1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf ·...

22
การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 16 “งานวิจัยเพื่อพัฒนาทองถิ่น” 1347 ความสัมพันธของเสียงกับความหมายของคําเลียนเสียง ที่ปรากฏในวรรณคดีประเภทลิลิต Relation of Sound And Meaning of Onomatopoeic Words in Lilit Literatures สุนิษา สุรินทรแกว 1 นราวัลย พูลพิพัฒน 2 และ สนิท สัตโยภาส 3 Sunisa Surinkaew 1 1 นักศึกษาระดับปริญญาโท คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม 1 2,3 อาจารยที่ปรึกษาหลัก รองศาสตราจารย คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษารูปสัญญะของคําเลียนเสียงธรรมชาติในภาษาไทยในดานความสัมพันธ ของเสียงพยัญชนะตน พยัญชนะทายและเสียงสระกับความหมายที่ปรากฏในลิลิต แหลงขอมูลที่ใชศึกษาไดจากวรรณคดีประเภทลิลิต 3 เรื่อง คือ ลิลิตยวนพาย ลิลิตพระลอ และลิลิตตะเลงพาย โดยคัดคําจากที่มาของคํา คือ เสียงที่เกิดจากวัตถุและกิริยาของมนุษยและสัตว โดยใชเครื่องมือในงานวิจัยคือแผนบันทึก และตารางความสัมพันธของเสียงกับความหมาย ผลการวิจัยพบวา คําเลียนเสียงธรรมชาติในวรรณคดีประเภทลิลิตมีจํานวน 165 คํา แบงเปน ลิลิตยวนพาย จํานวน 28 คํา ลิลิตพระลอจํานวน 76 คํา และลิลิตตะเลงพาย 61คํา มีความสัมพันธของเสียงกับความหมาย 4 กลุคือ เสียง การเคลื่อนไหว แสงสวาง และความรูสึก ดานลักษณะคําพบ 2 ลักษณะ คือ พยางคเดียวและ การซ้ําคํา และประเภทคําเลียนเสียงธรรมชาติ 5 ประเภท คือ มนุษย สัตว สิ่งของ ธรรมชาติ และสิ่งเหนือธรรมชาติ คํา เลียนเสียงธรรมชาติในมุมมองภาษาศาสตร ไดนับเสียงที่เกิดจากลักษณะทางกายภาพของวัตถุ และเสียงที่อยูภายในใจ เปนคําเลียนเสียงธรรมชาติดวย คําสําคัญ : คําเลียนเสียงธรรมชาติ เสียงกับความหมาย ลิลิต Abstract This study investigates the relationship between meaning of onomatopoeic words and their use of initial consonant sounds, vowel sounds and final sounds Thai Lilit literature. All sounds examined were Thai onomatopaeic symbols, for example,. Data for the study was elicited form three Lilit texts: Lilit Yuanpai, Lilit Pralor and Lilit Talengpai, noting every occurrence of onomatopoeic words caused by objects, persons and animals in the texts, using a table of sound relations and a sound-relationship graph.

Transcript of 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf ·...

Page 1: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1347

ความสัมพันธของเสียงกับความหมายของคําเลียนเสียง

ที่ปรากฏในวรรณคดีประเภทลิลิต

Relation of Sound And Meaning of

Onomatopoeic Words in Lilit Literatures

สุนิษา สุรินทรแกว1 นราวัลย พูลพิพัฒน2 และ สนิท สัตโยภาส3

Sunisa Surinkaew1 1นักศึกษาระดับปริญญาโท คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม1

2,3อาจารยที่ปรึกษาหลัก รองศาสตราจารย คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษารูปสัญญะของคําเลียนเสียงธรรมชาติในภาษาไทยในดานความสัมพันธ

ของเสียงพยัญชนะตน พยัญชนะทายและเสียงสระกับความหมายที่ปรากฏในลิลิต

แหลงขอมูลที่ใชศึกษาไดจากวรรณคดีประเภทลิลิต 3 เรื่อง คือ ลิลิตยวนพาย ลิลิตพระลอ และลิลิตตะเลงพาย

โดยคัดคําจากที่มาของคํา คือ เสียงที่เกิดจากวัตถุและกิริยาของมนุษยและสัตว โดยใชเครื่องมือในงานวิจัยคือแผนบันทึก

และตารางความสัมพันธของเสียงกับความหมาย

ผลการวิจัยพบวา คําเลียนเสียงธรรมชาติในวรรณคดีประเภทลิลิตมีจํานวน 165 คํา แบงเปน ลิลิตยวนพาย

จํานวน 28 คํา ลิลิตพระลอจํานวน 76 คํา และลิลิตตะเลงพาย 61คํา มีความสัมพันธของเสียงกับความหมาย 4 กลุม

คือ เสียง การเคลื่อนไหว แสงสวาง และความรู สึก ด านลักษณะคําพบ 2 ลักษณะ คือ พยางคเดียวและ

การซ้ําคํา และประเภทคําเลียนเสียงธรรมชาติ 5 ประเภท คือ มนุษย สัตว สิ่งของ ธรรมชาติ และสิ่งเหนือธรรมชาติ คํา

เลียนเสียงธรรมชาติในมุมมองภาษาศาสตร ไดนับเสียงที่เกิดจากลักษณะทางกายภาพของวัตถุ และเสียงที่อยูภายในใจ

เปนคําเลียนเสียงธรรมชาติดวย

คําสําคัญ : คําเลียนเสียงธรรมชาติ เสียงกับความหมาย ลิลิต

Abstract

This study investigates the relationship between meaning of onomatopoeic words and their

use of initial consonant sounds, vowel sounds and final sounds Thai Lilit literature. All sounds

examined were Thai onomatopaeic symbols, for example,.

Data for the study was elicited form three Lilit texts: Lilit Yuanpai, Lilit Pralor and Lilit

Talengpai, noting every occurrence of onomatopoeic words caused by objects, persons and animals

in the texts, using a table of sound relations and a sound-relationship graph.

Page 2: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1348

There are 165 words in the selected texts, divided as 28 words in Lilit Yuanpai, 76 words in

Lilit Pralor and 61 words in Lilit Talengpai. The words were separated into four meanings: volume,

lighting, movement and feeling. Onomatopoeic quality in Thai can be classified into two types:

monosyllabic and repeated words. This study also discovered that Thai onomatopoeia has five sub-

types: human, animal, object, natural and supernatural sounds. The study discovered that physical

characteristics of items and internal reactions were cause for onomatopoeic use.

Keywords : Onomatopoeia, Sounds And Meanings, Lilit

บทนํา

วรรณคดีไทยตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งวรรณคดีสโมสร เมื่อพุทธศักราช 2457 ระบุวา วรรณคดี ไดแก

หนังสือ 5 ประเภท คือ กวีนิพนธ ละครไทย นิทาน ละครพูด และคําอธิบาย จัดวาเปนหนังสือแตงดีและเปนวรรณคดี

ดวย และกวีนิพนธเปนหนึง่ในประเภทของวรรณคดีไทย ประกอบดวย โคลง ฉันท กาพย กลอน ราย และลิลิต คุณสมบัติ

ของกวีนิพนธที่ไดรับความยกยองวาเปน “วรรณคดี” คือ กวีนิพนธที่มีวรรณศิลป ซึ่งวรรณศิลปนั้น ทําใหผูอานเกิด

อารมณ และจินตนาการคลอยตามกวี

ลิลิตเปนวรรณคดีที่แตงดวยคําประพันธประเภทโคลงและรายสลับกัน เริ่มพบหลักฐานในการแตงลิลิตในสมัย

อยุธยา เชน ลิลิตยวนพายมีเนื้อหาเกี่ยวกับการสดุดีวีรกรรมของพระมหากษัตริยในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ลิลิต

พระลอมีเนื้อหาเกี่ยวกับโศกนาฏกรรมความรักระหวาง พระลอ พระเพื่อน และพระแพง เปนตน

ลิลิตยวนพาย กวีไดสรางขึ้นจากสภาพแวดลอมของสังคมและการเมือง ทั้งซาบซึ้งในวีรกรรมความกลาหาญ

ของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและนักรบ ซึ่งเปนเหตุการณสําคัญที่เกิดขึ้นในบานเมือง การใชภาษาถอยคําเปนคํา

โบราณ ลักษณะการอานคําแตกตางจากสมัยปจจุบัน คําที่ใชจะสื่อถึงสงครามและความกลาหาญ ดังตัวอยางเชน

เพื่อเกรงพระเจาคลื่น คลาพล แลพอ

พรั่นพรั่นอกพลแสน ส่ํากลา

ครันเสด็จดํกลหัวเมืองมอบ แลวแฮ

กลับเกล่ือนพลชางมา คลาวเมือ

(ลิลิตยวนพาย, 2512:25)

จากโคลงขางตน เห็นไดวา กวีไดเลือกคําใชอยางเหมาะสมกับบริบท เพื่อสะทอนถึงสภาพเหตุการณ

บานเมืองจริง

ลิลิตพระลอ กวีได ใชถอยคําเกาคราวเดียวกับลิลิตยวนพาย ภาษาในวรรณคดีนี้สะทอนสภาพชีวิต

ความเชื่อทั้งในพระพุทธศาสนาและไสยศาสตร ดังตัวอยางเชน

Page 3: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1349

ราย 83

“...ปูก็ธิญาณเล็งดู กูจะชวย ควรฤๅมิควร รูทั้งมวลทุกอัน ดวยผลกรรมเขาแตกอน ทําหยอน

หยอนตึงตึง สวนจะถึงบมิหยุด เทาวาจะพลันสุดพลันมวย ดวยผลกรรมเขาเอง...”

(ลิลิตพระลอ,2469:22)

จากรายขางตน เห็นไดวา กวีไดเลือกคําที่สะทอนถึงแนวคิดผลกรรมจากการกระทําของพระลอ พระเพื่อน

และพระแพง ในอดีตแลวสงผลมายังปจจุบัน คําที่ใชแตงก็สะทอนตามความคิดที่กวีตองการจะสื่อถึง

อิทธิพลของวรรณคดีทั้งสองมีตอการสรางสรรควรรณคดีในยุคตอมา เชน ลิลิตยวนพาย เปนแมแบบของการ

แตงวรรณคดีสดุดี เชน ลิลิตตะเลงพายของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรามานุชิตชิโนรส ในสมัยรัตนโกสินทร กวี

แตงเพื่อสดุดีสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มีการเลียนแบบตั้งชื่อลิลิต โดยใชคําวา “พาย” เชนเดียวกัน และ เมื่อนําบาง

โคลงจากลิลตยวนพาย มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเคลื่อนทัพชางศึกวา

แพนดั้งไยไยเขา ทักแทน กอนนา

ตัวตอตัวลาวตาย ตื่นหยั้น

หางยูงหักโหมแพน ทองทาว

ญวนพายพลลานรน คายคึง

(ลิลิตยวนพาย, 2512:)

จากโคลงขางตน กวีเลือกใชคําวา “ไยไย” บรรยายลักษณะการเคลื่อนทัพชางศึก และลิลิตตะเลงพาย พบวามี

การใชคําที่เหมือนกันวา

โคลงสี่ 74

ไยไยคชไตเตา ตามทาง

พลางคะนึงนุชพลาง ทานไห

แลไหนบลืมนาง หนายเสนห

นึกบวายสวาทไท ธิราชราวรานสมร

(ลิลิตตะเลงพาย2542:34)

เห็นไดวา ลิลิตตะเลงพายใชคําวา “ไยไยคชไตเตา” ซึ่งคลาย “แพนดั้งไยไยเขา” ในลิลิตยวนพาย แสดงถึงลิลิต

