บทบาททางการเมืองและกลยุทธ...

441
บทบาททางการเมืองและกลยุทธการสื่อสารทางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย : กรณีศึกษา ระหวางวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2552 โดย พันเอกสมควร สาคร ดุษฎีนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การสื่อสารการเมือง) วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2554

Transcript of บทบาททางการเมืองและกลยุทธ...

  • บทบาททางการเมืองและกลยุทธการสื่อสารทางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย : กรณีศึกษา

    ระหวางวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2552

    โดย

    พันเอกสมควร สาคร

    ดุษฎีนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การสื่อสารการเมือง) วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก

    พ.ศ. 2554

  • บทบาททางการเมืองและกลยุทธการสื่อสารทางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย : กรณีศึกษา

    ระหวางวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2552

    โดย

    พันเอกสมควร สาคร

    ดุษฎีนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การสื่อสารการเมือง) วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก

    พ.ศ. 2554

  • The Military’s Political Role and Political Communication Strategy of Soldiers in the Political Crisis in Thailand : A Case Study during

    September 19 th, 2006 – April 13 th, 2009

    By

    Col. Somkuarn Sakorn

    A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements For the Degree of Doctor of Philosophy Program in Political Communication

    Political Communication College Krirk University 2011

  • (1)

    บทคัดยอ ดุษฎีนิพนธ เร่ือง “บทบาททางการเมืองและกลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย ศึกษากรณี ระหวางวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2552” มีวัตถุประสงคในการวิจัย 2 ประการ ไดแก 1. เพื่อศึกษาบทบาททางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย ระหวางวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2552 ทั้งนี้ เพื่อนําไปสูการสังเคราะหตัวแบบ (Model) บทบาททางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย 2. เพื่อศึกษากลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมือง ไทย ระหวางวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2552 ทั้งนี้ เพื่อนําไปสูการสังเคราะหรูปแบบ (Pattern) กลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหารในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย การศึกษาคร้ังนี้ เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใชวิธีการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) ซึ่งเคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย คือ (1) เอกสารที่เกี่ยวของ และ (2) การสัมภาษณเจาะลึก (In-depth Interview) ทั้งนี้ การวิเคราะหขอมูลใชการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบวา : 1. บทบาททางการเมืองของทหารดวยการ “รัฐประหาร” ในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 เปนบทบาททางการเมืองของทหารในการ “หยุดการใชอํานาจของรัฐบาลพันตํารวจโททักษิณ ชินวัตร” และ “สรางกลไกปองกันการกลับมาของระบอบทักษิณ”, บทบาททางการเมืองของทหาร ดวยการ “รัฐประหารเงียบ” ในวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2551 เปนบทบาททางการเมืองของทหารในการ “หยุดการใชอํานาจของรัฐบาลนายสมชาย วงศสวัสดิ์” และ “จัดตั้งรัฐบาลที่สังคมคาดหวังแทนรัฐบาลเดิม”, บทบาททางการเมืองของทหารดวยการ “เปนกลไกหรือเคร่ืองมือของรัฐบาล” ในวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2552 เปนบทบาททางการเมืองของทหารในการ “สนับสนุนใหรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ บริหารประเทศตอไป” และ “รักษาความสงบเรียบรอยใหบานเมือง” 2. นอกจากนี้ยังพบวา การเขาไปมีบทบาททางการเมืองในคร้ังนี้ ทหารมีกลยุทธ ในการส่ือสารทางการเมืองกับประชาชนเพื่อใหประชาชนเขาใจและใหการสนับสนุนทหาร ไดแก มีผูนํากองทัพและโฆษกของกองทัพเปนผูสงสาร (sender) รวมทั้ง การสงทหารลงพื้นที่ทุกตําบล, ใชเนื้อหาสาร (message) ที่เปนการส่ือสารเชิงวัจนะโดยใชภาษาพูด และภาษาเขียนที่ผูรับสารเขาใจไดงาย เปนขอเท็จจริง และมีเหตุผลประกอบอยางเพียงพอ รวมทั้ง ใชการส่ือสารเชิงสัญลักษณ ทั้งนี้ รูปแบบและเนื้อหาของสารจะตองผานการกล่ันกรองจากชุดปฏิบัติการขาวสาร (IO) ของกองทัพกอน, ใชชองทางการส่ือสาร (channel) ที่หลากหลายเพื่อใหเขาถึงกลุมเปาหมาย

  • (2)

    ที่แตกตางกัน, กําหนดกลุมเปาหมายผูรับสาร (receiver) และกําหนดวิธีการส่ือสารทางการเมือง ตอกลุมเปาหมายผูรับสารใหเหมาะสม, ผลของการส่ือสารทางการเมืองของทหาร (effect) เปน การส่ือสารที่สัมฤทธิ์ผลสําหรับประชาชนทั่วไป และไมไดผลสําหรับผูที่นิยมในรัฐบาลเดิม ขอสังเคราะหจากงานวิจัยอันเปนองคความรูใหมเกี่ยวกับบทบาททางการเมือง และ กลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย พบวา 1. ทหารจะยังคงมีบทบาททางการเมืองตอไปในตัวแบบใดตัวแบบหนึ่ง ไดแก ตัวแบบที่ 1 (Model 1) “รัฐประหาร” ตัวแบบที่ 2 (Model 2) “รัฐประหารเงียบ” หรือตัวแบบที่ 3 (Model 3) “ทหารเปนกลไกหรือเคร่ืองมือของรัฐบาล” 2. ตัวแบบที่ 1 (Model 1) “รัฐประหาร” โอกาสที่จะเกิดรัฐประหารเปนไปไดยาก แตยังมีโอกาสเกิดข้ึนไดในสังคมการเมืองไทย 3. ตัวแบบที่ 2 (Model 2) “รัฐประหารเงียบ” มีโอกาสเกิดข้ึนงายกวารัฐประหาร 4. ตัวแบบที่ 3 (Model 3) “ทหารเปนกลไกหรือเคร่ืองมือของรัฐบาล” มีความเปนไปไดมากที่สุดและเปนไปตามครรลองประชาธิปไตย 5. ทหารใชเนื้อหาสารเพื่อสรางความชอบธรรมในการเขาไปมีบทบาททางการเมืองของทหาร เรียกวา “กลยุทธการพลิกสาร” หรือ “กลยุทธสารพลิก” 6. ปจจัยที่ทําใหการส่ือสารทางการเมืองของทหารประสบผลสําเร็จ คือ 1) ผูนํากองทัพเปนผูสงสาร (sender) เอง 2) การใชเนื้อหาสาร (message) เพื่อสรางความชอบธรรมใน การเขาไปมีบทบาททางการเมืองของทหาร 3) การใชชองทางการส่ือสาร (channel) ที่หลากหลายเพื่อใหเขาถึงกลุมเปาหมายผูรับสารที่แตกตางกัน 4) กําหนดวิธีการส่ือสารใหเหมาะสมกับผูรับสาร (receiver) และ 5) การใชสัมพันธภาพที่ดีกับผูส่ือขาว

