เพราะใยอาหารช่วยในการขับถ่าย...

2
ปัจจุบันมีบุคคลและองค์กรต่างๆ ได้น้อมน�าเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ กับการปฏิบัติตนและปฏิบัติงานกันอย่างแพร่หลาย ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาทีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชด�าริ เพื่อชี้แนะแนวทางการด�าเนินชีวิตแก่พสกนิกร ชาวไทยตลอดระยะเวลา 30 ปี มาแล้ว ซึ่งปรัชญาได้ชี้ถึงแนวทางการด�ารงอยู่ และปฏิบัติตน ของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและ บริหารประเทศ การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเกิดได้หลายด้าน และหลายรูปแบบ ไม่มี สูตรส�าเร็จแต่ละคนจะต้องพิจารณาปรับใช้ตามความเหมาะสม ให้สอดคล้องกับเงื่อนไข และสภาวะ ที่ตนเผชิญอยู่ (ปรียานุช พิบูลสราวุธ 2550 : เอกสารประกอบการบรรยาย) ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้ยึดค�า3ค�าคือ 1.พอประมาณ ท�าอะไรให้พอประมาณท�าอะไร ประมาณตนท�าอะไรอย่าเกินก�าลังตัวเองค�าว่าประมาณของแต่ละคนไม่เท่ากันเราควรเดินสายกลาง 2.มีเหตุผล ท�าอะไรให้มีเหตุผล ใช้สติปัญญา อยู่ในพละก�าลัง อย่าใช้กิเลสตัณหาเป็นตัวน�า คนเราต้องท�าให้พอดีตามศักยภาพของตนเอง 3.มีภูมิคุ้มกัน คือ มีหลักประกัน ยึดให้มั่น จงตั้งใจในความไม่ประมาท ต้องท�าอะไรพอกับศักยภาพของเรา บ้านเล็กบ้านใหญ่ไม่ส�าคัญ ดูว่า บ้านสะอาดไหม สุขภาพอนามัยดีหรือเปล่า รอบบ้านสะอาดไหม อาหารการกินสะอาดไหม อากาศ ดีไหม อาหารครบหลัก 5 หมู่หรือเปล่า ผักต้องกินผักธรรมะ คือผักธรรมชาติ ค�ารองจาก 3 ค�า คือ ต้องรอบรู้ รอบคอบและมีคุณธรรม รอบรูคือ รู้อย่างไหนควรท�าตามศักยภาพที่เรารู้ อย่า ไปท�าตามที่เราไม่รูรอบคอบ คือ ท�าอะไรให้รอบคอบ มีคุณธรรม คือ ต้องซื่อสัตย์ สุจริต ไม่โกง (สุเมธ ตันติเวชกุล 2550:34) จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดังที่ได้กล่าวมานั้น เราสามารถน�ามาประยุกต์ใช้เป็น แนวทางการด�าเนินชีวิตเพื่อสร้างเสริมสุขภาพพอเพียงได้ ดังต่อไปนี1. ต้องยึดความประหยัด ตัดตอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ ่มเฟือยในการ ด�ารงชีวิตอย่างจริงจัง ดังพระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระองค์ตรัสไว้ว่า “ความเป็นอยู่ที่ต้องไม่ฟุ้งเฟ้อ ต้องประหยัดไปในทางถูกต้อง” 2. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และเน้นการรับประทานอาหารที่มีเส้นใยสูง เพราะใยอาหารช่วยในการขับถ่าย น�าคลอเลสเตอรอลและสารพิษที่ก่อเกิดโรคมะเร็งบางชนิด ออกจากร่างกาย มีอยู่มากในอาหารพวกผัก ผลไม้ ธัญพืช ข้าวกล้อง ถั่ว และปลา 3. รับประทานอาหารธรรมชาติ อาหารเกษตรอินทรีย์ หรืออาหารปลอดสารพิษ เช่น ไม่ใช้สารเคมีในการผลิต ไม่ฟอกหรือขัดขาว เป็นต้น การรับประทานอาหารที่พึ่งพาวิถี ของธรรมชาติ มีผลผลิตตามฤดูกาล จะมีประโยชน์และปลอดภัยต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม 4. ดื่มน�้าเปล่าอย่างเพียงพอในแต่ละวัน ดื่มเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ เช่น น�้าผัก น�้าผลไมหรือน�้าสมุนไพรที่มีคุณค่าทางอาหารและมีสรรพคุณทางยา ช่วยรักษาโรคและกลุ่มอาการ ขั้นพื้นฐานได้ เช่น น�้าใบบัวบก แก้ฟกช�้า ลดการอักเสบ แก้ร้อนในกระหายน�้า ขับปัสสาวะ เป็นต้น ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย เพราะนมประกอบด้วยแร่ธาตุที่ส�าคัญ คือ แคลเซียมและฟอสฟอรัส ซึ่งช่วยให้กระดูกและฟันแข็งแรง ท้งยังช่วยชะลอการเสื่อมสลายของกระดูก การดื่มเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์ ควรดื่มอย่างรู้เท่าทัน และมีสติ 5. หันมานิยมไทย โดยการรับประทานอาหารไทยประจ�าภาค ซึ่งอาหารไทยบางชนิด เช่น ต้มย�ากุ้ง เป็นอาหารที่นิยมและรู้จักกันทั่วโลก ข้อเด่นของอาหารไทยประการหนึ่ง คือ การมี สมุนไพรเป็นส่วนผสมของอาหาร ทั้งในรูปของเครื่องเครื่องเทศและเครื่องแต่งรสแต่งกลิ่นธรรมชาติ จึงท�าให้อาหารไทยมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวด้านความอร่อยและโดดเด่นในแง่ที่เป็นอาหารบ�ารุง สุขภาพอีกด้วย 6. ได้รับอาหารใจทุกวัน อาหารที่เรารับประทานอยู ่ทุกวันเพื่อการเจริญเติบโตและ ความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกายนั้นเป็นอาหารส่วนของร่างกาย ส่วนอาหารใจ ซึ่งคนส่วนมาก มักจะให้ความสนใจน้อย ท่านพุทธทาสภิกขุ (2535:39) ได้กล่าวว่า “ธรรมะเป็นอาหารของจิตใจ ต้องเอามากิน มาใช้ มาบริโภคจึงจะรอดอยู่ได้ ถ้ามัวกินแต่ข้าวปลาอาหารมันก็ตาย ตายที่ตรง นั้นแหละ คือมันตายจากมนุษย์ ไม่มีความเป็นมนุษย์แล้วก็เรียกว่าตาย” ดังนั้นทุกวันเราควร ได้รับอาหารใจด้วย 7. พักผ่อนนอนหลับอย่างเพียงพอ หากเราพักผ่อนนอนหลับไม่เพียงพอจะขาดดุลยภาพ แห่งชีวิต ท�าให้ร่างกายอ่อนเพลีย ง่วงซึมและจิตใจหดหู่ ระยะเวลาในการนอนหลับของแต่ละคน จะไม่เหมือนกัน ที่ส�าคัญคือการนอนหลับให้สนิท จึงจะเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ 8. ออกก�าลังกายให้เหมาะสมตามวัย เน้นการออกก�าลังกายแบบแอโรบิก (Aerobic Exercise) ซึ่งเป็นการ ออกก�าลังกายอย่างต่อเนื่องนานเกิน 3 นาที ขึ้นไป เช่น กายบริหาร การเต้นแอโรบิก การเดิน การวิ่งเหยาะ การกระโดดเชือก การขี่จักรยาน เป็นต้น การออกก�าลังกายดังกล่าว นอกจากจะประหยัดเงินแล้วยังช่วยสร้างความแข็งแรง ของร่างกายและสร้างความต้านทานโรคให้แก่ร่างกาย เช่น โรคภูมิแพ้ การเป็นหวัดอยู่บ่อยๆ โรคความดันโลหิตสูง โรคเส้นเลือดหัวใจตีบตัน โรคอ้วน เป็นต้น 9. ออกก�าลังกายโดยยึดทางสายกลาง (ตามหลักพระพุทธศาสนา คือหลัก มัชฌิมา ปฏิปทา) ปฏิบัติให้พอเหมาะ พอดี พอประมาณ ไม่มากหรือน้อยเกินไป ดังพระราชด�ารัสที่ว่า “การออกก�าลังกายนั้น ท�าน้อยเกินไปร่างกายและจิตใจก็จะเฉา และท�ามากเกินไปร่างกายและจิตใจ

Transcript of เพราะใยอาหารช่วยในการขับถ่าย...

