ภาคผนวก ง...

50
ภาคผนวก ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบสิ่งแวดลอม

Transcript of ภาคผนวก ง...

Page 1: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบสิ่งแวดลอม

Page 2: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

1. คุณภาพอากาศ

1.1 คุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป

1.1.1 การตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศแบบตอเนื่อง

ขอบเขตการดําเนนิงาน

ติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ไดแก กาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) กาซไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) ฝุนละอองรวม (Total Suspended Particulate : TSP) และฝุนละอองขนาดไมเกิน 10 ไมครอน (PM-10) โดยทําการตรวจวัดอยางตอเน่ืองบริเวณชุมชนโดยรอบโรงไฟฟาแมเมาะ ผลการตรวจวัดที่ได จะนํามาประเมินผลกระทบตอคุณภาพอากาศอันเกิดจากการดําเนินงานของโรงไฟฟาแมเมาะ โดยเปรียบเทียบผลการตรวจวัดกับมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2538) ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2547) และฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2552)

จุดเก็บตัวอยางและวิธีการตรวจวัด

การตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศแบบตอเน่ือง โดยแผนกสิ่งแวดลอม โรงไฟฟาแมเมาะ ใชวิธีการและเครื่องมือตามมาตรฐานที่กําหนด โดยคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติหรือวิธีเทียบเทา มีสถานีตรวจวัดทั้งสิ้น 11 สถานี (รูปที่ ง-1) โดยการตรวจวัดแบงออกเปน 2 ประเภท คือ

1. การตรวจวัดฝุนละออง ไดทําการตรวจวัด - ฝุนละอองรวม (TSP) จํานวนทั้ง 11 สถานี - ฝุนละอองขนาดไมเกิน 10 ไมครอน (PM-10) จํานวน 4 สถานี ไดแก สถานีตรวจอากาศหลัก

สถานีบานสบปาด สถานีบานหัวฝาย และสถานีศูนยราชการแมเมาะ 2. การตรวจวัดกาซ ไดทําการตรวจวัด

- กาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) จํานวนทัง้ 11 สถานี - กาซไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) จํานวนทั้ง 11 สถานี

ซึ่งการตรวจวัดกาซและฝุนละอองแตละชนิดจะใชวิธีมาตรฐานที่กําหนดโดยคณะกรรมการสิ่งแวดลอม

แหงชาติหรือวิธีเทียบเทา จากน้ันรวบรวมผลบันทึกขอมูลนํามาประเมินผลกระทบตอคุณภาพอากาศโดย

เปรียบเทียบกับคามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไปที่กําหนดโดยคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ

ในระหวางการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไปจะบันทึกขอมูลความเร็วและทิศทางลมที่สถานี

ตรวจวัดอากาศหลักควบคูกันไป โดยมีวิธีการและเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศแบบตอเน่ืองแสดง

ดังตารางที่ ง-1

ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

ง-1

Page 3: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ตารางที่ ง.1-1 วิธีการและเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศแบบตอเน่ือง

กาซหรือฝุนละออง วิธีการตรวจวัด/เครื่องมือ กําหนดการ

1. ฝุนละอองรวม (TSP) Tapered element oscillating microbalance (TEOM)

เก็บตัวอยางอยางตอเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง

2. ฝุนละอองขนาดไมเกิน 10 ไมครอน (PM-10)

Beta-Gauge หรือ Micro Balance (i) เก็บตัวอยางอยางตอเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง

3. กาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) UV Fluorescence เก็บตัวอยางอยางตอเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง

4. กาซไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) Chemiluminescence เก็บตัวอยางอยางตอเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง

5. ความเร็ว/ทิศทางลม (Wind speed/Wind direction)

Sodar/Rass wind profiler ตรวจวัดตอเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง

หมายเหตุ (i)เปนวิธีการตรวจวัดตามประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง เครื่องตรวจวัดหาคาเฉลี่ยของกาซหรือฝุนละออง โดยระบบอ่ืนท่ีกรมควบคุมมลพิษเห็นชอบ

1.1.2 การตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศแบบครัง้คราว

ขอบเขตการดําเนนิงาน

ติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไป ไดแก ฝุนละอองรวม (Total Suspended Particulate: TSP) และฝุนละอองขนาดไม เกิน 10 ไมครอน (PM -10) ความเร็วและทิศทางลม (Wind speed/Wind direction) โดยทําการตรวจวัด 5 วันตอเน่ือง สําหรับการตรวจวัดปริมาณสารปรอท (Hg) และสารหนู (As) ในฝุนบรรยากาศ ดําเนินการตรวจวัดบริเวณชุมชนโดยรอบโครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-7 ผลการตรวจวัดที่ไดจะนํามาประเมินผลกระทบตอคุณภาพอากาศอันเกิดจากกิจกรรมกอสรางโครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-7 โดยเปรียบเทียบผลการตรวจวัดกับมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไป ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2538) ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2547)

จุดเก็บตัวอยางและวิธีการตรวจวัด

การตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศแบบครั้งคราว ใชวิธีการและเครื่องมือตามมาตรฐานที่กําหนดโดยคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ หรือวิธีเทียบเทา (รูปที่ ง-1) โดยการตรวจวัดแบงออกเปน 2 ประเภท คือ

1. การตรวจวัดฝุนละอองและสภาพอุตุนิยมวิทยา ไดทําการตรวจวัด - ฝุนละอองรวม (TSP) และฝุนละอองขนาดไมเกิน 10 ไมครอน (PM-10) - ทิศทางลมและความเร็วลม - จํานวน 3 สถานี ไดแก 1) สถานีตรวจอากาศหลกั 2) สถานีบานสบปาด และ 3) สถานีบานหัวฝาย

2. การตรวจวัดปริมาณมลสารประเภทโลหะหนักและสภาพอุตุนิยมวิทยา ไดทําการตรวจวัด - สารปรอท (Hg) และสารหนู (As) ในฝุนบรรยากาศ - ทิศทางลมและความเร็วลม - จํานวน 3 สถานี ไดแก 1) สถานีตรวจวัดอากาศหลัก 2) ชุมชนบานหางฮุง (วัดหางฮุงศรัทธาราม) และ 3) สถานีบานสบปาด

ง-2

Page 4: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ซึ่งการตรวจวัดจะใชวิธีมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2538) และฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2547) ทั้งน้ี กอนการตรวจวัด จะมีการปรับคามาตรฐาน (Calibration) ของเครื่องมือตรวจวัดทุกครั้ง รายละเอียดจุดเก็บตัวอยาง เครื่องมือตรวจวัด และวิธีการตรวจวัด ดังแสดงในตารางที่ ง-2 ตารางที่ ง-2 วิธีการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศแบบครั้งคราว

ขอมูลคุณภาพอากาศ วิธีการ/เครื่องมือตรวจวัด

1. คาเฉลี่ยของฝุนละอองรวม (TSP) ในเวลา 24 ชั่วโมง Gravimetric / High Volume Air Sampler**

2. คาเฉลี่ยของฝุนละอองขนาดไมเกิน 10 ไมครอน (PM-10) ในเวลา 24 ชั่วโมง

Beta-Gauge หรือ Micro Balance*

3. ความเร็ว/ทิศทางลม (Wind speed/Wind direction) Sodar/Rass wind profiler

4. สารปรอท (Hg) และ สารหนู (As) High Volume Air Sampler/ AA/ ICP

หมายเหตุ: * วิธีเทียบเทาวิธีมาตรฐานตามประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องเครื่องวัดหาคาเฉลี่ยของกาซหรือฝุนละออง ซ่ึงทํางานโดยระบบอื่นที่กรมควบคุมมลพิษเห็นชอบ

** วิธีการตรวจวัดเปนระบบท่ีกําหนดตามประกาศคณะกรรมการสิง่แวดลอมแหงชาติ ฉบบัท่ี 10 (พ.ศ. 2538)

ง-3

Page 5: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

สถานีตรวจอากาศหลัก สถานีบานพักหวยคิง สถานีคาประตูผา

สถานีบานทาส ี สถานีบานสบเมาะ สถานีบานสบปาด

สถานีบานเสด็จ สถานีบานแมจาง สถานีบานหัวฝาย

สถานีบานใหมรัตนโกสินทร สถานีศูนยราชการแมเมาะ เครื่องมือตรวจวัดคุณภาพอากาศ

ติดตั้งภายในสถานีตรวจวัดฯ

ชุมชนบานหางฮงุ (วัดหางฮงุศรัทธาราม) เครื่อง High Volume Air Sampler เก็บตัวอยาง

ฝุนละอองรวม (TSP)

รูปที่ ง-1 สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไปบริเวณโดยรอบโรงไฟฟาแมเมาะ

ง-4

Page 6: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

1.2 คุณภาพอากาศจากปลองของโรงไฟฟาแมเมาะ

1.2.1 การตรวจวัดคุณภาพจากปลองแบบตอเนื่อง

ขอบเขตการดําเนนิงาน

การตรวจวัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) กาซออกไซดของไนโตรเจน (NOx) ออกซิเจน (O2) อัตราการไหล

และอุณหภูมิของกาซที่ระบายออกจากปลองดวยระบบการติดตามตรวจสอบการระบายมลสารตอเน่ือง

(Continuous Emission Monitoring System; CEMS) ทําการตรวจวัดอยางตอเน่ืองตลอดเวลาที่ดําเนินการผลิตไฟฟา

ของโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-13 สําหรับการตรวจสอบความถูกตองของการทํางานระบบ CEMS (Audit CEMS)

เพ่ือยืนยันความถูกตองแมนยําของขอมูลที่ไดจาก CEMS น้ัน ดําเนินการอยางนอยปละ 1 ครั้ง ซึ่งไดทําการ

ตรวจสอบความถูกตองของการทํางานระบบ CEMS (Audit) ระหวางวันที่ 30 พฤษภาคม-14 มิถุนายน 2561 โดย

ดําเนินการตรวจสอบความถูกตอง บริษัท โอกลา เทสต้ิง แอนด คอนซัลต้ิง เซอรวิส จํากัด และไดรายงานผลการ

ตรวจสอบในรายงานฯ ฉบับที่ 6 เดือนมกราคม-มิถุนายน 2561 เปนที่เรียบรอยแลว

รายละเอียดระบบ CEMS โรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-13 ปจจุบัน

CEMS ของโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-13 ปจจุบัน มีรายละเอียดตามตารางที่ ง-3 และมีลักษณะการ

ทํางานโดยยอ ดังน้ี

(1) CEMS สําหรับตรวจวัดปริมาณกาซ SO2, NOX และ O2 มีระบบการทํางานแบบ Direct Extraction

