รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวง...

454
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข รายละเอียดตัวชี ้ วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563

Transcript of รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวง...

  • กองยุทธศาสตรแ์ละแผนงาน

    สาํนกังานปลดักระทรวงสาธารณสุข

    รายละเอียดตวัช้ีวดักระทรวงสาธารณสุข

    ประจาํปีงบประมาณ 2563

  • คํานํา

    กระทรวงสาธารณสุข ไดจัดทําแผนยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (ดานสาธารณสุข) ตามนโยบายรัฐบาลท่ี

    จะนําประเทศไทยกาวสู Thailand 4.0 เพ่ือรองรับอนาคตท่ีมีความเปนสังคมเมือง สังคมผูสูงอายุ ซ่ึงในป 2573

    ประเทศไทยจะมีผูสูงอายุถึง 1 ใน 4 ของประชากรท้ังหมด รวมท้ังการเขาสูการเชื่อมตอการคาและการลงทุน

    ความกาวหนาทางเทคโนโลยี และลดความเหลื่อมล้ําการเขาถึงระบบสุขภาพ ซ่ึงในการดําเนินงานไดกําหนดแผน

    เปน 4 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 การปฏิรปูระบบสุขภาพ ระยะท่ี 2 เปนการสรางความเขมแข็ง ระยะท่ี 3 ดําเนินการให

    เกิดความยั่งยืน และระยะท่ี 4 ประเทศไทยจะเปนผูนําดานการแพทยและสาธารณสุข 1 ใน 3 ของเอเชีย เม่ือสิ้น

    แผนในป 2579 โดยแผนยุทธศาสตรของกระทรวงสาธารณสุขไดกําหนดเปาหมาย คือ ประชาชน สุขภาพดี

    เจาหนาท่ีมีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน ภายใตการพัฒนาความเปนเลิศใน 4 ดาน คือ 1.ยุทธศาสตรดานสงเสริม

    สุขภาพ ปองกันโรค และคุมครองผูบริโภคเปนเลิศ (PP&P Excellence) 2.ยุทธศาสตรบริการเปนเลิศ (Service

    Excellence) 3.ยุทธศาสตรบุคลากรเปนเลิศ (People Excellence) และ 4.แผนยุทธศาสตรบริหารเปนเลิศดวย

    ธรรมาภิบาล (Governance Excellence)

    ในการนี้ เพ่ือใหสอดคลองกับเปาหมายของกระทรวงสาธารณสุข “ประชาชนสุขภาพดี เจาหนาท่ีมี

    ความสุข และระบบสุขภาพยั่งยืน” หนวยงานตาง ๆ จึงไดรวมกันจัดทําแผน และรายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวง

    สาธารณสุข ภายใตกรอบ 15 แผนงาน 41 โครงการ และ 67 ตัวชี้วัด เพ่ือการกํากับติดตามผลการดําเนินงาน และ

    หนวยงานท่ีเก่ียวของใชเปนแนวทางในการดําเนินงานพรอมท้ังจัดเก็บขอมูลตามตัวชี้วัดดังกลาวใหเปนไปในทิศทาง

    เดียวกันและขอขอบคุณกรม กอง และหนวยงานท่ีเก่ียวของทุกหนวย ท่ีใหความรวมมือในการจัดทําคูมือเลมนี้เพ่ือ

    ใชประโยชนรวมกันตอไป

    กระทรวงสาธารณสุข

    ตุลาคม 2562

  • สารบัญตัวช้ีวัด

    ตัวช้ีวัดท่ี รายการตัวช้ีวัด หนา

    1 อัตราสวนการตายมารดาไทยตอการเกิดมีชีพแสนคน 8

    2 รอยละของเด็กอายุ 0-5 ป ท้ังหมดตามชวงอายุท่ีกําหนดมีพัฒนาการสมวัย 11

    3 รอยละของเด็กอายุ 0-5 ป สูงดีสมสวน และสวนสูงเฉลี่ยท่ีอายุ 5 ป 16

    4 เด็กไทยมีระดับสติปญญาเฉลี่ยไมต่ํากวา 100 21

    5 รอยละของเด็กอายุ 6-14 ป สูงดีสมสวน 26

    6 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ป 33

    7 รอยละของผูสูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิงไดรับการดูแลตาม Care Plan 35

    8 รอยละของประชากรสูงอายุท่ีมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีพึงประสงค 40

    9 รอยละของตําบลท่ีมีระบบการสงเสริมสุขภาพดูแลผูสูงอายุระ ยะยาว (Long Term Care)

    ในชุมชนผานเกณฑ

    46

    10 จํานวนครอบครัวไทยมีความรอบรูสุขภาพเรื่องกิจกรรมทางกาย 52

    11 รอยละของอําเภอผานเกณฑการประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีมีคุณภาพ 59

    12 ระดับความสําเร็จในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหนวยงานระดับจังหวัด 67

    13 รอยละการตรวจติดตามกลุมสงสัยปวยโรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูง 74

    14 รอยละของจังหวัดมีการขับเคลื่อนมาตรการยุติการใชสารเคมีทางการเกษตร

    ท่ีมีอันตรายสูงรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของในระดับสวนกลาง และภูมิภาค อยางนอย

    จังหวัดละ 1 เรื่อง

    83

    15 รอยละของจังหวัดมีระบบรับแจงขาว การใช/ปวยจากการสัมผัสสารเคมีทางการเกษตร 3

    ชนิด (พาราควอต คลอรไพริฟอส ไกลโฟเสต) โดยประชาชน/อสม. ผาน Mobile

    Application สูหนวยบริการ (คลินิกสารเคมีเกษตร/คลินิกโรคจากการทํางาน)

    88

    16 รอยละของจังหวัดมีการจัดทําฐานขอมูลอาชีวอนามัยและสิ่งแวดลอม (Occupational

    and Environmental Health Profile : OEHP) ดานเกษตรกรรม และมีการรายงาน

    การเจ็บปวยหรือเสียชีวิตจากสารเคมีทางการเกษตร (รหัสโรค T60)

    92

    17 รอยละของผลิตภัณฑสุขภาพกลุมเสี่ยงท่ีไดรับการตรวจสอบไดมาตรฐานตามเกณฑท่ี

    กําหนด

    97

    18 รอยละของโรงพยาบาลท่ีพัฒนาอนามัยสิ่งแวดลอมไดตามเกณฑ GREEN&CLEAN

    Hospital

    102

    19 รอยละของจังหวัดมีระบบจัดการปจจัยเสี่ยงดานสิ่งแวดลอมท่ีสงผลกระทบตอสุขภาพ 109

    20 รอยละหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ ท่ีเปดดําเนินการในพ้ืนท่ี 116

  • ตัวช้ีวัดท่ี รายการตัวช้ีวัด หนา

    21 รอยละของประชาชนในอําเภอท่ีเปนท่ีตั้งของ รพศ./รพท. มีแพทยเวชศาสตรครอบครัว

    หรือแพทยท่ีผานการอบรมและคณะผูใหบริการสุขภาพปฐมภูมิดูแลดวยหลักเวชศาสตร

    ครอบครัว

    120

    22 รอยละของผูปวย กลุมเปาหมายท่ีไดรับการดูแลจาก อสม. หมอประจําบานมีคุณภาพ

    ชีวิตท่ีด ี

    123

    23 จํานวน อสม. ท่ีไดรับการพัฒนาเปน อสม. หมอประจําบาน 126

    24 รอยละอัตราตายของผูปวยโรคหลอดเลือดสมองและระยะเวลาท่ีไดรับการรักษาท่ีเหมาะสม

    129

    25 อัตราความสําเร็จของการรักษาวัณโรคปอดรายใหม 144

    26 รอยละของโรงพยาบาลท่ีใชยาอยางสมเหตุผล (RDU) 161

    27 รอยละของโรงพยาบาลท่ีมีระบบจัดการการดื้อยาตานจุลชีพอยางบูรณาการ (AMR) 168

    28 รอยละการสงตอผูปวยนอกเขตสุขภาพลดลง 173

    29 อัตราตายทารกแรกเกิด 176

    30 รอยละการบรรเทาอาการปวดและจัดการอาการตางๆ ดวย Opioid ในผูปวย

    ประคับประคองระยะทายอยางมีคุณภาพ

    179

    31 รอยละของผูปวยนอกท้ังหมดท่ีไดรับบริการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟนฟูสภาพดวย

    ศาสตรการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

    185

    32 รอยละของผูปวยโรคซึมเศราเขาถึงบริการสุขภาพจิต 191

    33 อัตราการฆาตัวตายสําเร็จ 195

    34 อัตราตายผูปวยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired 199

    35 รอยละของโรงพยาบาลท่ีมีทีม Refracture Prevention ในโรงพยาบาลตั้งแตระดับ M 1

    ข้ึน ไป ท่ีมีแพทยออรโธปดิกสเพ่ิมข้ึน ใหไดอยางนอย 1 ทีมตอ 1 เขตสุขภาพ

    208

    36 อัตราตายของผูปวยโรคกลามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI และการใหการรักษา

    ตามมาตรฐานเวลาท่ีกําหนด

    214

    37 รอยละผูปวยมะเร็ง 5 อันดับแรกไดรับการรักษาภายในระยะเวลาท่ีกําหนด 218

    38 รอยละของผูปวย CKD ท่ีมีอัตราการลดลงของ eGFR

  • ตัวช้ีวัดท่ี รายการตัวช้ีวัด หนา

    41 รอยละของผูปวยยาเสพติดเขารับการบําบัดรักษา และ ติดตามดูแลอยางตอเนื่อง 1 ป

    (Retention Rate)

    231

    42 รอยละของผูปวยยาเสพติดกลุมเสี่ยงกอความรุนแรงไดรับการประเมิน บําบัดรักษาและ

    ติดตามดูแลชวยเหลือตามระดับความรุนแรง อยางตอเนื่อง

    234

    43 รอยละของโรงพยาบาลระดับ M และ F ในจังหวัดท่ีใหการบริบาลฟนสภาพระยะกลาง

    แบบผูปวยใน (intermediate bed/ward)

    237

    44 รอยละของผูปวยท่ีเขารับการผาตัด One Day Surgery 242

    45 จํานวนคลินิกการใหบริการกัญชาทางการแพทยนํารองอยางนอย เขตสุขภาพละ 1 แหง 253

    46 อัตราการเสียชีวิตของผูปวยวิกฤตฉุกเฉิน (triage level 1) ภายใน 24 ชั่วโมง ใน

    โรงพยาบาลระดับ A, S, M1 (ท้ังท่ี ER และ Admit)

    255

    47 รอยละของประชากรเขาถึงบริการการแพทยฉุกเฉิน 263

    48 รอยละของโรงพยาบาลศูนยผานเกณฑ ER คุณภาพ 266

    49 จํานวนผูปวยท่ีไมฉุกเฉินในหองฉุกเฉินระดับ 4 และ 5 (Non trauma) ลดลง 270

    50 รอยละของจังหวัดเปาหมายท่ีมีหนวยบริการตั้งอยูในพ้ืนท่ีเกาะมีการจัดระบบบริการ

    สุขภาพสําหรับการทองเท่ียวทางทะเลท่ีมีประสิทธิภาพ

    273

    51 รอยละท่ีเพ่ิมข้ึนของรายไดจากการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทยแผนไทย 276

    52 ระดับความสําเร็จของเขตสุขภาพท่ีมีการบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนากําลังคน

    ไดตามเกณฑ

    284

    53 รอยละของเขตสุขภาพท่ีมีการบริหารจัดการกําลังคนท่ีมีประสิทธิภาพ 291

    54 รอยละของหนวยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผานเกณฑการประเมิน ITA 296

    55 รอยละความสําเร็จของสวนราชการในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขท่ี

    ดําเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผานเกณฑท่ีกําหนด

    301

    56 รอยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผานการรับรอง

    HA ข้ัน 3

    311

    57 รอยละของ รพ.สต.ท่ีผานเกณฑการพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ติดดาว 318

    58 จํานวนองคกรแหงความสุขท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน 323

    59 รอยละของจังหวัดท่ีผานเกณฑคุณภาพขอมูล 329

    60 รอยละของหนวยบริการท่ีเปน Smart Hospital 349

    61 จํานวนโรงพยาบาลมีบริการรับยาท่ีรานยา 355

  • ตัวช้ีวัดท่ี รายการตัวช้ีวัด หนา

    62 ความแตกตางอัตราการใชสิทธิ (compliance rate) เม่ือไปใชบริการผูปวยใน (IP) ของผู

    มีสิทธิใน 3 ระบบ

    357

    63 ระดับความสําเร็จของการจัดทําสิทธิประโยชนกลางผูปวยในของระบบหลักประกัน

    สุขภาพ 3 ระบบ

    361

    64 รอยละของหนวยบริการท่ีประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน 365

    65 จํานวนนวัตกรรม หรือเทคโนโลยีสุขภาพท่ีคิดคนใหม หรือท่ีพัฒนาตอยอด 374

    66 รอยละของเขตสุขภาพมีการพัฒนาระบบบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ 382

    67 รอยละของกฎหมายท่ีควรปรับปรุงไดรับการแกไข และมีการบังคับใช 387

    รายละเอียดตัวช้ีวัดท่ีมีการแกไข

    5 รอยละของเด็กอายุ 6-14 ป สูงดีสมสวน 396

    12 ระดับความสําเร็จในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหนวยงานระดับจังหวัด 403

    13 รอยละการตรวจติดตามกลุมสงสัยปวยโรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูง 410

    14 รอยละของจังหวัดมีการขับเคลื่อนมาตรการยุติการใชสารเคมีทางการเกษตร

    ท่ีมีอันตรายสูงรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของในระดับสวนกลาง และภูมิภาค อยางนอย

    จังหวัดละ 1 เรื่อง

    418

    25 อัตราความสําเร็จของการรักษาวัณโรคปอดรายใหม 422

    41 รอยละของผูปวยยาเสพติดเขารับการบําบัดรักษา และ ติดตามดูแลอยางตอเนื่อง 1 ป

    (Retention Rate)

    438

    42 รอยละของผูปวยยาเสพติดกลุมเสี่ยงกอความรุนแรงไดรับการประเมิน บําบัดรักษาและ

    ติดตามดูแลชวยเหลือตามระดับความรุนแรง อยางตอเนื่อง

    441

    51 รอยละท่ีเพ่ิมข้ึนของรายไดจากการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทยแผนไทย 444

  • หมวด ยุทธศาสตรดานสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค และคุมครองผูบริโภคเปนเลิศ

    (PP&P Excellence)

    แผนท่ี 1. การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุมวัย (ดานสุขภาพ

