ใบความรู เรื่ังงานในสอง ..ิ่ พลี...

14
พลังงานในสิ่งมีชีวิต หนา 1 ใบความรูเรื่อง..พลังงานในสิ่งมีชีวิต ยุทธนา ศิริคํา สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีความตองการปจจัยพื้นฐานในการดํารงชีวิต เชน อาหาร การหายใจ การขับถาย มีการเคลื่อนไหว มีการเจริญเติบโต มีการสืบพันธุ จึงจําเปนตองมีกระบวนการหรือกิจกรรม ตางๆ เพื่อใหไดมาซึ่งปจจัยดังกลาว กระบวนการและกิจกรรมทั้งหลายเหลานี้จําเปนตองอาศัยพลังงาน ทั้งสิ้น ดังนั้นเซลลใดขาดพลังงาน เซลลนั้นก็ดํารงชีวิตอยูไมได นักชีววิทยาพบวา พลังงานที่เซลลของสิ่งมีชีวิตสามารถนําใชในกระบวนการและ กิจกรรมตางๆ มีเพียงรูปแบบเดียวคือ พลังงานเคมี ( Chemical energy ) พลังงานเคมีที่สิ่งมีชีวิตนํามาใชจะมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ โดยการ เปลี่ยนแปลงโครงสราง หรืออะตอมที่เปนองคประกอบของโมเลกุล ทําใหมีการเปลี่ยนรูปพลังงานเคมี จากสารประกอบอินทรียชนิดหนึ่ง ไปเปนพลังงานเคมีในสารอีกชนิดหนึ่ง ในขณะเกิดปฏิกิริยาเคมี เชน การถายทอดพลังงานเคมีจากสารอาหารที่ใหพลังงานมาเก็บสะสมไวในโมเลุกลของสารที่ทําหนาที่เก็บ พลังงานหมุนเวียนชื่อ Adenosine triphosphate (ATP) ปฏิกิริยาเคมีในเซลลของสิ่งมีชีวิต ปฏิกิริยาเคมี ( Reaction ) ทฤษฎีการชนของโมเลกุล ( Collision Theory ) อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีไวดังนี1. มีการชนกัน (Collision) ของอนุภาคสารตั้งตน (Substrate) 2. อนุภาคของสารตองชนกันในตําแหนงและทิศทางที่เหมาะสม 3. อนุภาคที่ชนกันตองมีพลังงานมากพอที่จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง (ตองมีคาสูง พอที่จะทําลายพันธะเคมีเกา แลวสรางพันธะเคมีใหมของผลิตภัณฑ (Product)) 4. มีพลังงานกระตุนมาชวยเพิ่มพลังงานใหกับอนุภาคของสารตั้งตน เพื่อใหสารตั้งตน อยูในสภาพที่สามารถทําปฏิกิริยาได Activated state) มีพลังงานสูงพอจน สามารถเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีได พลังงานกระตุ( Activation energy ) พลังงานนอยที่สุด ที่สามารถทําใหสารตั้งตน เกิดปฏิกิริยาเคมีได

Transcript of ใบความรู เรื่ังงานในสอง ..ิ่ พลี...

Page 1: ใบความรู เรื่ังงานในสอง ..ิ่ พลี ...wisut.ac.th/.../webteacher/yuthanasite/text/ENZYMEdoc.pdf · 2018-11-07 · 1. เป นสารชีวโมเลก

พลังงานในสิ่งมีชีวิต หนา 1

ใบความรูเรื่อง..พลังงานในสิ่งมีชีวิต ยุทธนา ศิริคํา

สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีความตองการปจจัยพื้นฐานในการดํารงชีวิต เชน อาหาร การหายใจ การขับถาย มีการเคลื่อนไหว มีการเจริญเติบโต มีการสืบพันธุ จึงจําเปนตองมีกระบวนการหรือกิจกรรมตางๆ เพ่ือใหไดมาซึ่งปจจัยดังกลาว กระบวนการและกิจกรรมทั้งหลายเหลานี้จําเปนตองอาศัยพลังงานทั้งสิ้น ดังนั้นเซลลใดขาดพลังงาน เซลลนั้นก็ดํารงชีวิตอยูไมได นักชีววิทยาพบวา พลังงานที่เซลลของสิ่งมีชีวิตสามารถนําใชในกระบวนการและกิจกรรมตางๆ มีเพียงรูปแบบเดียวคือ พลังงานเคมี ( Chemical energy ) พลังงานเคมีที่สิ่งมีชีวิตนํามาใชจะมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ โดยการเปลี่ยนแปลงโครงสราง หรืออะตอมที่เปนองคประกอบของโมเลกุล ทําใหมีการเปลี่ยนรูปพลังงานเคมีจากสารประกอบอินทรียชนิดหนึ่ง ไปเปนพลังงานเคมีในสารอีกชนิดหนึ่ง ในขณะเกิดปฏิกิริยาเคมี เชน การถายทอดพลังงานเคมีจากสารอาหารที่ใหพลังงานมาเก็บสะสมไวในโมเลุกลของสารที่ทําหนาที่เก็บพลังงานหมุนเวียนชื่อ Adenosine triphosphate (ATP) ปฏิกิริยาเคมีในเซลลของส่ิงมีชีวิต