โดย CEMS สําหรับตรวจวัดกาซ SO2, NOX มีลักษณะการทํางานแบบ NDIR (Non-Dispersive Infrared) สวน CEMS

สําหรับตรวจวัดกาซ O2 มีลักษณะการทํางานแบบ Paramagnetic ลักษณะการทํางานโดยทั่วไป คือ ตัวอยางอากาศ

ภายในปลองโรงไฟฟา หลังจากผานการกําจัดกาซ SO2 ดวยระบบ FGD แลว จะถูกดูดโดยทอเก็บตัวอยาง (Sampling

Probe) และถูกดักกรองฝุนผงตางๆ ดวย Filter ชนิดหยาบและชนิดละเอียด ตอจากน้ันตัวอยางอากาศ จะถูกสงผานไป

ยัง CEMS Shelter ผานทอสงตัวอยาง (Sampling Line) ที่มีระบบใหความรอนและควบคุมอุณหภูมิปองกันการ

ควบแนนของความช้ืนในตัวอยาง โดยตัวอยางอากาศจะถูกปรับสภาพ (Conditioning) ดวยการกําจัดความช้ืน กอนสง

ตัวอยางอากาศเขาสูเครื่องตรวจวัด (Analyzer) คาที่อานไดจากเครื่องตรวจวัดกาซ จะเปนคาความเขมขนที่สภาวะ

แหง (Dry Basis)

(2) CEMS สําหรับตรวจวัดคาอัตราการไหลของอากาศ (Stack Flow Meter) เปน Probe แบบ Type S

Pitot Tube ซึ่งสามารถตรวจวัดไดทั้งคาอัตราการไหลของอากาศ อุณหภูมิ และความดันอากาศ

ตารางที่ ง-3 CEMS ของโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-13 ปจจุบัน

ระบบ CEMS หนวยที่ 4-7 หนวยที่ 8-9 หนวยที่ 10-11 หนวยที่ 12-13

ลักษณะ Direct Extraction Direct Extraction Direct Extraction Direct Extraction

หลักการตรวจวัด NDIR and Paramagnetic (O2)

NDIR and paramagnetic (O2)

NDIR and paramagnetic (O2)

NDIR and paramagnetic (O2)

ชวงตรวจวัด SO2 0-600 mg/m3 NOx 0-1,000 mg/m3 O2 0-25% Vol

SO2 0-600 mg/m3 NOx 0-1,000 mg/m3 O2 0-25% Vol

SO2 0-600 mg/m3 NOx 0-1,000 mg/m3 O2 0-25% Vol

SO2 0-600 mg/m3 NOx 0-1,000 mg/m3 O2 0-25% Vol

ที่มา: โรงไฟฟาแมเมาะ

ง-5

Page 7: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

1.2.2 การตรวจสอบความถูกตองของการทาํงานระบบ CEMS

การตรวจสอบความถูกตองของการทํางานระบบ CEMS โรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-9 ปจจุบัน ดําเนินการ

โดยฝายสิ่งแวดลอมโครงการ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) โดยตรวจสอบตามวิธีมาตรฐาน ที่องคการ

พิทักษสิ่งแวดลอมแหงประเทศสหรัฐอเมริกา (United States Environmental Protection Agency: US.EPA)

กําหนดใน US.EPA Code of Federal Regulations Title 40 (Protection of Environment) Parts 60-Standards

of Performance for New Stationary Sources-Appendix B (Performance Specifications) และ Appendix F

(Quality Assurance) ซึ่งประกอบดวย System Audit และ Performance Audit ดังน้ี

1) System Audit เปนการตรวจสอบความถูกตองการทํ างานของ CEMS ด วยการประเมิน

ความสามารถในเชิงคุณภาพ (Qualitative Evaluation) ในลักษณะการทบทวน (Review) และตรวจสอบเก่ียวกับ

สถานภาพ (Status) การทํางานของ CEMS

2) Performance Audit เปนการตรวจสอบความถูกตองการทํางานของ CEMS ดวยการประเมิน

ความสามารถการทํางานในเชิงปริมาณ (Quantitative Evaluation) ตรวจสอบความถูกตองการตรวจวัด NOx, O2

และอัตราการไหล โดยวิธี Relative Accuracy Test Audit (RATA) ซึ่งใชหลักการอานคา NOx, O2 และอัตราการ

ไหลจาก CEMS เปรียบเทียบกับคาตรวจวัดจากการเก็บตัวอยางอากาศจากปลอง โดยวิธีอางอิงมาตรฐานในเวลา

เดียวกัน จากน้ันนําคาที่ไดมาคํานวณหาคา Relative Accuracy และนําผลที่ไดไปเปรียบเทียบกับเกณฑกําหนดการ

ตรวจสอบความถูกตอง

ข้ันตอนการดําเนินงานตรวจสอบความถูกตองการทํางาน CEMS ขั้นที่ 1: ตรวจสอบระบบการทํางานของเครื่องตรวจวัด (Analyzer) ปริมาณมลสาร/สารเจือปนของบริษัท

เอสจีเอส (ประเทศไทย) จํากัด ที่ใชในการตรวจสอบความถูกตองการทํางาน CEMS โดยใชวิธีการทดสอบ 2 วิธี ดังน้ี

(1) Analyzer Calibration Test เปนการทดสอบเพ่ือหาคา Calibration Error ดวยการปอนกาซ

มาตรฐาน EPA Protocol 1 เขาเครื่องตรวจวัดโดยตรงที่คาความเขมขน 3 ระดับ คือ Zero Value Mid Value และ

High Value กอนการเก็บตัวอยางอากาศ

(2) System Calibration Test เปนการปรับเทียบเครื่องตรวจวัดโดยรวมทั้งระบบ เพ่ือหาคา

System Calibration Bias ดวยการปอนกาซมาตรฐานที่ปลาย Probe ที่คาความเขมขน 2 ระดับ คือ Zero Value

และคา Up-Scale กอนและหลังการเก็บตัวอยางอากาศ

ขั้นที่ 2: ตรวจสอบความถูกตองการทํางานของ CEMS สําหรับการตรวจวัดกาซและคาอัตราการไหล

ของอากาศเสีย ดวยวิธี Relative Accuracy Test Audit (RATA) โดยการทดสอบดวยวิธี RATA ดําเนินการในขณะที่

โรงไฟฟาแมเมาะเครื่องที่กําลังตรวจสอบระบบ มีการรักษากําลังผลิตอยางคงที่ และระดับกําลังผลิตไมตํ่ากวารอยละ 50

ของกําลังผลิตปกติ (Normal Load) โดยมีขั้นตอนการดําเนินงาน ดังน้ี

(1) คํานวณจํานวนและตําแหนงจุดเก็บตัวอยาง (Traverse Points) บนพ้ืนที่หนาตัดของตําแหนง

จุดเก็บตัวอยาง เพ่ือหาคาเฉลี่ยของความเขมขนที่พบของทั้งหนาตัด และเลือกจุด Traverse ที่พบคาความเขมขน

ใกลเคียงกับคาเฉลี่ยดังกลาว

(2) เร่ิมตรวจสอบความถูกตองการทํางานของ CEMS โดยทําการทดสอบดวยวิธี RATA จํานวน 12

ชุดการทดสอบ โดยแตละชุด ใชเวลาในการทดสอบประมาณ 30-60 นาที อานคาปริมาณสารเจือปนจาก CEMS

ง-6

Page 8: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

พรอมกับอานคาปริมาณสารเจือปนจากวิธีอางอิงมาตรฐาน (Reference Method) ณ เวลาเดียวกัน โดยคํานึงถึง

ชวงเวลาตอบสนอง (Response Time) ของ CEMS กับชวงเวลาตอบสนองของวิธีอางอิงมาตรฐาน

(3) นําคาที่ไดมาคํานวณเพ่ือหาคา Relative Accuracy (RA) โดยขอมูลที่ นํามาคํานวณคา RA

จะตองปรับไปที่สภาวะแหง (Dry Basis) และที่ปริมาณกาซ O2 สวนเกินที่ 7% ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม

เรื่อง กําหนดคาปริมาณของสารเจือปนในอากาศทีร่ะบายออกจากโรงงานผลิต สง หรือจําหนายพลังงานไฟฟา พ.ศ. 2547

วิธีอางอิงมาตรฐานและอุปกรณที่ใชสําหรับวิธี RATA

การตรวจสอบความถูกตองการทํางานของ CEMS สําหรับการตรวจวัดกาซใชวิธีอางอิงมาตรฐานที่ใช

เครื่องตรวจวัด (Instrumental Analyzer Procedure) รายละเอียดแสดงในตารางที่ ง-4

เกณฑกําหนดการตรวจสอบความถูกตองการทํางานของ CEMS

เกณฑกําหนดการตรวจสอบความถูกตองการทํางานของ CEMS ตามขอกําหนดของ US.EPA Code of

Federal Regulations. Title 40 (Protection of Environment) Parts 60 - Standards of Performance for New

Stationary Sources – Appendix B (Performance Specifications) แ ล ะ Appendix F (Quality Assurance)

แสดงในตารางที่ ง-5

ตารางที่ ง-4 วิธีอางอิงมาตรฐานที่ใชในการตรวจสอบความถูกตองการทํางานของ CEMS

Type of system PS Test Reference method

SO2, NOX 2 Method 6C Determination of Sulfur Dioxide Emissions from Stationary Sources (Instrumental analyzer procedure) Method 7E Determination of Nitrogen Oxides Emissions from Stationary sources (Instrumental analyzer procedure) O2 3 Method 3A Gas Analysis for Carbon Dioxide, Oxygen, Excess air and Dry Molecular Weight Flow rate 6 Method 2 Determination of Stack Gas Velocity and Volumetric Flow Rate (type S pitot tube) Method 3A Gas Analysis for Carbon Dioxide, Oxygen, Excess Air and Dry Molecular Weight Method 4 Determination of Moisture Content in Stack Gases หมายเหตุ: PS = Performance specification

ง-7

Page 9: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ตารางที่ ง-5 เกณฑกําหนดการตรวจสอบความถูกตองการทํางานของ CEMS

