วารสารครุศาสตร์ Journal of Education · ªµ¦µ¦ ¦»«µ...

560
วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถุนายน 2562 Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019 1 วารสารครุศาสตร์ Journal of Education วัตถุประสงค์ 1. เพื่อตีพิมพ์บทความวิชาการและบทความวิจัยทางการศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน องค์ความรู้ ความคิด ทฤษฎี ตลอดจนเทคนิคการวิจัยใหม่ ๆ ทางการศึกษา และประเด็นอื่นที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ ต่อวงการศึกษา 2. เพื่อเป็นสื่อกลางเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความรู้เชิงวิชาการระหว่างนักวิจัยทางการศึกษานักวิชาการศึกษา บุคลากรทางการศึกษาและผู้ที่สนใจตลอดจนเป็นแหล่งเผยแพร่ผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา 3. เพื่อส่งเสริมให้นักวิชาการศึกษาได้สร้างผลงานทางวิชาการอันเป็นประโยชน์ต่อสังคม เจ้าของ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ ร.ท. ดร.ณัฏฐชัย จันทชุม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูษิต บุญทองเถิง มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรุณี จันทร์ศิลา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุทธพงศ์ ทิพย์ชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูษิต บุญทองเถิง มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยบรรณาธิการ รองศาสตราจารย์ ดร.ประสพสุข ฤทธิเดช มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์สุชาดา หวังสิทธิเดช มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ชัชวาลย์ ลิ้มรัชตะกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม กองบรรณาธิการ ศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.ฉวีลักษณ์ บุญยะกาญจน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

Transcript of วารสารครุศาสตร์ Journal of Education · ªµ¦µ¦ ¦»«µ...

  • วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม ปีท่ี 16 ฉบบัท่ี 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถนุายน 2562

    Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019

    1

    วารสารครุศาสตร์Journal of Education

    วัตถุประสงค์ 1. เพื่อตีพิมพ์บทความวิชาการและบทความวิจัยทางการศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน องค์ความรู้

    ความคิดทฤษฎีตลอดจนเทคนิคการวิจัยใหม่ๆทางการศึกษาและประเด็นอื่นที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์

    ต่อวงการศึกษา

    2. เพ่ือเป็นส่ือกลางเผยแพร่และแลกเปล่ียนความรู้เชิงวิชาการระหว่างนักวิจัยทางการศึกษานักวิชาการศึกษา

    บุคลากรทางการศึกษาและผู้ที่สนใจตลอดจนเป็นแหล่งเผยแพร่ผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา

    3.เพื่อส่งเสริมให้นักวิชาการศึกษาได้สร้างผลงานทางวิชาการอันเป็นประโยชน์ต่อสังคม

    เจ้าของ คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

    ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ว่าที่ร.ท.ดร.ณัฏฐชัยจันทชุม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ภูษิตบุญทองเถิง มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.อรุณีจันทร์ศิลา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ยุทธพงศ์ทิพย์ชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

    บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ภูษิตบุญทองเถิง มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

    ผู้ช่วยบรรณาธิการ รองศาสตราจารย์ดร.ประสพสุขฤทธิเดช มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

    อาจารย์สุชาดาหวังสิทธิเดช มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

    อาจารย์ชัชวาลย์ลิ้มรัชตะกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

    กองบรรณาธิการ ศาสตราจารย์ดร.พฤทธิ์ศิริบรรณพิทักษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    ศาสตราจารย์ดร.ศิริชัยกาญจนวาสี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    ศาสตราจารย์ดร.ฉวีลักษณ์บุญยะกาญจน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

  • วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม ปีท่ี 16 ฉบบัท่ี 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถนุายน 2562

    Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019

    2

    รองศาสตราจารย์ดร.เกียรติสุดาศรีสุข มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ดร.ฉลองชาตรูประชีวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร รองศาสตราจารย์ดร.กนกอรสมปราชญ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองศาสตราจารย์ดร.วิมลรัตน์สุนทรโรจน์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ดร.ประภัสสรปรีเอี่ยม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สมบัติฤทธิเดช มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.อัครพนท์เนื้อไม้หอม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ภัทราวดีมากมี มหาวิทยาลัยบูรพา อาจารย์ดร.อุดมศรีนนท์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Professor James W Chapman Massey University

    ผู้ประเมินอิสระ (Peer Review) ตรวจสอบวิชาการประจ�าฉบับ รองศาสตราจารย์ดร.สถาพรพันธุ์มณ ี ผู้ประเมินอิสระภายนอก รองศาสตราจารย์ดร.สมทรงสุวพานิช ผู้ประเมินอิสระภายนอก รองศาสตราจารย์ดร.ทวีศิลป์สืบวัฒนะ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ดร.ทัศนีย์นาคุณทรง มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ดร.ประภัสสรปรีเอี่ยม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ดร.ธีรชัยบุญมาธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ดร.ประสพสุขฤทธิเดช มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ดร.กนกอรสมปราชญ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองศาสตราจารย์ดร.ประสาทเนืองเฉลิม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ดร.สมบัติท้ายเรือค�า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ดร.ไชยยศเรืองสุวรรณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ดร.ธนานันท์ตรงดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ดร.นิราศจันทรจิตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ดร.รังสรรค์โฉมยา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ว่าที่ร.ท.ดร.ณัฏฐชัยจันทชุม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ว่าที่ร.ต.ดร.อรัญซุยกระเดื่อง มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.จิระพรชะโน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ทิพาพรสุจารีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.เขมิกาแสนโสม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.กมลทิพย์ตรีเดช มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.มะลิวัลย์ถุนานนท์ ผู้ประเมินอิสระภายนอก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.นารีรัตน์ปริสุทธิวุฒิพร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.กนกพรทอสอดแสง มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.อรุณีจันศิลา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สายหยุดภูปุย มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สุทัศน์วงศ์กระบากถาวร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัญญาบุรีรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

  • วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม ปีท่ี 16 ฉบบัท่ี 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถนุายน 2562

    Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019

    3

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์กนกวรรณศรีวาปี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ยุทธพงศ์ทิพย์ชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.วนิดาผาระนัด มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.อุรสาพรหมทา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.จันทร์เพ็ญภูโสภา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สุธีระพงษ์พินิจพล มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ปิยะธิดาปัญญา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ราชันย์นิลวรรณาภา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์อลงกตภูมิสายดร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ชยากานต์เรืองสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ดร.พีระวัฒน์ไชยล้อม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาจารย์ดร.พีระพรรัตนาเกียรติ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ดร.รุ่งลาวัลย์ละอ�าคา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ดร.บุษกรเขจรภัคดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ดร.ชัยวัฒน์สุภัควรกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ดร.อรนุชวงศ์วัฒนาเสถียร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาจารย์ดร.อาภรณ์โพธิ์ภา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาจารย์ดร.ชัยรัตน์ชูสกุล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาจารย์ดร.ทัชวัฒน์เหล่าสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ดร.พงศ์ธรโพธิ์พูลศักดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ดร.ปวริศสารมะโน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ดร.พิษมัยลาภมาก ผู้ประเมินอิสระภายนอก อาจารย์ดร.สมพรหวานเสร็จ ศูนย์การศึกษาพิเศษส่วนกลาง อาจารย์ดร.จรูญศักดิ์เบญมาตย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ดร.อพันตรีพูลพุทธา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาจารย์ดร.ประยงค์หัตถพรหม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ดร.วีระพนภานุรักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

