

3.3 ประสิทธิภาพของการดําเนินงาน

จากการสอนแบบโครงงาน ในปการศึกษา 2556 และพัฒนาตอเนื่องในปการศึกษา

2557 เกิดผลตอผูเรียนดังนี้

3.3.1 นักเรียนไดเปนตัวแทนกลุมเครือขายหนองแสง 1 ไปแขงขันโครงงานคณิตศาสตร

ระดับเขตพ้ืนท่ี ในปการศึกษา 2556 ไดระดับเหรียญเงินระดับเขตพ้ืนท่ี และไดเหรียญทองรอง

ชนะเลิศอันดับ 1 ในปการศึกษา 2557

3.3.2 นักเรียนท่ีไดรับการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการโดยใชโครงงาน

วิชาคณิตศาสตรเรื่องสถิติและความนาจะเปนเบื้องตน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 มีคะแนนเฉลี่ย

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิดวิเคราะห หลังเรียนสูงกวากอนเรียน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ในปการศึกษา 2556

3.3.3 ในปการศึกษา 2556 ผลสอบ O – net นักเรียนมีผลคะแนนเฉลี่ยสูงกวาระดับ

เขตพ้ืนท่ี และระดับประเทศทุกสาระ

4 การใชทรัพยากร

คาวัสดุ 2,000 บาท

บุคลากร

- ครจูํานวน 1 คน

- นักเรียนปการศึกษา 2555 จํานวน 55 คน

- นักเรียนปการศึกษา 2556 จํานวน 56 คน

- นักเรียนปการศึกษา 2557 จํานวน 79 คน

5 ผลการดําเนินงาน/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชนท่ีไดรับ

5.1 ผลท่ีเกิดตามจุดประสงค

5.1.1 นักเรียนไดฝกทักษะ เสริมสรางความเขาใจเพ่ิมพูนความรู

39

Page 44: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

และประยุกตใชความรูท่ีสัมพันธสอดคลองกับบทเรียนเรื่องสถิติและความนาจะเปนเบื้องตนแลว

สามารถทําโครงงานสํารวจได ดังนี้ โครงงานไมดอกไมประดับในโรงเรียน โครงงานคณิตโภชนาการ

โครงงานสํารวจ What is your birthday โครงงานสถิติผูใชหองสมุด โครงงานเพศและวัยไป

ทําบุญท่ีวัด โดยนําเสนอขอมูลในรูปแผนภูมิแทง แผนภูมิแทงเปรียบเทียบ และแผนภูมิวงกลม ได

5.1.2 พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิดวิเคราะห

สาระคณิตศาสตรโดยใชโครงงาน ในปการศึกษา 2556 นักเรยีนมีผลสอบ O – net สูงกวาระดับ

เขตพ้ืนท่ีและระดับประเทศทุกสาระ

5.2 ผลสัมฤทธิ์ของงาน

5.2.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนอนุบาลหนองแสง สามารถทําโครงงาน

สํารวจไดทุกคน

5.2.2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนอนุบาลหนองแสง สามารถนําความรู

เรื่องสถิติและความนาจะเปนเบื้องตนไปประยุกตใชในการทําโครงงานไดทุกคน

5.2.3 นักเรียนท่ีไดรับการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการโดยใชโครงงาน วิชา

คณิตศาสตร เรื่อง สถิติและความนาจะเปนเบื้องตนเบื้องตน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 มีคะแนนเฉลี่ย

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิดวิเคราะห หลังเรียนสูงกวากอนเรียน

คิดเปนรอยละ 41.30

5.3 ประโยชนท่ีไดรับ

5.3.1 นักเรียนมีความมุงม่ันในการทํางาน

5.3.2 นักเรียนมีความสามัคคีในหมูคณะ

5.3.3 นักเรียนมีความม่ันใจในการนําความรูทางคณิตศาสตรไปประยุกตใช

5.3.4 นักเรียนสอบเรียนตอในระดับมัธยมหองพิเศษคณิตโรงเรียนสตรีราชินูทิศได

ในปการศึกษา 2555 จํานวน 3 คน ปการศึกษา 2556 จํานวน 7 คน

6 ปจจัยความสําเร็จ

5.1 สิ่งท่ีชวยใหงานประสบความสําเร็จ

- นักเรียนไดลงมือปฏิบัติ สงผลใหเกิดองคความรูท่ีคงทน

- ความมุงม่ัน ทุมเท เสียสละในการทํางานของนักเรียน และครู

- การไดรับการสนับสนุนจากผูบริหารโรงเรียน และเพ่ือนรวมงาน

40

Page 45: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

7 บทเรียนท่ีไดรับ(Lesson Learned)