Type of system PS Test Relative Accuracy

NOX, SO2 2 < 20% ของคาเฉลี่ยของขอมูลท่ีไดจากวิธีอางอิงมาตรฐาน (ในกรณีท่ีคาเฉลี่ยการระบายสารเจือปนขณะตรวจสอบดวยวิธ ีRATA มีคามากกวา 50% ของคามาตรฐานคุณภาพอากาศท่ีระบายจากแหลงกําเนิด) หรือ < 10% ของคามาตรฐานคุณภาพอากาศท่ีระบายจากแหลงกําเนิด (ในกรณีท่ีคาเฉลี่ยการระบายสารเจือปนขณะตรวจสอบดวยวิธ ีRATA มีคานอยกวา 50% ของคามาตรฐานคุณภาพอากาศท่ีระบายจากแหลงกําเนิด) O2 3 < 1% ของคาเฉลี่ยของขอมูลท่ีไดจากวิธีอางอิงมาตรฐาน Flow Rate 6 < 20% ของคาเฉลี่ยของขอมูลท่ีไดจากวิธีอางอิงมาตรฐาน

หมายเหตุ: PS = Performance Specification

1.2.3 การตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปลองแบบครัง้คราว

ขอบเขตการดําเนนิงาน

ตรวจวัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) กาซออกไซดของไนโตรเจน (NOx) ฝุนละออง (PM) สารปรอท

(Hg) สารหนู (As) และกาซออกซิเจน (O2) จากปลองของโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-13 ปจจุบัน จํานวน 8 ปลอง

ปละ 2 ครั้ง และเปรียบเทียบผลการตรวจวัดกับเกณฑมาตรฐานปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจาก

โรงงานผลิต สง หรือจําหนายพลังงานไฟฟา ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (พ.ศ. 2547) และคาควบคุม

ที่กําหนดในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ ซึ่งในชวงเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2561 ไดดําเนินการ

ตรวจวัดเมื่อวันที่ 7-17 สิงหาคม 2561 โดยบริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต แอนด เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท จํากัด

วิธีการตรวจวัด

วิธีการตรวจวัดเปนไปตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง การกําหนดคาปริมาณสารเจือปน

ที่ระบายออกจากโรงงานผลิต สง หรือจําหนายพลังงานไฟฟา พ.ศ. 2547 ซึ่งเปนวิธีมาตรฐานที่กําหนดโดยองคการ

พิทักษสิ่งแวดลอมแหงประเทศสหรัฐอเมริกา (United States Environmental Protection Agency: US.EPA)

กํ า ห น ด ใ น US.EPA Code of Federal Regulations Title 40 (Protection of Environment) Parts 60-

Standards of Performance for New Stationary Sources-Appendix A ใชเครื่องมือตรวจวัดปริมาณกาซที่

ติดต้ังบนรถตรวจวัดมลสารที่ระบายออกจากปลอง (Stack emission mobile laboratory) ดังรายละเอียดของวิธี

ตรวจวัดใน ตารางที่ ง-6 (รูปที่ ง-2)

ง-8

Page 10: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ตารางที่ ง-6 วิธีการตรวจวัดการระบายมลสารจากปลองแบบครั้งคราว

ขอมูลคุณภาพอากาศ วิธีการตรวจวัด

1. กาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) US EPA Method 6C - Determination of Sulfur Dioxides Emission from Stationary Sources (Instrumental Analyzer Procedure)

2. กาซออกไซดของไนโตรเจน (NOx) US EPA Method 7E - Determination of Nitrogen Oxides Emission from Stationary Sources (Instrumental Analyzer Procedure)

3. ฝุนละออง (PM) 1) US EPA Method 1 Sample and Velocity Traverses for Stationary sources

2) US EPA Method 2 Determination of Stack Gas Velocity and Volumetric Flow Rate (Type S pitot tube)

3) US EPA Method 3 Gas Analysis for Carbon Dioxide, Oxygen, Excess Air and Dry Molecular Weight

4) US EPA Method 4 Determination of Moisture Content in Stack Gas 5) US EPA Method 5 Determination of Particulate Emissions from

Stationary Sources 4. กาซออกซิเจน (O2) U.S. EPA Method 3A

5. สารปรอท (Hg) และ สารหนู (As) US EPA Method 29 - Determination of Metals Emission from Stationary Sources

ง-9

Page 11: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

รูปที่ ง-2 การตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปลองระบายอากาศแบบครั้งคราว

ง-10

Page 12: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

รูปที่ ง-2 การตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปลองระบายอากาศแบบครั้งคราว (ตอ)

ง-11

Page 13: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

2. เสียง

ขอบเขตการดําเนนิงาน

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ โครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-7 กําหนดใหโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-13 ปจจุบัน (ระยะดําเนินการ) และโครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟา แมเมาะ เครื่องที่ 4-7 (ระยะกอสราง) ดําเนินการตรวจวัดระดับเสียงปละ 2 ครั้ง และกําหนดใหจัดทําแผนที่เสนระดับเสียง 2 ครั้งตอป ตามจุดตรวจวัดที่กําหนดในมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอมดานเสียง ความถี่ของการตรวจวัด และจุดตรวจวัดดังตารางที่ ง-7 ดังน้ี

ตารางที่ ง-7 การตรวจวัด และจุดตรวจวัดระดับเสียง โรงไฟฟาแมเมาะ

จุดตรวจวัด การตรวจวัด/ความถ่ี ตําแหนงพิกัด UTM ของสถานีตรวจวัด

- ระดับเสียงสูงสุด (Lmax) - ระดับเสียงกลางวันกลางคืน (Ldn) - ระดับเสียงเปอรเซ็นไทลที่ 90 (L90)

ตรวจวัด 7 วันตอเนื่อง ทุก 6 เดือน

1. บานหางฮุง (วัดอัมพวัน) 47 Q 0576314 mE, 2021882 mN

2. บานสบปาด (สวนปาแมจาง) 47 Q 0580148 mE, 2019154 mN

3. บานพักพนักงานหวยคิง 47 Q 0572401 mE, 2023228 mN

4. ริมรั้วพ้ืนท่ีกอสรางโครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เคร่ืองท่ี 4-7

47 Q 0579798 mE, 2022519 mN

- ระดับเสียงเฉลี่ย 8 ชั่วโมง (Leq8hr) ตรวจวัด 72 ชั่วโมงตอเนื่อง ทุก 6 เดือน

1. หองควบคุมการเดินเครื่องโรงไฟฟา หนวยท่ี 4-13

-

2. บริเวณพ้ืนท่ีกอสรางโครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เคร่ืองท่ี 4-7

47 Q 0579432 mE 2022516 mN

- การจัดทําแผนที่เสนระดับเสียง 2 ปตอครั้ง

1. ภายพ้ืนท่ีโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องท่ี 4-13 ปจจุบัน

หมายเหตุ : คาพิกัดที่ไดอางอิงบนพ้ืนหลักฐาน WGS84 (World Geodetic System 1984)

ผลการตรวจวัดคาระดับเสียงคาระดับเสียงเฉลี่ย 24 ช่ัวโมง (Leq 24 hr) และคาระดับเฉลี่ยสูงสุด (Lmax)

ที่ไดจะนํามาประเมินผลกระทบของระดับเสียงตอชุมชนโดยรอบโรงไฟฟาแมเมาะ และโครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ โดยเปรียบเทียบกับคามาตรฐานระดับเสียงตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ. 2548 สําหรับคาระดับเสียงเปอรเซ็นตไทลที่ 90 (L90) ยังไมมีการกําหนดเกณฑมาตรฐานในประเทศไทย

ในชวงเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2561 ไดดําเนินการตรวจวัดระดับเสียง ระหวางวันที่ 12-18 ธันวาคม 2561 โดยฝายสิ่งแวดลอมโครงการ กฟผ.

ง-12

Page 14: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

วิธีการตรวจวัด

การตรวจวัดระดับเสียงในพื้นที่ซึ่งคาดวาอาจไดรับผลกระทบดานเสียงจากการดําเนินกิจกรรมของโรงไฟฟาแมเมาะ และโครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-7 ดังแสดงในรูปที่ ง-4 และตารางที่ ง-8 โดยใชเครื่องมือตรวจวัดระดับเสียง Integrated Sound Level Meter : RION Model NL-51 และ NL-52 ซึ่งทั้งหมดผานการปรับคามาตรฐาน (calibration) กอนการตรวจวัด โดยอางอิงวิธีการจาก International Organization for Standardization (ISO 1996) ทั้งน้ี นิยามของคาระดับเสียงตางๆ เปนดังตอไปน้ี

1) ระดับเสียงเฉลี่ย Leq (Equivalent Sound Level) หมายถึง คาระดับเสียงคงที่ที่มีพลังงานเทียบเทากับเสียงที่เกิดขึ้นจริงซึ่งมีระดับเสียงเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาในชวงที่ทําการตรวจวัด

2) Leq24hr หมายถึง คาระดับเสียงเฉลี่ยในชวงเวลา 24 ช่ัวโมง และ Leq8hr หมายถึง คาระดับเสียงเฉลี่ยในชวงเวลา 8 ช่ัวโมง

3) Leq1min หมายถึง คาระดับเสียงเฉลี่ยในชวงเวลา 1 นาที 4) ระดับสูงสุด (Lmax) หมายถึง ระดับเสียงสูงที่สุดของในชวงเวลาที่ตรวจวัด 5) ระดับเสียงเปอรเซ็นไทลที่ 90 (L90) หมายถึง ระดับเสียงที่รอยละ 90 ของเวลาที่ตรวจวัดจะ

มีระดับเสียงเกินระดับน้ี 6) dB(A) คือ หนวยวัดระดับเสียงซึ่งวัดโดยเครื่องมือมาตรฐานวัดระดับเสียง (Sound Level

Meter) โดยใชวงจรถวงนํ้าหนัก "A" (Weighting Network "A")

บานหางฮุง (วัดอัมพวัน) บานสบปาด (สวนปาแมจาง)

บานพักพนักงานหวยคิง ริมรั้วพ้ืนที่กอสรางโครงการฯ

รูปที่ ง-4 เครือ่งมือและการตรวจวัดระดับเสียงโรงไฟฟาแมเมาะ

ง-13

Page 15: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

หองควบคุมการเดินเครื่อง บริเวณพ้ืนที่กอสรางโครงการฯ

Integrated Sound Level Meter

รูปที่ ง-4 เครือ่งมือและการตรวจวัดระดับเสียงโรงไฟฟาแมเมาะ (ตอ)

ตารางที่ ง-8 วิธีการและเครื่องมือตรวจวัดระดับเสียง

พารามิเตอร วิธีการเก็บตัวอยาง วิธีการตรวจวัด

1. ระดับเสียงโดยท่ัวไป - Sound Level Meter - International Organization for Standardization (ISO 1996)

- ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq24hr) - ระดับเสียงสูงสุด (Lmax) - ระดับเสียงเปอรเซ็นไทลท่ี 90 (L90) 2. ระดับเสียงภายในโรงไฟฟา บริเวณ หองควบคุมการเดินเครื่อง และบริเวณ พ้ืนท่ีกอสรางโครงการโรงไฟฟาทดแทน โรงไฟฟาแมมเ เครื่องท่ี 4-7

- Sound Level Meter - International Organization for Standardization (ISO 1996)

- ระดับเสียงเฉลี่ย 8 ชั่วโมง (Leq8hr) 3. การจัดทําแผนท่ีเสนระดับเสียง (Noise Contour)

- Sound Level Meter - International Organization for Standardization (ISO 1996)

- ระดับเสียงเฉลี่ย 1 นาที (Leq1min)

ง-14

Page 16: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

3. คุณภาพทิ้งและน้าํผิวดิน

ขอบเขตการดําเนนิงาน ดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าทิ้ง เดือนละ 1 ครั้ง ตามจุดเก็บตัวอยางที่ระบุในรายงานการ

วิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ โครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-7 และเปรียบเทียบผลการตรวจวัดคุณภาพนํ้าทิ้งกับมาตรฐานควบคุมการระบายนํ้าทิ้งจากโรงงาน ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (พ.ศ. 2560)

สําหรับการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าผิวดิน ดําเนินการปละ 2 ครั้ง ครอบคลุมชวงฤดูแลงและฤดูฝน ตามจุดเก็บตัวอยางที่ระบุในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ โครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟา แมเมาะ เครื่องที่ 4-7 และเปรียบเทียบผลการตรวจวัดคุณภาพนํ้าผิวดินกับมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน ประเภทที่ 3 ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537)

จุดเก็บตัวอยางและวิธีการตรวจสอบ จุดเก็บตัวอยางนํ้าเพ่ือตรวจสอบคุณภาพนํ้าทิ้ง และนํ้าผิวดินของโรงไฟฟาแมเมาะ ไดแก

1. จุดเก็บตัวอยางนํ้าทิ้ง จํานวน 1 สถานี ดังน้ี 1) นํ้าทิ้งออกจากระบบบําบัดชีววิธี จํานวน 1 สถานี พิกัด UTM ของจุดเก็บตัวอยาง 47N 577350 2021649 2. จุดเก็บตัวอยางนํ้าผิวดิน จํานวน 4 สถานี ดังน้ี 1) อางเก็บนํ้าแมจาง จํานวน 1 สถานี พิกัด UTM ของจุดเก็บตัวอยาง 47N 575811 2022003 2) อางเก็บนํ้าแมขาม จํานวน 1 สถานี พิกัด UTM ของจุดเก็บตัวอยาง 47N 580198 2030228 3) อางเก็บนํ้าแมเมาะ จํานวน 1 สถานี พิกัด UTM ของจุดเก็บตัวอยาง 47N 575174 2020519 4) ทายอางเก็บนํ้าแมเมาะ จํานวน 1 สถานี พิกัด UTM ของจุดเก็บตัวอยาง 47N 574189 2018928

วิธีการตรวจวัดคุณภาพนํ้าทิ้ง เปนไปตามวิธีการตรวจวัดตามคูมือการวิเคราะหนํ้าทิ้งตามมาตรฐาน

ของ Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater ซึ่งกําหนดโดย APHA, AWWA และ WEF

สําหรับการเก็บตัวอยางและการตรวจสอบคุณภาพนํ้าผิวดินดําเนินการตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) เรื่องกําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน และวิธีมาตรฐานของ Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater ซึ่ ง American Public Health Association (APHA) และ American Water Works Association (AWWA) กั บ Water Environment Federation (WEF) ของสหรัฐอเมริการวมกันกําหนด ดังแสดงในตารางที่ ง-9

ง-15

Page 17: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ตารางที่ ง-9 ดัชนีคณุภาพน้ําทิ้ง/น้ําผิวดิน และวิธีวิเคราะห

ลําดับ ดัชนีคุณภาพน้ํา หนวย วิธีวิเคราะห

1 2 3 4 5 6 7 8

9 10 11 12 13 14

15

ความเปนกรด-ดาง (pH) อุณหภูมิ (Temperature) ออกซิเจนละลาย (Dissolved oxygen) บีโอดี 5 วัน (BOD5) สารแขวนลอย (SS) น้ํามันและไขมัน (Oil & Grease) คาความสกปรกในรูปของสารอนินทรีย (COD) ของแข็งละลายน้ําท้ังหมด (TDS) โลหะหนัก (Heavy metal) - ทองแดง (Cu) - แมงกานีส (Mn) - สังกะสี (Zn) - แคดเมียม (Cd) - ตะกั่ว (Pb) - สารหนู (As) - ปรอท (Hg)

- องศาเซลเซียส

มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร

มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร

มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร

มิลลิกรัมตอลิตร

Electrometric Method เครื่องวัดอุณหภูมิ (Thermometer) Azide Modification Method Azide Modification ท่ี 20oC เปนเวลา 5 วัน กรองผานกระดาษกรองใยแกวและอบแหงท่ีอุณหภูมิ 103-105 oC เปนเวลาอยางนอย 1 ชั่วโมง Liquid-Liquid, Partition-Gravimetric Method Closed Reflux, Colorimetric Method ระเหยและอบแหง ท่ีอุณหภูมิ 178-182 oC เปนเวลาอยางนอย 1 ชั่วโมง

Digestion, Direct Air-Acetylene Flame Method

Digestion Hydride Generation, Atomic Absorption Spectrometric Method Digestion, Cold-vapor Atomic Absorption Spectrometric Method

ง-16

Page 18: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

นํ้าทิ้งออกจากระบบบําบัดชีววิธี

อางเก็บนํ้าแมจาง อางเก็บนํ้าแมขาม

อางเก็บนํ้าแมเมาะ

ง-5 รูปภาพการเก็บตัวอยางน้ําทิง้ (ตรวจวัดทุกเดือน) และน้าํผิวดิน (เม่ือวันที่ 3 ตุลาคม 2561)

ง-17

Page 19: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

4. คุณภาพน้าํใตดิน

ขอบเขตการดําเนนิงาน ดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าใตดินปละ 2 ครั้ง ครอบคลุมชวงฤดูแลงและฤดูฝน ตามจุดเก็บ

ตัวอยางที่ระบุในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ โครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-7 และเปรียบเทียบผลการตรวจวัดกับมาตรฐานคุณภาพนํ้าใตดิน ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 20 (พ.ศ. 2543) และมาตรฐานนํ้าบาดาลที่จะใชบริโภคได ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (พ.ศ.2551)

จุดเก็บตัวอยางและวิธีการตรวจสอบ จุดเก็บตัวอยางนํ้าใตดิน จํานวน 3 สถานี (รูป ง-6) ดังน้ี 1) บานขวงมวง บริเวณบอนํ้าต้ืนบานขวงมวง จํานวน 1 สถานี 2) บานสบปาด บริเวณบอนํ้าต้ืนบานสบปาด จํานวน 1 สถานี 3) บานหวยเปด บริเวณบอนํ้าต้ืนบานหวยเปด จํานวน 1 สถานี วิธีการตรวจวัดคุณภาพนํ้าใตดิน เปนไปตามวิธีการตรวจวัดตามคูมือการวิเคราะหนํ้าทิ้งตามมาตรฐาน

ของ Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater ซึ่งกําหนดโดย APHA, AWWA และ WEF หรือวิธีที่หนวยงานที่เกี่ยวของยอมรับ โดยมีดัชนีการตรวจวัดและวิธีวิเคราะหแสดงดังตารางที่ ง-10

ตารางที่ ง-10 ดัชนีคุณภาพนํ้าใตดิน และวิธีวิเคราะห

ลําดับ ดัชนีคุณภาพน้ํา หนวย วิธีวิเคราะห

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 14 15

ความเปนกรด-ดาง (pH) สารแขวนลอย (SS) ของแข็งละลายน้ําท้ังหมด (TDS) ความกระดางท้ังหมด (Total Hardness) ซัลเฟต (SO4

2-) คลอไรด (Cl) เหล็กท้ังหมด (Fe) ทองแดง (Cu) แมงกานีส (Mn) สังกะสี (Zn) แคดเมียม (Cd) ตะกั่ว (Pb) สารหนู (As) ปรอท (Hg)

- มิลลิกรัมตอลิตร

มิลลิกรัมตอลิตร

มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร มิลลิกรัมตอลิตร

Electrometric Method กรองผานกระดาษกรองใยแกวและอบแหงท่ีอุณหภูมิ 103-105 oC เปนเวลาอยางนอย 1 ชั่วโมง ระเหยและอบแหง ท่ีอุณหภูมิ 178-182 oC เปนเวลาอยางนอย 1 ชั่วโมง EDTA Titrimetric Turbidmetric Argentometric AAS Atomic absorption Spectrophotometer

ง-18

Page 20: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

สถานีที่ 1 บานขวงมวง

สถานีที่ 2 บานสบปาด

สถานีที่ 3 บานหวยเปด

ง-6 รูปภาพการเก็บตัวอยางน้ําใตดิน (เม่ือวันที่ 3 ตุลาคม 2561)

ง-19

Page 21: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

5. ทรัพยากรดิน

ขอบเขตการดําเนนิงาน ดําเนินการตรวจสอบทรัพยากรดินปละ 1 ครั้ง ในชวงฤดูแลง ตามจุดเก็บตัวอยางที่ระบุในรายงานการ

วิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ โครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-7 และเปรียบเทียบผลการตรวจวัดกับมาตรฐานคุณภาพดินที่ใชประโยชนเพ่ือการอยูอาศัยและเกษตรกรรม ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 25 (พ.ศ. 2547) และมาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกําจัด สิ่งปฏิกูลไมใชแลว พ.ศ. 2548

จุดเก็บตัวอยางและวิธีการตรวจสอบ จุดเก็บตัวอยางดิน จํานวน 3 สถานี โดยเก็บสถานีละ 2 ระดับความลึกของดิน (รูป ง-7) ดังน้ี 1) บริเวณที่ต้ังโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-7

- ระดับความลึกจากผิวดิน 0-10 เซนติเมตร - ระดับความลึกจากผิวดิน 10-40 เซนติเมตร

2) บริเวณชุมชนบานหางฮุง (วัดหางฮุงศรัทธาราม) - ระดับความลึกจากผิวดิน 0-10 เซนติเมตร - ระดับความลึกจากผิวดิน 10-40 เซนติเมตร

3) บริเวณโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลสบปาด - ระดับความลึกจากผิวดิน 0-10 เซนติเมตร - ระดับความลึกจากผิวดิน 10-40 เซนติเมตร

