เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf ·...

36
พระราชบัญญัติ วัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท .. ๒๕๑๘ ___________________ ภูมิพลอดุลยเดช .. ใหไว วันทีมกราคม .. ๒๕๑๘ เปนปที๓๐ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนสมควรมีกฎหมายวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๘ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย () จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแหงชาติทําหนา ที่รัฐสภา ดังตอไปนีมาตรา พระราชบัญญัตินี้เรียกวา "พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท .. ๒๕๑๘" มาตรา พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป () มาตรา บรรดาบทกฎหมาย กฎ และขอบังคับอื่นในสวนที่บัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัตินีหรือซึ่งขัดแยงกับบทแหง พระราชบัญญัติ ใหใชพระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา ในพระราชบัญญัตินี( ) ขอความดังกลาวเพิ่มเติมโดย ... วัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับที) .. ๒๕๔๓ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๗ ตอนที๑๑๑ ลงวันที๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ ( ) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เลม ๙๒ ตอนทีลงวันทีมกราคม ๒๕๑๘

Transcript of เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf ·...

Page 1: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

พระราชบัญญัติ

วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘

___________________

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๘

เปนปท่ี ๓๐ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนสมควรมีกฎหมายวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๘ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย(๑) จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแหงชาติทําหนาที่รัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา "พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘" มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป(๒) มาตรา ๓ บรรดาบทกฎหมาย กฎ และขอบังคับอื่นในสวนที่บัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดแยงกับบทแหงพระราชบัญญัติ ใหใชพระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้

(๑) ขอความดังกลาวเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๗ ตอนที่ ๑๑๑ ก

ลงวันท่ี ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ (๒)

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เลม ๙๒ ตอนที่ ๕ ลงวันท่ี ๙ มกราคม ๒๕๑๘

Page 2: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๒๙๗

"วัตถุออกฤทธิ์" หมายความวา วัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทที่เปนสิ่งธรรมชาติหรือที่ไดจากสิ่งธรรมชาติ หรือวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทที่เปนวัตถุสังเคราะห ทั้งนี้ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา "วัตถุตํารับ" หมายความวา สิ่งปรุงไมวาจะมีรูปลักษณะใด ที่มีวัตถุออกฤทธิ์รวมอยูดวย ทั้งนี้ รวมทั้งวัตถุออกฤทธิ์ที่มีลักษณะเปนวัตถุสําเร็จรูปทางเภสัชกรรม ซึ่งพรอมที่จะนําไปใชแกคนหรือสัตวได "วัตถุตํารับยกเวน" หมายความวา วัตถุตํารับที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหไดรับการยกเวนจากมาตรการควบคุมบางประการสําหรับวัตถุออกฤทธิ์ที่มีอยูในวัตถุตํารับนั้น "เอกสารกํากับวัตถุออกฤทธิ์" หมายความวา กระดาษหรือสิ่งอื่นใดที่ทําใหปรากฏความหมายดวยรูป รอยประดิษฐหรือขอความใดๆ อันเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์ ซึ่งสอดแทรกหรือรวมไวกับภาชนะหรือหีบหอบรรจุวัตถุออกฤทธิ์ "ผลิต" หมายความวา ทํา ผสม ปรุง หรือแปรสภาพ และหมายความรวมถึงเปลี่ยนรูป แบงบรรจุ หรือรวมบรรจุ "ขาย" หมายความรวมถึง จําหนาย จาย แจก แลกเปลี่ยน สงมอบหรือมีไวเพื่อขาย "นําเขา" หมายความวา นําหรือสั่งเขาในราชอาณาจักร "สงออก" หมายความวา นําหรือสงออกจากราชอาณาจักร เพื่อไปตางประเทศ "นําผาน" หมายความวา นําหรือสงผานราชอาณาจักร แตไมรวมถึงการนําหรือสงวัตถุออกฤทธิ์ผานราชอาณาจักรโดยมิไดมีการขนถายออกจากเครื่องบินที่ใชในการขนสงสาธารณะระหวางประเทศ (๓)."เสพ" หมายความวา การรับวัตถุออกฤทธิ์เขาสูรางกายโดยรูอยูวาเปนวัตถุออกฤทธิ์ไมวาดวยวิธีใดหรือทางใด (๔) "ติดวัตถุออกฤทธิ์" หมายความวา เสพเปนประจําติดตอกันจนตกอยูในสภาพที่จําเปนตองพึ่งวัตถุออกฤทธิ์นั้น โดยสามารถตรวจพบสภาพเชนวานั้นไดตามหลักวิชาการ (๕) "การรักษาพยาบาล" หมายความวา การรักษาพยาบาลผูติดวัตถุออกฤทธิ์ รวมตลอดถึงการฟนฟูสุขภาพและสมรรถภาพ เพื่อใหบุคคลนั้นกลับคืนสูสภาพของปกติชน (๖) "สถานพยาบาล" หมายความวา สถานพยาบาลหรือสถานพักฟนที่ใหการรักษาพยาบาลหรือการฟนฟูสุขภาพและสมรรถภาพของผูติดวัตถุออกฤทธิ์ ที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด ตามมาตรา ๖ "สถานที่" หมายความรวมถึง อาคารหรือสวนของอาคารและบริเวณของสถานที่ดวย "เภสัชกร" หมายความวา ผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบันช้ันหนึ่งในสาขาเภสัชกรรม "ผูรับอนุญาต" หมายความวา ผูไดรับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติ ในกรณีนิติบุคคลเปนผูรับใบอนุญาต ใหหมายความรวมถึงผูซึ่งนิติบุคคลแตงตั้งใหเปนผูดําเนินกิจการเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์ดวย "ผูอนุญาต" หมายความวา (๑) เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาหรือผูซึ่งไดรับมอบหมายจากเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (ก) สําหรับการอนุญาตใหมีไวในครอบครองหรือการใชประโยชนใดๆ ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท (ข) สําหรับการอนุญาตใหผลิต นําเขา หรือสงออก ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ และประเภท ๔ หรือนําผานซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท (ค) สําหรับการอนุญาตใหขายวัตถุออกฤทธิ์ ประเภท ๓ และประเภท ๔ ในกรุงเทพมหานคร

(๓) - (๖) ขอความขางตน เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓ (หมายเหตุ พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๐๙ ตอนที่ ๑๔ ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๓๕)

Page 3: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๒๙๘

(๒) ผูวาราชการจังหวัดหรือผูซึ่งไดรับมอบหมายจากผูวาราชการจังหวัดสําหรับการอนุญาตใหขายวัตถุออกฤทธิ์ ประเภท ๓ และประเภท ๔ ในจังหวัดที่อยูในเขตอํานาจ ยกเวน กรุงเทพมหานคร "คณะกรรมการ" หมายความวา คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท "พนักงานเจาหนาที่" หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ "เลขาธิการ" หมายความวา เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา "รัฐมนตรี" หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๕ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และใหมีอํานาจแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ ออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้ ยกเวนคาธรรมเนียม และกําหนดกิจการอื่นกับออกประกาศ ทั้งนี้เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบังคับได มาตรา ๖ ใหรัฐมนตรีมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา (๑) ระบุช่ือและจัดแบงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ใดอยูในประเภท ๑ ประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔(๗) (๒) กําหนดมาตรฐานวาดวยปริมาณสวนประกอบ คุณภาพ ความบริสุทธิ์ หรือลักษณะอื่นของวัตถุออกฤทธิ์ ตลอดจนการบรรจุและการเก็บรักษาวัตถุออกฤทธิ์ตาม (๑) (๓) เพิกถอน หรือเปลี่ยนแปลงชื่อหรือประเภทวัตถุออกฤทธิ์ตาม (๑)

(๔) ระบุช่ือและประเภทวัตถุออกฤทธิ์ที่หามมิใหผลิต ขาย นําเขา สงออก นําผานหรือมีไวในครอบครอง (๘)(๔ ทวิ) ระบุช่ือวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ซึ่งอนุญาตใหผลิตเพื่อสงออกและสงออกได (๕) ระบุช่ือประเภทวัตถุออกฤทธิ์ที่ตองมีคําเตือน หรือขอควรระวังเปนหนังสือหรือเปนภาพ ใหผูใชระมัดระวังตามความเปนเพื่อความปลอดภัยของผูใช (๖) ระบุช่ือประเภทวัตถุออกฤทธิ์ที่ตองแจงกําหนดสิ้นอายุไวในฉลาก (๗) ระบุวัตถุตํารับใหเปนวัตถุตํารับยกเวน (๙)(๗ ทวิ) กําหนดปริมาณการมีไวในครอบครองหรือใชประโยชนซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ ตามมาตรา ๑๐๖ ทวิ (๘) ระบุช่ือและประเภทวัตถุออกฤทธิ์ที่หามนําเขาไปยังประเทศหนึ่งประเทศใดตามมาตรา ๘๓ (๙) ระบุสถาบันทางราชการตามมาตรา ๑๕(๒) มาตรา ๑๗(๒) และมาตรา ๖๓(๓) (๑๐) (๑๐) กําหนดสถานพยาบาลผูติดวัตถุออกฤทธิ์ (๑๑)(๑๑) กําหนดระเบียบขอบังคับเพื่อควบคุมการรักษาพยาบาลและระเบียบวินัยสําหรับสถานพยาบาล

หมวด ๑

(๗)

รายชื่อและประเภทวัตถุออกฤทธิ์ เปนไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับท่ี ๙๗ (พ.ศ. ๒๕๓๙) และประกาศฉบับอื่นท่ีแกไขเพิ่มเติม (๘)

ขอความขางตน เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔ (๙) ขอความขางตน เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๕ (๑๐)-(๑๑) ขอความขางตนเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๖ (๑๒)

ขอความเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๗ และใหใชขอความที่พิมพน้ีไวแทน

Page 4: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๒๙๙

คณะกรรมการวัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (๑๒)มาตรา ๗ ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา "คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท" ประกอบดวย ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเปนประธานกรรมการ อธิบดีกรมการแพทยหรือผูแทน อธิบดีกรมวิทยาศาสตรการแพทยหรือผูแทน อธิบดีกรมอนามัยหรือผูแทน อธิบดีกรมตํารวจหรือผูแทน อัยการสูงสุดหรือผูแทน อธิบดีกรมศุลกากรหรือผูแทน เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาหรือผูแทน เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติดหรือผูแทน ผูอํานวยการกองสุขภาพจิต กรมการแพทย และผูทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งอีกไมเกินเจ็ดคนเปนกรรมการ ใหเลขาธิการเปนกรรมการและเลขานุการ และผูอํานวยการกองควบคุมวัตถุเสพติด สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เปนกรรมการและผูชวยเลขานุการ มาตรา ๘ กรรมการผูทรงคุณวุฒิมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองป กรรมการซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดรับการแตงตั้งอีกได มาตรา ๙ กรรมการผูทรงคุณวุฒิพนจากตําแหนงกอนวาระ เมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รัฐมนตรีใหออก (๔) เปนคนไรความสามารถหรือเสมือนไรความสามารถ (๕) ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ หรือ (๖) ถูกสั่งพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะ เมื่อกรรมการผูทรงคุณวุฒิพนจากตําแหนงกอนวาระ ใหรัฐมนตรีแตงตั้งผูอื่นเปนกรรมการแทนและใหผูนั้นอยูในตําแหนงตามวาระของกรรมการซึ่งตนแทน มาตรา ๑๐ การประชุมของคณะกรรมการ ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดจึงเปนองคประชุม ถาประธานกรรมการไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุม การวินิจฉัยช้ีขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งใหมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเปนเสียงช้ีขาด มาตรา ๑๑ ใหคณะกรรมการมีหนาที่ใหความเห็น คําแนะนํา หรือความเห็นชอบในเรื่องตอไปนี้ (๑) การผลิต ขาย นําเขา สงออก นําผาน หรือมีไวในครอบครอง ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์หรือการขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับ (๒) การพักใชใบอนุญาต การเพิกถอนใบอนุญาต การเพิกถอนทะเบียนวัตถุตํารับหรือการเพิกถอนวัตถุตํารับยกเวน

Page 5: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๐๐

(๓) การกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการผลิต ขาย นําเขา สงออก นําผาน มีไวในครอบครอง หรือการนํามาเปนตัวอยาง ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ หรือวัตถุตํารับ ยกเวนการตรวจสอบสถานที่ผลิต สถานที่ขาย สถานที่เก็บ และสถานที่ประกอบธุรกิจอื่นซึ่งวัตถุดังกลาว (๔) การออกกฎกระทรวงหรือประกาศที่ตองประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อปฏิบัติตาม พระราชบญัญัตินี้ (๕) เรื่องอื่นตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย หรือตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร มาตรา ๑๒ ใหคณะกรรมการมีอํานาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อพิจารณาศึกษา เพื่อวิจัยเกี่ยวกับเรื่องที่อยูในอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ และนําความในมาตรา ๑๐ มาใชบังคับแกการประชุมของคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม

หมวด ๒ การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์

(๑๓)มาตรา ๑๓ หามมิใหผูใดผลิต ขาย นําเขา หรือสงออก ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ ความในวรรคหนึ่งไมใชบังคับแกกระทรวงสาธารณสุขหรือผูซึ่งไดรับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุข เวนแตพระราชบัญญัตินี้จะไดกําหนดไวเปนอยางอื่น (๑๔)มาตรา ๑๓ ทวิ หามมิใหผูใดผลิต ขาย นําเขา หรือสงออก ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ เวนแตการผลิตเพื่อสงออกและการสงออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ บางชนิดที่รัฐมนตรีประกาศระบุช่ือตามมาตรา ๖ (๔ ทวิ) โดยไดรับใบอนุญาต การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง ความในวรรคหนึ่งและวรรคสอง ไมใชบังคับแกกระทรวงสาธารณสุขหรือผูซึ่งไดรบัมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุข เวนแตพระราชบัญญัตินี้จะกําหนดไวเปนอยางอื่น มาตรา ๑๔ กระทรวงสาธารณสุขอาจอนุญาตใหยานพาหนะที่ใชในการขนสงสาธารณะระหวางประเทศที่จดทะเบียนในราชอาณาจักร นําเขาหรือสงออก ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ในปริมาณพอสมควร เทาที่จําเปนตองใชประจําในการปฐมพยาบาล หรือในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินในยานพาหนะนั้นได การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง (๑๕)มาตรา ๑๕ บทบัญญัติมาตรา ๑๓ ทวิ ไมใชบังคับแก (๑) การขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ที่ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบันช้ันหนึ่งในสาขาทันตกรรม ขายเฉพาะสําหรับคนไขของตน หรือผูประกอบการบําบัดโรคสัตวช้ันหนึ่ง ขายเฉพาะสําหรับใชกับสัตวที่ตนบําบัดหรือปองกันโรค (๒) การขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ โดยกระทรวง ทบวง กรม สภากาชาดไทย หรือสถาบันอื่นของทางราชการตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา (๓) การนําวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ติดตัวมาในหรือออกไปนอกราชอาณาจักรไมเกินปริมาณที่จําเปนตองใชรักษาเฉพาะตัวภายในสามสิบวัน โดยมีหนังสือรับรองของแพทย หรือ