    โครงการท่ี 1. โครงการพัฒนาและสรางศักยภาพคนไทยทุกกลุมวัย

    ระดับการแสดงผล ประเทศ

    ช่ือตัวช้ีวัด 1. อัตราสวนการตายมารดาไทยตอการเกิดมีชีพแสนคน

    ตัวช้ีวัด Proxy จํานวนการตายมารดาไทย

    คํานิยาม - การตายมารดา หมายถึง การตายของมารดาไทยตั้งแตขณะต้ังครรภ คลอดและหลัง

    คลอด ภายใน 42 วัน ไมวาอายุครรภจะเปนเทาใดหรือการตั้งครรภท่ีตําแหนงใด จาก

    สาเหตุท่ีเก่ียวของหรือกอใหเกิดความรุนแรงข้ึน จากการตั้งครรภและหรือการดูแลรักษา

    ขณะตั้งครรภ และคลอด แตไมใชจากอุบัติเหตุตอการเกิดมีชีพแสนคน

    เกณฑเปาหมาย

    ปงบประมาณ

    2562

    ปงบประมาณ

    2563

    ปงบประมาณ

    2564

    ปงบประมาณ

    2565

    ไมเกิน 17 ตอการ

    เกิดมีชีพแสนคน

    ไมเกิน 17 ตอการ

    เกิดมีชีพแสนคน

    ไมเกิน 16 ตอการ

    เกิดมีชีพแสนคน

    ไมเกิน 15 ตอการ

    เกิดมีชีพแสนคน

    วัตถุประสงค 1. พัฒนาระบบบริการของสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับใหไดมาตรฐานอนามัยแมและเด็กคุณภาพ

    2. เฝาระวังหญิงชวงตั้งครรภ คลอด และหลังคลอดเพ่ือลดการตายของมารดาจากการตั้งครรภและการคลอดอยางมีประสิทธิภาพ

    3. จัดระบบการสงตอหญิงตั้งครรภภาวะฉุกเฉินอยางมีประสิทธิภาพ ประชากรกลุมเปาหมาย หญิงตั้งครรภ คลอด และหลังคลอดภายใน 42 วัน

    วิธีการจัดเก็บขอมูล เม่ือเกิดมารดาตาย ใหดําเนินการ ดังตอไปนี้

    1. โรงพยาบาลท่ีมีมารดาตาย

    - แจงขอมูลมารดาตายเบื้องตนแกผูอํานวยการโรงพยาบาล, นายแพทยสาธารณสุขจังหวัด และประธานคณะกรรมการอนามัยแมและเด็กระดับจังหวัด

    ภายใน 24 ชั่วโมง

    - ดําเนินการตามกระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยง(Risk Management )และแกปญหาเบื้องตน

    2. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด - แจงขอมูลมารดาตายเบื้องตนแกศูนยเฝาระวังมารดาตาย ภายใน 24 ชั่วโมง

    3. คณะกรรมการอนามัยแมและเด็กระดับจังหวัด

    รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563 แก้ไขครั้งที่ 3 หน้า :: 8

  • - เก็บรวบรวมขอมูลมารดาตายท้ังหมด เพ่ือใชทบทวนและวิเคราะหสาเหตุการตายมารดา

    4. ศูนยเฝาระวังมารดาตาย

    สงรายงานการตายมารดาเบื้องตน ผาน http://savemom.anamai.moph.go.th ใหแก

    กรมอนามัย ภายใน 7 วัน

    - ประสานกับคณะกรรมการอนามัยแมและเด็กระดับจังหวัดเพ่ือรวบรวมขอมูลมารดาตาย

    - จัดประชุมทบทวนและวิเคราะหสาเหตุการตายมารดา - สงแบบฟอรมรายงานการตายมารดา (CE-62) ผาน

    http://savemom.anamai.moph.go.th แกกรมอนามัย ภายใน 30 วัน

    5. สํานักสงเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

    - วิเคราะหขอมูลมารดาตายในภาพรวม และรายงานแกคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนงานมารดาและทารกปริกําเนิด ทุก 3 เดือน

    จัดทํารายงานประจําป และขอเสนอแนะเชิงนโยบายเสนอตอผูบริหารระดับสูง

    แหลงขอมูล หนวยบริการสาธารณสุขทุกระดับ สํานักงานทะเบียนราษฎร

    รายการขอมูล 1 A = จํานวนมารดาตายระหวางตั้งครรภ คลอด และหลังคลอดภายใน 42 วัน ทุกสาเหตุ

    ยกเวนอุบัติเหตุ ในชวงเวลาท่ีกําหนด

    รายการขอมูล 2 B = จํานวนการเกิดมีชีพท้ังหมดในชวงเวลาเดียวกัน

    สูตรคํานวณตัวช้ีวัด (A/B) x 100,000

    ระยะเวลาประเมินผล ปละ 1 ครั้ง

    เกณฑการประเมิน :

    ป 2562:

    ป 2563:

    ป 2564:

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดือน

    - - - ไมเกิน 17 ตอ

    การเกิดมีชีพแสนคน

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดือน

    - - - ไมเกิน 17 ตอ

    การเกิดมีชีพแสนคน

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดือน

    - - - ไมเกิน 16 ตอ

    รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563 แก้ไขครั้งที่ 3 หน้า :: 9

  • ป 2565:

    การเกิดมีชีพแสนคน

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดือน

    - - - ไมเกิน 15 ตอ

    การเกิดมีชีพแสนคน

    วิธีการประเมินผล เปรียบเทียบผลการดําเนินงานกับคาเปาหมาย

    เอกสารสนับสนุน - แบบรายงานการตายมารดา CE-62

    - มาตรฐานบริการอนามัยแมและเด็กคุณภาพ (Safe Mother hood and Baby

    Friendly hospital)

    รายละเอียด

    ขอมูลพ้ืนฐาน

    Baseline

    data

    หนวยวัด ผลการดําเนินงานในรอบปงบประมาณ พ.ศ.

    2557 2558 2559 2560 256

    อัตราสวน

    การตาย

    มารดา

    อัตราสวนการตาย

    ตอการเกิดมีชีพ

    แสนราย

    23.3 24.6 26.6 18.4 17.

    ผูใหขอมูลทางวิชาการ/

    ผูประสานงานตัวช้ีวัด

    พญ.พิมลพรรณ ตางวิวัฒน โทรศัพท 0 2590 4435 โทรศัพทมือถือ 08 1292 3849

    นางนงลักษณ รุงทรัพยสิน โทรศัพท 0 2590 4425 โทรศัพทมือถือ 08 4681 9667

    โทรสาร 0 2590 4427 E-mail: [email protected]

    หนวยงานประมวลผล

    และจัดทําขอมูล

    สํานักสงเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

    ผูรับผิดชอบการรายงาน

    ผลการดําเนินงาน

    นางวรรณชนก ลิ้มจํารูญ โทรศัพท 0 2590 4438 โทรศัพทมือถือ 06 2596 2294

    โทรสาร 0 2590 4427 E-mail: [email protected]

    รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563 แก้ไขครั้งที่ 3 หน้า :: 10

  • หมวด ยุทธศาสตรดานสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรคและคุมครองผูบริโภคเปนเลิศ

    (Promotion & Prevention Excellence)

    แผนท่ี 1. การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุมวัย (ดานสุขภาพ

    โครงการท่ี 1. โครงการพัฒนาและสรางศักยภาพคนไทยทุกกลุมวัย

    ระดับการแสดงผล จังหวัด/เขต/ประเทศ

    ช่ือตัวช้ีวัด 2. รอยละของเด็กอายุ 0-5 ป ท้ังหมดตามชวงอายุท่ีกําหนดมีพัฒนาการสมวัย

    คํานิยาม - เด็กอายุ 0 - 5 ป หมายถึง เด็กแรกเกิด จนถึงอายุ 5 ป 11 เดือน 29 วัน

    - พัฒนาการสมวัย หมายถึง เด็กทุกคนไดรับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใชคูมือเฝา

    ระวังและสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM แลวผลการตรวจคัดกรอง ผานครบ

    5 ดาน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรก รวมกับเด็กท่ีพบพัฒนาการสงสัย