    ฝ่ายพิสูจน์อักษร อาจารย์สุชาดาหวังสิทธิเดช มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ชัชวาลย์ลิ้มรัชตะกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์บงกชรัตน์ภูวันนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์วารินทิพย์ศรีกุลา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์รัตติกาลสารกอง มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์โชติกาธรรมวิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์สุรศักดิ์หาญธีระพิทักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์เนตรนภาเรืองไชย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ราตรีสุภาเฮือง มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ดร.ปัญญาพัฒน์ขันทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

  • วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม ปีท่ี 16 ฉบบัท่ี 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถนุายน 2562

    Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019

    4

    อาจารย์ดร.อุบลวรรณกิจคณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ดร.อัจฉริยาพรมท้าว มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ดร.ธัญญลักษณ์เขจรภักดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

    ฝ่ายจัดการและเผยแพร่ อาจารย์สุชาดาหวังสิทธิเดช มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ราตรีสุภาเฮือง มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อาจารย์ธนาพลตริสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

    ฝ่ายศิลปกรรม อาจารย์สราวุธดาแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นางสาวดลธาดาโยธาพล มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ฝ่ายการเงิน นางสาวสุกัญญานาชัยดุลย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นางกมลพรขรรค์ทัพไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

    ส�านักงาน คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

    ก�าหนดเผยแพร่ ปีละ2ฉบับฉบับที่1มกราคม–มิถุนายน,ฉบับที่2กรกฎาคม–ธันวาคม

    ข้อก�าหนดเฉพาะของวารสาร 1. เป็นบทความวิจัยบทความวิชาการบทความปริทัศน์ShortCommunicationและมีรายการอ้างอิง 2. บทความที่ไม่มีรายการอ้างอิง จะพิจารณาคัดเลือกเป็นรายบทความ โดยพิจารณาจากเนื้อหาของบทความที่ม ี อยู่ในความสนใจของสังคมและมีคุณค่าทางวิชาการ 3. ไม่เป็นบทความแปลบทความสัมภาษณ์ 4. รายการอ้างอิงประเภทหนังสือที่ไม่คัดเลือกเพื่อบันทึกคือรายการอ้างอิงที่ไม่มีชื่อผู้เขียนและผู้เขียนที่เป็น นิติบุคคล 5. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ(PeerReview) 6. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารครุศาสตร์น้ีเป็นของผู้เขียนคณะผู้จัดท�าวารสารไม่จ�าเป็น ต้องเห็นด้วย

    7. กองบรรณาธิการวารสารคณะครุศาสตร์ไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา

    พิมพ์ที ่ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามต�าบลตลาดอ�าเภอเมืองจังหวัดมหาสารคาม44000

    โทร.095-6729030e-Mail:[email protected]

    ต้นฉบับที่ตีพิมพ์ในวารสารฉบับนี้ได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ(PeerReview)เฉพาะสาขาวิชาการ

    ตีพิมพ์ซ�้าต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสารครุศาสตร์เป็นลายลักษณ์อักษร

  • วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม ปีท่ี 16 ฉบบัท่ี 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถนุายน 2562

    Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019

    5

    บรรณาธิการแถลง

    วารสารครศุาสตร์มหาวทิยาลยัราชภฏัมหาสารคามฉบบันี้เป็นวารสารปีที่16ฉบบัที่1(30)มกราคม-มถินุายน

    2562 เพื่อน�าเสนอผลงานวิจัยและผลงานวิชาการของนักวิจัย นักวิชาการ คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา โดยรับบทความ

    วชิาการจ�านวน4เร่ืองบทความวจิยัจ�านวน39เรือ่งและบทวจิารณ์หนงัสือจ�านวน1เรือ่งซึง่มเีนือ้หาทีเ่ป็นสารประโยชน์

    ทางวชิาการในแวดวงการพัฒนาทางการศกึษาการบรหิารจดัการและคุณภาพชีวติด้านสุขภาพของนกัศึกษาและประชาชน

    อีกทั้งเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ทางด้านการวิจัยระหว่างบุคลากรของสถาบันการศึกษาหน่วยงานภาครัฐ

    เอกชน และผู้สนใจ ท้ังในและต่างประเทศ แต่ถึงอย่างไรทั้งบทความวิชาการและบทความวิจัยที่มีสาระหลากหลายใน

    วารสารนี้กองบรรณาธิการยงัคงคดัสรรคณุภาพและเอกลกัษณ์ของวารสารครศุาสตร์ไว้เช่นเดมิบทความทกุเรือ่งผ่านการ

    ประเมนิจากผูท้รงคณุวฒุพิจิารณาบทความทัง้ภายในและภายนอกเพือ่ความเข้มแขง็ทางวชิาการของวารสารรายละเอยีด

    ของเนือ้หาทีน่่าสนใจในฉบบันี้ผูอ่้านสามารถอ่านและสบืค้นได้จากวารสารครศุาสตร์ทัง้ในส่วนทีเ่ป็นฉบบัรูปเล่มสมบรูณ์

    และจากเว็ปไซต์ของวารสารคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม กองบรรณาธิการมุ่งหวังว่าจะยกระดับ

    คุณภาพของวารสาร หากท่านมีข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์เพื่อการปรับปรุงวารสาร ทางกองบรรณาธิการยินดีรับข้อ

    เสนอแนะและจะน�ามาเป็นข้อมูลในการพัฒนาต่อไป

    วารสารครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามก้าวเข้าสู่ปีที่16ถือว่าประสบความส�าเร็จมาอย่างยาวนาน

    เกิดจากความร่วมมือร่วมใจ การเสียสละแรงกายแรงใจ และแรงสติปัญญาจากทุกฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้อง รวมถึงความ

    ไว้วางใจจากเจ้าของบทความทุกท่านทางกองบรรณาธิการขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมาณโอกาสนี้หวังเป็นอย่างยิ่ง

    ว่าวารสารคณะครศุาสตร์มหาวทิยาลยัราชภฏัมหาสารคามจะได้รบัโอกาสเป็นสือ่กลางในการเผยแพร่สาระผ่านบทความ