(๑๓)

ขอความเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๘ และใหใชขอความที่พิมพไวน้ีแทน (๑๔)

ขอความขางตนเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๙ (๑๕)

ขอความเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๑๐ และใหใชขอความที่พิมพไวน้ีแทน

Page 6: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๐๑

(๔) การนําเขาหรือสงออก ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ในปริมาณเทาที่จําเปนตองใชประจําในการปฐมพยาบาลหรือในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในเรือ เครื่องบิน หรือยานพาหนะอื่นใดที่ใชในการขนสงสาธารณะระหวางประเทศที่ไมไดจดทะเบียนในราชอาณาจักร แตถายานพาหนะดังกลาวจดทะเบียนในราชอาณาจักร ใหยื่นคําขอรับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๖ หามมิใหผูใดผลิต ขาย นําเขา หรือสงออก ซึ่งวัตถอุอกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ หรือนําผานซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท เวนแตไดรับอนุญาต การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๗ บทบัญญัติมาตรา ๑๖ ไมใชบังคับแก (๑) การผลิตยาที่มีวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ตามใบสั่งของ ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบันช้ันหนึ่งในสาขาทันตกรรมสําหรับคนไขเฉพาะราย หรือของผูประกอบการบําบัดโรคสัตวช้ันหนึ่งสําหรับสัตวเฉพาะราย (๒) การผลิต ขาย นําเขาหรือสงออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ โดยกระทรวง ทบวง กรม สภากาชาดไทย องคการเภสัชกรรมหรือสถาบันอื่นของทางราชการตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา (๓) การขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือ ประเภท ๔ ที่ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบันช้ันหนึ่งในสาขาทันตกรรม ขายเฉพาะสําหรับคนไขของตน หรือผูที่ประกอบการบําบัดโรคสัตวช้ันหนึ่ง ขายเฉพาะสําหรับสัตวซึ่งตนบําบัดหรือปองกันโรค (๔) การนําวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ติดตัวเขามาในหรือออกนอกราชอาณาจักรไมเกินจํานวนที่จําเปนตองใชรักษาเฉพาะตัวภายในสามสิบวัน โดยมีหนังสือรับรองของแพทย หรือ (๕) การนําเขาหรือสงออก ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรอืประเภท ๔ ในปริมาณพอสมควรเทาที่จําเปนตองใชประจําในการปฐมพยาบาลหรือในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในเรือ เครื่องบิน หรือยานพาหนะอื่นใดที่ใชในการขนสงสาธารณะระหวางประเทศที่ไมไดจดทะเบียนในราชอาณาจักร แตถายานพาหนะดังกลาวจดทะเบียนในราชอาณาจักร ใหยื่นคําขอรับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๖ มาตรา ๑๘ ผูอนุญาตจะออกใบอนุญาตใหผลิต ขาย หรือนําเขาซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ไดเมื่อปรากฏวา ผูขออนุญาต (๑) ไดรับใบอนุญาตใหผลิต ขาย หรือนําเขา ซึ่งยาแผนปจจุบันตามกฎหมายวาดวยยา แลวแตกรณี และ (๒) มีเภสัชกรอยูประจําตลอดเวลาทําการ ใหผูรับอนุญาตผลิต หรือนําเขา ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ ขายวัตถุดังกลาวที่ตนผลิตหรือนําเขาไดโดยไมตองรับใบอนุญาตขายอีก มาตรา ๑๙ ผูอนุญาตจะออกใบอนุญาตใหสงออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ และประเภท ๔ หรอืจะออกใบอนุญาตใหนําผานซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภทแกผูหนึ่งผูใด เฉพาะแตละครั้งและจะกําหนดเงื่อนไขใดๆ ก็ไดตามที่เห็นสมควร มาตรา ๒๐ ใบอนุญาตตามมาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๙ ใหคุมกันถึงลูกจางหรือตัวแทนของผูรับอนุญาตดวย ใหถือวาการกระทําของลูกจางหรือตัวแทนของผูรับอนุญาตที่ไดรับการคุมกันตามวรรคหนึ่งเปนการกระทําของผูรับอนุญาตดวย เวนแตผูรับอนุญาตจะพิสูจนไดวาการกระทําดังกลาวเปนการสุดวิสัยที่ตนจะลวงรูหรือควบคุมได มาตรา ๒๑ ใบอนุญาตตามมาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๙ ใหใชไดจนถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคมของปที่ออกใบอนุญาต ถาผูรับอนุญาตประสงคจะขอตออายุใบอนุญาต ตองยื่นคําขอกอนใบอนุญาตสิ้นอายุ เมื่อไดยื่นคําขอแลว จะประกอบกิจการตอไปก็ไดจนกวาผูอนุญาตจะสั่งไมอนุญาตใหตอใบอนุญาตนั้น การขอตอใบอนุญาตและการอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดไวในกฎกระทรวง

Page 7: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๐๒

มาตรา ๒๒ ในกรณีผูอนุญาตไมออกใบอนุญาตหรือไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต ผูขออนุญาตหรือผูขอตออายุใบอนุญาตมีสิทธิ์อุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสือของผูอนุญาตแจงการไมออกใบรับอนุญาตหรือไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีใหเปนที่สุด ในกรณีมีการอุทธรณการขอตออายุใบอนุญาตผลิตวัตถุออกฤทธิ์ตามวรรคหนึ่งกอนที่รัฐมนตรีจะมีคําวินิจฉัยอุทธรณ รัฐมนตรีจะสั่งอนุญาตใหประกอบกิจการไปพลางกอนเมื่อมีคําขอของผูอุทธรณก็ได มาตรา ๒๓ ผูรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ใหไดรับยกเวนไมตองปฏิบัติการตามกฎหมายวาดวยยาอีก

หมวดที่ ๓ หนาท่ีของผูรับอนุญาต

มาตรา ๒๔ หามมิใหผูรับอนุญาต ผลิต ขาย นําเขา หรือเก็บไว ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ นอกสถานที่ที่ระบุไวในใบอนุญาต มาตรา ๒๕ ผูอนุญาตอาจอนุญาตใหผูรับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ นอกสถานที่ที่ระบุไวในใบอนุญาตไดในกรณี ดังตอไปนี้ (๑) การขายสงตรงแกผูรับอนุญาตอื่นตามพระราชบัญญัตินี้หรือแกผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบันช้ันหนึ่งในสาขาทันตกรรมหรือผูประกอบการบําบัดโรคสัตวช้ันหนึ่ง (๒) การขายในบริเวณสถานที่ที่มีการประชุมของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบันช้ันหนึ่งในสาขาทันตกรรม เภสัชกร หรือผูประกอบการบําบัดโรคสัตวช้ันหนึ่ง การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๖ ผูรับอนุญาตผลิต ขาย หรือนาํเขา ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ตองจัดใหมีเภสัชกรอยูประจําควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เปดดําเนินการ เวนแตในกรณีมีความจําเปนช่ัวครั้งคราว ในระหวางที่เภสัชกรมิไดอยูประจําควบคุมกิจการ หามมิใหผูใดดําเนินการผลิตหรือขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ มาตรา ๒๗ ใหผูรับอนุญาตผลิตวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ปฏิบัติดังตอไปนี้ (๑) จัดใหมีปายไวในที่เปดเผยเห็นไดงายจากภายนอกอาคาร ณ สถานที่ผลิตแสดงวาเปนสถานที่ผลิตวัตถุออกฤทธิ์ ลักษณะและขนาดของปายและขอความที่แสดงในปายใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (๒) จัดใหมีการวิเคราะหวัตถุออกฤทธิ์ ที่ผลิตขึ้นกอนนําออกจากสถานที่ผลิตโดยตองมีการวิเคราะหทุกครั้งและมีหลักฐานแสดงรายละเอียดซึ่งตองเก็บรักษาไวไมนอยกวาสิบปนับแตวันวิเคราะห (๓) จัดใหมฉีลากและเอกสารกํากับวัตถุออกฤทธิ์ หรือคําเตือน หรือขอควรระวังการใชวัตถุออกฤทธิ์ที่ภาชนะหรือหีบหอบรรจุวัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิตขึ้น ทั้งนี้ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง (๔) การอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๘ ใหผูรับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ปฏิบัติดังตอไปนี้ (๑) จัดใหมีปายไวในที่เปดเผยเห็นไดงายจากภายนอกอาคาร ณ สถานที่ขายแสดงวาเปนสถานที่ขายวัตถุออกฤทธิ์ ลักษณะและขนาดของปายและขอความที่แสดงในปายใหเปนตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (๒) จัดใหมีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เปนสวนสัดจากยาหรือวัตถุอื่น

Page 8: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๐๓

(๓) ดูแลใหมีฉลาก เอกสารกํากับวัตถุออกฤทธิ์ หรือคําเตือนหรือขอควรระวังการใชวัตถุออกฤทธิ์ที่ภาชนะหรือหีบหอบรรจุวัตถุออกฤทธิ์ (๔) การอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๙ ใหผูรับอนุญาตนําเขาซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ปฏิบัติดังตอไปนี้ (๑) จัดใหมีปายไวในที่เปดเผย เห็นไดงายจากภายนอกอาคาร ณ สถานที่นําเขาแสดงวาเปนสถานที่นําเขาวัตถุออกฤทธิ์ ลักษณะและขนาดของปายและขอความที่แสดงในปายใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (๒) จัดใหมีใบรับรองของผูผลิตแสดงรายละเอียดการวิเคราะหวัตถุออกฤทธิ์ที่นําเขา (๓) จัดใหมีฉลากที่ภาชนะหรือหีบหอบรรจุวัตถุออกฤทธิ์ (๔) จัดใหมีฉลากและเอกสารกํากับวัตถุออกฤทธิ์ตามที่ไดขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับเอกสารกํากับตองเปนภาษาไทย แตจะมีภาษาตางประเทศดวยก็ได (๕) การอื่นตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวง มาตรา ๓๐ ในกรณีใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ใหผูรับอนุญาตแจงตอผูอนุญาตและยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับทราบถึงการสูญหายหรือถูกทําลายดังกลาว การขอรับใบแทนใบอนุญาตและการออกใบแทนใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๑ ผูรับอนุญาตตองแสดงใบอนุญาตของตนไวโดยเปดเผยและเห็นไดงาย ณ สถานที่ที่ระบุไวในใบอนุญาต มาตรา ๓๒ หามมิใหผูรับอนุญาตยาย เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มสถานที่ผลิต สถานที่ขาย สถานที่นําเขา หรือสถานที่เก็บซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ และประเภท ๔ เวนแตไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากผูอนุญาต การขออนุญาตและการอนุญาตใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง

หมวด ๔ หนาท่ีของเภสัชกร

มาตรา ๓๓ ใหเภสัชกรผูมีหนาที่ควบคุมการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ปฏิบัติดังตอไปนี้ (๑) ควบคุมการผลิตใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) ควบคุมใหมีฉลากและเอกสารกํากับวัตถุออกฤทธิ์ตามมาตรา ๒๗ (๓) (๓) ควบคุมการแบงบรรจุและการปดฉลากที่ภาชนะหรือหีบหอบรรจุใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ (๔) ควบคุมการขายวัตถุออกฤทธิ์ใหเปนไปตามมาตรา ๓๔ (๕) ตองอยูประจําควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เปดดําเนินการ (๖) การอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๔ ใหเภสัชกรผูมีหนาที่ควบคุมการขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ปฏิบัติดังตอไปนี้ (๑) ควบคุมการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์ตามมาตรา ๒๘(๒) (๒) ควบคุมการปฏิบัติตามมาตรา ๒๘(๓) (๓) ควบคุมการขายใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ (๔) ควบคุมการปรุงวัตถุออกฤทธิ์ใหเปนไปตามใบสั่งยาของบุคคลซึ่งกลาวใน (๕)

Page 9: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๐๔

(๕) ดูแลใหมีฉลากที่ภาชนะหรือหีบหอบรรจุวัตถุออกฤทธิ์ที่ปรุงตามใบสั่งยาของ ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบันช้ันหนึ่งในสาขาทันตกรรม หรือผูประกอบการบําบัดโรคสัตวช้ันหนึ่ง ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง (๖) ควบคุมการสงมอบวัตถุออกฤทธิ์ใหถูกตองตามใบสั่งยาของบุคคลซึ่งกลาวใน (๕) (๗) ควบคุมการทําบัญชีรับจายวัตถุออกฤทธิ์ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง (๘) ควบคุมมิใหมีการขายวัตถุออกฤทธิ์แกผูซึ่งไมมีใบสั่งยาของบุคคลซึ่งกลาวใน (๕) หรือแกผูซึ่งไมไดรับใบอนุญาตผลิต ขาย หรือนําเขา ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ (๙) ตองอยูประจําควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เปดดําเนินการ (๑๐) การอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๕ ใหเภสัชกรผูมีหนาที่ควบคุมการนําเขาซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ปฏิบัติดังตอไปนี้ (๑) ควบคุมวัตถุออกฤทธิ์ที่นําเขาใหถูกตองตามตํารับของวัตถุตํารับที่ไดขึ้นทะเบียนไว (๒) ควบคุมการปฏิบัติเกี่ยวกับฉลากและเอกสารกํากับวัตถุออกฤทธิ์ตามมาตรา ๒๙(๓) และ (๔) (๓) ควบคุมการขายวัตถุออกฤทธิ์ใหเปนไปตามมาตรา ๓๔ (๔) ตองอยูประจําควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เปดดําเนินการ (๕) การอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

หมวดที่ ๕ วัตถุออกฤทธิ์ปลอม วัตถุออกฤทธิ์ผิดตามมาตรฐาน

และวัตถุออกฤทธิ์เสื่อมคุณภาพ มาตรา ๓๖ หามมิใหผูใดผลิต ขาย หรือนําเขา ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ ดังตอไปนี้ (๑) วัตถุออกฤทธิ์ปลอม (๒) วัตถุออกฤทธิ์ผิดมาตรฐาน (๓) วัตถุออกฤทธิ์เสื่อมคุณภาพ (๔) วัตถุออกฤทธิ์ที่ตองขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับแตมิไดขึ้นทะเบียนไว (๕) วัตถุออกฤทธิ์ที่รัฐมนตรีสั่งเพิกถอนทะเบียนวัตถตํุารับ มาตรา ๓๗ วัตถุออกฤทธิ์หรือสิ่งตอไปนี้ ใหถือวาเปนวัตถุออกฤทธิ์ปลอม (๑) สิ่งที่ทําเทียมวัตถุออกฤทธิ์ทั้งหมดหรือแตบางสวน (๒) วัตถุออกฤทธิ์ที่แสดงชื่อวาเปนวัตถุออกฤทธิ์อื่น หรือแสดงเดือนปที่วัตถุออกฤทธิ์สิ้นอายุซึ่งเกินความจริง (๓) วัตถุออกฤทธิ์ที่แสดงชื่อหรือเครื่องหมายของผูผลิต หรือที่ต้ังของสถานที่ผลิตซึ่งมิใชความจริง (๔) วัตถุออกฤทธิ์หรือสิ่งที่แสดงวาเปนวัตถุออกฤทธิ์ตามที่กําหนดไวในประกาศของรัฐมนตรีตามมาตรา ๖(๑) หรือตามตํารับของวัตถุตํารับที่ขึ้นทะเบียนไวซึ่งมิใชความจริง (๕) วัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิตขึ้นไมถูกตองตามมาตรฐานถึงขนาดสารออกฤทธิ์ขาดหรือ เกินกวารอยละสิบของปริมาณที่กําหนดไวไปจากเกณฑที่ตํ่าสุดหรือสูงสุด ตามที่กําหนดไวในประกาศของรัฐมนตรีตามมาตรา ๖(๒) หรือตามที่กําหนดไวในตํารับของวัตถุตํารับขึ้นทะเบียนไว มาตรา ๓๘ วัตถุออกฤทธิ์ตอไปนี้ ใหถือวาเปนวัตถุออกฤทธิ์ผิดมาตรฐาน