Page 1: เพราะใยอาหารช่วยในการขับถ่าย ...¹ผ่น... · 2016-08-05 · ก็จะช ้ความบ่อยา” (Frequency)

ปัจจุบันมีบุคคลและองค์กรต่างๆได้น้อมน�าเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช ้กับการปฏิบัติตนและปฏิบัติงานกันอย่างแพร่หลายปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชด�าริ เพื่อชี้แนะแนวทางการด�าเนินชีวิตแก่พสกนิกร ชาวไทยตลอดระยะเวลา 30ปี มาแล้ว ซึ่งปรัชญาได้ชี้ถึงแนวทางการด�ารงอยู่ และปฏิบัติตน ของประชาชนในทุกระดับต้ังแต่ระดับครอบครัวระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเกิดได้หลายด้านและหลายรูปแบบไม่มีสตูรส�าเรจ็แต่ละคนจะต้องพิจารณาปรบัใช้ตามความเหมาะสมให้สอดคล้องกับเงือ่นไขและสภาวะที่ตนเผชิญอยู่(ปรียานุชพิบูลสราวุธ2550:เอกสารประกอบการบรรยาย)

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยีงให้ยึดค�า3ค�าคือ1.พอประมาณท�าอะไรให้พอประมาณท�าอะไรประมาณตนท�าอะไรอย่าเกินก�าลังตวัเองค�าว่าประมาณของแต่ละคนไม่เท่ากันเราควรเดนิสายกลาง 2.มีเหตุผล ท�าอะไรให้มีเหตุผล ใช้สติปัญญาอยู่ในพละก�าลัง อย่าใช้กิเลสตัณหาเป็นตัวน�าคนเราต้องท�าให้พอดีตามศักยภาพของตนเอง 3.มีภูมิคุ้มกัน คือ มีหลักประกัน ยึดให้มั่น จงตั้งใจในความไม่ประมาทต้องท�าอะไรพอกับศักยภาพของเราบ้านเล็กบ้านใหญ่ไม่ส�าคัญดูว่า บ้านสะอาดไหมสขุภาพอนามยัดหีรอืเปล่ารอบบ้านสะอาดไหมอาหารการกนิสะอาดไหมอากาศดีไหมอาหารครบหลัก5หมู่หรือเปล่าผักต้องกินผักธรรมะคือผักธรรมชาติค�ารองจาก3ค�าคือต้องรอบรู้ รอบคอบและมีคุณธรรม รอบรู้คือรู้อย่างไหนควรท�าตามศักยภาพที่เรารู้ อย่าไปท�าตามที่เราไม่รู้รอบคอบคือท�าอะไรให้รอบคอบมีคุณธรรมคือต้องซื่อสัตย์สุจริตไม่โกง (สุเมธตันติเวชกุล2550:34)

จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดังที่ได้กล่าวมานั้น เราสามารถน�ามาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางการด�าเนินชีวิตเพื่อสร้างเสริมสุขภาพพอเพียงได้ดังต่อไปนี้

1. ต้องยึดความประหยัด ตัดตอนค่าใช้จ่ายในทุกด้านลดละความฟุ่มเฟือยในการด�ารงชีวิตอย่างจริงจังดังพระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระองค์ตรัสไว้ว่า “ความเป็นอยู่ที่ต้องไม่ฟุ้งเฟ้อต้องประหยัดไปในทางถูกต้อง”

2. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และเน้นการรับประทานอาหารท่ีมีเส้นใยสูง

เพราะใยอาหารช่วยในการขับถ่าย น�าคลอเลสเตอรอลและสารพิษที่ก่อเกิดโรคมะเร็งบางชนิด ออกจากร่างกายมีอยู่มากในอาหารพวกผักผลไม้ธัญพืชข้าวกล้องถั่วและปลา