    ความรู้ดีๆทางวิชาการให้กับสังคมไทยตลอดไป

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูษิต บุญทองเถิง

    บรรณาธิการ

  • วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม ปีท่ี 16 ฉบบัท่ี 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถนุายน 2562

    Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019

    6

    สารบัญ

    บทความวิชาการสภาพการปกครองของรัฐสยามในดินแดนอีสานและลาว จากทัศนะของนักส�ารวจชาวฝรั่งเศส 13 ในพุทธศตวรรษที่ 25 นัชชา อู่เงิน

    Being a SMARTand Professional Future Teacher 21 Khankaeo Maprom

    การจัดการธุรกิจสมัยใหม่ 27 พยัคฆ์เพชร แสนค�า

    แนวคิดวอลดอร์ฟเส้นทางสู่การจัดกิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญ 37 ปิยรัตน์ เที่ยงภักดิ์

    บทความวิจัย

    การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน 45ที่มีแบบการเรียนรู้ที่ต่างกัน โดยใช้ทฤษฎีพหุปัญญาของการ์ดเนอร์ รามนรี นนทภา

    ชื่อเรื่อง สภาพสังคมวัฒนธรรมในวรรณกรรมนิทานพื้นบ้านอีสานที่บูรณาการกับสภาพ 63สังคมวัฒนธรรมอีสานปัจจุบัน ภูวนาท มาตบุรม

    รูปแบบการพัฒนาแหล่งประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเพื่อการอนุรักษ์เชิงวัฒนธรรม โดยการมีส่วนร่วม 73ของชุมชนในกลุ่มจังหวัดร้อยแก่นสารสินธุ์ ธีร์ สิทธิหาโคตร

    การสังเคราะห์กรอบแนวคิดในการออกแบบและพัฒนานวัตกรรมทางการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมทักษะการคิด 85 อย่างมีวิจารณญาณ ในศตวรรษที่ 21 ในเขตพื้นที่การศึกษาแถบลุ่มน�้าโขง วัชรี แซงบุญเรือง

  • วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม ปีท่ี 16 ฉบบัท่ี 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถนุายน 2562

    Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019

    7

    การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีผลต่อการคงอยู่ในองค์กรของบุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลชุมชน 95ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ภูษณดา สมบัติสกุลกิจ

    การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบแบบฝึกทักษะ 107เรื่อง เศษส่วน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สุกัญญา วงศ์ศรีเทพ

    ผลของการออกก�าลังกายโดยใช้ท่าร�าประกอบเพลงพื้นเมืองอีสานประยุกต์ต่อ ความสามารถ 119ในการทรงตัวและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาผู้สูงอายุ จังหวัดมหาสารคาม ธนวรรณพร ศรีเมือง

    ความสุขในการปฏิบัติงานของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 153 ปิยะธิดา ปัญญา

    การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดค�าตามมาตราตัวสะกดแม่กน โดยใช้แบบฝึกทักษะ 165ส�าหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน หลักเมืองมหาสารคาม ธนวุฒิ ค�าประเทือง

    การส่งเสริมสมรรถนะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลส�าหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน 175 สายสุนีย์ จับโจร

    การส่งเสริมความสามารถของผู้ปกครองโดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ ในการผลิตหนังสือ 189ผ่านกิจกรรมส่งเสริมการอ่านส�าหรับเด็กปฐมวัยเพื่อใช้ประโยชน์ ในชุมชนอย่างยั่งยืนจังหวัดมหาสารคาม ณุชฎา บูรณะพิมพ ์

    กลวิธีการพากย์ – เจรจาโขน 201 เกษนิภา นิลบาลัน

    การศึกษาการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อพัฒนากองทุนบุญเดือนสาม เสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน 215ของบ้านกุดแคน ต�าบลหนองโน อ�าเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ประสพสุข ฤทธิเดช

    การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกหัดเสริมทักษะการใช้เครื่องมือโปรแกรม 231Adobe Flash SC6 มณฑล วชิรโกเมน

  • วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม ปีท่ี 16 ฉบบัท่ี 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถนุายน 2562

    Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019

    8

    ศึกษาการปฏิบัติตามคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู ของนักศึกษา 237

    ป.บัณฑิตวิชาชีพครู ตามเกณฑ์มาตรฐานข้อบังคับคุรุสภาพ.ศ. 2556

    สุชาดา ลดาวัลย

    การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ 251

    ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

    พนาภรณ์ สุวรรณศร ี

    การศึกษาผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อส่งเสริม การก�ากับตนเองในการเรียน 263

    ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

    จินตวีร์ โยสีดา

    เส้นทางโบราณระหว่างนครจ�าปาศรีกับชุมชนเมืองเสือ : ความเป็นมา สภาพปัจจุบัน 273

    การใช้ประโยชน์ การมองเห็นคุณค่า การอนุรักษ์ และพัฒนา

    บุญสม ยอดมาลี

    การขับเคลื่อนพลังชุมชนท้องถิ่นเพื่อพัฒนาความเป็นเมืองน่าอยู่โดยการเรียนรู้แบบมี ส่วนร่วม 287

    ภาษิต ชนะบุญ

    นิทานก้อมอีสาน : คุณค่าและการอนุรักษ์เพื่อส่งเสริมวิถีชีวิตของคนอีสาน 309

    ปรีชา จันทร์เทพ

    ยุทธศาสตร์การบริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 319

    ให้มีประสิทธิผล สังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา หนองคายเขต 1

    บุญรอด เหลืองาม

    ผลการศึกษาทัศนคติของนักกีฬาฟุตบอลอาชีพต่ออาชีพนักกีฬาฟุตบอลในประเทศไทย 329

    วิชากร เฮงษฎีกุล

    วาทกรรมที่ปรากฏในบทเพลงของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี 345

    สันติ ทิพนา

    ประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมเคอฮูด(Kahoot) ที่มีต่อการเรียนรู้ค�าศัพท์ภาษาจีน 363

    ของนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาจีน ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

    ศันสนีย์พร ภูพันนา

    ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความผูกพันต่องานและความผูกพันต่อองค์การ ของบุคลากรที่ดูแลคนพิการ 375

    ศุภพิชญ์ ศุขโกเมศ

  • วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม ปีท่ี 16 ฉบบัท่ี 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถนุายน 2562

    Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019

    9

    การปฏิบัติในการด�าเนินชีวิตตามพระบรมราโชวาทและพระราชด�ารัส 391

    ของนักศึกษามหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

    ถวิล ลดาวัลย์

    การจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาแหล่ง ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น 401

    ในจังหวัดร้อยเอ็ด

    วิยะดา มุ่งผล

    การบริหารและการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง 411

    ในโรงเรียนขนาดเล็ก เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตแบบพอเพียงในท้องถิ่น