ปฏิกิริยาเคมี ( Reaction ) ทฤษฎีการชนของโมเลกุล ( Collision Theory ) อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีไวดังนี้

1. มีการชนกัน (Collision) ของอนุภาคสารตั้งตน (Substrate) 2. อนุภาคของสารตองชนกันในตําแหนงและทิศทางที่เหมาะสม

3. อนุภาคที่ชนกันตองมีพลังงานมากพอที่จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง (ตองมีคาสูงพอที่จะทําลายพันธะเคมีเกา แลวสรางพันธะเคมีใหมของผลิตภัณฑ (Product))

4. มีพลังงานกระตุนมาชวยเพ่ิมพลังงานใหกับอนุภาคของสารตั้งตน เพ่ือใหสารตั้งตนอยูในสภาพที่สามารถทําปฏิกิริยาได Activated state) มีพลังงานสูงพอจนสามารถเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีได

พลังงานกระตุน ( Activation energy ) พลังงานนอยที่สุด ที่สามารถทําใหสารตั้งตน เกิดปฏิกิริยาเคมีได

Page 2: ใบความรู เรื่ังงานในสอง ..ิ่ พลี ...wisut.ac.th/.../webteacher/yuthanasite/text/ENZYMEdoc.pdf · 2018-11-07 · 1. เป นสารชีวโมเลก

พลังงานในสิ่งมีชีวิต หนา 2

ปฏิกิริยาเคมี ไมวาจะเกิดภายในหรือภายนอกรางกายของสิ่งมีชีวิต จะดําเนินไปตามกฎ เทอรโม

ไดนามิกส ซึ่งวาดวยการเปลี่ยนแปลงของสารและการเปลี่ยนรูปพลังงาน การเปลี่ยนแปลงนี้ตองใช

พลังงานสูงเพื่อใหเกิดปฏิกิริยาเคมี และผลจากปฏิกิริยาจะไดพลังงานสูงเชนเดียวกัน ลักษณะเชนนี้เปน

อันตรายตอเซลลของสิ่งมีชีวิต

ปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิต( Metabolism) จึงตองมีกลไกที่จะหลีกเลี่ยงภาวะที่ไมเหมาะสมนี้ โดย

1. มีกลไกลดระดับพลังงานกระตุน ปฏิกิริยาเคมีที่พบในเซลลของสิ่งมีชีวิต จะมีสารบาง

ชนิดมาทําหนาที่เปนตัวเรงปฏิกิริยา (Enzyme) เพื่อลดระดับพลังงานกระตุน

2. มีกลไกปลอยพลังงานออกมาทีละขั้น เพื่อไมใหพลังงานทั้งหมดถูกปลอยออกมาอยางรวดเร็ว

ซึ่งเปนอันตรายตอเซลล

นอกจากนั้นยังมีการเก็บสะสมพลังงานที่ถูกปลอยออกมาสวนหนึ่งในรูปของ

พลังงานเคมีในสารประกอบ ATP และพลังงานที่สะสมนี้จะอยูในสภาพพรอมที่จะนําไปใชในการดําเนิน

กระบวนการและกิจกรรมตางๆ ของเซลลได

ปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิต (Metabolism) แบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ

1. ปฏิกิริยาสังเคราะหสารอินทรีย (Anabolism) เปนปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น โดยใชพลังงานในการ

สรางหรือสังเคราะหสาร เชน ปฏิกิริยาการสังเคราะหดวยแสง, การสังเคราะหโปรตีนจาก

กรดอะมิโน

2. ปฏิกิริยาการสลายสารอินทรีย (Catabolism) เปนปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น โดยมีการสลายสาร

เพื่อสรางพลังงาน เชน กระบวนการเผาผลาญอาหาร

Page 3: ใบความรู เรื่ังงานในสอง ..ิ่ พลี ...wisut.ac.th/.../webteacher/yuthanasite/text/ENZYMEdoc.pdf · 2018-11-07 · 1. เป นสารชีวโมเลก

พลังงานในสิ่งมีชีวิต หนา 3

เอนไซม (Enzyme)

เอนไซมเปนตัวเรงปฏิกิริยาทางชีวภาพ (Biocatalyst) เปนสารจําพวกโปรตีนโมเลกุลเปนกอน (Globular protein) ประกอบดวยสายโพลีเปปไทดสายเดียว หรือหลายสาย มวนตัวเปนกอน และมักจะมีไอออนของโลหะหนัก หรือโมเลกุลที่ไมใชโปรตีนเปนองคประกอบอยูดวย เอนไซมมีมวลโมเลกุลตั้งแต 10,000 ถึงมากกวา 1 ลาน มีสมบัติเปนตัวเรงปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในเซลล แตมีหลายชนิดที่สามารถทํางานนอกเซลลที่มีสภาพใกลเคียงกับภายในเซลลได โคแฟกเตอร (Cofactor) เอนไซมบางชนิดตองการโมเลกุลของสารอื่นเปนตัวรวมในการทํางาน เรียกสารเหลานี้วา โคแฟกเตอรของเอนไซม ดังนั้นเอนไซมประเภทนี้จะประกอบดวย 2 สวน คือสวนที่เปนโปรตีน(Apoenzyme) และสวนที่เปนโคแฟกเตอร(Cofactor)ถาสองสวนนี้แยกกันจะทํางานไมได แตเม่ือรวมกัน(Holoenzyme)จะทํางานไดดี