  • (3)

    Abstract This dissertation of “The Military’s Political Role and Political Communication Strategy of Soldiers in the Political Crisis in Thailand, a case study during September 19 th, 2006 – April 13 th, 2009” had 2 objectives as follow: 1. To study the military’s political role in the political crisis in Thailand during September 19 th, 2006 – April 13 th, 2009, in order to synthesis the political role models of the military during political crisis in Thailand. 2. To study the military’s political communication strategy in the political crisis in Thailand during September 19 th, 2006 – April 13 th, 2009, in order to synthesis the political communication strategy patterns of the military during political crisis in Thailand. This study was conducted as a qual i tat ive research , in which a documentary research was applied as a research method. Research instruments utilized were (1) relevant documents, and (2) in-depth interview. The content analysis was used for data analysis. Research result revealed that : 1. The military’s political role in a form of “coup”, which was done in September 19 th, 2006, was the role in "stopping the use of power of the government led by Police Lieutenant Colonel Thaksin Shinawatra ", and "creating a mechanism to prevent the return of the Thaksin regime ", The military’s political role in a form of “silent coup”, which was done in December 6 th, 2008, was the role in “Stopping the use of power of the government led by Mr. Somchai Wongsawat”, and “establishing a new social expected government to replace the existing government”, The military’s political role in a form of “being a government’s mechanism or tool”, which was done in April 13th, 2009, was the role in “ supporting the government led by Mr. Abhisit Vejjajiva to continue to manage the country” and “ keeping the country being in order”. 2. In addition, it was found that the military, The Army Leader and the Army Announcer, had adopted the political cummunication strategies in those political roles, in order to make the public understands and gives supports to the soldiers. The political communication used were to send the soldiers to work as a message sender in every

  • (4)

    district, to use wording message, both in form of speech and writing, with sufficient supporting reasons, which was easy to be understood, to communicate the fact to the public, and to use symbolic communication as well. Anyhow, forms and contents of the message must be filtered by the Army’s Information Operation (IO). Many channels were adopted in order to be able to access variety of target group. The target receivers were determined. In addition, the optimum method for political communication to the target receivers was dertermined. The Effect of military’s political communication was succesful among general people, but not among people who like the former government. The synthesis of the research, which were considered as new knowledge concerning to the military’s political role and political communication strategy in the political crisis in Thailand, revealed that : 1. The military still continue to play a political role in any of the models, whether Model 1: “Coup”, Model 2 “Silent Coup”, or Model 3 “The Military as a government’s mechanism or tool”. 2. Model 1 “Coup”: The possibility of a coup is unlikely to be conducted, but still possible to be happened in Thai society. 3. Model 2 “Silent Coup”: The posibility of a silent coup is more than a coup. 4. Model 3 “The Military as a government’s mechanism or tool” is the most likely to be happened and being in accordance with democratic path. 5. The military uses the content of message to create a legitimacy to play a political role of the millitary is called as “Message Equivocation Strategy” or “Equivocated Message Strategy” 6. Factors make the military’s political communication become successful were : 1) the Army Leader was a message sender, 2) the use of message content to create the legitimacy in playing a political role of the military, 3) the use of various channels to transmit the message to different target receivers, 4) the appropriated communication method which is suitable for the receivers was determined, and 5) good relationship with the reporters.

  • (5)

    กิตติกรรมประกาศ

    การศึกษาคนควาดุษฎีนิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงลงได เนื่องจากไดรับความอนุเคราะหจากรองศาสตราจารย ดร.จุมพล หนิมพานิช ซึ่งเปนอาจารยที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ ที่กรุณาสละเวลาอันมีคาในการใหคําปรึกษาและใหคําแนะนําเพื่อปรับปรุงแกไขขอบกพรองตาง ๆ จนการศึกษาคนควาดุษฎีนิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ผูวิจัยขอขอบคุณทานคณาจารยผูสอน ในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขา การส่ือสารการเมือง วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริกทุกทาน ที่ไดประสิทธิ์ประสาทวิชาความรูในดานตาง ๆ ที่สามารถนํามาปรับใชในการศึกษาวิจัยในคร้ังนี้ ขอขอบคุณผูใหขอมูลในการวิจัยทุกทาน ที่กรุณาเสียสละเวลาใหสัมภาษณและใหขอมูลในสวนที่เกี่ยวของ แมจะเปนขอมูลที่เปนเร่ืองที่ละเอียดออนตอสังคมการเมืองไทยก็ตาม ทําใหผูวิจัยมีขอมูลเพียงพอที่จะนําไปวิเคราะหขอมูลจนไดขอสรุปที่สมบูรณ ทั้งนี้ ผูวิจัยขอเรียนวาการวิเคราะหขอมูลในงานวิจัยนี้ เปนการวิเคราะหขอมูลในเชิงวิชาการตามขอมูลที่คนพบเทานั้น ผูวิจัยมิไดมีเจตนาจะกาวลวงหรือพาดพิงบุคคลหรือองคกรใด ๆ ทั้งส้ิน และผูวิจัยขอขอบคุณคณะกรรมการดุษฎีนิพนธทุกทาน ไดแก ศาสตราจารย ดร.ลิขิต ธีรเวคิน รองศาสตราจารย ดร.โคริน เฟองเกษม ดร.นันทนา นันทวโรภาส พลเอก ดร.สุรพันธ พุมแกว และรองศาสตราจารย ดร.จุมพล หนิมพานิช ที่กรุณาใหคําแนะนําปรึกษา ทําใหดุษฎีนิพนธฉบับนี้มีความสมบูรณยิ่งข้ึน สุดทายขอขอบคุณผูบังคับบัญชา และผูมีอุปการคุณทุกทานที่อยูเบื้องหลัง ซึ่งไดใหโอกาส สงเสริม ใหการสนับสนุน และใหกําลังใจกับผูวิจัย จนประสบความสําเร็จในการศึกษา ระดับปริญญาเอกในคร้ังนี้

    พันเอกสมควร สาคร มหาวิทยาลัยเกริก

    พ.ศ. 2554

  • (6)

    สารบัญ

    หนา บทคัดยอ ...................................................................................................................... (1) กิตติกรรมประกาศ......................................................................................................... (5) สารบัญตาราง............................................................................................................... (10) สารบัญภาพประกอบ .................................................................................................... (11) บทที่

    1. บทนํา .............................................................................................................. 1

    ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ..................................................... 1 ปญหานําการวิจัย....................................................................................... 12 วัตถุประสงคในการวิจัย .............................................................................. 12 ขอบเขตของการวิจัย................................................................................... 13 นิยามศัพทเฉพาะ ....................................................................................... 14 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ.......................................................................... 16