    แถม ผลดี

    รูปแบบการบริหารและการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของชุมชนวิชาประวัติศาสตร์ 427

    ท้องถิ่นเพื่อสร้างจิตส�านึกรักษ์ท้องถิ่นของโรงเรียนขนาดเล็ก

    ประมูล ศรีชนะ

    การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษาไทยด้วยสื่อมัลติมีเดีย (Multimedia) 441

    ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน

    สมพงษ์ ดอกบัว

    การสังเคราะห์การคิดเชิงนวัตกรรมของนักศึกษาวิชาชีพครู 451

    ชาญณรงค์ วิเศษสัตย

    การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติระดับครัวเรือน ในอ�าเภอเมืองหนองบัวล�าภู 465

    จังหวัดหนองบัวล�าภู

    ชาญยุทธ หาญชนะ

    การพัฒนาชุดการสอน รหัสวิชา 2105-2105 รายวิชาไมโครคอนโทรลเลอร์ 477

    ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

    ชัยพัฒนพงษ์ ภูสัตย์ค�า

    การส่งเสริมทักษะปฏิบัติโดยใช้ทฤษฎีของแฮร์โรว์ร่วมกับเครือข่ายการเรียนรู้ทางสังคม 487

    ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนผดุงนารี

    นวพล นาทองพูน

  • วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม ปีท่ี 16 ฉบบัท่ี 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถนุายน 2562

    Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019

    10

    การปรับปรุงประสิทธิภาพในการด�าเนินงานด้านผลิตภาพ 4.0 เพื่อเสริมสร้างศักยภาพ 495การแข่งขันกรณีศึกษา อุตสาหกรรมโรงสีข้าวจังหวัดนครราชสีมา รัฐนันท์ นันทจักร์

    การส่งเสริมการคิดเชิงประยุกต์โดยใช้การเรียนรู้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่อสังคม 503ส�าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย นิติวัฒน์ บุญรักษา

    ศึกษาภาวะผู้น�าการจัดการศึกษาสมาธิภาวนาของพระภาวนาโพธิคุณ (โพธิ์ จนฺทสโร) 509ตามแนวทีปภาวันธรรมสถาน ศิริวรรณ พงศ์ฉบับนภา

    การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์แบบสืบเสาะโดยใช้โปรแกรมจีเอสพี 525เรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการึทึม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เสาวนิตย์ อาจวิชัย

    แนวทางการจัดแหล่งการเรียนรู้ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา 535ตามอัธยาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร ชนกนารถ บุญวัฒนะกุล

    บทวิจารณ์หนังสือ

    การพัฒนาการเรียนการสอน 549

    ขวัญชัย ขัวนา

    หลักเกณฑ์ในการลงวารสาร 549

    ใบสมัครสมาชิก 556

  • วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม ปีท่ี 16 ฉบบัท่ี 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถนุายน 2562

    Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019

    11

    บทความวิชาการ

  • วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม ปีท่ี 16 ฉบบัท่ี 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถนุายน 2562

    Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019

    12

  • วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม ปีท่ี 16 ฉบบัท่ี 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถนุายน 2562

    Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019

    13

    “สภาพการปกครองของรัฐสยามในดินแดนอีสานและลาว”

    จากทัศนะของนักส�ารวจชาวฝรั่งเศสในพุทธศตวรรษที่ 25

    Siam’s governance conditionality in I-san and Laos From French

    Explorer’s Point of Views, 25th Century

    นัชชาอู่เงิน1,เจษฎากรณ์รันศรี2

    NutchaUoongoen1,JesadakornRunsri2

    ช่วงพทุธศตวรรษที่25เป็นช่วงเปลีย่นผ่านทีส่�าคญัในบรเิวณแถบดนิแดนสยามและลาวปรากฏการณ์นีน้กัส�ารวจชาวฝรั่งเศสที่เดินทางเข้ามาส�ารวจได้เขียนบันทึกไว้โดยให้รายละเอียดเกี่ยวกับการตั้งถิ่นฐานวิถีชีวิตความเชื่อศาสนาสภาพสงัคมจารีตประเพณีศลิปวัฒนธรรมเศรษฐกจิและการค้าการปกครองสภาพภมูศิาสตร์ทรพัยากรธรรมชาติตลอดจนผลกระทบที่เกิดขึ้นภายในท้องถิ่นอันเป็นผลสืบเนื่องจากการแทรกซึมของอ�านาจรัฐทั้งจากภายในและภายนอก ข้อมลูทีไ่ด้จากรายงานการส�ารวจเหล่านี้จงึแสดงภาพท้องถิน่ในดนิแดนอสีานและลาวในช่วงเวลานัน้ได้เป็นอย่างดีซึ่งหากอาศัยข้อมูลทางฝ่ายสยามนั้นยังคงมีอยู่ค่อนข้างจ�ากัดการบันทึกประวัติศาสตร์เกี่ยวกับดินแดนอีสานและลาวของรัฐสยามจึงจ�ากัดแต่เพียงชนช้ันปกครองและระบบการเมืองการปกครองแบบที่ผูกขาดเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์กรงุเทพฯมาโดยตลอดมไิด้ให้ความส�าคญักบัเรือ่งราวของผูค้นท้องถิน่ดงันัน้การจดบนัทกึของกลุม่นกัส�ารวจชาวฝรัง่เศสจึงสะท้อนให้เห็นระเบียบวิธีการเก็บข้อมูลของชาวตะวันตก ข้อมูลที่ได้จากรายงานการส�ารวจของกลุ่มนักส�ารวจชาวฝร่ังเศสจงึปราศจากการครอบง�าด้วยประวตัศิาสตร์กระแสหลักของสยามซ่ึงหากขาดข้อมลูจากกลุ่มนกัส�ารวจชาวฝรัง่เศสทีเ่ข้ามาส�ารวจดนิแดนเหล่านีใ้นช่วงพทุธศตวรรษที่25ผูค้นยคุปัจจบุนัย่อมมอิาจทราบได้ว่าสภาพการปกครองท้องถิน่ในดนิแดนอสีานและลาวในช่วงเวลาทีอ่ยูภ่ายใต้การกครองของสยามนัน้เป็นอย่างไรทศันะของนกัส�ารวจชาวฝรัง่เศสทีม่ีต่อระบบการปกครองท้องถิ่นดินแดนอีสานและลาวนั้นเป็นเช่นไรทั้งหมดนี้จะน�าไปสู่การถูกจ�ากัดความโดยชาวต่างชาติว่าคนที่นี้ไร้อารยะ(Uncivilized/Uncultured)ซึ่งส่งผลต่อภาพรวมที่เร่งสะท้อนจุดมุ่งหมายของการออกส�ารวจตามแนวคิดลัทธิจักรวรรดินิยมที่อ้างถึงภาระคนขาว(WhiteMan’sBurden)โดยรัดยาร์ดคิปลิ่ง(RudyardKipling)มองว่าการล่าอาณานิคมเป็นภาระที่ยิ่งใหญ่เป็นสิ่งจ�าเป็นถือเป็นภาระโดยชอบธรรมตามความปรารถนาของพระผู้เป็นเจ้า(RonaldH.Bayor,2004,p.405-407)อันจะน�าไปสู่การบีบคั้นครอบง�าตีความภาพรวมของผู้คนในท้องถิ่นเหล่านี้เพื่อเป้าหมายเดียวคือการพยายามเข้าครอบครองดินแดนเหล่านี้โดยอ้างเหตุเพื่อต้องการยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือพัฒนาปลดแอกดินแดนเหล่านี้จากการอ�านาจการปกครองของผู้ปกครองเดิม (รัฐสยาม) ที่ฝรั่งเศสมองว่า “ท�าได้ไม่ดีพอ” น�าไปสู่การพยายามสร้างความนิยมแก่ทางฝ่ายฝรั่งเศส(Dommen,ArthurJ,1985,p.27)และเพื่อป้องกันการขยายอ�านาจของอังกฤษเข้ามายังดินแดนแถบนี้ เนื่องจากในเวลานั้น อังกฤษสามารถยึดครองพม่าได้แล้ว (จิราภรณ์ สถาปนะวรรธนะ,2523,หน้า14)อย่างไรก็ตามภาพดินแดนอีสานและลาวตามความเข้าใจของนักส�ารวจชาวฝรั่งเศสนั้น หมายรวมเป็น ดินแดนลาว ผู้คนท้องถ่ินในดินแดนแถบนี้คือ ชาวลาว กลุ่มชาติพันธุ์ลาวเป็นส่วนใหญ่ ข้อมูลจากรายงานการส�ารวจสะท้อนความเป็นบ้านป่าเมืองเถ่ือนของดินแดนแถบนี้ ผู้คนยังคงป่าเถื่อน (Barbarian) ห่างไกล