    ลาชาและไดรับการติดตามใหไดรับการกระตุนพัฒนาการ และประเมินซํ้าแลวผล

    การประเมิน ผานครบ 5 ดานภายใน 30 วัน(1B260

    คํานิยามเพ่ิมเติม

    • การคัดกรองพัฒนาการ หมายถึง ความครอบคลุมของการคัดกรองเด็กอาย ุ9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ณ ชวงเวลาที่มีการคัดกรองโดยเปนเด็กในพื้นที่ (Type1: มีชื่ออยูในทะเบียนบาน ตัวอยูจริงและ Type3 :

    ที่อาศัยอยูในเขต แตทะเบยีนบานอยูนอกเขต

    • พัฒนาการสงสัยลาชา หมายถึง เด็กที่ไดรับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใชคูมือเฝาระวังและสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวยั (DSPM และ ผลการตรวจคัดกรองพัฒนาการตามอายขุองเด็กในการประเมิน

    พัฒนาการคร้ังแรกผานไมครบ 5 ดาน ทั้งเด็กที่ตองแนะนําใหพอแม ผูปกครอง สงเสริมพัฒนาการตาม

    วัยภายใน 30 วัน (1B261 รวมกับเด็กที่สงสัยลาชา สงตอทันที (1B262 : เด็กที่พัฒนาการลาชา/ความ

    ผิดปกติอยางชัดเจน

    • พัฒนาการสงสัยลาชาไดรับการติดตาม หมายถึง เด็กที่ไดรับการตรวจคัดกรองพัฒนาการตามอายุของเด็กในการประเมินพัฒนาการคร้ังแรกผานไมครบ 5 ดาน เฉพาะกลุมทีแ่นะนําใหพอแม ผูปกครอง สงเสริม

    พัฒนาการตามวัยภายใน 30 วัน (1B261 แลวติดตามกลับมาประเมินคัดกรองพัฒนาการคร้ังที่ 2

    • เด็กพัฒนาการลาชา หมายถึง เด็กที่ไดรับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใชคูมือเฝาระวังและสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวยั(DSPM แลวผลการตรวจคัดกรอง ไมผานครบ 5 ดาน ในการตรวจคัดกรอง

    พัฒนาการคร้ังแรกและคร้ังที่ 2 (1B202, 1B212, 1B222, 1B232, 1B242

    รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563 แก้ไขครั้งที่ 3 หน้า :: 11

  • เกณฑเปาหมาย : รอยละของเด็กอายุ 0-5 ป พัฒนาการสมวัย

    ปงบประมาณ 61 ปงบประมาณ 62 ปงบประมาณ 63 ปงบประมาณ 64 ปงบประมาณ 65

    รอยละ 80 รอยละ 85 รอยละ 85 รอยละ 85 รอยละ 85

    หมายเหต ุ* ตัวชี้วัด Process ไมไดใชประเมินผลลัพธ ใน ป 2563 แตมีผลตอเปาหมายนาํมาแสดงเพื่อใหเห็นถึงกระบวนการทาํงาน ประกอบดวย 4

    ตัวชี้วัดดังนี้

    ตัวช้ีวัด Process* ปงบประมาณ

    61

    ปงบประมาณ

    62

    ปงบประมาณ

    63

    ปงบประมาณ

    64

    ปงบประมาณ

    65

    รอยละของเดก็อายุ 0-5 ป ไดรับการคัดกรองพัฒนาการ รอยละ 90 รอยละ 90 รอยละ 90 รอยละ 90 รอยละ 90

    เด็กอายุ 0-5 ป ที่ไดรับการคัดกรองพัฒนาการ พบสงสัย

    ลาชา

    รอยละ 20 รอยละ 20 รอยละ 20 รอยละ 20 รอยละ 20

    เด็กอายุ 0-5 ป ที่มีพัฒนาการสงสัยลาชาไดรับการ

    ติดตาม

    รอยละ 90 รอยละ 90 รอยละ 90 รอยละ 90 รอยละ 90

    เด็กพัฒนาการลาชาไดรับการกระตุนพัฒนาการดวย

    TEDA4I

    รอยละ 60 รอยละ 60 รอยละ 60 รอยละ 60 รอยละ 60

    วัตถุประสงค 1. สงเสริมใหเด็กเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัย พรอมเรียนรู ตามชวงวัย

    2. พัฒนาระบบบริการตามมาตรฐานอนามัยแมและเด็กคุณภาพของหนวยบริการ

    ทุกระดับ

    3. สงเสริมใหประชาชนมีความตระหนักรู เรื่องการเลี้ยงดูเด็กอยางมีคุณภาพ

    ประชากรกลุมเปาหมาย เด็กไทยอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ทุกคนท่ีอยูอาศัยในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ

    (Type1 มีชื่ออยูในทะเบียนบาน ตัวอยูจริงและType3 ท่ีอาศัยอยูในเขต แต

    ทะเบียนบานอยูนอกเขต

    วิธีการจัดเก็บขอมูล 1. สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ นําขอมูลการการประเมินพัฒนาการเด็ก

    บันทึกในโปรแกรมหลักของสถานบริการฯ เชน JHCIS HosXP PCU เปนตน และ

    สงออกขอมูลตามโครงสรางมาตรฐาน 43 แฟม

    2. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ตรวจสอบความถูกตองของขอมูล ในระบบ Health

    Data Center (HDC SERVICE) กระทรวงสาธารณสุข วิเคราะหและจัดทําสรุป

    รายงานและประเมินผลตามเกณฑเปาหมายในแตละรอบของพ้ืนท่ี

    3. ศูนยอนามัยและสถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแหงชาติ วิเคราะหขอมูลสรุปรายงาน

    และใหขอเสนอแนะเชิงนโยบาย

    แหลงขอมูล สถานบริการสาธารณสุขทุกแหง /สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด

    รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563 แก้ไขครั้งที่ 3 หน้า :: 12

  • รายการขอมูล 1 A = จํานวนเด็ก 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ท่ีไดรับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ

    โดยใชคูมือเฝาระวังและสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แลวผลการตรวจคัด

    กรอง ผานครบ 5 ดาน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครั้งแรก

    รายการขอมูล 2 a = จํานวนเด็ก 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ท่ีไดรับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ

    พบพัฒนาการสงสัยลาชาและไดรับการติดตามกระตุนพัฒนาการ และประเมินซํ้า

    แลวผลการประเมิน ผานครบ 5 ดานภายใน 30 วัน(1B260

    รายการขอมูล 3 B = จํานวนเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ท้ังหมดในชวงเวลาท่ีกําหนด

    สูตรคํานวณตัวช้ีวัด = (𝑨𝑨𝟗𝟗+𝒂𝒂𝟗𝟗)+(𝑨𝑨𝟏𝟏𝟏𝟏+𝒂𝒂𝟏𝟏𝟏𝟏)+(𝑨𝑨𝟑𝟑𝟑𝟑+𝒂𝒂𝟑𝟑𝟑𝟑)+(𝑨𝑨𝟒𝟒𝟒𝟒+𝒂𝒂𝟒𝟒𝟒𝟒)+(𝑨𝑨𝟔𝟔𝟑𝟑+𝒂𝒂𝟔𝟔𝟑𝟑)

    𝐁𝐁× 𝟏𝟏𝟑𝟑𝟑𝟑

    ระยะเวลาประเมินผล ไตรมาส 1,2,3 และ 4

    เกณฑการประเมิน :

    ป 2561:

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดือน

    รอยละ 80 รอยละ 80 รอยละ 80 รอยละ 80

    ป 2562:

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดือน

    รอยละ 85 รอยละ 85 รอยละ 85 รอยละ 85

    ป 2563:

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดือน

    รอยละ 85 รอยละ 85 รอยละ 85 รอยละ 85

    ป 2564:

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดือน

    รอยละ 85 รอยละ 85 รอยละ 85 รอยละ 85

    ป 2565:

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดือน

    รอยละ 85 รอยละ 85 รอยละ 85 รอยละ 85

    วิธีการประเมินผล : ใชขอมูลจากระบบ Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสุข

    ประมวลผลทุก 30 วัน (ทุกเดือน

    การดึงขอมูลจาก HDC ตองรอการบันทึกขอมูลสมบูรณ อยางนอย 45 วัน

    รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563 แก้ไขครั้งที่ 3 หน้า :: 13

  • เอกสารสนับสนุน : 1. สมุดบันทึกสุขภาพแมและเด็ก 2. คูมือนักสงเสริมพัฒนาการเด็กหลักสูตรเรงรัด ประจําโรงพยาบาล 3. คูมือ DSPM (ฉบับปรับปรุง เปนไฟลอิเลก็ทรอนิกสและ QR Code เชื่อม

    คลิปวีดีโอ และ คูมือ DSPM ฉบับพอแม (ครอบครัว (เปนไฟล

    อิเล็กทรอนิกส)

    4. คูมือมิสนมแม 5. คูมือเฝาระวังการควบคุมการสงเสริมการตลาด อาหารสําหรับทารกและ

    เด็กเล็ก

    คูมือคลินิกเด็กดีคุณภาพ

    รายละเอียดขอมูลพ้ืนฐาน Baseline

    data

    หนวยวัด ผลการดําเนินงานในรอบปงบประมาณ พ.ศ.

    2560 2561 2562

    รอยละเด็ก

    0-5 ป มี

    พัฒนาการ

    สมวัย

    รอยละ

    (ปรับตัวหาร

    ป 2560 ป 2561 ป 2562

    เปาหมาย 1,893,854 1,807,337 1,286,671

    สมวัย 1,477,430 1,458,212 1,156,153

    รอยละ 78.0 80.7 89.9

    รอยละ 95.9 96.5 97.5

    หมายเหต ุ: ขอมูล HDC ป 60-62 คัดกรองในเด็ก 4 ชวงอาย ุ9,18, 30 และ 42 เดือน รวมกระตุนติดตาม

    ขอมูล ป 2562 (เดือน ต.ค.61 - มิ.ย.62 ดึงขอมูล ณ 19 ส.ค. 2562

    ผูใหขอมูลทางวิชาการ /

    ผูประสานงานตัวช้ีวัด

    1. นางนนธนวนัณท สุนทรา ผูอํานวยการสถาบันพัฒนาอนามัยเด็ก

    แหงชาติ

    โทรศัพทท่ีทํางาน : 02 5883088 ตอ 3132 โทรศัพทมือถือ : 092 624 2456

    2. นายแพทยธีรชัย บุญยะลีพรรณ รองผูอํานวยการสถาบันพัฒนาอนามัยเด็ก

    แหงชาติ

    โทรศัพทท่ีทํางาน : 02 5883088 ตอ 3131 โทรศัพทมือถือ : 089 144 4208

    E-mail : [email protected]

    3. นางประภาพร จังพาณิชย นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ

    โทรศัพทท่ีทํางาน : 02 5904425 โทรศัพทมือถือ : 087 077 1130

    E-mail : [email protected]

    หนวยงานประมวลผลและ

    จัดทําขอมูล

    (ระดับสวนกลาง

    1. สํานักสงเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

    2. สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแหงชาติ กรมอนามัย

    3. สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

    รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563 แก้ไขครั้งที่ 3 หน้า :: 14

    mailto:[email protected]

  • ผูรับผิดชอบการรายงานผล

    การดําเนินงาน

    1. นายสุทิน ปุณฑริกภักดิ์ นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ

    โทรศัพทท่ีทํางาน : 02 588 3088 ตอ 3111 E-mail :

    [email protected]

    2. นางสาวพรชเนตต บุญคง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ

    โทรศัพทท่ีทํางาน : 02 588 3088 ตอ 4100 โทรศัพทมือถือ : 086 359 6215

    E-mail : [email protected]

    3. นางสาวพิชชานันท ทองหลอ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

    โทรศัพทท่ีทํางาน : 02 588 3088 ตอ 3112 โทรศัพทมือถือ : 090 918 9835

    E-mail : [email protected]

    รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563 แก้ไขครั้งที่ 3 หน้า :: 15

    mailto:[email protected]

  • หมวด ยุทธศาสตรดานสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค และคุมครองผูบริโภคเปนเลิศ

    (PP&P Excellence)

    แผนท่ี 1. การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุมวัย (ดานสุขภาพ

    โครงการท่ี 1. โครงการพัฒนาและสรางศักยภาพคนไทยทุกกลุมวัย

    ระดับการแสดงผล จังหวัด/เขต/ประเทศ

    ช่ือตัวช้ีวัด 3. รอยละของเด็กอายุ 0-5 ป สูงดีสมสวน และสวนสูงเฉล่ียท่ีอายุ 5 ป

    คํานิยาม เด็กอายุ 0 - 5 ป หมายถึง เด็กแรกเกิด จนถึงอายุ 5 ป 11 เดือน 29 วัน

    สูงดี หมายถึง เด็กที่มีความยาวหรือสวนสูงอยูในระดับสูงตามเกณฑขึ้นไป (สูงตามเกณฑ คอนขางสูง หรือสูง เม่ือเทียบกับกราฟการเจริญเติบโตความยาว/สวนสูงตามเกณฑอายุ กรมอนามัย ชุด

    ใหม ป พ.ศ. 2558 (ขององคการอนามัยโลก โดยมีคามากกวาหรือเทากับ -1.5 SDของ

    ความยาว/สวนสูงตามเกณฑอายุ

    สมสวน หมายถึง เด็กท่ีมีน้ําหนักอยูในระดับสมสวน เม่ือเทียบกับกราฟการเจริญเติบโตน้ําหนักตามเกณฑความยาว/สวนสูง กรมอนามัย ชุดใหม ป พ.ศ. 2558 (ขององคการอนามัย

    โลก โดยมีคาอยูในชวง + 1.5 SD ถึง -1.5 SD ของน้ําหนักตามเกณฑความยาว/สวนสูง

    สูงดีสมสวน หมายถึง เด็กที่มีความยาวหรือสวนสูงอยูในระดับสูงตามเกณฑขึ้นไปและมีน้ําหนักอยูในระดับสมสวน (ในคนเดียวกัน

    สวนสูงเฉล่ียท่ีอายุ 5 ป หมายถึง คาเฉลี่ยของสวนสูงในเด็กชาย และเด็กหญิงท่ีอายุ 5 ปเต็ม ถึง 5 ป 11 เดือน 29 วัน

    1,000 วันแรกของชีวิต หมายถึง ตั้งแตเริ่มปฏิสนธิในครรภมารดา จนถึงอายุ 2 ป

    • มหัศจรรย 1,000 วันแรกของชีวิต หมายถึง การสงเสริมโภชนาการ (อาหารหญิงตั้งครรภ อาหารหญิงใหนมบุตร นมแม และอาหารเด็กอายุ 6 เดือน – 5 ป รวมท้ังการเสริมสารอาหารท่ีสําคัญในรูป

    ของยา ไดแก ธาตุเหล็ก ไอโอดีน และกรดโฟลิกสําหรับหญิงตั้งครรภและหญิงหลังคลอดท่ีใหนมแม

    6 เดือน ยาน้ําเสริมธาตุเหล็กสําหรับเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ป รวมกับการ บูรณาการงาน

    สุขภาพอ่ืน ๆเชน สุขภาพชองปาก กิจกรรมทางกาย การนอน สุขาภิบาลอาหารและน้ํา

    • ตําบลสงเสริมเด็กอายุ 0-5 ป สูงดีสมสวน ฟนไมผุ พัฒนาการสมวัย หมายถึง ตําบลท่ีมีการดําเนินงานดังนี้

