หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ...

82
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต 1. ชื่อหลักสูตร หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต Bachelor of Public Administration 2. ชื่อปริญญา ชื่อเต็ม : รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต Bachelor of Public Administration ชื่อยอ : รป.. B.P.A. 3. หนวยงานที่รับผิดชอบ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ 4. ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร 4.1 ปรัชญาของหลักสูตร ผลิตบัณฑิตรัฐประศาสนศาสตรใหมีความรู ความสามารถ ทักษะตางๆ ในดานบริหาร รัฐกิจ รวมทั้งสงเสริมใหบัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรมสอดคลองกับความตองการของทองถิ่นและสังคม 4.2 วัตถุประสงคของหลักสูตร 1. เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีความรูทั้งดานทฤษฎี และปฏิบัติไปประกอบอาชีพ และปฏิบัติงานทั้ง ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนไดอยางมีประสิทธิภาพ อันจะเปนการสนับสนุนในดานการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย 2. เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม และ สามารถนํามาประยุกตใชทั้งในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน 3. เพื่อผลิตบัณฑิตใหเปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบตอองคการ ทองถิ่น และสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพ

Transcript of หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ...

Page 1: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

1. ชื่อหลักสูตร หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต Bachelor of Public Administration

2. ชื่อปริญญา ช่ือเต็ม : รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต Bachelor of Public Administration ช่ือยอ : รป.บ. B.P.A.

3. หนวยงานที่รับผิดชอบ คณะมนษุยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ

4. ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสตูร

4.1 ปรัชญาของหลักสูตร ผลิตบัณฑิตรัฐประศาสนศาสตรใหมีความรู ความสามารถ ทักษะตางๆ ในดานบริหาร

รัฐกิจ รวมทั้งสงเสริมใหบัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรมสอดคลองกับความตองการของทองถ่ินและสังคม

4.2 วัตถุประสงคของหลักสูตร 1. เพื่อผลิตบัณฑติใหมีความรูทัง้ดานทฤษฎี และปฏิบัติไปประกอบอาชีพ และปฏิบัติงานทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนไดอยางมีประสิทธิภาพ อันจะเปนการสนับสนุนในดานการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย 2. เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม และสามารถนํามาประยุกตใชทั้งในภาครัฐ รัฐวิสาหกจิ และภาคเอกชน 3. เพื่อผลิตบัณฑติใหเปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบตอองคการ ทองถ่ิน และสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 2: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

2

5. กําหนดการเปดสอน ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549 เปนตนไป

6. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา และใหเปนไปตามขอบังคับของ

มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ

7. การคัดเลือกผูเขาศึกษา การคัดเลือกผูเขาศึกษา ใหเปนไปตามหลักเกณฑ และวิธีการของมหาวิทยาลัยราชภัฏ

อุตรดิตถ

8. ระบบการศึกษา ใชระบบทวิภาค โดยหนึ่งปการศึกษาแบงออกเปน 2 ภาคการศึกษาปกติ และ 1 ภาคเรียน

การศึกษาปกต ิ มีระยะเวลาไมนอยกวา 15 สัปดาห การเปดการศึกษาภาคฤดูรอน มหาวิทยาลัยกําหนดระยะเวลาและจํานวนหนวยกติโดยมีสัดสวนเทียบเคยีงไดกับการศึกษาภาคปกติ การคิดหนวยกิต รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใชเวลาบรรยายหรืออภิปรายปญหาไมนอยกวา 15 ช่ัวโมง ตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใชเวลาฝกหรือทดลองไมนอยกวา 30 ช่ัวโมงตอภาคการศึกษาปกติใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค การฝกงานหรือการฝกภาคสนาม ใชเวลาฝกภาคสนาม ที่ใชเวลาฝกไมนอยกวา 45 ช่ัวโมง ตอภาคการศึกษาปกติใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค การทําโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ไดรับมอบหมายที่ใชเวลาทําโครงงานหรือกิจกรรมนั้น ๆ ไมนอยกวา 45 ช่ัวโมง ตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค

9. ระยะเวลาการศึกษา ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร ไมต่ํากวา 6 ภาคการศึกษาปกติ แตไมเกิน 16 ภาคการศึกษา

ปกติสําหรับการลงทะเบียนเต็มเวลา ทั้งนี้ใหเปนไปตามระเบียบหรือขอบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ

Page 3: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

3

10. การลงทะเบียนเรียน ใหลงทะเบยีนเรียนไดไมนอยกวา 9 หนวยกิต และไมเกิน 22 หนวยกิต ในแตละภาคการศึกษา

ปกติ สําหรับการลงทะเบียนเรียนในภาคฤดูรอน ใหลงทะเบียนเรียนไดไมเกิน 9 หนวยกิต หรือใหเปนไปตามระเบียบและขอบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ

11. การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา เกณฑการวัดผล กําหนดเกณฑการวัดผลของแตละรายวิชาเปนสัญลักษณตาง ๆ ซ่ึงมีคาระดับคะแนน ดังนี้

ระดับคะแนน คาระดับคะแนน A 4.0 B+ 3.5 B 3.0 C+ 2.5 C 2.0 D+ 1.5 D 1.0 E 0.0

เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร โดยตองเรียนครบตามจํานวนหนวยกิตที่กําหนดไวในหลักสูตรและตองไดระดับคะแนนเฉลี่ยไมต่ํากวา 2.00 และเปนไปตามระเบียบ หรือขอบังคับ การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี

Page 4: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

4

12. อาจารยประจําหลักสูตร 12.1 อาจารยประจําหลักสูตร

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห) ปการศึกษา 1/2549 รายวิชาที่รับผิดชอบ

ระดับปริญญาตรี ระดับบัณฑิตศึกษา ลําดับที่

ชื่อ – สกุล ตําแหนงทางวิชาการ คุณวุฒิ/สาขาวิชา

ผลงานทางวิชาการ/ประสบการณ

หลักสูตรนี้ หลักสูตรอื่น ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่2 ภาคเรียนที่1 ภาคเรียนที่2 1.

ผูชวยศาสตราจารยสมพิศ สุขแสน วุฒิการศึกษา - พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร สาขานโยบายสาธารณะและการบริหารโครงการ

เกียรตินิยมดีมาก) สถาบันบัณฑิตพัฒน- บริหารศาสตร

รป.บ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - กศ.บ. (สังคมศึกษา เกียรตินิยมอันดับ 2) - วิทยาลัยวิชาการศึกษาพิษณุโลก

เอกสารตํารา - วิชานโยบายสาธารณะและ การวางแผน - วิชาการวิเคราะหนโยบาย - วิชาการวิเคราะหโครงการ และบริหารโครงการ - วิชาการประเมินผลโครงการ

ประสบการณ - หัวหนาภาควิชาสังคมวิทยา - รองหัวหนาคณะมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร - ประธานโปรแกรมวิชารัฐประ- ศาสนศาสตร

- นโยบายสาธารณะ และการวางแผน - บริหารจัดการโครงการ - การประเมินผลโครงการ - การพัฒนาศักยภาพ ในการทํางานภาครัฐ - การบริการสาธารณะ -เทคนิคการเขียนโครงการ

- นโยบาย สาธารณะ และการ วิเคราะห นโยบาย - ระบบสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ไทย

12

12

4

Page 5: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

5

อาจารยประจําหลักสูตร (ตอ)

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห) ปการศึกษา 1/2549 รายวิชาที่รับผิดชอบ

ระดับปริญญาตรี ระดับบัณฑิตศึกษา ลําดับที่

ชื่อ – สกุล ตําแหนงทางวิชาการ คุณวุฒิ/สาขาวิชา

ผลงานทางวิชาการ/ประสบการณ

หลักสูตรนี้ หลักสูตรอื่น ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่2 ภาคเรียนที่1 ภาคเรียนที่2 2. อาจารยกิตติภณ กิตยานุรักษ

วุฒิการศึกษา - พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร สาขาการบริหารงานบุคคล) สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร - กศ.บ. (ฟสิกส) วิทยาลัยวิชาการศึกษา พิษณุโลก

เอกสารตํารา - วิชาการเมืองไทย - วิชาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ รัฐประศาสนศาสตร - วิชาการบริหารการพัฒนา

ประสบการณ - หัวหนาภาควิชาดนตรี - รองประธานโปรแกรมวิชา รัฐประศาสนศาสตร - รองคณบดีคณะมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร

- ความรูเบื้องตน เกี่ยวกับรัฐประ- ศาสนศาสตร - การพัฒนาเชิง กลยุทธ - ระบบสารสนเทศ สําหรับการบริหาร - สัมมนาทางรัฐ- ประศาสนศาสตร - การบริหารสํานัก งานแนวใหม

- ขอบขายรัฐ ประศาสน-

ศาสตร - การบริหาร จัดการทรัพยากร มนุษย

9 9

5

Page 6: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

6

อาจารยประจําหลักสูตร (ตอ)

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห) ปการศึกษา 1/2549 รายวิชาที่รับผิดชอบ

ระดับปริญญาตรี ระดับบัณฑิตศึกษา ลําดับที่

ชื่อ – สกุล ตําแหนงทางวิชาการ คุณวุฒิ/สาขาวิชา

ผลงานทางวิชาการ/ประสบการณ

หลักสูตรนี้ หลักสูตรอื่น ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่2 ภาคเรียนที่1 ภาคเรียนที่2 3. อาจารยสยุมพร ตรีพรหม

วุฒิการศึกษา - พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร) สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร - ศศ.บ. (ศึกษาศาสตร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม

เอกสารตํารา - วิชาการปกครองทองถิ่นไทย - วิชาประชากรกับการพัฒนา คุณภาพชีวิต - วิชาประชากรศึกษา

ประสบการณ - รองหัวหนาภาควิชาสังคมวิทยา

- การปกครอง ทองถิ่นไทย - ประชาสังคม - การปกครอง ทองถิ่นและ ภูมิภาค

6 6

4. อาจารยสุพัตรา ธิมาคํา วุฒิการศึกษา - รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร) มหาวิทยาลัย เชียงใหม - สส.บ. (สังคมสงเคราะหศาสตร) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เอกสารตํารา - วิชาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ รัฐศาสตร

ประสบการณ -

- ความรูเบื้องตน เกี่ยวกับรัฐศาสตร - เทคนิคการบริหาร จัดการสมัยใหม - การวิเคราะห นโยบาย

13 9

6

Page 7: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

7

อาจารยประจําหลักสูตร (ตอ)

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห) ปการศึกษา 1/2549 รายวิชาที่รับผิดชอบ

ระดับปริญญาตรี ระดับบัณฑิตศึกษา ลําดับที่

ชื่อ – สกุล ตําแหนงทางวิชาการ คุณวุฒิ/สาขาวิชา

ผลงานทางวิชาการ/ประสบการณ

หลักสูตรนี้ หลักสูตรอื่น ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่2 ภาคเรียนที่1 ภาคเรียนที่2 5. อาจารยดวงพร บี่หัตถกิจกูล

วุฒิการศึกษา - ศศ.ม. (ประวัติศาสตร) มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร - ศศ.บ. (ประวัติศาสตร) มหาวิทยาลัย เชียงใหม

เอกสารตํารา - ปรับปรุงเอกสารวิชาวิถีโลก - วิจัย เรื่องการแกไขปญหาความ ยากจนเชิงบูรณาการ

ประสบการณ -

- วิถีโลก - วิถีไทย - พลวัตสังคมไทย

8 8

7

Page 8: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

8

12.2 อาจารยพิเศษ

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห) ปการศึกษา 1/2549 รายวิชาที่รับผิดชอบ

ระดับปริญญาตรี ระดับบัณฑิตศึกษา ลําดับที่

ชื่อ – สกุล ตําแหนงทางวิชาการ คุณวุฒิ/สาขาวิชา

ผลงานทางวิชาการ/ประสบการณ

หลักสูตรนี้ หลักสูตรอื่น ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่2 ภาคเรียนที่1 ภาคเรียนที่2 1. อาจารยโศรตรีย จุฑานนท

วุฒิการศึกษา - พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร สาขา การบริหารงานบุคคล เกียรตินิยมดี) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร - กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) วิทยาลัยวิชาการ ศึกษาประสานมิตร

เอกสารตํารา - วิชาระบบบริหารราชการไทย - วิชาการประเมินบุคคล - วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย ภาครัฐ

ประสบการณ - คณะกรรมการสภาประจํา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ

- การประเมินบุคคล - การบริหารจัดการ ทรัพยากรมนุษย ภาครัฐ - ระบบบริหาร ราชการไทย - การพัฒนาระบบ ราชการ

- กฎหมาย เกี่ยวกับระบบ บริหาร ราชการไทย - การบริหาร จัดการ ทรัพยากร มนุษย

6 12

8

Page 9: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

9

อาจารยพิเศษ (ตอ)

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห) ปการศึกษา 1/2549 รายวิชาที่รับผิดชอบ

ระดับปริญญาตรี ระดับบัณฑิตศึกษา ลําดับที่

ชื่อ – สกุล ตําแหนงทางวิชาการ คุณวุฒิ/สาขาวิชา

ผลงานทางวิชาการ/ประสบการณ

หลักสูตรนี้ หลักสูตรอื่น ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่2 ภาคเรียนที่1 ภาคเรียนที่2 2. ผูชวยศาสตราจารยจรูญ คําทิพย

- M.Ed. ( Teacher Education ) Sander Patel University, India - กศ.บ. (สังคมศึกษา) วิทยาลัยวิชาการศึกษา พิษณุโลก

เอกสารตํารา - วิชาวิธีวิจัยทางรัฐประศาสน ศาสตร - วิชาสังคมวิทยาเบื้องตน - วิชาพื้นฐานวัฒนธรรมไทย

ประสบการณ - หัวหนาภาควิชาสังคมวิทยา - คณบดีคณะมนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร

- วิธีวิจัยทางรัฐ - ประศาสนศาสตร - สถิติสําหรับการ วิจัยทางสังคม ศาสตร

- หลักสังคม วิทยาและ มานุษยวิทยา - สังคมวิทยา เบื้องตน

4

9

Page 10: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

10

อาจารยพิเศษ (ตอ)

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห) ปการศึกษา 1/2549 รายวิชาที่รับผิดชอบ

ระดับปริญญาตรี ระดับบัณฑิตศึกษา ลําดับที่

ชื่อ – สกุล ตําแหนงทางวิชาการ คุณวุฒิ/สาขาวิชา

ผลงานทางวิชาการ/ประสบการณ

หลักสูตรนี้ หลักสูตรอื่น ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่2 ภาคเรียนที่1 ภาคเรียนที่2 3. อาจารยวิโรจน ยิ้มเจริญ

วุฒิการศึกษา - กศ.บ. (วิทยาศาสตร) วิทยาลัยวิชาการศึกษา พิษณุโลก - น.บ. มหาวิทยาลัยรามคําแหง

เอกสารตํารา -

ประสบการณ - ประธานโปรแกรมวิชานิติศาสตร - อดีตนิติกร มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุตรดิตถ

- ความรูเบื้องตน เกี่ยวกับกฎหมาย - กฎหมาย รัฐธรรมนูญ

- กฎหมาย เบื้องตน - กฎหมาย ธุรกิจ

4. อาจารยปาริชาติ บุญเรือง วุฒิการศึกษา - น.บ. มหาวิทยาลัยรามคําแหง

เอกสารตํารา -

ประสบการณ - รองประธานโปรแกรมวิชา นิติศาสตร

- กฎหมายปกครอง - กฎหมาย รัฐธรรมนูญ

- กฎหมาย ลักษณะ พยาน - กฎหมายวิธี พิจารณา ความอาญา

10

Page 11: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

11

อาจารยพิเศษ (ตอ)

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห) ปการศึกษา 1/2549 รายวิชาที่รับผิดชอบ

ระดับปริญญาตรี ระดับบัณฑิตศึกษา ลําดับที่

ชื่อ – สกุล ตําแหนงทางวิชาการ คุณวุฒิ/สาขาวิชา

ผลงานทางวิชาการ/ประสบการณ

หลักสูตรนี้ หลักสูตรอื่น ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่2 ภาคเรียนที่1 ภาคเรียนที่2 5. อาจารยศศิพร สุดใจ

วุฒิการศึกษา - พบ.ม. ( รัฐประศาสนศาสตร สาขานโยบายสาธารณะและการบริหาร โครงการ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร ศาสตร - บธ.บ. ( บริหารธุรกิจ ) มหาวิทยาลัย รามคําแหง

เอกสารตํารา - วิชาการวางแผนและควบคุม กําไร - วิชาการบัญชีเพื่อการจัดการ

ประสบการณ - หัวหนาภาควิชาบัญชี - ประธานโปรแกรมวิชาบัญชี - รองคณบดีคณะวิทยาการจัดการ

- การบริหารการ คลังและงบ ประมาณ - การบริหารงาน คลังทองถิ่น

- บัญชี 6

6. อาจารยวิวัฒชัย หลมศรี วุฒิการศึกษา - พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร) สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร - ศศ.บ.(รัฐศาสตร) มหาวิทยาลัยรามคําแหง - ศศ.บ. (ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒพิษณุโลก

เอกสารตํารา -

ประสบการณ - อาจารยพิเศษโปรแกรมวิชา รัฐประศาสนศาสตร

- ความรูเบื้องตน เกี่ยวกับ รัฐศาสตร - การวิเคราะห นโยบาย

11

Page 12: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

12

อาจารยพิเศษ (ตอ)

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห) ปการศึกษา 1/2549 รายวิชาที่รับผิดชอบ

ระดับปริญญาตรี ระดับบัณฑิตศึกษา ลําดับที่

ชื่อ – สกุล ตําแหนงทางวิชาการ คุณวุฒิ/สาขาวิชา

ผลงานทางวิชาการ/ประสบการณ

หลักสูตรนี้ หลักสูตรอื่น ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่2 ภาคเรียนที่1 ภาคเรียนที่2 7. พันเอก ดร.ประมวล สุวรรณศรี

วุฒิการศึกษา - Ph.D. (Public Administration ) Macadh University - ศศ.ม. ( การทหาร) โรงเรียนเสนาธิการ ทหารเรือ กรุงเทพฯ - พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร สาขา นโยบายสาธารณะและการบริหาร โครงการ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร ศาสตร - ศศ.บ. (รัฐศาสตรการปกครอง) มหาวิทยาลัยรามคําแหง - น.บ. มหาวิทยาลัยรามคําแหง - ค.บ. (พลศึกษา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เอกสารตํารา - วิชาภาวะผูนํา