Holoenzyme = Apoenzyme + Cofactor

โคแฟกเตอรของเอนไซม แบงออกเปน 2 ชนิด 1. ไออนของโลหะ ไออนของโลหะอาจทําปฏิกิริยากับซับสเตรตเองได หรือเกาะอยูกับเอนไซม ทําใหโครงสรางของเอนไซมเหมาะสม หรือมีสวนรวมในการจับทั้งเอนไซมและซับสเตรตใหอยูรวมกัน เชน Zn2+, Fe2+, Mg2+, Na+ 2. โคเอนไซม ( Coenzyme) สวนใหญเปนสารพวกวิตามิน เชน

NAD+ เปลี่ยนแปลงมาจากวิตามินบีหา ทําหนาที่เปนตัวรับอิเล็กตรอนในกระบวนการหายใจ

FAD เปลี่ยนแปลงมาจากวิตามินบีสอง ทําหนาที่เปนตัวรับอิเล็กตรอนในกระบวนการหายใจเชนเดียวกับ NAD+

โมเลกุลของเอนไซมมีการจัดเรียงตัวอยางซับซอน และจะมีสวนที่สําคัญในการเขารวมกับซับสเตรต เรียกวา บริเวณเรง (Active site) มีลักษณะเปนรอง (Cleft) ซึ่งจะมีรูปรางที่ทําใหสามารถรวมตัวกับซับสเตรตไดพอดี ตามปกติแอกทีฟไซดของเอนไซมจะมีโมเลกุลกรดอะมิโนเพียง 2-3 โมเลกุลเทานั้นที่ยึดกับซับสเตรต กรดอะมิโนนี้จะทําหนาที่เรงปฏิกิริยา สวนกรดอะมิโนที่เหลือของ แอกทีฟไซดจะทําหนาที่โอบลอมในการยึดซับสเตรตเทานั้น

Page 4: ใบความรู เรื่ังงานในสอง ..ิ่ พลี ...wisut.ac.th/.../webteacher/yuthanasite/text/ENZYMEdoc.pdf · 2018-11-07 · 1. เป นสารชีวโมเลก

พลังงานในสิ่งมีชีวิต หนา 4

สมบัติของเอนไซม 1. เปนสารชีวโมเลกุล (Biomolecule) ประเภทโปรตีนที่เซลลสรางขึ้น 2. เปนตัวเรงปฏิกิริยาที่มีความเฉพาะเจาะจง( Specificity) กับซับสเตรต 3. ไมมีการเปลี่ยนแปลงทั้งปริมาณและโครงสราง ภายหลังเกิดปฏิกิริยาเคมีแลว 4. ทําใหเกิดปฏิกิริยาไดแมมีปริมาณเพียงเล็กนอย 5. ลดระดับความตองการพลังงานกระตุนของปฏิกิริยา ทําใหปฏิกิริยาเกิดไดที่อุณหภูมิรางกาย 6. มีประสิทธิภาพในการทํางานสูงมาก สามารถเรงปฏิกิริยาใหเกิดไดนับลานเทา 7. สามารถเรงปฏิกิริยายอนกลับได ( S+E P+E ) 8. ควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาใหเหมาะสมกับความตองการของเซลล 9. ทํางานไดดีที่อุณหภูมิและ pH ที่จํากัด

- Optimum temperature 25-40oC - Optimum pH 6 – 7.5

การเรียกชื่อเอนไซม

1. เรียกชื่อตามซับสเตรต (Substrate) ของปฏิกิริยาที่มีเอนไซมนั้นๆ เปนตัวเรง โดยเติม เอส (-ase) ลงขางทายซับสเตรตนั้น เชน มอลเตส (Maltase) เรงการสลายน้ําตาลมอลโตส (Maltose) 2. เรียกชื่อตามปฏิกิริยาที่เรง โดยเติม เอส (-ase) หลังชื่อปฏิกิริยา เชน ดีคารบอกซีเลส (Decarboxylase) เปนเอนไซมในปฏิกิริยา ดีคารบอกซิเลชัน (Decarboxylation) ดึง CO2 ออกจากสาร 3. เอนไซมบางชนิดมีชื่อเฉพาะ เชน เปปซิน ( Pepsin) ทริปซิน (Trypsin) การทํางานของเอนไซม

Ξ การทํางานของเอนไซม เกิดที่ผิวของเอนไซม โดยเอนไซม(E) จะรวมตัวกับซับสเตรต

(S) ตรงบริเวณแอกทีฟไซดไดพอดี มีผลทําใหซับสเตรตแปรสภาพเปนสารเชิงซอน(Enzyme-substrate complex; ES) ซึ่งเปนสารไมอยูตัว ทําใหสลายตัวไดงายกลายเปนสารผลิตภัณฑ (P)