ตะเลงพายไดรับอิทธิพลจากลิลิตยวนพาย ทั้งแนวคิดและการใชคํา

ลิลิตตะเลงพายยังมีการใชคําที่คลายกับวรรณคดีอื่น เชน ลิลิตพระลอ ในการบรรยายเหตุการณตอสูของ

พระลอ พระเพื่อนและพระแพง กับ ทหารของสมเด็จยา ดังรายตอนหนึ่งในลิลิตพระลอ (2469:4) กลาววา

Page 4: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1350

“แกวงตาวฟนฉฉาด แกวงดาบฟนฉฉัด”

จากราย เห็นไดวา กวีไดใชคําวา “ฉฉาด” /chachãat/แสดงถึงเสียงกระทบดังของตาว หรือดาบใหญ พบวาใน

ลิลิตตะเลงพาย(2542:117) มีการใชคําเชนเดียวกันวา

“เงื้อดาบฟนฉฉาด งางาวฟาดฉฉับ”

เห็นไดวาเสียงของดาบใชคําวา “ฉฉาด” /chacha at/ เชนเดียวกัน

องคประกอบทางวรรณคดีประกอบดวย รูปแบบ เนื้อหา และภาษา โดยเฉพาะดานภาษา ถือเปนหัวใจหลัก

ของวรรณคดีที่การใชถอยคําในวรรณคดี ตองมีการเลือกเฟน มีความหมาย แสดงลักษณะเดนในคุณคาของวรรณคดี ซึ่ง

เสียง คํา และความหมายตองมีความสัมพันธกัน ดังที่ ดวงมน จิตรจํานงค (2541:15-19) กลาวไววา

“เสียงกับความหมายเปนสิ่งที่เปนเหตุเปนผลตอกัน เพื่อสื่อความหมายในลักษณะหนึ่ง เชน เสียงพยัญชนะตน

นาสิก บงถึงความรูสึกนุมนวล คอยเปนคอยไป ยกตัวอยางคําวา นุม นุน แนง เปนตน”

เรืองเดช ปนเขื่อนขัตย (2554:46) กลาววา เสียงที่เรียกกันในทางภาษาศาสตร คือ หนวยเสียง สําหรับใชพูดใน

ภาษา ซึ่งโครงสรางของหนวยเสียงประกอบดวย หนวยเสียงพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต และหนวยเสียงเหลานี้ เมื่อ

นํามาประกอบเปนคํา จะสามารถเปนองคประกอบของคําตาง ๆ และทําใหคําหนึ่งมีความหมายตางจากอีกคําหนึ่งได

เมื่อตางหนวยเสียงกัน เชน “หมา” /ma a/ ที่มีความหมายวา สัตวสี่เทาพวกหนึ่ง มีหลายชนิด เหา หอนได และ “มา”

/ma a/ ที่มีความหมายวา สัตวสี่เทาชนิดหนึ่ง ใชเปนพาหนะขับขี่และเทียมรถ ซึ่งคําทั้งสองตาง มีหนวยเสียงพยัญชนะ

/m/ เหมือนกัน และหนวยเสียงสระ /aa/ เหมือนกัน แตแตกตางกันที่หนวยเสียงวรรณยุกต จึงทําใหความหมายตางกัน

เสียงสวนใหญที่ กวี เลื อกเฟนจากคํา ด วย เหตุ ผลเรื่ องการสื่อถึ งอารมณ ภาพ แสง สี เสีย งและ

การเคลื่อนไหว เพื่อใหผูอานเกิดอารมณคลอยตามอารมณของกวี ไดแก การใชคําไวพจน การใชคําอัพภาส การซ้ําเสียง

การเลนคํา และการใชคําเลียงเสียงธรรมชาติ ซึ่งกวีไดแสดงลักษณะเฉพาะของตนในการเลือกใชคํา และคําเลียนเสียง

ธรรมชาติคือหนึ่งในวิธีการสรางวรรณศิลปของวรรณคดี ที่เลียนเสียงจากมนุษย สัตว สิ่งของ และธรรมชาติ ในมุมมอง

ดานภาษาศาสตรคําเลียนเสียงธรรมชาติ นอกจากคํามีความสัมพันธกับความหมายแลว เสียง ไดแก เสียงพยัญชนะตน

เสียงสระ เสียงพยัญชนะทาย และเสียงวรรณยุกตตางก็มีความสัมพันธกับความหมาย เมื่อรวมเสียงเปนพยางคกลายเปน

คําที่มีความหมายดวย เชน ฉา /cha a/ เปนคําเลียนเสียงฝน เสียงพยัญชนะ /ch/ มีความหมายเกี่ยวกับความชุมชื้น

เปยก เปนตน เสียงและคํามีความสัมพันธกับความหมายอยาง สมเหตุผล

จากการรวบรวมงานวิจัยเกี่ยวกับเรื่องเสียงกับความหมายเกี่ยวกับเสียงของคําเลียนเสียงธรรมชาติใน

ภาษาไทย มีงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องคําเลียนเสียงธรรมชาติบางเรื่องที่ศึกษาชัดเจน เชนงานวิจัยคําเลียนเสียง

ธรรมชาติของ สรบุศย รุงโรจนสุวรรณ (2550) มีเนื้อหาในการวิจัยเกี่ยวกับรูปภาษากับความหมายของคําเลียนเสียง

ธรรมชาติ ศึกษาเฉพาะกลุมเสียงพยัญชนะตน การศึกษาคําเลียนเสียงทั้งพยางค ยังขาดขอมูลที่ศึกษากลุมเสียงสระและ

เสียงพยัญชนะทาย ผูวิจัยจึงคนควางานวิจัยที่มีเนื้อหาคาบเกี่ยวกับคําเลียนเสียงธรรมชาติ สวนใหญจะมีเนื้อหาศึกษา

เฉพาะบางเสียง เชน ศึกษาเฉพาะเสียงพยัญชนะตน หรือเสียงสระ ไดแก งานวิจัยเกี่ยวกับคําวิเศษณบอกลักษณะ (อุดม

Page 5: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1351

พรประเสริฐ 2523, สมเกียรติ วัฒนาพงษากุล 2545,เจียมศักดิ์ ชนะคา 2553) งานวิจัยคําแสดงภาพลักษณ (สุริยา

ทอ ง คํ า 2550, ก ฤษ ณ า ส มบั ติ 2553) แ ล ะ ใ น ห นั ง สื อ สุ น ท รี ย ภ า พ ใ น ภ าษ า ไ ท ย ข อง ด ว ง ม น

จิตรจํานง (2541:15-27) เพื่อรวบรวมขอมูลเสียงกับความหมายในสวนที่ขาดหายไป คือ เสียงสระ และเสียงพยัญชนะ

ทาย

จากขอมูลขางตนแสดงใหเห็นวามีการศึกษาเรื่องความสัมพันธของเสียงกับความหมายของคําเลียนเสียงดาน

รูปสัญญะพยัญชนะตน เนื่องจากการศึกษาคําเลียนเสียงในมุมมองภาษาศาสตรเปนองคความรูใหม จึงทําใหผูวิจัย

ประสงคที่จะศึกษาความสัมพันธของเสียงกับความหมายของคําเลียนเสียงทั้งพยางค ไดแก เสียงพยัญชนะตน เสียงสระ

และเสียงพยัญชนะทายจากวรรณคดีประเภทลิลิตทั้งสามเรื่อง ไดแก ลิลิตยวนพาย ลิลิตพระลอ และลิลิตตะเลงพาย เพื่อ

ขยายองคความรูจากการศึกษาลิลิตดานคําเลียนเสียง ไดแก ชนิดของคําเลียนเสียง ลักษณะของคําเลียนเสียง ประเภท

ของคําเลียนเสียง ความสัมพันธของเสียงกับความหมาย และรูปสัญญะของคําเลียงเสียงกับความหมาย เปนตน

ในมุมมองทางภาษาศาสตร จึงเปนที่มาของการศึกษา เรื่อง ความสัมพันธของเสียงกับความหมายของคําเลียนเสียงใน

วรรณคดีประเภทลิลิต

วัตถุประสงคของการวิจัย

เพื่อศึกษารูปสัญญะของคําเลียนเสียงธรรมชาติในภาษาไทยกับความหมายตามบริบทในวรรณคดีประเภทลิลิต

วรรณกรรมและทฤษฎีที่เกี่ยวของ

แนวคิดที่เกี่ยวของกับการศึกษาความสัมพันธของเสียงกับความหมายของคําเลียนเสียงที่ปรากฏในวรรณคดี

ประเภทลิลิตมีดังนี ้

1. แนวคิดเรื่องสัญญะ

แนวคิดของเดอ โซซูร (1972:66-67) สัญญะ (sign) เปนหนวยทางความคิดที่ประกอบดวยรูปสัญญะ

(signifier) กับความหมายสัญญะ (siginified) รูปสัญญะ (signifier) ไดแก รูปในใจของผูใชภาษา รูปสัญญะเปนเสียงในใจ

ของผูใช (sound image ) รวมทั้งตัวอักษรในใจของผูใชภาษาดวย สําหรับความหมายสัญญะ (siginified) ไดแก

ความคิดรวบยอด(concept) เกี่ยวกับรูปสัญญะ

ตามแนวคิดเรื่องสัญญะของเดอ โซซูร กลาวไดวาคําในภาษาจัดเปนสัญญะอยางหนึ่ง คําประกอบดวย

สวนประกอบ 2 สวนคือ รูปสัญญะ และ ความหมายสัญญะ

2. แนวคิดเรื่องความสัมพันธรูป ความหมาย และสิ่ง

ซี เค อ็อกเดน และ ไอ เอ ริชารดส (C.K. Ogden and I.A.Richards, 1923: 9-11) ไดเสนอแนวคิด

ความสัมพันธระหวางรูป ความหมาย และสิ่ง ไวในหนังสือ The meaning of meaning กลาวคือ รูป (symbol)

หมายถึง เสียงหรือคําพูด (word) ความหมาย (thought or reference ) หมายถึงความคิดความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งที่อาง

ถึง และสิ่ง (referent)คือวัตถุจริงที่อางถึงรูป (symbol) ความหมาย (thought or reference) และสิ่ง (referent) ตางมี

ความสัมพันธกันทั้งโดยตรงและโดยออมความสัมพันธระหวางรูป ความหมาย และสิ่ง

Page 6: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1352

คําในภาษาตาง ๆ โดยทั่วไปจะมีรูปคําที่สื่อถึงสิ่งโดยออม แตจะพบวามีคําสวนหนึ่งที่รูปของคําสื่อถึงสิ่ง

โดยตรง คําเหลานี้ไดแกคําเลียนธรรมชาติ (Onomatopoeic word) กลาวไดวากรณีของคําเลียนธรรมชาติเปนกรณี

ยกเวน ไมเปนไปตามสามเหลี่ยมแบบทั่วไป (Ogden and Richards, 1923:12) เชน คําวา “ตุกแก”เปนคําเลียนเสียง

ธรรมชาติ (Onomatopoeic word) อธิบายความสัมพันธรูป ความหมาย และสิ่ง ของคําวา “ตุกแก” ไดดังนี้

แผนผังที่ 1: ความสัมพันธรูปสัญญะ ความหมายสัญญะและสิ่งของคําวา “ตุกแก”

ที่มา: ปรับปรุงจาก C. K. Ogden and I.A. Richards , 1923:11-12.