ประสบการณ - อาจารยพิเศษโปรแกรมวิชา รัฐประศาสนศาสตร - ผูอํานวยการการเลือกตั้ง ประจํา จังหวัดอุตรดิตถ

- การวางแผน พัฒนาทองถิ่น - การพัฒนาภาวะ ผูนํา

- นโยบาย สาธารณะ และการ วิเคราะห นโยบาย

12

Page 13: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

13

อาจารยพิเศษ (ตอ)

ภาระงานสอน (ชม./สัปดาห) ปการศึกษา 1/2549 รายวิชาที่รับผิดชอบ

ระดับปริญญาตรี ระดับบัณฑิตศึกษา ลําดับที่

ชื่อ – สกุล ตําแหนงทางวิชาการ คุณวุฒิ/สาขาวิชา

ผลงานทางวิชาการ/ประสบการณ

หลักสูตรนี้ หลักสูตรอื่น ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่2 ภาคเรียนที่1 ภาคเรียนที่2 8. อาจารยไพฑูรย จันทสิงห

วุฒิการศึกษา - พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร สาขาการบริหารงานบุคคล) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร - กศ.บ. (สังคมศาสตร) มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒบางแสน - ค.บ. (ดนตรี) วิทยาลัยครูบานสมเด็จ- เจาพระยา

เอกสารตํารา -

ประสบการณ - อดีตรองอธิการบดีสถาบัน ราชภัฏอุตรดิตถ - ผูอํานวยการการเลือกตั้ง ประจําจังหวัดนาน

- การเมืองไทย - การบริหารจัดการ ทรัพยากรมนุษย ภาครัฐ

13

Page 14: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

14

13. จํานวนนักศึกษา จํานวนนักศึกษาที่คาดวาจะเขาศึกษา และจํานวนบัณฑิตท่ีคาดวาจะสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร มีดังนี้

จํานวนนักศึกษาในแตละปการศึกษา ระดับ/ชั้นป 2549 2550 2551 2552 2553

ระดับปริญญาตรี นักศึกษาชั้นปที่ 1 นักศึกษาชั้นปที่ 2 นักศึกษาชั้นปที่ 3 นักศึกษาชั้นปที่ 4

80

80 80

80 80 80

80 80 80 80

80 80 80 80

รวม 80 160 240 320 320 จํานวนบัณฑิตที่คาดวาจะสําเร็จการศึกษา 80 80

14. สถานที่และอุปกรณการสอน

14.1 อาคารสถานที่ ลําดับที่ อาคารสถานที่ จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวาจะ

เพียงพอ 1. หองเรียนคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 17 20 2. หองปฏิบัติการคอมพิวเตอรของคณะมนุษยศาสตรฯ 2 3 3. หองปฏิบัติการศูนยภาษา 1 1

14.2 อุปกรณการสอน 14.2.1 ส่ือพื้นฐานประจําหองเรียนมีทุกหองเรียนในอาคาร 11 และอาคาร 7 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ลําดับที่ รายการและลักษณะเฉพาะ จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวาจะ

เพียงพอ 1. เครื่องฉายภาพขามศีรษะ (OH) 10 10 2. เครื่องโปรเจคเตอร (LCD) 3 5 3. เครื่อง Visualizer 1 3 4. เครื่องฉายสไลด 1 1 5. โทรทัศนและเครื่องเลนวีดีทัศน 8 8 6. เครื่องขยายเสียง 10 10 7. คอมพิวเตอรของคณะมนุษยศาสตรฯ และสํานักวิทยบริการ 180 200

Page 15: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

15 ประเภท CD – ROM

ลําดับที่ รายการและลักษณะเฉพาะ จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวา จะเพียงพอ

1 CD – ROM เกี่ยวกับการเมืองไทย 3 ชุด 5 ชุด 2 CD – ROM เกี่ยวกับกฎหมาย 2 ชุด 3 ชุด 3 CD – ROM เกี่ยวกับการบริหาร 3 ชุด 5 ชุด 4 CD – ROM เกี่ยวกับคอมพิวเตอร 4 ชุด 4 ชุด 5 CD – ROM เกี่ยวกับเศรษฐกิจ 5 ชุด 5 ชุด 6 CD – ROM เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจในหลวง 3 ชุด 3 ชุด 7 CD – ROM เกี่ยวกับโครงการตามพระราชดําริ 4 ชุด 4 ชุด 8 CD – ROM เกี่ยวกับการปกครองทองถิ่น 2 ชุด 5 ชุด 9 CD – ROM เกี่ยวกับเทคนิคการพัฒนาตนเอง 3 ชุด 3 ชุด

10 CD – ROM เกี่ยวกับการวางแผนกลยุทธ 1 ชุด 2 ชุด 11 CD – ROM เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 ชุด 2 ชุด 12 CD – ROM เกี่ยวกับการวัดผลองคกร 1 ชุด 1 ชุด 13 CD – ROM เกี่ยวกับการคิดและการตัดสินใจ 1 ชุด 1 ชุด 14 CD – ROM เกี่ยวกับการวิจัย 1 ชุด 1 ชุด 15 CD – ROM เกี่ยวกับภาวะผูนํา 1 ชุด 2 ชุด 16 CD – ROM เกี่ยวกับบันทึกประวัติศาสตร 2 ชุด 2 ชุด 17 CD – ROM เกี่ยวกับทฤษฎีการบริหารการพัฒนา 1 ชุด 1 ชุด 18 CD – ROM เกี่ยวกับสารคดีเฉลิมพระเกียรติ 2 ชุด 2 ชุด

ประเภทวีดีทัศน

ลําดับที่ รายการและลักษณะเฉพาะ จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวา จะเพียงพอ

1 5 ส. ในการบริหาร 2 มวน 2 มวน 2 ISO 9000 การจัดทําระบบคุณภาพ 1 มวน 1 มวน 3 องคการและการจัดการ 1 มวน 1 มวน 4 การบริหารการจัดการภาครัฐ 1 มวน 3 มวน 5 การบริหารแผนและโครงการ 1 มวน 2 มวน 6 Re – Engineering 1 มวน 1 มวน 7 การบริหารงานดวยระบบสารสนเทศ 1 มวน 1 มวน

Page 16: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

16 ประเภทวีดีทัศน (ตอ)

ลําดับที่ รายการและลักษณะเฉพาะ จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวา จะเพียงพอ

8 ระบบการจัดเก็บเอกสารในสํานักงาน 1 มวน 1 มวน 9 การประเมินผลการปฏิบัติงาน 1 มวน 1 มวน

10 การบริหารเวลา 1 มวน 1 มวน 11 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 1 มวน 1 มวน 12 โครงการตามพระราชดําริ 5 มวน 5 มวน 13 สารคดีทลายแกงคายาเสพติด 2 มวน 2 มวน 14 16 ตุลา วิปโยค 1 มวน 1 มวน 15 องคการบริหารสวนตําบล 1 มวน 3 มวน 16 การปฏิรูประบบราชการ 1 มวน 3 มวน 17 การพัฒนาแบบยั่งยืน 1 มวน 1 มวน 18 เศรษฐกิจพอเพียง 2 มวน 2 มวน 19 ปฏิรูปการเมือง 1 มวน 1 มวน 20 อภิปรายไมไววางใจรัฐบาล 5 รัฐบาล 10 มวน 10 มวน 21 การเมืองและการบริหารราชการไทย 2 มวน 2 มวน 22 พรรคการเมือง 1 มวน 2 มวน 23 สรุปขาวเดนดานการเมือง 1 มวน 1 มวน 24 กฎหมายกับการเมือง 1 มวน 1 มวน

25 การบริหารประสิทธิภาพของขาราชการ รายการหนี้แผนดิน

1 มวน 1 มวน

26 การบริหารพัสดุและสํานักงาน 1 มวน 2 มวน 27 การบริหารโครงการ 1 มวน 3 มวน 28 การบริหารแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาจังหวัด 1 มวน 2 มวน 29 วิสัยทัศนการเมืองและการบริหารราชการไทย 1 มวน 2 มวน 30 การบริหารงานคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จ 1 มวน 1 มวน 31 การบริหารรัฐกิจไทย 1 มวน 1 มวน 32 การบริหารงานบุคคล 1 มวน 2 มวน 33 ตํารวจ – การบริหาร 1 มวน 1 มวน 34 การบริหารองคกร 1 มวน 2 มวน 35 โครงการเผยแพรความรูดานกฎหมายแกประชาชน 1 มวน 1 มวน

Page 17: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

17 ประเภทวีดีทัศน (ตอ)

ลําดับที่ รายการและลักษณะเฉพาะ จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวา จะเพียงพอ

36 ประชุมช้ีแจงนโยบายการจัดทํางบประมาณรายจาย ป 2547, 2548 1 มวน 1 มวน

37 การแถลงนโยบายรัฐบาลนายกรัฐมนตรีคนที่ 18-23 6 มวน 6 มวน 38 นโยบายการจัดระเบียบสังคม 1 มวน 1 มวน 39 นโยบายหนึ่งอําเภอหนึ่งโรงเรียนในฝน 1 มวน 1 มวน 40 ทางออกเศรษฐกิจไทย 1 มวน 1 มวน 41 วิกฤติเศรษฐกิจของชาติ 1 มวน 1 มวน 42 แผนกระจายอํานาจสูการปกครองทองถิ่น 1 มวน 2 มวน 43 การควบคุมคุณภาพ 2 มวน 2 มวน 44 คุณภาพชีวิต 1 มวน 1 มวน 45 ระบบอุปถัมภในสังคมไทย 1 มวน 1 มวน 46 วัฒนธรรมและคานิยมที่สังคมไทยตองการ 1 มวน 1 มวน 47 วิกฤติการณประชาธิปไตยในสังคมไทย 5 มวน 5 มวน 48 วิกฤติสังคมไทยในศตวรรษที่ 21 1 มวน 1 มวน 49 สังคมไทยในศตวรรษหนา 1 มวน 1 มวน 50 อนาคตเศรษฐกิจและสังคมไทย 1 มวน 2 มวน 51 กระบวนการเรียนรู Active Learning 1 มวน 1 มวน 52 รายการวุฒิสภากับประชาชน 1 มวน 1 มวน 53 ใชวาจาใหเปนอยางนักบริหาร 1 มวน 1 มวน 54 การบริหารแบบบูรณาการเพื่อพัฒนาจังหวัด (ซีอีโอ) 1 มวน 2 มวน 55 การแถลงยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการ 1 มวน 2 มวน 56 การบริหารงานดวยระบบสารสนเทศ 1 มวน 2 มวน 57 การพัฒนาฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสบริบททองถิ่น 1 มวน 1 มวน

Page 18: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

18 15. หองสมุด

หนังสือและตําราเรียน

หนังสือและตําราเรียนภาษาไทย จํานวน 108 ชื่อเร่ือง

ลําดับที่ รายช่ือหนังสือ จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวา จะเพียงพอ

1 กฎหมายรัฐธรรมนูญ 5 7 2 กฎหมายลักษณะพยาน 5 7 3 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 5 9 4 กฎหมายอาญาภาคความผิด 5 9 5 กฎหมายอาญาภาคทั่วไป 5 7 6 กฎหมายอาญา 1 ภาคบัญญัติท่ัวไป 5 7 7 กรณีศึกษา Best Practices ภาวะผูนํา 5 7 8 กระบวนการเสริมสรางชุมชนเขมแข็ง 5 8 9 กลุมราชครูในการเมืองไทย 5 7 10 การกําหนดและการวิเคราะหนโยบายสาธารณะ : ทฤษฎีและการ

ประยุกตใช 5 7

11 การงบประมาณหลักทฤษฎีและการวัดและประเมินผล 5 7 12 การจัดสัมมนา 5 10 13 การบริหารการพัฒนา : ความหมาย เนื้อหา แนวทางและปญหา 5 7 14 การบริหารโครงการ 5 7 15 การบริหารงานคลังสาธารณะ 5 7 16 การบริหารงานบุคคล 5 9 17 การบริหารงานบุคคลในแนวทางใหม 5 9 18 การบริหารทรพัยากรเชิงกลยทุธ 5 9 19 การบริหารทรพัยากรบุคคลสูศตวรรษที่ 21 5 7 20 การบริหารทรพัยากรมนุษยแนวใหม 5 7 21 การบริหารทรพัยากรมนุษย ทฤษฎี และแนวปฏิบัติ 5 7 22 การบริหารราชการไทย 5 8 23 การบริหารสํานกังาน 5 8 24 การบริหารสํานกังานแบบใหม ฉบับปรับปรุงใหม 5 7

Page 19: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

19 หนังสือและตําราเรียนภาษาไทย (ตอ)

ลําดับที่ รายช่ือหนังสือ จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวา จะเพียงพอ

25 การบริหาร หลกัการ ทฤษฎี และประเด็นการศึกษา. 5 7 26 การปกครองทองถิ่นไทย : หลักการและมิติใหมในอนาคต 5 7 27 การปกครองสวนทองถิ่นตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

พ.ศ. 2540 5 7

28 การปกครองสวนทองถิ่นในประเทศตางๆ 5 7 29 การปฏิรูประบบราชการไทย 5 8 30 การประเมินโครงการ : แนวคิดและแนวปฏิบัติ 5 8 31 การพัฒนาทางการเมืองโดยกระบวนการปกครองทองถิ่น 5 8 32 การพัฒนาที่ยั่งยืน 5 8 33 การเมืองการปกครองไทย. 5 9 34 การเมืองของพลเมือง : สูสหสัวรรษใหม 5 7 35 การเมืองไทย : พัฒนาการ ปญหาและแนวทางแกไข 5 9 36 การเมืองไทยระดับทองถิ่นกับพัฒนาการในระบอบ

ประชาธิปไตย 5 9

37 การวิเคราะหขอมูลในการวิจยัเชิงคุณภาพ 5 7 38 การวิเคราะหนโยบาย : ขอบขาย แนวคิด ทฤษฎีและ

กรณีตัวอยาง 5 8

39 การวิเคราะหนโยบายและแปลงนโยบายสูการปฏิบัติ 5 8 40 การวิเคราะหและประเมินโครงการ 5 8 41 การวิจัยประเมนิผลหลักการและกระบวนการ 5 7 42 การเลือกตั้งแบบใหม ทําไมคนไทยตองไปเลือกตั้ง 5 7 43 การวางแผนกลยุทธ ; แนวคิดและแนวทางเชิงประยุกต 5 7 44 การวางแผนและการวิเคราะหโครงการ 5 7 45 การสรางธรรมาภิบาลในสังคมไทย 5 7 46 การแสวงหารูปแบบที่เหมาะสมสําหรับการปกครองเทศบาลไทย 5 7 47 ขอบขายและวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร 5 8 48 ความขัดแยงในสังคมไทยยุควิกฤติเศรษฐกิจ 5 7

Page 20: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

20

49 ความเขาใจเรือ่งการปกครองทองถิ่น 5 7 หนังสือและตําราเรียนภาษาไทย (ตอ)

ลําดับที่ รายช่ือหนังสือ จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวา จะเพียงพอ

50 ความสัมพันธระหวางประเทศเบื้องตน 5 7 51 คูมือพัฒนาตนเองและพัฒนาภาวะผูนํา 5 7 52 คําอธิบายกฎหมายพยานหลักฐาน 5 7 53 คําอธิบายวิชากฎหมายแพง : หลักทั่วไป เลมท่ี 1 5 7 54 คําอธิบายกฎหมายแรงงานเพือ่การบริหารทรัพยากรมนุษย 5 7 55 คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 1 5 7 56 คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 2 5 7 57 ตัวช้ีวัดธรรมาภิบาล 5 7 58 เทคนิคการบริหาร Balanced Scored 5 8 59 เทคนิคการบริหาร Benchmarking 5 8

60 เทคนิควิธีการวิเคราะหนโยบาย 5 8 61 ทฤษฎีสังคมและการเมือง 5 8 62 ทฤษฎีองคการสาธารณะ 5 9 63 เทศบาลในบริบทการกกระจายอํานาจแหงยุคสมัย 5 7 64 ธนกิจการเมืองกับการปฏิรูปการเมือง 5 7 65 นโยบายสาธารณะและการวางแผน 5 9 66 แนวคิดและปรากฏการณดานแรงงาน 5 9 67 แนวนโยบายพืน้ฐานแหงรัฐ 5 9 68 บทบาทใหมของขาราชการไทยในบริบทของรัฐธรรมนูญ

ปจจุบัน 5 8

69 ประชาธิปไตยไทย 5 8 70 ประชาธิปไตยและรัฐธรรมนญูฉบับประชาชน : คูมือการเรียน

การสอนการเผยแพรและการมีสวนรวม………….. 5 8

71 ประชาสังคม ทรรศนะนักคิดในสังคมไทย 5 7 72 ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยและประมวลกฎหมายอาญา

ฉบับปจจุบัน 2541 5 7

Page 21: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

21

73 ประมวลกฎหมายอาญาแกไขเพิ่มเติม พ.ศ.2540 5 7 74 ประสบการณในการบริหารงานบุคคล 5 9

หนังสือและตําราเรียนภาษาไทย (ตอ)

ลําดับที่ รายช่ือหนังสือ จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวา จะเพียงพอ

75 แผนปฏิรูประบบราชการ : การสรางการยอมรบัและความสาํเร็จในการนาํไปปฏิบัติ

5 7

76 แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่เกา พ.ศ. 2545-2549

5 8

77 พจนานุกรมศัพทการเมือง 5 9 78 พื้นฐานรัฐศาสตร 5 8 79 พฤติกรรมองคการ 5 8 80 ภาวะผูนํา : พลังขับเคลื่อนองคกรสูความเปนเลิศ 5 8 81 ยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการพลเรอืน 5 8 82 รัฐประศาสนศาสตร : ขอบขายและการประยุกตใชองคความรู. 5 8 83 รัฐศาสตรการเมือง : รวมบทความวิชาการทางรัฐศาสตร

พ.ศ. 2492-2515 5 8

84 รัฐ สังคม และการเปลี่ยนแปลง : การพิจารณาในเชิงอํานาจนโยบายและเครือขายความสัมพันธ.