    1) ประเมินตนเองตามแบบประเมินตําบลสงเสริมเด็กอายุ 0-5 ป สูงดีสมสวน ฟนไมผุ พัฒนาการสมวัย ซ่ึงประกอบดวยกิจกรรมสําคัญดานโภชนาการ ทันตสุขภาพ กิจกรรม

    ทางกาย การนอน สุขาภิบาลอาหารและน้ํา ใน 5 setting ไดแก สถานบริการสาธารณสุข

    รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563 แก้ไขครั้งที่ 3 หน้า :: 16

  • ของรัฐ ชุมชน อปท. ศูนยเด็กเล็ก และครอบครัว เพ่ือสงเสริมใหเด็กอายุ 0-5 ป สูงดีสม

    สวน ฟนไมผุ พัฒนาการสมวัย

    2) จัดทําแผนพัฒนา/ปรับปรุงการดําเนินงานโภชนาการ ทันตสุขภาพ กิจกรรมทางกาย การนอน สุขาภิบาลอาหารและน้ํา

    3) มีการดําเนินงานตามแผนท่ีวางไว เกณฑเปาหมาย :

    ตัวช้ีวัด ปงบประมาณ

    62

    ปงบประมาณ 63 ปงบประมาณ

    64

    ปงบประมาณ

    65

    1. รอยละเด็กสูงดีสม

    สวน

    57 60 62 64

    2. สวนสูงเฉลี่ยท่ีอายุ 5

    - เด็กชาย (เซนติเมตร

    - เด็กหญิง (เซนติเมตร

    -

    -

    -

    113

    112

    วัตถุประสงค 1. เพ่ือสงเสริมโภชนาการสตรีและเด็กปฐมวัย

    2. เพ่ือพัฒนาการใหบริการโภชนาการใน ANC WCC และศูนยเด็กเล็ก

    3. เพ่ือใหมีการดําเนินงานแบบบูรณาการใน ANC WCC หมูบาน และศูนยเด็กเล็ก

    4. เพ่ือสรางกระแสและสื่อสารสาธารณะการสงเสริมสุขภาพสตรีและเด็ก

    ประชากร

    กลุมเปาหมาย

    หญิงตั้งครรภ หญิงใหนมบุตร พอแม/ผูเลี้ยงดูเด็ก เด็กอายุ 0-5 ป

    วิธีการจัดเก็บขอมูล รพ.สต. และ PCU ของโรงพยาบาลนําขอมูลน้ําหนักสวนสูงของเด็กท่ีเปนปจจุบัน จากหมูบาน

    ศูนยเด็กเล็ก และสถานบริการสาธารณสุข ซ่ึงไมรวมการรับบริการในกรณีเจ็บปวย บันทึกใน

    โปรแกรมหลักของสถานบริการ เชน JHCIS, HosXP PCU เปนตน และสงออกขอมูลตาม

    โครงสรางมาตรฐาน 43 แฟม

    แหลงขอมูล 1 สถานบริการสาธารณสุขทุกแหง (คลินิกสุขภาพเด็กดี

    2 หมูบาน

    3 ศูนยเด็กเล็ก

    รายการขอมูล 1 A1 = จํานวนเด็กอายุ 0-5 ปสูงดีสมสวน

    รายการขอมูล 2 A2 = ผลรวมของสวนสูงของประชากรชายอายุ 5 ปเต็ม ถึง 5 ป 11 เดือน 29 วันท่ีไดรับการ

    วัดสวนสูง

    รายการขอมูล 3 A3 = ผลรวมของสวนสูงของประชากรหญิงอายุ 5 ปเต็ม ถึง 5 ป 11 เดือน 29 วัน ท่ีไดรับ

    การวัดสวนสูง

    รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563 แก้ไขครั้งที่ 3 หน้า :: 17

  • รายการขอมูล 4 B1 = จํานวนเด็กอายุ 0-5 ป ท้ังหมด

    รายการขอมูล 5 B2 = จํานวนเด็กอายุ 0-5 ปท่ีชั่งน้ําหนักและวัดสวนสูงท้ังหมด

    รายการขอมูล 6 B3 = จํานวนประชากรชายอาย ุ5 ปเต็ม ถึง 5 ป 11 เดือน 29 วัน ท่ีไดรับการวัดสวนสูง

    ท้ังหมด

    รายการขอมูล 7 B4 = จํานวนประชากรหญิงอายุ 5 ปเต็ม ถึง 5 ป 11 เดือน 29 วัน ท่ีไดรับการวัดสวนสูง

    ท้ังหมด

    สูตรคํานวณตัวช้ีวัด 1) ความครอบคลุมเด็กท่ีไดรับการชั่งน้ําหนักและวัดความยาว/สวนสูง = (B2/ B1 × 100 2) รอยละเด็กอายุ 0-5 ปสูงดีสมสวน = (A1 / B2 × 100 3) สวนสูงเฉลี่ยชายท่ีอายุ 5 ป = (A2 / B3 4) สวนสูงเฉลี่ยหญิงท่ีอายุ 5 ป = (A3 / B4

    ระยะเวลาประเมินผล ปละ 4 ครั้ง คือ ไตรมาสท่ี 1, 2, 3, 4

    เกณฑการประเมิน : (ระบุ small success : ผลลัพธในแตละรอบ

    ป 2562:

    ป 2563:

    ป 2564:

    ป 2565:

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน

    51 53 55 57

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน

    57 58 59 60

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน

    60 61 61.5 62

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน

    62 63 63.5 64

    วิธีการประเมินผล : 1. มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมท่ีสอดคลองกับเกณฑการประเมิน

    2. มีการขับเคลื่อนงานมหัศจรรย 1,000 วันแรกของชีวิต และการพัฒนาตําบลสงเสริมเด็ก

    อายุ 0-5 ป สูงดีสมสวน ฟนไมผุ พัฒนาการสมวัย ผานกลไกในพ้ืนท่ี

    3. มีรายงานผลการขับเคลื่อนงานมหัศจรรย 1,000 วันแรกของชีวิต และการพัฒนาตําบล

    สงเสริมเด็กอายุ 0-5 ป สูงดีสมสวน ฟนไมผุ พัฒนาการสมวัย พรอมขอเสนอแนะของ

    สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ใหแกเขตสุขภาพและศูนยอนามัย

    รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563 แก้ไขครั้งที่ 3 หน้า :: 18

  • 4. เปรียบเทียบผลการดําเนินงานกับคาเปาหมาย

    เอกสารสนับสนุน : 1. หนังสือแนวทางการขับเคลื่อนงานมหัศจรรย 1,000 วันแรกของชีวิต

    2. หนังสือแนวทางการดําเนินงานสงเสริมสุขภาพดานโภชนาการในคลินิกฝากครรภ

    3. หนังสือแนวทางการดําเนินงานสงเสริมสุขภาพดานโภชนาการในคลินิกสุขภาพเด็กดี

    4. หนังสือแนวทางการดําเนินงานตําบลสงเสริมเด็กอายุ 0-5 ป สูงดีสมสวน ฟนไมผุ

    พัฒนาการสมวัย

    5. แนวทางการดําเนินงานจัดบริการสงเสริมสุขภาพอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัยดาน

    โภชนาการและสุขภาพชองปากในเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Cluster :

    PCC

    6. ชุดกิจกรรมพ้ืนฐานดานโภชนาการสตรีและเด็กปฐมวัย

    7. infographic โภชนาการสตรีและเด็กปฐมวัย 8 เรื่อง

    8. Motion graphic โภชนาการสตรีและเด็กปฐมวัย 8 เรื่อง

    9. VTR มหศัจรรย 1,000 วันแรกของชีวิต

    10. ชุดความรูกิน กอด เลน เลา นอน เฝาดูฟน

    รายละเอียดขอมูลพ้ืนฐาน

    *ขอมูลรายงานจาก HDC ไตรมาสท่ี 1 เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2558

    ตัวช้ีวัด Baseline

    data* หนวยวัด

    ผลการดําเนินงานในรอบปงบประมาณ พ.ศ.

    2560 2561 2562

    เด็กอายุ 0-5 ป สูงดีสมสวน 46.3 รอยละ 49.5 50.7 58.6

    สวนสูงเฉลี่ยท่ีอายุ 5 ป ชาย = 109.3

    หญิง=108.6

    เซนติเมตร

    เซนติเมตร

    110

    109.4

    109.4

    108.7

    108.8

    108.2

    ผูใหขอมูลทาง

    วิชาการ /

    ผูประสานงานตัวช้ีวัด

    1. นางณัฐวรรณ เชาวนลิลิตกุล หัวหนากลุมสงเสริมโภชนาการสตรีและเด็กปฐมวัย

    โทรศัพทท่ีทํางาน : 02-5904327 โทรศัพทมือถือ : -

    โทรสาร : 02-5904339 E-mail : [email protected]

    2. นางสาววราภรณ จิตอารี นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

    โทรศัพทท่ีทํางาน : 02-5904327 โทรศัพทมือถือ : -

    โทรสาร : 02-5904339 E-mail : [email protected]

    รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563 แก้ไขครั้งที่ 3 หน้า :: 19

  • หนวยงานประมวลผล

    และจัดทําขอมูล

    สํานักโภชนาการ กรมอนามัย

    ผูรับผิดชอบการ

    รายงานผลการ

    ดําเนนิงาน

    1. นางสาววราภรณ จิตอารี นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

    โทรศัพทท่ีทํางาน : 02-5904327 โทรศัพทมือถือ : -

    โทรสาร : 02-5904339 E-mail : [email protected]

    รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563 แก้ไขครั้งที่ 3 หน้า :: 20

  • หมวด ยุทธศาสตรดานสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค และคุมครองผูบริโภคเปนเลิศ

    (PP&P Excellence)

    แผนท่ี 1. การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุมวัย (ดานสุขภาพ

    โครงการท่ี 1. โครงการพัฒนาและสรางศักยภาพคนไทยทุกกลุมวัย

    ระดับการแสดงผล ประเทศ

    ช่ือตัวช้ีวัด 4. เด็กไทยมีระดับสติปญญาเฉล่ียไมต่ํากวา 100

    ตัวช้ีวัดยอย 4.1 รอยละของเด็กปฐมวัยท่ีไดรับการคัดกรองแลวพบวามีพัฒนาการลาชาไดรับการ

    กระตุนพัฒนาการดวยเครื่องมือมาตรฐาน

    คํานิยาม เด็กไทย หมายถึง เด็กนักเรียนไทยท่ีกําลังศึกษาอยูระดับประถมศึกษา ปท่ี 1 ใน

    โรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ. สํานักงาน

    คณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สาธิต

    และราชภัฏ กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถ่ิน (เทศบาล กองบัญชา การตํารวจ

    ตระเวนชายแดน และสังกัดกรุงเทพมหานคร ท้ัง 77 จังหวัดท่ัวประเทศ

    ความฉลาดทางสติปญญา หมายถึง ความสามารถของสมอง ในการคิด การใช

    เหตุผล การคํานวณ การเชื่อมโยง เปนศักยภาพทางสมองท่ีติดตัวมาแตกําเนิด สามารถ

    วัดออกมาเปนคาสัดสวนตัวเลขท่ีแนนอนได โดยเครื่องมือวัดสวนใหญจะวัดทักษะและ

    กระบวนการของสมอง เชน ความคิด ความจํา การจัดการขอมูลของสมอง เปนตน

    ความฉลาดทางสติปญญาไมต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน หมายถึง คาท่ีแสดง

    ความสามารถของสมองในภาพรวมซ่ึงเกิดจากการใชเครื่องมือวัดความสามารถทาง

    สติปญญาใหไดใกลเคียงศักยภาพจริงมากท่ีสุด โดยมีคากลางท่ีเปนมาตรฐานสากล

    ยุคปจจุบันท่ีคา = 100

    เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการคัดกรองแลวพบวามีพัฒนาการลาชา หมายถึง เด็ก

    ปฐมวัยอายุ 9, 18, 30, 42, 60 เดือน ท่ีประเมินดวยคู มือเฝาระวังและสงเสริม

    พัฒนาการเด็กปฐมวัย (Developmental Surveillance and Promotion Manual:

    DSPM) ครั้ง ท่ี 1 แลวพบวาตองสงตอ และเด็กอายุ 9, 18, 30, 42, 60 เดือนท่ีมา

    ประเมินซํ้า ดวยคูมือเฝาระวังและสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย: DSPM ครั้งท่ี 2 แลว

    ยังพบมีพัฒนาการลาชาอยางนอย 1 ดานข้ึนไป

    ไดรับการกระตุนพัฒนาการดวยเครื่องมือมาตรฐาน หมายถึง การท่ีเด็กปฐมวัยท่ี

    ไดรับการคัดกรองแลวพบวามีพัฒนาการลาชา ไดรับการตรวจวินิจฉัยเพ่ิมเติมและ/ หรือ

    ประเมินพัฒนาการ พรอมท้ังกระตุนพัฒนาการดวยคูมือประเมินเพ่ือชวยเหลือเด็ก

    รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563 แก้ไขครั้งที่ 3 หน้า :: 21

  • ปฐ มวั ย ท่ี มี ป ญห า พั ฒนา ก า ร (Thai Early Developmental Assessment for

    Intervention: TEDA4I) หรือเครื่องมือมาตรฐานอ่ืนๆ เชน คูมือคัดกรองและสงเสริม

    พัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด-5 ป สาหรับบุคลากรสาธารณสุข คูมือประเมินและแกไข

    พัฒนาการเด็กแรกเกิด-5 ป โปรแกรมการฝก/ กระตุนพัฒนาการตามวิชาชีพ (นัก

    กิจกรรมบําบัด นักกายภาพบําบัด นักเวชศาสตรสื่อความหมาย เปนตน

    เกณฑเปาหมาย 1.เด็กไทยมีระดับสติปญญาเฉล่ียไมต่ํากวา 100

    ปงบประมาณ 61 ปงบประมาณ 62 ปงบประมาณ 63 ปงบประมาณ 64 ปงบประมาณ 65

    วัดผลป 64 วัดผลป 64

    วัดผลป 64

    ระดับสติปญญา

    เฉลี่ยไมต่ํากวา 100

    วัดผลป 69

    เกณฑเปาหมายยอย 1.1 รอยละของเด็กปฐมวัยท่ีไดรับการคัดกรองแลวพบวามีพัฒนาการลาชาไดรับการกระตุน

    พัฒนาการดวยเครื่องมือมาตรฐาน

    ปงบประมาณ 61 ปงบประมาณ 62 ปงบประมาณ 63 ปงบประมาณ 64 ปงบประมาณ 65

    รอยละ 55 รอยละ 60 รอยละ 65 รอยละ 70 รอยละ 75 วัตถุประสงค 1. ทราบถึงสถานการณความฉลาดทางสติปญญาของเด็กไทย

    2. เปนแนวทางในการวางแผนพัฒนาความฉลาดทางสติปญญาเด็กไทย

    ประชากรกลุมเปาหมาย เปาหมาย 1 เด็กนักเรียนไทยท่ีกําลังศึกษาอยูระดับประถมศึกษา ปท่ี 1 ในโรงเรียน

    สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ. สํานักงานคณะกรรมการ

    สงเสริมการศึกษาเอกชน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สาธิตและราชภัฏ

    กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถ่ิน (เทศบาล กองบัญชาก ารตํารวจตระเวนชายแดน

    และสังกัดกรุงเทพมหานคร ท้ัง 77 จังหวัดท่ัวประเทศ

    เปาหมายยอย 1.1 เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการคัดกรองแลวพบวามีพัฒนาการลาชา คือ เด็ก

    ปฐมวัยทุกชวงอายุท่ีประเมินดวยคูมือเฝาระวังและสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

    (Developmental Surveillance and Promotion Manual: DSPM) ครั้ ง ท่ี 1 แลว

    พบวาตองสงตอ และเด็กอายุ 9, 18, 30, 42, 60 เดือน ท่ีมาประเมินซํ้า ดวยคูมือเฝา

    ระวังและสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย: DSPM ครั้งท่ี 2 แลวยังพบมีพัฒนาการลาชา

    วิธีการจัดเก็บขอมูล เปาหมาย 1 ป 2564 : จากการสํารวจระดับสติปญญาเด็กชั้นป.1ท่ัวประเทศ

    เปาหมายยอย 1.1 ป 2562 – 2565 : จากรายงานผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดใน

    แผนยุทธศาสตรกรมสุขภาพจิตในชวงแผนฯ 12 (พ.ศ.2560 – 2564 (ใชขอมูลจากแฟม

    รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563 แก้ไขครั้งที่ 3 หน้า :: 22

  • SPECIALPP ประมวลผลใน HDC ยกเวน กทม.ใชขอมูลท่ีศูนยสุขภาพจิตท่ี 13 รวบรวม

    จากการดําเนินงานของเครือขายในเขตสุขภาพท่ีรับผิดชอบ

    แหลงขอมูล เปาหมาย 1 ขอมูลจากการรายงานผลการสํารวจระดับสติปญญาเด็กนักเรียนไทย

    ป 2564, 2569, 2574, และ 2579 (สํารวจทุก 5 ป

    เปาหมายยอย 1.1 ขอมูลจากแฟม SPECIALPP ประมวลผลใน HDC ยกเวน กทม.ใช

    ขอมูลท่ีศูนยสุขภาพจิตท่ี 13 รวบรวมจากการดําเนินงานของเครือขายในเขตสุขภาพ

    ท่ีรับผิดชอบ

    รายการขอมูล 1 A = ผลรวมของคะแนน IQ ของเด็กนักเรียนไทยกลุมตัวอยาง

    รายการขอมูล 2 B = จํานวนเด็กนักเรียนไทยท่ีเปนกลุมตัวอยางในปท่ีสํารวจ

    รายการขอมูล 3 C = จํานวนเด็กปฐมวัยท่ีไดรับการคัดกรองแลวพบวามีพัฒนาการลาชาไดรับการกระตุน

    พัฒนาการดวยเครื่องมือมาตรฐาน

    รายการขอมูล 4 D = จํานวนเด็กปฐมวัยท่ีไดรับการคัดกรองแลวพบวามีพัฒนาการลาชา

    สูตรคํานวณตัวช้ีวัด ตามเกณฑเปาหมาย = (A/B)

    ตามเกณฑเปาหมายยอย = (C/D) x 100

    ระยะเวลาประเมินผล ไตรมาส 2 และ ไตรมาส 4

    เกณฑการประเมิน :

    ป 2562 :

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน

    - 1.1 เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการคัดกรองแลว

    พบวามีพัฒนาการลาชาไดรับการกระตุน

    พัฒนาการดวยเครื่องมือมาตรฐาน

    รอยละ 35

    - 1.1 เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการคัดกรองแลว

    พบวามีพัฒนาการลาชาไดรับการกระตุน

    พัฒนาการดวยเครื่องมือมาตรฐาน

    รอยละ 55

    ป 2562 :

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน

    - 1.1 เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการคัดกรองแลว

    พบวามีพัฒนาการลาชาไดรับการกระตุน

    พัฒนาการดวยเครื่องมือมาตรฐาน

    รอยละ 40

    - 1.1 เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการคัดกรองแลว

    พบวามีพัฒนาการลาชาไดรับการ

    กระตุนพัฒนาการดวยเครื่องมือ

    มาตรฐาน รอยละ 60

    รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563 แก้ไขครั้งที่ 3 หน้า :: 23

  • ป 2563 :

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน

    - 1.1 เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการคัดกรองแลว

    พบวามีพัฒนาการลาชาไดรับการกระตุน

    พัฒนาการดวยเครื่องมือมาตรฐาน

    รอยละ 45

    - 1.1 เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการคัดกรองแลว

    พบวามีพัฒนาการลาชาไดรับการ

    กระตุนพัฒนาการดวยเครื่องมือ

    มาตรฐาน รอยละ 65

    ป 2564 :

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน

    - 1.1 เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการคัดกรองแลว

    พบวามีพัฒนาการลาชาไดรับการกระตุน

    พัฒนาการดวยเครื่องมือมาตรฐาน

    รอยละ 50

    - 1.ระดับสติปญญาเฉลี่ยไมต่ํากวา 100

    1.1 เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการคัดกรองแลว

    พบวามีพัฒนาการลาชาไดรับการ

    กระตุนพัฒนาการดวยเครื่องมือ

    มาตรฐาน รอยละ 70

    ป 2565 :

    รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน

    - 1.1 เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการคัดกรอง

    แลวพบวามีพัฒนาการลาชาไดรับการ

    กระตุนพัฒนาการดวยเครื่องมือ

    มาตรฐาน รอยละ 55

    - 1.1 เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการคัดกรอง

    แลวพบวามีพัฒนาการลาชาไดรับการ

    กระตุนพัฒนาการดวยเครื่องมือ

    มาตรฐาน รอยละ 75 วิธีการประเมินผล : วิเคราะหขอมูลจากการรายงานผลการสํารวจระดับสติปญญาเด็กนักเรียนไทย และแฟม

    SPECIALPP ประมวลผลใน HDC ยกเวน กทม.ใชขอมูลท่ีศูนยสุขภาพจิตท่ี 13 รวบรวม

    จากการดําเนินงานของเครือขายในเขตสุขภาพท่ีรับผิดชอบ

    เอกสารสนับสนุน : - บทความฟนฟูวิชาการ: การสํารวจระดับสติปญญาเด็กไทยในสองทศวรรษท่ีผานมา. วารสารสุขภาพจิตแหงประเทศไทย ปท่ี 20 ฉบับท่ี 2 ป 2555

    - รายงานการสํารวจระดับสติปญญา และความฉลาดทางอารมณ ป 2554 และ 2559. กรมสุขภาพจิต

    รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2563 แก้ไขครั้งที่ 3 หน้า :: 24

  • รายละเอียดขอมูลพ้ืนฐาน Baseline data หนวยวัด ผลการดําเนินงานในรอบปงบประมาณ พ.ศ.

    2560 2561 2562

    คาเฉลี่ยของระดับ

    สติปญญาเด็กไทย

    - - - -

    รอยละของเด็ก

    ปฐมวัยท่ีไดรับการ

    คัดกรองแลว

    พบวามีพัฒนาการ

    ลาชาไดรับการ

    กระตุนพัฒนาการ

    ดวย TEDA4I

    รอยละ 87.27

    34.41

    44.73

    (28 มิ.ย.62

    ผูใหขอมูลทางวิชาการ /

    ผูประสานงานตัวช้ีวัด

    1. ผูอํานวยการสถาบันราชานุกูล

    โทรศัพทท่ีทํางาน : 02-2488900 ตอ 70902, 70305

    โทรสาร : 02-2488903

    2. แพทยหญิงจันทรอาภา สุขทัพภ

    โทรศัพทท่ีทํางาน: 02-2488900 ตอ70390 โทรศัพ