แผนผังนี้อธิบายวารูป (symbol)ของคําวา “ตุกแก” ไดแกเสียง “ตุกแก” // ความหมายของคํา

วาตุกแก ไดแก ‘สัตวเลื้อยคลาน ตีนเหนียวสามารถเกาะผนังได รองเสียงตุกแก’ และสิ่งไดแกสัตวจริง ๆ ที่เรียกวา

ตุกแก รูปของคําวา “ตุกแก” สื่อถึงความหมายวา‘สัตวเลื้อยคลาน ตีนเหนียวสามารถเกาะผนังได รองเสียงตุกแก ๆ’

โดยตรง ความหมาย ‘สัตวเลื้อยคลาน ตีนเหนียวสามารถเกาะผนังได รองเสียงตุกแก ๆ’ สื่อถึงสิ่งคือตัวสัตวจริง โดยตรง

รูปของคําวา “ตุกแก”สื่อถึงสิ่งคือตัวสัตวจริง โดยตรง

นอกจากเสียงของส่ิง หรือ วัตถุจริงที่นํามาอธิบายความสัมพันธรูป ความหมาย และสิ่ง เสียงที่เลียนเสียงจาก

กิริยาของวัตถุก็เปนกรณียกเวน ไมเปนไปตามสามเหลี่ยมแบบทั่วไป (Ogden and Richards, 1923:12) เชน คําวา

“กะหนุงกะหนิง” ดังนี ้

แผนผังที่ 2:ความสัมพันธรูปสัญญะ ความหมายสัญญะและสิ่งของคําวา “กะหนุงกะหนิง”

ที่มา: ปรับปรุงจาก C. K. Ogden and I.A. Richards , 1923:11-12.

Page 7: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1353

แผนผั งนี้ อ ธิบาย ว ารู ป ( symbol) ของคํ า ว า“กะหนุ ง กะหนิ ง” ได แ ก เ สี ย ง “กะหนุ งกะ หนิ ง ”

// ความหมายของคําวา “กะหนุงกะหนิง” ไดแก ‘เสียงพูดจูจี๋ระหวางคูรักเปนตน เสียงพูดคุยเบา

ๆ’และ สิ่ง ไดแก กิริยาของวัตถุจริง ๆ ที่คนในสังคมเรียกวา “กะหนุงกะหนิง” รูปของคําวา “กะหนุงกะหนิง” สื่อถึง

ความหมาย ไดแก ‘เสียงพูดจูจี๋ระหวางคูรักเปนตน เสียงพูดคุยเบา ๆ’ โดยตรง ความหมาย ‘เสียงพูดจูจี๋ระหวางคูรัก

เปนตน เสียงพูดคุยเบา ๆ’สื่อถึงสิ่งคือกิริยาของวัตถุจริง โดยตรง รูปของคําวา “กะหนุงกะหนิง” สื่อถึงสิ่งคือกิริยาของ

วัตถุจริง ที่เปนคูรักกําลังแสดงกิริยาตอกัน โดยตรง

จากแนวคิดสัญญะของเดอ โซซูร กับแนวคิดความสัมพันธรูป ความหมาย และสิ่งของอ็อกเดนและ

ริชารดส จะเห็นไดวารูปสัญญะ (signifier) ของเดอ โซซูร เมื่อปรากฏรูปในการสื่อสารก็คือรูป (symbol) ของ

ออกเดน และ ริชารดส สําหรับความหมายสัญญะ (siginified) ของ เดอ โซซูรก็ตรงกับความหมาย (thought or

reference) ของออกเดนและริชารดส

จากแนวคิดของเดอ โซซูรและอ็อกเดน และ ริชารดดังกลาวอาจแบงประเภทของคําในภาษาซึ่งเปนสัญญะ

อยางหนึ่งไดเปน 2 ประเภทคือ ประเภทที่1 ไดแกคําโดยทั่วไป และ ประเภทที่ 2 ไดแกคําเลียนเสียงธรรมชาติ ใน

งานวิจัยนี้มุงศึกษาคําเลียนเสียงธรรมชาติ

3.แนวคิดเรื่องความสัมพันธของเสียงกับความหมาย

เรืองเดช ปนเขื่อนขัตย (2554:162-163) กลาวในหนังสือ ภาษาศาสตรภาษาไทย ไววา คําและความหมาย

ของคําในภาษาพูด ตางมีความสัมพันธกันระหวางเสียงของคําและความหมายของคํา นักภาษาไทยกําหนดใหคํานั้นมี

ความหมายอยูที่รูปคํา คําเหลานี้ตองใชบริบทจึงจะสามารถเขาใจวามีความหมายวาอยางไร ดังแผนผังตอไปน้ี

แผนผังที่ 3: ความสัมพันธกันระหวางเสียงของคําและความหมายของคํา

ที่มา: เรืองเดช ปนเขื่อนขัตย (2554:163)

ตามแนวคิดของเรืองเดช ปนเขื่อนขัตย นํามาอธิบายของความหมายของเสียงในคําเลียนเสียงธรรมชาติใน

วรรณคดี เชน เสียง อึง /?/ จากบริบทที่วา

ราย 8

“...กลาแลกลาชิงขัน รุมกันพุงกันแทง เขาตอแยงตอยุทธ โหอึงอุจเอาไชย...”

(ลิลิตพระลอ, 2469 : 4)

เสียง +บริบท

ความหมาย

Page 8: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1354

จากบริบทขางตนจากรายขางตน คําวา “อึง” /?/ หมายถึงเสียงโหของเหลาทหารนั้น ดังนั้น “อึง”

/?/ สื่อถึงความดังของเสียงโหรอง

เห็นไดวาเสียงและความหมายจะมีความสัมพันธกันโดยตรง ตองอาศัยจากบริบทวา สื่อความหมายไป

แนวทางใด

4. แนวคิดคําเลียนเสียงธรรมชาต ิ

สรบุศย รุงโรจนสุวรรณ (2550:32-35) กลาวไววา คําเลียนเสียงเกิดจากแหลงที่เปนตนกําเนิดของเสียงอาจ

เปนคน สัตว หรือวัตถุสิ่งของ รวมไปถึงกิริยาอาการตาง ๆ และลักษณะของเสียงนั้นอาจเปนลักษณะทางกลสัทศาสตร

เชน ดัง เบา แหลม รวมไปถึงรายละเอียดที่แสดงในที่มาของเสียง เชน ตกใจ แรง เปนตน

แนวคิดของสรบุศย รุงโรจนสุวรรณ (2550:34-36) ไดจัดกลุมความหมายของคําเลียนเสียงธรรมชาติออกเปน 5

กลุม คือ คน สัตว สิ่งของ ธรรมชาติ และ คิว (CUE) กลาวคือ คน ประกอบดวยเสียงที่เกิดจากกริยาอาการของมนุษย

เชน รองไห หัวเราะ ไอ กรน อาเจียน วิ่ง ทุบ ตี เปนตน สัตว ประกอบดวยเสียงที่เกิดจากกริยาอาการของสัตวเชน เสียง

รอง การว่ิง การบิน เปนตน สิ่งของ ประกอบดวยเสียงที่เกิดจากสิ่งของ ซึ่งอาจเกิดขึ้นเองหรือเกิดจากการกระทําของ

มนุษย เชน ของตกพื้น นาฬิกาปลุกดัง ปดประตู ถายรูป ฟนดาบ เปนตน ธรรมชาติ ประกอบดวยเสียงในธรรมชาติตาง

ๆ เชน ฝนตก พายุ ฟารอง ลมพัด เปนตน และ คิว เปนคําเลียนเสียงธรรมชาติที่แสดงคิด ความวิตกกังวล ความกลัว

ของตัวละครซึ่งมิใชเสียงพูดหรือเสียงรองของตัวละครตัวนั้น แตเปนเหมือนดนตรีหรือเสียงประกอบที่ขณะที่เกิดอารมณ

หรือความรูสึกดังกลาว

เมื่อกลาวถึงลักษณะของคําเลียนเสียง นอกจากเปนเสียงที่เกิดจากเสียงมนุษย สัตว สิ่งของ และธรรมชาติแลว

สรบุศย รุงโรจนสุวรรณ (2550:12-11) พบวา ลักษณะของรูปภาษาและความหมายของคําเลียนเสียงธรรมชาติมีความ

เปนสากลอยู 2 ลักษณะ คือ ลักษณะสากลลักษณของรูปของคําเลียนเสียงธรรมชาติ คือ ปรากฏในรูปแบบคําซ้ํา หรือ

เสียงบางเสียงจะถูกใชในการอางถึงความหมายบางประเภท เชน เสียงกัก บงถึงเสียงหรืออาการที่มี ความรวดเร็ว และ

ลักษณะสากลลักษณของความหมายของคําเลียนเสียงธรรมชาติ คือ กลุมคําที่หมายถึง “เสียง” ของสิ่งตาง ๆ รอบตัว

และเปนคําที่อยูในกลุมคําวิเศษณ หรือคําขยายกริยา การศึกษาของสรบุศย รุงโรจนสุวรรณ นี้ ทําใหผูวิจัยไดเปดมุมมอง

ในการศึกษาเสียงของคําเลียนเสียงกวางขึ้น คือ การศึกษารูปสัญญะจากเสียงสมมติในมุมมองภาษาศาสตร

จากแนวคิดคําเลียนเสียงธรรมชาติ ของ สรบุศย รุงโรจนสุวรรณ ดังกลาวสามารถแยกคําเลียนเสียงธรรมชาติ

ออกจากคําทั่วไป อยู 2 ลักษณะ คือ เสียงที่เกิดจากเสียงรองของวัตถุจริง และ เสียงที่แสดงกิริยา ความคิด ความรูสึก

ของตัววัตถุจริง ในงานวิจัยนี้จึงศึกษาคําเลียนเสียงธรรมชาติตาม 2 ลักษณะ ดังกลาว

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยใชวิธีวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) ประเภทวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative

Research) จากขอมูลขั้นทุติยภูมิจากหนังสือลิลิตพระลอฉบับของ กรมศิลปากร หนังสือลิลิตยวนพาย ฉบับหอสมุด

แหงชาติ ของกรมศิลปากร และหนังสือลิลิตเตลงพาย ของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิตโนรส ของกรม

ศิลปากร เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ แผนบันทึกความสัมพันธของเสียงกับความหมายของคําที่ปรากฏในวรรณคดี

ไทยและตารางความสัมพันธของเสียงกับความหมาย (เสียงพยัญชนะตน เสียงพยัญชนะทาย และเสียงสระ) โดยตาราง

Page 9: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1355

ความสัมพันธของเสียงกับความหมาย แยกตามรูปสัญญะพยัญชนะตน สระ และพยัญชนะทาย จากผลการศึกษาของ

นักวิจัยในงานวิจัยที่เกี่ยวของ แลวสรุปเปนตารางและระบุอักษรยอของชื่อนักวิจัยไวทายผลการทดลอง ดังตัวอยางตาราง

ตอไปนี ้

ตารางที่ 1 ความสัมพันธของเสียงพยัญชนะทายและความหมาย

ฐานกรณ

ลักษณะของเสียงและ

ความหมายของเสียง

ริมฝปาก

BILABIAL

ริมฝปาก-

ฟน

LABIO-

DENTAL

ปุมเหงือก

ALVEOLAR

เพดานแข็ง

PALATAL

เพดานออน

VELAR

คอหอย

GLOTTAL

เสียงพยัญชนะทายเปน

เสียงระเบิด บงถึง

ความรูสึกกดดันบีบคั้น

หนักหนวง (ดจ)

-p

-t

-k

เสียงนาสิก m-

สื่อความหมายเกี่ยวกับ

สิ่งที่เปนวงกลมหรือ

บอกระยะบริเวณที่ใกล

ๆ สั้น ๆ (สพ)

เมื่อไดคําเลียนเสียงจึงแยกรูปสัญญะตามพยางค จึงใชผลของการศึกษาจากตารางขางตนเทียบกับความหมาย

ตามบริบทวรรณคดี จากนั้นจึงวิเคราะหความสัมพันธของเสียงกับความหมายของคําที่ปรากฏในวรรณคดีประเภทลิลิต

ดวยการเขียนพรรณนาวิเคราะหประกอบตัวอยางที่เรียกวาการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) การนําเสนอผล