5 8

85 ระบบงบประมาณและการจัดการแบบมุงผลสําเร็จในภาครัฐ 5 8 86 ระบบเศรษฐกิจและการพัฒนาเศรษฐกิจไทย 5 8 87 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 5 8 88 ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตรเบื้องตน 5 7 89 แรงงานสัมพันธ : หลักการ กฎหมาย และการบริหาร 5 7 90 โลก Modern & Post Modern 5 7 91 วิถีใหมแหงการพัฒนา : วิธีวทิยาศึกษาสังคมไทย 5 7 92 วิวัฒนาการของประชาสังคมในประเทศไทย 5 7 93 วิสัยทัศนการปกครองทองถิ่น และแผนการกระจายอํานาจ 5 7 94 วิสัยทัศนประเทศไทย (การเมอืง การปกครอง และกฎหมาย). 5 7 95 ศักยภาพทางการคลังขององคการบริหารสวนตําบล. 5 7

Page 22: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

22

96 ศตวรรษที่ 21 ยุคแหงการทาทายทางการบริหาร 5 7 97 ศาลรัฐธรรมนญูกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ. 5 7 98 ศาสตรและศิลปแหงความเปนผูนํา 5 9

หนังสือและตําราเรียนภาษาไทย (ตอ)

ลําดับที่ รายช่ือหนังสือ จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวา จะเพียงพอ

99 ศาสตรแหงการวิจัยทางการเมอืงและสังคม 5 7 100 เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรงุเทพฯ 5 7 101 เศรษฐกิจพอเพียง : พื้นฐานสูการพัฒนาที่ยั่งยืน 5 7 102 สถิติวิทยาทางการวิจัย 5 8 103 สังคม วัฒนธรรม และการบริหารแบบไทย 5 7 104 สังคมเศรษฐกิจไทยในทศวรรษ 2550 : ยุทธศาสตรการพัฒนา

ในกระแสโลกานุวัตร. 5 7

105 หลักการบริหารรัฐกิจกับระบบราชการไทย 5 8 106 หลักและเทคนิคการวางแผน 5 9 107 องคการการกระจายอํานาจ 5 9 108 ไอทีและการปฏิรูปภาครัฐ 5 8

หนังสือและตําราเรียนภาษาอังกฤษ จํานวน 50 ชื่อเร่ือง

ลําดับที่ รายช่ือหนังสือ จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวา จะเพียงพอ

1 Aspects of Political Development 1 1 2 Behavior in Organizations : Understanding and Managing

the Human Side of Work 1 1

3 Comparative Government and Politics : An Introduction 1 1 4 Comparative Politics : A Developmental Approach 1 1 5 Demystifying MIS : Guidelines for Management Information

Systems in Social Funds 1 1

6 Governance, Administration and Development : Making the 1 1

Page 23: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

23

State Work 7 Government Budgeting : Theory, Process and Politics 1 1 8 Human Resource Management : Experiential Approach 1 1

จํานวนหนังสือและตําราเรียนภาษาอังกฤษ (ตอ)

ลําดับที่ รายช่ือหนังสือ จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวา จะเพียงพอ

9 Handbook of Bureaucracy 1 1 10 Human Resource Management : Global Strategies for

Managing a Diverse Workforce 1 1

11 Information Technology for Management 1 1 12 International Economics 1 1 13 International Relations : The Global Condition in the

Twenty - First Century 1 1

14 Managerial Economics : Theory, Application and Cases 1 1 15 Management Information Systems 1 1 16 Multinational Management : A Strategic Approach 1 1 17 Operations Management : Policy, Practice and Performance

Improvement 1 1

18 Operations Management : Strategy and Analysis 1 1 19 Organization Communication : Approaches and Processes 1 1 20 Organization Theory : Structure Designs and Applications 1 1 21 Organizational Behavior 1 1 22 Personnel Management in Government : Politics and Processes 1 1 23 Political Change in Southeast Asia : Trimming the Banyan Tree 1 1 24 Post-Modern Public Administration : Toward Discourse 1 1 25 Project Management : A System Approach to Planning,

Scheduling and Controlling. 1 1

26 Public Administration : An Action Orientation 1 1 27 Public Administration : Policy, Politics and Practice 1 1 28 Public Administration and Public Affairs 1 1

Page 24: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

24

29 Public Management : The New Zealand Model 1 1 30 Public Policy Analysis : An Introduction 1 1 31 Public Sector Management 1 1

จํานวนหนังสือและตําราเรียนภาษาอังกฤษ (ตอ)

ลําดับที่ รายช่ือหนังสือ จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวา จะเพียงพอ

32 Public Policy : An Introduction to the Theory and Practice of Policy Analysis

1 1

33 Public Policy : Goals, Means ,and Methods 1 1

34 Public Administration : Understanding, Management, Politics and Law in Public Sector

1 1

35 Social Research Method : Qualitative and Quantitative 1 1 36 Strategic Management : A Managerial Perspective 1 1 37 Strategic Management of Technology and Innovation 1 1 38 The Politics of the Developing Areas 1 1

39 The HR Scorecard : Linking people, strategy and performance

1 1

40 The Policy Process in the Modern Capitalist state 1 1 41 The Leadership Experience 1 1 42 The Management and Control of Quality 1 1 43 The Public Sector : Concepts, Models and Approaches 1 1 44 The Political Economy of Democratic Decentralization 1 1 45 The Polities of Bureaucracy 1 1

46 The Human Resources Scorecard : Measuring the Return on Investment

1 1

47 The Leadership Experience. (Second Edition) 1 1 48 Understanding and Managing Organizational Behavior 1 1

49 Understanding Comparative Politics : A Framework of Analysis.

1 1

Page 25: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

25

50 Understanding Public Policy 1 1

15.2 วารสาร วารสารภาษาไทยที่เก่ียวของ จํานวน 79 รายชื่อ

ลําดับที่ รายช่ือวารสาร จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวา จะเพียงพอ

1 การเงินการธนาคาร 1 1 2 การเมืองใหม 1 1 3 เทศาภิบาล 1 1 4 นักบริหาร 1 1 5 นิตยสารทองถิ่น 1 1 6 นิตยสารผูนําทองถิ่น 1 1 7 ประชาคม 1 1 8 ประชาคมทองถิ่น 1 1 9 ภาษาปริทัศน 1 1 10 ภาษาและวัฒนธรรม 1 1 11 มติชนสุดสัปดาห 1 1 12 มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 1 1 13 แมโจปริทัศน 1 1 14 ไมโครคอมพิวเตอร 1 1 15 รัฎฐาภิรักษ 1 1 16 รัฐศาสตรสาร 1 1 17 รัฐศาสตรปริทัศน 1 1 18 รัฐสภาสาร 1 1 19 รายงานความเคลื่อนไหวดานเศรษฐกิจ 1 1 20 รีดเดอรส ไดเจสท สรรสาระ 1 1 21 วารสารกฎหมาย 1 1 22 วารสารกรมวิชาการ 1 1 23 วารสารการคาโลก 1 1

Page 26: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

26

24 วารสารการจัดการภาครัฐและเอกชน 1 1 25 วารสารการจัดการสมัยใหม 1 1 26 วารสารการบริหารคน 1 1 27 วารสารการบริหารและการจัดการ 1 1 28 วารสารการเลือกตั้ง 1 1

วารสารภาษาไทยที่เก่ียวของ (ตอ)

ลําดับที่ รายช่ือวารสาร จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวาจะเพียงพอ

29 วารสารการอาน 1 1 30 วารสารการประกันคุณภาพ 1 1 31 วารสารขาวกฎหมายใหม 1 1 32 วารสารขาราชการ 1 1 33 วารสารคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 1 1 34 วารสารผูตรวจการแผนดินรัฐสภา 1 1 35 วารสารพัฒนบริหารศาสตร 1 1 36 วารสารพฤติกรรมศาสตร 1 1 37 วารสารไทย 1 1 38 วารสารธรรมศาสตร 1 1 39 วารสารพัฒนาชุมชน 1 1 40 วารสารพรรคการเมืองสัมพันธ 1 1 41 วารสารยุติธรรม 1 1 42 วารสารราชบัณฑิตยสถาน 1 1 43 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. 1 1 44 วารสารวิชาการปริทัศน 1 1 45 วารสารวิทยาการจัดการ 1 1 46 วารสารศาลรัฐธรรมนูญ 1 1 47 วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 1 1 48 วารสารเศรษฐกิจและสังคม 1 1 49 วารสารเศรษฐกิจวิเคราะห 1 1 50 วารสารเศรษฐศาสตร 1 1 51 วารสารเศรษฐศาสตรธรรมศาสตร 1 1 52 วารสารสังคมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1 1

Page 27: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

27

53 วารสารสถิติ 1 1 54 วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช 1 1 55 วารสารสํานักงานคณะกรรมการการวิจัยแหงชาติ 1 1 56 วิทยาจารย 1 1 57 วิทยาสารเกษตรศาสตร สาขาสังคมศาสตร 1 1

วารสารภาษาไทยที่เก่ียวของ (ตอ)

ลําดับที่ รายช่ือวารสาร จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวาจะเพียงพอ

58 วิจัยเชิงคุณภาพ 1 1 59 วิจัย มข. 1 1 60 วิจัยสังคมศาสตร 1 1 61 ศิลปวัฒนธรรม 1 1 62 ศึกษาศาสตรปริทัศน 1 1 63 เศรษฐกิจปริทัศน มหาวิทยาลัยรังสิต 1 1 64 เศรษฐกิจ – แรงงาน 1 1 65 เศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1 1 69 เศรษฐสาร 1 1 70 สารวุฒิสภา 1 1 71 สาสนรัฐประศาสนศาสตร 1 1 72 สังคมศาสตรปริทัศน 1 1 73 สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 1 1 74 สุทธิปริทัศน 1 1 75 สยามจดหมายเหตุ 1 1 76 สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ 1 1 77 สํานักงาน ป.ป.ส. 1 1 78 อาทิตย 1 1 79 เอกสารสารภาษีอากร 1 1

วารสารภาษาอังกฤษที่เก่ียวของ จํานวน 36 รายชื่อ

ลําดับที่ รายช่ือวารสาร จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวาจะเพียงพอ

1 ABAC Journal 1 1

Page 28: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

28

2 APPEAL 1 1 3 Asian Journal on Science and Technology for Development 1 1 4 Information Affairs 1 1 5 Information Report 1 1 6 Information Research 1 1

วารสารภาษาอังกฤษที่เก่ียวของ (ตอ)

ลําดับที่ รายช่ือวารสาร จํานวนที่มีอยู จํานวนที่คาดวาจะเพียงพอ

7 Internet Magazine 1 1 8 Internet Today 1 1 9 Journal of Contextual Philosophy and Religions 1 1

10 Mahidol Journal 1 1 11 Manusya 1 1 12 Mekong Connection 1 1 13 Nation Journal 1 1 14 Newsletter สมาคมสหประชาชาติแหงประเทศไทย 1 1 15 Newsletter (มหาวิทยาลัยมหิดล) 1 1 16 Newsletter (ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส) 1 1 17 Newsletter (NGO-ANCC) 1 1 18 Newsweek 1 1 19 Planet Talk 1 1 20 Population Education in Asia and Pacific 1 1 21 Population Reports 1 1 22 Prajna Vihara 1 1 23 Reader’s Digest 1 1 24 Science and Technology 1 1 25 Thai Cultural Newsletter 1 1 26 Thai Higher Education Review 1 1 27 Thailand Exports 1 1 28 Thaiways 1 1 29 Thammasat Review 1 1 30 The Asia Magazine 1 1

Page 29: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

29

31 The Asia Week 1 1 32 The Nation Weekend 1 1 33 The World Bank and Thailand 1 1 34 Time 1 1 35 Travel Scene 1 1 36 UNICEF News 1 1

15.3 หนวยงานสนับสนุนความรูดานรัฐประศาสนศาสตร 1. การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (เขื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ) 2. ที่ทําการปกครองจังหวัดอุตรดิตถ 3. ที่วาการอําเภอเมืองอุตรดิตถ 4. ศูนยภาษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ 5. สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดอุตรดิตถ 6. สํานักงานคุมประพฤติจังหวัดอุตรดิตถ 7. สํานักงานจัดหางานจังหวัดอุตรดิตถ 8. สํานักงานทองถ่ินจังหวัดอุตรดิตถ 9. สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดอุตรดิตถ 10. สํานักวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ 11. สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ 12. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน ไดแก องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาลเมือง เทศบาลตําบล และองคการบริหารสวนตําบล ในจังหวัดอุตรดิตถ

15.4 เวปไซต ดานรัฐประศาสนศาสตร

1. กรมการปกครอง www.dopa.go.th 2. กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถ่ิน www.thailocaladmin.go.th

3. กระทรวงมหาดไทย www.moi.go.th 4. กระทรวงยุติธรรม www.moj.go.th 5. กระทรวงศึกษาธิการ www.moe.go.th 6. ขอมูลสวนราชการไทย (ก.พ.ร.) www.gdir.gits.net.th 7. คณะมนษุยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ www.human.uru.ac.th

Page 30: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

30 8. เครือขายกาญจนาภิเษก www.kanchanapisak.or.th 9. โปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร www.human.uru.ac.th/major/rud 10. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ www.uru.ac.th 11. รัฐบาล www.Thaigov.go.th 12. รัฐสภา www.parliament.go.th 13. ราชบัณฑิตยสถาน www.royin.go.th เวปไซต ดานรัฐประศาสนศาสตร (ตอ) 14. ศาลรัฐธรรมนูญ www.concourt.or.th 15. สํานักงานกฤษฎกีา www.krisdeka.go.th 16. สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง www.ect.go.th 17. สํานักงานคณะกรรมการการกระจายอํานาจแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน www.dloc.go.th 18. สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) www.ocsc.go.th 19. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ www.nesdb.go.th 20. สํานักงานตํารวจแหงชาต ิ www.police.go.th 21. สํานักงานปลัดสาํนักนายกรัฐมนตรี www.opm.go.th

22. สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ www.library.uru.ac.th 23. หอสมุดแหงชาต ิ www.nlt.go.th

15.5 ฐานขอมูลทางวิชาการดานรัฐประศาสนศาสตร 1. ฐานขอมูลสารสนเทศทางวิชาการดานรัฐประศาสนศาสตร จํานวน 701 ช่ือเร่ือง http://library.uru.ac.th/rps-db/finddew.asp?dew=350 2. ส่ิงพิมพตอเนื่อง (รัฐประศาสนศาสตรนิวสรายเดือน) http://library.uru.ac.th/infor/syslcnews/finddew.asp?gr=G8 3. ตําราออนไลนดานรัฐประศาสนศาสตร http://library.uru.ac.th.bookonline/searchll.idc? gr=G8 4. Dewey Link เปนฐานขอมูลรวมบทความรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร

http://library.uru.ac.th/library/linkdewey/finddew.asp?dew=350 5. Link ที่นาสนใจ

Page 31: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

31

http://library.uru.ac.th/library/index.asp 6. ฐานขอมูลบทความวิชาการดานรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร http://library.uru.ac.th/article/finddew.asp?lc=JA 7. ฐานขอมูลบทความจากเวปไซตดานรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร http://library.uru.ac.th/webdb/finddew.asp?dew=320,350 8. เครือขายพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อการปฏิรูปการเรียนรู http://library.uru.ac.th/eduforall/ 16. งบประมาณ

งบประมาณ รายการ 2549 2550 2551 2552 2553

คาตอบแทน คาใชสอย คาวัสดุ คาครุภัณฑ

400,000 350,000 250,000 200,000

400,000 340,000 270,000 190,000

400,000 350,000 250,000 200,000

360,000 340,000 240,000 260,000

360,000 340,000 240,000 260,000

รวม 1,200,000 1,200,000 1,200,000 1,200,000 1,200,000

ประมาณการคาใชจายตอหัวในการผลิตนักศึกษาตามหลักสูตร 15,000 บาท ตอคนตอป 17. หลักสูตร

17.1 จํานวนหนวยกิต จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 133 หนวยกิต

17.2 โครงสรางหลักสูตร มีสัดสวนหนวยกิตแตละหมวดวิชา ดังนี้ 17.2.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต 1) กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร ไมนอยกวา 12 หนวยกติ 2) กลุมวิชามนุษยศาสตร ไมนอยกวา 3 หนวยกิต 3) กลุมวิชาสงัคมศาสตร ไมนอยกวา 3 หนวยกติ 4) กลุมคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไมนอยกวา 3 หนวยกติ

ใหเลือกรายวิชาในหมวดวิชาศกึษาทั่วไปจากกลุมวิชาตาง ๆ ใหครบ 30 หนวยกิต ทั้งนี้ตองมีรายวิชาภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตร รวมแลวไมนอยกวา 12 หนวยกิต

Page 32: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

32

17.2.2 หมวดวิชาเฉพาะ 97 หนวยกิต 1) วิชาเฉพาะดาน 87 หนวยกิต

2) วิชาพื้นฐานวิชาชีพ 3 หนวยกิต 3) วิชาชีพ 7 หนวยกิต

17.2.3 หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต

17.3 การจัดการเรียนการสอน 17.3.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต

1) กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร ไมนอยกวา 12 หนวยกิต บังคับ เรียน 9 หนวยกิต

1500103 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและทักษะการเรียน 3(3-0) English for Communication and Study Skills

1500106 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(3-0) Thai for Communication

1500107 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(3-0) English for Communication

เลือก ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปนี้ไมนอยกวา 3 หนวยกิต 1500105 สารสนเทศและการศึกษาคนควา 3(3-0) Information and Study Skills 1500109 ภาษาอังกฤษเฉพาะกิจ 3(3-0) English for Specific Purposes 1500110 ภาษาอังกฤษเพือ่วิชาการ 3(3-0) English for Academic Purposes

2) กลุมวิชามนุษยศาสตร ใหเลือกเรียนจากรายวชิาตอไปนี้ไมนอยกวา 3 หนวยกิต 1500104 ความจริงของชีวิต 3(3-0) Meaning of Life 2000102 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0) Aesthetic Appreciation

Page 33: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

33 2500101 พฤติกรรมมนุษยกับการพฒันาตน 3(3-0) Human Behavior and Self Development

3) กลุมวิชาสงัคมศาสตร ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปนี้ไมนอยกวา 3 หนวยกิต 2500102 วิถีไทย 3(3-0) Thai Living 2000103 วิถีโลก 3(3-0) Global Society and Living 2500104 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม 3(3-0) Human being and Environment

4) กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไมนอยกวา 3 หนวยกิต เลือก ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปนี้ไมนอยกวา 3 หนวยกิต

4000105 วิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต 3(3-0) Science for Quality of Life 4000106 การคิดและการตัดสินใจ 3(3-0) Thinking and Decision Making 4000107 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต 3(2-2) Information Technology for Life

4000109 วทิยาศาสตรการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ 3(2-2) Exercise Science for Health 4000110 พืชพรรณเพื่อชีวิต 3(2-2) Plant for Life

ใหเลือกเรยีนรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป จากกลุมวชิาตางๆ ใหครบ 30 หนวยกติ ทั้งนี้ตองมีรายวิชาภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตร รวมแลวไมนอยกวา 12 หนวยกิต