วิ ธีการตรวจ วัดทรัพยากรดิน เป น ไปตามคู มื อ Test Methods of Evaluating Solid Waste,

Physical/Chemical Methods (SW-846) ขององคการพิทักษสิ่งแวดลอมแหงประเทศสหรัฐอเมริกา (United States Environmental Protection Agency) หรือวิธีที่หนวยงานเกี่ยวของยอมรับ มีรายละเอียดวิธีการเก็บตัวอยางและวิธีการเตรียมตัวอยาง ดังน้ี

วิธีการเก็บตัวอยาง ในแตละจุดเก็บ จะขุดดินลึกเปนรูป ตัว V และเก็บที่ผิวดานในของตัว V ที่ระดับความลึก

0-10 ซม. 1 ตัวอยาง และที่ระดับความลึก 10-40 ซม. 1 ตัวอยาง ทําเชนเดียวกันน้ี 5 หลุม ในพ้ืนที่เก็บเดียวกัน นําตัวอยางที่ได 5 ตัวอยางตอ 1 จุด มาผสมกันเปน 1 ตัวอยาง

วิธีการเตรียมตัวอยาง นําตัวอยางดินแตละตัวอยางที่ได มาตากแดดใหแหง นํามาบดใหละเอียด แลวรอนผานตะแกรงมาตรฐานขนาด 2 มิลลิเมตร (เบอร 10) ช่ังตัวอยางเพ่ือนําสงทดสอบประมาณ 1 กิโลกรัม สําหรับดัชนีการตรวจวัดและวิธีวิเคราะหแสดงดังตารางที่ ง-11

ง-20

Page 22: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ตารางที่ ง-11 ดัชนีการตรวจวัดทรัพยากรดิน และวิธีวิเคราะห

ลําดับ ดัชนีคุณภาพน้ํา หนวย วิธีวิเคราะห

1 2 3 4 5 6 7

ความเปนกรดและดาง (pH) โครเมียม (Cr) ทองแดง (Cu) ตะกั่ว (Pb) สารหนู (As) แคดเมียม (Cd) ปรอท (Hg)

- มิลลิกรัมตอกิโลกรัม มิลลิกรัมตอกิโลกรัม มิลลิกรัมตอกิโลกรัม มิลลิกรัมตอกิโลกรัม มิลลิกรัมตอกิโลกรัม มิลลิกรัมตอกิโลกรัม

Electrometric Method Colorimetric Method Atomic absorption –Direct aspiration ICP/ Atomic Absorption Spectrometry ICP/ Atomic Absorption Spectrometry ICP/ Atomic Absorption Spectrometry Cold-Vapor technique

ง-21

Page 23: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

บริเวณที่ต้ังโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-7

บริเวณโรงพยาบาลสงเสริมสขุภาพตําบลสบปาด

บริเวณชุมชนบานหางฮุง (วัดหางฮุงศรัทธาราม)

ง-7 รูปภาพการเก็บตัวอยางทรัพยากรดิน (เม่ือวันที่ 26 พฤศจิกายน 2561)

ง-22

Page 24: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

4. นิเวศวิทยาทางน้ํา และการประมง

ขอบเขตการดําเนินงาน 1. เก็บตัวอยางแพลงกตอนพืช แพลงกตอนสัตว สัตวพื้นทองนํ้า และสัตวนํ้าวัยออน จํานวน 5

สถานี บริเวณอางเก็บนํ้ารอบโรงไฟฟาแมเมาะรวมถึงคุณภาพนํ้าที่เกี่ยวของ (ตารางที่ ง-12 และรูปที่ 3.6-1)

2. ศึกษา วิเคราะห เพ่ือจําแนกชนิด และหาความหนาแนนและดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพของแพลงกตอนพืช แพลงกตอนสัตว สัตวพ้ืนทองนํ้า และสัตวนํ้าวัยออน

3. เก็บตัวอยาง และวิเคราะหปริมาณโลหะหนักในเน้ือปลา จํานวน 1 สถานี (ตารางที่ ง-12) บริเวณอางเก็บนํ้าแมเมาะ จํานวน 5 ดัชนี โดยทําการเก็บตัวอยางจํานวน 5 ตัวอยาง ดวยวิธีการตามมาตรฐาน AOAC Standard Method ป ค.ศ. 2000

4. เก็บตัวอยางและวิเคราะหปริมาณโลหะหนักในดินตะกอน จํานวน 3 สถานี บริเวณอางเก็บนํ้าแมเมาะไดแก บริเวณตนนํ้าของอางเก็บนํ้า บริเวณกลางนํ้าของอางเก็บนํ้าและบริเวณทายนํ้าของอางเก็บนํ้า (ตารางที่ ง-10 และรูปที่ 3.6-2) โดยทําการวิเคราะหจํานวน 5 ดัชนี โดยวิเคราะหปรอท ดวยวิธี U.S. EPA 7471B หรือวิธีก ารที่หนวยงานที่ เ กี ่ยวของยอมรับและวิเคราะหแคดเมียม โครเมียม นิก เกิล และสารหนูดวยวิธี U.S. EPA 3050B หรือวิธีการที่หนวยงานที่เกี่ยวของยอมรับ

ระยะเวลาดําเนินการ การตรวจสอบนิเวศวิทยาทางนํ้าและการประมง ตามมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

ของโรงไฟฟาแมเมาะ ระยะดําเนินการ และโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะเครื่องที่ 4-7 ระยะกอสราง กําหนดมาตรการติดตามตรวจสอบนิเวศวิทยาทางนํ้าและการประมง ปละ 2 ครั้ง คือ ฤดูแลง 1 ครั้ง และฤดูฝน 1 ครั้ง โดยกําหนดตัวแทนของฤดูฝนเปนชวงระหวางเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2561

จุดเก็บตัวอยาง สถานีเก็บตัวอยางทั้งการติดตามตรวจสอบดานนิเวศวิทยาแหลงนํ้า ปริมาณโลหะหนักในเน้ือปลา

และปริมาณโลหะหนักในตะกอนดินแสดงดังตารางที่ ง-12 และมีดัชนีตรวจวัดในแตละสถานีแสดงดังตารางที่ ง-13

วิธีการศึกษา

1. การศกึษาคุณสมบัติบางประการของน้ําและโลหะหนัก ทําการเก็บขอมูลคุณสมบัติของนํ้าจํานวน 10 พารามิเตอร ไดแก อุณหภูมินํ้า (Water temperature)

ความเปนกรด-ดาง (pH) ปริมาณออกซิเจนละลายนํ้า (Dissolved Oxygen: DO) ความนําไฟฟา (Conductivity) ความ

กระดางทั้งหมด (Total Hardness) ความเปนดางทั้งหมด (Total Alkalinity) ความโปรงแสงของนํ้า ไนเตรท-ไนโตรเจน

ฟอสเฟตฟอสฟอรัส และคลอโรฟลล เอ (ตารางที่ ง-14)

ง-23

Page 25: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ตารางที่ ง-12 สถานีจุดเก็บตัวอยางการติดตามตรวจสอบดานนิเวศวิทยาทางนํ้า และการประมง

สถานีที่ บริเวณที่ต้ัง N E

นิเวศวิทยาแหลงน้ํา

1 อางเก็บน้ําแมจาง 2024728 584919

2 อางเก็บน้ําแมขาม 2032915 580028

3 อางเก็บน้ําแมเมาะ 2020531 575171

4 ทายอางเก็บน้ําแมเมาะ 2019209 574360

5 เขื่อนกิ่วลม 2048461 564980

6 ลําน้ําแมเมาะบริเวณบานหวยเปด (สะพานฝงเกษตร) 2020901 575790

ปริมาณโลหะหนักในเนื้อปลา

3 อางเก็บน้ําแมเมาะ 2020531 575171

ปริมาณโลหะหนักในดินตะกอน

SD1 ตนน้ําของอางเก็บน้ําแมเมาะ (สถานีท่ี 3) 2020531 575171

SD2 กลางน้ําของอางเก็บน้ําแมเมาะ 2019950 574875

SD3 ทายน้ําของอางเก็บน้ําแมเมาะ (สถานีท่ี 4) 2019209 574360

2. การเก็บตัวอยางแพลงกตอน

2.1 เก็บตัวอยางแพลงกตอนพืชโดยตักนํ้าปริมาตร 50 ลิตร ที่ระดับลึกจากผิวนํ้าประมาณ 0.5 เมตร นําไปกรองผานถุงแพลงกตอนขนาดชองตา 20 ไมครอน

2.2 เก็บตัวอยางแพลงกตอนสัตวโดยลากถุงแพลงกตอนขนาดชองตา 60 ไมครอน ในแนวด่ิง 2.3 เก็บรักษาตัวอยางแพลงกตอนพืชและแพลงกตอนสัตว (ขอ 2.1 และ 2.2) ในนํ้ายาฟอรมาลดีไฮดเปน

กลาง เขมขน 2 และ 4 เปอรเซ็นต ตามลําดับ 2.4 วิเคราะหหาชนิดและประเมินปริมาณของแพลงกตอน โดยวิเคราะหชนิดและนับจํานวน แพลงกตอน

พืชและแพลงกตอนสัตว ภายใตกลองจุลทรรศนกําลังขยายสูง (Light Microscope: LM) และกลองจุลทรรศนกําลังขยายตํ่า (Stereomicroscope) แพลงกตอนพืชในดิวิช่ัน Cyanophyta นับเปน เซลลสาย และโคโลนี ตัวอยางชนิดที่ นับ เป นสาย เชน Oscillatoria, Anabaena, Lyngbya ฯลฯ ชนิดที่ นับ เป น โคโลนี เชน Microcytis, Aphanothece,Merismopedia ฯลฯ ดิวิช่ัน Chlorophyta นับเปนเซลลและโคโลนี ตัวอยางชนิดที่นับเปนโคโลนี เชน Pediastrum, Pandorina, Volvox ฯลฯ และดิวิช่ัน Chromophyta ทุกชนิดนับเปนเซลล หนวยเปน “หนวยตอปริมาตรนํ้า 1 ลิตร” และวิเคราะหแพลงกตอนสัตวระดับชนิดหรือกลุมในทุกไฟลัม หนวยนับเปน “ตัวตอปริมาตรนํ้า 1 ลิตร”

ง-24

Page 26: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ตารางที่ ง-13 ดัชนีตรวจวัดคุณภาพนํ้าผิวดินและนิเวศวิทยาแหลงนํ้าที่ดําเนินการตรวจวัดในแตละจุด