การศึกษาโดยวิธีพรรณนาวิเคราะห (Analytical Description)

ผลการวิจัย

ผลการศึกษา พบวา ในการศึกษาลักษณะคําเลียนเสียงธรรมชาติ พบวา จํานวนคําเลียนเสียงธรรมชาติใน

วรรณคดีประเภทลิลิตมีทั้งสิ้นจํานวน 165 คํา จําแนกเปนคําเลียนเสียงธรรมชาติในลิลิตยวนพายจํานวน 28 คํา คํา

เลียนเสียงธรรมชาติในลิลิตพระลอจํานวน 76 คํา และคําเลียนเสียงธรรมชาติในลิลิตตะเลงพายจํานวน 61 คํา แบงชนิด

ของคําออกเปน 2 ประเภท คือคํากริยาและคําวิเศษณ ปรากฏลักษณะคําแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ลักษณะแบบ

พยางคเดียว และลักษณะแบบซ้ําคํา ดังนี ้

ลักษณะแบบพยางคเดียว กําหนดจากจํานวนพยางคเพียง 1 พยางค เทานั้น ตัวอยางคําลักษณะแบบพยางค

เดียวดังนี ้

1) “มี”่ //

Page 10: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1356

เมื่อวิเคราะหจากโครงสรางพยางค “มี”่ // ประกอบดวย 3 หนวยเสียง คือ หนวยเสียงพยัญชนะ

ตน // หนวยเสียงสระ // และหนวยเสียงวรรณยุกตโท // และคําวา “มี่” // มี 1 พยางค ดังนั้นจึงจัดอยู

ในลักษณะแบบพยางคเดียว

ลักษณะคําแบบซ้ําคํา พบวา ลักษณะที่เปนซ้ําคํามีทั้งหมดจํานวน 123 คํา แบงออกเปน 3 ประเภท คือ การซ้ํา

คําแบบทั้งคําจํานวน 39 คํา การซ้ําคําแบบบางสวนจํานวน 34 คํา และการซ้ําคําแบบกรอนเสียงจํานวน 50 คํา ดังนี ้

1) การซ้ําทั้งคํา เปนคําที่ เกิดจากการใชคําเดียวซ้ํากัน โดยความหมายของคําจะไมเปลี่ยนแปลง

ตัวอยางคําของการซ้ําคํา ไดแก

1.1) “เหวย ๆ” //

เมื่อวิเคราะหจากโครงสรางพยางค “เหวย ๆ ” // มี 2 พยางค แตซ้ําทั้งพยางค

เมื่อแยกคําใหอยูในลักษณะพยางคเดียว ไดคําวา “เหวย” //ประกอบดวย 4 หนวยเสียง คือ หนวยเสียง

พยัญชนะตน // หนวยเสียงสระ // หนวยเสียงพยัญชนะทาย // และหนวยเสียงวรรณยุกตจัตวา // ดังนั้น

จึงจัดคําอยูในลักษณะการซ้ําคําแบบทั้งคํา

2) การซ้ําบางสวน คือเสียงบางเสียงเปนเสียงเดียวกัน เชน เสียงพยัญชนะ เสียงสระ เปนตน ดังตัวอยาง

ตอไปนี ้

2.1) “ซนนแซ” //

“ซนนแซ” // เปนคํามี 2 พยางค คือ /san/ และ // เมื่อวิเคราะหจากโครงสราง

พยางค /san/ ประกอบดวย 4 หนวยเสียง คือ หนวยเสียงพยัญชนะตน /s/ หนวยเสียงสระ /a/ หนวยเสียงพยัญชนะ

ทาย /n/ และหนวยเสียงวรรณยุกตสามัญ / / อีกพยางคหนึ่งเสียง // ประกอบดวย 3 หนวยเสียง คือ หนวยเสียง

พยัญชนะตน /s/ หนวยเสียงสระ // และหนวยเสียงวรรณยุกตโท / / เมื่อเทียบเสียงจากหนวยเสียงหมวดเดียวกัน

พบวา หนวยเสียงที่เหมือนกัน คือ หนวยเสียงพยัญชนะตน /s/ จึงจัดลักษณะคํานี้อยูในลักษณะ การซ้ําคํา

แบบบางสวนในเสียงพยัญชนะ

3) การซ้ําคําแบบกรอนเสียง คือ การซอนหรือซํ้าอักษรลงหนาศัพทโดยใชอัพภาส (กรอนเสียงของคํา

ขางหนาใหสั้นลงเหลือเพียงเสียงสระอะ) เพื่อเพิ่มจังหวะหนักเบาของเสียง อีกทั้งไดพบองคความรูใหมจากการศึกษาคํา

เลียนเสียงธรรมชาติของ สรบุศย รุงโรจนสุวรรณ (2550:34-36) พบวา คําเลียนเสียงธรรมชาติประเภท คิว คือ คําเลียน

เสียงธรรมชาติที่แสดงคิด ความวิตกกังวล ความกลัว ของตัวละครซึ่งมิใชเสียงพูดหรือเสียงรองของตัวละครตัวนั้น แตเปน

เหมือนดนตรีหรือเสียงประกอบในขณะที่เกิดอารมณหรือความรูสึกดังกลาว แนวคิดนี้สอดคลองกับลักษณะคํากรอนเสียง

ที่เปนคําใชแสดงถึงความรูสึกและอารมณในวรรณคดี ผูวิจัยจึงกําหนดใหคํากรอนเสียงเปนคําเลียนเสียงธรรมชาติดวย

จากการศึกษาพบวา การซ้ําคําแบบกรอนเสียงมีคําชนิดนี้มีจํานวนทั้งหมด 50 คํา ลิลิตยวนพายจํานวน 3 คํา ลิลิต พระ

ลอจํานวน 29 คํา และลิลิตตะเลงพายจํานวน 18 คํา ตัวอยางดังนี ้

3.1) “กเกรอก” /gagrk/

เมื่อวิเคราะหตามโครงสรางของคํากรอนเสียงโดยใชอัพภาส เฉพาะหนวยเสียงพยัญชนะตนของ

พยางคแรกและพยางคที่สอง คําวา “กเกรอก” /gagrk/ เมื่อแยกคําเปนพยางค พบวา หนวยเสียงพยัญชนะตนของ

Page 11: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1357

พยางคแรก เสียง /g/ หนวยเสียงพยัญชนะตนของพยางค เสียง /gr/ เมื่อเทียบเสียงหนวยเสียงอยูในกลุม /g/ พยัญชนะ

ตนกัก เมื่อวิเคราะหหนวยเสียงพยางคแรกตามโครงสรางพยางค พบวา /ga/ ประกอบดวย 3 หนวยเสียง คือ หนวย

เสียงพยัญชนะตน /g/ หนวยเสียงสระ /a/ และหนวยเสียงวรรณยุกตเอก / / ซึ่งเปนเสียงสั้น จึงลักษณะคํานี้อยูใน

ลักษณะการซ้ําคําแบบกรอนเสียง

ผลการศึกษาประเภทคําเลียนเสียงธรรมชาติในวรรณคดีประเภทลิลิต สามารถจําแนกประเภทได 5 ประเภท

คือ คําเลียนเสียงจากมนุษย สัตว ธรรมชาติ สิ่งของ และสิ่งเหนือธรรมชาติ ดังนี ้

1) คําเลียนเสียงจากมนุษย ตัวอยางดังนี ้

ไลไล /laylay/ จากบริบทที่กลาววา

โคลงสี่ 110

หอนเห็นสุโนคเอื้อ เอาภาร

เรียมเรงลรรลุงลาญ สวาดิไหม

รําลึกวิมลมาลย บัวมาศ กูเอย

มือลูบทรวงไลไล เทวศล้ําเหลือทน ฯ

(ลิลิตตะเลงพาย, 2542:46)

จากโคลงขางตน คําวา “ไลไล” /la yla y/ คํานี้แสดงถึงความรูสึกคิดถึงกายสัมผัสระหวางพระมหาอุป

ราชากับนางสนมของพระองคดวยสัมผัสที่ออนโยน และ “ไลไล” เปนเสียงที่เกดิจากกิริยาของมนุษย จึงจัดอยูในประเภท

คําเลียนเสียงจากมนุษย

2) คําเลียนเสียงจากสัตว ตัวอยางดังนี ้

คคลับ /khakhlap/ จากบริบทที่กลาววา

ลางสารกดกยวซาย ขวาขับ ควบแฮ

ลางสํ่างาขวางอน งาแกลว

ลางดําคคลับคือ แมลงภู

เคยผาดเผงแผวผู ผาเข็ญ ฯ

(ลิลิตยวนพาย, 2512:53)

จากโคลงขางตน คําวา “คคลับ” /khakhla p/ คํานี้แสดงถึงความเงาวาวของงาชางศึกเชนตัวแมลงภู

และ“คคลับ” /khakhla p/ เปนเสียงที่เลียนจากลักษณะของตัวแมลงภู จึงจัดอยูในประเภทคําเลียนเสียงจากสัตว

3) คําเลียนเสียงจากสิ่งของ ตัวอยางดังนี ้

ฉฉัด /chacha t/ จากบริบทที่กลาววา

ราย 8

“...พระบาทเสด็จบมิชา พลหัวหนาพะกัน แกวงตาวฟนฉฉาด แกวงดาบฟาดฉฉัด ซรองหอก

ซัดยยุง ซรองหอกพุงยยาย ขางซายรบบ มิคลา...”

(ลิลิตพระลอ, 2469 :4)

Page 12: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1358

จากรายขางตนน้ี คําวา “ฉฉัด” /chacha t/ คํานี้แสดงถึงเสียงของดาบที่ดังขณะฟาดกระทบกัน และ

“ฉฉัด” เปนเสียงที่เกิดจากสิ่งของโดยการกระทํามนุษย จึงจัดอยูในประเภทคําเลียนเสียงจากสิ่งของ

4) คําเลียนเสียงจากธรรมชาติ ตัวอยางดังนี ้

ฉา /cha a/ จากบริบทที่กลาววา

หนึ่งไสรพิรุณรวงฟา ฟูไพ ศรพณแฮ

โดยฤดูดาลไข นานน้ํา

พูนพืชโภชนาใน นครเขต เขือฤๅ

อกราษฎรขาดเทวษช้ํา ชุมฟาฉาฝน ฯ

(ลิลิตตะเลงพาย, 2542 : 166)

จากโคลงขางตน คําวา “ฉา” /cha a/ คํานี้แสดงถึงเสียงฝนที่ตกลงมาโดยธรรมชาติ จึงจัดอยูใน

ประเภทคําเลียนเสียงจากธรรมชาติ

5) คําเลียนเสียงจากสิ่งเหนือธรรมชาติ ตัวอยางดังนี ้

แจด /ct/ จากบริบทที่กลาววา

ราย 149

“...ผีเจาแจดจายจาย รองเรงพลคลํ่าคลาย ผาดผายรุกราญ...”

(ลิลิตพระลอ, 2469 : 41)

จากรายขางตน คําวา “แจด” /ct/ คํานี้แสดงถึงเสียงของเหลาผีที่มาประชุมกันสงเสียงดังกองปา

และ “แจด” /ct/ เปนเสียงที่เกิดจากการสงเสียงรองของผี จึงจัดอยูในประเภทคําเลียนเสียงจากสิ่งเหนือธรรมชาติ

การศึกษาคําเลียนเสียงธรรมชาติในวรรณคดีประเภทลิลิตทั้งหมดจํานวน 165 คํา พบวาความสัมพันธของเสียง

กับความหมายแบงได 4 กลุม คือ เสียงจํานวน 51 คํา การเคลื่อนไหวจํานวน 72 คํา แสงสวางจํานวน 11 คํา และ

ความรูสึกจํานวน 31 คํา ดังนี ้

1) ความสัมพันธของเสียงกับความหมายดานเสียงมีทั้งหมดจํานวน 51 คํา แยกเปนลิลิตยวนพายจํานวน

9 คํา ลิลิตพระลอจํานวน 17 คํา และลิลิตตะเลงพายจํานวน 25 คํา ตัวอยางดังนี ้

ซซราว /sasao/ จากบริบทที่กลาววา

ราย 112

“...กองกึกดงพงพนานต เหลาสุวาณในนอก จิ้งจอกหอน ซซราว สารเหนี่ยวนาวชางบง

กระจงแลนกระเจอง ลิงลเลิงโลดเหลน เตนไตไมซรอง คางรายรองครอกคราง...”