17.3.2 หมวดวิชาเฉพาะ 97 หนวยกิต 1) วิชาเฉพาะดาน 87 หนวยกิต

บังคับ เรียน 42 หนวยกิต

2551102 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับรัฐศาสตร 3(3-0) Introduction to Political Science

Page 34: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

34 2551103 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร 3(3-0) Introduction to Public Administration 2551301 ระบบบริหารราชการไทย 3(3-0) Thai Public Administration System 2551303 องคการและการจัดการภาครฐั 3(3-0) Organization and Public Management 2552101 การปกครองทองถ่ินไทย 3(3-0) Thai Local Government 2552301 นโยบายสาธารณะและการวางแผน 3(3-0) Public Policy and Planning 2552302 การบริหารงานคลังและงบประมาณ 3(3-0) Fiscal and Budgeting Administration 2553302 การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษยภาครัฐ 3(3-0) Human Resource Management in Public Sector 2554301 จริยธรรมสําหรับนักบริหาร 3(3-0) Ethics for Administrator 2554901 สัมมนาทางรัฐประศาสนศาสตร 3(3-0) Seminar in Public Administration 2554902 วิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตรเบื้องตน 3(2-2) Introduction to Public Administration Research Methodology 2561103 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย 3(3-0) Principles of Jurisprudence 2562503 กฎหมายเกี่ยวกบัการบริหารราชการไทย 3(3-0) Laws and Regulations in Thai Bureaucracy 2562510 กฎหมายรัฐธรรมนูญ 3(3-0) Constitutional Laws

เลือก เลือกเรียนรายวชิาตอไปนี้ไมนอยกวา 45 หนวยกิต

2504902 สถิติสําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร 3(3-0) Statistics for Social Science Research

Page 35: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

35 2551106 ทฤษฎีการเมอืง 3(3-0) Political Theory 2552102 การปกครองทองถ่ินและภูมภิาค 3(3-0) Local and Provincial Governments 2552103 พลวัตสังคมไทย 3(3-0) Thai Social Dynamics 2552104 ประชาสังคม 3(3-0) Civil Society 2552303 การประเมินบุคคล 3(3-0) Personnel Evaluation 2552304 การบริการสาธารณะ 3(3-0) Public Service 2552305 การพัฒนาเชิงกลยุทธ 3(3–0) Strategic Development 2552306 การพัฒนาภาวะผูนํา 3(3-0) Leadership Development 2553103 การเมืองไทย 3(3-0) Thai Politics 2553104 การวางแผนพัฒนาทองถ่ิน 3(3-0) Local Development Planning 2553105 การบริหารงานคลังทองถ่ิน 3(3-0) Fiscal Management for the Local 2553308 การประเมินผลโครงการ 3(3-0) Project Evaluation 2553309 การวิเคราะหนโยบาย 3(3-0) Policy Analysis 2553310 ระบบสารสนเทศสําหรับการบริหาร 3(3-0) Management Information System 2553311 การพัฒนาระบบราชการ 3(3-0)

Page 36: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

36 Bureaucratic Development 2553312 เทคนิคการบริหารจัดการสมัยใหม 3(3-0) New Management Technique 2553313 การบริหารสํานักงานแนวใหม 3(3-0) New Office Management 2553314 การบริหารจัดการโครงการ 3(3-0) Project Management 2553315 การวิเคราะหองคการและพัฒนาระบบงาน 3(3-0) Organization and Work System Analysis 2554103 การจัดองคกรทองถ่ิน 3(3-0) Local Organization Management 2554302 การพัฒนาศักยภาพในการทํางานภาครัฐ 3(3-0) Public Competency Development 2554303 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย 3(3-0) Human Resource Development 2554304 เทคนิคการเขียนโครงการ 3(2-2) Project Writing Technique 2554903 การศึกษาเอกเทศ 3(3-0) Independent Study 2562505 กฎหมายปกครองและวิธีพจิารณาคดีปกครอง 3(3-0) Administrative Laws and Procedures 2563301 แรงงานสัมพันธ 3(3-0) Labor Relations

2) วิชาพื้นฐานวิชาชีพ เรียน 3 หนวยกิต 3591105 เศรษฐศาสตรทั่วไป 3(3-0) General Economics 3) วิชาชีพ เรียน 7 หนวยกิต 2553801 การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร 2 (90) Preparation for Professional Experience in Public Administration

Page 37: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

37 2554801 การฝกประสบการณวิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร 5 (450) Field Experience in Public Administration

17.3.3 หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต

ใหเลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถเปดสอน โดยไมซํ้ากับ รายวิชาที่เคยเรียนมาแลว และตองไมเปนรายวิชาที่กําหนดใหเรียน โดยไมนับหนวยกิตรวม ในเกณฑ การสําเร็จหลักสูตรของสาขาวิชานี้ 17.4 แผนการศึกษา

ปท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต (บรรยาย – ปฏิบัติ)

---------------- 2551102 2551103 2551303 2561103

รายวิชาศึกษาทั่วไป ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับรัฐศาสตร ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร องคการและการจัดการภาครัฐ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย

9 หนวยกิต 3 (3-0) 3 (3-0) 3 (3-0) 3 (3-0)

รวม 21 หนวยกิต

ป ีท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต (บรรยาย – ปฏิบัติ)

--------------- 2551301 2552301

รายวิชาศึกษาทั่วไป ระบบบริหารราชการไทย นโยบายสาธารณะและการวางแผน

9 หนวยกิต 3 (3-0) 3 (3-0)

Page 38: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

38

2553103 3591105

การเมืองไทย เศรษฐศาสตรทั่วไป

3 (3-0) 3 (3-0)

รวม 21 หนวยกิต

ป ีท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต (บรรยาย – ปฏิบัติ)

--------------- 2552101 2552104 2562510 2552305

---------------

รายวิชาศึกษาทั่วไป การปกครองทองถิ่นไทย ประชาสังคม กฎหมายรัฐธรรมนูญ การพัฒนาเชิงกลยุทธ เลือกเสรี

6 หนวยกิต 3 (3-0) 3 (3-0) 3 (3-0) 3 (3-0)

2 หนวยกิต รวม 20 หนวยกิต

ป ีท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต (บรรยาย – ปฏิบัติ)

--------------- 2552302 2553309 2553311

รายวิชาศึกษาทั่วไป การบริหารงานคลังและงบประมาณ การวิเคราะหนโยบาย การพัฒนาระบบราชการ

6 หนวยกิต 3 (3-0) 3 (3-0) 3 (3-0)

Page 39: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

39

2562505 ---------------

กฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง เลือกเสรี

3 (3-0) 2 หนวยกิต

รวม 20 หนวยกิต

ป ีท่ี 3 ภาคการศึกษาท่ี 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต (บรรยาย – ปฏิบัติ)

2504902 2552306 2553314 2553302 2553104 2562503

---------------

สถิติสําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร การพัฒนาภาวะผูนํา การบริหารจัดการโครงการ การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษยภาครัฐ การวางแผนพัฒนาทองถิ่น กฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการไทย เลือกเสรี

3 (3-0) 3 (3-0) 3 (3-0) 3 (3-0) 3 (3-0) 3 (3-0)

2 หนวยกิต รวม 20 หนวยกิต

ป ีท่ี 3 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต (บรรยาย – ปฏิบัติ)

2553312 2553310

เทคนิคการบริหารจัดการสมัยใหม ระบบสารสนเทศสําหรับการบริหาร

3 (3-0) 3 (3-0)

Page 40: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

40

2554902 2552303 2554304

วิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตรเบื้องตน การประเมินบุคคล เทคนิคการเขียนโครงการ

3 (2-2) 3 (3-0) 3 (2-2)

รวม 15 หนวยกิต

ป ีท่ี 4 ภาคการศึกษาท่ี 1

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต (บรรยาย – ปฏิบัติ)

2554301 2553308 2553801 2554901

จริยธรรมสําหรับนักบริหาร การประเมินผลโครงการ การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร สัมมนาทางรัฐประศาสนศาสตร

3 (3-0) 3 (3-0) 2 (90) 3 (3-0)

รวม 11 หนวยกิต

ป ีท่ี 4 ภาคการศึกษาท่ี 2 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหนวยกิต

(บรรยาย – ปฏิบัติ) 2554801 การฝกประสบการณวิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร

5 (450)

รวม 5 หนวยกิต

Page 41: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

41 17.5 คําอธิบายรายวิชา 17.5.1 หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวชิา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิัต)ิ

1500103 ภาษาองักฤษเพื่อการสื่อสารและทักษะการเรียน 3(3-0) English for Communication and Study Skills พัฒนาผูเรียนใหมีทักษะในการฟง การพูด เพื่อใหขอมูลและแสดงความคิด

เห็นในเรื่องตางๆ เชน ขนบประเพณี งานอดิเรก กีฬา ขาว ปญหาสังคม ฯลฯ ไดรับทักษะในการอานโดยใชเทคนิคการอานขั้นสูงขึ้น เชน การอานเพื่อหาหัวขอ เร่ืองการอานเพื่อจับใจความสําคัญ และรายละเอียดใหสามารถเขียนสรุปความเพื่อ รายงานขอความที่อานและใหมีทักษะในการศึกษาคนควาในหัวขอที่ตรงกับสาขาวิชาที่ เรียนจากแหลงขอมูลส่ิงพิมพและอีเล็กทรอนิกส ทั้งนี้โดยเนนทักษะการอาน การเขียน และการสืบคน

1500104 ความจริงของชีวิต 3(3-0) Meaning of Life ศึกษาความจริงของชีวิต ความหมายของชีวติ การดํารงชีวติในสังคมปจจบุัน

และโลกวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสารสนเทศ การนําเอาความจริง และหลักศาสน

Page 42: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

42

ธรรมไปประยุกตใชในการแกปญหาและพฒันาปญหาชีวติและสังคม การพัฒนา คุณธรรม และจริยธรรมตามหลักศาสนธรรมชีวิตที่มีสันตสุิขและสังคมที่มีสันติภาพ

1500105 สารสนเทศและการศึกษาคนควา 3(3-0) Information and Study Skills ความหมาย ความสําคัญของสารสนเทศ แหลงสารสนเทศ ทรัพยากร สารสนเทศระบบการจัดเกบ็ทรัพยากรสารสนเทศ การสืบคนและรวบรวมสารสนเทศ ดวยระบบมอื และระบบคอมพิวเตอรจากฐานขอมูลตาง ๆ ตลอดจนเครือขาย อินเทอรเนต็เพื่อการศึกษาคนควาดวยตนเอง และการนําเสนอผลการศึกษาคนควา

ในรูปแบบของบทนิพนธที่เปนมาตรฐาน

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวชิา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิัต)ิ

1500106 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(3-0) Thai for Communication ความสําคัญของภาษาไทยในฐานะทีเ่ปนเครื่องมือส่ือสาร ศึกษาสภาพปญหา

และแนวทางแกไขปญหาการใชภาษาในชวีิตประจําวัน หลักการใชคํา สํานวน การผูกประโยค ระดับภาษา กระบวนการพัฒนาทักษะการรบัสารและสงสารโดยเนนการฟง การดู การอานจับใจความสาํคัญ สรุปความ วิเคราะห วินิจสาร วิจารณและประเมนิคา ฝกทักษะการคิดรวบรวมความรู ความคิด ประสบการณจากการฟง การดูและการอาน แลวนํามาเรยีบเรียงเพื่อแสดงออกดวยการพดู การเขียนอยางมีวิจารณญาณ และ

สรางสรรค

1500107 ภาษาองักฤษเพื่อการสื่อสาร 3(3-0) English for Communication ศึกษาและพัฒนาทักษะการสื่อสารโดยบูรณาการทักษะดานการฟง การพูด

การอาน และการเขียน เนนใหผูเรียนมีความสามารถในการฟง และการพูดภาษาอังกฤษในบริบทที่หลากหลายและพดูอยางเหมาะสม

1500109 ภาษาองักฤษเฉพาะกิจ 3(3-0)

Page 43: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

43 English for Specific Purposes พัฒนาทักษะการใชภาษาอังกฤษเฉพาะสาขาวิชาของผูเรียน เนนความรูเร่ือง

โครงสราง และคําศัพทที่เกีย่วของกับสาขาวิชานั้น รวมทั้งใหผูเรียนสามารถใชภาษา ที่ไดเรียนในการนําเสนอโครงงาน

1500110 ภาษาองักฤษเพื่อวิชาการ 3(3-0) English for Academic Purposes พัฒนาทักษะการใชภาษาอังกฤษในบริบททางวิชาการโดยทั่วไปที่เกีย่วของ

กับสาขาของผูเรียน เนนการใชความรูเกีย่วกับโครงสรางทางภาษา การอาน การเขียน และการนําเสนอโครงงาน

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวชิา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิัต)ิ

2000102 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0) Aesthetic Appreciation ศึกษาและจําแนกขอแตกตางในศาสตรทางความงาม ความหมายของสนุทรีย-

ศาสตรเชิงการคิดกับสุนทรียศาสตรเชิงพฤติกรรมโดยสังเขป ความสําคัญของการรับรู กับความเปนมาของศาสตรทางการเห็น (The Art of Imagery) ศาสตรทางการไดยนิ (The Art of Sound) และศาสตรทางการเคลื่อนไหว (The Art of Movement) สูทัศนศิลป (Visual Arts) ศิลปะดนตร ี (Musical Arts) และศิลปะทางการแสดง (Performing Arts) ผานขั้นตอนการเรียนรูเชิงคุณคาจาก (1) ระดับการรําลึก (Precognitive) (2) ผานขั้นตอน ความคุนเคย (Acquantive) และ (3) นําเขาสูขั้นความซาบซึ้ง (Appreciative) เพื่อใหไดมาซึ่งประสบการณของความซาบซึ้งทางสุนทรียภาพ (Aesthetic Appreciation)

2500101 พฤติกรรมมนษุยกับการพัฒนาตน 3(3-0) Human Behavior and Self Development ศึกษาพฤติกรรมมนุษยและสาเหตุปจจยัแหงพฤติกรรม การพัฒนาตนเอง

มนุษยสัมพนัธเพื่อการทํางานรวมกนัและการอยูรวมกันอยางเปนสุข

2500102 วิถีไทย 3(3-0)

Page 44: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

44 Thai Living ศึกษาลักษณะทั่วไป วิวัฒนาการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยทั้งในเมือง

และชนบท วัฒนธรรม และประเพณีไทย สภาพปญหาและแนวทางการขจัดปญหา สังคมไทย โดยศึกษาการพฒันาโครงสรางอันเนื่องมาจากพระราชดําริภูมิปญญาชาวบาน และทองถ่ิน การดําเนินชวีิตแบบเพยีงพอ ตลอดถึงวิสัยทัศนดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการปกครองที่คนไทยอยากเห็น

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวชิา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิัต)ิ

2500103 วิถีโลก 3(3-0) Global Society and Living ศึกษาววิัฒนาการสังคม ระบบเศรษฐกิจ การเมืองและการปกครองของ

ประเทศไทยและของสังคมโลก การจดัระเบียบโลกในดานสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและการปกครอง ตลอดถึงการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการปกครองของประเทศไทยเพื่อปรับตัวเขากับการจัดระเบียบของสังคมโลก

2500104 ชีวิตกับสิง่แวดลอม 3(3-0) Human being and Environment ความหมาย ความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม ความสัมพันธ

เชิงระบบระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอม การพัฒนาและการใชทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพในทองถ่ิน การดําเนินกจิกรรมโดยใช วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีที่มีผลกระทบตอส่ิงแวดลอม การมีสวนรวมในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติของสิ่งแวดลอม และพลังงาน การสงเสริม การบํารุงรักษาและ คุมครองคุณภาพสิ่งแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติตามหลักการพฒันาที่ยั่งยืน

Page 45: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

45 4000105 วิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต

3(3-0) Science for Quality of Life

ศึกษากระบวนการและการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและนําความรู ทางวิทยาศาสตรมาประยุกตในการพัฒนาคุณภาพชวีิตใหดํารงอยูอยางเปนสุข และมี ประสิทธิภาพ โดยตระหนกัถึงผลกระทบของความกาวหนาทางวิทยาศาสตรที่มีตอ มนุษย สภาพแวดลอม สังคม การเมือง และวัฒนธรรม

4000106 การคิดและการตัดสินใจ 3(3-0) Thinking and Decision Making

หลักการและกระบวนการคิดของมนุษย ความคิดสรางสรรค การวิเคราะห ขอมูลและขาวสาร ตรรกศาสตร การใหเหตุผล กระบวนการตดัสินใจ กระบวนการแสวงหาความรูทางวิทยาศาสตร กําหนดการเชิงเสน และการประยุกตใชในการ

แกปญหาในชวีิตประจําวนั

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวชิา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิัต)ิ

4000107 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต 3(2 -2) Information Technology for Life

ศึกษาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีอิทธิพลและมีผลกระทบตอชีวิตและ สังคม การใชเครื่องและอุปกรณคอมพิวเตอร เพื่อการประมวลผลขอมูล การจัดการ และการใชขอมูล การใชโปรแกรม ระบบและโปรแกรมประยกุต เพื่อการสืบคน ขอมูล การแสวงหาความรูจากฐานขอมูล และแหลงขอมูลตาง ๆ บนระบบเครือขาย

คอมพิวเตอร และสื่อชนิดตาง ๆ ใหเปนประโยชนสําหรับการศึกษาคนควา การทํา รายงาน การนําเสนอผลงาน และการดํารงชีวิตประจําวันอยางมีประสิทธิภาพ การเคารพสิทธิและทรัพยสินทางปญญา

4000109 วิทยาศาสตรการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ 3(2-2) Exercise Science for Health

ศึกษาองคประกอบของปจจยัที่สงผลใหเกดิสุขภาวะที่เกีย่วกับสุขภาพ และ

Page 46: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

46

คุณภาพชวีิตของมนุษย หลักการทฤษฎีทางวิทยาศาสตรที่นํามาใชในการออกกําลังกาย ที่สงผลตอสุขภาวะที่ดี การกําหนดโปรแกรมการออกกาํลังกายดวยกจิกรรมทางกาย กิจกรรมการเคลื่อนไหวตาง ๆ โภชนาการและพลังงานที่ใชในการออกกําลังกาย ที ่เหมาะสมกับตนเอง ตามวยั เพศ การทดสอบ สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ และการประเมินผลขอระวังและหลีกเลี่ยงที่จะกอใหเกิดอนัตรายจากการออกกาํลังกายรวมทัง้การบริโภคอาหาร ฝกปฏิบัติตามโปรแกรมการฝกเพื่อใหเกิดพฤติกรรมทางสุขภาพ ที่สงผลตอสุขภาวะที่สมดุล ทั้งดานรางกาย จิตใจ สังคม และศีลธรรม