Page 10: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๐๕

(๑) วัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิตขึ้นไมถูกตองตามมาตรฐานโดยสารออกฤทธิ์ขาดหรือเกินจากเกณฑตํ่าสุดหรือหรือสูงสุด ตามที่กําหนดไวในประกาศของรัฐมนตรีตามมาตรา ๖(๒) หรือ ตามตํารับของวัตถุตํารับที่ขึ้นทะเบียนไว แตไมถึงขนาดดังกลาวในมาตรา ๓๗(๕) (๒) วัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิตขึ้น โดยมีความบริสุทธิ์หรือลักษณะอื่นซึ่งมีความสําคัญตอคุณภาพของวัตถุออกฤทธิ์ ผิดไปจากเกณฑที่กําหนดไวในประกาศของรัฐมนตรีตามมาตรา ๖(๒) หรือตามตํารับของวัตถุที่ขึ้นทะเบียนไว มาตรา ๓๙ วัตถุออกฤทธิ์ตอไปนี้เปนวัตถุออกฤทธิ์เสื่อมคุณภาพ (๑) วัตถุออกฤทธิ์ที่สิ้นอายุตามที่แสดงไวในฉลากซึ่งขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับไว (๒) วัตถุออกฤทธิ์ที่แปรสภาพจนมีลักษณะเชนเดียวกับวัตถุออกฤทธิ์ปลอมตามมาตรา ๓๗(๕) หรือวัตถุออกฤทธิ์ผิดมาตรฐานตามมาตรา ๓๘

หมวด ๖ การขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับ

มาตรา ๔๐ ผูรับอนุญาตผลิตหรือผูรับอนุญาตนําเขาซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือ ประเภท ๔ ผูใดจะผลิตหรือนํา

เขาซึ่งวัตถุตํารับที่มีวัตถุออกฤทธิ์ดังกลาว ตองนําวัตถุตํารับนั้นมาขอขึ้นทะเบียนตอพนักงาน เจาหนาที่กอน และเมื่อไดรับใบสําคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับแลวจึงจะผลิตหรือนําเขาซึ่งวัตถุตํารับนั้นได การขอขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับ และการออกใบสําคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง ความในวรรคหนึ่งไมใชบังคับแกผูรับอนุญาตผลิตหรือผูรับอนุญาตนําเขา ซึ่งวัตถุตํารับตัวอยางที่ไดรับอนุญาต แตตองปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๔๑ การขอขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับตามมาตรา ๔๐ ตองแจงรายการ ดังตอไปนี้ (๑) ช่ือวัตถุตํารับ (๒) ช่ือและปริมาณของวัตถุตางๆ อันเปนสวนประกอบของวัตถุตํารับ (๓) ขนาดบรรจุ (๔) วิธีวิเคราะหมาตรฐานของสวนประกอบของวัตถุตํารับ ในกรณีที่ใชวิเคราะหนอกตํารายาที่รัฐมนตรีประกาศระบุตามกฎหมายวาดวยยา (๕) ฉลาก (๖) เอกสารกํากับวัตถุตํารับ (ถามี) (๗) ช่ือผูผลิตและประเทศที่สถานที่ผลิตตั้งอยู และ (๘) รายการอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๔๒ การแกไขรายการทะเบียนวัตถุตํารับที่ขึ้นทะเบียนไวแลว จะกระทําไดเมื่อไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากพนักงานเจาหนาที่ การขอแกไขรายการและขออนุญาตแกไขรายการทะเบียนวัตถุตํารับ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๔๓ หามมิใหพนักงานเจาหนาที่รับขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับ ในกรณีที่พนักงานเจาที่โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการเห็นวา (๑) การขอขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับไมเปนไปตามมาตรา ๔๑ หรือตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๔๐

Page 11: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๐๖

(๒) วัตถุตํารับที่ขอขึ้นทะเบียนไมเปนที่เช่ือถือในสรรพคุณหรืออาจไมปลอดภัยแกผูใช (๓) วัตถุตํารับที่ขอขึ้นทะเบียนใชช่ือในทํานองโออวดไมสุภาพหรืออาจทําใหเขาใจผิดจากความจริง หรือ (๔) วัตถุตํารับที่ขอขึ้นทะเบียนเปนวัตถุออกฤทธิ์ปลอมตามมาตรา ๓๗ หรือเปนวัตถุตํารับที่รัฐมนตรีสั่งเพิกถอนตามมาตรา ๔๖ คําสั่งไมรับขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับของพนักงานเจาที่ใหเปนที่สุด มาตรา ๔๔ บทบัญญัติมาตรา ๔๓ ใหใชบังคับแกการแกไขรายการทะเบียนวัตถุตํารับโดยอนุโลม มาตรา ๔๕ ใบสําคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับใหมีอายุหาปนับแตวันออกใบสําคัญ ถาผูรับใบสําคัญประสงคจะขอตออายุใบสําคัญ จะตองยื่นคําขอกอนใบสําคัญสิ้นอายุ เมื่อไดยื่นคําขอแลวจะประกอบกิจการตอไปก็ไดจนกวาจะไดมีคําสั่งไมตออายุใบสําคัญนั้น การขอตออายุและการตออายุใบสําคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง ในกรณีผูขอตออายุใบสําคัญไมไดรับอนุญาตใหตออายุใบสําคัญ ใหนําความในมาตรา ๒๒ มาใชบังคับอนุโลม มาตรา ๔๖ เมื่อคณะกรรมการเห็นวาวัตถุตํารับใดที่ไดขึ้นทะเบียนไวแลวนั้น ตอมาปรากฏวาไมมีสรรพคุณตามที่ไดขึ้นทะเบียนไว หรืออาจไมปลอดภัยแกผูใช หรือเปนวัตถุออกฤทธิ์ปลอม หรือใชช่ือผิดไปจากที่ขึ้นทะเบียนไว ใหคณะกรรมการเสนอตอรัฐมนตรี และใหรัฐมนตรีมีอํานาจสั่งเพิกถอนทะเบียนวัตถุตํารับนั้นได โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา คําสั่งของรัฐมนตรีใหเปนที่สุด มาตรา ๔๗ ในกรณีใบสําคัญขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับ สูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญใหผูรับอนุญาตแจงตอพนักงานเจาหนาที่และยื่นคําขอรับใบแทนใบสําคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดทราบถึงการสูญหายหรือถูกทําลาย การขอรับใบแทนใบสําคัญขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับและการออกใบแทนใบสําคัญ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง

หมวด ๗ การโฆษณา

มาตรา ๔๘ หามมิใหผูใดโฆษณาเพื่อการคาซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ เวนแต (๑) การโฆษณาซึ่งกระทําโดยตรงตอผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบันช้ันหนึ่งในสาขาทันตกรรม เภสัชกร หรือผูประกอบการบําบัดโรคสัตวช้ันหนึ่ง หรือ (๒) เปนฉลากหรือเอกสารกํากับวัตถุออกฤทธิ์ที่ภาชนะหรือหีบหอบรรจุวัตถุออกฤทธิ์

หมวด ๘ พนักงานเจาหนาท่ี

มาตรา ๔๙ ในการปฏิบัติหนาที่ พนักงานเจาหนาที่มีอํานาจเขาไปในสถานที่ผลิต สถานที่ขายสถานที่นําเขา หรือสถานที่เก็บ ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ ในระหวางเวลาทําการ เพื่อตรวจสอบการเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ และมีอํานาจนําวัตถุออกฤทธิ์ในปริมาณพอสมควรไปเปนตัวอยางเพื่อตรวจสอบ หรือในกรณีมีเหตุอันสมควรสงสัยวามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้

Page 12: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๐๗

อาจยึดหรืออายัดวัตถุออกฤทธิ์ที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิด ตลอดจนภาชนะหรือหีบหอบรรจุวัตถุออกฤทธิ์และเอกสารที่เกี่ยวของดวย เพื่อประโยชนในการดําเนินคดี ในการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่ตามวรรคหนึ่ง ใหผูรับอนุญาตและบรรดาผูมีหนาที่เกี่ยวของกับการผลิต การขาย การนําเขา หรือการเก็บ ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในสถานที่ผลิต สถานที่ขาย สถานที่นําเขา หรือสถานที่เก็บ อํานวยความสะดวกตามสมควร มาตรา ๕๐ ในการปฏิบัติหนาที่ พนักงานเจาหนาที่ตองแสดงบัตรประจําตัวเมื่อผูรับอนุญาตหรือบุคคลซึ่งเกี่ยวของรองขอบัตรประจําตัวพนักงานเจาหนาที่ใหเปนไปตามแบบที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๕๑ วัตถุออกฤทธิ์ รวมทั้งภาชนะหรือหีบหอบรรจุวัตถุออกฤทธิ์ และเอกสารที่ไดยึดหรืออายัดไวในมาตรา ๔๙ หรือในกรณีมีการสงออกหรือนําผาน ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์โดยฝาฝนพระราชบัญญัตินี้ถาไมปรากฏเจาของ หรือพนักงานอัยการสั่งเด็ดขาดไมฟองคดี หรือศาลไมพิพากษาใหริบ และผูเปนเจาของหรือผูครอบครองมิไดรองขอรับคืนภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ยึดหรืออายัด หรือวันที่ทราบคําสั่งเด็ดขาดไมฟองคดี หรือวันที่ศาลพิพากษาถึงที่สุด ใหตกเปนของกระทรวงสาธารณสุข ถาสิ่งที่ยึดหรืออายัดไวเปนของเสียงายหรือถาหนวงชาไวจะเปนการเสี่ยงความเสียหาย หรือจะเสียคาใชจายในการเก็บรักษาเกินราคาของวัตถุออกฤทธิ์ พนักงานเจาหนาที่จะจัดการขายสิ่งที่ยึดหรืออายัดไวกอนถึงกําหนดวรรคหนึ่งก็ได ไดเงินจําสวนสุทธิเทาใดใหยึดเงินนั้นไวแทน มาตรา ๕๒ ในการปฏิบัติหนาที่ ใหพนักงานเจาหนาที่เปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

หมวด ๙ การพักใชใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต

มาตรา ๕๓ ผูรับใบอนุญาตผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎกระทรวง หรือประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ ผูอนุญาตโดยความเห็นหรือคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจสั่งพักใชใบอนุญาตไดโดยมีกําหนดครั้งละไมเกินหนึ่งรอยยี่สิบวัน แตในกรณีมีการฟองผูรับอนุญาตตอศาลวาไดกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ผูอนุญาตจะสั่งพักใชใบอนุญาตไวรอคําสั่งพิพากษาถึงที่สุดก็ได ผูถูกสั่งพักใชใบอนุญาตจะขอรับใบอนุญาตใดๆ ในระหวางถูกสั่งพักใชใบอนุญาตอีกไมได มาตรา ๕๔ ผูรับอนุญาตผูใดขาดคุณสมบัติ หรือเขาลักษณะตองหามขอหนึ่งขอใดตามมาตรา ๑๔ แหงพระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐ หรือไมจัดใหมีเภสัชกรอยูประจําควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เปดดําเนินการตามมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง ผูอนุญาตโดยความเห็นหรือคําแนะนําของคณะกรรมการ มีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตได ผูถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตจะขอรับใบอนุญาตใดๆ อกีไมไดจนกวาจะพนสองปนับแตวันที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต และผูอนุญาตจะออกใบอนุญาตใหหรือไมก็ไดสุดแตจะพิจารณาเห็นสมควร มาตรา ๕๕ คําสั่งพักใบอนุญาตและคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ใหทําเปนหนังสือแจงใหผูรับอนุญาตทราบ ในกรณีไมพบผูถูกสั่งหรือผูถูกสั่งไมยอมรับคําสั่งดังกลาว ใหปดคําสั่งไว ณ ที่เปดเผยเห็นไดงายที่สถานที่ผลิต สถานที่ขาย หรือสถานที่นําเขา ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์และใหถือวาผูรับอนุญาตไดทราบคําสั่งนั้นแลวต้ังแตวันที่ปดคําสั่ง คําสั่งพักใชใบอนุญาตและคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาตตามวรรคหนึ่งจะโฆษณาในหนังสือพิมพหรือโดยวิธีอื่นอีกดวยก็ได มาตรา ๕๖ ผูอนุญาตโดยความเห็นหรือคําแนะนําของคณะกรรมการ มีอํานาจสั่งถอนคําสั่งพักใชใบอนุญาตกอนกําหนดได เมื่อเปนที่พอใจวาผูรับอนุญาตซึ่งถูกสั่งพักใชใบอนุญาตไดปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎกระทรวง หรือประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้แลว

Page 13: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๐๘

มาตรา ๕๗ ผูรับอนุญาตซึ่งถูกสั่งพักใชใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต มีสิทธิ์อุทธรณตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ทราบคําสั่ง รัฐมนตรีมีอํานาจสั่งใหยกอุทธรณหรือแกไขคําสั่งขออนุญาตในทางที่เปนคุณแกผูอุทธรณได คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีใหเปนที่สุด การอุทธรณตามวรรคหนึ่งยอมไมเปนการทุเลาการบังคับตามคําสั่งพักใช ใบอนุญาต หรือคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาต มาตรา ๕๘ ผูถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตจะขายวัตถุออกฤทธิ์ของตนที่เหลืออยูแกผูรับอนุญาตอื่น หรือแกผูซึ่งผูอนุญาตเห็นสมควรก็ไดภายในหกสิบวันนับแตวันที่ไดทราบคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาต หรือวันที่ไดทราบคําวินิจฉัยของรัฐมนตรี เวนแตผูอนุญาตจะผอนผันขยายระยะเวลาใหตอไปอีกแตตองไมเกินหกสิบวัน