3. รับประทานอาหารธรรมชาติ อาหารเกษตรอินทรีย์ หรืออาหารปลอดสารพิษ เช่น ไม่ใช้สารเคมีในการผลิต ไม่ฟอกหรือขัดขาว เป็นต้น การรับประทานอาหารที่พ่ึงพาวิถี ของธรรมชาติมีผลผลิตตามฤดูกาลจะมีประโยชน์และปลอดภัยต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม

4. ดื่มน�้าเปล่าอย่างเพียงพอในแต่ละวันดื่มเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ เช่นน�้าผักน�้าผลไม ้หรือน�้าสมุนไพรที่มีคุณค่าทางอาหารและมีสรรพคุณทางยาช่วยรักษาโรคและกลุ่มอาการ ขั้นพื้นฐานได้เช่นน�้าใบบัวบกแก้ฟกช�้าลดการอักเสบแก้ร้อนในกระหายน�้าขับปัสสาวะเป็นต้นดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย เพราะนมประกอบด้วยแร่ธาตุที่ส�าคัญ คือ แคลเซียมและฟอสฟอรัสซึ่งช่วยให้กระดูกและฟันแข็งแรง ทั้งยังช่วยชะลอการเสื่อมสลายของกระดูก การดื่มเคร่ืองดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์ควรดื่มอย่างรู้เท่าทันและมีสติ

5. หันมานิยมไทย โดยการรับประทานอาหารไทยประจ�าภาค ซึ่งอาหารไทยบางชนิด เช่นต้มย�ากุ้ง เป็นอาหารที่นิยมและรู้จักกันทั่วโลกข้อเด่นของอาหารไทยประการหนึ่งคือการมีสมนุไพรเป็นส่วนผสมของอาหารทัง้ในรปูของเครือ่งเคร่ืองเทศและเครือ่งแต่งรสแต่งกล่ินธรรมชาติจึงท�าให้อาหารไทยมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวด้านความอร่อยและโดดเด่นในแง่ที่เป็นอาหารบ�ารุง สุขภาพอีกด้วย

6. ได้รับอาหารใจทุกวัน อาหารที่เรารับประทานอยู่ทุกวันเพ่ือการเจริญเติบโตและ ความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกายนั้นเป็นอาหารส่วนของร่างกายส่วนอาหารใจซึ่งคนส่วนมากมักจะให้ความสนใจน้อยท่านพุทธทาสภิกขุ (2535:39) ได้กล่าวว่า “ธรรมะเป็นอาหารของจิตใจต้องเอามากินมาใช้มาบริโภคจึงจะรอดอยู่ได้ถ้ามัวกินแต่ข้าวปลาอาหารมันก็ตายตายที่ตรงน้ันแหละ คือมันตายจากมนุษย์ ไม่มีความเป็นมนุษย์แล้วก็เรียกว่าตาย”ดังนั้นทุกวันเราควร ได้รับอาหารใจด้วย

7. พกัผ่อนนอนหลับอย่างเพยีงพอหากเราพักผ่อนนอนหลับไม่เพยีงพอจะขาดดลุยภาพแห่งชีวิตท�าให้ร่างกายอ่อนเพลีย ง่วงซึมและจิตใจหดหู่ ระยะเวลาในการนอนหลับของแต่ละคน จะไม่เหมือนกันที่ส�าคัญคือการนอนหลับให้สนิทจึงจะเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ

8. ออกก�าลังกายให้เหมาะสมตามวัย เน้นการออกก�าลังกายแบบแอโรบิก (Aerobic Exercise) ซึ่งเป็นการ ออกก�าลังกายอย่างต่อเนื่องนานเกิน 3นาที ข้ึนไป เช่น กายบริหาร การเต ้นแอโรบิก การเดิน การว่ิงเหยาะ การกระโดดเชือก การข่ีจักรยาน เป ็นต ้น การออกก�าลังกายดังกล ่าว นอกจากจะประหยัดเงินแล ้วยังช ่วยสร ้างความแข็งแรง ของร่างกายและสร้างความต้านทานโรคให้แก่ร่างกาย เช่น โรคภูมิแพ้ การเป็นหวัดอยู่บ่อยๆ โรคความดันโลหิตสูงโรคเส้นเลือดหัวใจตีบตันโรคอ้วนเป็นต้น