E + S ES 2P + E E + 2S ES P + E

Page 5: ใบความรู เรื่ังงานในสอง ..ิ่ พลี ...wisut.ac.th/.../webteacher/yuthanasite/text/ENZYMEdoc.pdf · 2018-11-07 · 1. เป นสารชีวโมเลก

พลังงานในสิ่งมีชีวิต หนา 5

Ξ Emil Fisher ไดเสนอแนวคิดแบบจําลองแมกุญแจกับลูกกุญแจ (Lock and key theory) เพ่ืออธิบายการทํางานของเอนไซม โดยเปรียบเทียบวา ซับสเตรตเปรียบเสมือนแม

กุญแจที่ล็อกไว เอนไซมเปรียบเสมือนลูกกุญแจที่สามารถสวมเขากันไดพอดี ดังนั้นแมกุญแจ

ที่ไขแลวเปรียบเสมือนผลิตภัณฑที่ได สําหรับลูกกุญแจไมเปลี่ยนแปลง

Ξ Koshland เสนอแนวคิดทฤษฎีการชักนําใหเหมาะสม ( Induced fit theory ) เนื่องจากพบวา

เอนไซมบางชนิด แอกทีฟไซดไมคงรูปตลอดเวลา สามารถถูกชักนําโดยซับสเตรตใหเปลี่ยนไป

ใหพอดีกับรูปรางของซับสเตรตได

Ξ เอนไซมบางชนิดสามารถเรงปฏิกิริยาของซับสเตรตไดหลายชนิด แตซับสเตรตเหลานั้นตอง

เปนสารประกอบประเภทเดียวกัน เชน ทริปซิน และไคโมทริปซิน เปนเอนไซมสลายพันธะเปป

ไทดของสารอาหารประเภทโปรตีน

Ξ โดยทริปซินจะไฮโดรไลซพันธะเปปไทดของกรดอะมิโนที่เปนดาง คือไลซีนหรืออารจีนีน

Ξ สวนไคโมทริปซินจะไฮโดรไลซพันธะเปปไทดของกรดอะมิโนไทโรซีน เฟนิลอะลานีน และ

ทริปโตเฟนไดดี และยังสามารถสลายพันธะเปปไทดเมไธโอนีน กรดแอสปารติก ฮีสติดีน

ลิวซีน แอสปาราจีน และกลูตามีนไดดวย

Page 6: ใบความรู เรื่ังงานในสอง ..ิ่ พลี ...wisut.ac.th/.../webteacher/yuthanasite/text/ENZYMEdoc.pdf · 2018-11-07 · 1. เป นสารชีวโมเลก

พลังงานในสิ่งมีชีวิต หนา 6

ปจจัยที่เกี่ยวของกับการทํางานของเอนไซม

1. อุณหภูมิ โดยปกติอุณหภูมิที่เหมาะสมกับการทํางานของเอนไซม (Optimum temperature)

อยูระหวาง 25 – 40 OC ถาสูงหรือตํ่ากวานี้ อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะลดลง เนื่องจากอุณหภูมิไปมีผลตอ

การเปลี่ยนแปลงรูปรางของเอนไซม เนื่องจากเปนโปรตีน

2. ความเปนกรด-เบส ( pH ) สภาพความเปนกรด-เบส มีผลตอการทํางานของเอนไซม

เชนเดียวกับอุณหภูมิ เอนไซมสวนใหญทํางานไดดีในชวง pH ระหวาง 6 – 7.5 (Optimum pH) แตเอนไซม

แตละชนิดยังมีความแตกตางกันเชน

เปปซิน ทํางานไดดีในชวง pH 1.5 – 2.5

ลิเปส ทํางานไดดีในชวง pH 7

ซูเครส ทํางานไดดีในชวง pH 6.2

Page 7: ใบความรู เรื่ังงานในสอง ..ิ่ พลี ...wisut.ac.th/.../webteacher/yuthanasite/text/ENZYMEdoc.pdf · 2018-11-07 · 1. เป นสารชีวโมเลก

พลังงานในสิ่งมีชีวิต หนา 7

3. ปริมาณของซับสเตรต เมื่อปริมาณซับสเตรตเพิ่มมากขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาก็จะเกิดไดเร็ว

ข้ึน แตถามีปริมาณซับสเตรตมากเกินไป ก็ไมมีผลทําใหปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น เนื่องจากไมมีปริมาณเอนไซม

เพียงพอที่จะทําปฏิกิริยากับซับสเตรตที่มากเกินพอนั้น

4. ปริมาณเอนไซม เมื่อปริมาณของเอนไซมเพิ่มมากขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาก็จะเกิดเร็วขึ้น แต

ถามีปริมาณเอนไซมมากเกินพอในปฏิกิริยา ก็ไมมีผลทําใหอัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น เพราะไมมี

ซับสเตรตเหลือพอที่จะเขาทําปฏิกิริยา แตถาใหเวลามากขึ้นจนกระทั่งเอนไซมหลุดแยกออกจากผลิตภัณฑ