    1 อาจารย์ประจ�าสาขาวิชาสังคมศึกษาระดับปริญญาตรีคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม2 อาจารย์ประจ�าวิขาสังคมศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

  • วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม ปีท่ี 16 ฉบบัท่ี 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถนุายน 2562

    Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019

    14

    ความเจริญอย่างเห็นได้ชัดซึ่งมูลเหตุหนึ่งมาจากระบบการปกครองในท้องถิ่น กลุ่มนักส�ารวจที่ส�าคัญในช่วงเวลาแห่งการส�ารวจนี้ได้แก่อองรีมูโอต์(HenriMouhot)พ.ศ.2401-พ.ศ.2404,คณะส�ารวจใหญ่ภายใต้การน�าของดูดาร์ตเดอลาเกร(DudartdeLagree)และฟรองซิสการ์นิเยร์(FrancisGarnier)พ.ศ.2409-พ.ศ.2411,ฟรองซัวร์จูลส์ฮาร์มานด์(FrancoisJulesHarmand)พ.ศ.2420,คณะส�ารวจภายใต้การน�าของออกุสต์ปาวี (AugustPavie)พ.ศ.2422-พ.ศ.2439,พอลเนอีส(PaulNeis)พ.ศ.2425,เอเจียนแอมอนิเย(EtienneAymonier)พ.ศ.2425-พ.ศ.2440ข้อมูลเชิงประจักษ์ในรูปแบบ“ทัศนะ”จากกลุ่มรายงานการส�ารวจแสดงจดุประสงค์หลกัในการส�ารวจดินแดนในแถบลุม่แม่น�า้โขงในช่วงพทุธศตวรรษที่25ซึง่ในบรบิททางประวติัศาสตร์นัน้การออกส�ารวจเพือ่สร้างองค์ความรูท้ัง้ทางธรรมชาตวิทิยาทางภมูศิาสตร์ตลอดจนด้านมานษุยวทิยาต่างๆ ถอืเป็นส่วนหนึง่ของการแผ่ขยายลัทธิอาณานิคมและจักรวรรดินิยมของชาติตะวันตก(ชาญวิทย์เกษตรศิริ.2555.หน้า186) ช่วงเวลาแห่งการส�ารวจ เมื่อครั้งที่มูโอต์เข้ามาส�ารวจดินแดนอีสานและลาวในช่วงพุทธศตวรรษที่ 25 ซ่ึงระยะเวลาการส�ารวจคาบเกี่ยวกบัช่วงปลายการปกครองในสมยัรชักาลที่4มโูอต์ได้วพิากษ์วจิารณ์ระบบสถาบนักษตัรย์ิของสยามณช่วงเวลานัน้ว่า“…เป็นสถาบันที่มีความเป็นลักษณะเฉพาะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสยาม เขมรและลาวที่คงมีพระราชประเพณีการแต่งตั้งกษัตริย์องค์ที่ 2 (The second king) ที่แสดงถึงความแปลกประหลาดกว่าที่อื่น ๆ มีการจัดเรียงล�าดับผู้มีอ�านาจ อันสะท้อนให้เห็นข้อจ�ากัด ที่มิสามารถก�าหนดได้อย่างง่ายดาย อยู่ภายใต้ชื่ออย่างเป็นทางการว่า วังหน้า (Wangna)…”(HenriMouhot.2009p.11)โดยในช่วงเวลานัน้ผูด้�ารงต�าแหน่งวงัหน้าทีม่โูอต์กล่าวถงึคือพระบาทสมเดจ็พระป่ินเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้เป็นพระอนุชาของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 แต่ตัวมูโอต์เองนั้นมีทัศนะคติที่ดีต่อองค์พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวผู้เป็นพระอนุชามากกว่าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่4อนัแสดงออกด้วยการกล่าวถงึพระองค์ว่า“…พระองค์ทรงมคีวามเป็นสภุาพชนทีส่มบรูณ์แบบเพยีบพร้อมด้วยจติใจทีไ่ด้รับการปลูกฝังมาเป็นอย่างดี มีความสามารถในการเขียนและพูดในภาษาอังกฤษ มีพระราชวังชั้นน�าที่ตกแต่งประดับประดาตามแบบตะวนัตกเช่นเรามวีถิชีวีติทีม่ัง่คัง่มสีกลุและเรยีนรูว้ถิแีบบชาวยโุรปพระองค์ทรงโปรดปรานหนงัสือและงานวจิยัทางวทิยาศาสตร์และทรงคุน้เคยกบัอารยธรรมสมยัใหม่(Moderncivilization)พระองค์ทรงมดีมูรีะดบัมากกว่าพระเชษฐาทรงมีความสามารถในการบริหารจัดการรัฐบาลมีความเป็นรัฐบุรุษและเป็นที่น่าเสียพระทัยมากกว่าใครๆกับสภาวะเงื่อนไขอันน่าเศร้าในประเทศอันแสนเฉื่อยชาของพระองค์...” อาจกล่าวได้ว่ามูโอต์แสดงความรู้สึกผิดหวังต่อการจัดวางต�าแหน่งกษัตริย์ของสยามเนื่องจากมูโอต์มีความเห็นว่าพระบาทสมเดจ็พระป่ินเกล้าเจ้าอยูห่วันัน้เป็นผูม้วีสิยัทัศน์และมองการณ์ไกลสามารถน�าพาสยามไปสูค่วามเจรญิตามแบบตะวนัตกเพราะทรงเป็นผูม้อีารยะ(Civilized)ตรงตามมาตรฐานของชาวตะวนัตกจงึมิสมควรจะด�ารงเพยีงต�าแหน่งรอง เหตุที่มูโอต์มีทัศะคติที่ชื่นชมพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นอย่างมาก และรู้สึกผิดหวังต่อการจัดวางต�าแหน่งกษัตริย์ของสยามเนื่องจากมูโอต์มีความเห็นว่าพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นเป็นผู้มีลักษณะที่มองการณ์ไกล สามารถน�าพาประเทศไปสู่ความเจริญตามแบบตะวันตก เพราะทรงเป็นผู้มีความศิวิไลซ์ (Civilized) ตามมาตรฐานของชาวตะวันตก มิสมควรจะด�ารงเพียงต�าแหน่งรอง เนื่องจากในช่วงปลายสมัยรัชกาลที่ 3 สมเด็จเจ้าฟ้าทั้งสองพระองค์เป็นทีรู้่จกักนัอย่างกว้างขวางทัง้ในหมูช่าวไทยและชาวต่างประเทศจากการทีท่รงพระปรชีาสามารถแต่สมเดจ็เจ้าฟ้ามงกุฎ(รัชกาลที่4)ทรงอยู่ในสมณเพศนานถึง27ปีตลอดสมัยของรัชกาลที่3จึงเป็นข้อจ�ากัดให้พระองค์ทรงมีผลงานเด่นชัดเฉพาะวงการศาสนาเป็นส่วนใหญ่ ในขณะที่สมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ทรงมีบทบาทส�าคัญเป็นที่ประจักษ์ชัดหลายด้าน โดยเฉพาะการป้องกันประเทศและการทหาร (คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์

  • วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม ปีท่ี 16 ฉบบัท่ี 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถนุายน 2562

    Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019

    15

    200ปี.2525.หน้า26) อาณาจกัรสยามตามความเข้าใจของมโูอต์แบ่งการปกครองออกเป็นสีส่บิเอด็จังหวดัโดยมตี�าแหน่งหัวหน้าปกครองสงูสดุคอืพระยา(Phaja)หรอืเจ้าเมอืง(Governor)แบ่งออกเป็นหลายหวัเมืองภายใต้อ�านาจเจ้าหน้าทีที่ม่ตี�าแหน่งน้อยกว่าตามล�าดับ(HenriMouhot.2009.p.16)ในส่วนของดินแดนอีสานและลาวนั้นการ์นิเยร์กล่าวถึงระบบราชการและการบริหารงานตามเมืองต่างๆของชาวลาวว่ามีส่วนคล้ายกับที่ใช้กันในกรุงเทพฯหรือในเขมรหากเจ้าเมืองมีศักดิ์เป็นกษัตริย์ดังเช่นที่เมืองจ�าปาศักดิ์จะถูกเรียกขานน�าพระนามว่าแก้วเมือง(KiaoMoung)โดยมี3บุคคลส�าคัญที่อยู่ภายใต้อ�านาจของตนคือต�าแหน่งอุปราช(Opalat)ซึ่งเป็นต�าแหน่งที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิงกับต�าแหน่งกษัตริย์องค์ที่2ของสยามต�าแหน่งราชวงศ์ (Latsvong)และต�าแหน่งราชบุตร(Latsbout)ซึ่งระบบนี้เป็นรูปแบบกิตติมศักดิ์และตามรปูการณ์แล้วนัน้ยงัแสดงให้เหน็ถงึความมีอสิรภาพของดนิแดนลาวเนือ่งจากยงัคงปกครองด้วยเลือดเนือ้เชือ้ไขของกษตัรย์ิแต่ดั้งเดิม ที่ซึ่งทางกรุงเทพฯ ยังคงท�าการแต่งตั้งบุคคลส�าหรับด�ารงต�าแหน่งนี้อย่างเป็นทางการ (Francis Garnier.1996.p.85)แต่อย่างไรก็ตามผู้ปกครองชาวสยามจะมีอิทธิพลต่อชีวิตและความตาย(Poweroflifeanddeath)ของผู้คนในท้องถิ่นด้วยการพินิจพิจารณาในฐานะอุปราช(Viceroys)เมืองที่อยู่ห่างไกลมากที่สุดจะขึ้นตรงกับพระราชอาณาจักรสยาม(EmpireofSiam)และถือเป็นส่วนหนึ่ง…”(HenriMouhot.2009.p.304-305)ผู้ใดก็ตามที่ได้ครอบครองกรุงเทพฯจะมีสถานะเป็นผู้ปกครงดินแดนทั้งหมด(HenriMouhot.2009.p.308) กลุ่มคณะส�ารวจชาวฝรั่งเศสรับรู้ว่าสยามได้มีอิทธิพลด้านการปกครองอยู่เหนือดินแดนอีสานลาวและเขมรดังเช่นทีก่าร์นเิยร์กล่าวไว้ว่าดนิแดนบรเิวณแถบลุม่แม่น�า้โขงอยูภ่ายใต้การปกครองของสยามแต่ทางฝรัง่เศสกย็งัคงพบการต่อต้านสยามอยูบ้่างในบรเิวณนี้การ์นเิยร์ได้วพิากษ์วจิารณ์เกีย่วกบัปัญหาทีอ่าจจะเกดิขึน้ทีอ่าจจะน�าไปสูอ่ปุสรรคต่อการขยายอิทธิพลภายในแถบอินโดจีนของฝรั่งเศส(FrancisGarnier.1996.p.81)นอกจากนี้อิทธิพลของสยามที่มีในดนิแดนลาวยงัรวมไปถงึการเฟ้นหาช้างเผอืกมโูอต์กล่าวว่าช้างเผอืกทีถ่กูจบัได้ในดนิแดนลาวจะถกูน�าส่งไปยงักรงุเทพฯ(HenriMouhot.2009.p.309)ขณะที่ขบวนช้างเผือกหลายสิบเชือกก�าลังมุ่งหน้าลงไปยังกรุงเทพฯนั้นจะเดินทางกันเป็นขบวนใหญ่โต สง่างามมาก เหล่าขุนนางและกลุ่มข้าราชการทั้งชาวลาวและสยามต่างพร้อมเพรียงกันในการดูแลเอาใจใส่ช้างเผือกเนื่องจากชาวสยามมีความเชื่อในเรื่องของโชคลางเป็นอย่างมากและศรัทธาเกี่ยวกับการสลับร่างย้ายวิญญาณจึงเชื่อกันว่าจิตวิญญาณของเจ้าฟ้าหรือกษัตริย์องค์ก่อนๆได้เชื่อมผ่านมายังช้างเผือกนอกจากศรัทธาในช้างเผอืกแล้วนัน้ยงัมลีงิเผอืกและคนสตัว์หรอืพชืทีม่ผีวิเผอืก(Albinos)เพราะเหตนุีพ้วกเขาจงึยกย่องบชูาด้วยความเคารพนบัถอืพวกเขาเคารพและศรทัธาต่อช้างเผอืกทีจ่ะน�าโชคมาสูบ้่านเมอืงในขณะทีช้่างเผอืกก้าวเดนิจะมคีนคอยถางกิง่ไม้เพ่ือเปิดทางให้ตลอดเวลาและจะมคีนคอยเลีย้งดนู�าอาหารหลากชนดิซึง่จดัวางในภาชนะถ้วยชามทีท่�ามาจากทองค�าแท้และกษตัรย์ิจะทรงเป็นผูเ้ดนิทางออกมาพบช้างเผอืกด้วยตนเองแต่มโูอต์กลบัมองว่าช้างเผอืกเหล่านีน่้าสงสารเพราะถกูเลีย้งดดูมีากจนเกนิพอดีท�าให้ช้างเผอืกบางเชอืกต้องล้มลงเพราะอาหารมย่ิอยซึง่เมือ่ช้างเผอืกล้มลงกบ็งัเกดิความทกุข์ใจอย่างแสนสาหสัโดยทัว่เหล่าขนุนางและบรรดาบคุคลส�าคญัต่างรวมกนัเพือ่แสดงความโศกเศร้าแก่มนั(HenriMouhot.2009.p.93.)กล่าวว่าอนัท่ีจรงิแล้วช้างเผอืกท่ีว่านัน้มเีพยีงจุดด่างมกิีจ่ดุตามร่างกายของช้างและการทีท่ัง้กษตัรย์ิและกลุม่ข้ฝาราชบรพิารต่างพากนัไว้ทกุข์ต่อช้างอันเปรยีบเสมอืนวตัถบุชูาของพวกเขาทีไ่ด้จากไปเนือ่งมาจากอาหารมย่ิอยนี้ช่างดูน่าเวทนาทั้งสัตว์ทั้งตัวกษัตริย์(HenriMouhot.2009.p.106.)ก่อนที่มูโอต์จะออกเดินทางสู่แถบที่ราบสูงโคราช มูโอต์ได้กล่าวถึงการประสานงาและการติดต่อท�าเรื่องผ่านแดนที่กรุงเทพฯ รวมถึงสนธิสัญญาระหว่างทางกงสุลฝร่ังเศสและคณะปกครองสยามอนัถอืเป็นข้อบงัคบัทีก่�าหนดให้พระมหากษตัรย์ิให้ความช่วยเหลือและปกป้องชาวฝรัง่เศสโดยเฉพาะอย่างยิง่กลุม่มิชชนันารแีละนกัธรรมชาตวิทิยาเอกสารเหล่านีจ้ะช่วยอ�านวยความสะดวกในการเดนิทางของมูโอต์อาทิช่วยจดัหาววัหรอืช้างตามแต่มโูอต์จะร้องขอเนือ่งจากเมอืงในดนิแดนลาวนัน้อยูภ่ายใต้ขอบเขตอ�านาจข้าหลวง

  • วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม ปีท่ี 16 ฉบบัท่ี 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถนุายน 2562

    Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019

    16

    ของสยาม(HenriMouhot.2009.p.322.)แต่มูโอต์กล่าวว่าเมื่อเดินทางส�ารวจมาถึงเมืองชัยภูมิและเข้าพบเจ้าเมอืงเพือ่ตดิต่อขออนญุาตเช่าช้างและวัวเพือ่ใช้ในการเดนิทางต่อไปมโูอต์ได้แสดงหนงัสอืของทางฝรัง่เศสจดหมายจากสมุหพระกลาโหมและจากเจ้าเมืองโคราชแต่กลับไร้ประโยชน์เพราะเจ้าเมืองชัยภูมิได้ปฏิเสธที่จะให้ความช่วยเหลือโดยกล่าวว่าหากมูโอต์ต้องการวัวหรือช้างนั้น ตามป่าก็มีอยู่เป็นจ�านวนมากซึ่งสามารถหาเองได้ง่ายๆ โดยมิถึงกับต้องให้ทางการช่วยเหลอืนอกจากนี้มโูอต์อาจหาเอาจากชาวบ้านแต่มโูอต์เกรงว่าต้องเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าปกตสิองถงึสามเท่าซึ่งมูโอต์มิได้มีเงินพอที่จะจ่ายเนื่องจากมิได้คาดคิดถึงเรื่องนี้มาก่อนท�าให้มูโอต์มิสามารถเดินทางต่อได้จึงตัดสินใจเดินทางย้อนกลับมายังกรุงเทพฯเพื่อร้องขอความช่วยเหลือจากกงสุลสมุหพระกลาโหมและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวอันเป็นเหตุให้มูโอต์ต้องเสียเวลาในการเดินทางเป็นอย่างมาก(HenriMouhot.2009.p.334.)ดังที่มูโอต์กล่าวว่า“…ทีน่ีเ่ป็นหนึง่ในทีท่ีม่สิามารถจะท�าอะไรได้โดยปราศจากความช่วยเหลือของผู้ทีม่อี�านาจ...”(HenriMouhot.2009.p.92.)ซึ่งในภายหลังจากนั้นมูโอต์ได้ขอเข้าพบเจ้าเมืองสระบุรีและแจ้งเรื่องราวที่ตนได้พบเจอจากเจ้าเมืองชยัภมูใิห้เจ้าเมอืงสระบรุรีบัฟังในขณะทีเ่จ้าเมอืงสระบรุสีัง่ให้คนรบัใช้เขยีนจดหมายตามค�าบอกของตนเพือ่จะน�าเรือ่งส่งไปยงัเจ้าเมอืงชยัภมูิเจ้าเมอืงสระบรุไีด้แสดงอาการมพิอใจและเรียกเจ้าเมอืงชัยภมูว่ิาคนโง่เขลาเบาปัญญาพร้อมกบัข่มขู่ว่าจะถอดถอนต�าแหน่งของเจ้าเมืองชัยภูมิ ซึ่งเจ้าเมืองสระบุรีระบุว่า หากมูโอต์มิได้รับความช่วยเหลืออย่างเต็มประสทิธภิาพกอ็าจจะน�าสงครามมาสูส่ยามการแสดงออกของบรรดาเจ้าเมอืงของสยามเยีย่งนี้แสดงให้มโูอต์เหน็ว่าสยามหวาดกลัวภัยจากการกระท�าในทุกๆด้านที่อาจก่อให้เกิดสงครามกับชาติยุโรปและด้วยความขุ่นเคืองจากเรื่องราวที่ตนได้รบัจากเจ้าเมอืงชยัภูมใินขณะนัน้มโูอต์จงึได้เขยีนบรรยายความคดิของตนในรายงานการส�ารวจว่า“…เหตทุีเ่กดิขึน้กบัข้าพเจ้าดังกล่าวได้บรรลุผลข้าพเจ้าสามารถมองเห็นแจ่มแจ้งว่ากิจการของประเทศเรา(ฝรั่งเศส)จะสามารถด�าเนินได้เป็นอย่างดีในโคชินจีน เสียงก้องกังวานของปืนใหญ่จะส่งผลกระทบต่อสยาม...” อย่างไรก็ตามมีการด�าเนินการจัดการเรื่องราวที่เกิดกับให้มูโอต์ในภายหลังจากการประสานของเจ้าเมืองโคราชและเจ้าเมืองสระบุรี การที่บรรดาเจ้าเมืองและผู้น�าท้องถ่ินในแต่ละที่ที่มูโอต์ท�าการส�ารวจผ่าน ได้ให้ความช่วยเหลือจัดหาสิ่งจ�าเป็นรวมถึงพาหนะให้แก่คณะส�ารวจของมโูอต์ตามค�าร้องขอเม่ือบ่อยคร้ังเข้ายิง่ส่งผลให้มโูอต์รูส้กึหยิง่ผยองกบัการให้เกยีรติและการนอบน้อมจากบรรดาผู ้น�าในแต่ละท้องที่ที่ตนท�าการส�ารวจผ่าน ดังความตอนหน่ึงของมูโอต์ท่ีกล่าวว่า “…หากข้าพเจ้าเป็นราชทตูของกษตัรย์ิ(King’sEnvoy)คงอดทีจ่ะขบขนัเสยีมไิด้ทีเ่ห็นบรรดาเหล่าผูน้�าในท้องถิน่ปฏบิตัิตามทีค่นงานของข้าพเจ้าสัง่”(HenriMouhot.2009.p.341.)