(ลิลิตตะเลงพาย, 2542 : 48)

Page 13: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1359

จากรายขางตน คําวา “ซซราว” /sasao/ ความหมายพจนานุกรม หมายถึง ว.เสียงเกรียวกราว เสียง

เซ็งแซ เมื่อวิเคราะหความหมายจากบริบท หมายถึง เสียงสุนัขจิ้งจอกหอนดังระงม เห็นไดวาความหมายพจนานุกรม

สอดคลองกับความหมายที่สื่อในบริบท ดังนั้น “ซซราว” /sasao/ จึงมีความสัมพันธของเสียงกับความหมายดานเสียง

2) ความสัมพันธของเสียงกับความหมายดานการเคลื่อนไหวมีทั้งหมดจํานวน 72 คํา แยกเปนลิลิตยวน

พายจํานวน 14 คํา ลิลิตพระลอจํานวน 35 คํา และลิลิตตะเลงพายจํานวน 23 คํา ตัวอยางดังนี ้

ฉับเฉียว /cha pchaw/ จากบริบทที่กลาววา

ราย 258

“...ฝายขาศึกรามัญ ผันผายชายทงทิว ลิวแลนกลับฉับเฉียว เหลียวลับเนตรตระบัด

ธก็ดํารัสพิภาษ...”

(ลิลิตตะเลงพาย, 2542:105)

จากรายขางตน คําวา “ฉับเฉียว” /cha pchaw/ เมื่อแยกเสียง “ฉับ”ความหมายพจนานุกรม

หมายถึง ว. อาการที่พูดหรือฟนเปนตนอยางเร็ว สวนคําวา “เฉียว” หมายถึง ว. แรง จัด เมื่อวิเคราะหความหมายจาก

บริบท หมายถึง การเคลื่อนถอยทัพของพวกรามัญ (ฝายพระมหาอุปราชา) อยางรวดเร็ว เห็นไดวาความหมาย

พจนานุกรมสอดคลองกับความหมายที่สื่อในบริบท ดังนั้น “ฉับเฉียว” /cha pchaw/ จึงมีความสัมพันธของเสียงกับ

ความหมายดานการเคลื่อนไหว

3) ความสัมพันธของเสียงกับความหมายดานแสงสวางมีทั้งหมดจํานวน 11 คํา แยกเปนลิลิตยวนพาย

จํานวน 3 คํา ลิลิตพระลอจํานวน 5 คํา และลิลิตตะเลงพายจํานวน 3 คํา ตัวอยางดังนี้

แพรวแพรว /phrwphrw/ จากบริบทที่กลาววา

ทุกสารเรวรวดรู รอบเชอง ชื่นแฮ

ยืนตรยบตรงไตรรัตน รยบแลว

ตรัสไตรเทพยทลอึง อาคาธ

แสงสลาบครุฑแพรวแพรว แพรงเหอร ฯ

(ลิลิตยวนพาย, 2512:49)

จากโคลงขางตน คํ าวา “แพรวแพรว” /phrwphrw/ ความหมายพจนานุกรม

หมายถึง ว. แพรว แวววาว มีแสงวับ ๆ วาบ ๆ เมื่อวิเคราะหบริบท หมายถึง ลักษณะแวววาวของปกครุฑ เห็นไดวา

ความหมายพจนานุกรมสอดคลองกับความหมายที่สื่อในบริบท ดังนั้น “แพรวแพรว” /phrwphrw/ จึงมี

ความสัมพันธของเสียงกับความหมายดานแสงสวาง

4) ความสัมพันธของเสียงกับความหมายดานความรูสึกมีทั้งหมดจํานวน 31 คํา แยกเปนลิลิตยวนพาย

จํานวน 2 คํา ลิลิตพระลอจํานวน 19 คํา และลิลิตตะเลงพายจํานวน 10 คํา ตัวอยางดังนี ้

ดิ้วเดี้ยว /dwdaw/ จากบริบทที่กลาววา

โคลงสี่ 246

Page 14: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1360

พระเอยอาบนํ้าขุน เอาเย็น

ปลาผอกหมกเหม็นยาม อยากเคี้ยว

รุกรุยราคจําเปน ปางเมื่อ แคลนนา

อดอยูเยียวดิ้วเดี้ยว อยูไดฉันใด ฯ

(ลิลิตพระลอ, 2469:68)

จากโคลงขางตน คําวา “ดิ้วเดี้ยว” /dwdaw/ ไมปรากฏความหมายตามพจนานุกรม เมื่อวิเคราะห

ความหมายบริบท หมายถึง ความรูสึกวาเหวของพระลอที่จากแม จากพระมเหสีมาในปา จึงมีความสัมพันธของเสียงกับ

ความหมายดานความรูสึก

ผลการศึกษารูปสัญญะของคําเลียนเสียงธรรมชาติในวรรณคดีประเภทลิลิต ไดแก รูปสัญญะพยัญชนะตน

รูปสัญญะสระ และรูปสัญญะพยัญชนะทาย มีดังนี ้

1) รูปสัญญะพยัญชนะตนมี 6 ประเภท คือ กัก นาสิก เสียดแทรก รัว ขางลิ้น และครึ่งสระ ผลการศึกษามี

ดังนี ้

1.1) รูปพยัญชนะตนกักจากการรวบรวมเอกสารขอมูลสื่อถึงความหมาย หยุด แข็ง แตก ดิ้น เสียงดัง

เคลื่อนที่ชา การปะทะ เมื่อศึกษาคําในวรรณคดีประเภทลิลิต พบวา สื่อถึงความหมายเสียงดังกอง สื่อถึงความหมายการ

เคลื่อนไหวแบบเคลื่อนไปขางหนา แบบสั่น ๆ แบบเร็ว แบบพัลวัน แบบตกลงมา สื่อถึงความหมายแสงสวางแบบสวาง

จา และสื่อถึงความรูสึกแบบหวั่นกลัว แบบโดดเดี่ยว เชน รูปสัญญะ /gr/ สื่อถึงเสียงและการเคลื่อนไหว ไดแก กเกรอก

/gagrk/ กรายกราย /graaygraay/ เปนตน

1.2) รูปสัญญะพยัญชนะตนนาสิก จากการรวมรวมขอมูลจากเอกสารสื่อถึง กอง นุมนวล ออน

ไมชัดเจน ไมม่ันคง และคอยเปนคอยไป เมื่อศึกษาคําในวรรณคดีประเภทลิลิต พบวาสื่อถึงเสียงดังแบบกอง พบเพียงใน

ลิลิตยวนพายและไมปรากฏคําดังกลาวในลิลิตพระลอและลิลิตตะเลงพาย และพบเพียงรูปสัญญะ ไดแก มี่ /m/ เปน

ตน

1.3) รูปสัญญะพยัญชนะตนเสียงเสียดแทรกจากการรวบรวมขอมูลสื่อถึงเสียดสี แทรก ไมตรง เบา คอย

ๆ เมื่อศึกษาคําในวรรณคดีประเภทลิลิต พบวาสื่อถึงความหมายการเคลื่อนไหวแบบขึ้นลง แบบสั่น แบบกระจาย

ลอยตัว สื่อถึงเสียงดังแบบไมชัดเจน แบบคอย สื่อถึงความรูสึกฮึกเหิม ความรูสึกเจ็บ และคร่ําครวญ เชน รูปสัญญะ /s/

สื่อถึงเสียงและการเคลื่อนไหว ไดแก ซุบซิบ /su psip/ ซอนซอน /snsn/ เปนตน

1.4) รูปสัญญะพยัญชนะตนรัว มีเพียงเสียง /r/ เสียงเดียว จากการรวบรวมขอมูล สื่อถึงมวน เรงรีบ

เมื่อศึกษาคําในวรรณคดีประเภทลิลิต พบวาสื่อถึงความหมายการเคลื่อนไหวแบบเร็ว แบบตอเนื่อง แบบเลื้อย แบบสั่น

สื่อถึงความรูสึกแบบเวาวอน เชน รราย /rara ay/ รอนรอน /rnrn/ เปนตน

1.5) รูปสัญญะพยัญชนะตนขางลิ้น มีเพียงเสียง /l/ เสียงเดียว จากการรวบรวมขอมูลสื่อถึง สิ่งเล็ก ๆ

ไมเปนระเบียบ ไมตรง ลื่น นุมนวล ตอเนื่อง เมื่อศึกษาคําในวรรณคดีประเภทลิลิต พบวา สื่อถึงการเคลื่อนไหวแบบ

สัมผัส แบบตกลงมา แบบเร็ว และสื่อถึงความรูสึกแบบตกใจ ผลขอการศึกษาไมปรากฏในลิลิตยวนพาย เชน

ไลไล/la ylay/ ละลั้งละเลิด /lala lalt/ เปนตน

Page 15: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1361

1.6) รูปสัญญะพยัญชนะตนครึ่งสระ จากการรวบรวมขอมูลสื่อถึง ลื่น ตอเนื่อง นุมนวล แสงสวาง ไมเปน

ระเบียบ เมื่อศึกษาคําในวรรณคดีประเภทลิลิต พบวาสื่อถึงความหมายเสียงดังแบบคอย สื่อถึงการเคลื่อนไหวแบบยายที่

แบบพยุงตัว แบบพัลวัน แบบขยับขึ้นลง สื่อถึงความรูสึกแบบหวาดกลัว แบบวาเหว และสื่อถึงแสงสวางแบบแสง

กระพริบ เชน รูปสัญญะ /y/ สื่อถึงการเคลื่อนไหวและแสงสวาง ไดแก ยยุง /yayu / ยยับ /yaya p/ เปนตน

รูปสัญญะ /w/ สื่อถึงเสียง และความรูสึก ไดแก เหวย ๆ /wywy/ แว /w/ วา /waa/ เปนตน

2) การศึกษารูปสัญญสระมี 2 ประเภท คือ รูปสัญญะสระเดี่ยวและรูปสญัญะสระประสม ดังนี ้

2.1) รูปสัญญะสระเดี่ยว ไดแก รูปสัญญะสระเดี่ยวระดับลิ้นระดับลิ้นสูง /i ii u uu/ สื่อถึง

ความหมายดานเสียง การเคลื่อนไหว และความรูสึก เชน มี่ /m/ จุมจุม /cu mcu m/ ดิ้วเดี้ยว /dwdaw/ เปน

ตน รูปสัญญะสระเดี่ยวระดับลิ้นกลาง /e ee o oo/ สื่อถึงความหมายดานเสียง การเคลื่อนไหว และความรูสึก

เชน เผง /phe / เหยง /ye e/ โอ /?oo/ เปนตน รูปสัญญะสระเดี่ยวระดับลิ้นต่ํา / a aa / สื่อถึง

ความหมายดานเสียง การเคลื่อนไหว แสงสวางและความรูสึก เชน แผด /pht/ ยาบยาบ /ya apya ap/

พราพราย /phraayphraay/ ผผาว /phapha aw/ เปนตน

2.2) รูปสัญญะสระประสม ไดแบงการศึกษาเสียงสระตามตําแหนงของลิ้น แบงเปน 3 กลุม คือ ลิ้นสวน