และสามารถเรงปฏิกิริยาของซับสเตรตโมเลกุลอ่ืน ก็จะทําใหอัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มข้ึนได

5. สารบางชนิดที่มีผลตอการทํางานของเอนไซม

5.1 แอกติเวเตอร ( Activator ) เปนสารที่ทําใหปฏิกิริยาที่มีเอนไซมเปนตัวเรงเกิดไดดีข้ึน

และมีเอนไซมบางชนิดจะทํางานไมได ถาไมมีแอกติเวเตอร เชน

- ทริปซิโนเจน (Trypsinogen) จากตับออน จะทํางานไดเมื่อไดรับการกระตุนจาก สาร เอนเทอโร-

ไคเนส (Enterokinase) ที่สรางจากลําไสเล็ก

- เปปซิโนเจน (Pepsinogen) ในกระเพาะอาหาร ตองไดรับการกระตุนจาก HCl

5.2 อินฮิบิเตอร (Inhibitor) หรือตัวยับยั้งเอนไซม เปนสารท่ําใหปฏิกิริยาที่มีเอนไซมเปน

ตัวเรงปฏิกิริยาหยุดชะงักลง

ทั้งแอกติเวเตอรและอินฮิบิเตอร เปนสารจําเพาะที่มีผลตอเอนไซมชนิดใดชนิดหนึ่งเทานั้น

Page 8: ใบความรู เรื่ังงานในสอง ..ิ่ พลี ...wisut.ac.th/.../webteacher/yuthanasite/text/ENZYMEdoc.pdf · 2018-11-07 · 1. เป นสารชีวโมเลก

พลังงานในสิ่งมีชีวิต หนา 8

ตัวยับยั้งเอนไซม

ตัวยับยั้งเอนไซมมีผลทําใหปฏิกิริยาเคมีหยุดชะงักลง เนื่องจากไปรวมกับเอนไซม ทําใหเอนไซมไม

สามารถเขารวมกับซับสเตรตได แบงออกเปน 2 ประเภท

1. ตัวยับยั้งเอนไซมแบบทวนกลับ (Reversible inhibitor) ตัวยับยั้งเอนไซมประเภทนี้จะเขารวม

กับเอนไซมแบบไมถาวร แบงออกเปน 2 ชนิด

1.1 ตัวยับยั้งแบบแขงขัน (Competitive inhibitor) ตัวยับยั้งเอนไซมประเภทนี้จะมีรูปราง

คลายซับสเตรตมาก และยังสามารถเขาจับกับแอกทีฟไซดของเอนไซมไดดีกวา ทําใหเอนไซมเขาจับกับ

ซับสเตรตไมได หรือไดนอยลง ทําใหปฏิกิริยาเคมีลดลงหรือหยุดชะงัก

1.2 ตัวยับยั้งแบบไมแขงขัน (Non-competitive inhibitor) ตัวยับยั้งเอนไซมแบบนี้จะมี

โครงสรางตางจากโมเลกุลของซับสเตรต โดยที่ตัวยับยั้งเอนไซมจะเขาไปจับกับตําแหนงอื่นของเอนไซมที่ไม

ใชแอกทีฟไซต ทําใหโมเลกุลของเอนไซมมีรูปรางเปลี่ยนไป ไมสามารถจับกับซับสเตรตได

2. ตัวยับยั้งเอนไซมแบบไมทวนกลับ (Irreversible inhibitor) ตัวยับยั้งเอนไซมประเภทนี้จะจับ

เอนไซมอยางถาวรดวยพันธะโคเวเลนต (Covalent bond) ทําใหเอนไซมไมสามารถเรงปฏิกิริยาไดอีก และ

ไมสามารถคืนสูปกติได ทําใหสูญเสียสภาพการเปนเอนไซมไป

Page 9: ใบความรู เรื่ังงานในสอง ..ิ่ พลี ...wisut.ac.th/.../webteacher/yuthanasite/text/ENZYMEdoc.pdf · 2018-11-07 · 1. เป นสารชีวโมเลก

พลังงานในสิ่งมีชีวิต หนา 9

จากการศึกษาพบวา ตัวยับยั้งเอนไซมสวนใหญจะยับยั้งการทํางานของเอนไซมเฉพาะ

อยาง โดยยับยั้งเอนไซมตัวหนึ่งจะทําใหปฏิกิริยาอยางหนึ่งหยุดชะงัก แตจะไมมีผลไปกระทบตอปฏิกิริยา

อ่ืนๆ ที่เอนไซมชนิดอื่นเปนตัวเรงปฏิกิริยา

สําหรับปฏิกิริยาที่เปนปฏิกิริยาตอเนื่อง ในแตละขั้นตอนจะมีเอนไซมตางชนิดกันเปน

ตัวเรงปฏิกิริยา ซับสเตรตจะถูกเปลี่ยนไปเปนผลิตภัณฑ(A)โดยเอนไซมชนิดหนึ่ง แลวตอมาผลิตภัณฑNจะ

ถูกเปลี่ยนเปนสารชนิดอื่น(B)โดยเอนไซมอีกชนิดหนึ่ง ถาเอนไซมตัวแรกถูกยับยั้งไมสามารถทํางานได ก็

ยอมมีผลตอการเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ(B)ดวย แตไมไดหมายความวาตัวยับยั้งเอนไซมชนิดแรกยับยั้งการ

ทํางานของเอนไซมชนิดหลังดวย

จากคุณสมบัติดังกลาว จึงมีการใชตัวยับยั้งเอนไซม ในการศึกษาลําดับข้ันตอนการ

เกิดปฏิกิริยาตางๆ มากมายที่เกิดในส่ิงมีชีวิต

พลังงานเคมี พลังงานที่เซลลของสิ่งมีชีวิตนํามาใชในกิจกรรมตางๆ ไดมาจากพลังงานเคมีซึ่งเกิดจาก

ปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล ในการเกิดปฏิกิริยาหนึ่งๆ ภายในระบบ จําเปนตองมีการใชพลังงานจํานวนหนึ่ง

ในการสลายพันธะของสารตั้งตน จากนั้นเมื่อมีการรวมตัวกันใหมเพื่อเปนผลิตภัณฑก็จะมีพลังงานจํานวน

หนึ่งคายออกมา ดังนั้นจึงมีการแบงปฏิกิริยาเคมีเมื่อคํานึงถึงพลังงาน เปน 2 ประเภท คือ

1. ปฏิกิริยาดดูพลังงาน (Endergonic reaction)หมายถึงปฏิกิริยาเคมีที่มีการถายเทพลังงานจาก

ส่ิงแวดลอมเขาสูระบบ ดังนั้นในปฏิกิริยาดูดพลังงาน ผลิตภัณฑจะมีระดับพลังงานสูงกวาสารตั้งตน

เชน 6CO2 + 12H2O ---------------------- C6H12O6 + 6H2O + 6O2พลังงานแสง

คลอโรฟลล

2. ปฏิกิริยาคายพลังงาน (Exergonic reaction) เปนปฏิกิริยาเคมีที่มีการถายเทพลังงานจากระบบ

สูส่ิงแวดลอม ดังนั้นในปฏิกิริยคายพลังงานสารตั้งตนจะมีพลังงานสูงกวาสารผลิตภัณฑ

Page 10: ใบความรู เรื่ังงานในสอง ..ิ่ พลี ...wisut.ac.th/.../webteacher/yuthanasite/text/ENZYMEdoc.pdf · 2018-11-07 · 1. เป นสารชีวโมเลก

พลังงานในสิ่งมีชีวิต หนา 10

เชน C6H12O6 + 6O2 ------------------------- 6CO2 + 6H2O + พลังงาน

สารใดมีระดับพลังงานต่ํา ----------------- เสถียรสูง

สารใดมีระดับพลังงานสูง ----------------- เสถียรต่ํา

บทบาทของอิเล็กตรอน อะตอมของธาตุแตละชนิดประกอบดวยอนุภาค (Particle) ที่มีขนาดเล็กไดแก โปรตอน

นิวตรอน (รวมกันเปนนิวเคลียส) และอิเล็กตรอน ซึ่งมีบทบาทสําคัญในการเกิดปฏิกิริยาเคมี ธาตุแตละ

ชนิดจะมีจํานวนโปรตอนไมเทากัน จํานวนโปรตอนของธาตุเรียกวา เลขอะตอม(Atomic number) ถานํา

จํานวนโปรตอนและนิวตรอนมารวมกันเรียกวา เลขมวล (mass number) หรือมวลอะตอม ( Atomic

mass) เลขอะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะเทากันเสมอ แตจํานวนนิวตรอนอาจไมเทากันเสมอไป ดังนั้น

อะตอมที่มีเลขอะตอมเดียวกันแตมีหลายเลขมวล เรียกวาเปนไอโซโทป ( Isotope)

อิเล็กตรอนเปนสวนที่อยูนอกนิวเคลียส ระยะหางของอิเล็กตรอนจากนิวเคลียสจะขึ้นอยู

กับระดับพลังงานของอิเล็กตรอน ถาหากมีพลังงานต่ําจะอยูใกลนิวเคลียส ถายิ่งมีพลังงานสูงจะอยูหาง

นิวเคลียสมากขึ้น ดังนั้นอิเล็กตรอนอยูระดับใดจึงขึ้นอยูกับพลังงาน แตถาไดรับพลังงานมากขึ้น ก็จะเลื่อน

ระดับไปอยูในระดับพลังงานที่สูงขึ้น เมื่อคายพลังงานสวนที่ไดรับไปออกมาก็จะเคลื่อนกลับมาอยูที่ระดับ

เดิม ภาวะที่อิเล็กตรอนอยูในระดับพลังงานที่ต่ําสุดเรียกวา ภาวะพื้น (Ground state) ภาวะพื้นอาจมี

อิเล็กตรอนไดหลายตัว และภาวะพื้นของอิเล็กตรอนแตละตัวจะตางกัน ทั้งนี้เพราะธาตุที่มีเลขอะตอม

มากๆ จะมีอิเล็กตรอนมากดวย ทําใหจัดภาวะพื้นของอิเล็กตรอนไดหลายระดับ แตละระดับมีอิเล็กตรอนได