หมวด ๑๐ มาตรการควบคุมพิเศษ

มาตรา ๕๙ ใหถือวาวัตถุตํารับที่มีวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทหนึ่งประเภทใดปรุงผสมอยูเปนวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทนั้นดวย มาตรา ๖๐ ในกรณีวัตถุตํารับมีวัตถุออกฤทธิ์อันระบุอยูในประเภทตางกันมากกวาหนึ่งประเภทผสมอยู ใหถือวาวัตถุตํารับนั้นเปนวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทที่มีการควบคุมเขมงวดกวาในประเภทที่ผสมอยูนั้น มาตรา ๖๑ ในกรณีวัตถุตํารับใด (๑) มีวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ อยางหนึ่งอยางใด หรือหลายอยางปรุงผสมอยู (๒) มีลักษณะที่ไมอาจกอใหเกิดมีการใชที่ผิดทาง (๓) ไมสามารถจะแยกสกัดเอาวัตถุออกฤทธิ์ที่มีอยูในวัตถุตํารับนั้นกลับมาใชในปริมาณที่จะทําใหเกิดมีการใชที่ผิดทาง และ (๔) ไมกอใหเกิดอันตรายทางดานสุขภาพและสังคมได รัฐมนตรีอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหเปนวัตถุตํารับยกเวนได ทั้งนี้ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง วัตถุตํารับยกเวนที่ประกาศตามวรรคสอง รัฐมนตรีอาจประกาศเพิกถอนได เมื่อปรากฏวาวัตถุตํารับนั้นไมตรงตามหลักเกณฑที่กําหนดไวตามวรรคหนึ่ง มาตรา ๖๒ หามมิใหผูใดนอกจากกระทรวงสาธารณสุขหรือผูซึ่งไดรับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุข มีไวในครอบครอง หรือใชประโยชนใดๆ ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภทเวนแตไดรับใบอนุญาต การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง ใหนําความในมาตรา ๒๐ มาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ มาใชบังคับโดยอนุโลม (๑๖) มาตรา ๖๒ ทวิ หามมิใหผูใดเสพวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ (๑๗)มาตรา ๖๒ ตรี หามมิใหผูใดเสพวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ เวนแตการเสพตามคําสั่งของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบันช้ันหนึ่งในสาขาทันตกรรม เพื่อประโยชนในการรักษาพยาบาลผูนั้น

(๑๖) (๑๗) และ (๑๘) ขอความขางตนเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑

Page 14: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๐๙

(๑๘)มาตรา ๖๒ จัตวา หามมิใหผูใดจูงใจ ชักนํา ยุยงสงเสริม ใชอุบายหลอกลวง หรือขูเข็ญ ใหผูอื่นเสพวัตถุออกฤทธิ์ ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบันช้ันหนึ่งในสาขาทันตกรรมอาจแนะนําหรือบังคับใหผูอื่นเสพเพื่อประโยชนในการรักษาพยาบาลผูนั้นได มาตรา ๖๓ บทบัญญัติมาตรา ๖๒ วรรคหนึ่ง ไมใชบังคับแก (๑) การมีไวในครอบครอง หรือใชประโยชนสาํหรับกิจการของผูรับอนุญาตผลิต ขาย นําเขา สงออก หรือนําผาน ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ (๒) การมีไวในครอบครองของบุคคลในปริมาณพอสมควรเพื่อการเสพ การรับเขารางกาย หรือการใชดวยวิธีอื่นใด ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ทั้งนี้ตองเปนไปตามคําสั่งของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบันช้ันหนึ่งในสาขาทันตกรรม หรือผูประกอบการบําบัดโรคสัตวช้ันหนึ่งที่เกี่ยวกับการวิเคราะห บําบัด บรรเทา รักษา หรือปองกันโรค หรือความเจ็บปวยของบุคคลนั้น หรือสัตวของบุคคลนั้น (๓) การมีไวในครอบครองหรือใชประโยชนตามหนาที่ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ของกระทรวง ทบวง กรม สภากาชาดไทย องคการเภสัชกรรม หรือสถาบันอื่นของทางราชการ ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา (๔) การมีไวในครอบครองหรือใชประโยชนตามหนาที่ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ ของผูซึ่งไดรับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุข (๕) การมีไวในครอบครองซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ในปริมาณพอสมควรเทาที่จําเปนตองใชประจําในการปฐมพยาบาล หรือในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในเรือ เครื่องบิน หรือยานพาหนะอื่นใดที่ใชในการขนสงสาธารณะระหวางประเทศที่ไมไดจดทะเบียนในราชอาณาจักร แตถา ยานพาหนะดังกลาวจดทะเบียนในราชอาณาจักร ใหยื่นคําขอรับใบอนุญาตตามมาตรา ๖๒ มาตรา ๖๔ ในกรณีที่เห็นสมควร รัฐมนตรีจะประกาศในราชกิจจานุเบกษาระบุวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ซึ่งผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบันช้ันหนึ่งในสาขาทันตกรรม หรือผูประกอบการบําบัดโรคสัตวช้ันหนึ่ง มีไวในครอบครองในปริมาณที่รัฐมนตรีกําหนดโดยไมตองขออนุญาตก็ได มาตรา ๖๕ ผูรับอนุญาตผลิต ขาย นําเขา สงออก นําผาน หรือมีไวในครอบครองหรือใชประโยชน ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ ตองจัดใหมีการปองกันตามสมควรเพื่อมิใหวัตถุออกฤทธิ์สูญหายหรือมีการนําเอาวัตถุออกฤทธ ไปใชโดยมิชอบ มาตรา ๖๖ หามมิใหผูใดซึ่งมิใชเภสัชกรที่อยูประจําควบคุมกิจการของสถานที่ผลิต สถานที่ขาย หรือสถานที่นําเขา ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ ขายวัตถุดังกลาวใหแกผูอื่นในสถานที่นั้นเวนแตอยูในความควบคุมดูแลอยางใกลชิดของเภสัชกรประจําสถานที่นั้น (๑๙)มาตรา ๖๗ ภายใตบังคับมาตรา ๖๘ เภสัชกรจะขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ใหไดเฉพาะแกกระทรวง ทบวง กรม สภากาชาดไทย องคการเภสัชกรรม สถาบันอื่นของทางราชการ ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ผูประกอบการวิชาชีพเวชกรรม ผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบันช้ันหนึ่งในสาขาทันตกรรม ผูประกอบการบําบัดโรคสัตวช้ันหนึ่ง ผูที่มีใบสั่งยาของบุคคลดังกลาว หรือผูที่รับอนุญาต ผลิต ขาย หรือมีไวในครอบครอง ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ เทานั้น และตองลงบัญชีรายละเอียดการขายทุกครั้งตามแบบที่กําหนดในกฎกระทรวง ใบสั่งยาตามวรรคหนึ่งใหใชไดครั้งเดียว เวนแตผูสั่งจะกําหนดไววา ใหจายซ้ําไดแตรวมกันตองไมเกินสามครั้ง และจํานวนยาที่สั่งแตละครั้งไมเกินจํานวนที่จําเปนตองใชภายในเวลาไมเกินสามสิบวัน (๑๙) ขอความเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๓ และใหใชขอความที่พิมพไวน้ีแทน

Page 15: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๑๐

ใบสั่งยาแตละฉบับใหใชไดไมเกินเกาสิบวันนับแตวันที่ออก มาตรา ๖๘ ในกรณีที่ไมมีผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบันช้ันหนึ่งในสาขาทันตกรรม หรือผูประกอบการบําบัดโรคสัตวช้ันหนึ่งในปริมณฑลหากิโลเมตรจากสถานที่ที่มีใบอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ เภสัชกรที่อยูประจําควบคุมกิจการของสถานที่ขายนั้นจะขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ สําหรับผูปวยหรือสัตวปวยโดยไมตองมีใบสั่งยาของบุคคลดังกลาวก็ได แตทั้งนี้ จะขายสําหรับการใชแตละรายไดไมเกินสามวันตอเดือนและตองลงบัญชีรายละเอียดการขายทุกครั้งตามแบบที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๖๙ ในการสงมอบวัตถุออกฤทธิ์ตามมาตรา ๖๗ หรือมาตรา ๖๘ เภสัชกรตองมอบคําเตือน หรือขอควรระวังตามประกาศของรัฐมนตรีตามมาตรา ๖ (๕) ใหแกผูซื้อดวย

หมวด ๑๑ การคาระหวางประเทศ

มาตรา ๗๐ ในการนําเขาหรือสงออกแตละคราว ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ ผูซึ่งไดรับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุข ตองไดรับใบอนุญาตเฉพาะคราวจากผูอนุญาตกอน การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๗๑ ในการนําเขาซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ ผูซึ่งไดรับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุข ตองจัดใหมีสําเนาใบอนุญาตของเจาหนาที่ผูมีอํานาจของประเทศที่สงออกนั้นสงมาพรอมกับวัตถุออกฤทธิ์หนึ่งฉบับและสงตรงไปยังเลขาธิการอีกสองฉบับ ใหพนักงานเจาหนาที่สลักหลังสําเนาใบอนุญาตตามวรรคหนึ่ง โดยแจงวันเดือนปและปริมาณที่แทจริงของวัตถุออกฤทธิ์ที่นําเขา และสงสําเนานั้นกลับไปใหเจาหนาที่ของประเทศผูออกใบอนุญาตนั้นหนึ่งฉบับ และเก็บรักษาไวที่กระทรวงสาธารณสุขหนึ่งฉบับ มาตรา ๗๒ หามมิใหผูใดสงวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ ไปยังบุคคลอื่นหรือสถานที่อื่น นอกเหนือไปจากบุคคลหรือสถานที่ที่ระบุในใบอนุญาตนําเขา มาตรา ๗๓ ในการสงออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ ผูซึ่งไดรับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุข ตองนําใบอนุญาตนําเขาของเจาหนาที่ผูมีอํานาจของประเทศนั้นมามอบใหกระทรวงสาธารณสุขกอนจึงจะไดรับพิจารณาออกใบอนุญาตเฉพาะคราวเพื่อสงออก และในการสงออก ใหผูรับอนุญาต แนบสําเนาใบอนุญาตนั้นไปพรอมกับวัตถุออกฤทธิ์ที่สงออกนั้นหนึ่งฉบับ ใหกระทรวงสาธารณสุขจัดสงสําเนาใบอนุญาตเฉพาะคราวเพื่อสงออก ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์สองฉบับไปยังเจาหนาที่ผูมีอํานาจของประเทศผูรับนั้นดวย และใหเลขาธิการจัดใหมีการตรวจสอบสําเนาใบอนุญาตที่จะสงกลับมานั้น มาตรา ๗๔ ในการนําผานซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ ผูรับอนุญาตตองมีใบอนุญาตของเจาหนาที่ผูมีอํานาจของประเทศที่สงออกนั้นมาพรอมกับวัตถุออกฤทธิ์และตองแจงใหผูควบคุมยานพาหนะที่ใชบรรทุกทราบกอนผานเขามาในราชอาณาจักร และใหผูควบคุมยานพาหนะนั้นจัดใหมีการปองกันตามสมควรเพื่อมิใหวัตถุออกฤทธิ์สูญหายหรือมีการนําเอาวัตถุออกฤทธิ์ที่อยูในยานพาหนะนั้นไปใชโดยมิชอบ ในกรณีมีการขนถายวัตถุออกฤทธิ์ออกจากยานพาหนะที่ใชบรรทุกไปยังยานพาหนะอื่นใหผูควบคุมยานพาหนะที่ใชบรรทุกมานั้นแจงใหเจาหนาที่ศุลกากร ณ ที่นั้นทราบกอนและใหเจาหนาที่ศุลกากรนั้นมีหนาที่ควบคุมวัตถุออกฤทธิ์ในระหวางขนถาย เมื่อขนถายเสร็จ ใหผูควบคุมยานพาหนะที่รับขนถายวัตถุออกฤทธิ์นั้นมีหนาที่เชนเดียวกับผูควบคุมยานพาหนะตามวรรคหนึ่ง

Page 16: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๑๑

มาตรา ๗๕ ใหนําบทบัญญัติแหงกฎหมายวาดวยศุลกากรเกี่ยวกับการตรวจ การยึด การริบ หรือ การจับกุมผูกระทําความผิด มาใชบังคับแกการนําเขา การสงออก หรือการนําผานซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท ตามพระราชบัญญัตินี้ดวย มาตรา ๗๖ ในการนําผานซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท หามมิใหผูใดเปลี่ยนแปลงการสงวัตถุออกฤทธิ์ไปยังจุดหมายอื่นที่มิไดระบุในใบอนุญาตสงออกที่สงมาพรอมกับวัตถุออกฤทธิ์เวนแตไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากเจาหนาที่ผูมีอํานาจของประเทศผูออกใบอนุญาตนั้น และเลขาธิการใหความเห็นชอบดวย มาตรา ๗๗ ในกรณีมีการเปลี่ยนแปลงการสงวัตถุออกฤทธิ์ไปยังจุดหมายอื่นตามมาตรา ๗๖ ใหถือวาวัตถุออกฤทธิ์ไดสงออกจากประเทศที่ออกใบอนุญาตเขามาในราชอาณาจักร และใหพนักงานเจาหนาที่สลักหลังสําเนาใบอนุญาตของเจาหนาที่ผูมีอํานาจของประเทศที่สงออกนั้น โดยแจงวันเดือนปและปริมาณที่แทจริงของวัตถุออกฤทธิ์ที่นําผานและสงสําเนานั้นกลับไปใหเจาหนาที่ของประเทศผูออกใบอนุญาตนั้นหนึ่งฉบับ และเก็บรักษาไวที่กระทรวงสาธารณสุขหนึ่งฉบับ ในการสงออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ไปยังจุดหมายใหมตามวรรคหนึ่ง ผูรับอนุญาตตองนําใบอนุญาตของเจาหนาที่ผูมีอํานาจของประเทศผูรับใหมมามอบใหกระทรวงสาธารณสุขกอน จึงจะไดรับการพิจารณาออกใบอนุญาตเฉพาะคราวเพื่อสงออก และใหผูรับอนุญาตแนบสําเนาใบอนุญาตนั้นไปพรอมกับวัตถุออกฤทธิ์ที่สงไปยังจุดหมายใหมดวยหน่ึงฉบับ ใหกระทรวงสาธารณสุขจัดสงสําเนาใบอนุญาตเฉพาะคราว เพื่อสงออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์สองฉบับไปยังเจาหนาที่ผูมีอํานาจของประเทศผูรับใหมดวย และใหเลขาธิการจัดใหมีการตรวจสอบสําเนาใบอนุญาตที่จะสงกลับมานั้น มาตรา ๗๘ ในระหวางที่มีการนําผานซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ หรือในระหวางที่วัตถุออกฤทธิ์อยูในความควบคุมของเจาหนาที่ศุลกากรตามมาตรา ๗๔ วรรคสอง หามมิใหผูใดแปรรูปหรือแปรสภาพวัตถุออกฤทธิ์ใหเปนอยางอื่นหรือเปลี่ยนหีบหอที่บรรจุวัตถุออกฤทธิ์ เวนแตไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากเลขาธิการ มาตรา ๗๙ ในกรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือจําเปน เลขาธิการมีอํานาจผอนผันการใชบังคับมาตรการควบคุมตามมาตรา ๗๔ และมาตรา ๗๗ เกี่ยวกับการนําผานซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ไดตามที่เห็นสมควร