4000110 พืชพรรณเพื่อชีวิต 3(2-2) Plant for Life ความสําคัญและคุณคาของพืชพรรณตอชีวิต ความหลากหลายของพชืพรรณ

ภูมิปญญาทองถ่ินในการใชประโยชนจากพชืพรรณ โครงการอนุรักษพนัธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การอนุรักษและการพัฒนาพชืพรรณ

17.5.2 หมวดวิชาเฉพาะ

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวชิา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิัต)ิ

2504902 สถิติสําหรับการวิจัยทางสงัคมศาสตร 3 (3-0) Statistics for Social Science Research ศึกษาเกีย่วกับแนวคดิ วิธีการทางสถิติ สถิติภาคพรรณนา สถิติวิเคราะห เบื้องตน กระบวนการ และเทคนิคการใชสถิติในงานวิจัยทางสังคมศาสตร

2551102 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับรัฐศาสตร 3(3-0) Introduction to Political Science

ศึกษาขอบขายและวิธีการศกึษาทางรัฐศาสตร อํานาจรัฐ ความสัมพนัธ ระหวางรัฐกับประชาชน รัฐกับกฎหมาย กระบวนการทางการเมือง ลัทธิและอุดมการณ ทางการเมือง รัฐกับสังคมโลก ความสัมพันธระหวางประเทศ ปญหาและแนวโนม ของรัฐ สังคมโลกในยุคโลกาภิวัตน

Page 47: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

47

2551103 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร 3 (3-0) Introduction to Public Administration ศึกษาความหมาย พัฒนาการ ขอบขาย แนวความคดิทฤษฎี และความสัมพันธ ของวิชารัฐประศาสนศาสตรกับศาสตรอ่ืน ๆ องคการและกระบวนการบริหารงานภาครัฐ ครอบคลุมถึงนโยบายสาธารณะ การจัดการทรัพยากรมนุษย การบริหารงานคลัง และ งบประมาณ รวมถึงแนวคิดการบริหารจดัการภาครัฐแนวใหมโดยสังเขป

2551106 ทฤษฎีการเมือง 3 (3-0) Political Theory

การศึกษาการสรางทฤษฎีเกี่ยวกับรัฐศาสตร พฤติกรรมศาสตร และทฤษฎีที่ สําคัญ ๆ ในทางรัฐศาสตรในสมัยปจจุบนั เชน ทฤษฎรีะบบทฤษฎีโครงสรางหนาที่

ทฤษฎีเกม ทฤษฎีบทบาท ทฤษฎีการสื่อความหมาย และทฤษฎีการพัฒนาทางการเมือง

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวชิา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิัต)ิ

2551301 ระบบบริหารราชการไทย 3 (3-0) Thai Public Administration System

ศึกษาปรัชญา แนวคดิ ทฤษฎี กระบวนการ คานิยม ระบบ และ พัฒนาการของ การบริหารราชการไทย ปจจัยแวดลอมทางดานสังคม เศรษฐกิจและ การเมืองที่มีอิทธิพล ตอการบริหารราชการไทยในทุกระดับ ปญหาอุปสรรคและแนวทางแกไขการบริหาร ราชการไทย การปฏิรูประบบราชการ และแนวโนมของการบริหารราชการไทยในอนาคต

2551303 องคการและการจัดการภาครัฐ 3 (3-0) Organization and Public Management ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีองคการสํานักตาง ๆ ตั้งแตยุคดั้งเดิมถึงยุคปจจุบัน โครงสรางองคการ กระบวนการบริหารงานในองคการ วัฒนธรรมองคการ และสภาพ แวดลอมขององคการรวมถึงการประยกุตใชทฤษฎีองคการในการบริหารจัดการภาครัฐ

Page 48: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

48 2552101 การปกครองทองถิ่นไทย 3 (3-0) Thai Local Government

ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ รูปแบบ และพัฒนาการของการปกครอง ทองถ่ินไทย ความสัมพันธระหวางการปกครองทองถ่ินกับการปกครองสวนกลาง

และสวนภมูิภาคทั้งในแงอํานาจและรูปแบบการบริหารงาน การปกครองทองถ่ิน เปรียบเทียบ ปญหาของการปกครองทองถ่ินไทย ตลอดจนแนวทางแกไขปญหา

2552102 การปกครองทองถิ่นและภมิูภาค 3(3-0) Local and Provincial Governments หลักการ แนวคิด เกี่ยวกับการรวมอํานาจ และการกระจายอํานาจ ความ สัมพันธระหวางการปกครองสวนภูมภิาคและสวนทองถ่ิน รูปแบบ โครงสราง และ

กระบวนการทางการเมืองการปกครองของสวนภูมิภาคและสวนทองถ่ิน นโยบาย ของรัฐที่เกี่ยวของกบัการปกครองสวนภูมภิาคและสวนทองถ่ิน

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวชิา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิัต)ิ

2552103 พลวัตสังคมไทย 3(3-0) Thai Social Dynamics โครงสรางและวัฒนธรรมของสังคมไทย แนวคดิ ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง ทางสังคมและวัฒนธรรม การผสมผสานระหวางวัฒนธรรมทองถ่ินและวัฒนธรรม โลกาภิวัตน อิทธิพลของโลกาภิวัตนทีม่ีตอการบริหารราชการและทองถ่ินของ ประเทศไทย แนวทางการปรับตัวขององคการใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของ สังคมและวัฒนธรรม

2552104 ประชาสงัคม 3(3-0) Civil Society แนวคดิ ทฤษฎ ี และพัฒนาการเกี่ยวกับประชาสังคม บทบาทของประชาสังคม ที่มีตอการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย ความสัมพันธระหวางภาคประชาคมภาคเอกชน และภาครัฐ ประชาสังคมกับระบบกฎหมายและความยุตธิรรม ทิศทาง แนวโนมของ

Page 49: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

49

ขบวนการประชาสังคม กรณีศึกษาขบวนการประชาสังคมของประเทศไทย

2552301 นโยบายสาธารณะและการวางแผน 3 (3-0) Public Policy and Planning ศึกษาแนวความคิด และวิธีการในการกําหนดนโยบาย ตวัแบบที่เกี่ยวกบั การกําหนดนโยบายสาธารณะ และปจจัยที่เกีย่วของในการนํานโยบายไปปฏิบัต ิ การประเมินผลนโยบาย หลักการวางแผน ขั้นตอนของการวางแผน การนําแผน ไปปฏิบัติ ปญหาและอุปสรรคในการกําหนดนโยบายและการวางแผน กรณีศึกษา นโยบายสาธารณะและการวางแผนของรฐับาลที่เกี่ยวของกับทองถ่ิน

2552302 การบริหารงานคลังและงบประมาณ 3(3-0) Fiscal and Budgeting Administration

ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการเกีย่วกับนโยบายเศรษฐกิจ นโยบาย การเงิน นโยบายงบประมาณ ภาษีอากร รายรับ รายจายของรัฐบาล หนี้สาธารณะ การคลังทองถ่ิน กระบวนการงบประมาณและปญหาการงบประมาณของประเทศไทย ตลอดจนกฎหมาย และระเบยีบขอบงัคับที่เกี่ยวของ

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวชิา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิัต)ิ

2552303 การประเมินบุคคล 3(3-0) Personnel Evaluation

ศึกษาแนวคดิ หลักการในการประเมนิบุคคลในองคการ การประเมิน กระบวนการเลือกสรร บรรจุ แตงตั้งบุคคลเขาทํางาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน การพิจารณาความดีความชอบโดยใชเทคนิค และเครื่องมือในการประเมินบุคคลที่มี ความแมนตรงและความเชือ่ถือได

2552304 การบริการสาธารณะ 3(3-0) Public Service

ความหมาย ความสําคัญ แนวคิด และหลกัการบริการสาธารณะ ลักษณะของ งานบริการสาธารณะ เทคนิคการบริการสาธารณะแนวใหม ปญหาและอุปสรรคในการ ใหบริการสาธารณะ กรณีศึกษาการบริการสาธารณะแนวใหมของหนวยราชการไทย

2552305 การพัฒนาเชิงกลยุทธ 3(3-0)

Page 50: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

50

Strategic Development แนวคดิ ทฤษฎี หลักการพฒันา และวิธีการพัฒนา ววิัฒนาการการพัฒนา ประเทศของไทยตามแผนพฒันาเศรษฐกจิและสังคมแหงชาติ การพฒันาเชิงกลยุทธ

การกําหนดยุทธศาสตรชาติ

2552306 การพัฒนาภาวะผูนํา 3(3-0) Leadership Development แนวคดิ ทฤษฎี บทบาทหนาที่ และคุณสมบัติของภาวะผูนํา ประเภทของ ภาวะผูนํา การเสริมสรางภาวะผูนํา ผูนํากับการตัดสินใจ ภาวะผูนํากับการบริหาร จัดการองคการสมัยใหม ยุทธศาสตรการพัฒนาภาวะผูนําในอนาคต

2553103 การเมืองไทย 3 (3-0) Thai Politics

แนวคดิ ทฤษฎีเกี่ยวกับการเมือง วิวัฒนาการทางการเมอืงของประเทศไทย บทบาทของสถาบันทางการเมืองที่มีตอการปกครองระบอบประชาธิปไตย วฒันธรรม ทางการเมือง ปญหาและอุปสรรคทางการเมือง และแนวทางการพัฒนาทางการเมือง ของประเทศไทย

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวชิา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิัต)ิ

2553104 การวางแผนพัฒนาทองถิ่น 3(3-0) Local Development Planning

แนวคดิ ทฤษฎีการวางแผนพัฒนาทองถ่ิน การวางแผนยุทธศาสตร และการ วางแผนปฏบิัติการขององคกรปกครองทองถ่ิน การมีสวนรวมของประชาชนในการ วางแผนพฒันาทองถ่ิน ปญหาเกี่ยวกับการวางแผนพัฒนาทองถ่ิน และแนวทางแกไข

2553105 การบริหารงานคลังทองถิน่ 3(3-0) Fiscal Management for the Local แนวคดิ หลักการในการบรหิารการคลังของทองถ่ิน การจัดการรายรบั และ รายจายของทองถ่ิน การจัดการระบบการเงิน ระบบบัญชี การควบคุม และการตรวจสอบ ความสัมพันธระหวางการคลังทองถ่ินและการคลังระดบัชาติ ปญหาและอุปสรรคของ การบริหารการคลังทองถ่ินของประเทศไทย

Page 51: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

51 2553302 การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษยภาครัฐ 3(3-0) Human Resource Management in Public Sector

ปรัชญา ความเปนมา แนวคดิ หลักการ และนโยบายการบริหารทรัพยากร มนุษยภาครัฐ ตั้งแตการวเิคราะหงาน การวางแผนทรัพยากรมนุษย การใช ประโยชน จากทรัพยากรมนุษย การธํารงรักษาทรัพยากรมนุษย การประเมินผลการปฏิบัติงาน ผลของการบริหารทรัพยากรมนุษยที่มีตอสภาพแวดลอมทางการเมือง เศรษฐกิจ และ สังคม โดยเนนสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษยภาครัฐ

2553308 การประเมินผลโครงการ 3(3-0) Project Evaluation พัฒนาการของการประเมินผล หลักการและเทคนิคของการประเมินผลโครงการ ในฐานะที่เปนเครื่องมือของนักบริหาร การกําหนดมาตรฐานและเกณฑในการประเมินผล เทคนิคการประเมินผล ขั้นตอนการประเมินผลทั้งการประเมินผลกอน ระหวาง และ หลังการปฏิบัติตามโครงการ บทบาทของสถาบันตาง ๆ ในการประเมินผลโครงการ สาธารณะขององคการในทองถ่ินและของรัฐ

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวชิา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิัต)ิ

2553309 การวิเคราะหนโยบาย 3(3-0) Policy Analysis แนวคดิ หลักการ และกระบวนการในการกําหนดนโยบายสาธารณะ ปจจัย ที่มีอิทธิพลตอการกําหนดนโยบายสาธารณะ เทคนิคการวิเคราะหนโยบายเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ การประยกุตเทคนิคการวิเคราะหปญหาสาธารณะ และผลกระทบของ นโยบายสาธารณะที่สําคัญ ๆ โดยเนนการวิเคราะหนโยบายที่สําคัญของประเทศไทย

2553310 ระบบสารสนเทศสําหรับการบริหาร 3(3-0) Management Information System

ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกบัการจัดการระบบสารสนเทศ ลักษณะของระบบ สารสนเทศ เพื่อการจัดการระบบสารสนเทศสํานักงาน การประยกุตใชระบบสารสนเทศ ในการบรหิารจัดการองคการภาครัฐ รัฐวิสาหกจิ และการปกครองสวนทองถ่ิน ผลกระทบ ของการใชระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการ ตลอดจนแนวโนมของระบบสารสนเทศ

Page 52: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

52

ในอนาคต

2553311 การพัฒนาระบบราชการ 3(3-0) Bureaucratic Development

ความหมาย แนวคดิ และหลักการ ของการพัฒนาองคการ หลักการบริหาร เชิงพฤติกรรมศาสตร และการบริหารจัดการแนวใหม ปญหาของระบบราชการ การปฏิรูป ระบบราชการ ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการ การประยุกตใชหลักเกณฑการบริหาร กจิการบานเมืองที่ดีในหนวยงานภาครัฐ กรณีศึกษาการปฏิรูประบบราชการของ ประเทศไทย

2553312 เทคนิคการบริหารจัดการสมัยใหม 3(3-0) New Management Technique หลักการและเทคนิคการบริหารจัดการสมัยใหมขององคการภาครัฐ รัฐวิสาหกจิ และภาคเอกชนของไทยและตางประเทศทีค่รอบคลุมการบริหารโดยมุง วัตถุประสงค การบริหารจดัการคุณภาพแบบองครวม การบริหารแบบบูรณาการ การบริหารที่มุงผลสัมฤทธ์ิ การบริหารจัดการความรู การปรับปรุงกระบวนการ ทํางานในองคการ การบริหารความเสี่ยง การใชเทคโนโลยีสมัยใหม เปนตน

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวชิา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิัต)ิ

2553313 การบริหารจัดการสํานักงานแนวใหม 3(3-0) New Office Management

ศึกษาขอบเขต หลักเกณฑ เนือ้หาสาระในการบริหารจัดการสํานักงาน ภารกิจ หนาที่ของสํานักงาน การบริการในสํานักงาน การจัดสถานที่ และมาตรฐานสํานักงาน การจัดระบบเอกสาร ระเบียบงานสารบรรณ เครื่องมือเครื่องใชในสํานกังาน สํานักงาน อัตโนมัติปญหาและการปรับปรุงงานในสํานักงาน

2553314 การบริหารจัดการโครงการ 3(3-0) Project Management

ศึกษาความสัมพันธระหวางนโยบาย แผนและโครงการ วงจรการวางแผน โครงการ การศึกษาความเปนไปไดของโครงการ การวิเคราะหโครงการ การจดัทํา โครงการ กระบวนการบริหารจัดการโครงการ ปจจยัที่มีอิทธิพลตอการบริหารจดัการ

Page 53: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

53

โครงการ โดยเนนศึกษาโครงการสาธารณะภายใตบริบทของสังคมไทย

2553315 การวิเคราะหองคการและพัฒนาระบบงาน 3(3-0) Organization and Work System Analysis

ศึกษาความหมาย ความสําคัญ และประโยชนของการวิเคราะหองคการ และ การจัดระบบงาน การวิเคราะหเชิงระบบ การศึกษาองคการดวยวิธีเชิงระบบเทคนิค วิธีการในการวิเคราะหองคการและการพฒันาระบบงาน ปญหาระบบการปฏิบัติงาน ในองคการ การประยุกตใชเครื่องมือเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อวิเคราะหและ พัฒนาระบบงาน

2553801 การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร 2(90) Preparation for Professional Experience in Public Administration จัดใหมีกิจกรรมเพื่อเตรียมความพรอมของผูเรียนกอนออกฝกประสบการณ วิชาชีพในดานการรับรู ลักษณะ และโอกาสของการประกอบอาชพี การพัฒนาตัว ผูเรียน ใหมคีวามรู ทักษะ เจตคติ แรงจงูใจ และคณุลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชพี และ ศึกษาสังเกต และมสีวนรวมในการฝกปฏิบัติงานดานรัฐประศาสนศาสตรใน สถานการณจริง

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวชิา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิัต)ิ

2554103 การจัดองคกรทองถิ่น 3(3-0) Local Organization Management ศึกษาความหมาย หลักการ ประเภทขององคกรในทองถ่ิน ทั้งที่เปนของรัฐและ เอกชน โครงสรางของสังคมกับการจัดองคกรในทองถ่ิน การประสานงาน การจัดการ และดําเนินงานระหวางองคกรในชุมชนระดับตาง ๆ แนวโนมการจัดองคกรทองถ่ิน และแนวทางในการแกไขปรับปรุง

2554301 จริยธรรมสําหรับนักบริหาร 3(3-0) Ethics for Administrator

ปรัชญา แนวคดิ ขอบขาย ความสาํคัญของคุณธรรม จริยธรรม บทบาท ของนักบริหารจัดการในยุคโลกาภิวัตน การเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมสําหรับ นักบริหารจดัการ หลักเกณฑการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี การประยุกตใช

Page 54: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

54

หลักเกณฑการบริหารกิจการบานเมืองที่ดใีนภาครัฐ รัฐวิสาหกจิ และภาคเอกชน

2554302 การพัฒนาศักยภาพในการทํางานภาครฐั 3(3-0) Public Competency Development

ปรัชญา แนวคดิ ขอบเขต การพัฒนาการทาํงาน การปรับปรุงและพัฒนาระบบ ราชการใหมีประสิทธิภาพ โดยลดความสญูเสีย (Lean Government) เครื่องมือลดความ สูญเสียในการทํางาน การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมในการในการทํางาน การพัฒนา ศักยภาพและขีดความสามารถของของบุคคล และองคการเพื่อใหพรอมรับการเปน องคการแหงการเรียนรู (Learning Organization)

2554303 การพัฒนาทรพัยากรมนุษย 3(3-0) Human Resource Development แนวคดิ ขอบขายการพัฒนาทรัพยากรมนษุยในองคการ การวางแผนพัฒนา

ทรัพยากรมนษุย เทคนิควิธีการ กระบวนการ ปญหาอุปสรรค และแนวโนมใน อนาคตของการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในองคการภาครัฐ

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวชิา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิัต)ิ