ดัชนีตรวจวัด จุดสํารวจ

1 2 3 4 5 6 คุณภาพน้ําผิวดิน 1. อุณหภูมิน้ํา / / / / / / 2. ความโปรงแสงของน้ํา / / / / / / 3. ออกซิเจนละลาย / / / / / / 4. ไนเตรทไนโตรเจน / / / / / / 5. ฟอสเฟตฟอสฟอรัส / / / / / / 6. ความเปนกรดเปนดาง / / / / / / 7. ความกระดางท้ังหมด / / / / / / 8. ความเปนดางท้ังหมด / / / / / / 9. ความนําไฟฟา / / / / / / 10. คลอโรฟลล เอ / / / / / / นิเวศวิทยาแหลงน้ํา 1. แพลงกตอนพืช / / / / / / 2. แพลงกตอนสัตว / / / / / / 3. สัตวน้ําวัยออน / / / / / / 4. สัตวพ้ืนทองน้ํา / / / / / / โลหะหนัก (Cr, Ni, Cd, Hg, As)

1. ในดินตะกอน - - /1 /2 - - 2. ในเนื้อปลา - - /3 - - - หมายเหตุ / = ทําการตรวจวัด - = ไมตรวจวัด

1 = สํารวจจุดละ 3 สถานียอยบริเวณตนน้ํา กลางน้ําและทายน้ําของอาง (SD1 SD2 และ SD3)

2 = จุดสํารวจที่ 4 เปนจุดเดียวกับ SD3

3 = เก็บตัวอยางปลาจํานวน 5 ชนิด

ง-25

Page 27: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ตารางที่ ง-14 การเก็บขอมูลคุณสมบัติของนํ้าและโลหะหนัก ณ จุดเก็บตัวอยาง

3. การเก็บตัวอยางสัตวพื้นทองน้ํา

1. ทําการเก ็บตัวอยางส ัตวพื ้นท อง นํ้าโดยใช Grab sampler: Rigosha ซึ ่งม ีพื ้นที ่ 15 X 15

ตารางเซนติเมตร เก็บตัวอยางดินจากจุดเก็บตัวอยาง 3 จุด ๆ ละ 3 ซ้ํา

2. นําตัวอยางดินที่เก็บได (ขอ 1) เทใสลงในถุงพลาสติก และรวบรวมไวเพ่ือนําไปรอนผานตะแกรง

(Sieve)

3. นําตัวอยางดิน (ขอ 2) ไปคัดแยกสิ่งมีชีวิตกลุมมาโครเบนโธส (Macrobenthos) ออกเปน 2 กลุม โดยการ

รอนผานตะแกรงเบอร 18 ขนาด 1,000 ไมโครเมตร และเบอร 35 ขนาด 500 ไมโครเมตร

4. นําตัวอยางสิ่งมีชีวิตที่คัดแยกได (ขอ 3) ใสในขวดและเก็บรักษาในนํ้ายาฟอรมาลดีไฮดเขมขน

4 เปอรเซ็นต

5. วิเคราะหหากลุมและประเมินปริมาณประชาคมสัตวพ้ืนทองนํ้า ภายใตกลองจุลทรรศนสเตริโอ

(Stereomicroscope) หนวยนับเปน “ตัวตอพ้ืนที่ 1 ตารางเมตร”

ดัชนีตรวจวัด หนวย วิธีตรวจวัด

คุณภาพน้ํา

1. อุณหภูมิน้ํา ๐ซ Thermometer

2. ความเปนกรด-ดาง - pH Meter

3. ความโปรงแสงของน้ํา เซนติเมตร Secchi disc

4. ออกซิเจนละลาย มก./ล. Azide Modification Method

5. ไนเตรทไนโตรเจน มก./ล. Cadmium Reduction Method

6. ความนําไฟฟา µ S/cm Conductivity Meter

7. ความกระดางท้ังหมด มก./ล. as CaCO3 EDTA Titrimetric Method

8. ความเปนดางท้ังหมด มก./ล. as CaCO3 Titration Method

9. ฟอสเฟตฟอสฟอรัส มก./ล. Ascorbic acid Method

10. คลอโรฟลล เอ มก./ม3 Standard Method

11.โลหะในเนื้อปลา (Cr, Ni, Cd, Hg, As) ไมโครกรัม/กรัม AOAC Standard Method

12.โลหะในดินตะกอน (Cr, Ni, Cd, Hg, As) มก./กก. In-house method based on US

EPA 3052, 1996

ง-26

Page 28: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

4. วิเคราะหขอมูลแพลงกตอนพืช แพลงกตอนสัตว และสัตวพื้นทองน้ํา

ทําการวิเคราะหขอมูลแพลงกตอนพืช แพลงกตอนสัตว และสัตวพ้ืนทองนํ้า เพ่ือหาคาดัชนี ความหลากหลายทางชนิดของ Shannon-Wiener’s diversity index (Shannon and Weaver, 1949) คาดัชนีความสม่ําเสมอของ Shannon-Wiener’s evenness index (Hurlbert, 1971)

5. การศึกษาสัตวน้ําวัยออน

การเก็บตัวอยางภาคสนาม การเก็บตัวอยางปลาคร้ังน้ี เปนการศึกษาทั้งในเชิงชนิดและปริมาณโดยวิธีการสุมตัวอยางปลา ดวยอวน

ทับตลิ่ง ( Bฺeach seining) โดยใชเน้ืออวนขนาดชองตา 1 มิลลิเมตร ผืนอวนมีความยาว x ความกวางเทากับ 15.0 x 2.0 ตารางเมตร จดบันทึกรูปรางและลักษณะของอวนขณะทําการลากอวนเพ่ือคํานวณพ้ืนที่ลากในแตละสถานี

การจําแนกชนิดและวิเคราะหปริมาณความชุกชุม 1) จําแนกชนิดโดยใชคูมือการวิเคราะหพันธุปลาของ Kottelat et al. (2001) และ Rainboth (1996) รวมทั้ง

เอกสารทางอนุกรมวิธานอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของกับปลาในแตละสกุลและชนิด จากน้ันจัดทําบัญชีรายช่ือชนิดของปลาที่สํารวจพบทั้งหมด จัดเรียงลําดับทางอนุกรมวิธานของปลาตาม Nelson (2006)

2) วิเคราะหปริมาณความชุกชุมของปลาดวยอวนทับตลิ่งดวยคาผลจับปลาในหนวยของนํ้าหนักและจํานวนตัวตอพ้ืนที่จับ (Catch per Unit Area หรือ CpUA) ดังสมการที่ 1 และ 2

CpUEw = (W/A). 100 ......... (1) CpUEn = ( ฺN/A) . 100 ......... (2)

เมื่อ CpUAw = ผลจับปลาโดยนํ้าหนักตอพ้ืนที่จับ (กก.ตอ 100 ตร.ม.); CpUAn = ผลจับปลาโดยจํานวนตัวตอพ้ืนที่จับ (กก.ตอ 100 ตร.ม.); W = นํ้าหนักปลารวมแตละชนิดที่จับได (กก.); N = จํานวนปลารวมแตละชนิดที่จับได (ตัว) และ A = พ้ืนที่จับปลาดวยการลากอวนทับตลิ่งในแตละสถานี (ตร.ม.)

6. การวิเคราะหโครงสรางประชาคมปลาดวยดัชนีทางนิเวศ เปรียบเทียบโครงสรางชนิดหรือความหลากหลายของปลาในแตละสถานีโดยคาดัชนี ความหลากหลายของ

Shannon’s index และความสม่ําเสมอของปลาในแตละสถานีโดยคาดัชนี ความสม่ําเสมอ ศึกษาตามวิธีของ Pielou index (Kreb, 2002) ดังสมการที่ 3 และ 4

H´ = ∑− (Pi ln Pi) ….... (3)

เมื่อ H´ = ดัชนีความหลากชนิดของปลาในแตละสถานี และ Pi = ความชุกชุมของปลาแตละวงศหารดวยความชุกชุมของปลารวมทั้งหมดในแตละสถานี

E = H´/ H´max …..… (4) เมื่อ H´ = ดัชนีความหลากชนิดของปลาในแตละสถานี และ H´max = ln S (เมื่อ S = จํานวนชนิดของปลาใน

แตละสถานี)

ง-27

Page 29: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

เขื่อนกิ่วลม อางเก็บนํ้าแมขาม

อางเก็บนํ้าแมจาง อางเก็บนํ้าแมเมาะ

ทายอางเก็บนํ้าแมเมาะ

รูปที่ ง-8 สภาพทั่วไปสถานีสํารวจ (6 ตุลาคม 2561)

ง-28

Page 30: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

การศึกษาแพลงกตอน การลากลูกปลาในอางเก็บนํ้า

การเก็บสัตวหนาดิน การลากลูกปลาในลํานํ้า

การเก็บตัวอยางนํ้า การจัดเก็บตัวอยางที่ไดจากภาคสนาม

รูปที่ ง-9 การเก็บตัวอยางปลาภาคสนาม (6 ตุลาคม 2561)

ง-29

Page 31: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

5. การคมนาคม 5.1 การติดตามตรวจสอบชนิด และปริมาณยานพาหนะ ขอบเขตการดําเนินงาน ทําการตรวจนับปริมาณการจราจร ที่ทางหลวงหมายเลข 1348 บริเวณบานเวียงสวรรค และเสนทางเขา

สู กฟผ.แมเมาะ เปนเวลา 3 วันตอเน่ือง ครอบคลุมวันหยุดและวันทํางาน เพ่ือเปรียบเทียบกับหลักเกณฑความสามารถของถนนในการรองรับปริมาณจราจรไดสูงสุดตาม Transportation and Traffic Engineering Handbook ตามที่กรมทางหลวงกําหนด

สถานที่ตรวจนับ กําหนดจุดตรวจนับปริมาณจราจรรวมจํานวน 5 สถานี (รูปที่ ง-10) โดยแบงเปน 1. ทางหลวงหมายเลข 1348 บริเวณบานเวียงสวรรค จํานวน 2 สถานี - ทางหลวงหมายเลข 1348 บริเวณบานเวียงสวรรค ฝงไป กฟผ.แมเมาะ - ทางหลวงหมายเลข 1348 บริเวณบานเวียงสวรรค ฝงไปแยกผาลาด 2. เสนทางเขาสู กฟผ.แมเมาะ จํานวน 2 สถานี - ปอมประตู 1 โรงไฟฟาแมเมาะ - ปอมประตู 2 โรงไฟฟาแมเมาะ 3. ทางเขาพ้ืนที่กอสรางโครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-7 จํานวน 1 สถานี