หนา /ia/ สื่อถึงความหมายดานการเคลื่อนไหวและความรูสึก เชน รยบรยบ /raprap/ ดิ้วเดี้ยว /dwdaw/ เปน

ตน ลิ้นสวนกลาง /a/ สื่อถึงความหมายดานเสียง การเคลื่อนไหวและแสงสวาง เชน เอื้อยเจื้อย /?aycay/ รเรื้อย

/raray/ ถเถือก /thathak/ เปนตน และลิ้นสวนหลัง /ua/ สื่อถึงความหมายดานความรูสึก เชน รรัว /rarua/ รัวรัว

/ruarua/ เปนตน

3) รูปสัญญะพยัญชนะทายมี 3 ประเภท คือ กัก นาสิก และครึ่งสระ ดังนี ้

3.1) รูปสัญญะพยัญชนะทายกักจากการรวมเอกสารสื่อถึงความหมายกดดัน บีบคั้น หนักหนวง เมื่อ

ศึกษาคําในวรรณคดีประเภทลิลิต พบวาสื่อถึงความหมายเสียงดังแบบสะเทือน แบบหนักหนวง การเคลื่อนไหวแบบขึ้น

ลง แบบเร็ว แบบรุนแรง แบบแตกกระจาย สื่อถึงแสงสวางแบบสวาง แบบกระพริบ และสื่อถึงความรูสึกแบบฮึกเหิม เชน

กเกรอก /gagrk/ รยบรยบ /raprap/ คคลับ /khakhla p/ เปนตน

3.2) รูปสัญญะพยัญชนะทายนาสิก จากการศึกษาเอกสารสื่งถึงความหมายเกี่ยวกับสิ่งที่เปนวงกลม

ระยะบริเวณใกล ๆ เมื่อศึกษาคําในวรรณคดีประเภทลิลิต พบวาสื่อถึงเสียงดัง แบบกอง สื่อถึงการเคลื่อนไหวแบบตกลง

มา แบบเขาประชิด แบบปกปด แบบไมมั่นคง แบบไรจุดหมาย แบบกระจาย แบบพัลวัน สื่อถึงแสงสวางแบบกระพริบ

และสื่อถึงความรูสึกแบบหวาดกลัว แบบประหมา เชน ซนนแซ /sans/ ถนนถนน /tha ntha n/ ยุงยุง /yu yu /

เผง /phe / เปนตน

3.3) รูปสัญญะพยัญชนะทายครึ่งสระ ไมปรากฏขอมูลเกี่ยวกับเอกสารสวนนี้ เมื่อศึกษาคําในวรรณคดี

ประเภทลิลิต ไดพบความหมายใหม สื่อถึงการเคลื่อนไหวแบบเร็ว แบบแรง แบบตอเน่ือง แบบขยับขึ้นลง แบบผาน แบบ

สั่น แบบคลอยตัว สื่อถึงเสียงดังแบบเกรียวกราว และสื่อถึงแสงสวางแบบกระพริบ เชน คาวคาว /kha awkha aw/ กราย

กราย /graaygraay/ พรายพราย /phraayphraay/ แพรวแพรว /phrwphrw/ เปนตน

Page 16: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1362

สรุปและวิจารณผล

ผลของการศึกษาเรื่อง ความสัมพันธของเสียงกับความหมายของคําที่ปรากฏในวรรณคดีประเภทลิลิต สรุป

ผลไดดังนี ้

1. คําเลียนเสียงธรรมชาติในวรรณคดีประเภทลิลิต พบทั้งหมด จํานวน 165 คํา พบในลิลิตยวนพายจํานวน 28

คํา คิดเปนรอยละ 16.97 ลลิิตพระลอจํานวน 76 คํา คิดเปนรอยละ 46.06 และลิลิตตะเลงพายจํานวน 61 คํา คิดเปน

รอยละ 36.97

2. ชนิดคําเลียนเสียงธรรมชาติในวรรณคดีประเภทลิลิต จําแนกได 2 ชนิด คือ คํากริยาจํานวน 65 คํา เชน

“กรายกราย” /graaygraay/ เปนตน และคําวิเศษณจํานวน 100 คํา เชน “ฉฉาด” / chacha at/ เปนตน

3. ลักษณะคําเลียนเสียงธรรมชาติในวรรณคดีประเภทลิลิต พบ 2 ประเภท คือ ลักษณะแบบพยางคเดียว เชน

คําวา โอ” /?oo/ เปนตน และลักษณะแบบซ้ําคํา มี 3 ลักษณะ คือ การซ้ําคําแบบทั้งคํา การซ้ําคําแบบบางสวนจํานวน

และการซ้ําคําแบบกรอนเสียง เชน “กรายกราย” /graaygraay/ “จะแจว” /cacw/ เปนตน

4. ประเภทคําเลียนเสียงธรรมชาติในวรรณคดีประเภทลิลิต พบ 5 ประเภทคือ คําเลียนเสียงจากมนุษย เชนคํา

วา “ถนนถนน” /tha ntha n/ คํานี้แสดงถึงลักษณะของเหลาทหารฝายตรงขามที่เขามาประชิดตัวเจาหลาหรือสมเด็จ

พระบรมไตรโลกนาถแหงอยุธยา เปนตน คําเลียนเสียงจากสัตว เชนคําวา “ไยไย” /ya yya y/ คํานี้แสดงถึงลักษณะการ

เรียงแถวชางศึกแลวเดินเขาชนชางศึกตัวอื่นที่เปนฝายตรงขาม เปนตน คําเลียนเสียงจากธรรมชาติ เชนคําวา “ฉา”

/chaa/ คํานี้แสดงถึงเสียงฝนที่ตกลงมา เปนตน คําเลียนเสียงจากสิ่งของ “ยาบยาบ” /ya apya ap/ คํานี้แสดงถึงการ

โบกขึ้นลงของเครื่องโบกที่เปนเครื่องสูงที่ชื่อวา “จามร” เปนตน และคําเลียนเสียงจากสิ่งเหนือธรรมชาติ เชนคําวา

“แจด” /ct/ คํานี้แสดงถึงเสียงของเหลาผีที่มาประชุมกันสงเสียงดังกองปา เปนตน

5. ความสัมพันธของเสียงกับความหมายแบงได 4 กลุม คือ เสียง จํานวน 51 คําคิดเปนรอยละ 30.91 เชนคํา

วา “อึง” /?/ หมายถึง เสียงโหของเหลาทหารนั้นดังกองในสนามรบ เปนตนการเคลื่อนไหว จํานวน 72 คํา คิดเปน

รอยละ 43.64 เชนคําวา “เหยง” /ye e/ หมายถึงการวิ่งกระโดดดวยความตกใจของพวกยวน เปนตน แสงสวาง

จํานวน 11 คํา คิดเปนรอยละ 6.66 เชนคําวา “แพรวแพรว” /phrwphrw/ หมายถึงลักษณะแวววาวของปกครุฑ

เปนตน และความรูสึก จํานวน 31 คํา คิดเปนรอยละ 18.79 เชนคําวา “รัวรัว” /ruarua/ หมายถึง ทหารลาวรอนใจ

หวาดกลัวแบบถี่ ๆ เปนตน

6. รูปสัญญะของคําเลียนเสียงธรรมชาติในวรรณคดีประเภทลิลิตมีความสัมพันธกับความหมายอยู 4 ดาน คือ

ความหมายดานเสียง ปรากฏในรูปสัญญะพยัญชนะตน กัก นาสิก เสียดแทรก และครึ่งสระ เชน กเกรอก /gagrk/ มี่

/m/ ซนนแซ /sans/ เหวย ๆ /wywy/ ตามลําดับ ปรากฏในรูปสัญญะสระเดี่ยวระดับลิ้นสูง /i ii u

uu/ กลาง /e ee o oo/ ต่ํา / a aa / เชน มี่ /m/ โห /hoo/ แผด /pht/ ตามลําดับ และ

ปรากฏในรูปสัญญะพยัญชนะทายกักและนาสิก เชน ฉฉาด /chacha at/ เผง /phe / ตามลําดับ

ความหมายดานการเคลื่อนไหว ปรากฏในรูปสัญญะพยัญชนะตนกัก รัว เสียดแทรก ขางลิ้นและครึ่งสระ เชน

คคลุก /khakhlu k/ รเรื้อย /raray/ ฟองเฟอย /ffay/ ไลไล /la ylay/ เหยง /ye e/ ตามลําดับ ปรากฏใน

รูปสัญญะสระเดี่ยวระดับลิ้น สูง /i ii u uu/ กลาง /e ee o oo/ ต่ํา / a aa / เชน ลิว /liw/

Page 17: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1363

เหยง /ye e/ ถนนถนน /tha ntha n/ ตามลําดับ และรูปสัญญะสระประสมตําแหนงลิ้นสวนหนา /ia/ กลาง /a/ เชน

เฉียวฉิว /chawchw/ รเรื้อย /raray/ ตามลําดับ ปรากฏในรูปสัญญะพยัญชนะทายกักและครึ่งสระ เชน ยยาบ

/yaya ap/ กรายกราย /graaygraay/ ตามลําดับ

ความหมายดานแสงสวาง ปรากฏในรูปสัญญะพยัญชนะตนกักและครึ่งสระ เชน คคลับ /khakhla p/ ยยับ

/yaya p/ ตามลําดับ ปรากฏในรูปสัญญะสระเดี่ยวระดับลิ้นต่ํา / a aa / เชน แพรวแพรว

/phrwphrw/ เปนตน และสระประสมตําแหนงลิ้นกลาง /a/เชน เปนตน ปรากฏในรูปสัญญะพยัญชนะทายกัก

นาสิกและครึ่งสระ เชน ถเถือก /thathak/ พพริ้ง /phaphr/ พรายพราย /phraayphraay/ ตามลําดับ

ความหมายดานความรูสึก ปรากฏในรูปสัญญะพยัญชนะตนกัก รัว เสียดแทรก ขางลิ้น และครึ่งสระ เชน พรั่น

พรั่น /phra nphra n/ รอนรอน /rnrn/ ฮึกฮือ/hkh/ ละลั้งละเลิด /lala lalt/ วา /waa/ ตามลําดับ

ปรากฏในรูปสัญญะสระเดี่ยวระดับลิ้นสูง /i ii u uu/ กลาง /e ee o oo/ ต่ํา / a aa / เชน

พพริ้ง /phaphr/ เอะ /?e / ผผาว /phapha aw/ ตามลําดับ และรูปสัญญะสระประสมตําแหนงลิ้นสวนหนา /ia/

เชน ดิ้วเดี้ยว /dwdaw/ เปนตน ปรากฏในรูปสัญญะพยัญชนะทายกัก นาสิก และครึ่ งสระ เชน ละลั้งละเลิด

/lala lalt/ หลมหลม /lomlom/ ผผาว /phapha aw/ ตามลําดับ

ผลของการศึกษาเรื่อง ความสัมพันธของเสียงกับความหมายของคําที่ปรากฏในวรรณคดีประเภทลิลิต มี

ประเด็นที่สามารถนํามาวิจารณผล ดังนี ้

1. คําเลียนเสียงธรรมชาติในวรรณคดีประเภทลิลิตพบทั้งหมด จํานวน 165 คํา ไดผลเชนนี้เพราะวา รูปสัญญะ

ทั้งพยางค ตรงกับ ความหมาย และ ความหมาย ตรงกับ วัตถุจริง ตามความสัมพันธโดยตรง สอดคลองกับแนวคิด

รูปสัญญะ ของ แฟรดินองด เดอ โซซูร (Ferdinand de Saussure, 1972:66-118) ที่รูปสัญญะมีความสัมพันธตอ