6.1 การระบุขอมูล ท่ีไดรับจากการผลิต การนําผลงานไปใช

6.1.1 นักเรียนชนะเลิศโครงงานคณิตศาสตร เปนตัวแทนกลุมเครือขาย ไปแขงขัน

ระดับเขตพ้ืนท่ีทุกป โดย

- ปการศึกษา 2555 ไดเหรียญเงินระดับเขตพ้ืนท่ี

- ปการศึกษา 2556 ไดเหรียญทองระดับเขตพ้ืนท่ี

- ปการศึกษา 2557 ไดเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับเขตพ้ืนท่ี

-

8 การเผยแพร/การไดรับการยอมรับ/รางวัลท่ีไดรับ

8.1 การเผยแพร

8.1.1 ปการศึกษา 2555

- จัดนิทรรศการโครงงานคณิตศาสตรท่ี สพป.อด.2

- จัดนิทรรศการโครงงานคณิตศาสตรในวันเกียรติยศโรงเรียน

- จัดนิทรรศการโครงงานคณิตศาสตรกิจกรรม Asean day

- ประกวดโครงงานของมูลนิธิเปรมติณสูลานนท ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2

ระดับเขตพ้ืนท่ี

- จัดนิทรรศการโครงงานคณิตศาสตร กิจกรรมโครงการ coaching

8.1.2 ปการศึกษา 2556

- จัดนิทรรศการโครงงานคณิตศาสตรท่ี สพป.อด.2

- จัดนิทรรศการโครงงานคณิตศาสตรในวันเกียรติยศโรงเรียน

- จัดนิทรรศการโครงงานคณิตศาสตรกิจกรรม ASEAN day

- จัดนิทรรศการโครงงานคณิตศาสตรกิจกรรมประเมินนักเรียนพระราชทานเพราะ

เจาของผลงานเขารับการประเมินนักเรียนพระราชทาน ผลการประเมินนักเรียนพระราชทาน ไดรับ

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับกลุมจังหวัด

8.2 การไดรับการยอมรับ/รางวัลท่ีไดรับ

8.2.1 รางวัลเหรียญเงินการประกวดโครงงานคณิตศาสตร มหกรรมการแขงขันทักษะ

ทางวิชาการ ปการศึกษา 2555 ระดับเขตพ้ืนท่ี

41

Page 46: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

42

8.2.2 รางวัลเหรียญทองการประกวดโครงงานคณิตศาสตร มหกรรมการแขงขันทักษะ

ทางวิชาการ ปการศึกษา 2556 ระดับเขตพ้ืนท่ี

8.2.3 รางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดโครงงานคณิตศาสตร

มหกรรมการแขงขันทักษะทางวิชาการ ปการศึกษา 2557 ระดับเขตพ้ืนท่ี

Page 47: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ :

ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551.

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. คูมือการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร

ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 เรื่องโครงงานคณิตศาสตร 3. เอกสารประกอบการอบรม

เชิงปฏิบัติการครูผูสอนคณิตศาสตรสําหรับ พัฒนานักเรียนท่ีมีความสามรถพิเศษทาง

คณิตศาสตรระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2. มปป.

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. กลยุทธการพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ป 2548 –

2554. กรุงเทพฯ : โรงพิมพืการศาสนา, 2545.

สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. การวัดผลประเมินผลอิงมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตร

การศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร. กรุงเทพฯ :

องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.), 2548.

43

Page 48: ผลงานดีเด น Best Practice) · ผลงานดีเด น (Best Practice) ครูผู สอนคณิตศาสตร กลุ มนิเทศ