(๒๐)มาตรา ๘๐ ในการนําเขาซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ ผูรับอนุญาตและพนักงานเจาหนาที่ตองปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๘๑ ในการนําเขาซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ตามมาตรา ๘๐ หามมิใหผูใดสงวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ ไปยังบุคคลอื่นหรือสถานที่อื่นนอกเหนือไปจากบุคคลหรือสถานที่ที่ระบุในใบแจงการสงออกของเจาหนาที่ผูมีอํานาจของประเทศที่สงออกนั้น (๒๑)มาตรา ๘๒ ในการสงออกแตละคราวซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ ผูรับอนุญาตตองจัดใหมีสําเนาใบแจงการสงออกไปพรอมกับวัตถุออกฤทธิ์ที่สงออกนั้นหนึ่งฉบับ และใหสงตรงไปยังเลขาธิการอีกสองฉบับ ใหกระทรวงสาธารณสุขจัดสงสําเนาใบแจงการสงออกตามวรรคหนึ่ง ไปยังเจาหนาที่ผูมีอํานาจของประเทศผูรับเขาหนึ่งฉบับ มาตรา ๘๓ เมื่อกระทรวงสาธารณสุขไดรับแจงการหามนําเขาซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทหนึ่งประเภทใดที่ตางประเทศไดแจงผานเลขาธิการสหประชาชาติระบุหามนําเขาไปยังประเทศนั้นใหรัฐมนตรีประกาศการหามนําเขานั้นในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๘๔ หามมิใหผูใดสงออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ไปยังประเทศที่ระบุหามนําเขาตามมาตรา ๘๓ เวนแตไดรับใบอนุญาตพิเศษเฉพาะคราวจากประเทศนั้น และใบอนุญาตพิเศษเฉพาะคราวจากเลขาธิการ การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง

(๒๐) ขอความเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๔ และใหใชขอความที่พิมพไวน้ีแทน (๒๑) ขอความเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๕ และใหใชขอความที่พิมพไวน้ีแทน

Page 17: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๑๒

มาตรา ๘๕ การมีวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ในปริมาณพอสมควรเทาที่จําเปนตองใชประจําในการปฐมพยาบาลหรือในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในเรือ เครื่องบิน หรือยานพาหนะ อื่นใดที่ใชในการขนสงสาธารณะระหวางประเทศ ใหไดรับการยกเวนจากมาตรการควบคุมสําหรับการนําเขา นําผาน หรือสงออกตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๘๖ ผูควบคุมยานพาหนะตามมาตรา ๘๕ ตองจัดใหมีการปองกันตามสมควร เพื่อมิใหวัตถุออกฤทธิ์สูญหายหรือมีการนําเอาวัตถุออกฤทธิ์ที่ใชในยานพาหนะนั้นไปใชโดยมิชอบ มาตรา ๘๗ ผูซึ่งไดรับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุข หรือผูรับอนุญาตตามมาตรา ๑๖ มาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๖๒ รวมทั้งกระทรวง ทบวง กรม สภากาชาดไทย องคการเภสัชกรรม และสถาบันอื่นของทางราชการตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ที่ไดรับดําเนินกิจการเกี่ยวกับการผลิต การขาย การนําเขา การสงออก การนําผาน หรือการมีไวในครอบครอง ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ที่มิใชวัตถุตํารับยกเวน ตองจัดใหมีการทําบัญชีรับจายวัตถุออกฤทธิ์และเสนอรายงานใหเลขาธิการทราบเปนรายเดือนและรายป บัญชีดังกลาวตองเก็บรักษาไวและพรอมที่จะแสดงตอพนักงานเจาหนาที่ไดทุกเวลาในขณะที่เปดดําเนินการ ทั้งนี้ อยางนอยภายในสองปนับแตวันลงรายการครั้งสุดทายในบัญชี บัญชีรับจายวัตถุออกฤทธิ์และรายงานตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามแบบที่กําหนดในกฎกระทรวง (๒๒)มาตรา ๘๘ เมื่อปรากฏวาผูใดเสพติดซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ เลขาธิการหรือผูซึ่งไดรับมอบหมายจากเลขาธิการโดยความเห็นหรือคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจสั่งใหจัดสงผูนั้นไปรับการรักษาพยาบาลหรือการฟนฟูสุขภาพและสมรรถภาพ ณ สถานพยาบาลหรือสถานที่พักฟนตามที่เห็นสมควรเปนเวลาไมเกินหนึ่งรอยแปดสิบวัน ในกรณีจําเปนเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล การฟนฟูสุขภาพและสมรรถภาพ เลขาธิการหรือผูซึ่งไดรับมอบหมายจากเลขาธิการจะขยายเวลาตอไปอีกไดไมเกินหนึ่งรอยแปดสิบวัน ใหกระทรวงสาธารณสุขมีหนาที่ใหการรักษา การศึกษา อบรม การดูแลภายหลังการรักษาพยาบาล หรือการฟนฟูสุขภาพและสมรรถภาพตามสมควรแกบุคคลดังกลาวในวรรคหนึ่ง เพื่อใหบุคคลนั้นกลับคืนสูสภาพของปกติชนซึ่งมิไดเสพติดซึ่งวัตถุออกฤทธิ์

หมวด ๑๒ บทกําหนดโทษ

(๒๓)มาตรา ๘๙ ผูใดฝาฝนมาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๑๓ ทวิ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหาปถึงยี่สิบป และปรับตั้งแตหนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท มาตรา ๙๐ ผูใดฝาฝนมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป และปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท มาตรา ๙๑ ผูรับอนุญาตตามมาตรา ๑๖ หรือมาตรา ๑๙ ผูใดดําเนินกิจการภายหลังที่ใบอนุญาตสิ้นอายุแลวมิไดยื่นคําขอตออายุใบอนุญาต ตองระวางโทษปรับวันละสองรอยบาทนับแตวันถัดจากวันที่ใบอนุญาตสิ้นอายุจนถึงวันที่มายื่นคําขอตออายุใบอนุญาต มาตรา ๙๒ ผูรับอนุญาตผูใดฝาฝนมาตรา ๒๔ หรือมาตรา ๓๒ วรรคหนึ่ง หรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๖๗ ตองระวางโทษปรับไมเกินหาหมื่นบาท

(๒๒)

ขอความในมาตรา ๘๘ วรรคสาม ถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๑๒ (๒๓)

ขอความเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๑๓ และใหใชขอความที่พิมพไวน้ีแทน

Page 18: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๑๓

มาตรา ๙๓ ผูรับอนุญาตผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๙๔ ผูใดฝาฝนมาตรา ๒๖ วรรคสอง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งปหรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๙๕ ผูรับอนุญาตผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ หรือมาตรา ๒๙ ตองระวางโทษปรับตั้งแตสองหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท (๒๔)มาตรา ๙๖ ผูรับอนุญาตผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๓๐ วรรคหนึ่ง มาตรา ๓๑ หรือมาตรา ๔๗ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๙๗ เภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติผูใด ละทิ้งหนาที่ในการควบคุมกิจการของผูรับอนุญาตโดยไมมีเหตุอันควร หรือไมปฏิบัติหนาที่ตามมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ หรือมาตรา ๓๕ ตองระวางโทษปรับตั้งแตหนึ่งหมื่นบาทถึงหาหมื่นบาท มาตรา ๙๘ ผูใดผลิตหรือนําเขา ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ปลอมอันเปนการฝาฝนมาตรา ๓๖(๑) ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหาปถึงสิบหาป และปรับตั้งแตหนึ่งแสนบาทถึงสามแสนบาท ผูใดขายวัตถุออกฤทธิ์ปลอมอันเปนการฝาฝนมาตรา ๓๖(๑) ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบป และปรับตั้งแตสองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท ผูใดขายหรือนําเขา ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ปลอมโดยไมรูวาเปนวัตถุออกฤทธิ์ปลอม ตองระวางโทษปรับตั้งแตหนึ่งหมื่นบาทถึงหาหมื่นบาท มาตรา ๙๙ ผูใดผลิตหรือนําเขา ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ผิดมาตรฐาน หรือวัตถุออกฤทธิ์ที่รัฐมนตรีสั่งเพิกถอนทะเบียนวัตถุตํารับอันเปนการฝาฝนมาตรา ๓๖(๒) หรือ (๕) ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบป และปรับตั้งแตสองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท ผูใดขายวัตถุออกฤทธิ์ผิดมาตรฐานหรือวัตถุออกฤทธิ์ที่รัฐมนตรีสั่งเพิกถอนทะเบียนวัตถุตํารับอันเปนการฝาฝนมาตรา ๓๖(๒) หรือ (๕) ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหกเดือนถึงหาปและปรับตั้งแตหนึ่งหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท ผูใดขายหรือนําเขา ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ผิดมาตรฐาน หรือวัตถุออกฤทธิ์ที่รัฐมนตรีสั่งเพิกถอนทะเบียนวัตถุตํารับ โดยไมรูวาเปนวัตถุออกฤทธผิดมาตรฐานหรือวัตถุออกฤทธิ์ที่รัฐมนตรีสั่งเพิกถอนทะเบียนวัตถุตํารับ ตองระวางโทษปรับไมเกินหาหมื่นบาท มาตรา ๑๐๐ ผูใดขายหรือนําเขา ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์เสื่อมคุณภาพอันเปนการฝาฝนมาตรา ๓๖(๓) ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ถาผูกระทําการตามวรรคหนึ่งกระทําโดยไมรูวาเปนวัตถุออกฤทธิ์เสื่อมคุณภาพ ตองระวางโทษปรับไมเกินสามหมื่นบาท มาตรา ๑๐๑ ผูใดผลิต ขาย หรือ นําเขา ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ที่ตองขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับแตมิไดขึ้นทะเบียนไวอันเปนการฝาฝนตามมาตรา ๓๖(๔) ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๑๐๒ ผูรับอนุญาตผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๔๐ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๑๐๓ ผูใดฝาฝนมาตรา ๔๒ วรรคหนึ่งตองระวางโทษปรับไมเกินสองหมื่นบาท (๒๕)มาตรา ๑๐๔ ผูใดฝาฝนมาตรา ๔๘ มาตรา ๗๒ มาตรา ๗๖ มาตรา ๗๘ หรือมาตรา ๘๔ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามปหรือปรับไมเกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ (๒๔)

ขอความเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๑๔ และใหใชขอความที่พิมพไวน้ีแทน (๒๕)

ขอความเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๖ และใหใชขอความที่พิมพไวน้ีแทน

Page 19: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๑๔

มาตรา ๑๐๕ ผูใดไมอํานวยความสะดวกตามสมควรแกพนักงานเจาหนาที่ซึ่งปฏิบัติหนาที่ตามมาตรา ๔๙ วรรคสอง ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งพันบาท (๒๖)มาตรา ๑๐๖ ผูใดมีไวในครอบครองหรือใชประโยชน ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ อันเปนการฝาฝนมาตรา ๖๒ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงหาป และปรับตั้งแตสองหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท ผูใดมีไวในครอบครองหรือใชประโยชน ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ อันเปนการฝาฝนมาตรา ๖๒ วรรคหนึ่ง หรือผูใดฝาฝนมาตรา ๘๑ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (๒๗)มาตรา ๑๐๖ ทวิ ผูใดมีไวในครอบครองหรือใชประโยชนซึ่งวัตถุที่ออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ อันเปนการฝาฝนมาตรา ๖๒ วรรคหนึ่ง เกินปริมาณที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดตามมาตรา ๖ (๗ ทวิ)(๒๘) ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหาปถึงยี่สิบป และปรับตั้งแตหนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท มาตรา ๑๐๖ ตรี ผูใดฝาฝนมาตรา ๖๒ ทวิ หรือมาตรา ๖๒ ตรี ตองระวางโทษจําคุกตั้งหนึ่งปถึงหาป และปรับตั้งแตสองหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท มาตรา ๑๐๖ จัตวา ผูใดฝาฝนมาตรา ๖๒ จัตวา ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสองปถึงสิบปและปรับตั้งแตสี่หมื่นบาทถึงสองแสนบาท ถาการฝาฝนมาตรา ๖๒ จัตวา เปนการกระทําตอหญิงหรือตอบุคคลซึ่งยังไมบรรลุนิติภาวะหรือเปน การกระทําเพื่อจูงใจใหผูอื่นกระทําความผิดทางอาญา หรือเพื่อประโยชนแกตนเองหรือผูอื่นในการกระทําความผิดทางอาญา ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามปถึงจําคุกตลอดชีวิตและปรับตั้งแตหกหมื่นบาทถึงหาแสนบาท มาตรา ๑๐๗ ผูใดฝาฝนมาตรา ๖๖ ตองระวางโทษปรับตั้งแตหนึ่งหมื่นบาทถึงหาหมื่นบาท มาตรา ๑๐๘ เภสัชกรผูใดขายวัตถุออกฤทธิ์อันเปนการฝาฝนมาตรา ๖๗ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๖๘ ตองระวางโทษปรับต้ังแตหนึ่งหมื่นบาทถึงหาหมื่นบาท มาตรา ๑๐๙ เภสัชกรผูใดไมลงบัญชีตามมาตรา ๖๗ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๖๘ หรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๖๙ ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งพันบาท มาตรา ๑๑๐ ผูรับอนุญาตผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๗๑ วรรคหนึ่ง มาตรา ๗๓ วรรคหนึ่ง มาตรา ๗๔ วรรคหนึ่ง มาตรา ๗๗ วรรคสอง หรือมาตรา ๘๒ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งพันบาท มาตรา ๑๑๑ ผูควบคุมยานพาหนะผูใดไมปฏิบัติหนาที่ตามมาตรา ๗๔ ตองระวางโทษปรับไมเกินหาหมื่นบาท มาตรา ๑๑๒ ผูควบคุมยานพาหนะที่ใชในการขนสงสาธารณะระหวางประเทศผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๘๖ ตองระวางโทษปรับไมเกินหาหมื่นบาท มาตรา ๑๑๓ ผูรับอนุญาตผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๘๗ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษปรับไมเกินสองหมื่นบาท มาตรา ๑๑๔ ผูเสพติดซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ผูใดขัดขืนไมยอมไปรับการรักษาพยาบาล หรือการฟนฟูสุขภาพและสมรรถภาพตามคําสั่งของเลขาธิการหรือผูที่ไดรับมอบหมายจากเลขาธิการตามมาตรา ๘๘ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ และเมื่อพนโทษแลวใหสงตัวผูนั้นไปรับการรักษาพยาบาลหรือการฟนฟูสุขภาพและสมรรถภาพตามคําสั่งเดิม

(๒๖) ขอความเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๑๕ และใหใชขอความที่พิมพไวน้ีแทน (๒๗)

ขอความขางตนเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๑๖ (๒๘)

ดูประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับท่ี ๑๐๔ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ลงวันท่ี ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๑