2554304 เทคนิคการเขียนโครงการ 3(2-2) Project Writing Technique ความหมาย และความสําคัญของโครงการ ความสัมพันธระหวางแผนงาน และโครงการ ขั้นตอนการจัดเตรยีมโครงการ รูปแบบการเขียนโครงการ เชน รูปแบบประเพณีนยิม รูปแบบเชิงเหตผุล ฯลฯ ปญหาการเขียนโครงการ เทคนิค การเขียนโครงการที่ดี การฝกปฏิบัติการเขียนโครงการทุกขั้นตอน โดยเนนโครงการ สาธารณะของภาครัฐ

2554801 การฝกประสบการณวิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร 5(450) Field Experience in Public Administration ฝกงานทางดานรัฐประศาสนศาสตร ในองคการภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และ เอกชนโดยเนนการรวบรวมขอมลู การวิเคราะหการบริหารในองคการ ตลอดจน

Page 55: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

55 การวางโครงการในการแกไขปญหา การบริหารงานในองคการและการรวมกิจกรรม ทางการบริหารในองคการ อาทิ การประชุม การฝกอบรม การสรางทีมงาน การประเมนิผล ฯลฯ

2554901 สัมมนาทางรัฐประศาสนศาสตร 3(3-0) Seminar in Public Administration

ศึกษารายกรณทีางดานรฐัประศาสนศาสตร โดยเนนสภาพปญหา และความ ตองการเกี่ยวกับการบรหิารงานภาครัฐ รัฐวิสาหกจิ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

ตลอดจนศกึษาแนวทางการพัฒนาภูมิปญญาของทองถ่ิน โดยนําขอ คนพบมาดําเนิน การสัมมนา และเขียนรายงานผลการศกึษาอยางเปนระบบ ทั้งนี้อยูในความควบคุม ดูแลของอาจารยผูสอนประจํากลุม

2554902 วิธีวิจัยทางรฐัประศาสนศาสตรเบื้องตน 3(2-2) Introduction to Public Administration Research Methodology

ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย และประเภทของการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร กระบวนการวิจัย การออกแบบการวิจยั การใชโปรแกรมสําเร็จรูปเพื่อการวิจยั และ การเขียนเคาโครงการวิจัย การอานรายงานการวจิัย การนําผลการวิจัยไปใช และ

ฝกปฏิบัติการดําเนินงานวิจยัทุกขั้นตอน โดยเนนประเด็นดานรัฐประศาสนศาสตร

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวชิา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิัต)ิ

2554903 การศึกษาเอกเทศ 3(3-0) Independent Study

ศึกษาคนควาเกี่ยวกับปญหาที่สําคัญและนาสนใจดานรัฐประศาสนศาสตร ในทองถ่ิน โดยเสนอโครงการ ดําเนินการศึกษาตามโครงการ เขียนรายงานผลการ

ศึกษาอยางมีระบบ ทั้งนี้ใหอยูภายใตการควบคุมและคําแนะนําของอาจารยผูสอน ประจํากลุม

2561103 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย 3(3-0) Principles of Jurisprudence ศึกษาความรูทัว่ไปเกีย่วกับกฎหมาย ไดแก ความหมาย ประเภท ความสําคัญ การจัดทํา การใช การยกเลิก การตีความและกระบวนการ ยุติธรรม ฯลฯ ศึกษา

Page 56: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

56 กฎหมายแพงและพาณิชย กฎหมายอาญาและ กฎหมาย วิธีพิจารณาความแพง และ อาญา เฉพาะในสวนที่เปนความรูเบื้องตน

2562503 กฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการไทย 3(3-0) Laws and Regulations in Thai Bureaucracy ศึกษาเกีย่วกับทฤษฎี แนวคิด และหลักการในการกําหนดและระเบียบที่ เกี่ยวของกับการบริหารราชการไทย สถาบันที่รับผิดชอบในการออกกฎหมาย และ ระเบียบตาง ๆ ของหนวยราชการ ตัวบทกฎหมายเกีย่วกับการบรหิารราชการแผนดิน กฎหมายวาดวยการบริหารงานบุคคล การคลังและงบประมาณ การบริหารงานยุตธิรรม ระเบียบพัสดุ ทรัพยสิน ตลอดจนปญหาในการใชกฎหมายและระเบยีบนั้น ๆ และแนวโนม ของกฎหมายการบริหารราชการไทย

2562505 กฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดปีกครอง 3(3-0) Administrative Laws and Procedures ศึกษาประวัติ แนวความคิด หลักของกฎหมายปกครองลักษณะทัว่ไป ของ ฝายปกครองและกฎหมายปกครอง หลักเกณฑการใชอํานาจปกครองและการตีความ กฎหมายปกครอง หลักเกณฑในการปฏบิัติหนาที่ของเจาหนาที่ฝายปกครอง ความ รับผิดชอบของฝายปกครอง ศาลปกครอง คดีปกครองและ พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ ราชการทางการปกครองฉบับปจจุบัน และวิธีพิจารณาคดีปกครอง

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวชิา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏบิัต)ิ

2562510 กฎหมายรัฐธรรมนูญ 3(3-0) Constitutional Laws

ศึกษาความหมาย ประวัติววิัฒนาการของรัฐธรรมนูญ ประเภทของ รัฐธรรมนูญ การแบงแยกอาํนาจอธิปไตยและความเกีย่วพันระหวางอํานาจนัน้ตาม กฎหมายรฐัธรรมนูญของไทย

2563301 แรงงานสัมพันธ 3(3-0) Labor Relations ศึกษาความสัมพันธระหวางลูกจางกับฝายบริหาร ประวัตแิละววิัฒนาการ ของสหภาพแรงงานทั้งในและตางประเทศ ปญหาแรงงานสัมพันธ สภาพขอขัดแยง

Page 57: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

57 ระหวางนายจางกับลูกจาง กระบวนการเจรจาตอรอง การนัดหยุดงาน นโยบาย แรงงาน และภาวะการทํางาน กฎหมายแรงงานที่เกี่ยวของ

3591105 เศรษฐศาสตรท่ัวไป 3(3-0) General Economics การศึกษาสภาพทางเศรษฐกจิและสังคมในชีวิตประจําวันเพื่อประกอบธรุกิจ

การจัดหา และการใชทรัพยากร การบริโภค การผลิต ตนทุนการผลิต ตลาด สถาบัน การเงิน การภาษีอากร การออมการลงทุน การคาระหวางประเทศ รายไดประชาชาติ ปญหาเศรษฐกิจและแนวทางแกไขปญหา

คุณสมบัติของผูสําเร็จการศึกษา

ผูสําเร็จการศึกษารัฐประศาสนศาสตรบัณฑติ จะมีความรูความสามารถ และความเหมาะสม กับตําแหนงงานดังตอไปนี ้

1. ทํางานในหนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกจิ และเอกชนที่ใชความรูดานการบริหารองคการ การบริหารบุคคล การบริหารงบประมาณ การวางแผนงาน / โครงการ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารระดับปฏิบัติการ เชน เจาหนาที่วเิคราะหงานบุคคล เจาหนาทีว่ิเคราะหนโยบายและแผน เจาหนาที่วิเคราะหระบบงาน เจาหนาที่ธุรการ เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป เจาหนาที่บุคลากร เจาพนกังาน ปกครอง นักวิชาการพัฒนาสังคม ตํารวจ เจาหนาทีอ่งคการบริหารสวนทองถ่ินทุกระดับ และตําแหนงอืน่ ๆ ที่เกี่ยวกับงานบริหารจัดการ 2. ประกอบอาชีพอิสระ หรืออาชีพสวนตวั เชน นักธุรกิจ นักการเมือง ฯลฯ

Page 58: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

58 3. ศึกษาตอระดับปริญญาโท และปริญญาเอก สาขารัฐประศาสนศาสตร หรือสาขาใกลเคียง ทั้งในและตางประเทศ

Page 59: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

58

ภาคผนวก

Page 60: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

59

ภาคผนวก ก

ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

โปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร ไดทําการประเมินการใชหลักสูตรศิลปศาสตร สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ จากผูที่เกี่ยวของกับการใชหลักสูตร อาทิ นักศึกษา อาจารยผูสอนในโปรแกรมวิชา อาจารยพิเศษ และอาจารยผูสอนมหาวิทยาลัยราชภัฏที่เปดสอนสาขาดังกลาวในป พ.ศ. 2547 ซ่ึงไดขอเสนอแนะ และขอสังเกตในการพัฒนาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต เพื่อใหสอดคลองกับความตองการของหนวยงาน โดยสรุปได ดังนี้

1. ควรปรับลดจํานวนหนวยกิตในโครงสรางหลักสูตรใหอยูระหวาง 130 – 140 หนวยกิต 2. ควรปรับรายวิชาที่เปน 2 หนวยกิต ใหเปน 3 หนวยกิต เพื่อลดจํานวนรายวิชาที่ตองเรียน ตลอดหลักสูตร 3. ควรปรับรายวิชาที่มีความซ้ําซอนกันใหเหมาะสม 4. ควรแกไขเพิ่มเติมคําอธิบายรายวิชาบางรายวิชาใหเหมาะสม 5. ควรเพิ่มรายวิชาดานบริหารจัดการสมัยใหมและการพัฒนาระบบราชการใหมากขึ้น 6. ควรเพิ่มรายวิชาเกี่ยวกับการบริหารทองถ่ินมากขึ้น

จากขอสังเกตดังกลาวจึงนํามาซึ่งการพัฒนาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

Page 61: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

60

ภาคผนวก ข

การกําหนดรหัสวิชาในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ

ในการกําหนดรหัสวิชาสามตัวแรกตามหลกัสูตรสภามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ มี 11 สาขาวิชา แตกตางกัน และแตละสาขาวิชาจําแนกเปนสาขายอยอีก ในการจําแนกสาขาวิชาจะยึดหลักการจําแนกของ ISCED (International Standard Classification of Education) ดังนี้

100 สาขาวชิาการการศึกษา (101 – 109 แทนสาขาวชิาการศึกษา) 101 สาขาหลักการศึกษา 102 สาขาหลักสูตรและการสอน 103 สาขาเทคโนโลยีและนวตักรรมทางการศึกษา 104 สาขาประเมินผลและวิจัยทางการศกึษา 105 สาขาการศึกษาปฐมวยั 106 สาขาการบริหารหารศึกษา 107 สาขาการศึกษาปฐมวยั 108 สาขาการศึกษาพเิศษ 109 สาขาพลศึกษา

150 สาขาวิชามนุษยศาสตร (151 – 165 แทนสาขายอยในสาขาวิชามนุษยศาสตร) 151 สาขาปรัชญา 152 สาขาศาสนาและเทววิทยา 153 สาขาภาษาศาสตร 154 สาขาภาษาไทย 155 สาขาภาษาอังกฤษ 156 สาขาภาษาญี่ปุน 157 สาขาภาษาจีน 158 สาขาภาษามาเลย 159 สาขาภาษาฝรั่งเศส 161 สาขาภาษาเยอรมัน 162 สาขาภาษาอิตาเล่ียน 163 สาขาภาษาบรรณารักษและสารนิเทศ 164 สาขาประวัติศาสตร 165 สาขาอุตสาหกรรมทองเที่ยว

200 สาขาวิชาศิลปกรรมศาสตร (201 – 206 แทนสาขายอยในสาขาวชิาศิลปกรรมศาสตร) 201 สาขาทฤษฎีหลักการและความเขาใจทางศิลปกรรม 202 สาขาวิจิตรศิลป 203 สาขาประยุกตศิลป 204 สาขาออกแบบนิเทศนศิลป 205 สาขานาฏศิลปและการแสดง 206 สาขาดุริยางศิลป

Page 62: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

61 250 สาขาวิชาสังคมศาสตร (251 – 269 แทนสาขายอยในสาขาสงัคมศาสตร) 251 สาขาจิตวิทยา 252 สาขามนุษยวทิยา 253 สาขาสังคมวิทยา 254 สาขาภูมิศาสตร 255 สาขารัฐศาสตร 256 สาขานิติศาสตร 257 สาขาเศรษฐศาสตร 269 สาขารัฐประศาสนศาสตร 300 สาขานิเทศศาสตร (301 – 308 แทนสาขายอยในสาขาวิชานิเทศศาสตร) 301 สาขาการสื่อสาร 302 สาขาวารสารศาสตร 303 สาขาการประชาสัมพันธ 304 สาขาวิทยุกระจายเสียงและวทิยุโทรทัศน 305 สาขาการโฆษณา 306 สาขาการถายภาพ 307 สาขาภาพยนต 308 สาขาการโฆษณาและการประชาสัมพันธ 350 สาขาบริหารธุรกิจและการจัดการ (351 – 359 แทนสาขายอยในสาขาวิชาบริหารธุรกิจและการ

จัดการ) 351 สาขาเลขานุการ 352 สาขาการบัญชี 353 สาขาการเงินและการธนาคาร 354 สาขาการตลาด 355 สาขาการสหกรณ 356 สาขาการบริหารธุรกิจ 357 สาขาธุรกิจบริการ 358 สาขาบริหารธุรกิจ 359 สาขาเศรษฐศาสตรธุรกิจ 400 สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (401 – 412 แทนสาขายอยในสาขาวชิาวทิยาศาสตรและ เทคโนโลยี) 401 สาขาฟสิกส 402 สาขาเคมี 403 สาขาชีววิทยา 404 สาขาดาราศาสตร 405 สาขาวิทยาศาสตรเกี่ยวกับโลก 406 สาขาวิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม 407 สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ 408 สาขาวิทยาศาสตรการกีฬา 409 สาขาคณิตศาสตร 411 สาขาสถิติประยุกต 412 สาขาคอมพิวเตอร 450 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร (451 – 457 แทนสาขายอยในวิชาคหกรรมศาสตร) 451 สาขาอาหารและโภชนาการ 452 สาขาผาและเครื่องแตงกาย 453 สาขาบานและหารบริหารงานบาน 454 สาขาพัฒนาครอบครัวและเด็ก 455 สาขาศิลปประดิษฐ 456 สาขาสิ่งทอ

Page 63: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

62 457 สาขาธุรกิจการอาหารและการบริการ 500 สาขาวิชาเกษตรศาสตร (501 – 516 แทนสาขาวชิายอยในสาขาวชิาเกษตรศาสตร) 501 สาขาปฐพีวิทยา 502 สาขาพืชไร 503 สาขาพืชสวน 504 สาขาสัตวบาล 505 สาขาสัตวรักษ 506 สาขาการประมง 507 สาขาอุตสาหกรรมและการเกษตร 508 สาขากีฎวิทยา โรคพืช และวัชพืช 509 สาขาวนศาสตร 511 สาขาการชลประทาน 512 สาขาเกษตรกลวิธาน 513 สาขาสงเสริมการเกษตร 514 สาขาการสื่อสารการเกษตร 515 สาขาการเกษตรศึกษา 516 สาขาสารสนเทศการเกษตร

550 สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (551 – 566 แทนสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) 551 สาขาอุสาหการ 552 สาขาเซรามิกส 553 สาขาศิลปหัตถกรรม 554 สาขาออกแบบผลิตภัณฑอุสาหกรรม 555 สาขาออกแบบการเขยีนแบบสถาปตยกรรม 556 สาขาการกอสรางโยธา 557 สาขาไฟฟากําลัง 558 สาขาอิเล็กทรอนิกส 559 สาขาเครื่องกล 561 สาขาเทคนิคการพิมพ 562 สาขาเทคโนโลยีการพิมพ 563 สาขาสถาปตยกรรมภายใน 564 สาขาเทคโนโลยีฟสิกสประยุกตในอุตสาหกรรม 565 สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร อุตสาหกรรม 566 สาขาภาพยนตคอมพวิเตอร

600 สาขาวิชาจิตวิทยา (601 – 602 แทนสาขาจิตวิทยา) 601 สาขาจิตวิทยาองคการ 602 สาขาจิตวิทยาแนะแนว

ในการสรางรหัสวิชาเปนระบบตัวเลข 7 หลักการของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ มีระบบและความหมาย ดังนี ้

Page 64: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

63

A A A B C D D

DD แทนลําดับวิชาในกลุมรายวิชา C แทนกลุมรายวิชา

B แทนระดับความยากที่ควรจัดใหเรียนในชั้นป AAA แทนรายวิชาในสาขารัฐประศาสนศาสตร

ตัวอยาง รหัสรายวิชา สาขารัฐประศาสนศาสตร 2551102 ความรูเบื้องตนเกีย่วกับรัฐศาสตร 3(3-0) 2552101 การปกครองทองถ่ินไทย 3(3-0) 2553302 การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษยภาครัฐ 3(3-0) 2554901 สัมมนาทางรัฐประศาสนศาสตร 3(3-0)

จากตัวอยางรายวิชาตางๆ ขางตน • 255 หมายถึง รายวิชาในสาขารัฐประศาสนศาสตร หมูวิชารัฐศาสตร • ตัวเลขหลักที่ส่ีในที่นีจ้ะมีคาเปน 1 หรือ 2 หรือ 3 หรือ 4 อยางใดอยางหนึ่งในหลักสูตร ปริญญาตรี 4 ป ถาหลักที่ส่ีเปน 1 หมายถงึ รายวิชาที่มรีะดับความยากควรจัดใหเรียนในชั้นปที่ 1 ถาหลักที่ส่ีเปน 2 หมายถงึ รายวิชาที่มรีะดับความยากควรจัดใหเรียนในชั้นปที่ 2 ถาหลักที่ส่ีเปน 3 หมายถึง รายวิชาที่มีระดับความยากควรจัดใหเรียนในชั้นปที่ 3 ถาหลักที่ส่ีเปน 4 หมายถึง รายวิชาที่มีระดับความยากควรจัดใหเรียนในชั้นปที่ 4

• ตัวเลขหลักที่หา หมายถงึ รายวิชาในกลุมเนื้อหาตางๆ ของหมูวิชารัฐศาสตร ซ่ึงกําหนดไวดังนี้ หลักที่หาเปน 1 หมายถึง รายวิชาในเนื้อหาเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง หลักที่หาเปน 2 หมายถึง รายวิชาในกลุมเนื้อหาเกีย่วกับการเมืองระหวางประเทศ หลักที่หาเปน 3 หมายถึง รายวิชาในกลุมเนื้อหาเกีย่วกับการบรหิารรัฐกิจ หลักที่หาเปน 8 หมายถึง รายวิชาในกลุมเนื้อหาเกีย่วกับการฝกประสบการณวิชาชีพ หลักที่หาเปน 9 หมายถึง รายวิชาในกลุมเนื้อหาเกีย่วกับโครงการพิเศษ ปญหาพิเศษ

Page 65: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

64 วิทยานิพนธ โครงการศึกษาเอกเทศ การสัมมนา และการวจิัย

• ตัวเลขหลักที่หกและเจ็ดแทนลําดับที่ของวิชาที่ในกลุมเนื้อหาตาง ๆ ของสาขารัฐประศาสนศาสตร เชน หลักที่หกและเจด็เปน 01 หมายถึง รายวิชาลําดบัที่ 1 ในกลุมวิชาและระดบัชั้นป หลักที่หกและเจด็เปน 03 หมายถึง รายวิชาลําดบัที่ 3 ในกลุมวิชาและระดบัชั้นป หลักที่หกและเจด็เปน 04 หมายถึง รายวิชาลําดบัที่ 4 ในกลุมวิชาและระดับชั้นป

ตัวอยาง รหัสวิชา 2551102 ความรูเบื้องตนเกีย่วกับรัฐศาสตร หมายถึง รายวิชาในสาขารัฐประศา-สนศาสตร ระดับความยากหรือควรจัดใหเรียนในชั้นปที่ 1 อยูในกลุมเนื้อหาเกีย่วกับการเมืองการปกครอง ลําดับรายวิชาที่ 2 มีจํานวน 3 หนวยกิต แบงเปนเวลาบรรยาย 3 คาบตอสัปดาห และ ไมนอยกวา 15 สัปดาหตลอดภาคการศึกษา

Page 66: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

65

สาขารัฐประศาสนศาสตร (255)

รัฐประศาสนศาสตรอยูในหมูวิชารัฐศาสตร ซ่ึงอยูในหมวดวิชาสังคมศาสตร ไดจัดลักษณะเนื้อหาวิชาออกเปนดังนี ้

1. การเมืองการปกครอง (255_1_ _) 2. การเมืองระหวางประเทศ (2552201) 3. การบริหารรัฐกิจ (2551301) 4. (255_4_ _) 5. 6. 7. 8. การฝกประสบการณวิชาชีพ (255_8_ _) 9. โครงการพิเศษ/ปญหาพิเศษ วิทยานิพนธ 10. โครงการศึกษาเอกเทศ การสัมมนาและการวิจยั (255_9_ _)

Page 67: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

66

ภาคผนวก ค

บรรณานุกรมหนังสือดานรัฐประศาสนศาสตร

กฤช เพิ่มทันจิตต. (2540). การแสวงหารูปแบบที่เหมาะสมสําหรับการปกครองเทศบาลไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. เกษม ศิริสัมพันธ และคนอื่น ๆ. (2545). ประชาธิปไตยโดยตรงสูทรราชรัฐสภา. กรุงเทพฯ : โครงการ วิถีทรรศน. เกษมสันต วิลาวรรณ. (2545). แรงงานสัมพันธ : หลักการ กฎหมาย และการบริหาร. กรุงเทพฯ : วิญูชน. เกศกานดา สุภาพจน. (2544). การจัดสัมมนา. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมวิชาการ.