    2. แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ .............................................................. 18

    แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะวิกฤต และภาวะวิกฤตทางการเมือง ............. 18 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับบทบาททางการเมืองของทหาร............................. 25 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับอํานาจและการใชอํานาจ..................................... 48 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการส่ือสาร และการส่ือสารทางการเมือง ............... 55 แนวคิดและทฤษฎีเร่ืองสัญญวิทยา ............................................................. 84 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับศาสตรแหงการตีความ ........................................ 91 งานวิจัยที่เกี่ยวของ..................................................................................... 95 กรอบแนวคิดในการวิจัย.............................................................................. 110

  • (7)

    3. ระเบียบวิธีวิจัย ................................................................................................. 111

    แนวทางการศึกษาวิจัย................................................................................ 111 เคร่ืองมือในการศึกษาวิจัย........................................................................... 111 กลุมผูใหขอมูลหลัก .................................................................................... 113 การวิเคราะหขอมูล ..................................................................................... 115 การนําเสนอการวิเคราะหขอมูล................................................................... 116

    4. บทบาททางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย กรณีศึกษา

    ระหวางวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2552 ................. 117

    ชวงที่ 1 บทบาททางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย ตั้งแต วันที่ 4 กุมภาพันธ พ.ศ.2549 ถึงวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 ............ 118 1. บทบาททางการเมืองของทหารในสังคมไทยในชวงป พ.ศ.2475

    ถึงป พ.ศ.2535................................................................................ 118 2. บริบท (ภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย) ที่เปนเงื่อนไขในการเขาไปมี

    บทบาททางการเมืองของทหาร ชวงที่ 1 ตั้งแตวันที่ 4 กุมภาพันธ พ.ศ.2549 ถึงวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 ...................................... 124

    3. บทบาททางการเมืองของทหารกอน “รัฐประหาร” ในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 ................................................................... 152

    4. บทบาททางการเมืองของทหารหลัง “รัฐประหาร” ในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 ................................................................... 160

    5. การรักษาอํานาจและการสืบทอดอํานาจทางการเมืองของทหาร หลัง “รัฐประหาร” ในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 .......................... 174

    ชวงที่ 2 บทบาททางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย ตั้งแต วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2551 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2551........... 183 1. บริบท (ภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย) ที่เปนเงื่อนไขในการเขาไปมี

    บทบาททางการเมืองของทหาร ชวงที่ 2 ตั้งแตวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2551 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2551......................................... 183

  • (8)

    2. บทบาททางการเมืองของทหารดวยการ “รัฐประหารเงียบ” ในภาวะ วิกฤตทางการเมืองไทย ชวงที่ 2 ตั้งแตวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2551 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2551.......................................................... 200

    3. การรักษาอํานาจและการสืบทอดอํานาจทางการเมืองของทหาร หลัง “รัฐประหารเงียบ” ในวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2551..................... 212

    ชวงที่ 3 บทบาททางการเมืองของทหารในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย ตั้งแต วันที ่31 มกราคม พ.ศ. 2552 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2552 ........... 214 1. บริบท (ภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย) ที่เปนเงื่อนไขในการเขาไปมี

    บทบาททางการเมืองของทหาร ชวงที่ 3 ตั้งแตวันที่ 31 มกราคม พ.ศ.2552 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ.2552....................................... 214

    2. บทบาททางการเมืองของทหารดวยการ “เปนกลไกหรือเคร่ืองมือ ของรัฐบาล” ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทยชวงที่ 3 ตั้งแตวันที ่ 31 มกราคม พ.ศ.2552 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ.2552................... 228

    3. การรักษาอํานาจและการสืบทอดอํานาจทางการเมืองของทหาร หลัง “ทหารเปนกลไกหรือเคร่ืองมือของรัฐบาล” ในวันที่ 13 เมษายน พ.ศ.2552.............................................................. 236

    5. กลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย

    กรณีศึกษาระหวางวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ.2552 และการสังเคราะหตัวแบบ (Model) บทบาททางการเมืองและรูปแบบ (Pattern) กลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย ........... 242

    ตอนที่ 1 กลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทาง

    การเมืองไทย กรณี ศึกษาระหวางวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ.2552 ..................................................... 242 ชวงที่ 1 กลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤต

    ทางการเมืองไทย ตั้งแตวันที่ 4 กุมภาพันธ พ.ศ.2549 ถึงวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 ........................................ 243

  • (9)

    ชวงที่ 2 กลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤต ทางการเมืองไทย ตั้งแตวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2551 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2551........................................... 272

    ชวงที่ 3 กลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤต ทางการเมืองไทย ตั้งแตวันที ่31 มกราคม พ.ศ.2552 ถึง วันที่ 13 เมษายน พ.ศ.2552 ............................................. 289

    ตอนที่ 2 การสังเคราะหตัวแบบ (Model) บทบาททางการเมืองและรูปแบบ (Pattern) กลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤต ทางการเมืองไทย ................................................................................. 327 การสังเคราะหตัวแบบ (Model) บทบาททางการเมืองของทหาร ใน ภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย......................................................... 327 การสังเคราะหรูปแบบ (Pattern) กลยุทธการส่ือสารทางการเมือง ของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย...................................... 331 ขอสังเคราะหจากงานวิจัยอันเปนความรูใหมเกี่ยวกับบทบาททาง การเมืองและกลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหาร ในภาวะ วิกฤตทางการเมืองไทย ................................................................. 335

    6. สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ..................................................................... 350

    ผลการวิจัย................................................................................................. 350 อภิปรายผลการวิจัย.................................................................................... 370 ขอเสนอแนะ............................................................................................... 399

    บรรณานุกรม ................................................................................................................ 403 ภาคผนวก..................................................................................................................... 418 ประวัติการศึกษา........................................................................................................... 425

  • (10)

    สารบัญตาราง

    ตารางที่ หนา 4.1 สรุปบทบาททางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย

    ระหวางวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ.2552......................................................................................... 239

    5.1 สรุปกลยุทธเกี่ยวกับผูสงสาร (sender) ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย ระหวางวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ.2552 ... 312

    5.2 สรุปกลยุทธเกี่ยวเนื้อหาสาร (message) ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย ระหวางวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ.2552 ... 314

    5.3 สรุปกลยุทธเกี่ยวกับชองทางการส่ือสาร (channel) ของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย ระหวางวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ.2552 .......................................................... 319

    5.4 สรุปกลยุทธเกี่ยวกับผูรับสาร (receiver) ของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย ระหวางวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ.2552...................................................................... 323

    5.5 สรุปผลของการส่ือสารทางการเมืองของทหาร (effect) ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย ระหวาง วันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ.2552 .......................................................... 326