Page 20: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๑๕

มาตรา ๑๑๕ ผูรับการรักษาพยาบาลหรือการฟนฟูสุขภาพและสมรรถภาพตามคําสั่งของเลขาธิการหรือผูซึ่งไดรับมอบหมายจากเลขาธิการตามมาตรา ๘๘ วรรคหนึ่งผูใดหลบหนีไปจากสถานพยาบาล หรือสถานพักฟน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และเมื่อพนโทษแลว ใหสงตัวผูนั้นไปรับการรักษาพยาบาลหรือการฟนฟูสุขภาพและสมรรถภาพตามคําสั่งเดิม (๒๙)มาตรา ๑๑๕ ทวิ ในกรณีที่มีการยึดวัตถุออกฤทธิ์ตามมาตรา ๔๙ หรือตามกฎหมายอื่น และ ไมมีการฟองคดีตอศาล เพราะเหตุที่ไมปรากฏวาผูใดเปนผูกระทําความผิด และพนักงานอัยการสั่งใหงดการสอบสวน หรือเพราะพนักงานอัยการมีคําสั่งเด็ดขาดไมฟองคดีหรือเพราะมีการเปรียบเทียบตามมาตรา ๑๑๗ ถาไมมีผูใดมาอางวาเปนเจาของภายในกําหนดเกาสิบวันนับแตวันที่ยึด ใหวัตถุออกฤทธิ์นั้นตกเปนของกระทรวงสาธารณสุข และใหกระทรวงสาธารณสุขหรือผูซึ่งกระทรวงสาธารณสุขมอบหมายทําลายหรือนําไปใชประโยชนไดตามระเบียบที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนด ถาผูที่อางวาเปนเจาของตามวรรคหนึ่ง แสดงตอคณะกรรมการไดวาเปนเจาของแทจริงและไมไดรูเห็นเปนใจดวยในการกระทําความผิด ใหคณะกรรมการสั่งใหคืนวัตถุออกฤทธิ์แกเจาของ ถาวัตถุออกฤทธิ์นั้นยังคงอยูในความครอบครองของพนักงานเจาหนาที่ (๓๐)มาตรา ๑๑๖ บรรดาวัตถุออกฤทธิ์ เครื่องมือ เครื่องใช ยานพาหนะ หรือวัตถุอื่น ซึ่งบุคคลไดใชในการกระทําความผิดเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ใหริบเสียทั้งสิ้น

(๓๑)มาตรา ๑๑๖ ทวิ ในกรณีที่มีการฟองคดีความผิดเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์ตอศาล และไมไดมีการ โตแยงเรื่องประเภท จํานวนหรือน้ําหนักของวัตถุออกฤทธิ์นั้น ถาศาลชั้นตนมีคําพิพากษาหรือคําสั่งใหริบวัตถุออกฤทธิ์ดังกลาวตามมาตรา ๑๑๖ หรือตามกฎหมายอื่น และไมมีคําเสนอวาผูเปนเจาของแทจริงไมไดรูเห็นเปนใจดวยในการกระทําความผิดภายในกําหนดสามสิบวันนับแตวันที่ศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งใหริบวัตถุออกฤทธิ์นั้น ใหกระทรวงสาธารณสุขหรือผูซึ่งกระทรวงสาธารณสุขมอบหมายทําลายหรือนําไปใชประโยชนไดตามระเบียบที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนด มาตรา ๑๑๗ บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ซึ่งมีโทษปรับสถานเดียว ใหเลขาธิการหรือผูซึ่งไดรับมอบหมายจากเลขาธิการมีอํานาจเปรียบเทียบได

บทเฉพาะกาล มาตรา ๑๑๘ ใหผูไดรับอนุญาตผลิต ขาย หรือนําเขา ซึ่งยาที่เปนวัตถุออกฤทธิ์หรือมีวัตถุออกฤทธิ์รวมอยูดวยตามกฎหมายวาดวยยาในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ดําเนินกิจการตอไปไดจนกวาใบอนุญาตนั้นสิ้นอายุ และถาประสงคจะดําเนินกิจการตอไป ใหยื่นคําขอรับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ภายใน หกสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ภายในกําหนดเวลาดังกลาว ใหผูยื่นคําขอรับใบอนุญาต ดําเนินกิจการไปพลางกอนได แตถาผูอนุญาตมีคําสั่งเปนหนังสือไมออกใบอนุญาตให ผูนั้นไมมีสิทธิ์ดําเนินกิจการนับแตวันที่ทราบคําสั่งเปนตนไป และใหนําความในมาตรา ๕๘ มาใชบังคับโดยอนุโลม มาตรา ๑๑๙ ยาที่เปนวัตถุออกฤทธิ์หรือมีวัตถุออกฤทธิ์รวมอยูดวย ซึ่งผลิต ขาย หรือนําเขา โดยชอบดวยกฎหมายวาดวยยา หรือกฎหมายวาดวยยาเสพติดใหโทษในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหไดรับยกเวนไมตองมีขอความวา "วัตถุออกฤทธิ์" ตามมาตรา ๒๗(๓) ภายในหนึ่งปนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ (๒๙) แกไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๓ (๓๐) แกไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๔ (๓๑) แกไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. วัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๕

Page 21: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๑๖

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ สัญญา ธรรมศักดิ์ นายกรัฐมนตรี

อัตราคาธรรมเนียม (๑) ใบอนุญาตผลิตวัตถุออกฤทธิ์ ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท (๒) ใบอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ ฉบับละ ๕๐๐ บาท (๓) ใบอนุญาตนําเขาซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท (๔) ใบอนุญาตสงออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ ฉบับละ ๕๐๐ บาท (๕) ใบอนุญาตนําผานซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ ฉบับละ ๒๐๐ บาท (๖) ใบอนุญาตเฉพาะคราวเพื่อนําเขาหรือสงออก ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ ฉบับละ ๑๐๐ บาท (๗) ใบอนุญาตใหมีไวในครอบครอง หรือใชประโยชนซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ ฉบับละ ๑๐๐ บาท (๘) ใบสําคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับ ฉบับละ ๑,๐๐๐ บาท (๙) ใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ ๕๐ บาท (๑๐) ใบแทนใบสําคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับ ฉบับละ ๕๐ บาท (๑๑) การตออายุใบอนุญาต หรือใบสําคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับ ครั้งละเทากับคาธรรมเนียม สําหรับใบอนุญาตหรือใบสําคัญนั้น (๑๒) คาสลักหลังใบอนุญาตในการคาระหวางประเทศ สําหรับวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ ครั้งละ ๑๐๐ บาท หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากประเทศไทยไดเขารวมเปนภาคีในอนุสัญญาวา

ดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ซึ่งไดกระทํากัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๑๔ เพื่อรวมมือกับประเทศภาคีอื่นๆ ควบคุมการผลิต การขาย การนําเขา การสงออก การนําผาน หรือการมีไวในครอบครอง ซึ่งวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาททั้งภายในประเทศและระหวางประเทศ มิใหเกิดอันตรายตอสุขภาพของบุคคลและสังคม จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัติฉบับนี้ขึ้น

Page 22: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๑๗

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข(๑)

ฉบับที่ ๙๗ (พ.ศ. ๒๕๓๙) เร่ือง ระบุชื่อและจัดแบงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุท่ีออกฤทธิ์

ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ มาตรา ๖(๑) และมาตรา ๑๑(๔) แหงพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ออกประกาศไวดังตอไปนี้ ขอ ๑ ใหยกเลิกประกาศกระทรวงสาธารณสุขออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ดังตอไปนี้ (๑) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๕๑ (พ.ศ. ๒๕๓๑) เรื่องระบุช่ือและจัดแบงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๓๑ (๒) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๕๕ (พ.ศ. ๒๕๓๑) เรื่อง ระบุช่ือและจัดแบงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๓๑ (๓) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๕๖ (พ.ศ. ๒๕๓๒) เรื่อง ระบุช่ือและจัดแบงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๓๒ (๔) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๕๘ (พ.ศ. ๒๕๓๒) เรื่อง เปลี่ยนแปลงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๓๒ (๕) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๖๒ (พ.ศ. ๒๕๓๓) เรื่อง ระบุช่ือและจัดแบงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๓๓ (๖) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๖๕ (พ.ศ. ๒๕๓๓) เรื่อง ระบุช่ือและจัดแบงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๓๓

(๑) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมท่ี ๑๑๓ ตอนพิเศษ ๒๓ ง ลงวันท่ี ๑๖ สิงหาคม ๒๕๓๙

Page 23: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๑๘

(๗) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๖๖ (พ.ศ. ๒๕๓๓) เรื่อง เปลี่ยนแปลงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๓๓ (๘) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๖๗ (พ.ศ. ๒๕๓๔) เรื่อง ระบุช่ือและจัดแบงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๒ มกราคม ๒๕๓๔ (๙) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๗๑ (พ.ศ. ๒๕๓๔) เรื่อง เปลี่ยนแปลงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๓๔ (๑๐) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๗๔ (พ.ศ. ๒๕๓๔) เรื่อง ระบุช่ือและจัดแบงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๓๔ (๑๑) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๗๖ (พ.ศ. ๒๕๓๔) เรื่อง เปลี่ยนแปลงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๓๔ (๑๒) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๗๘ (พ.ศ. ๒๕๓๕) เรื่อง ระบุช่ือและจัดแบงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๓๕ (๑๓) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๘๔ (พ.ศ. ๒๕๓๕) เรื่อง เปลี่ยนแปลงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๓๕ (๑๔) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๘๖ (พ.ศ. ๒๕๓๖) เรื่อง เปลี่ยนแปลงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ ๒๕๓๖ (๑๕) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๘๗ (พ.ศ. ๒๕๓๖) เรื่อง เปลี่ยนแปลงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๓๖ (๑๖) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๘๘ (พ.ศ. ๒๕๓๖) เรื่อง เปลี่ยนแปลงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๓๖ ขอ ๒ ใหวัตถุออกฤทธิ์ที่ระบุช่ือในบัญชีทายประกาศนี้เปนวัตถุออกฤทธิ์ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ทั้งนี้ใหรวมถึง (๑) วัตถุที่เรียกช่ือเปนอยางอื่น แตมีสูตรโครงสรางทางเคมีอยางเดียวกับวัตถุออกฤทธิ์ดังกลาว (๒) ไอโซเมอรใดๆ ของวัตถุออกฤทธิ์ดังกลาว ยกเวนไอโซเมอรอื่นของวัตถุออกฤทธิ์ที่ไดระบุตัวไอโซเมอรนั้นๆ เปนวัตถุออกฤทธิ์ไวแลวโดยเฉพาะ (๓) เอสเทอรและอีเทอรใดๆ และเกลือของวัตถุออกฤทธิ์ดังกลาว เวนแตที่ไดประกาศไวแลว (๔) วัตถุตํารับที่มีวัตถุออกฤทธิ์ดังกลาวผสมอยู เวนแตจะมีการระบุเงื่อนไขเฉพาะไวในบัญชีทายประกาศนี้ ขอ ๓ ใหจัดแบงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ตามขอ ๒ เปนวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ ประเภท ๒ ประเภท ๓ ประเภท ๔ ตามที่ระบุไวในบัญชีทายประกาศนี้ ขอ ๔ ประกาศฉบับนี้ใหมีผลใชบังคับเมื่อพนกําหนดหกสิบวันนับแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ (ลงช่ือ) เสนาะ เทียนทอง

(นายเสนาะ เทียนทอง) รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข

Page 24: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๑๙

บัญชีทายประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๙๗ (พ.ศ. ๒๕๓๙)

เร่ือง ระบุชื่อและจัดแบงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุท่ีออกฤทธิ์

ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ________________

วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ ๑. คาทิโนน (CATHINONE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา (-) -a- Amino-propiophenone ๒. ดีอีที (DET) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา N, N-Diethyltryptamine ๓. ดีเอ็มเอชพี (DMHP) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 3-(1,2Dimethylheptyl) -1-hydroxy-7, 8, 9, 10-tetrahydro-6, 6, 9-trimethyl-6H-dibenzo [b, d] pyran ๔. ดีเอ็มที (DMT) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา N, N-Dimethyltryptamine (๑)๕. (ยกเลิก) ๖. 4-เมทิล อะมิโนเรกซ (4-METHYL AMINOREX) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา (+)-cis-2-Amino-4-methyl-5-phenyl-2-oxazoline หรือ (+)-cis-4,5-Dihydro-4-methyl-5-phenyl-2-oxazolamine (*)๗. (ยกเลิก) (*)๘. (ยกเลิก) ๙. พาราเฮกซิล (PARAHEXYL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 3-Hexyl-1-hydroxy-7, 8, 9, 10-tetrahydro-6, 6, 9-trimethyl-6H-dibenzo [b,d] pyran ๑๐. พีซีอี (PCE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา N-ethyl-1-phenylcyclohexylamine ๑๑. พีเอชพี (PHP) หรือ พีซีพีวาย (PCPY) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 1-(1-Phenylcy clohexyl) pyrrolidine

(๑) ถูกยกเลิกโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับท่ี ๑๑๐ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๖ ตอนที่ ๗๘ ง ลงวันท่ี ๓๐ กันยายน

๒๕๔๒ ยายไปอยูวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ ลําดับท่ี ๑๙ (*)

ลําดับท่ี ๗ และ ๘ ถูกยกเลิกโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับท่ี ๑๐๙ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๖ ตอนที่ ๔๘ ง ลงวันท่ี ๑๗ มิถุนายน ๒๕๔๒ (**)

ลําดับท่ี ๑๔ ถูกยกเลิกโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๑๐๙) พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมท่ี ๑๑๖ ตอนที่ ๔๘ ง ลงวันท่ี ๑๗ มิถุนายน ๒๕๔๒

Page 25: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๒๐

๑๒. ไซโลซีน (PSILOCINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 3-(2-Dimethylaminoethyl)-4-hydroxyindole ๑๓. ไซโลไซบีน (PSILOCYBINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 3-(2-Dimethylaminoethyl)-indol-4-yl dihydrogen phosphate (**)๑๔. (ยกเลิก) ๑๕. ทีซีพี (TCP) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 1-[1-(2-Thienyl) cyclohexyl] piperidine ๑๖. เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (TETRAHYDROCANNABI-NOL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 1-Hydroxy-3-pentyl-6 a, 7, 10, 10 a-tetrahydro-6, 6, 9-trimethyl-6H-dibenzo [b, d] pyran เวนแตเตตราไฮโดรแคนนาบินอล ซึ่งมีอยูในแคนนาบิส (Cannabis) หรือยางกัญชา (Cannabis Resin) ตามกฎหมายวาดวยยาเสพติดใหโทษ (๒)๑๗. อีทริพตามีน (ETRYPTAMINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 3-(2-aminobutyl) indole ๑๘. เมทคาทิโนน (METHCATHINONE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 2-(methylamino)-1-phenylpropan-1-one. (๓)๑๙. เมสคาลีน (MESCALINE) และอนุพันธของเมสคาลีน (MESCALINE DERIVATIVES) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 3,4,5-Trimethoxy phenethylamine (๔)๒๐. จีเอชบี (GHB) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา Gamma-hydroxybutyrate วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ๑. แอมฟพราโมน (AMFEPRAMONE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 2-(Diethylamino) propio- phenone ๒. โบรติโซแลม (BROTIZOLAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 2-Bromo-4-(2-chlorophenyl)-9-methyl-6H-thieno [3,2-f] [1, 2, 4] triazolo-[4, 3-a] [1, 4] diazepine ๓. คาทีน (CATHINE) หรือ (+)-นอรซูโดอีเฟดรีน ((+)-NORPSEUDOEPHEDRINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา d-threo-2-Amino-1-hydroxy-1-phenylpropane ๔. อีเฟดรีน (EPHEDRINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา (IR,2S)-2-Methylamino-1-phenylpropan-1-ol hemihydrate ๕. เอสตาโซแลม (ESTAZOLAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 8-Chloro-6-phenyl-4H-s-triazolo [4, 3-a] [1, 4] benzodiazepine ๖. เอ็น-เอทิลแอมเฟตามีน (N-ETHYLAMPHETAMINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา N-Ethyl-a-methylphenethylamine ๗. เฟนแคมฟามิน (FENCAMFAMIN) (+)-N-Ethyl-3-phenylbicyclo-(2, 2, 1)- heptan-2-amine ๘. เฟเนทิลลีน (FENETHYLLINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา (+)-3, 7-Dihydro-1, 3-dimethyl-7-(2-[(1-methyl-2-phenyl-ethyl) amino]-ethyl)-1H-purine-2,6-dione ๙. ฟลูไนตราซิแพม (FLUNITRAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 5-(o-Fluorophenyl)-1, 3-dihydro-1-methyl-7-nitro-2H-1, 4-benzodiazepin-2-one ๑๐. ฟลูราซีแพม (FLURAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-Chloro-1-[2-(diethylamino) ethyl]-5-(o-fluorophenyl)-1, 3-