หลายตัว ถาอิเล็กตรอนใดไดรับพลังงานเพิ่มข้ึนอยางเพียงพอ ก็สามารถเลื่อนไปอยูในระดับพลังงานที่

สูงขึ้นได ภาวะนี้เรียกวา ภาวะถูกกระตุน (Excited state)

อิเล็กตรอนเมื่อไดรับพลังงานเพิ่มมากขึ้น ปกติจะคายพลังงานออกมาแลวกลับลงสูระดับ

พลังงานเดิม หรืออาจมีตัวรับอิเล็กตรอนมารับอิเล็กตรอนไป

Page 11: ใบความรู เรื่ังงานในสอง ..ิ่ พลี ...wisut.ac.th/.../webteacher/yuthanasite/text/ENZYMEdoc.pdf · 2018-11-07 · 1. เป นสารชีวโมเลก

พลังงานในสิ่งมีชีวิต หนา 11

พันธะเคมี บทบาทที่สําคัญของอิเล็กตรอนอีกอยางหนึ่งคือ การทําใหเกิดพันธะเคมี พันธะเคมีที่สําคัญไดแก

1. พันธะโคเวเลนต หมายถึง พันธะที่เกิดจากการอะตอมของธาตุใชอิเล็กตรอนรวมกัน

เปนคูๆ เพื่อใหอิเล็กตรอนวงนอกหรือเวเลนตอิเล็กตรอน (Valent electron) ครบ 8 ตามกฎออกเตด (Octet

rule)นั้นเอง (ยกเวนไฮโดรเจนและฮีเลียมครบ 2) สวนโมเลกุลของสารประกอบที่ไดเรียกวา โมเลกุลโคเว

เลนต และเรียกสารประกอบนี้วา สารประกอบโคเวเลนต

2. พันธะไอออนิก หมายถึงแรงดึงดูทางไฟฟาระหวางไอออนบวก กับไอออนลบ ซึ่งเกิดขึ้น

เนื่องจากอะตอมของธาตุโลหะรวมตัวกับอะตอมของธาตุอโลหะ แลวมีการใหและรับอิเล็กตรอน โดยโลหะ

เปนผูใหและอโลหะเปนผูรับ ทั้งนี้เพื่อใหอิเล็กตรอนวงนอกครบ 8 อะตอมที่ใหอิเล็กตรอนก็จะกลายเปน

ไอออนบวก อะตอมที่รับอิเล็กตรอนเปนไอออนลบ ไอออนทั้งสองมีประจุตางกัน จึงเกิดแรงดึงดูดทางไฟฟา

ยึดเหนียวอะตอมทั้งสองหรือมากกวาสองเขาดวยกัน เกิดเปนสารประกอบเรียกวา สารประกอบไอออนิก

( Ionic compound)

3. พันธะไฮโดรเจน หมายถึงพันธะที่เกิดขึ้นเนื่องจากไฮโดรเจนอะตอมมีพันธะโคเวเลนต

กับอะตอมของธาตุที่มีเวเลนตอิเล็กตรอนมากๆ และมีขนาดเล็ก เชน F, O, N ทําใหเกิดพันธะมีข้ัวและ

โมเลกุลมีข้ัว โดยไฮโดรเจนมีประจุไฟฟาเปนบวก สวนอะตอมของอีกธาตุหนึ่งมีประจุไฟฟาเปนลบ อะตอม

ไฮโดรเจนซึ่งมีประจุไฟฟาบวกก็จะเกิดแรงดึงดูดทางไฟฟากับอะตอมซึ่งมีประจุไฟฟาลบ และมีอิเล็กตรอน

คูโดดเดี่ยวฝนอีกโมเลกุลหนึ่ง

Page 12: ใบความรู เรื่ังงานในสอง ..ิ่ พลี ...wisut.ac.th/.../webteacher/yuthanasite/text/ENZYMEdoc.pdf · 2018-11-07 · 1. เป นสารชีวโมเลก

พลังงานในสิ่งมีชีวิต หนา 12

ออกซิเดชัน-รีดักชัน (Oxidation Reduction;Redox)

ในการเกิดปฏิกิริยา ปฏิกิริยาใดที่มีการสูญเสียอิเล็กตรอนไป เรียกวา ออกซิเดชัน

(Oxidation) และปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอนมาเรียกวา รีดักชัน (Reduction) ทั้งสองปฏิกิริยานี้จะเกิด

ควบคูกันเสมอ

ปฏิกิริยา ออกซิเดชัน-รีดักชันในทางชีววิทยา มักมีการสูญเสียในรูปอะตอมของไฮโดรเจน

เนื่องจากการสูญเสียอิเล็กตรอนมักเกิดควบคูกับการสูญเสียโปรตอนดวย

ออกซิเดชัน รีดักชัน

1. ปลอยอิเล็กตรอน

2. ปลอยไฮโดรเจน

3. นําออกซิเจนเขา

4. คายพลังงาน

1. นําอิเล็กตรอนเขา

2. นําไฮโดรเจนเขา

3. ปลอยออกซิเจนออก

4. ดูดพลังงาน

สารเก็บพลังงานหมุนเวียน

ในการสลายสารอาหารของกระบวนหายใจ จะมีการคายพลังงานอิสระออกมาเปน

จํานวนมาก พลังงานเหลานี้เปนผลมาจากการเคลื่อนยายอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของสารอาหารไปยัง

โมเลกุลของสารอื่นอีกหลายชนิด โดยการรับและการใหอิเล็กตรอน จนถึงตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดทาย คือ

กาซออกซิเจน โดยมีการเก็บพลังงานไวในโมเลกุลของสารเคมีที่ชื่อ Adenosine triphosphate (ATP)

โครงสรางของ ATP

1. เบส (base) เปนเบสที่มีธาตุไนโตรเจนเปนองคประกอบอยูดวย จึงเรียกวา

Nitrogenous base หรือ Adenine

2. น้ําตาลไรโบส (Ribose) เปนน้ําตาลที่มี 5 คารบอนอะตอม

3. ฟอสเฟต (Phosphate) ประกอบดวยหมูฟอสเฟต 3 หมู พันธะระหวางหมูฟอสเฟต

เปนพันธะที่มีพลังงานสูง High rich energy bond

Page 13: ใบความรู เรื่ังงานในสอง ..ิ่ พลี ...wisut.ac.th/.../webteacher/yuthanasite/text/ENZYMEdoc.pdf · 2018-11-07 · 1. เป นสารชีวโมเลก

พลังงานในสิ่งมีชีวิต หนา 13

พลังงานที่เกิดจากปฏิกิริยาคะตาบอลิซึม (Catabolism) สวนใหญจะถูกเก็บไวในรูปของ

พลังงานเคมี ในสารประกอบ ATP เซลลจะนําพลังงานจากสารนี้ไปใชในกิจกรรมตางๆ ของเซลล

วัฏจักรของ ATP

เมื่อ ATP ทําปฏิกิริยากับน้ํา (Hydrolysis) พันธะพลังงานสูงระหวางหมูฟอสเฟตจะ

แยกสลายและใหพลังงานออกมาเปนจํานวนมากกวางพันธะเคมีทั่วไป คือ มีการปลดปลอยพลังงาน

ออกมา 7.3 kcal/mol ดังสมการ

ATP + H2O ---------------------- ADP + Pi + พลังงาน 7.3 kcal/mol Atp-ase

เมื่อ ATP สูญเสียหมูฟอสเฟต (Pi) ไป 1 หมู จะกลายเปน Adenosine diphosphate

(ADP) สวนฟอสเฟตที่หลุดออกมาจะรวมกับอินทรียสาร ทําใหสารที่ไดรับหมูฟอสเฟตจาก ATP มีพลังงาน

สูงขึ้น

สําหรับ ADP จะกลับไปเปน ATP ไดอีกเมื่อไดรับพลังงานเพียงพอ (ไมมีนอยกวา 7.3

kcal/mol) ทําใหการเปลี่ยนแปลงของ ATP และ ADP จะเกิดวนเวียนเปนวัฏจักร

การสังเคราะห ATP การสังเคราะห ATP เปนการสรางพันธะเคมีที่มีพลังงานสูงของ ATP ซึ่งเรียกกระบวนการนี้วา

ฟอสโฟรีเลชัน (Phosphorylation)

การสังเคราะห ATP มีวิธีการสรางหลายแบบ ไดแก

1. การสังเคราะห ATP จากพลังงานแสง เปนการสราง ATP ในสิ่งมีชีวิตที่สังเคราะหดวยแสงได

โดยการใชพลังงานแสงที่ไดรับมาทําใหเกิดการรวมตัวของ ADP กับหมูฟอสเฟต

ADP + Pi --------------------------------- ATP พลังงานแสง

Page 14: ใบความรู เรื่ังงานในสอง ..ิ่ พลี ...wisut.ac.th/.../webteacher/yuthanasite/text/ENZYMEdoc.pdf · 2018-11-07 · 1. เป นสารชีวโมเลก

พลังงานในสิ่งมีชีวิต หนา 14

2. การสังเคราะห ATP จากการสลายโดยกระบวนการหายใจ (Oxidative Phosphorylation) เปน

การสราง ATP โดยการรวมตัวของ ADP กับหมูฟอสเฟต ในขณะที่มีการถายทอดอิเล็กตรอน

ADP + Pi ----------------------------------------- ATP พลังงานอิสระจากการหายใจ

เชน NADH2 + ½ O2 + 3ADP + 3Pi -------------- NAD+ + H2O + 3 ATP

3. การสังเคราะห ATP จากสารที่มีพลังงานสูงกวา เปนการรวมตัวของ ADP กับหมูฟอสเฟต จาก

การถายทอดพลังงานที่ไดจากการสลายสารที่มีพันธะเคมีพลังงานสูงกวา

ADP + Pi ----------------------------------------- ATP พลังงานอิสระจากสารที่มีพลังงาน

เชน phosphoenol pyruvate + ADP -------------------------------- pyruvate + ATP pyruvatekinase