9. ออกก�าลังกายโดยยึดทางสายกลาง (ตามหลักพระพุทธศาสนา คือหลักมัชฌิมาปฏิปทา)ปฏิบัติให้พอเหมาะพอดีพอประมาณ ไม่มากหรือน้อยเกินไปดังพระราชด�ารัสที่ว่า “การออกก�าลงักายนัน้ท�าน้อยเกินไปร่างกายและจติใจก็จะเฉาและท�ามากเกินไปร่างกายและจติใจ

Page 2: เพราะใยอาหารช่วยในการขับถ่าย ...¹ผ่น... · 2016-08-05 · ก็จะช ้ความบ่อยา” (Frequency)

ก็จะช�้า”ความบ่อย (Frequency) ในการออกก�าลังกายที่เหมาะสม คือออกก�าลังกายสัปดาห ์ละ3วันความหนัก(Intensity)ออกก�าลังกายให้ชีพจรเต้นเพิ่มขึ้นประมาณ50%หรือให้หัวใจเต้นถึงเป้าหมาย (TargetHeartRate)มีวิธีค�านวณคือ เอา220ลบกับอายุ(ปี) จะได้จ�านวนชพีจรเต้นสงูสดุน�าเอาชพีจรเต้นสงูสุดลบกับชพีจรขณะพกั(1นาที)จะได้ช่วงระยะของชพีจรแล้วน�า ช่วงระยะของชีพจรหารด้วย2แล้วบวกกับชีพจรขณะพักจะได้ค่าเป้าหมายระดับการเต้นของหัวใจขณะออกก�าลงักายตัวอย่างเช่นผูห้ญิงคนหนึง่อายุ50ปีชพีจรขณะพัก(1นาที)=80จะมชีพีจรเต้นสูงสุดคือ220-50=170ดังนั้นช่วงระยะของชีพจรผู้หญิงคนนั้นคือ170-80=90ช่วงระยะของชีพจรหารด้วย2คือ90=45บวกกับชีพจรขณะพัก(80)คือ45+80=เป้าหมายระดับการเต้นของหัวใจขณะออกก�าลังกาย125ครั้ง/นาทีความนาน(Time)ออกก�าลังกายให้มีความต่อเนื่องกันอย่างน้อย20นาทีขึ้นไป

10. ท�างานเพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวมมากกว่าส่วนตน มีความเอื้ออาทรต่อผู้อื่น รู้จัก การให้มากกว่าการรับซึ่งจะท�าให้จิตใจเราสบายมีความสุข

หากท่านผู้อ่านด�าเนินชีวิตได้ตามแนวทางดังกล่าวแล้ว เชื่อแน่ว่าท่านต้องประสบผลส�าเร็จ ในการมีสุขภาพพอเพียงได้อย่างแน่นอน...ฟันธง!

เอกสารอ้างอิง

ปรียานุชพิบูลสราวุธ.(2550).ปรัชญาของเศรษฐพอเพียงและการจัดการศึกษา.โครงการวิจัยเศรษฐกิจ พอเพียงส�านักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์กรุงเทพมหานคร:(เอกสารประกอบการ บรรยาย).พุทธทาสภิกขุ.(2535).วิธีรักษาสุขภาพอนามัยทางจิตที่ด.ีกรุงเทพมหานคร:ธรรมสภา.สุเมธตันติเวชกุล.(2550).แนวทางการด�าเนินชีวิตบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง.มติชน.27มีนาคม 2550หน้า34.

ออกแบบโดย:กิติวัฒน์ติจินดา

โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์กิติพงษ์ ขัติยะ กลุ่มวิชาพัฒนาสุขภาพคณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้

แนวทางการด�าเนินชีวิตเพื่อสร้างเสริมสุขภาพพอเพียง