ความหมายสัญญะ และสอดคลองกับแนวคิดระหวางความสัมพันธรูปสัญญะ ความหมายสัญญะและสิ่งของ ซี เค อ็อก

เดน และ ไอ เอ ริชารดส (C. K. Ogden and I.A. Richards) ที่ คําเลียนเสียงธรรมชาติเกิดจากเสียงของวัตถุและกิริยา

ของวัตถุ

2. ชนิดคําเลียนเสียงธรรมชาติในวรรณคดีประเภทลิลิต จําแนกได 2 ชนิด คือ คํากริยาและคําวิเศษณ ที่ไดผล

เชนน้ี เพราะวา ความหมายตามพจนานุกรมสอดคลองไปในทางเดียวกับความหมานในบริบทวรรณคดี และปรากฏเพียง

คํากริยาและคําวิเศษณจึงไดจําแนกชนิดของคําตามผลของการศึกษา สอดคลองกับแนวคิดของสรบุศย รุงโรจนสุวรรณ

(2550:5-10) ที่ศึกษาเรื่องคําเลียนเสียงธรรมชาติในภาษาไทย แตผลของการศึกษาของสรบุศย รุงโรจนสุวรรณ สวนใหญ

เปนชนิดคําวิเศษณ สวนคํากริยาพบเพียงบางคําเปนสวนนอย มีลักษณะสากลลักษณของความหมายของคําเลียนเสียง

ธรรมชาติ คือ กลุมคําที่หมายถึง “เสียง” ของสิ่งตาง ๆ รอบตัว และเปนคําที่อยูในกลุมคําวิเศษณ หรือคําขยายกริยา

ลักษณะผลการวิจัยใกลเคียงกันน้ีอาจะเปนเพราะเปนการศึกษาคําเลียนเสียงธรรมชาติในภาษาไทยเชนเดียวกัน ตางกัน

เพียงแหลงขอมูลที่สรบุศย รุงโรจนสุวรรณ เปนเอกสารที่เปนทางการจากพจนานุกรมและเอกสารที่ไมเปนทางการจาก

การตูน สวนงานวิจัยนี้เปนวรรณคดีไทย และสอดคลองกับงานวิจัยบางเรื่องที่คาบเกี่ยว เชน อุดม พรประเสริฐ (2523:

284-355) พบคําวิเศษณสองพยางคในภาษาอีสาน สอนศรี พิลาไชย (2534:111-112) พบคําวิเศษณบอกลักษณะใน

ภาษาถิ่นอีสาน อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม สุริยา ทองคํา (2550:47,52-53) พบคําแสดงภาพลักษณในภาษาไทยถิ่น

เปนคําขยายคํานาม คํากริยา และคําวิเศษณ เจียมศักดิ์ ชนะคา (2553:61-94) พบคําวิเศษณบอกลักษณะในภาษาถิ่น

Page 18: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1364

โคราช อําเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา กฤษณา สมบัติ (2553:218-219) พบคําแสดงภาพลักษณในภาษาไทยถิ่น

อําเภอแมแจม จังหวัดเชียงใหมเปนคําขยายคํานาม คํากริยา และคําวิเศษณ ไมสอดคลองกับ จอหน เจ โอฮาลา (John

J. Ohala, 1994:1-2) ที่พบเพียงเสียงสระไมไดจําแนกเปนชนิดคํา ไมสอดคลองกับ เดโบราห แอล โคล (Deborah L.

Cole, 1997:18-29) ที่กลาวเพียงเสียพยัญชนะตนของภาษาทสองกา (Tsonga) ซึ่งไมมีลักษณะของภาษาที่เหมือนหรือ

ใกลเคียงกับภาษาไทย ไมสอดคลองกับมารโจเรีย เค เอ็ม ชาน (Marjorie K.M. Chan, 1996:23) ที่ศึกษาเพียงเสียงสระ

/i/ และไมสอดคลองกับนาโอมิ ชารลิน (Naomi Sharlin, 2009:1-46) ที่ศีกษาเพียงประเภทของคําเลียนเสียงใน

ภาษาญี่ปุน

3. ลักษณะคําเลียนเสียงธรรมชาติในวรรณคดีประเภทลิลิต พบ 2 ประเภท คือ ลักษณะแบบพยางคเดียวและ

การซ้ําคํา ที่ไดผลเชนนี้ เพราะวา การศึกษาคํานั้นศึกษาจากโครงสรางพยางค ที่ประกอบดวยหนวยเสียงพยัญชนะ

หนวยเสียงสระและหนวยเสียงวรรณยุกต คําใดที่มีลักษณะหนึ่งคํามีหนึ่งพยางค จัดอยูในลักษณะแบบพยางคเดียว และ

คําใดที่มีมากกวาหนึ่งพยางค แลวเทียบเสียง ความเหมือนกันในกลุมหนวยเสียงทั้งสาม คือ หนวยเสียงพยัญชนะ หนวย

เสียงสระและหนวยเสียงวรรณยุกตจัดอยูในลักษณะการซ้ําคํา สอดคลองกับผลการศึกษาของ สรบุศย รุงโรจนสุวรรณ

(2550) ที่พบวาคําเลียนเสียงธรรมชาติสวนใหญ มีลักษณะสากลลักษณของรูปของคําเลียนเสียงธรรมชาติ คือ ปรากฏใน

รูปแบบคําซํ้า สอดคลองกับอุดม พรประเสริฐ (2523) ที่พบวาคําวเิศษณสองพยางคมีลักษณะเปนคําซ้ํา คือ ซ้ําทั้งพยางค

และซ้ําบางสวน สอดคลองบางสวนกับสอนศรี พิลาไชย (2534:111-112) ที่พบวา คําวิเศษณบอกลักษณะมีลักษณะคํา

เปนคําซ้ําแทและซ้ําเทียม สอดคลองบางสวนกับสุริยา ทองคํา (2550:47,52-53) ที่พบวาคําแสดงภาพลักษณมีลักษณะ

เปนคําซ้ําและคําซอน สอดคลองบางสวนกับกฤษณา สมบัติ (2553:218-219) ที่พบวาคําแสดงภาพลักษณมีลักษณะเปน

คํา 1 พยางค คํา 2 พยางค คํา 3 พยางค และ คํา 4 พยางค นอกจากนี้พบวาไมสอดคลองกับผลการศึกษาของเจียมศักดิ์

ชนะคา (2553:61-94) ที่ไมไดระบุลักษณะของคํา ไมสอดคลองกับผลการศึกษาของ จอหน เจ โอฮาลา (John J. Ohala,

1994) เดโบราห แอล โคล (Deborah L. Cole, 1997) มารโจเรีย เค เอ็ม ชาน (Marjorie K.M. Chan, 1996) และนา

โอมิ ชารลิน (Naomi Sharlin, 2009) ที่ตางไมไดศึกษาลักษณะคํา และคําที่ศึกษาไมมีลักษณะคําเหมือนหรือใกลเคียงกับ

ภาษาไทย

4. ประเภทคําเลียนเสียงธรรมชาติในวรรณคดีประเภทลิลิต พบ 5 ประเภทคือ คําเลียนเสียงจากมนุษย สัตว

สิ่งของ ธรรมชาติ สิ่งเหนือธรรมชาติ ที่ไดผลเชนนี้ เพราะวา เนื้อความในบริบทระบุขอความถึงวัตถุจริง (มนุษย สัตว

สิ่งของ ธรรมชาติ สิ่งเหนือธรรมชาติ) การจัดประเภทคําจึงเปนไปตามเสียงของวัตถุและกิริยาของวัตถุ สอดคลองกับผล

ของการศึกษาของ สรบุศย รุงโรจนสุวรรณ (2550) เพียง 4 ประเภท คือ มนุษย สัตว สิ่งของ ธรรมชาติ แตกตางใน

ประเภทที่ 5 เนื่องจากในงานวิจัยนี้ ลิลิตพระลอมีเนื้อหาเกี่ยวกับเทพ และผีสาง สวนในงานวิจัยของสรบุศย รุงโรจน

สุวรรณ (2550) มีผลการศึกษาเกี่ยวกับประเภทคิว (Cue) เพราะในหนังสือการตูน การนําเสนอเรื่องราวในหนังสือมี

ลักษณะการจําลองละครโดยใชภาพและตัวหนังสือแทนเสียง ซึ่งในวรรณคดีประเภทลิลิตทั้งสามไมมี สอดคลองบางสวน

กับนาโอมิ ชารลิน (Naomi Sharlin, 2009) ที่พบวาประเภทคําเลียงเสียงของญี่ปุนมี 3 ประเภท คือ คําเลียนเสียงจาก

สัตว (giseigo) คําเลียนเสียงจากสิ่งของ (giongo) และ คําเลียงเสียงจากรางกายหรือการแสดงออกทางอารมณ (gitaigo)

นอกจากนี้ไมสอดคลองกับผลการศึกษาของอุดม พรประเสริฐ (2523) สอนศรี พิลาไชย (2534) สุริยา ทองคํา (2550)

กฤษณา สมบัติ (2553) เจียมศักดิ์ ชนะคา (2553) จอหน เจ โอฮาลา (John J. Ohala, 1994) เดโบราห แอล โคล

Page 19: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1365

(Deborah L. Cole, 1997) มารโจเรีย เค เอ็ม ชาน (Marjorie K.M. Chan, 1996) เนื่องจากไมไดศึกษาคําเลียนเสียง

ธรรมชาติ

5. ความสัมพันธของเสียงกับความหมายแบงได 4 กลุม คือ เสียง การเคลื่อนไหว แสงสวาง และความรูสึก ที่

ไดผลเชนน้ี เพราะวา ความหมายตามพจนานุกรมและความหมายของเสียงในบริบทมีความสอดคลองไปในทางเดียวกัน

จึงจัดความสัมพันธของเสียงกับความหมายตามเนื้อหาบริบท สอดคลองกับผลของการศึกษา สรบุศย รุงโรจนสุวรรณ

(2550) ที่พบความสัมพันธของเสียงกับความหมายดานเสียง การเคลื่อนไหว แสงสวาง และความรูสึก เชนเดียวกัน

เพราะศึกษาเรื่องคําเลียนเสียงธรรมชาติในภาษาไทยเหมือนกัน สอดคลองบางสวนกับอุดม พรประเสริฐ (2523) ที่พบวา

มคีวามสัมพนัธของเสียงกับความหมายดานเสียง สี บอกอาการ แตตางกับที่อุดม พรประเสริฐ และพบผลการศึกษาใน

ดานอื่น คือ ลักษณะรูปราง รส กลิ่น สัณฐาน ขนาด ความแนนอนและปริมาณ สอดคลองบางสวนกับสุริยา ทองคํา

(2550) ที่พบวามีความสัมพันธของเสียงกับความหมายดานบอกอาการและการเคลื่อนไหว แตไมเหมือนกับในดานขนาด

และปริมาณ สอดคลองกับเดโบราห แอล โคล (Deborah L. Cole, 1997) มารโจเรีย เค เอ็ม ชาน (Marjorie K.M.