วิธีการตรวจนับ 1. ตรวจนับปริมาณจราจรที่สัญจรผานสถานีตรวจนับต้ังแตเวลา 6.00-18.00น. เปนเวลา 3 วันตอเน่ือง

ครอบคลุมวันหยุดและวันทํางาน 2. แยกปริมาณยานพาหนะออกเปน 8 ประเภท ไดแก 1) รถยนตน่ังสวนบุคคล (รถเกง, รถแวน, รถตู)

2) รถโดยสารขนาดเล็ก (รถ 2 แถว) 3) รถโดยสารขนาดใหญ (รถบัส) 4) รถบรรทุกขนาดเล็ก (รถกระบะ) 5) รถบรรทุกขนาดกลาง (รถบรรทุก 6 ลอ) 6) รถบรรทุกขนาดใหญ (รถ 10 ลอ, รถพวง) 7) รถจักรยานยนต และ 8) รถจักรยาน

3. บันทึกการตรวจนับปริมาณจราจรดวยเครื่องนับจํานวน (Counter) ของแตละประเภทยานพาหนะ

การสรุปและวิเคราะหผล เน่ืองจากยานพาหนะที่ว่ิงบนถนนมีหลายประเภท ดังน้ัน ในการคิดคํานวณหาคาปริมาณการจราจรจะ

เทียบกลับมาที่รถยนตน่ังสวนบุคคล เพ่ือใหยานพาหนะทุกประเภทมีหนวยเดียวกัน คือ หนวยของรถยนตน่ังสวนบุคคล (Passenger Car Unit: PCU)

PCU (Passenger Car Unit) คือ หน วยเปรียบเทียบการจราจรตามหลักเกณฑ ในการกําหนดความสามารถของถนนในการรองรับปริมาณการจราจรไดสู งสุดที่ ระบุ ใน Transportation and Traffic Engineering Handbook ซึ่งกรมทางหลวงใชเปนคูมือในการออกแบบถนน โดยปรับปริมาณยานพาหนะทั้งหมดใหเปน PCU (หนวยเปน PCU/ช่ัวโมง) ซึ่งการกําหนดคา PCE (Passenger Car Equivalent) ไวดังน้ี

- รถจักรยานยนต = 0.333 เทาของรถยนตน่ังสวนบุคคล - รถยนตน่ังสวนบุคคล / รถบรรทุกเล็ก 4 ลอ = 1 เทาของรถยนตน่ังสวนบุคคล - รถยนตบรรทุก 6 ลอ = 2.1 เทาของรถยนตน่ังสวนบุคคล

- รถบรรทุก 10 ลอ / รถบรรทุกพวง / รถบรรทุกกึ่งพวง = 2.5 เทาของรถยนตน่ังสวนบุคคล

ง-30

Page 32: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

เมื่อเปรียบเทียบยานพาหนะทุกประเภทใหเปนหนวยเดียวกันแลว จะนําคา PCU/ช่ัวโมง ที่ไดมาประเมินความจุของถนนเพ่ือจะไดทราบความสามารถในการรองรับของถนนบนทางหลวงดวยการคํานวณหาอัตราสวนของปริมาณการจราจร (Volume to Capacity Ratio) หรือเรียกวา V/C Ratio จากสูตร

V/C Ratio = ปริมาณการจราจร (PCU/ช่ัวโมง) ความสามารถในการรองรับปริมาณจราจร

โดยความสามารถในการรองรับปริมาณจราจรของทางหลวงแตละประเภท ตามตารางที่ ง-15

ตารางที่ ง-15 ความสามารถในการรองรับปริมาณจราจรของทางหลวงแตละประเภท ประเภทของทางหลวง ความสามารถในการรองรับปริมาณจราจร (คัน/ชม.)

ถนนหลายชองจราจร 2,000 (ตอ 1 ชองจราจร) ถนน 2 ชองจราจร 2 ทิศทาง 2,000 (ทั้ง 2 ทิศทาง) ถนน 3 ชองจราจร 2 ทิศทาง 4,000 (ทั้ง 2 ทิศทาง) ที่มา : เผาพงศ, 2540

คา V/C Ratio ที่ไดนํามาใชเปรียบเทียบกับเกณฑที่ใชในการจําแนกสภาพการจราจร ตามตารางที่ ง-16

ตารางที่ ง-16 เกณฑของคา V/C Ratio ที่ใชในการจําแนกสภาพการจราจร อัตราสวนของปริมาณจราจร (V/C Ratio) สภาพการจราจร

0.89-1.00 สภาพการจราจรติดขัดอยางรุนแรง 0.68-0.88 สภาพการจราจรติดขัดมาก 0.53-0.67 การเคลื่อนตัวของสภาพจราจรพอใช 0.37-0.52 สภาพการจราจรมีความคลองตัวดี 0.20-0.36 สภาพการจราจรมีความคลองตัวสูงมาก

ที่มา : ปรับปรุงจากเผาพงศ, 2540

5.2 การติดตามตรวจสอบ จํานวนอุบัติเหตุ สาเหตุของอุบัติเหตุ และระดับความรุนแรง

ทําการติดตามตรวจสอบ จํานวนอุบัติเหตุ สาเหตุของอุบัติเหตุ และระดับความรุนแรงที่ทางหลวง

หมายเลข 1348 บริเวณบานเวียงสวรรค และเสนทางเขาสู กฟผ.แมเมาะ โดยรวบรวมขอมูลจากสถานีตํารวจภูธร

แมเมาะ จังหวัดลําปาง และการเก็บขอมูลอุบัติเหตุของ กฟผ.แมเมาะ และโครงการพัฒนาโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟา

แมเมาะ เครื่องที่ 4-7

ง-31

Page 33: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ทางหลวงหมายเลข 1348 บริเวณบานเวียงสวรรค ฝงไป กฟผ.แมเมาะ

ทางหลวงหมายเลข 1348 บริเวณบานเวียงสวรรค ฝงไปแยกผาลาด

ปอมประตู 1 โรงไฟฟาแมเมาะ

ปอมประตู 2 โรงไฟฟาแมเมาะ

ทางเขาพ้ืนท่ีกอสรางโครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องท่ี 4-7

รูปที่ ง-10 สถานีติดตามตรวจสอบชนิด และปริมาณยานพาหนะ โรงไฟฟฟาแมเมาะ

ง-32

Page 34: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

6. กากของเสีย

6.1 การจัดการกากของเสีย โรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-13 ปจจุบัน

ขอบเขตการดําเนินงาน

ทําการเก็บขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ทุกวัน โดย - เปรียบเทียบปริมาณขยะมูล

ฝอยและของเสียอันตราย เดือนละ 1 ครั้ง

สถานที่เก็บขอมูล

ภายในเขตพ้ืนที่โรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-13 ปจจุบัน

6.2 การจัดการกากของเสีย โครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-7

ขอบเขตการดําเนินงาน

ทําการเก็บขอมูลปริมาณและการจัดการขยะมูลฝอย รวมทั้งเศษวัสดุอุปกรณ บริเวณพ้ืนที่กอสรางทุก

วัน โดยเปรียบเทยีบปริมาณขยะมูลฝอย รวมทั้งเศษวัสดุอุปกรณ เดือนละ 1 ครั้ง

สถานที่เก็บขอมูล

พ้ืนที่กอสรางโรงไฟฟาทดแทนฯ เครื่องที่ 4-7

ง-33

Page 35: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

7. เศรษฐกิจ-สังคม และการมีสวนรวมของประชาชน

การสํารวจสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความคิดเห็นของประชาชน

วัตถุประสงคของการศึกษา 1) ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอมที่มีความสัมพันธกับวิถีชีวิต สภาพความเปนอยูและคุณภาพชีวิตของ

ประชาชนโดยรอบพ้ืนที่โครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-7 2) ศึกษาขอมูลพ้ืนฐานดานเศรษฐกิจสังคมของชุมชน 3) ศึกษาทัศนคติและความคิดเห็นของประชาชนที่มีตอการดําเนินงานของโครงการทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ

เครื่องที่ 4-7

ขอบเขตและพื้นที่ศึกษา การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ไดวาจาง คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ

ลําปาง จังหวัดลําปาง ใหดําเนินการสํารวจขอมูลดานสังคมเศรษฐกิจ ทัศนคติและความคิดเห็นของประชาชน ครอบคลุมพ้ืนที่โดยรอบพ้ืนที่โครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-7 ภายในรัศมี 5 กิโลเมตรจากโรงไฟฟาฯ ครอบคลุมพ้ืนที่ ชุมชน 10 หมูบาน ใน 3 ตําบล ระหวางเดือนสิงหาคม-กันยายน 2561 โดยใชวิธีการศึกษาเชิงปริมาณ (Quantitative approach) โดยใชแบบสัมภาษณที่ทางคณะผูศึกษากําหนดขึ้น สุมตัวอยางครัวเรือนในการสัมภาษณ (Random sampling) หัวหนาครัวเรือนหรือสมาชิกในครัวเรือนที่มีอายุ 18 ปขึ้นไปและผูนําชุมชน เพ่ือเปนผูแทนใหขอมูลและแสดงความคิดเห็น ทั้งน้ีไดใชนักวิจัยในชุมชนที่มีประสบการณทํางานวิจัยในการสํารวจขอมูลตามแบบสัมภาษณ โดยอยูในการควบคุมการทํางานของมหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง จังหวัดลําปาง

ขนาดตัวอยางครัวเรือนศึกษาใชสูตรคํานวณตามวิธีการของยามาเน (Taro Yamane, 1967) ที่ระดับความเช่ือมั่น 95% โดยมีขนาดของประชากร (Population size) จํานวน 2,548 ครัวเรือน ไดขนาดครัวเรือนศึกษาตามที่คํานวน 346 ครัวเรือน ทําการเก็บขอมูลจากภาคสนาม 420 ครัวเรือน ในชุมชนตางๆ รอบพ้ืนที่โครงการฯ ทั้งน้ีการลงสัมภาษณครัวเรือนตัวอยางในพ้ืนที่จะพิจารณาตามความเหมาะสมเพ่ือใหไดรับคําตอบจากผูที่อยูอาศัยในชุมชนที่แทจริง โดยหลีกเลี่ยงครัวเรือนที่เปนบานเชา และพนักงาน กฟผ. แมเมาะ รายละเอียดดังรูปที่ ง-11 และตารางที่ ง-17 (ตัวอยางการเก็บขอมูลโดยวิธีการสัมภาษณ แสดงในรูปที่ ง-12)

)Ne (1

N n

2+=

เมื่อ n = ขนาดตัวอยาง หรือขนาดของกลุมตัวอยาง

N = ขนาดของประชากรหรือจํานวนหนวยครัวเรือนทั้งหมด e = ความคลาดเคลื่อนของการสุม โดยทั่วไป นิยมใช e=0.05