(๒)

ลําดับท่ี ๑๗ และ ๑๘ เพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๙๗) พ.ศ. ๒๕๔๐ ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมท่ี ๑๑๔ ตอนที่ ๑๘ ง ลงวันท่ี ๔ มีนาคม ๒๕๔๐

(๓) ลําดับท่ี ๑๙ เพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๑๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในบัญชีทายประกาศกระทรวงสาธารณสุข

(๔) เพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๑๑๘) พ.ศ. ๒๕๔๔ ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมท่ี ๑๑๘ ตอนพิเศษ ๑๑๕ ง ลงวันท่ี ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๔

Page 26: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๒๑

dihydro-2H-1, 4-benzodiazepin-2-one dihydrochloride ๑๑. ฮาโลซาโซแลม (HALOXAZOLAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 10-Bromo-11 b-(o-fluorophenyl) -2, 3, 7, 11 b-tetrahydrooxazolo [3, 2-d] [1, 4]-benzodiazepin-6(5H)-one ๑๒. โลพราโซแลม (LOPRAZOLAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 6-(o-Chlorophenyl)-2, 4dihydro-2-[(4-methyl-1-piperazinyl) methylene]-8-nitro-1H-imidzao [1, 2-a] [1, 4] benzodiazepin-1-one ๑๓. ลอรเมตาซีแพม (LORMETAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-Chloro-5-(o-chlorophenyl)-1, 3-dihydro-3-hydroxy-1-methyl-2H-1, 4-benzodiazepin-2-one ๑๔. มาซินดอล (MAZINDOL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 5-(p-Cholrophenyl)-2, 5-dihydro-3H-imidazo-[2,1-a]-isondol-5-OI ๑๕. เมทิลเฟนิเดต (METHYLPHENIDATE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 2-Phenyl-2-(2-piperidyl) acetic acid, methyl ester ๑๖. มิดาโซแลม (MIDAZOLAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 8-Chloro-6-(2-fluorophenyl)-1-methyl-4H-imidazo-(1, 5-a) (1,4) benzodiazepine ๑๗. ไนเมตาซีแพม (NIMETAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 1, 3-Dihydro-1-methyl-7-nitro-5-phenyl-2H-1, 4-benzodiazepin-2-one ๑๘. ไนตราซีแพม (NITRAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 1, 3-Dihydro-7-nitro-5-phenyl-2H-1, 4-benzodiazepin-2-one ๑๙. เพโมลีน (PEMOLINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 2-Amino-5-phenyl-4(5H)-oxazolone ๒๐. เฟนไซคลิดีน (PHENCYCLIDINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 1-(1-Phenyl-cyclohexyl)-piperidine ๒๑. เฟนไดเมตราซีน (PHENDIMETRAZINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา (+)-3,4-Dimethyl-2-phenylmorpholine ๒๒. เฟนเมตราซีน (PHENMETRAZINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 3-Methyl-2 phenylmor- pholine ๒๓. เฟนเตอมีน (PHENTERMINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา a, a-Dimethylphenethylamine ๒๔. พิพราดรอล (PIPRADROL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 1,1-Diphenyl-1-(2-piperidyl)-methanol (๕)๒๕. (ยกเลิก) ๒๖. ควาซีแพม (QUAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-Chloro-5-(2-fluorophenyl)-1, 3-dihydro-1-(2, 2, 2-trifluoroethyl)-2H-1, 4-benzodiazepine-2-thione ๒๗. เซโคบารบิตาล (SECOBARBITAL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 5-Allyl-5-(1-methylbutyl) barbituric acid ๒๘. ทีมาซีแพม (TEMAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-Chloro-1,3-dihydro-3-hydroxy-1-methyl-5-phenyl-2H-1, 4-benzodiazepin-2-one ๒๙. ไตรอาโซแลม (TRIAZOLAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 8-Chloro-6-(o-Chlorophenyl)-1-methyl-4H-s-triazolo [4, 3-a] [1, 4] benzodiazepine ๓๐. โซลพิเดม (ZOPIDEM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา N, N, 6-Trimethyl-2-(4-methylphenyl)-imidazo [1, 2-a] pyridine-3-acetamide. ๓๑. โซพิโคลน (ZOPICLONE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 4-Methyl-1-piperazinecarboxylic acid-6-(5-chloro-2-pyridinyl)-6, 7-dihydro-7-oxo-5H-pyrrolo [3, 4-b] pyrazin-5-yl ester

(๕)

ถูกยกเลิกโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๑๑๗) พ.ศ. ๒๕๔๔ ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เลม ๑๑๘ ตอนพิเศษ ๒๐ ง ลงวันท่ี ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๔๔

Page 27: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๒๒

(๖)๓๒. ไซพีพรอล (ZIPEPROL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา a-(a-methoxybenzyl)-4-(b-methoxy-phenethyl)-1-piperazineethanol ๓๓. อะมิโนเรกซ (AMINOREX) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 2-amino-5-phenyl-2-oxazoline ๓๔. มีโซคารบ (MESOCARB) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 3-(a-methylphenethyl)-N-(phenyl- carbamoyl) sydnone imine (๗)๓๕. คีตามีน (KETAMINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา Cyclohexanone, 2-(2-chlorophenyl)-2-(methylamino) ๓๖. บูตอรฟานอล (BUTORPHANOL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 17-(cyclobutymethyl) morphinan 3, 14-diol (๘)๓๗. (ยกเลิก) (๙)๓๘. ซาลีพลอน (ZALEPLON) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา N-(3-(3-Cyanopyrazolo(1,5-a)pyrimidin-7-yl)phenyl)-N-ethylacetamide (๑๐)๓๙. ซูโดอีเฟดรีน (PSEUDOEPHEDRINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา (+)-(1S,2S)-2-Methyl-amino-1-phenylpropan-1-ol เวนแตซึ่งเปนสวนผสมในตํารับยาสูตรผสม (Combined Drug) ตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐ และซึ่งเปนสวนผสมในตํารับยาเสพติดใหโทษในประเภท ๓ ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ๔๐. เฟนิลโพรพาโนลามีน (PHENYLPROPANOLAMINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา a-(1-Amino-ethyl)enzenemethanol (๑๑)๔๑. เอมีเนปทีน (Amineptine) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา ๗-[(10,11-dihydro-5H-dibenzo[a,d]cyclohepten-5-yl)amino]heptanoic acid วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ ๑. อะโมบารบิตาล (AMOBARBITAL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 5-Ethyl-5-(3-methylbutyl) barbituric acid ๒. บุพรีนอรฟน (BUPRENORPHINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 21-Cyclopropyl-7-a-[(s)-1-hydroxy-1, 2, 2-trimethylpropyl]-6, 14-endo-ethano-6, 7, 8, 14-tetrahydrooripavine ๓. บิวตาลบิตาล (BUTALBITAL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 5-Allyl-5-isobutylbarbituric acid ๔. ไซโคลบารบิตาล (CYCLOBARBITAL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 5-(1-Cyclohexen-1-yl)-5-ethylbarbituric acid ๕. กลูเตทิไมด (GLUTETHIMIDE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 2-Ethyl-2-phenyl-glutarimide ๖. เมโพรบาเมต (MEPROBAMATE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 2-Methyl-2-propyl-1,3-propanediol dicarbamate (๖) ลําดับท่ี ๓๒, ๓๓ และ ๓๔ เพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๙๘) พ.ศ. ๒๕๔๐ ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมท่ี ๑๑๔ ตอนที่ ๑๘ ง

ลงวันท่ี ๔ มีนาคม ๒๕๔๐ (๗)

เพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๑๐๖) พ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมท่ี ๑๑๕ ตอนพิเศษ ๘๗ ง ลงวันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๔๑

(๘) ถูกยกเลิกโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๑๑๗) พ.ศ. ๒๕๔๔ ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เลม ๑๑๘ ตอนพิเศษ ๒๐ ง ลงวันท่ี ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๔๔

(๙) เพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๑๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๓ ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เลม ๑๑๗ ตอนพิเศษ ๘๓ ง ลงวันท่ี ๒๒ สิงหาคม ๒๕๔๓

(๑๐) ลําดับท่ี ๓๙ และลําดับท่ี ๔๐ เพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๑๑๗) พ.ศ. ๒๕๔๔ ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เลม ๑๑๘ ตอนพิเศษ ๒๐ ง ลงวันท่ี ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๔๔

(๑๑) ลําดับท่ี ๔๑ เพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๑๒๒) พ.ศ. ๒๕๔๗ เรื่อง ระบุชื่อและจัดแบงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ (เพิ่มเติม) ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๒๑ ตอนพิเศษ ๓๗ ง ลงวันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๗

Page 28: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๒๓

๗. เพนตาโซซีน (PENTAZOCINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 1, 2, 3, 4, 5, 6-Hexahydro-6, 11-dimethyl-3-(3-methyl-2-butenyl)-2, 6-methano-3-benzazocin-8-ol ๘. เพนโตบารบิตาล (PENTOBARBITAL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 5-Ethyl-5-(1-methylbutyl) barbituric acid วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๔ ๑. อัลโลบารบิตาล (ALLOBARBITAL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 5,5-diallybarbituric acid ๒. อัลปราโซแลม (ALPRAZOLAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 8-chloro-1-methyl-6-phenyl-4H-s-triazolo [4,3-a] [1, 4] benzodiazepine ๓. บารบิตาล (BARBITAL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 5, 5-diethylbarbituric acid ๔. เบนซเฟตามีน (BENZPHETAMINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา N-benzyl-N, a-dimethyl-phenethylamine ๕. โบรมาซีแพม (BROMAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-bromo-1,3-dihydro-5-(2-pyridyl)-2H-1,4-benzodiazepin-2-one ๖. บิวโตบารบิตาล (BUTOBARBITAL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 5-butyl-5-ethylbarbituric acid ๗. คามาซีแพม (CAMAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-Chloro-1, 3-dihydro-3-hydroxy-1-methyl-5-phenyl-2H-1, 4 benzodiazepin-2-one dimethylcarbamate ๘. คลอรัลไฮเดรทและสารประกอบเชิงซอนที่ออกฤทธิ์คลอรัลไฮเดรท (Chloral hydrate and its adducts) ๙. คลอรไดอาซีพอกไซต (CHLORDIAZEPOXIDE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-chloro-2-(methylamino-5-phenyl)-3H-1, 4-benzodiazepine-4-oxide ๑๐. คลอรเฟนเตอมีน (CHLORPHENTERMINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 4-chloro-a,a-dimethylphenethylamine ๑๑. โคลบาแซม (CLOBAZAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-Chloro-1-methyl-5-phenyl-1H-1, 5-benzodiazepine-2,4-(3H, 5H)-dione ๑๒. โคลนาซีแพม (CLONAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 5-(o-Chlorophenyl)-1, 3-dihydro-7-nitro-2H-1, 4-benzodiazepin-2-one ๑๓. คลอราซีเพท (CLORAZEPATE) ซึ่งไดแกเกลือโมโนโปแตสเซียม หรือไดโปแตสเซียมของกรดคลอราซีพิค (Clorazepic acid) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา Potassium 7-Chloro-2, 3-dihydro-2-oxo-5-phenyl-1H-1,4-benzodiazepine-3-carboxylate หรือ Potassium 7-chloro-2,3-dihydro-2-oxo-5-phenyl-1H,1,4-benzodiazepine-3-carboxylate compound with potassium hydroxide (1:1) ๑๔. คลอรเตอมีน (CLORTERMINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 2-chloro-a, a-demethyl benzeneethanamine ๑๕. โคลไตอาซีแพม (CLOTIAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 5-(o-Chlorophenyl)-7-ethyl-1, 3-dihydro-1-methyl-2H-thieno [2, 3-e]-1, 4-diazepin-2-one ๑๖. โคลซาโซแลม (CLOXAZOLAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 10-Chloro-11b-(o-chlorophenyl)- 2,3,7,11b-tetrahydro-oxazolo[3,2-d] [1,4] benzodiazepin-6(5H)-one ๑๗. ไดอาซีแพม (DIAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-Chloro-1, 3-dihydro-1-methyl-5-phenyl-2H-1, 4-benzodiazepin-2-one ๑๘. ดีลอราซีแพม (DELORAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-Chloro-5-(o-chlorophenyl)-1,3-dihydro-2H-1, 4-