    6.1 สรุปผลการวิเคราะหเนื้อหาสาร (message) ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย ระหวางวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ.2552 โดยใชวิธีการวิเคราะหแบบสัญญวิทยา (Semiology Analysis)......................................................................................... 393

  • (11)

    สารบัญภาพประกอบ

    ภาพที ่ หนา 1.1 แสดงการเปล่ียนแปลงทางการเมืองในสังคมการเมืองไทย..................... 7 2.1 กระบวนการส่ือสารตามแนวคิดของเบอรโล (Berlo) .............................. 66 2.2 แบบจําลองการส่ือสารของลาสเวลล (Lasswell)................................... 68 2.3 ตัวแบบการส่ือสารของดอยทช (Deutsch) ............................................ 74 2.4 แบบจําลองการส่ือสารทางการเมืองของไบรอัน แมคแนร

    (Brian McNair).................................................................................. 76 2.5 แบบจําลองการส่ือสารทางการเมืองประยุกต ........................................ 78 2.6 กรอบแนวคิดในการศึกษา ................................................................... 110 5.1 ตัวแบบที่ 1 (Model 1) บทบาททางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤต

    ทางการเมืองไทย ดวยการ “รัฐประหาร” ............................................... 328 5.2 ตัวแบบที่ 2 (Model 2) บทบาททางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤต

    ทางการเมืองไทย ดวยการ “รัฐประหารเงียบ”........................................ 329 5.3 ตัวแบบที่ 3 (Model 3) บทบาททางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤต

    ทางการเมืองไทย ดวยการ “เปนกลไกหรือเคร่ืองมือของรัฐบาล”............. 330 5.4 รูปแบบที่ 1 (Pattern 1) กลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหาร

    ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย (19 กันยายน 2549) .............................. 332 5.5 รูปแบบที่ 2 (Pattern 2) กลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหาร

    ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย (6 ธันวาคม 2551) ................................ 333 5.6 รูปแบบที่ 3 (Pattern 3) กลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหาร

    ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย (13 เมษายน 2552) .............................. 334 5.7 แบบจําลองปจจัยที่ทําใหการส่ือสารทางการเมืองของทหาร

    ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทยประสบผลสําเร็จ ................................... 349 6.1 ตัวแบบที่ 1 (Model 1) บทบาททางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤต

    ทางการเมืองไทย ดวยการ “รัฐประหาร” ............................................... 364 6.2 ตัวแบบที่ 2 (Model 2) บทบาททางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤต

    ทางการเมืองไทย ดวยการ “รัฐประหารเงียบ”........................................ 365

  • (12)

    6.3 ตัวแบบที่ 3 (Model 3) บทบาททางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย ดวยการ “เปนกลไกหรือเคร่ืองมือของรัฐบาล”............. 366

    6.4 รูปแบบที่ 1 (Pattern 1) กลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย (19 กันยายน 2549) ............................ 367

    6.5 รูปแบบที่ 2 (Pattern 2) กลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย (6 ธันวาคม 2551)............................... 368

    6.6 รูปแบบที่ 3 (Pattern 3) กลยุทธการส่ือสารทางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย (13 เมษายน 2552) ............................. 369

  • 1

    บทท่ี 1

    บทนํา

    ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ในสังคมไทย ถือวา กองทัพเปนองคกรทางสังคมที่เกาแกที่สุดองคกรหนึ่ง ซึ่งเกิดจากความจําเปนของชุมชนที่ตองการปกปองคุมครองชีวิต และทรัพยสินของสมาชิกชุมชน เม่ือชุมชน มีการขยายตัวเปนรัฐ กองทัพก็ไดมีการพัฒนาในดานตาง ๆ มาตามลําดับ ทั้งนี้ การทหารของไทยเปนกิจการที่สําคัญของรัฐมาโดยตลอดนับตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัยมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร แตการปรับปรุงการทหารคร้ังที่สําคัญ ไดเร่ิมข้ึนในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ไดทรงริเร่ิมกําหนดใหมีกองทัพสยามใหมตามแบบตะวันตก1 ซึ่งในป พ.ศ. 2427 ไดทรงประกาศ “แบบอยางขออธิบายสําหรับกรมทหาร” ที่แสดงใหเห็นแนวโนมทิศทางการพัฒนากองทัพใหมีขีดความสามารถในการรักษาความปลอดภัยใหแกประเทศชาติ และเพิ่มหนาที่หลักของกองทัพสยามใหม ใหมีหนาที่ค้ําจุนและปกปองราชบัลลังก ตอมาในป พ.ศ. 2435 ไดทรงปฏิรูปการปกครองจัดออกเปน 12 กระทรวง และไดมีพระราชบัญญัติการเกณฑทหาร ในป พ.ศ. 2446 (รศ.112) กําหนดให “ชายฉกรรจทุกคนเปนขาแผนดิน” ทดแทนระบบการควบคุมไพรแบบเดิม ทําใหกองทัพสยามแบบใหมมีความหมายเปนกองทัพอยางแทจริงตั้งแตนั้นมา แตอยางไรก็ตาม ความสําเร็จของการขยายตัวของกองทัพไดกอใหเกิดลัทธิชาตินิยมและลัทธิทหาร ที่เชื่อวา “นายทหารคือผูนําที่จะทําใหบานเมืองเจริญข้ึน” และหลังจากสงครามโลกคร้ังที่ 1 กระแสลัทธิชาตินิยมและลัทธิรัฐธรรมนูญไดแพรกระจายไปยังคนชั้นกลางดวย จนเปนมูลเหตุปจจัยสําคัญที่นําไปสูการเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช มาเปนระบอบประชาธิปไตยในป พ.ศ. 24752

    1ชัยอนันต สมุทวณิช, ปญหาการพัฒนาการเมืองไทย, พิมพคร้ังที่ 2, (กรุงเทพฯ:

    สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2536). น. 184-185. 2ธํารงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต , ปฏิวัติ 2475, (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตํารา

    สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2552). น. 228-239.

  • 2

    ทหารมีบทบาทเกี่ยวของกับการเมืองการปกครองมาโดยตลอดตั้งแตกอน พ.ศ. 2475 และหลัง พ.ศ. 2475 ทหารมีความเกี่ยวพันกับการเมืองมากข้ึน3 การเขาไปมีบทบาททางการเมืองของทหาร จะเห็นไดจากมีการยึดอํานาจ ปฏิวัติ รัฐประหาร และกบฏ รวมถึง 24 คร้ัง ซึ่งทหารเขาไปมีบทบาทเกี่ยวของแทบจะทุกคร้ัง ทําใหมีรัฐบาลทหารปกครองอันยาวนานตั้งแตป พ.ศ. 2475 จนถึงป พ.ศ. 2516 ทั้งนี้ ตั้งแตป พ.ศ. 2516 เปนตนมา สังคมไทยจึงกาวสูความเปนประชาธิปไตยมากข้ึน แตทหารก็ยังมีบทบาทที่ค้ําจุนความม่ันคงของรัฐบาลทั้งโดยเปดเผยและทางออม4 จากสภาพการณที่สังคมไทยกําลังมีความตื่นตัวตอแนวความคิดประชาธิปไตย ในยุคของรัฐบาล พลเอกเปรม ติณสูลานนท ไดใชการบริหารแบบรัฐบาลพลเรือน สงผลใหทหารไมสามารถเขามา มีบทบาททางการเมืองโดยตรงได ดวยเหตุนี้ ทหารบางกลุมตองเปล่ียนรูปแบบการแสดงบทบาทเพื่อรักษาอํานาจของตน โดยเปล่ียนมาใชการแทรกแซงทางการเมืองโดยออม และการแสดงกําลังเพื่อกดดันรัฐบาล แตอยางไรก็ตาม ความพยายามเพื่อรักษาบทบาททางการเมืองของทหารไมไดรับความสําเร็จมากนัก ดังนั้น ทหารจึงหันกลับไปใชการแสดงบทบาทในรูปแบบเดิมดวยการกอรัฐประหารเม่ือวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2524 และวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2528 แตความพยายาม ในการกอรัฐประหารทั้ง 2 คร้ัง ไมประสบผลสําเร็จ สงผลใหทหารตองลดบทบาททางการเมืองลงในเวลาตอมา5 การยึดอํานาจของคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ (รสช.) ในวันที่ 23 กุมภาพันธ พ.ศ. 2534 เปนอีกคร้ังหนึ่งของความพยายามเขาไปมีบทบาททางการเมืองของทหาร ที่เร่ิมตนดวยการอางความชอบธรรมทางการเมืองจากความลมเหลว และไมสามารถแกไขปญหาของรัฐบาล ตอมาก็สรางความชอบธรรมเชิงกฎหมาย เพื่อนํามาซึ่งความชอบธรรมทางการเมืองในการเขาสูอํานาจการปกครองประเทศ แตวาการจะใชกฎหมายปกครองประเทศโดยอาศัยอํานาจผลักดันหรือกําลังกองทัพอยางที่คณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติทํานั้นไมเพียงพออีกแลว การเขาสูอํานาจการปกครองยังตองอาศัยการยอมรับจากฝายตาง ๆ ดวย ทายที่สุดคณะรักษา

    3รุจิโรจน สายสมบัติ, ทหารกับประชาธิปไตย, (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต

    จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542), น. บทคัดยอ. 4ชาดา นนทวัฒน, กบฏแผนดินแยงชิงอํานาจ, (กรุงเทพฯ: บริษัท ยิปซี กรุป จํากัด,

    2552), น. 17-21. 5ศศิธร โอเจริญ, บทบาททางการเมืองของกลุมทหาร ในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ติณ

    สูลานนท ระหวาง พ.ศ. 2523-2531, (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549), น. บทคัดยอ.

  • 3

    ความสงบเรียบรอยแหงชาติตองลงจากอํานาจ ชี้ใหเห็นวาปฏิกิริยารวมของการไมยอมรับของประชาชน นําไปสูผลของความไมชอบธรรมทางการเมืองในที่สุด6 ทั้งนี้ หลังจากการยึดอํานาจของคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ (รสช.) ในวันที่ 23 กุมภาพันธ พ.ศ. 2534 มาจนถึงวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ประเทศไทยวางเวนจากการปฏิวัติรัฐประหารมาถึง 15 ป จากผลการศึกษาของนักวิชาการทางรัฐศาสตรสวนใหญ ที่ไดศึกษาเกี่ยวกับบทบาททางการเมืองของทหาร มีแนวโนมวาทหารจะถอนตัวออกจากการเมือง หรือลดบทบาททางการเมืองลงไป ซึ่งแตกตางจากอดีตที่ผานมา ที่ทหารมีบทบาททางการเมืองคอนขาง มาก เนื่องจากประเทศไทยไดมีการเปล่ียนแปลงสภาพการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ทําใหประเทศไทยกลายเปนสังคมพหุนิยม (pluralistic) ที่มีกลุมทางการเมืองและเศรษฐกิจมาเปนผูเลนการเมืองมากข้ึน แตแนวโนมเชนนี้มิไดหมายความวา ทหารจะหมดฐานะของการเปน ตัวแสดงทางการเมืองที่สําคัญไปอยางใด อันจะเห็นไดจากการเกิดภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย ที่ทําใหทหารกลับมามีบทบาททางการเมืองอีกคร้ังหนึ่ง ในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ซึ่ง การรัฐประหารในคร้ังนี้ ยอมเปนเคร่ืองพิสูจนวา ทหารมิไดลดบทบาทจากการเมืองลงไปอยางที่นักวิชาการหลายทานไดสรุปไว7 เนื่องจากระบอบประชาธิปไตยพัฒนาควบคูมากับระบบทหาร ซึ่งทหารไดเขาไป มีความสําคัญและมีบทบาททางการเมืองมาเปนเวลานาน ดังนั้น การศึกษาทางรัฐศาสตรและ การส่ือสารทางการเมือง นอกจากจะใหความสําคัญกับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม จะตองใหความสําคัญกับ “บทบาททางการเมืองของทหาร” ดวย เพื่อใหสังคมไดเกิดการเรียนรูใหรอบดาน โดยเฉพาะ การศึกษาในเร่ืองที่เกี่ยวของกับบทบาทของทหารที่มีตอการเมืองใหมากข้ึน ทั้งนี้ รศ.ดร.สุรชาติ บํารุงสุข ไดใหความเห็นในงานเสวนา “1 ศตวรรษ : รัฐธรรมนูญและรัฐประหารกับการเมืองสยามประเทศไทย จากกบฏ ร.ศ.130 ถึงรัฐประหาร 19 กันยายน 2549” ไวดังนี้ วันนี้ส่ิงที่รัฐศาสตรจุฬาฯ และรัฐศาสตรธรรมศาสตรอาจจะตองทํา คือ หาคนมาสอน “วิชาทหารกับการเมืองไทย” ใหม เพราะวิชานี้หายไปนานแลวนะครับ มีคนรุนอาจารยชาญ

    6เบญจพล เปรมปรีดา, ทหารกับการสืบทอดอํานาจทางการเมือง : กรณีศึกษาคณะ

    รักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ , ( วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2536), น. บทคัดยอ.

    7สุรชาติ บํารุงสุข, ทหารกับประชาธิปไตยไทย : จาก 14 ตุลาสูปจจุบันและอนาคต, (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพตนตํารับ, 2550), น. 15.