ง-34

Page 36: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

รูปที่ ง-11 แสดงที่ต้ังชุมชนโดยรอบพ้ืนที่โครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-7 ภายในรัศมี 5 กิโลเมตรจากโรงไฟฟา

ง-35

Page 37: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ตารางที่ ง-17 ครัวเรือนกลุมตัวอยางรอบพ้ืนที่โครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-7 ป 2561

หนวย :ครัวเรือน

ลําดับ ตําบล หมูที่ หมูบาน จํานวนครัวเรือน

ทั้งหมด

จํานวนครัวเรือนตัวอยาง

ที่สัมภาษณ

1 เทศบาลตําบล

แมเมาะ

1 บานหวยเปด 274 45

2 3 บานหางฮุง 68 11

3 6 บานหวยคิง 354 58

4

ตําบลสบปาด

1 บานสบปาด 471 78

5 2 บานสบเต๋ิน 167 28

6 3 บานปาสวนจาง 125 21

7 4 บานสบเมาะ 454 75

8 6 บานปงตนปน 257 42

9 ตําบลนาสัก

1 บานแมจาง 188 31

10 8 บานขวงมวง 190 31

รวม 2,548 420

ที่มา : กรมการพัฒนาชุมชน ธันวาคม 2561

วิธีการศึกษา

1) รวบรวมขอมูลจากเอกสารที่เกี่ยวของ 2) รวบรวมขอมูลภาคสนาม โดยการสัมภาษณผูนําชุมชน และครัวเรือนในพ้ืนที่ศึกษาตามแบบสัมภาษณ ที่กําหนดขึ้นระหวางเดือนสิงหาคมถึงกันยายน 2561 รวม 420 ครัวเรือน 3) วิเคราะหขอมูลและจัดทํารายงานการวิเคราะหขอมูลจากแบบสัมภาษณ โดยจําแนกตามประเด็นที่สําคัญ ดังน้ี - ขอมูลทั่วไปของผูใหสัมภาษณและสภาพสังคมเศรษฐกจิของครัวเรือน - ขอมลูดานสาธารณูปโภคพ้ืนฐานและสิ่งแวดลอมชุมชน - การรับรูขอมูลขาวสารและการมีสวนรวมทางสังคม ความคิดเห็น และทัศนคติที่มตีอการดําเนินงานของ โครงการ โรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ เครื่องที่ 4-7

ง-36

Page 38: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

รูปที่ ง-12 การสัมภาษณทัศนคติและความคิดเห็นของครัวเรือนตอการดําเนินงานของโรงไฟฟาแมเมาะ ภายในรัศมี 5 กิโลเมตร ประจําป 2561

ง-37

Page 39: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ตัวอยางแบบสอบถาม

ง-38

Page 40: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ง-39

Page 41: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ง-40

Page 42: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ง-41

Page 43: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ง-42

Page 44: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ง-43

Page 45: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ง-44

Page 46: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ง-45

Page 47: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

ง-46

Page 48: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

8. สาธารณสุข สุขภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

8.1 สาธารณสขุ สุขภาพ

7.1.1 มาตรการสําหรับชุมชนรอบโรงไฟฟา

1) รวบรวมขอมูลทุติยภูมิดานจํานวนผูปวยโรคทั่วไปและโรคระบบทางเดินหายใจที่เขารับการ

รักษาในโรงพยาบาล

ทําการรวบรวมขอมูลสภาวะสุขภาพของประชาชนจากรายงานผูปวยนอกตามกลุมสาเหตุ (รง.504 รวม

21 กลุมโรค) ของโรงพยาบาลแมเมาะ สํานักงานสาธารณสุขอําเภอแมเมาะ (โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล

ชุมชนใกลเคียงพ้ืนที่โครงการฯ 4 แหง) และศูนยเฝาระวังเวชศาสตรสิ่งแวดลอมแมเมาะ และขอมูลสภาวะสุขภาพ

ของประชาชนจากรายงานดานระบาดวิทยา (รง.506) ของสถานพยาบาลในอําเภอแมเมาะ

2) การตรวจวัดปรอทและสารหนู ในพืชผัก และในเนื้อวัว

จากมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ระบุไวในรายงานการวิเคราะหผลกระทบ

สิ่งแวดลอม โครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะเครื่องที่ 4-7 กําหนดใหมีการตรวจวัดปรอทและสารหนู ใน

พืชผัก และในเน้ือวัว โดยเปรียบเทียบผลกับเกณฑมาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปอน ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข

ฉบับที่ 98 (พ.ศ.2529) และไดกําหนดมาตรการตรวจวัดปละ 1 ครั้ง คือ ฤดูแลง 1 ครั้ง (รูปที่ ง-13)

วิธีการศึกษา

- เก็บตัวอยางผัก 3 ชนิด ไดแก ชะพลู ผักกาด และกระเพรา บริเวณชุมชนชุมชนบานหางฮุง (วัดหางฮุง

ศรัทธาราม)

- เก็บตัวอยางเน้ือวัวจํานวน 3 ตัวอยางตัวอยางละ 500 กรัม ไดแก 1.ตลาดหนาอําเภอแมเมาะ

2. ตลาดหางฮุง 3. โรงฆาสัตว อําเภอแมเมาะ

- ทําการแชเย็นในถังนํ้าแข็งแลวนําสงตัวอยางพ่ือวิเคราะหในวันที่เก็บตัวอยางทันที

- สงตัวอยางวิเคราะหหาปริมาณสารปรอท (Hg) และสารหนู (As) ใหกับศูนยวิทยาศาสตรการแพทยที่ 1

เชียงใหม สังกัด กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข โดยวิเคราะหสารปรอท (Hg) ) ตามวิธีที่กําหนด

ใน Modified Aoac 2012,999.10 และวิเคราะหสารหนู (As) ตามวิธีที่กําหนดใน Modified Compendium of

Methods for Food Analysis , 2003

เก็บตัวอยางผักบริเวณชุมชนชุมชนบานหางฮุง เก็บตัวอยางเนื้อวัวตลาดหนาอําเภอแมเมาะ

รูปที่ ง-13 การเก็บตัวอยางผัก และเน้ือวัวเพ่ือตรวจวัดปรอทและสารหนู

ง-47

Page 49: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

8.1.2 มาตรการสาํหรับคนงานกอสรางโครงการ และพนกังานในโรงไฟฟา

1) การตรวจสุขภาพของพนักงาน โรงไฟฟาแมเมาะ

การตรวจสุขภาพทั่วไปสําหรับพนักงาน : บันทึกสถิติการเจ็บปวย และการบาดเจ็บของ

พนักงานและคนงานกอสรางโครงการฯ โดยผูรับเหมาแตละรายจะตองมีการการตรวจสุขภาพ

พนักงานและคนงานประจําป เชน ตรวจรางกายทั่วไปโดยแพทย และตรวจเลือด อยางนอยปละ 1

ครั้ง

การตรวจสุขภาพพิเศษ : มีการประเมินความเสี่ยงตามลักษณะงานกอนการตรวจสุขภาพพิเศษ

และบันทึกขอมูลเก่ียวกับสมรรถภาพการไดยิน สมรรถภาพการทํางานของปอด และการ

มองเห็น ปละ 1 ครั้ง

ดําเนินการเก็บสถิติอุบัติเหตุในระหวางการปฏิบัติงานของพนักงานเปนประจําทุก 6 เดือน

2) การตรวจสุขภาพของคนงานกอสราง โครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะ

เครื่องที่ 4-7

การตรวจสุขภาพทั่วไปสําหรับพนักงาน : บันทึกสถิติการเจ็บปวย และการบาดเจ็บของ

พนักงานตรวจสุขภาพพนักงานประจําป เชน ตรวจรางกายทั่วไปโดยแพทย และตรวจเลือด

ปละ 1 ครั้ง

การตรวจสุขภาพพิเศษ : ตรวจและบันทึกขอมูลเก่ียวกับสมรรถภาพการไดยิน สมรรถภาพการ

ทํางานของปอด และการมองเห็น ปละ 1 ครั้ง

8.2 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

7.2.1 สถิติขอมูลอุบัติเหตุระหวางการปฏิบัติงานของพนักงานโรงไฟฟาและคนงานกอสรางโครงการ

โรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะเครื่องที่ 4-7

1) สถิติอุบัติเหตุระหวางการปฏิบัติงานของพนักงานโรงไฟฟา

ฝายการผลิตโรงไฟฟาแมเมาะไดดําเนินการเก็บสถิติอุบัติเหตุในระหวางการปฏิบัติงานของพนักงานเปน

ประจํา โดยสรุปและประมวลผล ทุก 6 เดือน

2) สถิติอุบัติเหตุระหวางการปฏิบัติงานของคนงานกอสราง

โครงการพัฒนาโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะไดดําเนินการเก็บสถิติอุบัติเหตุในระหวางการ

ปฏิบัติงานของคนงานกอสรางเปนประจํา โดยรวบรวมขอมูลจากผูรับเหมารายตางๆ เพ่ือสรุปและประมวลผล ทุก 6 เดือน

8.2.2 การปฏิบัติตามแผนฉุกเฉิน

1) การปฏิบัติตามแผนฉุกเฉินของโรงไฟฟาแมเมาะเครื่องที่ 4-13 ปจจุบัน

ฝายการผลิตโรงไฟฟาแมเมาะไดดําเนินการปฏิบัติตามแผนฉุกเฉิน รวบรวมผลการฝกซอมแผนฉุกเฉิน

จํานวนเหตุฉุกเฉิน รวมทั้งปรับปรุงแผนฉุกเฉินใหเหมาะสมตอสถานการณเปนประจํา โดยสรุปและประมวลผล

ทุก 6 เดือน

ง-48

Page 50: ภาคผนวก ง ขอบเขตการดําเนินงานและวิธีการตรวจติดตามผลกระทบ ...eia.onep.go.th/images/monitor/1548914287.pdf ·

2) การปฏิบัติตามแผนฉุกเฉินของโครงการโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะเครื่องที่ 4-7 ระยะ

กอสราง

โครงการพัฒนาโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาแมเมาะไดดําเนินการปฏิบัติตามแผนฉุกเฉิน รวบรวมผลการ

ฝกซอมแผนฉุกเฉิน จํานวนเหตุฉุกเฉิน รวมทั้งปรับปรุงแผนฉุกเฉินใหเหมาะสมตอสถานการณเปนประจํา โดยสรุป

และประมวลผล ทุก 6 เดือน

ง-49