Page 29: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๒๔

benzodiazepin-2-one ๑๙. เอทคลอวินอล (ETHCHLORVYNOL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา ethyl-2-chlorovinyl-ethinylcabinol ๒๐. เอทีนาเมต (ETHINAMATE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 1-ethynylcyclobexasnol carbamate ๒๑. เอทิล โลฟลาซีเพท (ETHYL LOFLAZEPATE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา Ethyl 7-chloro-5(o-flurophenyl) 2, 3-dihydro-2-oxo-1H-1, 4-benzodiazepine-3-carboxylate ๒๒. เฟนโพรพอเรกซ (FENPROPOREX) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา (ฑ)-3-[(a-methylphenethyl) amino] propionitrile ๒๓. ฟลูไดอาซีแพม (FLUDIAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-Chloro-5-(o-fluorophenyl)-1, 3-dihydro-1-methyl-2H-1, 4-benzodiazepin-2-one ๒๔. ฮาลาซีแพม (HALAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-Chloro-1, 3-dihydro-5-phenyl-1-((2, 2, 2)-trifluoroethyl)-2H-1, 4-benzodiazepin-2-one ๒๕. เกลืออนินทรียของโบรไมดทุกชนิด (INORGANIC BROMIDES) ยกเวนลิเทียมโบรไมด (Lithium Bromide) ที่ใชในอุตสาหกรรมเครื่องทําความเย็นและโปแตสเซียมโบรไมดเทคนิคัลเกรด (Potassium Bromide Technical grade) ที่ใชในอุตสาหกรรมลางรูป โดยอยูในความดูแลของเจาหนาที่จากสํานักคณะกรรมการ อาหารและยา ๒๖. คีตาโซแลม (KETAZOLAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 11-Chloro-8, 12b-dihydro-2, 8-dimethyl-12b-phenyl-4H-[1, 3]-oxazino [3, 2-d]- [1, 4] benzodiazepine-4, 7(6H)-dione ๒๗. ลอราซีแพม (LORAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-Chloro-5(o-chlorophenyl)-1, 3-dihydro-3-hydroxy-2H-1, 4-benzodiazepin-2-one ๒๘. เมดาซีแพม (MEDAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-Chloro-2, 3-dihydro-1-methyl-5-phenyl-1H-1, 4-benzodiazepine ๒๙. เมเฟนอเรกซ (MEFENOREX) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา (ฑ)-N(3-Chloropropyl)-OC-methyl-5-phenyl-1H-1,4-benzodiazepine ๓๐. เมทิไพรลอน (METHYPRYLON) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 3, 3-diethyl-5-methyl-2, 4-piperidinedione ๓๑. เมทิลฟโนบารบิตาล (METHYPHENO BARBITAL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 5-ethyl-1-methyl-5-phenylbarbituric acid ๓๒. นอรดาซีแพม (NORDAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-Chloro-1,3-dihydro-5-phenyl-2H-1, 4-benzodiazepin-2-one ๓๓. โอซาซีแพม (OXAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-Chloro-1,3-dihydro-3-hydroxy-5-phenyl-2H-1, 4-benzodiazepin-2-one ๓๔. โอซาโซแลม (OXAZOLAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 10-Chloro-2, 3, 7-11b-tetrahydro-2-methyl-11b-phenyloxazolo [3, 2-d] [1, 4] benzodiazepin-6(5H)-one ๓๕. เพอรลาฟน (PERLAPINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 6-(4-methyl-1-piperazinyl)-11H-dibenz [b, e] azepine ๓๖. ฟโนบารบิตาล (PHENOBARBITAL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 5-ethyl-5-phenylbarbituric acid ๓๗. พินาซีแพม (PINAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-Chloro-1, 3-dihydro-5-phenyl-1-(2-propynyl)-2H-1, 4-benzodiazepin-2-one ๓๘. พราซีแพม (PRAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-Chloro-1-(cyclopropylmethyl)-1, 3-dihydro-5-phenyl-2H-1, 4-benzodiazepin-2-one ๓๙. โพรพิลเฮเซดรีน (PROPYLHEXEDRINE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา (ฑ)-N, a-Dimethyl-cyclohexamne-ethylamine ๔๐. ไพโรวาเลโรน (PYROVALERONE) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา (ฑ)-1-(4-methylphenyl)-2-(1-pyrrolidinyl)-1-pentanone

Page 30: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๒๕

๔๑. เซคบิวตาบารบิตาล (SECBUTABARBITAL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 5-sec-butyl-5-ethylbarbituric acid ๔๒. เอสพีเอ (SPA) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา (-)-1-dimethylamino-1, 2-diphenylethane ๔๓. เตตราซีแพม (TETRAZEPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 7-Chloro-5-(cyclohexen-1-yl)-1, 3-dihydro-1-methyl-2H-1, 4-benzodiazepin-2-one ๔๔. โทฟโซแพม (TOFISOPAM) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 1-(3, 4-Dimethoxyphenyl)-5-ethyl-7, 8-dimethoxy-4-methyl-5H-2, 3-benzodiazepine ๔๕. ไวนิลบิตาล (VINYLBITAL) ซึ่งมีช่ือทางเคมีวา 5-(1-methylbutyl)-5-vinylbarbituric acid

Page 31: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๒๖

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข

(ฉบับที่ ๑๐๑) พ.ศ. ๒๕๔๐ ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิต

และประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ เร่ือง การอนุญาตใหผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผูประกอบโรคศิลปะ แผนปจจุบันชั้นหนึ่งในสาขาทันตกรรม หรือผูประกอบการบําบัด

โรคสัตวชั้นหนึ่ง มีวัตถุออกฤทธิ์ไวในครอบครอง ______________________

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ มาตรา ๑๑(๔) และมาตรา ๖๔ แหงพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทออกประกาศ ดังตอไปนี้ ๑. ใหยกเลิกประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๗๒ (พ.ศ. ๒๕๓๔) เรื่อง การอนุญาตใหผูประกอบ วิชาชีพเวชกรรม ผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบันช้ันหนึ่งในสาขาทันตกรรมหรือผูประกอบการบําบัดโรคสัตวช้ันหนึ่ง มีวัตถุออกฤทธิ์ไวในครอบครองไดตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๓๔ ๒. ใหผูประกอบการวิชาชีพเวชกรรม ผูประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบันช้ันหนึ่งในสาขาทันตกรรมหรือผูประกอบการบําบัดโรคสัตวช้ันหนึ่ง มีวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ไมเกินปริมาณที่กําหนดในประกาศฉบับนี้ไวในครอบครองไดโดยไมตองขออนุญาตตามมาตรา ๖๒ ดังนี้ วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ๑. แอมฟพราโมน (AMFEPRAMONE)........................................................................... ๗๕ กรัม ๒. คาทีน (CATHINE) หรือ (+) - นอรซูโดอีเฟดรีน ((+) - NORPSEUDOEPHEDRINE) ........................................................................... ๒๐ กรัม ๓. อีเฟดรีน (EPHEDRINE) ............................................................................................ ๑๒๐ กรัม ๔. เอ็น - เอทิลแอมเฟตามีน (N-ETHYLAMPHETAMINE) ............................................. ๓๐ กรัม ๕. ฟลูไนตราซีแพม (FLUNITRAZEPAM) ............................................................... ๒ กรัม ๖. ฟลูราซีแพม (FLURAZEPAM) ................................................................................... ๓๐ กรัม ๗. ลอรเมตาซีแพม (LORMETAZEPAM) ........................................................................ ๑ กรัม

Page 32: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๒๗

๘. มาซินดอล (MAZINDOL) ............................................................................................ ๑ กรัม ๙. เมทิลเฟนิเดต (METHYLPHENIDATE) ....................................................................... ๓ กรัม ๑๐. มิดาโซแลม (MIDAZOLAM) .................................................................................. ๑๕ กรัม ๑๑. ไนตราซีแพม (NITRAZEPAM) ............................................................................... ๑๐ กรัม ๑๒. เฟนเตอมีน (PHENTERMINE) ............................................................................... ๓๐ กรัม ๑๓. ซูโดอีเฟดรีน (PSEUDOEPHEDRINE) .................................................................. ๑๒๐ กรัม ๑๔. เซโคบารบิตาล (SECOBARBITAL) ....................................................................... ๑๐ กรัม ๑๕. ทีมาซีแพม (TEMAZEPAM) .................................................................................... ๑๐ กรัม ๑๖. ไตรอาโซแลม (TRIAZOLAM) ................................................................................ ๐.๕ กรัม (๑)๑๗. คีตามีน (KATAMINE) .............................................................................................. ๒.๕ กรัม ๑๘. เฟนนิลโพรพาโนลามีน (PHENYLPROPANOLAMINE) ....................................... ๕๐ กรัม (๒)๑๙. โซลพิเดม (ZOLPIDEM) ............................................................................................. ๑๐ กรัม วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ ๑. อะโมบารบิตาล (AMOBARBITAL) ............................................................................. ๑๐ กรัม ๒. บูพรีนอรฟน (BUPRENORPHINE) .............................................................................. ๐.๕ กรัม ๓. เมโพรบาเมต (MEPROBAMATE) ............................................................................... ๗๐๐ กรัม ๔. เพนตาโซซีน (PENTAZOCINE) .................................................................................... ๑ กรัม ๕. เพนโตบารบิตาล (PENTOBARBITAL).......................................................................... ๑๐ กรัม วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๔ ๑. อัลปราโซแลม (ALPRAZOLAM).................................................................................... ๑ กรัม ๒. โบรมาซีแพม (BROMAZEPAM) ................................................................................... ๖ กรัม ๓. บิวโตบารบิตาล (BUTOBARBITAL) ............................................................................. ๕๐ กรัม ๔. คลอรไดอาซีพอกไซด (CHLORDIAZEPOXIDE) .................................................... ๒๕๐ กรัม ๕. โคลบาแซม (CLOBAZAM) ......................................................................................... ๑๐ กรัม ๖. โคลนาซีแพม (CLONAZEPAM) .............................................................................. ๒๐ กรัม ๗. คลอราซีเพท (CLORAZEPATE) ............................................................................... ๑๐ กรัม ๘. ไดอาซีแพม (DIAZEPAM) ........................................................................................... ๑๐ กรัม ๙. เอทิล โลพลาซีเพท (ETHYL LOPLAZEPATE) .............................................................. ๑๐ กรัม ๑๐. เกลืออนินทรียของโบรไมดทุกชนิด (INORGANIC BROMIDE) ..................................๙๐ กรัม

(๑) ลําดับท่ี ๑๗ และลําดับท่ี ๑๘ เพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๑๑๕) พ.ศ. ๒๕๔๓ ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๗ ตอนพิเศษ

๘๓ ง ลงวันท่ี ๒๒ สิงหาคม ๒๕๔๓ (๒) ลําดับท่ี ๑๙ เพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๑๑๖) พ.ศ. ๒๕๔๔ ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๘ ตอนพิเศษ ๑๓ ง

ลงวันท่ี ๑๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๔

Page 33: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๒๘

๑๑. ลอราซีแพม (LORAZEPAM)......................................................................................... ๒ กรัม ๑๒. เมดาซีแพม (MEDAZEPAM)......................................................................................... ๑๐ กรัม ๑๓. ฟโนบารบิตาล (PHENOBARBITAL).................................................................... ๑๐๐ กรัม ๑๔. พินาซีแพม (PINAZEPAM)...................................................................................... ๕ กรัม ๑๕. พราซีแพม (PRAZEPAM) .......................................................................................... ๑๐ กรัม ๑๖. โทฟโซแพม (TOFISOPAM) ....................................................................................... ๕๐ กรัม ประกาศฉบับนี้ใหมีผลใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวัน นับแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป ประกาศ ณ วันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๐

(ลงช่ือ) รักเกียรติ สุขธนะ (นายรักเกียรติ สุขธนะ)

รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข

Page 34: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๒๙

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข

(ฉบับที่ ๑๐๔) พ.ศ. ๒๕๔๑ เร่ือง กําหนดปริมาณการมีไวในครอบครองหรือใชประโยชน

ซ่ึงวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ __________________

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๑๑(๔) แหงพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ และมาตรา ๖ (๗ ทวิ) แหงพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ออกประกาศดังตอไปนี้ ขอ ๑ ใหยกเลิกประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๙๒ (พ.ศ. ๒๕๓๘) เรื่องกําหนดปริมาณ การมีไวในครอบครองหรือใชประโยชนซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ขอ ๒ การมีไวในครอบครองหรือใชประโยชนซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ เมื่อคํานวณปริมาณเปนสารบริสุทธิ์แลว ตองไมเกินปริมาณดังตอไปนี้ วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ ๑. คาทิโนน (CATHINONE) ๐.๕๐๐ กรัม ๒. ดีอีที (DET) ๐.๕๐๐ กรัม ๓. ดีเอ็มเอชพี (DMHP) ๐.๕๐๐ กรัม ๔. ดีเอ็มที (DMT) ๐.๕๐๐ กรัม ๕. เมสคาลีน (MESCALINE) ๐.๕๐๐ กรัม ๖. ๔-เมทิล อะมิโนเรกซ (4-METHYL AMINOREX) ๐.๕๐๐ กรัม ๗. เอ็น เอทิล เอ็มดีเอ หรือ เอ็มดีอี (N-ethyl MDA หรือ MDE) ๐.๕๐๐ กรัม ๘. เอ็น ไฮดรอกซี เอ็มดีเอ หรือ เอ็น-โอเอช เอ็มดีเอ (N-hyfroxy MDA หรือ N-OH MDA) ๐.๕๐๐ กรัม ๙. พาราเฮกซิล (PARAHEXYL) ๐.๕๐๐ กรัม ๑๐. พีซีอี (PCE) ๐.๑๐๐ กรัม ๑๑. พีเอชพี (PHP) หรือ พีซีพีวาย (PCPY) ๐.๑๐๐ กรัม ๑๒. ไซโลซีน (PSILOCINE) ๐.๑๐๐ กรัม ๑๓. ไซโลไซบีน (PSILOCYBINE) ๐.๑๐๐ กรัม

Page 35: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๓๐

๑๔. เอสทีพี (STP) หรือ ดีโอเอ็ม (DOM) ๐.๑๐๐ กรัม ๑๕. ทีซีพี (TCP) ๐.๑๐๐ กรัม ๑๖. เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (TETRAHYDROCANNABI-NOL) เวนแต เตตราไฮโดรแคนนาบินอล ซึ่งอยูในแคนนาบิส (Canabis) หรือยางกัญชา (Canabis Resin) ตามกฎหมายวาดวยยาเสพติดใหโทษ ๐.๑๐๐ กรัม ๑๗. อทีริพตามีน (ETRYPTAMINE) ๐.๕๐๐ กรัม ๑๘. เมทคาทิโนน (METHCATHINONE) ๐.๕๐๐ กรัม วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ๑. อีเฟดรีน (EPHEDRINE) ๕.๐๐ กรัม ๒. ซูโดอีเฟดรีน (PSEUDOEPHEDRINE) เวนแตซูโดอีเฟดรีน (PSEUDOEPHEDRINE) ซึ่งเปนสวนผสมในตํารายาที่ได ขึ้นทะเบียนเปนยาตามกฎหมายวาดวยยา ๕.๐๐ กรัม (๑)๓. คีตามีน (KETAMINE) ๐.๕ กรัม ประกาศฉบับนี้ใหใชบังคับนับแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๑

(ลงช่ือ) รักเกียรติ สุขธนะ (นายรักเกียรติ สุขธนะ)

รัฐมนตรีวาการกกระทรวงสาธารณสุข

(๑) เพิ่มเติมโดย ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๑๑๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๗ ตอนพิเศษ ๘๓ ง

ลงวันท่ี ๒๒ สิงหาคม ๒๕๔๓

Page 36: เอกสารใน Microsoft Internet Explorerwebdb.dmsc.moph.go.th/narcotic/doc/004.pdf · 2007-02-21 · (๔) "ติดวัตถุออกฤทธ ิ์" หมายความว

๓๓๑

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข

(ฉบับที่ ๑๑๙) พ.ศ. ๒๕๔๔ ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘

เร่ือง ระบุชื่อและประเภทวัตถุออกฤทธิ์ท่ีตองแจงกําหนดสิ้นอายุไวในฉลาก __________________

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ มาตรา ๖(๖) และมาตรา ๑๑(๔) แหงพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ออกประกาศไวดังตอไปนี้ ขอ ๑ ใหวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๙๗ (พ.ศ. ๒๕๓๙) เรื่อง ระบุช่ือและจัดแบงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ลงวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๓๙ และฉบับแกไขเพิ่มเติม เปนวัตถุออกฤทธิ์ที่ตองแจงกําหนดสิ้นอายุไวในฉลาก ขอ ๒ ประกาศฉบับนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๕ เปนตนไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๔

(ลงช่ือ) สุดารัตน เกยุราพันธุ (นางสุดารัตน เกยุราพันธุ)

รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เลม ๑๑๘ ตอนพิเศษ ๑๑๕ ง ลงวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๔)