ในเกอืบทกุครัง้ทีค่ณะส�ารวจเข้าไปส�ารวจยงัเมอืงแต่ละเมืองที่คณะส�ารวจของตนจะท�าการส�ารวจและพักแรมจะเข้าไปแสดงตนต่อเจ้าเมืองกษัตริย์รวมถึงเหล่าเชื้อพระวงศ์ผู้มีอ�านาจในเมืองนั้นๆก่อนอาทิมูโอต์ที่ได้รับการตอนรับจากเหล่าเชื้อพระวงศ์ชาวลาวอย่างเป็นมิตรได้รับการต้อนรับจากกษัตริย์ลาวเป็นอย่างดี และกล่าวว่าตนเป็นท่ีโปรดปราน (Henri Mouhot. 2009. p. 102.) ดังความว่า “…ข้าพเจ้าได้มีโอกาสเข้าพบเจ้าผู้ครองเมืองหลวงพระบางผู้ซึ่งมียศถาบรรดาศักดิ์ตามแบบกษัตริย์ข้าพเจ้ามิรู้ว่าเพราะเหตุใด แต่พวกเขาได้แสดงท่าทีอันเป็นประโยชน์แก่ข้าพเจ้า ด้วยทั้งหมดที่พวกเขาคิดเตรียมการมาอย่างเอิกเกริกและงดงาม...”(HenriMouhot.2009.p.349.)ซึง่ธรรมเนียมการเข้าเฝ้าและกระบวนการตดิต่อกษตัรย์ิและเหล่าขนุนางชั้นสูงอยู่เนืองนิจในดินแดนเหล่านี้แอมอนิเยมองว่าเป็นสิ่งที่ไร้สาระคล้ายกับจะบ่งบอกแก่ผู้รอเข้าเฝ้าว่าคงมิได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นมากนัก(เอเจียนแอมอนิเย.2541.หน้า28.)ดินแดนลาวทางฝั่งซ้ายของแม่น�้าโขงขึ้นตรงกับฝ่ายสยามอาทิเมืองหลวงพระบางที่ส่งมอบเครื่องบรรณาการให้แก่กรุงเทพฯเห็นได้จากขณะที่มูโอต์ท�าการส�ารวจดินแดนลาวในปีพ.ศ.2404คนรบัใช้ชาวลาวของมโูอต์ขออนญุาตไปเข้าร่วมตดิตามกลุ่มข้าราชบรพิารของกษตัรย์ิแห่งเมอืงหลวงพระบางที่ก�าลังจะลงไปถวายเครื่องราชบรรณาการยังกรุงเทพฯ(HenriMouhot.2009.p.352.)โดยกษัตริย์ลาวแห่งเมอืงหลวงพระบางจ�าต้องเสดจ็ด้วยพระองค์เองพร้อมกบักลุ่มข้าราชบริพารของพระองค์เพ่ือน�าเคร่ืองราชบรรณาการ

  • วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัมหาสารคาม ปีท่ี 16 ฉบบัท่ี 1 (30) ประจ�าเดือนมกราคม - มิถนุายน 2562

    Journal of Education Rajabhat Maha Sarakham University Vol. 16 No. 1 (30) January - June 2019

    17

    ไปสู่กรุงเทพฯ(HenriMouhot.2009.p.102.)ซึ่งในส่วนของเครื่องราชบรรณาการมูโอต์บรรยายว่าเครื่องราชบรรณาการประกอบด้วยทองค�าหรือเงินจากหลายๆเมืองทั้งเมืองชัยภูมิและเมืองภูเขียวเป็นจ�านวน8บาทต่อหัวบ้างก็จ่ายเป็นผ้าไหมที่ชั่งน�้าหนักโดยเหล่าข้าราชการชั้นสูงเช่นเดียวกับผลกระวานที่เมืองโพธิสัตว์และเมืองพระตะบองโดยพวกเขา(เหล่าข้าราชการชั้นสูงชาวสยาม)ก�าหนดเอง(HenriMouhot.2009.p.330.) เมื่อคราวที่เดอการ์เนเดินทางส�ารวจยังเมืองอุบลคณะส�ารวจได้รับการต้อนรับอย่างดีจากเจ้าเมืองอุบลทั้งสารเชือ้เชิญและของก�านัลจ�านวนมากท�าให้