Chan, 1996) นาโอมิ ชารลิน (Naomi Sharlin, 2009) ที่พบวามีความสัมพันธของเสียงกับความหมายดานเสียง และไม

สอดคลองกับผลการศึกษาของสอนศรี พิลาไชย (2534) กฤษณา สมบัติ (2553) และเจียมศักดิ์ ชนะคา (2553) จอหน เจ

โอฮาลา (John J. Ohala, 1994) ที่ผลการศึกษาพบวามีความสัมพันธของเสียงกับความหมายดานขนาดและปริมาณ

6. รูปสัญญะของคําเลียนเสียงธรรมชาติในวรรณคดีประเภทลิลิตมีความสัมพันธกับความหมายอยู 4 ดาน คือ

เสียง การเคลื่อนไหว แสงสวาง และความรูสึก ปรากฏทั้งรูปสัญญะพยัญชนะตน สระ และพยัญชนะทาย ที่ไดผลเชนนี้

เพราะวา ผูวิจัยไดเปรียบเทียบรูปสัญญะทั้งสามกับความหมายทั้งพยางค แลวแยกรูปสัญญะออกเปนสามสวน และเทียบ

กับความหมายในบริบทของวรรณคดี จากน้ันจึงจัดรูปสัญญะใหตรงกับความหมายทั้ง 4 กลุม สอดคลองกับผลการศึกษา

ของสรบุศย รุงโรจนสุวรรณ (2550) เพียงรูปสัญญะพยัญชนะตน เนื่องจากงานวิจัยศึกษาเพียงรูปภาษาพยัญชนะตนกลุม

เดียว แตงานวิจัยของผูวิจัยศึกษาเสียงจากรูปสัญญะทั้งพยางคยกเวนวรรณยุกตสอดคลองบางสวนกับผลการศึกษาของ

อุดม พรประเสริฐ (2523) ในรูปสัญญะสระ สอดคลองกับ สอนศรี พิลาไชย (2534) ในรูปสัญญะพยัญชนะและ

รูปสัญญะสระ สอดคลองกับสุริยา ทองคํา (2550) กฤษณา สมบัติ (2553) เจียมศักดิ์ ชนะคา (2553) จอหน เจ โอฮาลา

(John J. Ohala, 1994) มารโจเรีย เค เอ็ม ชาน (Marjorie K.M. Chan, 1996) และนาโอมิ ชารลิน (Naomi Sharlin,

2009) ในรูปสัญญะสระ และสอดคลองกับเดโบราห แอล โคล (Deborah L. Cole, 1997) ในรูปสัญญะพยัญชนะ

7. องคความรูใหมที่ไดจากการศึกษาครั้งนี้ พบวา เดิมทีมีความเขาใจวาเกี่ยวที่มาของคําเลียนเสียงธรรมชาติวา

เกิดจากเสียงพูด เสียงรอง เสียงอุทานของวัตถุ เพียงอยางเดียว แตจากการศึกษาบริบทในวรรณคดีพบวา เสียงเกิดจาก

กิริยาของวัตถุ และ เสียงที่เกิดในตัววัตถุถือเปนคําเลียนเสียงธรรมชาติดวย เชน “คคลับ” /khakhla p/ เปนคําเลียน

เสียงธรรมชาติที่กลาวถึงแสงเลื่อม มันขลับ คลายแมลงภูของงาชาง ในบริบทที่วา

ลางสารกดกยวซาย ขวาขับ ควบแฮ

ลางสํ่างาขวางอน งาแกลว

ลางดําคคลับคือ แมลงภู

เคยผาดเผงแผวผู ผาเข็ญ ฯ

(ลิลิตยวนพาย, 2512:53)

Page 20: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1366

เห็นไดวา “คคลับ” /khakhla p/ ไมใชเสียงเปลงของวัตถุและกิริยาของวัตถุ แตจัดอยูในกลุมคําเลียนเสียง

ธรรมชาติ เนื่องจากเปนคําที่มีลักษณะการสรางคําแบบซ้ําคํากลุมคํากรอนเสียง และเปนเสียงเลียนจากลักษณะที่มันวาว

ของงาชาง

และคําเลียนเสียงธรรมชาติ ยังรวมถึงเสียงที่เกิดความรูสึกภายในของวัตถุ แมไมไดออกเสียง เชนคําวา

“คราก” /khraak/ ดังบริบทที่วา

ราย 451

“...พระเจาเคยขึ้นชางลงมา คานหามทารับราช ผาลาดแลวเกือกทอง รองพระบาท

ซ้ําซอนออนเรียบ ดังฤๅมาเหยียบดินเดิรเพียงไพร ไตทางปาทาดงรก อกเผือขาดังจะคราก อาลําบาก

พระองค ซบเศียรลงกราบไหว...”

(ลิลิตพระลอ, 2469:115)

เห็นไดวา “คราก” /khraak/ เปนคํากริยาที่หมายถึงการแยก แตการตีความหมายตามบริบทของวรรณคดี

เสียงนี้เปนเสียงที่เกิดจากความรูสึกของพระพี่เลี้ยงของพระลอที่ทนไมได เมื่อเห็นพระลอในการประพาสปาครั้งนี้อยาง

ลําบาก ซึ่งไมใชเสียงฉีกอกออกดัง “คราก” แตเปนการเปรียบเทียบ จึงจัดกลุมความหมายของคําเลียนเสียงธรรมชาตินี้

ในกลุมความหมายความรูสึก

8. ผลของการศึกษาความสัมพันธของเสียงกับความหมายในวรรณคดีประเภทลิลิต สามารถนําไปใชสอน

ภาษาไทยใหชาวตางประเทศ ในการอธิบายความสัมพันธของเสียงและความหมายของคํา ทําใหผูเรียนที่เรียนกับผูวิจัย

สามารถเดาความหมายของคําจากรูปสัญญะได และไดเรียนรูวาศึกษาความหมายของคําจากบริบท ทําใหนักเรียนชาว

ตางประเทศสามารถเขาใจภาษาไทย ถึงความหมายเปลี่ยนไปจากบริบท และการเขาใจน้ีทําใหผูเรียนมีความกระตือรือรน

ซกัถามผูวิจัยเกี่ยวกับเสียง วิธีการออกเสียง การใชคําในการสื่อสารใหตรงกับความหมายที่ตองการสื่อถึงคนไทย เพื่อให

ใกลเคียงกับคนไทย ซึ่งผูวิจัยนําการวิจัยน้ีมาใชในการเรียนการสอนจริงกับนักศึกษาชาวตางประเทศ

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจัยฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดี เนื่องดวยผูวิจัยไดรับความกรุณาจากอาจารยที่ปรึกษา ทั้งสองทาน คือ รอง

ศาสตราจารยนราวัลย พูลพิพัฒน อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก และรองศาสตราจารย สนิท สัตโยภาส อาจารยที่

ปรึกษาวิทยานิพนธรวม ในการแนะนํา ตรวจแกไข ให ขอเสนอแนะ และติดตามความกาวหนาของงานวิจัยฉบับนี้ ผูวิจัย

รูสึกซาบซึ้งในความกรุณาของอาจารยทั้งสองทานนี้เปนอยางยิ่ง และขอขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ โอกาสน้ี

ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารยพิศมัย อําไพพันธุ ประธานสอบวิทยานิพนธที่เมตตาชวยแนะนําขอบกพรอง

ของงานวิจัย ทําใหผูวิจัยสามารถรูขอบกพรองและแกไขขอบกพรองตาง ๆ จนทําใหงานวิจัยเลมนี้ออกมาอยางสมบูรณ

และ รองศาสตราจารยพรพิลาส วงศเจริญ ที่ไดกรุณาใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับแนวคิดที่เปนประโยชนในงานวิจัย

ขอขอบคุณ สรบุศย รุงโรจนสุวรรณ ผูเปดมุมมองคําเลียนเสียงธรรมชาติในภาษาศาสตรทําใหผูวิจัยสามารถตอ

ยอดองคความรูในงานวิจัยนี ้

Page 21: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1367

ขอขอบคุณ คณาจารยสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม

ที่ใหความอนุเคราะหชวยเหลือการวิจัยและ ขอขอบคุณผูที่เกี่ยวของในดานอื่น ๆ ที่ไมไดกลาวนามที่มีสวนชวยให

งานวจิัยนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยด ี

ประโยชนอันพึงไดจากการศึกษาครั้งนี้ ขอใหเปนกตเวทิตาแดบิดา นายไกรเดช สุรินทรแกว มารดา นางศุพิน

สุรินทรแกว บุตรสาว เด็กหญิงพัชสุดา เปงวารินทร ตลอดจนผูเขียนหนังสือและบทความตาง ๆ ที่ใหความรูแกผูวิจัยจน

สามารถทําใหวจิัยนี้สําเร็จไดดวยดี จึงกราบขอบพระคุณไวในโอกาสนี ้

เอกสารอางอิง

กรมศิลปากร. ลิลิตยวนพาย. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: คลังวิทยา 2512.

กฤษณา สมบัติ. คําแสดงภาพลักษณในภาษาไทยถิน่ อําเภอแมแจม จังหวัดเชียงใหม.

ปริญญานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2553.

เจียมศักดิ์ ชนะคา. คําวิเศษณบอกลักษณะในภาษาถิ่นโคราช อําเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา.

วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2553.

ชลดา เรืองรักษลิขิต. อานลิลิตพระลอ ฉบับวิเคราะหและถอดความ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2544.

______ . ตะเลงพาย ศรีมหากาพย. กรุงเทพฯ : คณะสงฆวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (พิมพประกาศเกียรติคุณ

สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระ ปรมานุชิตชิตโนรส 9-11 ธันวาคม 2541), 2541.

ดวงมน จิตรจํานง สุนทรียภาพในภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ศยาม,2541.

ปรมานุชิตชิโนรส, สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระ. ลิลิตเตลงพาย (พิมพเปนอนุสรณเนื่องในพิธีเปดพระบรม

ราชานุสาวรีย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ ทุงภูเขาทอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา). พิมพครั้งที่ 3.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพอาสารักษาดินแดน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, 2543.

เรืองเดช ปนเขื่อนขัติย. ภาษาศาสตรภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2554.

ลิลิตพระลอ(ฉบับกรมศิลปากร พิมพแจกในการพระกฐินพระราชทานของนายพลโท พระวรวงศเธอ พระองคเจา

ทศศิริวงศ พ.ศ.2469). กรุงเทพฯ: โรงพิมพโสภณพิพรรฒนากร, 2469.

สุริยา ทองคํา. ความสัมพันธระหวางเสียงกับความหมายของคําแสดงภาพลักษณในภาษาไทยถิ่นยโสธร. ปริญญา

นิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,2550.

สรบุศร รุงโรจนสุวรรณ. โครงการวิจัยเรื่อง “คําเลียนเสียงธรรมชาติในภาษาไทย”.

เชียงราย: มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง, 2550.

อุดม พรประเสริฐ. คําวิเศษณสองพยางคในภาษาอีสาน. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2523.

De Saussure, Ferdinand. Edited by Charles Bally and Albert Sechehaye

In collaboration with Albert Riedlinger. Course in General Linguistics.

Illinois: OpenCourt, 1972.

Page 22: 1347research.pcru.ac.th/pcrunc2016/datacd/pcrunc2016/files/O4-048.pdf · การประชุมสัมมนาวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ

การประชุมสัมมนาวิชาการและนาํเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครอืขายบัณฑิตศึกษา และ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ครั้งท่ี 3

มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนอื ครั้งท่ี 16 “งานวิจัยเพื่อพฒันาทองถิ่น”

1368

Hinton, Leanne, Joanna Nichols, and John Ohala. "Introduction: Sound -symbolic processes ", Sound

Symbolism, eds. Hinton, Leanne, Johanna Nichols, and John Ohala, 1 -14. Cambridge:

Cambridge University Press, 1994.

John J. Ohala. Sound Symbolism. America: University of California, Berkeley Press, 1994.

Ogden, C. K. and I. A. Richards, I. A. The Meaning of Meaning: A Study of the Influence of

Language Upon Thought and of the Science of Symbolism. London: Routledge & Kegan

Paul, 1923.

Sorabud Rungrojsuwan. “The Symbolization of Sounds in Thai Onomatopoeic Words” MANUSYA:

Journal of Humanities. 10,2 (2007) : 41-53.

_______. “The non-arbitrary aspect of language:The iconicity of onomatopoeic words in Thai” SKY

Journal of Linguistics. 22 (2009) : 251–2.