  • 4

    วิทยเรียน มารุนผมนี่ยังเหลืออยูบาง หลังจากรุนผมไมมีคนสอนแลว เพราะฉะนั้น ในสภาพอยางนี้การเมืองในอนาคต ถาใชภาษาอาจารยวิทยา สุจริตธนารักษ ที่นั่งอยูที่นี่คงตองใชศัพทแบบ ที่อินโดนีเซียใชวา เปนประชาธิปไตยที่ถูกชี้นําโดยชนชั้นสูงและผูนํากองทัพ8 จากการศึกษาวิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทยตั้งแตปพ.ศ. 2435 นักรัฐศาสตรไทยบางทาน เห็นวาการเปล่ียนแปลงทางการเมืองในสังคมไทยมักจะเกิดข้ึนทุก ๆ 4 ทศวรรษ9 ไดแก ชวงท่ี 1 เ ร่ิมจากสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงปฏิรูปการบริหารราชการแผนดินในป พ.ศ. 2435 โดยการจัดตั้งสถาบันราชการแบบตะวันตก โดยใชความรูและวิทยาการแบบสมัยใหมข้ึนมาแทนสถาบันเดิม จนเกิดชนชั้นใหมในระบบราชการ และนําไปสูการเปล่ียนแปลงการปกครองในป พ.ศ. 2475 ใชเวลาฟูมฟก 40 ปพอดี ผลที่ตามมาก็คือ การเกิดสถาบันทางการเมืองข้ึนมาใหมทําหนาที่แทนพระมหากษัตริย ไดแก รัฐบาล นายกรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญ พรรคการเมือง การเลือกตั้ง เปนตน การเปล่ียนแปลงการปกครอง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาสูระบอบพระมหากษัตริยอยูภายใตรัฐธรรมนูญ สาเหตุที่สําคัญประการหนึ่ง คือ การทําสนธิสัญญาเบาร่ิง ที่เปนผลทําใหรูปแบบการคาและเศรษฐกิจของไทยเปล่ียนแปลงไป ขณะเดียวกันก็เปนจุดเร่ิมตนที่ทําใหแนวคิดทางการเมืองเร่ิมเปล่ียนแปลงไป จากแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปนแนวคิดแบบประชาธิปไตยที่พระมหากษัตริยอยูภายใตรัฐธรรมนูญ ผลของการพัฒนาประเทศใหมีความทันสมัย (Modernization) ไดทําใหคนรุนใหม ๆ ตองการเขามามีสวนรวมทางการเมืองมากข้ึน เพราะระบบการเมืองเดิมไมเปดโอกาส กลุมคนรุนใหมดังกลาวนอกจากจะได รับการศึกษาสมัยใหมแลวยังเปนผูอยู ใกลศูนยอํานาจมากที่ สุด การเคล่ือนไหวของคนรุนใหมเหลานี้ไดขยายตัวออกไปอยางตอเนื่องไมขาดตอน แตก็ไมสําเร็จในแงของการเปล่ียนแปลงระบอบการปกครอง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาสูระบอบพระมหากษัตริยอยูภายใตรัฐธรรมนูญ จนกระทั่งมาประสบความสําเร็จในสมัยรัชกาลที่ 7 โดยคณะราษฎร ซึ่งสวนใหญเปนขาราชการระดับกลางที่มีความรู ลวนแตไดรับการศึกษาจาก

    8ชาญวิทย เกษตรศิริ, 1 ศตวรรษ : รัฐธรรมนูญและรัฐประหารกับการเมืองสยาม

    ประเทศไทย จากกบฏ ร.ศ.130 ถึงรัฐประหาร 19 กันยายน 2549, (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2552), น. 244-245.

    9ลิขิต ธีรเวคิน, วิวัฒนาการการเมืองการปกครองของไทย, (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2550), น. 258-261.

  • 5

    ตะวันตก มีทั้ง ทหารบก ทหารเรือ และพลเรือน เม่ือเปนเชนนี้อํานาจทางการเมืองจึงตกอยูในมือของขาราชการทั้งทหารและพลเรือน ที่ทําการปกครองประเทศโดยใชระบบราชการเปนฐานอํานาจ ชวงท่ี 2 ตั้ งแตป พ.ศ. 2475 – พ.ศ. 2516 รวมระยะเวลา 41 ป หลังจากเปล่ียนแปลงการปกครอง สถาบันขาราชการ กลุมขาราชการทหาร และกลุมขาราชการพลเรือนไดเขามาแทนที่ภายใตระบอบการปกครองที่มีลักษณะเปนรัฐราชการหรือเปนระบอบอํามาตยาธิปไตย ซึ่งในชวงนี้ทหารมีบทบาทในการกุมอํานาจทางการเมืองเปนสวนใหญ โดยมีการพัฒนาเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม โดยเฉพาะในสมัย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต และจอมพลถนอม กิตติขจร ผลที่ตามมา ก็คือ เกิดกลุมพลังสังคมในภาคธุรกิจ และเกิดสถาบันทางเศรษฐกิจ ไดแก บรรษัทการเงิน การคา และอุตสาหกรรม ที่นําไปสูเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 ทั้งนี้ ระบบการเมืองการปกครองของไทยตั้งแตป พ.ศ. 2475 มีลักษณะขาราชการเปนใหญ ซึ่งนักรัฐศาสตรเรียกระบอบการเมืองนี้วา “ระบอบอํามาตยาธิปไตย” (Bureaucratic Polity) เปนระบบการเมืองที่ระบบราชการ ทั้งทหารและพลเรือน ครอบงําระบบการเมืองอยางสําคัญในกระบวนการตัดสินใจ ผูนําทางการเมืองมาจากระบบราชการเปนสวนใหญ และฐานอํานาจอยูที่ระบบทหาร ทั้งนี้ ระบอบอํามาตยาธิปไตย กอตัวข้ึนมาตั้งแตเปล่ียนแปลงการปกครองในป พ.ศ. 2475 และพุงข้ึนสุดยอดในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต เพราะการรัฐประหารเม่ือวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต สามารถยึดอํานาจไดอยางเด็ดขาด หลังจากที่ไดรวบอํานาจจากระบบราชการที่แบงแยกและตอสูกันในการรัฐประหารกอนหนานี้ และเงื่อนไข การพัฒนาเศรษฐกิจ ประกอบกับความกาวหนาของเทคโนโลยีการส่ือสาร ก็เปดโอกาสให จอมพลสฤษดิ ์ ธนะรัชต ขยายอํานาจลงไปถึงชนบทไดอยางกวางขวาง ชวงท่ี 3 ตั้งแตป พ.ศ. 2516 เปนตนมา กลุมธุรกิจและนักการเมืองสวนหนึ่งเขาไปมีบทบาททางการเมืองมากข้ึน ระบบการเมืองการปกครองของไทย มีการเปล่ียนแปลงจากระบอบ อํามาตยาธิปไตยสูระบอบธนาธิปไตย (Plutocratic Polity) หรือรัฐธุรกิจ และทหารมีบทบาททางการเมืองนอยลงไป รวมทั้ง เปนระยะที่พยายามพัฒนาระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย และมีความพยายามที่จะสรางสถาบันในระบอบประชาธิปไตย และกลไกมาตรการการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ จึงมีเหตุผลที่นาเชื่อวา เม่ือถึงป พ.ศ. 2556 จะครบ 4 ทศวรรษ คือ 40 ป สถาบันในระบอบประชาธิปไตย และกลไกมาตรการการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐนาจะหยั่งรากลึกจนมีการจัดตั้งสถาบันอยางแข็งขัน ประเทศไทยนาจะเปนประชาธิปไตยหรือประชารัฐที่ม่ันคง การเมืองระบอบธนาธิปไตยไดกอตัวข้ึนหลังจากเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 ประชาชนเร่ิมเส่ือมความนิยมใน “ระบอบเผด็จการคณาธิปไตยโดยคณะทหาร” กลุมธุรกิจไดเขามายุงเกี่ยว กับการเมือง แสดงใหเห็นวากลุมธุรกิจเร่ิมมีพลังทางการเมืองมากข้ึน เนื่องจากมีการ