เกียรติขจร วจันะสวัสดิ.์ (2544). คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 1. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมหาวิทยาลยั

ธรรมศาสตร.

________. (2544). คําอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมหาวิทยลยัธรรมศาสตร. โกวิทย พวงงาม. (2542). การปกครองทองถิ่นไทย : หลักการและมิติใหมในอนาคต. กรงุเทพฯ : มูลนิธิ สงเสริมการปกครองทองถิ่นไทย. คณิต ณ นคร. (2543). กฎหมายอาญาภาคทั่วไป. กรุงเทพฯ : วิญูชน. ________. (2545). กฎหมายอาญาภาคความผิด. กรุงเทพฯ : วิญูชน.

________. (2546). กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา. กรุงเทพฯ : วิญูชน. คะนึง ฦาไชย. (2545). กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เลม 1. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. โครงการสงเสริมการบริหารจดัการที่ดีโดยกระจายอํานาจสูทองถิ่น. (2543). วิวัฒนาการการปกครองทองถิ่น

ไทย. กรุงเทพมหานคร : สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรอืน. จรัส สุวรรณมาลา. (2541). ศักยภาพทางการคลังขององคการบริหารสวนตําบล. กรุงเทพฯ : สถาบันนโยบาย ศึกษา.

________. (2546). ระบบงบประมาณและการจัดการแบบมุงผลสําเร็จในภาครัฐ. กรุงเทพฯ : ธนธัชการพิมพ

Page 68: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

67 จํากัด.

จามะรี เชียงทอง. (2543). วิวัฒนาการของประชาสังคมในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : สถาบันวิจัย

เพื่อการพัฒนาประเทศ.

จิตตภัทร เครือวรรณ และคนอื่น ๆ . (2543). ไอทีและการปฏิรูปภาครัฐ. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร :

ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ. จิตติมา เทียมบุญประเสริฐ. (2544). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. กรุงเทพฯ : ว.ีเจ.พริ้นติ้ง. จินตนา บุญบงการ. (ม.ป.ป.). การบริหารสํานักงาน. กรุงเทพฯ : เรือนแกวการพิมพ. จิรโชค (บรรพต) วีระชัย. (2542). รัฐศาสตรทั่วไป. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

จุมพล หนิมพานิช. (2547). การวิเคราะหนโยบาย : ขอบขาย แนวคิด ทฤษฎีและกรณีตัวอยาง. กรุงเทพฯ

: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริาช. ________. (2542). รัฐบาลทองถิ่นใครควรจัดบริการสาธารณะ. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย. ________. (2547). รัฐประศาสนศาสตร : ขอบขายและการประยุกตใชองคความรู. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ชนะ เกษโกศล. (2542). การบริหารทรัพยากรมนุษย ทฤษฎี และแนวปฏิบัติ. ปทุมธานี : สถาบันราชภัฏ เพชรบุรีวิทยาลงกรณ. ชยาวุธ จันทร และคนอื่น ๆ . (2543). วิวัฒนาการการปกครองทองถิ่นไทย. กรุงเทพมหานคร. สํานักงาน คณะกรรมการขาราชการพลเรือน ชูชัย ศุภวงศ และ ยุวดี คาดการณไกล. (2541). ประชาสังคม ทรรศนะนักคิดในสังคมไทย. พิมพครั้งท่ี 2.

กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมติชน.

ชูศักดิ์ จรูญสวัสดิ์. (2543). ระบบเศรษฐกิจและการพัฒนาเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร. โชคชัย สุทธาเวศ. (2539). แรงงานสัมพันธไทย : การสราง พัฒนาทฤษฎี และการปฏิรูป. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั. ชัยวัฒน วงศวัฒนศานต. (2543). ธนกิจการเมืองกับการปฏรูิปการเมือง. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัยและสถาบันพระปกเกลา. ชัยอนันต สมุทรวานิช. (2538). เทศบาลในบริบทการกกระจายอํานาจแหงยุคสมัย. กรุงเทพฯ : บริษัท พีเพรสจํากัด.

Page 69: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

68 ________. (2541). 100 ป แหงการปฏิรูประบบราชการ วิวัฒนาการของอาํนาจรัฐ และอํานาจการเมือง. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. เชาวนะ ไตรมาศ. (2542). การเลือกต้ังแบบใหม ทําไมคนไทยตองไปเลือกต้ัง. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร :

มหาวทิยาลัยธรรมศาสตร.

________. (2542). บทบาทใหมของขาราชการไทย ในบริบทของรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทสุขุม

และบุตรจํากัด.

_______. (2542). บทบาทใหมของขาราชการไทยในบริบทของรัฐธรรมนูญปจจุบัน. กรุงเทพมหานคร :

สถาบันนโยบายศึกษา.

_______. (2545). แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกลา. ณัชชาภัทร อุนตรงจิตร. (2547). รัฐศาสตร. กรุงเทพฯ : ดานสุทธาการพิมพ.

ดนัย เทียนพุฒ. (2543). การบริหารทรัพยากรบุคคลสูศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท.

เดโช สวนานนท. (2545). พจนานุกรมศัพทการเมือง. กรุงเทพฯ : หนาตางสูโลกกวางจํากัด.

ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2541). การบริหารการพัฒนา : ความหมาย เนื้อหา แนวทางและปญหา. พิมพครั้งท่ี 4.

กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ถวัลย วรเทพพฒุิพงษ. (2539). นโยบายสาธารณะและการวางแผน : ทฤษฎีและการประยุกตใช. กรุงเทพฯ :

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

________. (2540). การกําหนดและการวเิคราะหนโยบายสาธารณะ : ทฤษฎีและการประยุกตใช. กรุงเทพฯ :

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. ทนงศักดิ์ แกวเทพ และ นวลนอย ตรีรัตน. (2545). แนวนโยบายแหงรัฐ 5 ป รัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ : บริษัท พี. เพรส จํากัด. ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ. (2540). กฎหมายอาญาหลักและปญหา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพนิติธรรม.

ทินพันธ นาคะตะ. (2541). ประชาธิปไตยไทย. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพ ฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร

ศาสตร. ________. (2541). รัฐศาสตร. : ทฤษฎี แนวคิด ปญหาสําคัญและแนวทางศึกษาการเมือง. พิมพครั้งท่ี 4.

Page 70: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

69 กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

________. (2543). ประชาธิปไตยไทย. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพ ฯ : โครงการเอกสาร และตํารา คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ทศพร ศิริสัมพันธ. (2539). ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ. กรุงเทพ ฯ : คณะรัฐศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

________. (2544). เทคนิควิธกีารวิเคราะหนโยบาย. พิมพครั้งท่ี 5 กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ทองใบ สุดชารี. (2542). ทฤษฎีองคการ : วิเคราะหแนวความคิด ทฤษฎี และการประยกุต. อุบลราชธานี สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี.

ทองศรี กําภู ณ อยุธยา. (2539). การบริหารงานบุคคลในแนวทางใหม. กรุงเทพ ฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒน

บริหารศาสตร.

เทพนม เมืองแมน และ สวิง สุวรรณ. (2540). พฤติกรรมองคการ. กรุงเทพ ฯ : บริษัทโรงพิมพ ไทย

วัฒนาพานิช. ธงชัย สันติวงษ. (2540). การบริหารงานบุคคล. พิมพครั้งท่ี 9. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช. ธเนศว เจริญเมือง. (2540). 100 ป การปกครองทองถิ่นไทย. กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพคบไฟ. ธีระพงษ แกวหาวงษ. (2544). กระบวนการเสริมสรางชุมชนเขมแข็ง. ขอนแกน : คลังนานาวิทยา.

ธีรยุทธ บุญมี. ( 2546). โลก Modern & Post Modern. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพสายธาร.

ธีรวุฒิ โศภิษฐิกุล. (2541). การเมืองการปกครองไทย. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : จตุพรหม. นครินทร เมฆไตรรัตน. (2542). การเมืองไทยระดับทองถิน่กับพัฒนาการในระบอบประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

_________. (2542). รัฐศาสตรการเมือง : รวมบทความวิชาการทางรัฐศาสตร พ.ศ. 2492-2515. กรุงเทพมหานคร : วิภาษา. นงลักษณ สุทธิวัฒนพันธ. (2535). การงบประมาณหลักทฤษฎีและการวัดและประเมินผล. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

นนทพันธ ภักดีผดุงแดน. (2543). คําแถลงนโยบายของรัฐบาลตอรัฐสภา (พ.ศ.2475 – 2543). กรุงเทพฯ :

อัมรินทร พริ้นติ้งแอนดพับลิสซิ่งจํากัด.

นรนิติ เศรษฐบุตร. (2542). กลุมราชครูในการเมืองไทย. กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

Page 71: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

70 นันทวัฒน ปรมานันท. (2540). ถกรัฐธรรมนูญ 2540. กรุงเทพฯ : สถาบันนโยบายศึกษา. ________. (2545). การปกครองสวนทองถิ่นตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540. กรุงเทพฯ : วิญูชน. นัยนา เกิดวิชัย. (2541). ประมวลกฎหมายอาญาแกไขเพ่ิมเติม พ.ศ.2540. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพนิตินัย. นิคม จันทรวิทุร. (2544). แรงงานไทย : 35 ป บนเสนทางการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. นิตย สัมมาพันธ. (2546). ภาวะผูนํา : พลังขับเคลื่อนองคกรสูความเปนเลิศ. กรุงเทพฯ : อนิโนกราฟฟก. นิตย สัมมาพันธ ในทศพร ศิริสัมพันธ (บรรณาธิการ). (2546). เทคนิควิธีการวิเคราะหนโยบาย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

นิตยา เงินประเสริฐศรี. (2540). ทฤษฎีองคการ : แนวการศึกษาเชิงบูรณาการ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย

เกษตรศาสตร.

นิยม รัฐอมฤต. (2540). การเมอืงไทย : พัฒนาการ ปญหาและแนวทางแกไข. กรุงเทพมหานคร : สามัคคีสาร.

นิศารัตน ศิลปเดช. (2542). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตรเบ้ืองตน. กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฏธนบุรี.

นิสดารก เวชยานนท. (2545). การบริหารทรัพยากรมนุษยแบบไทย ๆ. กรุงเทพฯ : เสมาธรรม.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2542). การสรางธรรมาภิบาลในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : วิญูชน. บุญดี บุญญากิจ และกมลวรรณ ศิริพานิช. ( 2545). Benchmarking ทางลัดสูความเปนเลิศทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ดยูเครช่ัน จํากัด (มหาชน). บุญธรรม จิตตอนันต. (2540). การวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร .

บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ และคนอื่น ๆ. (2544). ตัวชี้วัดธรรมาภิบาล. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

บุญทัน ดอกไธสง. (2542). ศตวรรษที่ 21 ยคุแหงการทาทายทางการบริหาร. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร

: เสมาธรรม. บุญเพราะ แสงเทียน. (2543). กฎหมายอาญา 2 (ภาคความผดิ) แนวประยุกต. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ วิทยพฒัน. ________. (2545). กฎหมายอาญา 1 (ภาคบัญญัติทั่วไป) แนวประยุกต. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพวิทยพัฒน. บูรชัย ศิริมหาสารคาม. (2543). ศาสตรและศิลปแหงความเปนผูนํา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพวันทิพย.

ปกรณ ปรียากร. (2544). การวางแผนกลยทุธ ; แนวคิดและแนวทางเชิงประยุกต. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ

เสมาธรรม.

Page 72: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

71 ประจักษ พันธชูเพชร. (2545). การเมืองและการปกครองไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมายดพับลิสซิ่ง. ประณต นันทิยะกุล. (2547). สาระแหงรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ : รําไทยเพลส. ประเวศน มหารัตนสกุล. (2543). การบริหารทรัพยากรมนุษยแนวใหม. กรุงเทพฯ : สมาคมสงเสริม เทคโนโลยี (ไทย - ญ่ีปุน). ประสงค ประณีตพลกรัง และคนอื่น ๆ. (2543). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา. กรุงเทพฯ : ธนธัชการพิมพ. ประสิทธิ์ ตงยิ่งศิริ. (2538). การวิเคราะหและประเมินโครงการ. พิมพครั้งท่ี 6. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร. ________. ( 2544). การวางแผนและการวิเคราะหโครงการ. กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่นจํากัด. ประหยัด หงษทองคํา. (2540). การพัฒนาทางการเมืองโดยกระบวนการปกครองทองถิ่น. กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัดพาพาส.

ปรีชา เปยมพงศสานต และคนอื่น ๆ. (2543). วิถีใหมแหงการพัฒนา : วิธีวิทยาศึกษาสังคมไทย. พิมพ ครั้งท่ี3. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ปุระชัย เปยมสมบูรณ. (2538). การวิจัยประเมินผลหลักการและกระบวนการ. กรุงเทพฯ : สถาบัน

บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ผาสุก พงษไพจิตร. (2542). เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ. พิมพครั้งท่ี 2 (ฉบับปรับปรุง). เชียงใหม :

ตรัชวิน. พงษธร บุญอารีย. (2544). รวมหลักกฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพดวงกมล. พงษรัตน เครือกลิ่น. (2545). คําอธิบายกฎหมายแรงงานเพือ่การบริหารทรัพยากรมนุษย. กรุงเทพฯ : นิติธรรม.

พนัส หันนาคินทร. (2542). ประสบการณในการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย.

พยอม วงศสารศรี. (2542). การบริหารทรัพยากรมนุษย. พิมพครั้งท่ี 7. กรงุเทพมหานคร : คณะวิทยาการ

จัดการสถาบันราชภัฏสวนดุสิต.

พรศักดิ์ ผองแผว. (2543). ศาสตรแหงการวิจัยทางการเมืองและสังคม. กรงุเทพมหานคร :จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย.

พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2539). การพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโกมลคีมทอง.

พัชรี สิโรรส. (2543). ความขัดแยงในสังคมไทยยุควิกฤตเศรษฐกิจ. กรุงเทพมหานคร : โครงการปริญญาโท

Page 73: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

72 สําหรับนักบริหาร สาขาบริหารรัฐกิจ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. พิชัย นิลทองคํา. (2535). ประมวลกฎหมายอาญา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพกรุงสยามพริ้นติ้งกรุฟ จํากดั. ________. (2544). กฎหมายรัฐธรรมนูญ : กรุงเทพฯ : สํานักพิมพอัฐตยามิเล็นเนียม.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2544). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏพระนคร.

พิทยา บวรวัฒนา. (2541). ทฤษฎีองคการสาธารณะ. กรุงเทพฯ : ศักดิ์โสภาการพิมพ.

พิทยา มาศมินทรไชยนรา. (2546). ความสัมพันธระหวางประเทศเบื้องตน. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย

ทักษิณ.

พิทักษ ไทเทพนอก. (2543). ทฤษฎีสังคมและการเมือง. นครราชสีมา : ตะวันรุงชินดิเคท. พิพัฒน กองกิจกุล, ผูแปล. (2547). Balanced Scorecard กับการเนนกลยทุธ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ Be Bright Books. พูลศักดิ์ พุมวิเศษ. (2540). การวิเคราะหนโยบายและแปลงนโยบายสูการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : ยุทธรินทร การพมิพ จํากัด.

ไพบูลย ชางเรียน. (2542). สังคม วัฒนธรรม และการบริหารแบบไทย. พิมพครั้งท่ี 3. กรุงเทพมหานคร :

เสมาธรรม. มยุรี อนุมานราชธน. (2546). การบริหารโครงการ. เชียงใหม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ________. (2547). นโยบายสาธารณะ : แนวความคิด กระบวนการ และการวิเคราะห. เชียงใหม : มหาวทิยาลัย เชียงใหม. มหาวิทยาลัยสโุขทัยธรรมาธิราช. (2544). ขอบขายและวิธีวิจยัทางรัฐประศาสนศาสตร. นนทบุรี : มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช. ________. (2545). การวิเคราะหโครงการและแผนงาน. กรงุเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

________. (2546). การบริหารราชการไทย เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา33201. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ

มหาวทิยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ________. (2547). การวางนโยบาย โครงการ และการบริหารโครงการ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช.