  • 6

    เปล่ียนแปลงนโยบายทางเศรษฐกิจ โดยที่รัฐบาลไดหันมาเนนเศรษฐกิจแบบทุนนิยมอยางรวดเร็ว ทําใหกลุมเศรษฐกิจขนาดใหญมีอํานาจผูกขาดเศรษฐกิจมากข้ึน ขณะเดียวกันก็มีอิทธิพลทางการเมืองมากข้ึน จึงเกิดกลุมพลเรือนกลุมใหมข้ึนมา คือ “กลุมธุรกิจการเมือง” ซึ่งเร่ิมตนดวยการใชเงินซื้อเสียงเลือกตั้ง บริจาคเงินใหกับพรรค และดํารงตําแหนงรัฐมนตรี และหลังจากนั้นไดใชตําแหนงทางการเมืองเปนฐานในการทําธุรกิจและหาเงินตราจากการอนุมัติโครงการ การใชอํานาจเงินเพื่อเขาสูตําแหนง/อํานาจทางการเมืองทําใหเกิดสภาพ “ธนาธิปไตย” หรือ “อธิปไตยเงินตรา”10 ทั้งนี้ การเมืองระบอบธนาธิปไตย ทําใหการเมืองเปนเร่ืองของเงินตรา ทําใหทุกอยางในระบอบการเมืองการปกครองของไทยลวนแตใชเงินเขามามีบทบาททุกข้ันตอน แตอยางไรก็ตาม ก็สงผลใหการเมืองในระบอบธนาธิปไตยมีปญหาใหญ ๆ ที่นําไปสูการเส่ือมศรัทธาของประชาชนและเสีย ความชอบธรรมของระบบ ทําใหขาดความนาเชื่อถือตอรัฐบาล หรือบุคคลที่อยูในอํานาจในเวลาตอมา11 ทั้งนี้ สามารถแสดงเปนภาพวิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทยตั้งแตปพ.ศ. 2435 ไดตามภาพที่ 1.1

    10จุมพล หนิมพานิช, พัฒนาการทางการเมืองไทย อํามาตยาธิปไตย ธนาธิปไตย

    หรือประชาธิปไตย, (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548), น. 213 - 236. 11เพิ่งอาง, น. 255-268.

  • 7

    ภาพที่ 1.1 แสดงการเปล่ียนแปลงทางการเมืองในสังคมการเมืองไทย

    การเกิดชนช้ันขาราชการ

    การเกิดชนช้ันกลาง ในภาคเอกชน

    การเปล่ียนแปลงและความต่ืนตัว ทางการเมืองแบบประชาธิปไตย

    ที่มา: ลิขิต ธีรเวคิน, 2550, น. 260. การเติบโตของกลุมพลังทางการเมืองของกลุมตาง ๆ ภายหลังป 253512 และเกิดความขัดแยงของกลุมพลังทางการเมืองนําไปสูการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 โดยหลังเหตุการณพฤษภาทมิฬ ในป พ.ศ. 2535 นายอานันท ปนยารชุน ไดเขามาเปนนายกรัฐมนตรี เพื่อมาแกไขปญหาวิกฤตทางการเมืองไทย ไดวางรากฐานการมีสวนรวมของสังคมในการปฏิรูปทางการเมือง และการประกาศใชรัฐธรรมนูญป 2540 ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับนี้ไดขยายขอบเขตสิทธิพลเรือนในทางการเมืองอยางมาก แตในขณะเดียวกัน ก็ไดออกแบบไวใหนายกรัฐมนตรีมีอํานาจเขมแข็งเพื่อแกปญหาความออนแอของฝายบริหาร อันเกิดจากการตกอยูภายใตอิทธิพลของกลุมยอยทางการเมือง ในป 2540 เศรษฐกิจของประเทศไทยไดรับผลกระทบอยางรุนแรงจากวิกฤตเศรษฐกิจ ทําใหมีทุนไทยจํานวนหนึ่งไดรับความเสียหายอยางมาก ภายใตบริบทเ ชนนี้ เอง

    12อภิชาติ ศิริสุนทร, การรัฐประหาร 19 กันยายน กับอิทธิพลของระบบอํามาตยาธิปไตย, (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2552), น. 90-97.

    2435 การปฏิรูปของ ร.5

    2475 เร่ิมระบอบ

    อํามาตยาธิปไตย

    2516 เร่ิมระบอบ ธนาธิปไตย

    2475 (40 ป) การเปล่ียนแปลงโดย

    ขาราชการ

    2516 (41 ป) การลมอํามาตยาธิปไตย

    โดยชนช้ันกลาง

    2556 (40 ป) การจัดต้ังสถาบัน

    ประชาธิปไตยที่ม่ันคง

  • 8

    พันตํารวจโททักษิณ ชินวัตร ซึ่งเปนกลุมทุนที่ไดรับประโยชนจากวิกฤตเศรษฐกิจ ไดกอตั้งพรรคการเมืองข้ึนมา ที่รูจักในนามพรรคไทยรักไทย พรรคการเมืองนี้ไดรับความนิยมอยางกวางขวางโดยเฉพาะกลุมประชาชนรากหญา ในการเลือกตั้งทั่วไปป 2544 พรรคไทยรักไทยชนะการเลือกตั้งอยางทวมทน และสามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวซึ่งไมเคยเกิดข้ึนมากอนในสังคมการเมืองไทย อํานาจทางการเมืองที่พันตํารวจโททักษิณ ชินวัตร ไดรับตามรัฐธรรมนูญป 2540 ทําใหพันตํารวจโททักษิณ ชินวัตร มีฐานะแข็งแกรงจนถูกกลาวหาวา เปนเผด็จการรัฐสภา ทําใหกลุมคูแขงทางการเมือง ทาทายและตอตาน ป พ.ศ. 2545 พรรคไทยรักไทยเร่ิมพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวเสรีนิยมใหม ซึ่งเปนปจจัยภายนอกที่มีอิทธิพลตอการบริหารประเทศมาก เชน การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ การนํามหาวิทยาลัยออกนอกระบบ การเปดเจรจาขอตกลงการคาเสรีแบบทวิภาคี การปรับโครงสรางระบบราชการ และการโยกยายขาราชการ เปนตน การพัฒนาตามแนวทางดังกลาวไดทําใหเกิดความขัดแยงกับกลุมพลังทางสังคมตาง ๆ โดยมีการตอบโตรัฐบาลในหวงเวลาตอมา เชน กรณีของบริษัท ทีพีไอ โพลีน ของตระกูลเล่ียวไพรัช และอ่ืน ๆ ที่หันมาเปนศัตรูที่สําคัญของรัฐบาล ในชวงเวลาดังกลาว ยังมีความขัดแยงกับกลุมทุนที่ดําเนินธุรกิจดานส่ือสารมวลชน เชน ส่ือในเครือผูจัดการ ASTV ซึ่งไดนําไปสูการเคล่ือนไหวตรวจสอบการทํางานของรัฐบาล โดยเร่ิมจาก “40 คําถามที่รัฐบาลตองตอบ” และอีกกวา 10 กรณี ในนโยบายและการดําเนินการของรัฐที่ เขาขายทุจริตประพฤติมิชอบ ผลประโยชนทับซอน และขาดจริยธรรมคุณธรรมทางการเมือง กระทั่งไดมีการเพิ่มจํานวนแนวรวมมวลชนข้ึนเร่ือย ๆ ตั้งแตป พ.ศ. 2548 เปนตนมา กลุมนักวิชาการไดออกมาเคล่ือนไหวผานการสัมมนาทางวิชาการและผลิตเอกสารทางวิชาการ ไดพยายามอธิบายปรากฏการณพรรคไทยรักไทยผานนโยบายรัฐบาลวา การเขามาบริหารประเทศของรัฐบาลไทยรักไทย ไดสงผลกระทบและเปนอันตรายตอสังคมโดยรวม นักวิชาการจึงมีบทบาทสูงในการวิพากษการบริหารงานของรัฐบาล ในเร่ือง ระบอบทักษิณ ประชานิยม และทุนนิยมสามานย ซึ่งมีอิทธิพลสูงตอการเคล่ือนไหวของกลุมพลังทางสังคม ตอมาองคกรที่ไดรับผลกระทบจากการบริหารงานของรัฐบาลพันตํารวจโททักษิณ ชินวัตร ไดประกาศเปดตัวเขารวมเปนพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย และมีกลุมตาง ๆ เขารวม จํานวน 22 องคกร โดยมีเหตุผลในการเคล่ือนไหวตอตานรัฐบาล ไดแก ปญหาการคอรรัปชั่น การละเมิดอํานาจของพระมหากษัตริย การแทรกแซงศาสนา เปนตน การชุมนุมทางการเมืองเพื่อขับไลรัฐบาลพันตํารวจโททักษิณ ชินวัตร ไดกระจายออกไปยังพื้นที่ตาง ๆ ทั้งกรุงเทพฯ และตางจังหวัด ไดมีการกอความไมสงบ เชน ประทัดยักษ มีผูไมเห็นดวยเขามาสรางสถานการณ รวมถึง การถูกลอบทํารายรางกายของผูเขารวมชุมนุม ซึ่งส่ิงเหลานี้เร่ิมเปนชนวนที่จะ

  • 9

    กอใหเกิดการใชความรุนแรงในสังคม กระทั่งมีการนัดชุมนุมใหญในวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2549 และมีขาวการปะทะกันของผูเขารวมชุมนุมระหวางฝายพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย และฝายสนับสนุนรัฐบาลพันตํารวจโททักษิณ ชินวัตร เม่ือสถานการณในประเทศเอ้ืออํานวยตอการแทรกแซงทางการเมืองของทหาร ทหารจึงเขาไปมีบทบาททางการเมืองอีกคร้ัง ดวยการรัฐประหารวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 เพื่อแกไขภาวะวิกฤตทางการเมืองไทยที่เกิดข้ึน โดยมีเหตุผลวา รัฐบาลชุดนี้ไดสรางความแตกแยกของคนในชาติ มีการทุจริตประพฤติมิชอบคอรรัปชั่น มีการแทรกแซงองคกรอิสระ มีการละเมิดสถาบันพระมหากษัตริย และเพื่อปกปองระบอบประชาธิปไตย สําหรับงานวิจัยนี้ ผูวิจัยไดพัฒนาตอยอดองคความรูงานวิจัยเดิมที่มีผูศึกษาเกี่ยวกับทหารกับการเมืองไทยไวแลวขางตนใน 2 ประเด็น คือ งานวิจัยเกี่ยวกับบทบาททางการเมืองของทหาร และงานวิจัยเกี่ยวกับการส่ือสารทางการเมืองของทหาร โดยผูวิจัยใหความสําคัญตอการศึกษาบทบาททางการเมืองของทหารในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทยระหวางวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2552 ไดแก การศึกษาบริบท (ภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย) ที่เปนเงื่อนไขในการเขาไปมีบทบาททางการเมืองของทหารในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย เพราะในการทํารัฐประหารทุกคร้ัง ทหารจะแถลงถึงเงื่อนไขที่ทําใหทหารเขามาทําการยึดอํานาจ เพื ่อสรางความชอบธรรมในการทํารัฐประหาร การศึกษาบทบาททางการเมืองของทหาร ในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย และการศึกษาการรักษาอํานาจและการสืบทอดอํานาจทางการเมืองในหวงเวลาดังกลาว นอกจากนี้ ผูวิจัยใหความสําคัญตอการศึกษากลยุทธในการส่ือสารทางการเมืองของทหารในภาวะวิกฤตทางการเมืองไทย ระหวางวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ถึงวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2552 ตามกระบวนการส่ือสาร SMCR-E Model เพื่อใหประชาชนเขาใจกระบวนการส่ือสาร ทางการเมืองของทหาร ซึ่งความสําคัญของปญหาในเร่ือง การส่ือสารทางการเมืองของทหารกับประชาชนนั้น การส่ือสารทางการเมืองไดถูกนํามาใชเปนเคร่ืองมือทางการเมืองตั้งแตคร้ังกรีกโบราณ ในรูปของวาทวิทยา ซึ่งในงาน