เยาวดี รางชัยกุล วิบูลยศรี. (2542). การประเมินโครงการ : แนวคิดและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย.

Page 74: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

73 รณพร ไทรเลิศ. (2544). องคการการกระจายอํานาจ. กรุงเทพมหานคร : เอ อาร พิธิเนสเพลส.

รังสรรค ธนะพรพันธุ. (2542). สังคมเศรษฐกิจไทยในทศวรรษ 2550 : ยุทธศาสตรการพัฒนาในกระแส โลกานุวัตร. พิมพครั้งท่ี 3. กรุงเทพมหานคร : โครงการจัดพิมพคบไฟ.

รัตนะ บัวสนธ. (2540). การประเมินโครงการและการวิจัยเชิงปริมาณ. กรุงเทพมหานคร : ตนออ แกรมมี่. เริงธรรม ลัดพลี. (2540). คําอธิบายกฎหมายพยานหลักฐาน. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพ วิญูชนจํากัด. ลิขิต ธีรเวคิน. (2543). การเมืองการปกครองไทย. พิมพครั้งท่ี 5. กรงุเทพมหานคร : มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร.

ลวน สายยศ และ อังคณา สายยศ. (2540). สถิติวิทยาทางการวิจัย. พิมพครั้งท่ี 3. กรุงเทพฯ : สุวีรยิาสาสน. วรเดช จันทรศร และไพโรจน ภัทรนรากุล. ( 2541). การประเมินผลโครงการระบบเปด. กรุงเทพฯ : สมาคม รัฐประศาสนศาสตร. ________. (2543). แผนปฏิรูประบบราชการ : การสรางการยอมรับและความสําเร็จในการนําไปปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : สมาคมรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

_______. (2543). รัฐประศาสนศาสตร : ขอบขายในทศวรรษใหม. พิมพครั้งท่ี 4. กรุงเทพมหานคร : โครงการ

เอกสารตํารา คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. วัฒนา วงศเกียรติรัตนและสุรยิา วีรวงศ. (2543). คูมือการประเมินผลโครงการ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ มหาวทิยาลัย. วัลลภัช สุขสวัสดิ์. (2546). รัฐศาสตรเบ้ืองตน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยนเรศวร.

วิจิตรา วิเชียรชม. (2544). รวมกฎหมายแรงงาน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. วิทยากร เชียงกูล. (2547). คูมือพัฒนาตนเองและพัฒนาภาวะผูนํา. กรุงเทพฯ : สายธาร. วีระ สุภากิจ. (2539). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ : จากทฤษฎีการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ สุวีรยิาสาสน.

วิโรจน สารรตันะ. (2542). การบริหาร หลักการ ทฤษฎี และประเด็นการศึกษา. กรุงเทพมหานคร :

อักษราพิพัฒน.

ศุภชัย ยาวะประภาษ. (2544). นโยบายสาธารณะ. พิมพครั้งท่ี 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ศุภวัฒน ปภัสสรากาญจน. (2546). แนวคิดและกระบวนการบริหารงานคลังและ งบประมาณ. กรุงเทพฯ : มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศิริวรรณ เสรีรตัน และคนอื่น ๆ. (2546). การบริหารสํานักงานแบบใหม ฉบับปรับปรุงใหม. กรุงเทพฯ :

Page 75: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

74 ธีระฟลมและไซเท็กซ. สงวน นิตยารมัภพงศ และ สุทธิลักษณ สมิตะสิริ. (บรรณาธิการ). (2544). ภาวะผูนํา : ความสําคัญตอ

อนาคตไทย. กรุงเทพฯ : พิมไท.

สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน. (2547). ยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการพลเรือน. กรุงเทพฯ : สถาบัน พัฒนาขาราชการพลเรือน สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ. (2545). กรณีศึกษา Best Practices ภาวะผูนํา. กรุงเทพฯ : สถาบันเพิ่มผลผลิต แหงชาติ.

สถาบันวิถีทรรศน. (2546). ประชาธิปไตยโดยตรงสูทรราชรัฐสภา. กรุงเทพฯ : มูลนิธิภูมปิญญา.

สนธิ เตชานันท. (2543). พ้ืนฐานรัฐศาสตร. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

สนิท จรอนันต. (2543). ความเขาใจเรื่องการปกครองทองถิ่น. กรุงเทพมหานคร : สถาบันนโยบายศึกษา. สมเกียรติ ศรลัมพ. (2547). การปฏิรูประบบราชการไทย. กรุงเทพฯ : ประดิพัทธ.

สมชาย ภคภาสนวิวัฒน. (2542). การบริหารทรัพยากรเชิงกลยุทธ. กรุงเทพฯ : อัมรินทร.

สมบัติ ธํารงธัญวงศ. (2543). นโยบายสาธารณะ : แนวความคิดการวิเคราะหและกระบวนการ. กรุงเทพ ฯ

สํานักพิมพเสมาธรรม. _______. ( 2545). การบริหารโครงการ. พิมพครั้งท่ี2 กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

สมพร เฟองจนัทร. (2539). นโยบายสาธารณ : ทฤษฎีและการปฏิบัติ. กรงุเทพฯ : โอเดียนสโตร. สมพิศ สุขแสน. (2542). นโยบายสาธารณะและการวางแผน. อุตรดิตถ : สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ. _______. (2545). การวิเคราะหนโยบาย. อุตรดิตถ : สถาบันราชภัฎอุตรดิตถ. สมยศ เชื้อไทย. (2544). คําอธิบายวิชากฎหมายแพง : หลักทั่วไป เลมที่ 1. กรุงเทพฯ : วิญูชน.

สมยศ นาวีการ (2540). การบริหารและพฤติกรรมองคการ. กรุงเทพฯ : บริษัทโรงพิมพ ตะวันออก.

สมาน รังสิโยกฤษฎ. (2540). การบริหารราชการไทย : อดีต ปจจุบันและอนาคต. พิมพครั้งท่ี 7. กรุงเทพมหานคร

: สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรอืน.

_______. (2542). การปฏิรูปภาคราชการ : แนวคิดและยุทธศาสตร. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการ

ขาราชการพลเรือน. _______. (2543). การปกครองสวนทองถิ่นในประเทศตางๆ กรุงเทพฯ : บรรณกิจ.

สมาคมนักเรียนทุนรัฐบาลไทย (2541). วิสัยทัศนประเทศไทย (การเมอืง การปกครอง และกฎหมาย).

Page 76: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

75 กรุงเทพมหานคร : สมาคมนักเรียนทุนรัฐบาลไทย.

สรรเสริญ วงศชะอุม. (2544). เศรษฐกิจพอเพียง : พ้ืนฐานสูการพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพ ฯ : เพชรรุง

การพมิพ. สัก กอแสงเรือง. (2541). ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยและประมวลกฎหมายอาญาฉบับปจจุบัน 2541. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพนิติบรรณาการ.

สังสิต พิริยะรังสรรค. (2542). แรงงานสัมพันธ : ทฤษฎีและการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : เดือนตุลา.

สันติสุข โสภณศิริ. (2543). ผูกําเนิดรัฐธรรมนูญไทย ปรีดี พนมยงค. กรุงเทพมหานคร : คณะกรรมการดําเนิน

งานฉลอง 100 ป ชาตกาล นายปรีดี พนมยงค รัฐบุรุษอาวุโส. สันสิทธิ์ ชวลิตธํารง. (2546). หลักการบริหารรัฐกิจกับระบบราชการไทย. กรุงเทพฯ : อรนิทร พริ้นติ้ง แอนดพับลิชซิ่ง. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. (2547). ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ. กรุงเทพฯ : สํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ.

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2544). แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม แหงชาติ ฉบับที่เกา พ.ศ. 2545-2549. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา ลาดพราว.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ. (2540). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร. พิมพครั้งท่ี 10. กรุงเทพมหานคร :

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

_______. (2541). การประเมนิผลโครงการ : หลักการและการประยุกต. กรุงเทพมหานคร : สถาบันบัณฑิตพัฒน

บริหารศาสตร. สุนทร เกิดแกว. (2540). การบริหารโครงการ : การติดตามควบคุมและประเมินผล. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. สุภางค จันทวานิช. (2546). การวิเคราะหขอมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรงุเทพฯ : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. สุรเชศฐ ชิรมณี. (2537). การบริหารงานคลังสาธารณะ. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

สุรพล ปธานวนิช. (2544). แนวคิดและปรากฏการณดานแรงงาน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิฟรีดริก เอแบรท. สุริยา วีรวงศ. (2543). คูมือการประเมินผลโครงการ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สุวิมล ติรกานันท. (2543). การประเมินโครงการ : แนวทางสูการปฏิบัติ. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ

Page 77: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

76 มหาวทิยาลัย.

โสภณ รัตนากร. (2544). กฎหมายลักษณะพยาน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพนิติธรรมการ. อนันต เกตุวงศ (2543). หลักและเทคนิคการวางแผน (พิมพคร้ังที่ 8). กรุงเทพฯ :สํานักพิมพมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร. อนุสรณ ลิ่มมณี. (2542). รัฐ สังคม และการเปลี่ยนแปลง : การพิจารณาในเชิงอํานาจนโยบายและเครือขาย ความสัมพันธ. กรุงเทพมหานคร : เดือนตุลา.

อเนก เหลาธรรมทัศน. (2543). การเมืองของพลเมือง : สูสหัสวรรษใหม. กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ

คบไฟ.

_______. (2543). วิสัยทัศนการปกครองทองถิ่น และแผนการกระจายอํานาจ. กรุงเทพมหานคร : มิติใหม.

อมร รักษาสัตย และคณะ. (2542). ประชาธปิไตยและรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน : คูมือการเรียนการสอน การเผยแพรและการมีสวนรวมสําหรับครูอาจารยและผูนําชุมชน. กรุงเทพมหานคร : สมาคมรัฐธรรมนูญ

เพื่อประชาชน.

อุทิศ ขาวเธียร. (2546). การวางแผนกลยุทธ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Almond, G.A. and Powell, G.B. (1996). Comparative Politics : A Developmental Approach. Boston : Little Brown.

Almond, Gabrial A. (1960). The Politics of the Developing Areas. Princeton, N.J. : Princeton University.

Bateman, Thomas S. and Snell, Scott. (2002). Management : Competing in the New Era. 5th ed. Boston : McGraw-Hill.

Becker, Brain E., Huselid, Mark A. and Ulrich, David. (2001). The HR Scorecard : Linking people, strategy and performance. Boston : Harvard Business School. Bernardin, H.John and Joyce E.A. Russell. (1993). Human Resource Management : Experiential Approach. New York : McGraw-Hill.

Brown, Steve, et. al. (2001). Operations Management : Policy, Practice and Performance Improvement. Oxford : Butter worth-Heinemann.

Boston, Jonathan, et.al. (1996). Public Management : The New Zealand Model. Auckland : Oxford

Page 78: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

77 University.

Bourgeois, L.J., Duhaime, Irone M. and Stimpert, J.L. (1999). Strategic Management : A Managerial Perspective. 2nd ed. New York : Dryden Press.

Burgelman, Robert A., Maidique, Modesto A. and Wheelwright, Steven C. (2001). Strategic Management of Technology and Innovation. 3rd ed. New York :McGraw-Hill.

Carbaugh, Robert J. (2004). International Economics. 9th ed. Australia : South-Western.

Carrel, Michael R, et.al. (1995). Human Resource Management : Global Strategies for Managing a Diverse Workforce. 2nd ed. Englewood cliffs, N.J. : Prentice-Hall.

Cascio, Wayne F. (1995). Managing Human Resources : Productivity, Quality of Work Life and Profits. 4th ed. New York : McGraw-Hill.

Christopher, P. (1993). The Policy Process in the Modern Capitalist state. New York : Herrester Wheatsheat.

Cullen, John B. (2002). Multinational Management : A Strategic Approach. 2nd edition. Australia : South-Western.

Daft, Richard L. (2002). The Leadership Experience. 2nd ed. Australia : South-Western.

Denhardt, Robert B. (1995). Public Administration : An Action Orientation. Belmont, California : Wadsworth.

Dunn, Williamm N. (1981). Public Policy Analysis : An Introduction. Englewood Cliffs, N.J. : Prentice-Hall.

Dessler, Gary. (2003). Human Resource Management. 9th ed. New Jersey : Prentice-Hall.

Evan, Jame R. and Lindsay, William M. (2002). The Management and Control of Quality. 5th ed. Australia : South-Western.

Farazmand, Ali. (1994). Handbook of Bureaucracy. New York : Marcel Dekker.

Page 79: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

78 Flynn, Norman. (1990). Public Sector Management. London : Harvester Wheatsheaf.

Folk, Jeannie M., Garrison, Ray H. and Noreen, Eric W. (2002). Introduction To Managerial Accounting. Boston : McGraw-Hill.

George, William A. (1996). Understanding and Managing Organizational Behavior. Reading, Mass. : Addison-Wesley.

Greenberg, Jerald. and Baron, Robert A. (2003). Behavior in Organizations : Understanding and Managing the Human Side of Work. 8th ed. New Jersey : Pearson Education.

Hague, Rod, et.al. (1993). Comparative Government and Politics : An Introduction. 3rd ed. London : Macmillan.

Henry, Nicholas. (1995). Public Administration and Public Affairs. 6th ed. New Jersey : Prentice-Hall.

Hughes, Owen E. (1994). Public Management and Administration : An Introduction. New York : St.Martin’s.

Hyde, Albert C. (1991). Government Budgeting : Theory, Process and Politics. 2nd ed. Belmont, California : Wadsworth.

Johnson, William C. (1996). Public Administration : Policy, Politics and Practice. New York : McGraw-Hill.

Kamrava, Mehram. (1996). Understanding Comparative Politics : A Framework of Analysis. London : T.J.

Kerzner, Harold. (2003). Project Management : A System Approach to Planning, Scheduling and Controlling. 8th ed. New Jersey : John Wiley & Sons.

Krajewski, Lee J. and Ritzman, Larry P. (2002). Operations Management : Strategy and Analysis. 6th ed. New Jersey : Pearson Education.

Lane, Jan-Erik. (1995). The Public Sector : Concepts, Models and Approaches. London : Sage.

Laudon, Kenineth C. and Laudon, Jane P. (2004). Management Information Systems. New Jersey :

Page 80: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

79 Pearson Education.

Lawence W. Neuman. (1994). Social Research Method : Qualitative and Quantitative. Boston : Allyn and Bacon.

Lecuit, Luc. (1999). Demistifying MIS : Guidelines for Management Information Systems in Social Funds. Washington D.C. : The World Bank.

Lewis, Pamela S. (2001). Management : Challenges in the 21st Century. 3rd ed. Australia : South-Western.

Lucas, Henry C. (2000). Information Technology for Management. 7th ed. Boston : McGraw -Hill.

Manor, James. (1999). The Political Economy of Democratic Decentralization. Washington, D.C. : The World Bank.

Mansfield, Edwin. (1999). Managerial Economics : Theory, Application and Cases. 4th ed. New York : W.W.Norton.

Miller, Katherrin. (1995). Organization Communication : Approaches and Processes. Belmont, California : Wadsworth.

Mondy, R. Wayne and Robert M. Noe. (1996). Human Resource Management. 6th ed. Upper Saddle River, N.J. : Prentice-Hall.

Parsons, Wayne. (1995). Public Policy : An Introduction to the Theory and Practice of Policy Analysis. New York : McGraw-Hill.

Pearson, Frederic S. and Martin, Rochester J. (1998). International Relations : The Global Condition in the Twenty-First Century. New York : McGraw -Hill.

Peter, J. Paul. and Donnelly, Jame H. (2004). Marketing Management : Knowledge and Skills. 7th ed. Boston : McGraw-Hill.

Peter’s, B. Guy. (1995). The Polities of Bureaucracy. New York : Addison WesleyLongman.

Phillips, Jack J., Stone, Ron D. and Phillips, Patricia Pulliam. (2001). The Human Resources Scorecard : Measuring the Return on Investment. Boston : Butter worth Heinemann.

Page 81: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

80 Pye, Lucian W. (1996). Aspects of Political Development. Boston : Little Brown.

Richard L. Daft. (2002). The Leadership Experience. (Second Edition). Ohio : Thomad South Western.

Rlynn, Norman. (1997). Public Sector Management. New York ; London : Harvester Wheatsheaf.

Robbins, Stephen P. (1990). Organization Theory : Structure Designs and Applications. 3rd ed. Englewood Cliffs, N.J. : Prentice-Hall.

_______. (2003). Organizational Behavior. 10th ed. New Jersey : Pearson Education.

Rosen Bloom, David H. (1992). Public Administration : Understanding, Management, Politics and Law in Public Sector. New York : McGraw-Hill.

Rox, Charles J. (1995). Post-Modern Public Administration : Toward Discourse. Thousand Oaks, California : Sage.

Rue, Leslie W. and Byars, Lloyd L. (2003). Management : Skills and Application.10th ed. Boston : Mc Graw-Hill.

Shafritz, Jay M. et.al. (1992). Personnel Management in Government : Politics and Processes. New York : Marcel Dekker.

Stuart S. Nagel. (1984). Public Policy : Goals, Means ,and Methods. New York : St.Martin’s Press.

Thomas R. Dye. (1984).Understanding Public Policy. New Jersey : Prentice-Hall.

Turner, Mark, et.al. (1997). Governance, Administration and Development : Making the State Work. London : Macmillan.

Vatikiotis, Michael R.J. (1996). Political Change in Southeast Asia : Trimming the Banyan Tree. New York : Routledge.

William N. Dunn. (1981). Public Policy Analysis : An Introduction. New Jersey : Prentice Hall.

Page 82: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ ัณฑิตhuman.uru.ac.th/www/major/adminis/Bachelor.pdfหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบ

81

ภาคผนวก ง

วิทยากร/ผูเชี่ยวชาญในการวิพากษหลกัสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

1. รองศาสตราจารย ดร.สุเทพ เชาวลิต ผูอํานวยการโครงการดุษฎีบณัฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 2. ผูชวยศาสตราจารยไพรัช ตระการศิรินนท หวัหนาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร และประธาน โครงการรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 3. พันเอก ดร.ประมวล สุวรรณศรี ผูอํานวยการการเลอืกตั้งประจําจงัหวัดอุตรดิตถ 4. รองศาสตราจารยปญญา สุขแสน ผูอํานวยการสํานกัวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดติถ 5. ผูชวยศาสตราจารยเชาว เพ็ชรราช รองคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภฏัอุตรดิตถ