รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 ·...

327
รายงานการสนับสนุนการตรวจราชการ ของผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ประจําเขตตรวจราชการที่ 12 รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 กลุมตรวจราชการและติดตามประเมินผล

Transcript of รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 ·...

Page 1: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

รายงานการสนับสนุนการตรวจราชการ

ของผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ

ประจําเขตตรวจราชการที่ 12

รอบที่ 1 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

กลุมตรวจราชการและติดตามประเมินผล

Page 2: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12

สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

Page 3: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

คํานํา

กระทรวงศึกษาธิการ ไดกําหนดแผนการตรวจราชการของผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ประจําป 2561 ใหสอดคลองกับนโยบายรัฐบาลดานการศึกษา โดยใชกลไกการตรวจราชการเปนเครื่องมือในการตรวจ ติดตาม กํากับดูแล สนับสนุน และสะทอนใหเห็นถึงความกาวหนา ความสําเร็จ ตลอดจนเปนขอมูลในการแสวงหาแนวทางการแกไขปญหา/อุปสรรค และพัฒนาการดําเนินงานของหนวยปฏิบัติใหสามารถนํานโยบายท่ีสําคัญตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงศึกษาธิการไปสูการปฏิบัติใหมีความกาวหนา บรรลุวัตถุประสงคและเปนประโยชนตอทางราชการสูงสุด การตรวจราชการ การติดตาม และประเมินผล จึงเปนเรื่องสําคัญท่ีตองดําเนินการ

การตรวจราชการ ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ รอบท่ี 1 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ประกอบดวย 1) การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2) การจัดการศึกษา

ปฐมวัย 3) การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ 4) การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห 5) การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสาย

อาชีพ 6) การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ 7) การบริหารจัด

การศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก 8) การอานออกเขียนได 9) การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา 10)

การขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค 11) การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือ

การศึกษา 12) การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพ้ืนท่ีพิเศษ

13) การพัฒนาครูท้ังระบบ และ 14) การพัฒนานักเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด

โดยไดดําเนินการติดตามผลการดําเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในเขตตรวจราชการท่ี 12 ประกอบดวย จังหวัดรอยเอ็ด จังหวัดขอนแกน จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดกาฬสินธุ ซ่ึงผลการตรวจราชการดังกลาว สํานักงานศึกษาธิการภาค 12 ไดดําเนินการรวบรวม จัดทํารายงานผลการตรวจราชการ แสดงใหเห็นสภาพการปฏิบัติงาน ปญหา และขอเสนอแนะของการดําเนินงาน เพ่ือเผยแพรแกหนวยงานท่ีเก่ียวของและสาธารณชนท่ัวไป

ในโอกาสนี้ ขอขอบพระคุณทุกหนวยงานท่ีใหความรวมมือและสนับสนุนขอมูลการตรวจราชการใหมีความสมบูรณ ครบถวน และหวังเปนอยางยิ่งวารายงานฉบับนี้ จะเปนประโยชนและแนวทางในการกําหนดนโยบาย รวมถึงการพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการใหสามารถขับเคลื่อนไปสูเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12 มีนาคม 2561

Page 4: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

การสนับสนุนการตรวจราชการของผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ประจําเขตตรวจราชการท่ี 12 รอบท่ี 1 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 เขตตรวจราชการท่ี 12 มีวัตถุประสงคคือ 1) เพ่ือรายงานผลการสนับสนุนการตรวจราชการของผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ประจําเขตตรวจราชการท่ี 12 รอบท่ี 1 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 และ 2) เพ่ือทราบผลการดําเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการกรณีปกติของกระทรวงศึกษาธิการรวมท้ังปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ของหนวยงาน/สถานศึกษา ในเขตตรวจราชการท่ี 12 สรุปผลการดําเนินงาน ไดดังนี้

นโยบายท่ี 1 การยกระดับคุณภาพการศึกษา

1.1 การยกระดับคะแนน O-NET/N-NET/V-NET

1. ผลการดําเนินการ

หนวยงาน/ สถานศึกษา มีการวิเคราะหจุดออนจุดแข็งผลการทดสอบ O-NET / N-NET/ V-NET

โดยเปรียบเทียบคะแนนท่ีไดกับเปาหมายท่ีตั้งไวคือรอยละ 50 ข้ึนไป วิเคราะหผลการทดสอบรายกลุมสาระ

มาตรฐาน จัดเรียงลําดับความสําคัญ โดยวิเคราะหขอมูลยอนหลัง 3 ป เพ่ือหาจุดออนท่ีจะสอนเสริม และ

หาจุดแข็งท่ีจะสนับสนุน มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือแกปญหาจุดออนท่ีพบจากการทดสอบ

O-NET / N-NET/ V-NET โดยจัดทําโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ดวยนวัตกรรม พัฒนาการวิเคราะหผูเรียนเปนรายบุคคลจัดกิจกรรมการเรียนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

ทําใหผูเรียนมีพัฒนาการดานการอานออก อานคลอง อานจับใจความ เขียนได เขียนคลอง

เขียนสรุปความมีจํานวนเพ่ิมมากข้ึน มีพัฒนาการในการเรียนรูในกลุมสาระคณิตศาสตร วิทยาศาสตร

สังคมและภาษาอังกฤษ และนักเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชทักษะ

ชีวิต การใชเทคโนโลยีและเกิดความเขาใจตอสิ่งท่ีเรียนไดดีข้ึน

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

ครูสอนไมครบชั้น ไมตรงเอกภาระครูมาก สอนไดไมเต็มท่ี ขาดสื่อ วัสดุ ครุภัณฑ อุปกรณการ

เรียนการสอนท่ีทันสมัยไมเพียงพอกับความตองการและความจําเปนท่ีจะใชอยางเหมาะสม นักเรียน

นักศึกษา ไมชอบในรายวิชาสามัญ มีความถนัดนอย ไมใหความสนใจในการทําขอสอบขาดความใฝรู ใฝ

เรียน การประสานงานระหวางครูท่ีปรึกษากับนักเรียนแตละแผนกมีเวลาคอนขางนอย

4. ขอเสนอแนะ

1) ควรสงเสริม สนับสนุน กระบวนการวิจัยและพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา เชน

กระบวนการวิจัยและพัฒนาดานการบริหารจัดการ ดานการนิเทศ การจัดการเรียนรูการวิจัยเพ่ือศึกษา

ปญหาเก่ียวกับการทดสอบ

2) ควรอบรมเพ่ือพัฒนาการวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัด รวมท้ังการพัฒนาการจัดทํา

เครื่องมือการวัดประเมินผลในชั้นเรียนท่ีสามารถสะทอนองคความรูของผูเรียนตามมาตรฐานและตัวชี้วัด

Page 5: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

3) ควรสรางมาตรการเพ่ือยกระดับคุณภาพผูเรียนในการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของ

ผูเรียนระดับชาติ

4) ผูบริหารควรใหความสําคัญ และใหการสงเสริม สนับสนุนอยางเต็มท่ี มีการพัฒนาหลักสูตร

ของสถานศึกษาใหเหมาะสมกับชุมชน และจัดหาสื่อ นวัตกรรม แหลงเรียนรูใหเพียงพอ

1.2 การยกระดับคะแนนเฉล่ีย PISA

1. ผลการดําเนินงาน

มีการเตรียมความพรอมใหกับครูเพ่ือรองรับการทดสอบ PISA โดยสงครูเขารวมการประชุมเชิง

ปฏิบัติการเตรียมความพรอม สอบ PISA ท่ีสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และจัดกิจกรรมขยายผลใหกับ

คณะครูท่ีสอนในระดับชั้น ม.1-3 มีการปรับกระบวนการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกับการทดสอบ PISA

โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีสอดแทรกตามรูปแบบการประเมิน PISA และบูรณาการเชื่อมโยงกับ

หลักสูตร ฝกใหนักเรียนคิดวิเคราะหนําเสนอผลการวิเคราะหเรื่องท่ีอาน และพัฒนาสื่อ (แบบฝก บทอาน

ฯลฯ) จัดทํา/รวบรวมคลังขอสอบ มีการนําแบบฝกหัด/แบบทดสอบ ไปใชวัดและประเมินควบคูกับการเรียน

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

ผูเรียนมีความตระหนัก เขาใจในประเด็นการประเมิน PISA และไดรับการเตรียมความพรอม

จากครูผูสอน โดยสอดแทรกกระบวนการคิดเชิงเหตุผลในการทํากิจกรรมการเรียนรูมีการพัฒนาทักษะ

การคิดของนักเรียน ใหสามารถนํากระบวนการคิดไปใชในชีวิตประจําวันได นักเรียนไดรับการพัฒนาสู

ความเปนเลิศในการแขงขันทักษะวิชาการ (ศิลปหัตถกรรมนักเรียน) ระดับประเทศ ในกลุมสาระการเรียนรู

ภาษาไทย, คณิตศาสตร, พัฒนาผูเรียน ผูเรียนไดคิดออกแบบกระบวนการทางวิทยาศาสตรและได

คํานวณตนทุน และผลผลิตท่ีเกิดข้ึน ทําใหไดสิ่งประดิษฐใหมๆ เกิดข้ึนมาตามสภาพทองถ่ินนั้นๆ 3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ระบบอินเตอรเน็ตจํานวนคอมพิวเตอรของโรงเรียนไมเพียงพอตอการประเมิน ผูเรียนขาด

ทักษะการทดสอบ PISA โดยการใชคอมพิวเตอร ONLINE

2) หนวยงานท่ีเก่ียวของขาดการบูรณาการทําใหเปนภาระงานอยูกับครูผูปฏิบัติ ความตอเนื่อง

ของการดําเนินงานของโรงเรียนตองดูแลชวยเหลือและติดตาม เพราะเปนเรื่องท่ีใหมและยาก ตองใหครู

ไดเปดใจท่ีจะยอมรับและนําสูการปฏิบัติ

3) ครูระดับมัธยมศึกษามีวุฒิการศึกษาไมตรงตามสาระการเรียนรูท่ีสอนทําใหการดําเนินการ

จัดกิจกรรมการเรียนรูยังไมชัดเจนเทาท่ีควร

4. ขอเสนอแนะ

1) ควรจัดทําแบบฝกท่ีสงเสริมใหนักเรียนไดฝกคิดตามสมรรถนะ บริบทของการประเมิน PISA

อยางหลากหลาย และสงเสริมดานงบประมาณใหสถานศึกษาไดจัดกิจกรรมอยางตอเนื่อง

2) หนวยงานท่ีเก่ียวของควรบูรณาการงานท่ีเปนเรื่องเดียวกัน เพ่ือการขับเคลื่อนท่ีชัดเจน ไป

ในแนวทางเดียวกัน และตอเนื่องท้ังกระบวนการเรียนรูและการทดสอบ

Page 6: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

3) ควรมีการประชุมเชิงปฏิบัติการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางของ PISA

เพ่ือกระตุนใหครูเกิดความชํานาญ และสนใจมากข้ึน

4) ควรศึกษาวิเคราะหขอสอบท่ีโรงเรียนใชวามีความเหมาะสม ความตรง ความเชื่อถือได

เพียงใด และตองพัฒนาอยางไร ท้ังนี้ไมใชเพ่ือจับผิด แตเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงแกไข

นโยบายท่ี 2 การจัดการศึกษาปฐมวัย

1. ผลการดําเนินการ

สถานศึกษาไดดําเนินการดานตางๆ เพ่ือเปนการปองกันภัยท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา

ใหกับผูเรียนระดับปฐมวัย ดังนี้

ดานอาคารสถานท่ี ไดจัดสภาพแวดลอมท่ีเปนบวกสนับสนุนการเรียนรูของเด็ก มีเครื่องเลน

จํานวนเพียงพอเหมาะสม สะอาด มีรั้วรอบขอบชิดและอาคารเรียนท่ีปลอดภัย บรรยากาศภายในและ

ภายนอกหองเรียนเอ้ือตอการเรียนรู มีการแตงตั้งเวรรับผิดชอบในการดูแลเด็กตลอดท้ังวัน

ดานอุปกรณเครื่องใชตางๆ สถานศึกษาสรางขอตกลงรวมกันระหวางครู และผูเรียน เก่ียวกับ

การใชวัสดุ อุปกรณ สื่อการเรียนรู ท่ีอาจเปนอันตราย เชน มีด กรรไกร โลหะ กระจก เครื่องใชไฟฟา

เพ่ือปองกันอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึน จัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกเพ่ือพัฒนาเด็กอยางรอบดาน สงเสริม

ผูเรียนใหมีพ้ืนท่ีเลนเปนสัดสวนปลอดภัย อุปกรณท่ีใชในมุมตางๆ มีความปลอดภัย

ดานเครื่องเลน สถานศึกษามีเครื่องเลนท่ีเหมาะสมปลอดภัยสําหรับเด็กมีมาตรการ

ปองกันอันตรายจากการใชเครื่องเลน แหลงเรียนรู และอุปกรณการเลน มีการตรวจสอบสภาพมาตรฐาน

และคุณภาพการใชงานของเครื่องเลน ปรับปรุงแหลงเรียนรูใหผูเรียนอยางสมํ่าเสมอ

ดานการรับสงนักเรียนและการจราจร สถานศึกษาบางแหงมีการทําประกันภัย และชี้แจง

ขอตกลงเพ่ือความปลอดภัยในการตรวจนับจํานวนนักเรียนกอนข้ึนและลงจากรถ จัดประสบการณดาน

การสงเสริมวินัยจราจรสําหรับเด็กและผูปกครองมีการแตงตั้งครูเวร รับ-สง นักเรียน มีตํารวจจราจร และ

สารวัตรนักเรียนดูแลความปลอดภัย โดยใชสัญลักษณธงขาวเดินนําหนาแถว

ดานโภชนาการ สถานศึกษาไดดําเนินการสงเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก ใหความรูผูปกครอง

และตัวเด็กในการเลือกรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ หลีกเลี่ยงอาหารท่ีเปน

อันตรายและไมมีประโยชนตอรางกาย จัดอาหารเสริม (นม) และอาหารกลางวันใหเด็กๆ อยางครบถวน มีครู

อนามัยตรวจสอบรายการอาหาร และสินคาท่ีนํามาขายในสถานศึกษา และมีโครงการอาหารกลางวัน เปนตน

ดานสุขอนามัย สถานศึกษาไดจัดประสบการณใหเด็กไดมีพัฒนาการดานรางกาย สงเสริม

ใหมีสุขอนามัยท่ีดี ไดแก ดูแลความสะอาดของรางกายโดยการตรวจสุขภาพอยางสมํ่าเสมอ ใหความรู

และพัฒนาทักษะชีวิตในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันท่ีถูกตอง เหมาะสมไดดวยตนเอง

2. ความโดดเดน / จุดแข็ง / นวัตกรรม / ตนแบบ หรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) เด็กมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรมากข้ึน สามารถใชทักษะสืบเสาะหาความรู หรือ

สิ่งท่ีสงสัยไดอยางเปนระบบ และมีพัฒนาการดานรางกาย อารมณจิตใจ สังคม และสติปญญาสูงข้ึน

Page 7: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

2) การดําเนินงานสนามเด็กเลนตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) : เลนตามรอยพระยุคลบาท

ทําใหเด็กปฐมวัยในโรงเรียนตนแบบและตนแบบเครือขาย ไดรับการพัฒนาอยางมีประสิทธิภาพ

3) มีนวัตกรรมไฮสโคปท่ีทําใหเด็กปฐมวัยรูจักการวางแผนการทํางาน เกิดทักษะกระบวนการ

คิด รูจักใชคําถามกับสถานการณ เหตุการณเรื่องนั้น ๆ

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ขาดความรู ความเขาใจในการนํานโยบายสูการปฏิบัติ

2) ผูบริหารบางสวนยังใหความสําคัญในการจัดกิจกรรมท่ีสงเสริมเด็กปฐมวัยนอย และเขาใจ

หลักการจัดการศึกษาปฐมวัยคลาดเคลื่อน

3) ครูท่ีจบการศึกษาดานปฐมวัยมีนอย ทําใหการจัดกิจกรรมยังไมไดคุณภาพ และการ

ขับเคลื่อนนโยบายลงสูการปฏิบัติคอนขางยาก ตองใชเวลานานในการพัฒนาครู และมีการโยกยายบอยทํา

ใหเกิดความไมตอเนื่องในการพัฒนาครู

4) งบประมาณท่ีโรงเรียนสนับสนุนในระดับปฐมวัยมีไมเพียงพอ พบวาบางโรงเรียน ท้ังปไดรับ

งบประมาณ เพียง 2,000 บาท

4. ขอเสนอแนะ

1) ควรเนนใหผูบริหารเห็นความสําคัญ และสงเสริมการจัดประสบการณสําหรับเด็กปฐมวัยและ

มีการอบรมจากสวนกลาง เพ่ือสรางความตระหนักใหมากข้ึน

2) ครูปฐมวัยควรไดรับการพัฒนาดานเทคนิคการสอน และการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

เพ่ือรองรับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

3) สงเสริมกิจกรรม Best Practice ของครูปฐมวัยอยางตอเนื่อง และใหเปนผลงานวิชาการ

สามารถนําไปประกอบการเลื่อนวิทยฐานะได

4) ตนสังกัดของสถานศึกษาควรมีสิทธิกลั่นกรองการเลือกหลักสูตรอบรมใหครูปฐมวัย

5) โรงเรียนตองมีขอมูลเด็กในเขตบริการของโรงเรียน โดยการทําสํามะโนไวลวงหนา 1 ป ให

เปนปจจุบัน (ซ่ึงเม่ือมีการเปดรับนักเรียนอายุ 3 ปของโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา

ข้ันพ้ืนฐานในชัน้อนุบาลปท่ี 1 ตั้งแตปการศึกษา 2560 ตอไปจะตองดําเนินการทําสํามะโนเดก็ตั้งแตอายุ 2 ป)

นโยบายท่ี 3 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

1. ผลการดําเนินการ

1) สภาพแวดลอมภายในหองเรียน สถานศึกษาจัดเพ่ือสงเสริมการเรียนรูภาษาอังกฤษ ไดแก

(1) จัดปาย วัน เดือน ป (2) ปายบอกทิศทาง (3) บอกตําแหนงท่ีอยูสิ่งของ (4) ปายตัวอักษรภาษาอังกฤษท่ี

เปนตัวพิมพใหญ - เล็ก ตัวเขียนใหญ – เล็ก (5) ปายบอกจํานวนและตัวเลข (6) ปายแสดงการทักทาย

(7) ปายชื่อเพ่ือนรวมชั้นเรียนและครูประจําชั้น ประจําวิชาฯลฯ ตลอดจนจัดใหมีมุมหองท่ีมีสื่อชนิดตางๆ

เพ่ือใหนักเรียนไดเรียนรูเพ่ิมเติม และศึกษาดวยตนเอง

Page 8: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

จัดสภาพแวดลอมภายนอกหองเรียน ไดแก (1) ปายชื่อชั้นเรียน (2) ปายบอกชื่อหอง ชื่อ

อาคารตางๆ (3) ปายบอกจุดจอดรถ (4) ปายบอกจุดบริการตางๆ (5) ปายคติ คําคม (6) ปายชื่อตนไม

และสถานศึกษาจัดใหมีศูนย/หองเรียนอาเซียนเพ่ือสงเสริมความรูและทักษะในการเรียนรูภาษาอังกฤษ

จัดทําปายตาง ๆ ท้ังท่ีเปนภาษาอังกฤษและภาษาไทย จัดแหลงเรียนรูภาษาอังกฤษ English Zone

2) สถานศึกษามีวิธีการหรือจัดกิจกรรมเพ่ือสงเสริมการใชภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารโดย

จัดบรรยากาศภายในบริเวณโรงเรียน จัดกิจกรรมวันสําคัญของเจาของภาษา จัดคายภาษาอังกฤษ เสียง

ตามสาย จัดโครงการท่ีสงเสริมการใชภาษาอังกฤษในการสื่อสาร รวมท้ังทักทายนักเรียนเปน

ภาษาอังกฤษใหเปนกิจวัตรประจําวัน และ Mini English Camp in school

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ครู – ผูบริหาร เห็นความสําคัญในการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ มีการจัดหาสื่อการ

เรียนการสอนภาษาอังกฤษ จัดครูใหสอนตรงตามเอก หรือจัดครูมาสอนภาษาอังกฤษเพ่ิมเติม หา

วิทยากรชาวตางชาติมาชวยสอนในโรงเรียน

2) นักเรียน ครู ผูบริหาร ผูปกครอง ชุมชน เห็นความจําเปนและความสําคัญของการใช

ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารมากยิ่งข้ึน

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ครูสอนไมตรงตามวิชาเอก และบุคลากรตนแบบยังมีนอย ครูขาดเทคนิคการสอนวิชา

ภาษาอังกฤษ ขาดสื่อท่ีทันสมัยบรรยากาศในโรงเรียนไมเอ้ือตอการเรียน หรือการใชภาษาอังกฤษ

2) โรงเรียนขนาดเล็ก ครูไมสามารถเขารับการพัฒนาตามโครงการ Boot Camp รวมถึงการ

ติดตามหลังการอบรมโครงการ Boot Camp ไมเปนระบบ ขาดงบประมาณสนับสนุนในการอบรมขยาย

ผลในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

3) นักศึกษาไมกลาแสดงออก และไมเห็นความสําคัญของภาษาอังกฤษ

4. ขอเสนอแนะ

1) ควรจัดกิจกรรมพัฒนาครูผูสอนภาษาอังกฤษท่ีไมจบสาขาภาษาอังกฤษอยางท่ัวถึง เพ่ือให

เกิดความม่ันใจและสามารถจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษไดอยางมีประสิทธิภาพ และหามาตรการ

สรางแรงจูงใจ/แรงบันดาลใจใหครูมุงพัฒนาตนเองใหมากยิ่งข้ึน

2) ควรมีการสงเสริมสนับสนุนใหนําแอปพลิเคชั่น Echo English มาใชในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา และนําสูหองเรียนอยางตอเนื่อง โดยการบูรณาการกับนโยบายดานเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา 3) รัฐบาลควรจัดเปนวาระแหงชาติในการพัฒนาสาระภาษาอังกฤษ โดยมีกิจกรรมท่ีสงเสริม

การใชภาษาอังกฤษท้ังระดับเขตพ้ืนท่ี ภูมิภาค ประเทศใหเพ่ิมมากข้ึน และตอเนื่อง

4) จัดบรรยากาศภายในโรงเรียนใหเอ้ือตอการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ โดยอาจกําหนดให

มีชวงเวลาหรือชั่วโมงการใชภาษาอังกฤษในแตละวัน ทุกๆ วัน

Page 9: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

นโยบายที่ 4 การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห

1. ผลการดําเนินการ

จํานวนสถานศึกษาท่ีจัดกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือสรางกระบวนการคิดวิเคราะหในสังกัด

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาคิดเปนรอยละ 50.20 และสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

มัธยมศึกษาคิดเปนรอยละ 28.74

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ผูเรียนมีการคิดหาวิธีในการแกปญหาเปนการเชื่องโยงเพ่ือนําไปแกปญหาชีวิตจริง

2) ชวยใหนักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห คิดสรางสรรค คิดอยางเปนระบบ มีกระบวนการ

ทํางาน สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได

3) ผูเรียนไดเรียนรู พัฒนาทักษะการคิด มีทักษะในการทํางาน เชื่อมโยงความรูในหลาย

สาขาวิชา เพ่ือบูรณาการความรูจากการเรียนในหองเรียนสูการทํางานเพ่ือพัฒนาและแกปญหาในชีวิต

จริง มีการสรางชิ้นงานและนวัตกรรม ท่ีเปนประโยชนตอการดํารงชีวิตและการอนุรักษสิ่งแวดลอม

4) ผูเรียนไดมีการพัฒนาตามศักยภาพและความสามารถของตนเอง 3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) นโยบายไมชัดเจน ซํ้าซอน ไมตอเนื่อง ไมหลอมรวมเปนเรื่องเดียวกัน

2) มีนโยบายอ่ืนๆ มากเกินไปทําใหการนิเทศ กํากับ ดูแลไมท่ัวถึง

3) หนวยงานท่ีเก่ียวของหลายหนวยงาน ตางคนตางคิดตางคนตางสั่งการทําใหภาระงานของ

โรงเรียนเพ่ิมมากข้ึน

4) นักเรียน นักศึกษา ยังไมไดประดิษฐคิดคนนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ งานสรางสรรคใหมๆ

มากพอบางคนขาดทักษะการวิเคราะหงานท่ีทํา

5) นักเรียน นักศึกษายังไมมีการพัฒนาความสามารถและความชํานาญดานวิชาชีพ และไมมี

งบประมาณเพียงพอ จึงขาดการพัฒนาอยางตอเนื่อง

6) ขาดบุคลากรท่ีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน บุคลากรไมตรงตามสาขาท่ีผูเรียนตองการ และ

โรงเรียนสวนมากเนนการสอนเนื้อหา มากกวาการสอนแบบคิดวิเคราะห

7) สื่อการเรียนการสอนไมเพียงพอและไมเขากับยุค 4.0

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) นโยบายควรชัดเจน มีความตอเนื่อง สามารถปฏิบัติไดจริง

2) หนวยงานท่ีเก่ียวของควรบูรณาการงานรวมกัน กําหนดเปนเปาหมายเดียวกัน

3) การจัดทําหลักสูตร STEM Education ควรจัดใหมีการบูรณาการในการเรียนการ

สอนวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยี โดยไมควรแยกออกจากตัวชี้วัดในหลักสูตร หรือถาจะแยก

ควรแยกเปนกลุมสาระการเรยีนรูสะเต็มศึกษาตางหากออกมาเปนกลุมสาระการเรียนรูท่ีชัดเจน

Page 10: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

4) ควรปรับมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร หรือตัวชี้วัดหลักสูตรใหสอดคลองกับ STEM

Education หรือมีตัวชี้วัด STEM Education ในหลักสูตร

5) ควรมีงบประมาณใหสถานศึกษาทุกแหงในการขยายผลของครูดานการจัดการเรียนรู

ท่ีสงเสริมการคิดวิเคราะห และดําเนินงานอยางตอเนื่อง

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) การตรวจราชการควรแบงการตรวจราชการใหชัดเจนกวาเดิม และกําหนดเปน

นโยบายท่ีดําเนินการอยางตอเนื่อง

2) ควรใหสถานศึกษาสังกัดอาชีวศึกษามีบทบาทในการบริหารงานในสถานศึกษาใน

จังหวัดมากกวาเดิม

3) ควรปรับหนังสือเรียนใหมีการบูรณาการ STEM Education ในกลุมสาระการเรียนรู

วิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี หรือปรับกลุมสาระการเรียนรูใหเปนสาระการเรียนรู

STEM Education แยกออกจากกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยีตางหาก

4) ควรมีงบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานตามนโยบายในสถานศึกษาทุกแหง

นโยบายท่ี 5 การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ

1. ผลการดําเนินการ

1) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดไดจัดทําแผนและยุทธศาสตรการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมผูเรียนสาย

อาชีพโดยสวนใหญมีการจัดทําแผนและยุทธศาสตรการรับนักเรียน มีบางจังหวัดท่ีไมไดทํา โดยมี

ยุทธศาสตร/มาตรการคือ ประชุมวางแผนรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ จัดทําโครงการสรางประสบการณ

อาชีพ (Work Experience) ของนักเรียนชั้น ม. 3 ในสถานประกอบการ โครงการสงเสริมเวทีและ

ประชาคมเพ่ือการจัดทํารูปแบบและแนวทางการพัฒนาหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

กับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา จัดทําโปรแกรมเก็บขอมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 และทํา

โปรแกรมทดสอบความสามารถ/ความถนัดในอาชีพกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 และคณะกรรมการ

ระดับจังหวัดนิเทศ ติดตาม ประเมินผลโครงการสรางประสบการณอาชีพ

2) หนวยงาน/สถานศึกษาสรางทัศนคติท่ีดีตออาชีพและการแนะแนวการศึกษาเพ่ืออาชีพ

ใหกับผูเรียน โดยมุงพัฒนาคุณภาพและปริมาณผูเรียนใหสัมพันธกับความตองการของตลาดแรงงานใน

ประเทศและระดับสากล เนนท่ีเรียนแลวมีงานทํา 100% แนะแนวการศึกษาตามโรงเรียนท่ีมีการเรียน

การสอน ม.3 – ม.6 พรอมท้ังออกบริการศูนยซอมสรางเพ่ือชุมชน บริการซอมอุปกรณไฟฟา เครื่อมือ

การเกษตรใหประชาชนในเขตพ้ืนท่ี จัดกิจกรรมการเรียนรูตามกิจกรรมพัฒนาผูเรียน และพานักเรียนชั้น

ม. ๓ ไปชมสถานศึกษาท่ีเปดสอนสายอาชีพทุกสังกัด 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) นวัตกรรมชุมแพโมเดล ; แนะแนวการเรียนรูสูอาชีพ

Page 11: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

รูปแบบชุมแพโมเดล ; แนะแนวการเรียนรูสูอาชีพ ท่ีมีคุณภาพ นี้ มีประสิทธิภาพ

ระดับมากท่ีสุด ภายใตคุณสมบัติ 5 ประการ คือ (1) ความเปนประโยชนเฉพาะ (Specific) (2) ความ

ถูกตองของขอมูลท่ีสามารถวัดได (Measurable) (3) ความเหมาะสมกับสมรรถนะของบุคคล

(Achievable) (4) ความเปนไปไดกับการนําไปใชในบริบท (Realistic) และ (5) ความเหมาะสมกับเวลา

ท่ีกําหนด (Time Phased)

2) นักเรียน นักศึกษาท่ีจบการศึกษาแลวสามารถประกอบอาชีพไดตามสายงาน หรือสามารถ

ทํางานไดจริง มีทักษะเฉพาะดาน มีความม่ันใจในการทํางาน มีความรูและทักษะเบื้องตนในการ

ประกอบอาชีพในอนาคต

3) เกิดการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพ่ือเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและระดับ

สากล

4) นักเรียนระดับมัธยมศึกษามีความรูความเขาใจในหลักสูตรวิชาชีพ สายอาชีพท่ีตนเองมีความ

สนใจและมีแรงจูงใจในการเรียนตอสายอาชีพเพ่ิมมากข้ึน

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) การมอบและแจงนโยบายในระยะเวลากระชั้นชิดทําให มีหนวยปฏิบัติดําเนินงาน

ยากลําบาก

2) ผูปกครองและนักเรียน นักศึกษา มีความตองการเรียนในสายสามัญมากกวาสายอาชีพ

เนื่องจากสามารถกาวหนาไดมากกวาสายอาชีพ

3) การสรางนวัตกรรมการแนะแนวท่ีเนนแรงจูงใจใหผูเรียนมาเรียนสายอาชีพมีนอยขาดความ

จริงจัง และความตอเนื่อง

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) สรางความตระหนักใหผูเก่ียวของมองเห็นผลเสียท่ีจะเกิดข้ึนตอประเทศชาติกับ

สถานการณพลเมืองขาดทักษะอาชีพในโลกศตวรรษท่ี 21

2) พัฒนาระบบการแนะแนวอาชีพเชิงรุกเพ่ือใหสามารถเขาถึงพอแมผูปกครอง

3) ประชาสัมพันธเผยแพรภาพลักษณเชิงคุณภาพไปยังกลุมเปาหมายใหเห็นความสําคัญ

ในการเรียนอาชีวศึกษา

4) สนับสนุนงบประมาณเพ่ือการวิจัยนวัตกรรมการแนะแนวท่ีเนนแรงจูงใจใหผูเรียนมา

เรียนสายอาชีพ

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ควรกําหนดใหเปนนโยบายตอเนื่องทุกปการศึกษา

2) ควรจัดโครงการอาชีวอาสาเพ่ือพัฒนาสังคมหรือควรจัดโครงการสงเสริมคนดีศรี

อาชีวะ โครงการเยาวชนอาชีวะสัมพันธรวมสรางสรรคสังคม

Page 12: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

นโยบายท่ี 6 การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ

1. ผลการดําเนินการ

1) ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการตอสมรรถนะผูสําเร็จอาชีวศึกษาอยูในระดับมาก

2) สถานศึกษามีมาตรการในการเพ่ิมผูเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี โดย มียุทธศาสตร

กําหนดเปาหมายการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมผูเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี มียุทธศาสตรการพัฒนา

กําลังคน การวิจัย เพ่ือสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ จัดหาสถานประกอบการท่ีมีความ

ม่ันคง และการติดตามสาขาวิชาและในระดับ ปวส เปนทวิภาคี 100% ทําความรวมมือกับสถาน

ประกอบการ จัดการเรียนการสอนใหตรงตามความตองการของสถานประกอบการ และประชาสัมพันธ

ใหผูปกครองนักเรียน นักศึกษาเขาใจถึงการเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) นักเรียน นักศึกษา สามารถมีรายไดระหวางเรียน เรียนจบมีงานรองรับ มีทักษะและ

ประสบการณตรงในการฝกงานในสถานประกอบการท่ีไดมาตรฐาน ตลอดจนผูเรียนมีรายไดระหวาง

เรียนจากสถานประกอบการ

2) เปดโอกาสใหผูเรียนเขาถึงกลุมเปาหมายผูมีสวนสําคัญตอการเรียนสายอาชีพ อาชีวศึกษา

3) นวัตกรรมการพัฒนาหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อาชีวศึกษา และ

อุดมศึกษา ประกอบรูปแบบทวิภาคีกับตางประเทศ

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) สถานศึกษาอยูหางไกลจากสถานประกอบการ และขาดงบประมาณในการสนับสนุนจาก

หนวยงานตนสังกัด

2) การวิจัยเพ่ือคนพบหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อาชีวศึกษา และ

อุดมศึกษา ประกอบรูปแบบทวิภาคีกับตางประเทศท่ีประสบผลสําเร็จยังมีนอย

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) สนับสนุนงบประมาณเพ่ือการวิจัยเพ่ือคนพบหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ัน

พ้ืนฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ประกอบรูปแบบทวิภาคีกับตางประเทศท่ีประสบผลสําเร็จ

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) กําหนดเปนนโยบายสําคัญอยางตอเนื่องทุกปการศึกษา

นโยบายท่ี 7 การยกระดับคุณภาพสถานศึกษาท่ีตองการความชวยเหลือและพัฒนาเปนพิเศษ

อยางเรงดวน (ICU)

- ยกเลิก –

Page 13: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

นโยบายท่ี 8 การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก

1. ผลการดําเนินการ

1) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีการจัดทําแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก โดยวาง

แผนการบริหารจัดการศูนยโรงเรียนท่ีเปนโรงเรียนขนาดเล็กมีนักเรียนจํานวน120 คนลงมา โดยตั้ง

โรงเรียนหลักท่ีมีระยะทางหางจากโรงเรียนขนาดเล็กไมเกิน 6 กม.นํานักเรียนมารวมไปโรงเรียนหลักทุก

ชั้นเรียน นําผูบริหารและครูผูสอนมาวางแผนการบริหารจัดการศึกษารวมกันกําหนดบทบาทหนาท่ีการ

บริหารจัดการโรงเรียนหลักและโรงเรียนรวมอยางชัดเจน

2) พัฒนาโรงเรียนดีใกลบาน(โรงเรียนแมเหล็ก) โดยการพัฒนาทางกายภาพและความพรอม

ในดานตางๆ โดยใชงบกระตุนเศรษฐกิจและเงินอุดหนุน

3) สรางความเขาใจ ความศรัทธาใหผูปกครองและนักเรียนเกิดความเชื่อม่ันเพ่ือ เปนการ

ดึงดูดนักเรียน และพัฒนาโรงเรียนรวมใหเปนแหลงเรียนรู

4) ขอสนับสนุนงบประมาณคาพาหนะนักเรียน สําหรับนักเรียนทุกคน ทุกระดับชั้นท่ีมาเรียน

โรงเรียนหลัก

5) รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีชั้นเรียนไมเหมาะสมของสํานักงานเขต

พ้ืนท่ีการศึกษา มีการดําเนินการคือ จัดการเรียนการสอนแบบเรียนรวมกับโรงเรียนท่ีมีความพรอมท่ีอยู

ขางเคียงจัดการเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียม และบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กรูปแบบโมเดล

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) มีเครื่องมือและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพ่ือยกระดับยกระดับผลการทดสอบทาง

การศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) โรงเรียนขนาดเล็ก เพ่ือเสริมสรางประสิทธิภาพการจัดการ

เรียนการสอนของครูผูสอนโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก ใหมีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกันในการ

ยกระดับยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) สงผลใหเกิดประโยชนในการ

จัดการเรียนการสอน

และผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนดีข้ึนอยางเปนท่ีนาพอใจ

2) การดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือมีผลกระทบทางบวกแกผูเรียน

สามารถพัฒนาโรงเรียนเปนโรงเรียนท่ีมีความพรอมในทุกดานท้ังดานกายภาพและคุณภาพตอการพัฒนา

ผูเรียน เปนโรงเรียนท่ีมีศักยภาพในการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีอยูใกลบาน

3) ผูเรียนเปนคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค มีวินัย ผูเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถทางวิชาการสูงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) สูงกวาคาเฉลี่ยระดับประเทศตอเนื่อง ใชชีวิตและมีความเขาใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) การกําหนดนโยบายสูการปฏิบั ติในพ้ืนท่ีควรมีแผนงานโครงการท่ีมีระยะเวลาการ

ดําเนินการเปนข้ันตอนในระยะยาวและไมปรับเปลี่ยนกระทันหัน และสั่งการสูระดับปฏิบัติท่ีเรงรีบ

Page 14: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

2) การยุบรวมหรือการควบรวมตามแผนงาน/นโยบายของสพฐ. สงผลตอการดําเนินงานใน

การเตรียมการและสํารวจความพรอม ทําใหเกิดปญหากับชุมชนและการบริหารจัดการ

3) ขาดแนวทางในการบริหารจัดการบุคลากรท่ีชัดเจนในทางปฏิบัติ

4) งบประมาณในการสนับสนุนท่ีลาชาสงผลตอการดําเนินงานในระดับพ้ืนท่ี

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรับปรงุ/พัฒนานโยบาย

1) ควรทําความเขาใจในการขับเคลื่อนและการดําเนินงานอยางชัดเจนโดยเฉพาะการ

จัดระบบของบุคลากรท่ีมีสวนไดสวนเสียกับนโยบาย และจัดสรรบุคลากรใหเพียงพอ

2) ควรมีระยะเวลาในการดําเนินการท่ีชัดเจนและจริงจังในทางปฏิบัติมีการกํากับ

ติดตาม นิเทศอยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ

3) การจัดสรรงบประมาณในการดําเนินงานโครงการควรมีแผนการใชจายท่ีชัดเจนไม

เรงดวนมาก จัดหาวัสดุอุปกรณใหเพียงพอ

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) สงเสริมสนับสนุนและพัฒนาครูในดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

2) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผานเทคโนโลยีอยางตอเนื่องและจริงจัง

3) ยุบโรงเรียนท่ีมีนักเรียนต่ํากวา 4 คนลงมา

นโยบายท่ี 9 การอานออกเขียนได

1. ผลการดําเนินการ

1) หนวยงาน/สถานศึกษา มีรูปแบบหรือวิธีการเพ่ือใหนักเรียนชั้น ป.1 อานออกเขียนได โดย

จัดทําเอกสารวิเคราะหผูเรียน วิเคราะหขอสอบและจัดกิจกรรมซอมเสริม จัดทําสื่อนวัตกรรมเพ่ือ

พัฒนาการอานออกเขียนได จัดกิจกรรมภาษาไทยวันละคํากอนเริ่มกิจกรรมการเรียนการสอน เขียนตาม

คําบอกทุกวัน

สงเสริมนิสัยรักการอาน โดยนักเรียนอานหนังสือท่ีตัวเองชอบใหครูและเพ่ือนฟง จัดกิจกรรมการเรียนรูท่ี

เนนการปฏิบัติบอยย้ําช้ําทวน จัดเขาคายเพ่ือยกระดับการอานการเขียนตามความพรอมของกลุมพัฒนาคุณภาพการศึกษา สงเสริม กํากับ ติดตามโครงการหนวยงานและสถานศึกษา

2) หนวยงาน/สถานศึกษา มีรูปแบบหรือวิธีการเพ่ือใหนักเรียนชั้น ป.2-ป.3 อานคลอง เขียน

คลอง โดย จัดทําเอกสารวิเคราะหผูเรียน วิเคราะหขอสอบและจัดกิจกรรมซอมเสริม นักเรียนชั้น ป.2

ฝกอาน ตามบทอาน และพัฒนาตามแพรวาโมเดล

3) จัดทําและพัฒนาคูมือสําหรับพัฒนาการคิดและการอานรูเรื่องภาษาไทยใหกับนักเรียนชั้น

ป.3 ประเมินการอานการเขียนอยางเปนรูปธรรมโดยประเมินการอานการเขียนนักเรียนชั้น ป.1 – ป.3

ภาคเรียนละ 2 ครั้ง เพ่ือกระตุนใหเกิดการพัฒนา ใชวิธีการสอนในรูปแบบท่ีหลากหลาย เชน การสอน

Page 15: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

แบบแจกลูกสะกดคํา การสอนตามแนวทางภาษาพาเพลิน กิจกรรมบันได 5 ข้ันสูการอานออก เขียนได

(play and learn) การสอนตามแนวทางพัฒนาการทางสมอง ( BBL) พัฒนากระบวนการคิด การอานรู

เรื่องตามแนวทาง PISA จัดทําชุดฝกเสริมทักษะการอานคลอง เขียนคลองจัดกิจกรรมภาษาไทยวันละคํา

กอนเริ่มกิจกรรมการเรียนการสอนทุกวัน กิจกรรมไมเทากายสิทธเลานิทานใหเพ่ือนและครูฟงทองคํา

พ้ืนฐานกอนเลิกเรียน และสงเสริม กํากับ ติดตามโครงการของหนวยงานและสถานศึกษา

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) การวิเคราะหผูเรียนทําใหทราบถึงจุดเดนจุดดอยและวิธีการพัฒนาเปนรายบุคคล วิเคราะห

ขอสอบไดทราบขอยากงาย ทําใหครูสามารถพัฒนาผูเรียนไดตรงเปาหมาย

2) พัฒนาเด็กนักเรียนท่ีมีปญหาการอาน การเขียนใหสามารถอานออก เขียนได อานคลอง เขียน

คลอง สามารถอานรูเรื่องและสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ มีเจคติท่ีดีตอการเรียนภาษาไทย และมี

นิสัยรักการอานเพ่ิมมากข้ึน

3) การฝกอานและเขียนคําพ้ืนฐานทุกวัน สงผลใหนักเรียนสามารถอานและเขียนคําพ้ืนฐานได

ถูกตองไดรับรางวัลชนะเลิศกิจกรรมเขียนตามคําบอก ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 การแขงขันทักษะ

ภาษาไทย ประจําป 2560 และผูเรียนมีความกระตือรือรน เห็นความสําคัญ ใหความรวมมือพัฒนาดาน

การอานการเขียน

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) นโยบายไมตอเนื่องการติดตอสื่อสารลาชา กิจกรรมจากสวนกลางลงสูสถานศึกษามีมาก

เกินไป

2) การประเมินการอานการเขียนยังขาดงบประมาณสนับสนุน การทดสอบเปนภาระกิจของ

สถานศึกษาและกลุมสถานศึกษา ความคลาดเคลื่อนของผลสัมฤทธิ์ท่ีไดอาจสูง

3) การชี้แนะชี้นําใหครูเขาใจเรื่องการนําคะแนนผลการประเมินการอานการเขียน e-mes

เพ่ือการพัฒนาผูเรียนยังไมท่ัวถึง

4) ครูผูสอนสวนใหญเนนทองจํา ใชสื่อการสอนสงเสริมการเรียนรูคอนขางนอยกิจกรรมไม

นาสนใจ ทําใหนักเรียนมีเจคติท่ีไมดีตอวิชาภาษาไทย ไมสนใจเรียนสะกดคําและแจกลูกไมถูกตอง การ

เรียนการสอนยึดแบบเรียนเปนหลักขาดสื่อ/นวัตกรรมไมเปนท่ีนาสนใจ

5) ผูบริหารสวนใหญขาดความตระหนักและเห็นความสําคัญ ครูสอนไมตรงตามเอก

6) งบประมาณท่ีจัดสรรลาชาไมเพียงพอตอการพัฒนาของเขตพ้ืนท่ี และโรงเรียนใน

สังกัด

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรใหโรงเรียนกําหนดรปูแบบการขับเคลื่อนนโยบายตามสภาพและบริบทของพ้ืนท่ี

Page 16: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

2) ควรสนับสนุนงบประมาณเพ่ือการดําเนินการสอบการอานการเขียน e-mes และ

สนับสนุนงบประมาณในการขับเคลื่อนในระดับ ศธจ. เพ่ือเปนหนวยประสานและกํากับติดตามไดอยางมี

ประสิทธิภาพมากข้ึน และกําหนดปฏิทินการทดสอบใหพรอมกัน

3) พัฒนาครูท่ีไมจบวิชาเอก ใหมีความม่ันใจและมีความสามารถในการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) กระบวนการวัดและประเมินดานการอาน การเขียนของนักเรียนโดยเฉพาะระดับชั้น

ประถมศึกษาปท่ี 1 ควรดําเนินการประเมินในวันเดียวกันท่ัวประเทศ และใชมาตรฐานการจัดสอบท่ี

ควบคุมตัวแปรไดทุกข้ันตอนจึงจะสามารถรับรองผลการประเมินท่ีเปนปรนัยได

นโยบายท่ี 10 การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา

1. ผลการดําเนินการ

1) สถานศึกษาใชกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมตามโครงการของตนสังกัด

หรือมูลนิธิยุวสถิรคุณหรือโครงการอ่ืนๆ แบบมีสวนรวม ดังนี้

1) สงเสริมใหนักเรียนรวมกันคนหาปญหา/พฤติกรรมท่ีไมพ่ึงประสงคดวยกัน/หาทางออก/วิธีแกไขรวมกันจนนําไปสูคุณธรรม อัตลักษณในระดับโรงเรียน 2) สงเสริมและพัฒนากระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมโดยใชโครงงานคุณธรรม ใหนักเรียนทุกคนในโรงเรยีนมีสวนรวมในกิจกรรม 3) สงเสริมกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมโดยใชโครงงานคุณธรรมนักเรียนทุกคนในโรงเรยีนมีสวนรวมในกิจกรรม 4) มีโครงการสถานศึกษาคุณธรรมทุกชมรมวิชาชีพ มีมูลนิธิยุวสถิรคุณ และกําหนดอัต

ลักษณคุณธรรมของสถานศึกษา สงเสริมคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ และเขาคายคุณธรรม

ตามโครงการ “สถานศึกษาคุณธรรม”

บางจังหวัดไดแบงกิจกรรมออกเปน 4 ดาน ดังนี้

(1) ดานความพอเพียง จัดกิจกรรมรณรงคใชทรัพยากรของโรงเรียนอยางประหยัด

กิจกรรมรักการออม กิจกรรมสืบสานภูมิปญญาทองถ่ิน กิจกรรมโครงงานคุณธรรมจิตอาสา และ

กิจกรรมงานสูอาชีพ

(2) ดานความกตัญูรูคุณ ในวิถีชีวิต เชน การสอนใหนักเรียนยกน้ําดื่มใหพอแม ครู

อาจารย มีน้ําใจชวยถือสิ่งของ สัมภาระ ชวยทํางานบานตามกําลังของนักเรียน การชื่นชมใหกําลังใจ

นักเรียน จัดกิจกรรมจิตอาสาชวยเหลือผูปาวยและคนชรา

(3) ดานความซ่ือสัตยสุจริตสรางคนดีใหกับชาติบานเมือง การสอนใหนักเรียนไมพูด

โกหก นักเรียนมีกิจกรรมไมลอกขอสอบ ไมลอกผลงานเพ่ือน กิจกรรม ปปช.นอยในโรงเรียนและชุมชน

กิจกรรมบันทึกความดี การปฏิบัติตามขอตกลงของหองเรียน กิจกรรมเขาแถวตามลําดับไมลัดคิว

Page 17: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

(4) ดานความรับผิดชอบ นักเรียนไดทํากิจกรรมโครงงานคุณธรรมจิตอาสาทําความ

สะอาด โรงเรียน หมูบาน วัด รวมกับชุมชนรวมท้ังกิจกรรมจิตอาสาอ่ืน เชน การชวยบริการน้ําดื่มในงาน

ตาง ๆ ของชุมชน เพ่ือเปนการฝกความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม กิจกรรมเพ่ือนชวยเพ่ือน

กิจกรรมพ่ีสอนนอง กิจกรรมชวยเหลือผูปวยและคนชราในหมูบาน

2) สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมตามโครงการนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงหรือนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติใหกับนักเรียน ดังนี้

1) จัดทําหลักสูตรสถานศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับกลุม

สาระการเรียนรู 8 กลุมสาระฯ และกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยรวมกันออกแบบแผนการจัดการเรียนรู

เนนการมีสวนรวมโดยผานกระบวนการ Active Learning

2) สามารถนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซ่ึงเปนนามธรรมมาประยุกตใชอยางเปน

รูปธรรม และควรใชเวลาในการอบรมมากกวานี้ จะไดรูถึงการทําความดีตามรอยพระยุคลบาทและตาม

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมากกวานี้

3) จัดกิจกรรมในเรื่องการรักษาความสะอาด การคัดแยกขยะใหเปนสัดสวนงายตอการ

จัดเก็บ ตลอดจนการรักษาประเพณีอันดีงามของไทย

4) มีการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูแบบฐานเศรษฐกิจพอเพียงใหสอดคลองกับ

สภาวะปจจุบัน และเสริมสรางแนวคิดใหกับผูเรียน

5) สรางภูมิคุมกัน ในการดําเนินชีวิตของนักศึกษาเอง ของครอบครัว และชุมชนอยางมี

ความสขุ

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) นักเรียน นักศึกษา เขาใจความสําคัญและหลักในการประพฤติตนเปนคนดี มีคุณธรรม

จริยธรรม ธรรมาภิบาลตามคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ สามารถคิด วิเคราะห ตัดสินใจ

ประพฤติปฏิบัติตามหลักธรรม กฎระเบียบ วัฒนธรรมอันดีงามของสังคม มีสวนรวมในการปฏิบัติ

กิจกรรมทําความดีตามรอยพระยุคลบาท กิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรรม

เพ่ือประโยชนตอตนเอง ชุมชน ทองถ่ิน

2) โครงการนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหรือนอมนําแนวคิดตาม

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) งานนโยบายดําเนินการไมตอเนื่อง ผูบริหาร/ครูผูสอน ไมใหความสนใจงานนโยบาย เพราะ

เปลี่ยนแปลงบอย และมีมากเกินไป

2) การจัดสรรงบประมาณไมตรงตามระยะเวลาในการจัดกิจกรรม และไมเพียงพอตอการบริหาร

จัดการ

Page 18: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

3) ขาดความรูความเขาใจในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูท่ีปลูกฝงคุณลักษณะพอเพียง ผานสื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู ท่ีสอดคลองกับการวัดและประเมินผล ขาดการพัฒนาแหลงเรียนรู การจัดสภาพบริบทสิ่งแวดลอมในสถานศึกษาใหเอ้ือตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4) มีกรรมการนิเทศมากเกินไป เชน คณะนเิทศ EMS RT และนิเทศอาสา ควรบูรณการกันใหมีชุดเดียว

5) การสงเสริมพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมตองใชเวลาและดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง

จริงจัง และมีสวนรวมจากทุกภาคสวนในการสรางพฤติกรรมท่ีพึงประสงค

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรจัดสรรงบประมาณใหตรงตามระยะเวลาในการจัดกิจกรรม

2) ควรมีการติดตามอยางตอเนื่อง/สมํ่าเสมอ เพ่ือพัฒนาและสงเสริมนโยบายคุณธรรม

อยางตอเนื่องและยั่งยืน

3) ควรเปนกิจกรรมในชีวิตประจําวันของนักเรียน เชน การไหว การกราบ การสวดมนต

ไหวพระ การชวยเหลือพอแม ผูปกครอง

4) ไมควรนําเอาตัวชี้วัดอ่ืนมาวัดและประเมินผล ควรนําเอาตัวชี้วัดจากหลักสูตร และ

คุณลักษณะอันพึงประสงคมาใชวัดและประเมินผล กําหนดพฤติกรรมท่ีสอดคลองกับคุณลักษณะ

พฤติกรรมท่ีพึงประสงคของหลักสูตรเพ่ือความไมซํ้าซอน

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ผูประเมินดานสถานศึกษาคุณธรรมควรมีความรูความเขาใจหลักเกณฑการประเมิน

ทุกสถานศึกษาตามสังกัด

2) ควรใหมีการประกวดโครงงานคุณธรรมท้ัง 4 ดาน เพ่ือสรางขวัญและกําลังใจ ลงสู

สถานศึกษาและตัวผูเรียนใหมากและตอเนื่อง

นโยบายท่ี 11 การขับเคล่ือนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค

1. ผลการดําเนินการ

1) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด ไดดําเนินการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติและยุทธศาสตร

กระทรวงสูการปฏิบัติ โดยไดนํานโยบายและยุทธศาสตรชาติ ยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ เสนอตอ

คณะกรรมการ เพ่ือรับทราบนโยบายและขับเคลื่อน จัดทําแผนปฏิบัติการจังหวัด ปงบประมาณ พ.ศ.

2561 โดยการบูรณาการแผนงาน/โครงการ ในหนวยงานการศึกษาในจังหวัดใหสอดคลองกับยุทธศาสตร

ชาติและยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ นําแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด พ.ศ. 2562 – 2565 แผนปฏิบัติ

การประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 จังหวัด และแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของ

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด เสนอตอคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดเพ่ือพิจารณาอนุมัติ และมีมติ

อนุมัติแผนฯ เม่ือคราวประชุมคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด ครั้งท่ี 7/2560 วันท่ี 25 ตุลาคม พ.ศ. 2560

Page 19: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

2) จัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยจังหวัด พ.ศ. 2561-2564

3) จัดทํากิจกรรม/โครงการตามแผนบูรณาการ เชน โครงการสรางประสบการณอาชีพ (Work

Experience) ของนักเรียนชั้น ม. 3 โครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทํารูปแบบและ

แนวทาง การพัฒนาหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา และ

ยกระดับผลสัมฤทธิ์โอเน็ตระดับชั้น ป.6 , ม.3, ม.6 โรงเรียนเอกชนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ต่ํา

4) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีการจัดระบบขอมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือ

การศึกษาไดตามอํานาจหนาท่ีและภารกิจโดย ศึกษาวิเคราะหขอมูลพ้ืนฐานทางการศึกษา รวบรวม

ขอมูลเพ่ือใชเปนแนวทางในการจัดเก็บขอมูลสารสนเทศทางการศึกษา จัดตั้งศูนยดิจิตอลทางการศึกษา

ในสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด

5) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดมีกระบวนการประสานงานและพัฒนาเครือขายการปฏิบัติงาน

ท่ีมีประสิทธิภาพและเปนท่ีพึงพอใจของผูรับบริการและผูท่ีเก่ียวของ โดยมีการแตงตั้งชมรมศึกษานิเทศก

ในระดับจังหวัดและระดับสํานักงานศึกษาธิการภาค 12 เพ่ือขับเคลื่อนการดําเนินงานตามนโยบายและ

การประสานงาน ประชุมหนวยตรวจสอบภายใน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา และ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เพ่ือขับเคลื่อนการดําเนินงานดานการตรวจสอบภายในและ

การประสานงานมีการประสานผานชองทางท่ีหลากหลาย เชน การประสานงานดวยตัวเอง จดหมาย

อิเล็กทรอนิกส, หนังสือราชการ, โทรศัพท และโทรสาร เปนตน

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) โรงเรียนสงเสริมและจัดใหมีการใชสื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน รวมถึง

กระบวนการนิเทศอยางเปนระบบสงผลใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึนอยางตอเนื่องและยั่งยืน

จนเปนท่ียอมรับในระดับหนวยงาน และเปนโรงเรียนยอดนิยมในระดบัประเทศ

2) ใช SARAKHAM Model ในการพัฒนาขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาเพ่ือเกิดประโยชนสูงสุดตอ

ผูเรียน

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) นโยบายระดับภูมิภาคและระดับหนวยงานตนสังกัดไมตอเนื่อง

2) แผนงาน/โครงการตามยุทธศาสตรและนโยบายของหนวยงานทางการศึกษายังไมสามารถ

บูรณาการไดท้ังหมด

3) หนวยงานในระดับภูมิภาคมีหลายหนวยงานท่ีเก็บขอมูลเพ่ือการติดตามและประเมินผลใน

เรื่องเดียวกัน ทําใหเกิดความซํ้าซอนและสรางภาระใหกับหนวยงานท่ีปฏิบัติในดานการรายงานขอมูล และ

พบปญหาเรื่องขอมูลท่ีไมตรงกัน

4) การทําความเขาใจบทบาทและหนาท่ีของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดยังไมชัดเจน และ

ไมไดรับความรวมมือจากหนวยงานท่ีเก่ียวของ

4. ขอเสนอแนะ

Page 20: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) หนวยงานท่ีเก่ียวของควรเห็นความสําคัญและเขาใจบทบาทท่ีสํานักงานศึกษาธิการ

จังหวัดจะตองดําเนินการในสวนท่ีเก่ียวของ

2) กระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานตนสังกัดควรกําหนดนโยบายเพ่ือขับเคลื่อน

นโยบายอยางตอเนื่อง และหนวยงานทางการศึกษาในระดับจังหวัดควรบูรณาการแผนงาน/โครงการ

ตามยุทธศาสตรและนโยบายใหครอบคลุม

3) หนวยงานตางๆ ในระดับภูมิภาคประสานงานการจัดเก็บและการใชขอมูลท่ี

เหมือนกันโดยมอบหมายใหหนวยงานใด หนวยงานหนึ่งเปนเจาภาพในการจัดเก็บขอมูล แลวนําขอมูลท่ี

ไดไปใชรวมกันตามวัตถุประสงค ของแตละหนวยงาน ซ่ึงจะทําใหลดภาระการ รายงานและความซํ้าซอน

ของขอมูลท่ีจัดเก็บในระดับพ้ืนท่ีและไมเกิดปญหาขอมูลไมตรงกัน

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) หนวยงานตันสังกัด ควรมีการจัดอบรมและพัฒนาบุคลากร ใหความรูความเขาใจดาน

การจัดเก็บขอมูลเพ่ือการติดตามและประเมินผล

นโยบายท่ี 12 การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

ประเด็นการตรวจราชการ :

-

นโยบายท่ี 13 การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต

และพ้ืนท่ีพิเศษ

-

นโยบายท่ี 14 การพัฒนาครูท้ังระบบ

1. ผลการดําเนินการ

1) ครูท่ีผานการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร นําผลการพัฒนามาใชในการ

เรียนการสอน โดยครูท่ีเขารับการพัฒนาไดนําผลการพัฒนาไปปฏิบัติงานท่ีรับผิดชอบและจัดการเรียน

การสอนในชั้นเรียนมีการใชและทดลองอยางหลากหลายกับผูเรียนและวิชาชีพใหสูงข้ึนจริง ผลิตสื่อและ

พัฒนาสื่อการสอน โดยเลือกใชสื่อใหเหมาะสมกับเนื้อหาการสอน ใชเทคโนโลยีและสรางนวัตกรรม

ทางการเรียนรูใหเหมาะสมกับผูเรียนไดดียิ่งข้ึน มีกิจกรรมการเรียนรูในหองเรียนท่ีหลากหลายและ

สามารถบูรณาการการเรียนรูกับวิชาอ่ืนๆ ใหดียิ่งข้ึน และพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู และพัฒนาการ

ของนักเรียนรวมท้ังความกาวหนาทางวิชาชีพครู

2) ครูท่ีผานการพัฒนาตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู (PLC) นําผลการพัฒนามา

ปรับการเรียนการสอน (การจัดการศึกษาของสถานศึกษา) โดยปรับพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคของ

นักเรียนไปในทางท่ีดีข้ึน มีการรวมกลุมท้ังในสถานศึกษา และศูนยเครือขายพัฒนาคุณภาพการศึกษา

Page 21: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

มีการแลกเปลี่ยนขอมูลสารสนเทศรวมกัน เกิดนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนในแตละกลุมวิชา เกิด

โรงเรียนตนแบบในการนํากระบวนการ PLC ไปใชเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน พลิกโฉมโรงเรียน

ขนาดเล็กสูความเปนเลิศ ดวยนวัตกรรมการผลิตสื่อประกอบการเรียนการสอน และอบรมเพ่ือพัฒนาครู

ประจําการรูปแบบชุมชนแหงการเรียนรู สูสถานศึกษา (PLC)

3) หลักสูตรการพัฒนาครูท่ีเปนจุดเนนของสังกัด ไดแกหลักสูตรภาษาไทย โดยสนับสนุนให

ขาราชการครูเขารับการพัฒนาตามความตองการตามโครงการพัฒนาครูเต็มรูปแบบ เพ่ือพัฒนาความรู

ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรียนของผูเรียนสูงข้ึน

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) นวัตกรรมยกระดับคุณภาพการอานออกเขียนได โดยใชนวัตกรรมแพรวาโมเดล นวัตกรรม

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โปงลางโมเดล

2) ขาราชการครูเกิดความรูความเขาใจในการดําเนินการตามแนวทาง และการนํากระบวนการ

PLC ไปใชเกิดการรวมกลุม PLC ระดับชั้นเรียน ระดับกลุมสาระการเรียนรู ระดับสถานศึกษาและระดับ

ศูนยเครือขายพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพ่ือใหทุกคนทราบถึงเปาประสงคในการพัฒนาผูเรียนในแตละ

สภาพบริบทของผูเรียนในสถานศึกษา

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ศูนยพัฒนาหลักสูตรอยูหางไกลพ้ืนท่ี และการเขาลงทะเบียนในระบบยุงยากหลายข้ันตอน

และหลักสูตรท่ีจัดอบรมพัฒนาไมตรงตามความตองการของครู

2) เปนนโยบายท่ีดําเนินการในชวงกลางปงบประมาณทําใหไมไดกําหนดกิจกรรมไวใน

แผนงาน/โครงการ จึงตองใชงบประมาณจากโครงการอ่ืน ๆ มาสนับสนุน บางสวนไมสามารถเบิกจายได

ทันตามกําหนดเวลา ทําใหครูตองสํารองเงินคาลงทะเบียนในการอบรมพัฒนา

3) การสรางชุมชนแหงการเรียนรูเปนเรื่องท่ีตองอาศัยความรวมมือจากบุคลากรทุกฝาย

โดยเฉพาะบุคลากรท่ีจะทําหนาท่ีโคช และพ่ีเลี้ยงซ่ึงตองมีความรูความเขาใจท่ีถูกตอง มีทักษะในการ

ปฏิบัติหนาท่ีและตองมีเวลาในการลงปฏิบัติงานรวมกัน

4) ระยะเวลาดําเนินการเรงดวนเกินไป ทําใหครูท่ีมีความประสงค จะเขารับการอบรมพัฒนา

ไมสามารถลงทะเบียนเขารับการพัฒนาตามความประสงคไดทันตามกําหนดเวลา ทําใหครูจํานวนมาก

เสียโอกาสท่ีจะเขารับการพัฒนา

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรใหเขตพ้ืนท่ีการศึกษาไดมีสวนรวมในการวิเคราะหหลักสูตร และจัดสรร

งบประมาณใหเขตพ้ืนท่ีการศึกษาในการออกนิเทศติดตามครูท่ีผานการอบรมพัฒนาในการนําความรูไป

ใชในการสอน

Page 22: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

2) ควรจัดทําแนวปฏิบัติหรือคูมือในการดําเนินงานตามนโยบายใหสํานักงานเขตพ้ืนท่ี

การศึกษาเพ่ือใชเปนแนวทางในการขยายผลสูสถานศึกษา

3) ควรแจงหลักสูตรท่ีจะพัฒนาใหทราบลวงหนา เพ่ือครูจะไดมีเวลาศึกษาประกอบการ

ตัดสินใจเขารับการพัฒนา และการลงทะเบียนเขารับการพัฒนาควรมีระยะเวลา เพ่ือไมใหครูเสียโอกาสเขา

รับการพัฒนา

4) การเบิกจายเงินในการเขาอบรมพัฒนา บางสวนไมสามารถเบิกจายไดทันตาม

กําหนดเวลา ทําใหครูบางสวนตองสํารองจายเงินคาลงทะเบียนในการอบรมพัฒนา

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) การพัฒนาตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู PLC เปนหัวใจสําคัญท่ีจะทํา

ใหเกิดการพัฒนาตามกระบวนการคือ Logbook ท่ีไดบันทึกการดําเนินการตามกิจกรรม ท้ังการ

แลกเปลี่ยนเรียนรู ประเด็นปญหา แนวทางการแกไขปญหา รวมท้ังการติดตาม สืบคนขอมูลท่ีเปนฐาน

ในการพัฒนา ควรเรงดําเนินการนําระบบบันทึกขอมูล Logbook อิเล็กทรอนิกสท่ีสมบูรณมาใช

2) การพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร ควรลดข้ันตอนในการอนุมัติเขารับ

การอบรมพัฒนา หลักสูตรท่ีขาราชการครูสนใจไมเพียงพอตอจํานวนครูท่ีตองการเขารับการอบรมพัฒนา

และบางหลักสูตรท่ีนาสนใจ แตหนวยพัฒนาอยูหางไกล

นโยบายท่ี 15 การพัฒนาผูเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด

1. ผลการดําเนินการ

1) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาไดจัดทําแผนพัฒนาลูกเสือ

จังหวัด/แผนพัฒนาลูกเสือเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ไดมีการดําเนินการโดย จัดทําโครงการประชุมเชิง

ปฏิบัติการ อบรมทบทวน ผูบังคับบัญชาลูกเสือในสถานศึกษา ชุมนุมลูกเสือจังหวัด ปรับปรุงคายลูกเสือ

สรางหองลูกเสือ จัดตั้งสมาคมสโมสรลูกเสือ ฝกอบรมลูกเสือหนวยตาง ๆ เชน ลูกเสือ 3 ดี อบรมนาย

หมูลูกเสือ อบรมลูกเสือชอสะอาด ฯลฯ จัดงาน/กิจกรรมเก่ียวกับงานลูกเสือ และสงเสริม สนับสนุนและ

พัฒนาเก่ียวกับงานการลูกเสือ เนตรนารีและงานพัฒนา และการขอใชคายลูกเสือ เปนตน

2) ปลูกฝงคุณธรรม สํานึกความเปนไทย ความมีระเบียบวินัย และคานิยมอันพึงประสงค ใหแกนักเรียนทุกคน โดยใชกระบวนการลูกเสือ 3) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาไดขับเคลื่อนการดําเนินงานตาม

แผนพัฒนาลูกเสือจังหวัด/เขตพ้ืนท่ีการศึกษา โดยมีการดําเนินการขับเคลื่อนการดําเนินงานตาม

แผนพัฒนาลูกเสือ คือ ใหโรงเรียนในสังกัดจัดกิจกรรมลูกเสือตามหลักสูตรลูกเสือทุกโรงเรียน มีการเขา

รวมกิจกรรมวันสําคัญของลูกเสือและไดบําเพ็ญประโยชนตามท่ีสาธารณะและชวยเหลือผูอ่ืนทุกโอกาส

มีการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานกิจกรรมสงเสริมและพัฒนากิจการลูกเสือของสถานศึกษาทุก

แหงในสังกัด

Page 23: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

4) ประชุมชี้แจงผูบริหารสถานศึกษาและบุคลากรท่ีเก่ียวของในการจัดทํารายงานผลการจัด

กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผูบําเพ็ญประโยชน เพ่ือการเสริมสรางคานิยมของคนไทย 12

ประการ

5) วางแผนจัดกระบบขอมูลสารสนเทศและการบริหารงานลูกเสือ ยุวกาชาด และผูบําเพ็ญ

ประโยชนใหสามารถดําเนินงานจามภารกิจไดอยางมีประสิทธิภาพ และพัฒนาระบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล ศึกษา คนหวา วิเคราะห วิจัยกิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาดและผูบําเพ็ญประโยชน ชวยเหลือสถานศึกษาและหนวยงานท่ีเก่ียวของอยางตอเนื่อง 6) สถานศึกษาใชกระบวนการลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาดในการจัดการเรียนการสอน/

กิจกรรมเพ่ือเสริมสรางความเปนพลเมือง (Civic Education) โดยดําเนินโครงการตามกฎและคํา

ปฏิญาณของลูกเสือ และคติพจนของลูกเสือ จัดการเรียนการสอนลูกเสือในสถานศึกษา เนนกฎระเบียบ

ของลูกเสือ เปนผูท่ีมีความรับผิดชอบตอตนเองและตอสังคม ดําเนินโครงการสงเสริมใหลูกเสือปฏิบัติ

ตามกฎของลูกเสือและคําปฏิญาณของลูกเสือ นําหลักคุณธรรม 8 ประการเปนหลักในการเรียนการสอน

และปลูกฝงจิตสํานึกใหนักเรียนมี ความรักชาติ จิตสาธารณะการชวยเหลือสังคม ความเปนระเบียบวินัย

ความอดทน ความสามัคคี ความรับผิดชอบตอตนเองและสังคมอยูในกรอบ มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงคคานิยม 12 ประการ 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ผูบริหารองคกรเปนผูนําในการถายทอดยุทธศาสตรแกบุคลากรในสังกัดเพ่ือสรางความ

เขาใจและตระหนักในหนาท่ีเพ่ือนําไปสูความสําเร็จ สรางทีมงานในระดับปฏิบัติ และระดับการกํากับ ติดตามและประเมินผล ลูกเสือ เนตรนารี ผูบังคับบัญชาลูกเสือ ไดแสดงออกถึงความจงรักภักดีแด

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว พระผูพระราชทานกําเนิดลูกเสือไทย มีคุณธรรมจริยธรรม มี

ระเบียบวินัย มีความเปนผูนําท่ีดี มีความรับผิดชอบ มีทักษะในการทํางานรวมกัน รูจักการแกไขปญหา

มีเหตุผล และสามารถตัดสินใจไดอยางเหมาะสม

2) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ไดรับทราบขอเท็จจริงเก่ียวกับความสําเร็จ ความกาวหนา

สภาพปญหา อุปสรรคในการดําเนินงานจากการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานศึกษาและ

สงเสริมและพัฒนากิจการลูกเสือของสถานศึกษาในสังกัด

3) นักเรียนมีความสุขท่ีไดทํากิจกรรมลูกเสือมีจิตบริการ และเปนผูมีคุณธรรมพ้ืนฐาน ขยัน

ประหยัด ซ่ือสัตย มีวินัย สุภาพ สามัคคี มีน้ําใจพ่ึงตนเองได และชวยเหลือสังคมได

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ขาดบุคลากรทางลูกเสือท่ีมีความรู ทักษะ ความชํานาญดานลูกเสือ ความมุงม่ันในการ

ปฏิบัติตามหนาท่ีของผูบริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และผูมีสวนเก่ียวของมีนอย 2) ขาดการติดตามและประเมินผลในกิจกรรมลูกเสือ

3) โรงเรียนจัดกิจกรรมลูกเสือไมตรงตามหลักสูตร และใชชั่วโมงลูกเสือไปจัดกิจกรรมอ่ืน ๆ

4) ขาดงบประมาณ/งบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานลูกเสือไมเพียงพอ

Page 24: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานดานลูกเสือใหมากข้ึน และเพียงพอ

2) ควรมีการจัดฝกอบรม ทบทวน พัฒนาเพ่ือเพ่ิมความรู ทักษะทางดานลูกเสือใหกับ

บุคลากรทางการลูกเสืออยางตอเนื่อง

3) ควรจัดประชุมชี้แจงแนวทางการสอนวิชาลูกเสือใหกับผูบังคับบัญชาลูกเสือ และ

แตงตั้งทีมงานออกติดตามใหกําลังใจ

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ควรสงเสริมพัฒนางานดานลูกเสืออยางตอเนื่องท้ังดานงบประมาณ บุคลากร การจัดหา

วัสดุอุปกรณในการจัดการเรียนการสอนลูกเสือในสถานศึกษาใหครบถวนเพ่ือเสริมสรางความเปน

พลเมืองท่ีดีของสังคม

2) ควรใหสถานศึกษาจัดการเรียนการสอนอยางสมํ่าเสมอ มีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการรายงานอยางตอเนื่อง และแจงวัตถุประสงครวมกันกับผูท่ีมีสวนเก่ียวของใหความรวมมือและรวมรับผิดชอบ 3) ควรสรางขวัญกําลังใจใหผูบริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษาท่ีปฏิบัติงานตามนโยบาย

Page 25: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

สารบัญ

หนา

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

คํานํา

สารบัญ

บทท่ี 1 บทนํา….…………………………………………………...………………………………...…........................... 1 1 ความเปนมาของการตรวจราชการ ...........…..........................……………..…………............. 2 วัตถุประสงคของการรายงาน ......................................................…………….………………… 3 กรอบแนวคิดของการรายงาน ....................…………………………………......................……... 4 ขอบเขตของการรายงาน ................................................................................................. 5 คํานิยามศัพท.................................................................................................................... 6 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ............................................................................................... บทท่ี 2 ขอมูลและเอกสารท่ีเกี่ยวของ ......................................................................................... 1 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ...................... 2 พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ.2546 3 ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการตรวจราชการ การติดตามตรวจสอบ และ ประเมินผลการจัดการศึกษา พ.ศ. 2560 ................................................................ 4 คําสั่งคณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี 19/2560 ........................................................... 5 นโยบายของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป) 6 นโยบายการตรวจราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ........................................ 7 แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 (แผน 20 ป) ................................................ 8 สภาพท่ัวไปของสํานักงานศึกษาธิการภาค 12 ...............................................................

1 2 2 3 6 6 7 7 8

8 11 11 12 13 14

บทท่ี 3 ผลการวิเคราะหขอมูล ................................................................................................. 24 นโยบายท่ี 1 การยกระดับคุณภาพการศึกษา ...................................................................... นโยบายท่ี 2 การจัดการศึกษาปฐมวัย ................................................................................ นโยบายท่ี 3 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ....................................................................... นโยบายท่ี 4 การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห ..................................................................

24 38 45 51 57

Page 26: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

นโยบายท่ี 5 การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ .................................................................... นโยบายท่ี 6 การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ นโยบายท่ี 7 การยกระดับคุณภาพสถานศึกษาท่ีตองการความชวยเหลือและพัฒนาเปน พิเศษอยางเรงดวน (ICU) ............................................................................................ นโยบายท่ี 8 การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก ....................................................

63

67 67

นโยบายท่ี 9 การอานออกเขียนได ......................................................................................

72

นโยบายท่ี 10 การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา ..............................................

77

นโยบายท่ี 11 การขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค .............................

83

สารบัญ (ตอ)

หนา นโยบาย 12 การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา .................................. นโยบาย 13 การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนใตและพ้ืนท่ีพิเศษ ...................................................................................... นโยบาย 14 การพัฒนาครูท้ังระบบ ................................................................................. นโยบาย 15 การพัฒนานักเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด .......

86

86 87 92

บทท่ี 4 สรุปผลการตดิตามประเมินผล .................................................…......……..…................…. 98 ภาคผนวก…………………………………………………………………………………………………………………………

ก นโยบายการตรวจราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ............................................ ข เครื่องมือการตรวจราชการ รอบ 1/2561 ......................................................................... ค รายชื่อหนวยรับตรวจ เขตตรวจราชการท่ี 12 ...................................................................

120 121 122 150

คณะทํางาน …………………………………………………………………………………………………….......….…….. 152

Page 27: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

1

บทท่ี 1

บทนํา

1. ความเปนมาของการตรวจราชการ

การตรวจราชการเปนมาตรการสําคัญประการหนึ่งในการบริหารราชการแผนดินท่ีจะทําใหการปฏิบัติ

ราชการหรือการปฏิบัติภารกิจของหนวยงานของรัฐบรรลุเปาหมาย สอดคลองกับแผนการบริหารราชการแผนดิน

และนโยบายของรัฐบาล สามารถแกไขปญหาอุปสรรค และกอใหเกิดประโยชนสุขแกประชาชนดวยความโปรงใส

เปนธรรม ประหยัด และมีประสิทธิภาพ ตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการ

บานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 มาตรา 6 บัญญัติวา การบริหารราชการตองเปนไปเพ่ือประโยชนสุขแกประชาชน

เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ โดยประชาชนไดรับ

การอํานวยความสะดวกและไดรับการตอบสนองความตองการโดยมีผูตรวจราชการกระทรวงรับผิดชอบและมี

อํานาจหนาท่ีในการตรวจราชการเก่ียวกับการปฏิบัติราชการของหนวยงานของรัฐและเจาหนาท่ีของรัฐเฉพาะ

ในขอบเขตอํานาจหนาท่ีของกระทรวง ในฐานะผูสอดสองดูแลแทนรัฐมนตรีวาการกระทรวงและปลัดกระทรวง

ตามท่ีกําหนดไวในขอ 9 ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการตรวจราชการ พ.ศ. 2548 และขอ 8 กําหนดให

การตรวจราชการดําเนินการตามแผนการตรวจราชการประจําปหรือตามท่ีไดรับคําสั่งจากผูบังคับบัญชานายกรัฐมนตรี

หรือคณะรัฐมนตรีโดยใหจัดทําแผนการตรวจราชการประจําปใหแลวเสร็จตามกําหนดเวลารวมท้ังกําหนดมาตรฐาน

และเครื่องมือในการตรวจราชการของผูตรวจราชการใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 20 บัญญัติให

กระทรวงศึกษาธิการมีผูตรวจราชการของกระทรวงเพ่ือทําหนาท่ีในการตรวจราชการ และติดตาม ประเมินผล

ระดับนโยบาย การนิเทศ ใหคําปรึกษา แนะนํา เพ่ือการปรับปรุงพัฒนาการบริหารจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

ประกอบกับคําสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี 19/2560 ขอ 5 (4) ใหสํานักงานศึกษาธิการภาคมี

อํานาจหนาท่ีสนับสนุนการตรวจราชการและการติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามยุทธศาสตรของ

กระทรวงศึกษาธิการในพ้ืนท่ีรับผิดชอบและประกาศสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบงหนวยงาน

ภายในสํานักงานศึกษาธิการภาค และสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

ขอ 2.5 และ 4.5 เก่ียวกับหนาท่ีความรับผิดชอบดานการตรวจราชการและการติดตามประเมินผลของสํานักงาน

ศึกษาธิการภาคและสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการตรวจราชการ

การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา พ.ศ. 2560 ไดกําหนดรายละเอียดแนวทางการตรวจ

ราชการการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการใหมีความชัดเจนยิ่งข้ึน

นอกจากนั้นประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การแบงสวนราชการภายในสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา พ.ศ.

Page 28: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

2

2560 ขอ 5 (4) ใหสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา กํากับ ดูแล ติดตามและประเมินผลสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

และในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12 ในฐานะเปนหนวยงานสนับสนุนการตรวจราชการของผูตรวจราชการ

กระทรวงศึกษาธิการตามคําสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติท่ี 19/2560 เรื่องการปฏิรูปการศึกษาใน

ภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันท่ี 3 เมษายน 2560 อาศัยอํานาจตามขอ 5 ใหมีสํานักงานศึกษาธิการ

ภาค จํานวนสิบแปดภาค สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการ

ในระดับพ้ืนท่ี ทําหนาท่ีขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัดโดยการอํานวยการสงเสริม สนับสนุน

และพัฒนาการศึกษาแบบรวมมือ และบูรณาการกับหนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และหนวยงานอ่ืน

หรือภาคสวนท่ีเก่ียวของในพ้ืนท่ีนั้น ๆ และกําหนดใหมีอํานาจหนาท่ีขอ (4) สนับสนุนการตรวจราชการ และ

ติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ใน

เขตตรวจราชการท่ี 12 สํานักงานศึกษาธิการภาค 12 ไดปฏิบัติงานสนับสนุนการตรวจราชการของผูตรวจ

ราชการกระทรวงศึกษาธิการเพ่ือใหการตรวจราชการของผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ เปนมาตรการ

สําคัญในการตรวจและติดตามการดําเนินงานของหนวยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาท่ีนํานโยบายของ

กระทรวงศึกษาธิการไปสูการปฏิบัติในพ้ืนท่ีไดอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุเปาหมายสอดคลองกับนโยบาย

ของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ตลอดจนมีความโปรงใส เปนธรรม ประหยัด สมประโยชนตอทางราชการ

เปนไปตามหลักการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี รวมท้ังเปนการดําเนินการในฐานะผูสอดสอง ดูแล แทน

รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ และผูบริหารระดับสูงของ

กระทรวงศึกษาธิการ ดังนั้น จึงไดจัดทํารายงานการสนับสนุนการตรวจราชการของผูตรวจราชการ

กระทรวงศึกษาธกิาร ประจําเขตตรวจราชการท่ี 12 รอบท่ี 1 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ข้ึน

2. วัตถุประสงคของการรายงาน

1) เพ่ือรายงานผลการสนับสนุนการตรวจราชการของผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ประจาํ

เขตตรวจราชการท่ี 12 รอบท่ี 1 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

2) เพ่ือทราบผลการดําเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการกรณีปกติของกระทรวงศึกษาธิการ รอบท่ี 1

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 รวมท้ังปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ของหนวยงาน/สถานศึกษา

ในเขตตรวจราชการท่ี 12

3. กรอบแนวคิดของการรายงาน

Page 29: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

3

การตรวจราชการของกระทรวงศึกษาธิการในปจจุบันไดใชแนวปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี

วาดวยการตรวจราชการ พ.ศ. 2548 พระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546

(มาตรา 20) และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการตรวจ ติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษา พ.ศ. 2549

แบงการตรวจราชการเปน 3 ประเภท ไดแก การตรวจราชการกรณีปกติ การตรวจราชการแบบบูรณาการ และ

การตรวจราชการกรณีพิเศษ การตรวจราชการแตละประเภทจะมีแนวทางการตรวจราชการเปนลักษณะเฉพาะ

มีวิธีการตรวจและการรายงานผล แยกออกจากกัน ดังนี้

แนวทางการตรวจราชการ

ประเภทการตรวจ ลักษณะการตรวจ ระยะเวลาการตรวจ การรายงานผล

1. การตรวจ

ราชการกรณีปกติ

- ตรวจตามนโยบายการตรวจ

ราชการ ของ รมว.ศธ.

ปละ 2 รอบ ดังนี้

- รอบท่ี 1 ต.ค.-มี.ค.

- รอบท่ี 2 เม.ย.-ก.ย.

- รายงาน เชิงการ

ตรวจ ติดตามและ

ประเมินผล

2. การตรวจ

ราชการ

แบบบูรณาการ

- ตรวจรวมกับการตรวจ

ราชการกรณีปกติ

- ตรวจราชการรวมกับผูตรวจ

ราชการสํานักนายกรัฐมนตรี

และกระทรวงอ่ืนๆ

ปละ 2 รอบ ดังนี้

- รอบท่ี 1 Project and

Progress Review

ต.ค.-มี.ค.

- รอบท่ี 2Monitoring

and Evaluation

เม.ย.-ก.ย.

- รายงาน ตามแบบ

รายงานท่ีสํานัก

นายกรัฐมนตรี

กําหนด

3. การตรวจ

ราชการกรณีพิเศษ

- ตรวจสอบเรื่องท่ีไดรับการ

รองเรียนเรื่องท่ีเก่ียวกับ

สถานการณ หรือเหตุการณ

สําคัญหรือสาธารณภัยอัน

จําเปนท่ีรัฐบาลและหนวยงาน

ของรัฐตองเขาไปชวยเหลือและ

แกไขใหทัน

- ตามระยะเวลาท่ีเกิดข้ึน

หรือตามท่ีไดรับมอบหมาย

- รายงาน

ผูบังคับบัญชาทราบ

ความกาวหนา

ผลการดําเนินการ

ตามท่ีไดรับ

มอบหมาย

Page 30: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

4

4. ขอบเขตของการรายงาน

ขอบเขตการจัดทํารายงานการสนับสนุนการตรวจราชการ ในพ้ืนท่ีเขตตรวจราชการ การจัดทํารายงาน

การตรวจราชการ รอบท่ี 1 ประจําป 2561 ในระหวางเดือนตุลาคม 2560 ถึงเดือนมีนาคม 2561 จะรายงานผล

การดําเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการกรณีปกติของกระทรวง ศึกษาธิการ รวมท้ังปญหาอุปสรรค และ

ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ของหนวยงาน/สถานศึกษา ในภาพรวมของเขตตรวจราชการท่ี 12 ประกอบดวย

จังหวัดรอยเอ็ด ขอนแกน มหาสารคาม และจังหวัดกาฬสินธุ

ขอบเขตดานพ้ืนท่ีและหนวยรบัการตรวจ

1. ขอบเขตดานพ้ืนท่ีเปนการกําหนดเขตตรวจราชการของผูตรวจราชการสํานักนายกรัฐมนตรี ให

สอดคลองกับการปรับปรุงการจัดกลุมจังหวัดและการกําหนดจังหวัดท่ีเปนศูนยปฏิบัติการกลุมจังหวัด 18 กลุม

จังหวัด ตามมติคณะรัฐมนตรี โดยใหทุกกระทรวง ทบวง กรม ปรับปรุงเขตตรวจราชการใหสอดคลองกับการ

กําหนดเขตตรวจราชการ สํานักนายกรัฐมนตรีจึงมีคําสั่งสํานักนายกรัฐมนตรี ท่ี 10/2551 ลงวันท่ี 30

มกราคม 2551 เรื่อง การกําหนดเขตตรวจราชการของผูตรวจราชการสํานักนายกรัฐมนตรี โดยเขตตรวจ

ราชการท่ี 12 ประกอบดวยจังหวัดรอยเอ็ด ขอนแกน มหาสารคาม และจังหวัดกาฬสินธุ

2. ขอบเขตของผูรับการตรวจ ไดแก หนวยงานทางการศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

จํานวน 30 แหง ดังนี้

1) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด 4 จังหวัด ไดแก

(1) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดรอยเอ็ด

(2) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดขอนแกน

(3) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดมหาสารคาม

(4) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ

2) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา (สพป.) 14 เขต ไดแก

(1) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษารอยเอ็ด เขต 1

(2) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษารอยเอ็ด เขต 2

(3) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษารอยเอ็ด เขต 3

(4) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต 1

(5) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต 2

(6) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต 3

(7) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต 4

(8) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต 5

Page 31: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

5

(9) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1

(10) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2

(11) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3

(12) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ เขต 1

(13) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ เขต 2

(14) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ เขต 3

3) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) เขต 4ไดแก

(1) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 (กาฬสินธุ)

(2) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 25(ขอนแกน)

(3) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 26(มหาสารคาม)

(4) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 (รอยเอ็ด)

4) สํานักงานอาชีวศึกษาจังหวัด 4 แหง ไดแก

(1) สํานักงานอาชีวศึกษาจังหวัดรอยเอ็ด

(2) สํานักงานอาชีวศึกษาจังหวัดขอนแกน

(3) สํานักงานอาชีวศึกษาจังหวัดมหาสารคาม

(4) สํานักงานอาชีวศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ

5) สํานักงาน กศน.จังหวัด 4 แหง ไดแก

(1) สํานักงาน กศน.จังหวัดรอยเอ็ด

(2) สํานักงาน กศน.จังหวัดขอนแกน

(3) สํานักงาน กศน.จังหวัดมหาสารคาม

(4) สํานักงาน กศน.จังหวัดกาฬสินธุ

ขอบเขตดานเนื้อหา

ขอบเขตดานเนื้อหา ไดแก นโยบาย/ประเด็นการการตรวจราชการ ประจําปงบประมาณพ.ศ. 2561

ตามคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการท่ี สป 1828/2560 ลงวันท่ี 8 พฤศจิกายน 2560 ประกอบดวยนโยบาย ดังนี้

1. การยกระดับคุณภาพการศึกษา

2. การจัดการศึกษาปฐมวัย

3. การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

4. การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห

5. การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ

6. การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ

Page 32: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

6

7. การยกระดับคุณภาพสถานศึกษาท่ีตองการความชวยเหลือและพัฒนาเปนพิเศษอยาง

เรงดวน (ICU)

8. การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก

9. การอานออกเขียนได

10. การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา

11. การขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค

12. การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

13. การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและ

พ้ืนท่ีพิเศษ

14. การพัฒนาครูท้ังระบบ

15. การพัฒนานักเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด

เนื่องจาก นายกรัฐมนตรีไดสั่งการในคราวประชุมคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 3 มกราคม 2561 ใหกระทรวง

ศึกษาธิการเรงรัดดําเนินการพัฒนาระบบการศึกษาในภาพรวมของประเทศใหมีประสิทธิภาพและใหความสําคัญ

กับเรื่องท่ีเก่ียวของและมีผลกระทบกับประชาชน กอปรกับกระทรวงศึกษาธิการโดยสํานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาข้ันพ้ืนฐานไดยุติการดําเนินการโครงการยกระดับคุณภาพโรงเรียนท่ีตองการความชวยเหลือและพัฒนา

เปนพิเศษอยางเรงดวน (ICU) จึงไดยกเลิกคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สป 1828/2560 ลงวันท่ี 8 พฤศจิกายน

2560 และมีคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สป. 403/2561 ลงวันท่ี 23 กุมภาพันธ 2561 มอบหมายใหผูตรวจ

ราชการกระทรวงศึกษาธิการตรวจราชการตามนโยบายการตรวจราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ดังนี้

1. การยกระดับคุณภาพการศึกษา

2. การจัดการศึกษาปฐมวัย

3. การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

4. การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห

5. การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ

6. การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ

7. การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก

8. การอานออกเขียนได

9. การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา

10. การขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค

11. การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

Page 33: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

7

12. การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและ

พ้ืนท่ีพิเศษ

13. การพัฒนาครูท้ังระบบ

14. การพัฒนานักเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด

5. คํานิยามศัพท

การตรวจราชการ หมายถึงการตรวจ ติดตามผล เรงรัด แนะนํา สืบสวน สอบสวน สอบขอเท็จจริง

สดับตรับฟงเหตุการณ เสนอแนะ ติดตอประสานงาน ตรวจเยี่ยมหรือดําเนินการอ่ืนใดเพ่ือใหการปฏิบัติงาน

ของหนวยงานของรัฐและเจาหนาท่ีของรัฐสัมฤทธิ์ผลตามนโยบายของรัฐบาลและของกระทรวง

เขตตรวจราชการท่ี 12 หมายถึงการกําหนดเขตตรวจราชการของผูตรวจราชการสํานัก

นายกรัฐมนตรีใหสอดคลองกับการปรับปรุงการจัดกลุมจังหวัดและการกําหนดจังหวัดท่ีเปนศูนยปฏิบัติการ

กลุมจังหวัด 18 กลุมจังหวัด ตามมติคณะรัฐมนตรี โดยใหทุกระทรวง ทบวง กรม ปรับปรุงเขตตรวจราชการให

สอดคลองกับการกําหนดเขตตรวจราชการ สํานักนายกรัฐมนตรีจึงมีคําสั่งสํานักนายกรัฐมนตรีท่ี 10/2551 ลง

วันท่ี 13 มกราคม 2551 เรื่อง การกําหนดเขตตรวจราชการของผูตรวจราชการสํานักนายกรัฐมนตรี โดยเขต

ตรวจราชการท่ี 12 ประกอบดวย จังหวัดรอยเอ็ด ขอนแกน มหาสารคาม และจังหวัดกาฬสินธุ

องคกรหลักของการตรวจราชการ หมายถึงหนวยงานทางการศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการใน

พ้ืนท่ีเขตตรวจราชการท่ี 12 ไดแก สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา กลุมสงเสริมการศึกษาเอกชน สํานักงานอาชีวศึกษาจังหวัด และ

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด

6. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

กระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานตนสังกัดนําผลการดําเนินงาน ปญหา/อุปสรรค และขอเสนอแนะ

ตามนโยบายการตรวจราชการกรณีปกติของกระทรวงศึกษาธิการ รอบท่ี 1 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

ในเขตตรวจราชการท่ี 12 สําหรับเปนขอมูลสารสนเทศในการปรับปรุงและพัฒนาแนวทางการดําเนินงานตาม

นโยบายแหงรัฐและกระทรวงศึกษาธิการ

Page 34: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

7

บทท่ี 2

ขอมูลและเอกสารท่ีเกี่ยวของ

จากการศึกษาวิเคราะหขอมูลจากบริบทท่ีเก่ียวของ เพ่ือใชเปนขอมูลประกอบการกําหนดแนวคิด

สําหรับการจัดทํารายงานการสนับสนุนการตรวจราชการของผูตรวจราชการ กระทรวงศึกษาธิการ ประจําเขตตรวจราชการท่ี 12 รอบท่ี 1 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีขอมูลสําคัญท่ีใชศึกษา ประกอบดวย 1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546

2. พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 3. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการตรวจราชการ การติดตามตรวจสอบ และประเมินผล

การจัดการศึกษา พ.ศ. 2560 4. คําสั่งคณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี 19/2560

5. นโยบายของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นายแพทยธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป)

6. นโยบายการตรวจราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

7. แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 (แผน 20 ป)

8. สภาพท่ัวไปของสํานักงานศึกษาธิการภาค 12 1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 20 ไดบัญญัติไววาใหกระทรวงศึกษาธิการมีผูตรวจราชการของกระทรวง เพ่ือทําหนาท่ีในการตรวจราชการ ศึกษา วิเคราะห วิจัย ติดตาม และประเมินผลระดับนโยบาย เพ่ือนิเทศใหคําปรึกษาและแนะนําเพ่ือการปรับปรุงพัฒนาในระดับสํานักงานคณะกรรมการหรือสวนราชการท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืน ใหทําหนาท่ีติดตามและประเมินผลนโยบายตามภารกิจ ตลอดจนนิเทศ ใหคําปรึกษาและแนะนําเพ่ือปรับปรุงพัฒนาในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ใหเปนการศึกษา วิเคราะห วิจัย นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการดําเนินการโดยมุงเนนผลสัมฤทธิ์ของหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพ่ือการเตรียมการรับการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลจากหนวยงานภายนอก การดําเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสาม ใหมีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการและคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เปนผูรับผิดชอบดําเนินการ สําหรับกระทรวงศึกษาธิการหรือสําหรับแตละเขตพ้ืนท่ีการศึกษา การดําเนินการจะตองไมกระทบกระเทือนตอสาระการบริหารและการจัดการของสถานศึกษาของรัฐท่ีจัดการศึกษาระดับปริญญาท่ีเปนนิติบุคคลในสายบังคับบัญชาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาท่ีสามารถดําเนินกิจการไดโดยอิสระ พัฒนาระบบบริหาร และการจัดการท่ีเปนของตนเอง มีความคลองตัว มี

Page 35: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

8

เสรีภาพทางวิชาการ และอยูภายใตการกํากับดูแลของสภาสถานศึกษาตามกฎหมายวาดวยการจัดต้ังสถานศึกษานั้น

2. พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546

พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 มาตรา 6 กําหนดวา การบริหารราชการตองเปนไปเพ่ือประโยชนสุขแกประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐโดยประชาชนไดรับการอํานวยความสะดวกและไดรับการตอบสนองความตองการและมาตรา 9 ไดกําหนดไววา การบริหารราชการเพ่ือใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐใหสวนราชการปฏิบัติ ดังตอไปนี้ 1) กอนจะดําเนินการตามภารกิจใด สวนราชการตองจัดทําแผนปฏิบัติราชการไวเปนการลวงหนา 2) การกําหนดแผนปฏิบัติราชการของสวนราชการตาม (1) ตองมีรายละเอียดของข้ันตอนระยะเวลาและงบประมาณท่ีจะตองใชในการดําเนินการของแตละข้ันตอนเปาหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ และตัวชี้วัดความสําเร็จของภารกิจ 3) สวนราชการตองจัดใหมีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีสวนราชการกําหนดข้ึน ซ่ึงตองสอดคลองกับมาตรฐานท่ี ก.พ.ร. กําหนด 4) ในกรณีท่ีการปฏิบัติภารกิจหรือการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการเกิดผลกระทบตอประชาชน ใหเปนหนาท่ีของสวนราชการท่ีจะตองดําเนินการแกไขหรือบรรเทาผลกระทบนั้น หรือเปลี่ยนแผนปฏิบัติราชการใหเหมาะสม

3. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การจัดการศึกษา พ.ศ. 2560 การตรวจราชการของกระทรวงศึกษาธิการ ในปจจุบันไดใชแนวปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการตรวจราชการ พ.ศ. 2548 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 (มาตรา 20) และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการตรวจ ติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษา พ.ศ. 2549 ซ่ึงขอนําเสนอตามประเด็นท่ีเก่ียวของกับการตรวจราชการของกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้ การตรวจราชการ มีวัตถุประสงค ดังนี้ (1) เพ่ือชี้แจงนโยบาย ประสานงานและเรงรัดใหผูรับการตรวจ นําแผนการศึกษาแหงชาติ แผนการบริหารราชการแผนดิน นโยบายของรัฐบาล และนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ไปจัดทําแผนปฏิบัติราชการใหครบถวน (2) เพ่ือติดตาม ประเมินผล และเสนอแนะการบริหารงบประมาณการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับหลักการศึกษา แนวทางการจัดการศึกษา และคุณภาพมาตรฐานการศึกษา (3) เพ่ือศึกษา วิเคราะห วิจัย ติดตามและประเมินผลระดับนโยบาย เพ่ือนิเทศใหคําปรึกษา เพ่ือการปรับปรุงพัฒนาแกสวนราชการและหนวยงานการศึกษา (4) เพ่ือเรงรัดติดตามความกาวหนา ความสําเร็จ ปญหาอุปสรรค และเสนอแนะในการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการ

Page 36: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

9

(5) เพ่ือตรวจเยี่ยม รับฟงหรือสดับตรับฟงทุกขสุข ความคิดเห็น นิเทศ ชวยเหลือ แนะนํา ชี้แจงใหเจาหนาท่ีมีสมรรถนะและขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงาน การตรวจราชการ การติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษาระดับกระทรวง เปนการตรวจราชการ ศึกษา วิเคราะห วิจัย ติดตามและประเมินผลระดับนโยบาย เพ่ือนิเทศ ใหคําปรึกษา และแนะนําเพ่ือการปรับปรุงพัฒนาเก่ียวกับการปฏิบัติราชการของหนวยงานและเจาหนาท่ีในขอบเขตอํานาจหนาท่ีของกระทรวงศึกษาธิการในฐานะผูสอดสองดูแลแทนรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธกิาร และปลัดกระทรวงศึกษาธิการ การตรวจราชการจะตองไมกระทบกระเทือนตอสาระการบริหารและการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาของรัฐท่ีจัดการศึกษาระดับปริญญาท่ีเปนนิติบุคคลท่ีสามารถดําเนินกิจการไดโดยอิสระ พัฒนาระบบบริหารและการจัดการท่ีเปนของตนเอง มีความคลองตัวมีเสรีภาพทางวิชาการ และอยูภายใตการกํากับดูแลของสภาสถานศึกษาตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งสถานศึกษานั้น ใหปลัดกระทรวงศึกษาธิการแตงตั้งผูตรวจราชการคนหนึ่ง เปนหัวหนาผูตรวจราชการ มีหนาท่ีใหคําปรึกษาแนะนําแกผูตรวจราชการ เพ่ือใหการปฏิบัติงานของผูตรวจราชการเปนไปตามระเบียบนี้ และจะใหมีรองหัวหนาผูตรวจราชการดวยก็ได ใหนําระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการตรวจราชการมาใชบังคับกับการตรวจราชการของผูตรวจราชการโดยอนุโลม และใหผูตรวจราชการมีอํานาจหนาท่ี ดังนี้ (1) สั่งเปนลายลักษณอักษร ใหผูรับการตรวจปฏิบัติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ใหถูกตองตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ มติของคณะรัฐมนตรี หรือคําสั่งของนายกรัฐมนตรี (2) สั่งเปนลายลักษณอักษรใหผูรับการตรวจ ปฏิบัติหรืองดเวนการปฏิบัติงานใด ๆ ในระหวางการตรวจราชการไวกอน หากเห็นวาจะกอใหเกิดความเสียหายแกทางราชการหรือประชาชน อยางรายแรง และเม่ือผูตรวจราชการไดสั่งการดังกลาวแลวใหรายงานผูบังคับบัญชาเพ่ือทราบหรือพิจารณาโดยดวน (3) สั่งใหผูรับการตรวจชี้แจง ใหถอยคํา หรือสงเอกสารและหลักฐานเก่ียวกับการปฏิบัติงานเพ่ือประกอบการพิจารณา (4) สอบขอเท็จจริง สืบสวนขอเท็จจริง หรือสดับตรับฟงเหตุการณ เม่ือไดรับการรองเรียน หรือเม่ือมีเหตุอันควร โดยประสานการดําเนินงานกับหนวยงานตรวจสอบอ่ืน ๆ เพ่ือแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชนหรือปญหาอุปสรรคของผูรับการตรวจ (5) ศึกษา วิเคราะห วิจัย ติดตามและประเมินผลระดับนโยบายเพ่ือนิเทศใหคําปรึกษาแนะนําเพ่ือปรับปรุงพัฒนา (6) แตงตั้งบุคคลหรือคณะทํางานเพ่ือสนับสนุนการดําเนินงานตามอํานาจหนาท่ีไดตามความเหมาะสม (7) ปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ตามท่ีผูบังคับบัญชามอบหมาย ใหปลัดกระทรวงศึกษาธิการมอบหมายขาราชการปฏิบัติหนาท่ีผูชวยผูตรวจราชการ โดยใหมีหนาท่ี ดังนี้

Page 37: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

10

(1) รวบรวม ศึกษา วิเคราะห และจัดทํารายละเอียดขอมูลนโยบาย แผนงาน งาน โครงการ จุดเนนและประเด็นการตรวจราชการ ในระดับเขตตรวจราชการ (2) จัดทําและประสานแผนปฏิบัติการตรวจราชการของผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการประจําป รวมกับสํานักงานศึกษาธิการภาคและหนวยงานสนับสนุนการตรวจราชการ ในระดับเขตตรวจราชการ (3) จัดทําแนวทางการตรวจราชการประจําปในระดับเขตตรวจราชการ (4) ประสานและสนับสนุนขอมูลดานการศึกษา ระเบียบ กฎหมาย และขอมูลสารสนเทศท่ีเก่ียวของ ประกอบการปฏิบัติราชการของผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ (5) รวมปฏิบัติการตรวจราชการกับผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และประสานการตรวจราชการกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ (6 ) จั ด ทํ า รายงานผลการตรวจราชการ หลั งการตรวจราชการเสนอผู ต รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือรายงานผูบริหารระดับสูง (7) จัดทํารายงานผลการตรวจราชการภาพรวมและรายรอบรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ (8) ติดตามผลการดําเนินงานตามขอเสนอแนะ ขอสั่งการ ของผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และผูบริหารระดับสูงในระดับเขตตรวจราชการ (9) ปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ท่ีผูบังคับบัญชามอบหมาย ท้ังนี้ จํานวน หลักเกณฑและวิธีการไดมาซ่ึงผูชวยผูตรวจราชการตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามท่ีปลัดกระทรวงศึกษาธิการกําหนด ผูรับการตรวจ มีหนาท่ี ดังนี้ (1) อํานวยความสะดวก และใหความรวมมือในการปฏิบัติงานแกผูตรวจราชการ หรือผูทําหนาท่ีตามท่ีไดรับมอบหมาย (2) จัดเตรียมบุคคล เอกสาร หลักฐาน ในการปฏิบัติงานใหครบถวนสมบูรณ พรอมท่ีจะรับการตรวจ (3) ชี้แจงหรือตอบคําถาม พรอมท้ังใหขอมูลใด ๆ อันเปนประโยชนตอการตรวจราชการ (4) จัดใหมีสมุดตรวจราชการตามแบบท่ีกฎหมายหรือระเบียบกําหนด (5) ปฏิบัติหรืองดเวนการปฏิบัติงานใด ๆ ท่ีผูตรวจราชการไดตรวจและแนะนําในระหวางการตรวจราชการ หากไมสามารถปฏิบัติได ใหรายงานผูบังคับบัญชาเพ่ือทราบหรือพิจารณาและรายงานใหผูตรวจราชการทราบภายในสบิหาวัน (6) รายงานความกาวหนา ความสําเร็จของผลการดําเนินงานตามขอสั่งการหรือขอเสนอแนะของผูตรวจราชการตอผูบังคับบัญชา และผูตรวจราชการ (7) ดําเนินการอ่ืนใดท่ีเปนประโยชนในการตรวจราชการ ในระหวางการตรวจราชการแตละครั้ง ถาผูตรวจราชการพบเห็นปญหา อุปสรรค หรือแนวโนมท่ีจะเกิดผลกระทบตอการบริหารจัดการศึกษาหรือประเทศโดยสวนรวม หรือตอผลสัมฤทธิ์ของนโยบาย โครงการหรือแผนงาน ใหรีบทํารายงานโดยสรุปพรอมขอเสนอแนะตอหัวหนาหนวยงาน ผูรับการตรวจเพ่ือดําเนินการแกไขใหลุลวงโดยเร็วแลวแจงใหผูตรวจราชการทราบภายในสามสิบวันนับแตไดรับรายงานจากผูตรวจราชการ ในการตรวจราชการตามขอ 16 เม่ือเสร็จสิ้นการตรวจราชการแตละคราว ใหผูตรวจราชการ รายงานผลการตรวจราชการตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการผานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

Page 38: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

11

เม่ือรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ไดสั่งการหรือมีความเห็นในรายงานผลการตรวจราชการเปนประการใดแลว ใหสวนราชการหรือหนวยงานการศึกษาท่ีเก่ียวของรับไปดําเนินการ และรายงานใหทราบโดยเร็ว

4. คําส่ังหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี 19/2560 เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ขอ 5 กําหนดใหมีสํานักงานศึกษาธิการภาค จํานวนสิบแปดภาค สังกัดสํานักงานปลัด กระทรวงกระทรวงศึกษาธิการ ตามบัญชีท่ีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด เพ่ือปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการในระดับพ้ืนท่ี ทําหนาท่ีขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด โดยการอํานวยการ สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาการศึกษาแบบรวมมือและบูรณาการกับหนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานอ่ืนหรือภาคสวนท่ีเก่ียวของในพ้ืนท่ีนั้น ๆ และขอ 11 ใหมีสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการเก่ียวกับการบริหารและการจัดการศึกษาตามท่ีกฎหมายกําหนด การปฏิบัติราชการตามอํานาจหนาท่ี นโยบาย และยุทธศาสตรของสวนราชการตาง ๆ

5. นโยบายของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นายแพทยธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป) รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ไดกําหนดจุดเนนนโยบายกระทรวงศึกษาธิการเพ่ือใชเปนกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนนโยบายและใหทุกสวนราชการ/หนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการนําไปดําเนินการ ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้ 4.1 นอมนําแนวพระราชดําริ สืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบายดานการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช และสมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูล มาขับเคลื่อนงานดานการศึกษาใหเกิดเปนรูปธรรม 4.2 การดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป โดยยึดยุทธศาสตรชาติเปนจุดเนนดานการศึกษาท่ีจะดําเนินการ 6 ดาน คือ 1) ความม่ันคง 2) การสรางความสามารถในการแขงขัน 3) การพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน 4) การสรางโอกาสความเสมอภาคและเทาเทียมกันทางสังคม 5) การสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 6) การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 4.3 จุดเนนการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ 1) ดําเนินการภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ.2560-2579) 2) ทุกโครงการของกระทรวงศึกษาธิการตองเนนความโปรงใส และตอตานการทุจริตคอรัปชั่น 3) กระทรวงศึกษาธิการ ตองมีคุณลักษณะ MM = Modernized MOE มีการดําเนินการสอดคลองกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร พุทธศักราช 2560 4) ดําเนินการเรงดวนตามขอสั่งการของนายกรัฐมนตรีใหเห็นผลการดําเนินการเปนรูปธรรม

Page 39: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

12

6. นโยบายการตรวจราชการของกระทรวงศึกษาธิการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 คําสั่งกระทรวงศึกษาธิการท่ี สป 1828/2560 ลงวันท่ี 8 พฤศจิกายน 2560 ประกอบดวยนโยบาย

ดังนี้

1. การยกระดับคุณภาพการศึกษา

2. การจัดการศึกษาปฐมวัย

3. การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

4. การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห

5. การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ

6. การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ

7. การยกระดับคุณภาพสถานศึกษาท่ีตองการความชวยเหลือและพัฒนาเปนพิเศษอยางเรงดวน (ICU)

8. การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก

9. การอานออกเขียนได

10. การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา

11. การขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค

12. การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

13. การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพ้ืนท่ีพิเศษ

14. การพัฒนาครูท้ังระบบ

15. การพัฒนานักเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด

เนื่องจาก นายกรัฐมนตรีไดสั่งการในคราวประชุมคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 3 มกราคม 2561 ให

กระทรวงศึกษาธิการเรงรัดดําเนินการพัฒนาระบบการศึกษาในภาพรวมของประเทศใหมีประสิทธิภาพและให

ความสําคัญกับเรื่องท่ีเก่ียวของและมีผลกระทบกับประชาชน กอปรกับกระทรวงศึกษาธิการโดยสํานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไดยุติการดําเนินการโครงการยกระดับคุณภาพโรงเรียนท่ีตองการความ

ชวยเหลือและพัฒนาเปนพิเศษอยางเรงดวน (ICU) จึงไดยกเลิกคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สป 1828/2560

ลงวันท่ี 8 พฤศจิกายน 2560 และมีคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สป. 403/2561 ลงวันท่ี 23 กุมภาพันธ

2561 มอบหมายใหผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการตรวจราชการตามนโยบายการตรวจราชการ ประจําป

งบประมาณ พ.ศ. 2561 ดังนี้

1. การยกระดับคุณภาพการศึกษา

2. การจัดการศึกษาปฐมวัย

3. การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

4. การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห

Page 40: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

13

5. การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ

6. การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ

7. การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก

8. การอานออกเขียนได

9. การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา

10. การขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค

11. การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

12. การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพ้ืนท่ีพิเศษ

13. การพัฒนาครูท้ังระบบ

14. การพัฒนานักเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด

7. แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 (แผน 20 ป) ประกอบดวย 6 ยุทธศาสตร มีรายละเอียด ดังนี้ ยุทธศาสตรท่ี 1 การจัดการศึกษาเพ่ือความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ เปาหมายท่ี 1: คนทุกชวงวัยมีความรักสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข เปาหมายท่ี 2 : คนทุกชวงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพ้ืนท่ีพิเศษไดรับการศึกษาและเรียนรูอยางมีคุณภาพ เปาหมายท่ี 3 : คนทุกชวงวัยไดรับการศึกษา การดูแลและปองกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม ยุทธศาสตรท่ี 2 การผลิตและพัฒนากําลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพ่ือสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ เปาหมายท่ี 1: กําลังคนมีทักษะท่ีสําคัญจําเปนและมีสมรรถนะตรงตามความตองการของ ตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เปาหมายท่ี 2 : สถาบันการศึกษาและหนวยงานท่ีจัดการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีความเชี่ยวชาญและเปนเลิศเฉพาะดาน เปาหมายท่ี 3: การวิจัยและพัฒนาเพ่ือสรางองคความรู และนวัตกรรมท่ีสรางผลผลิตและ มูลคาเพ่ิมทางเศรษฐกิจ ยุทธศาสตรท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู เปาหมายท่ี 1: ผูเรียนมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทยและทักษะและ คุณลักษณะท่ีจาเปนในศตวรรษท่ี 21 เปาหมายท่ี 2: คนทุกชวงวัยมีทักษะความรูความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตไดตามศักยภาพ

Page 41: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

14

เปาหมายท่ี 3 : สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรูตามหลักสูตรอยางมีคุณภาพและมาตรฐาน เปาหมายท่ี 4 : แหลงเรียนรู สื่อตําราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรูมีคุณภาพและมาตรฐานและประชาชนสามารถเขาถึงไดโดยไมจากัดเวลาและสถานท่ี เปาหมายท่ี 5 : ระบบและกลไกการวัด การติดตามและประเมินผลมีประสิทธิภาพ เปาหมายท่ี 6 : ระบบการผลิตครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาไดมาตรฐานระดับสากล เปาหมายท่ี 7: ครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน ยุทธศาสตรท่ี 4 การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมทางการศึกษา เปาหมายท่ี 1 : ผูเรียนทุกคนไดรับโอกาสและความเสมอภาคในการเขาถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพ เปาหมายท่ี 2 : การเพ่ิมโอกาสทางการศึกษา ผานเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษา สําหรับคนทุกชวงวัย เปาหมายท่ี 3 : ระบบขอมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกตอง เปนปจจุบัน เพ่ือการวางแผน การบริหารจัดการศึกษา การติดตามประเมิน และรายงานผล ยุทธศาสตรท่ี 5 การจัดการศึกษาเพ่ือสรางเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม เปาหมายท่ี 1: คนทุกชวงวัย มีจิตสํานึกรักษสิ่งแวดลอม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ เปาหมายท่ี 2: หลักสูตร แหลงเรียนรู และสื่อการเรียนรูท่ีสงเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม คุณธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ เปาหมายท่ี 3 : การวิจัยเพ่ือพัฒนาองคความรูและนวัตกรรมดานการสรางเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ยุทธศาสตรท่ี 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา เปาหมายท่ี 1: โครงสราง บทบาทและระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคลองตัว ชัดเจนและสามารถตรวจสอบได เปาหมายท่ี 2: ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สงผลตอ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา เปาหมายท่ี 3: ทุกภาคสวนของสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความตองการของประชาชนและพ้ืนท่ี เปาหมายท่ี 4: กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะท่ีแตกตางกันของผูเรียน สถานศึกษา และความตองการกําลังแรงงานของประเทศ เปาหมายท่ี 5: ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษามีความเปนธรรม สรางขวัญกําลังใจ และสงเสริมใหปฏิบัติงานไดอยางเต็มตามศักยภาพ

8. สภาพท่ัวไปของสํานักงานศึกษาธิการภาค 12

Page 42: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

15

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12 เปนหนวยงานท่ีจัดตั้งข้ึนใหมตามคําสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี 19/2560 เรื่องการปฏิรูปการศึกษา ในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ สั่ง ณ วันท่ี 3 เมษายน 2560 ปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการในระดับพ้ืนท่ี ทําหนาท่ีขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัดโดยการอํานวยการ สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาการศึกษาแบบรวมมือและบูรณาการกับหนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานอ่ืน หรือภาคสวนท่ีเก่ียวของในพ้ืนท่ีนั้นๆ โดยมีอํานาจหนาท่ี ดังนี้ 1) กําหนดยุทธศาสตรและบทบาทการพัฒนาภาคตางๆ ใหเชื่อมโยงและสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาประเทศ ทิศทางการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการในระดับภูมิภาคหรือจังหวัด นโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการ และยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด รวมท้ังการพัฒนาดานอ่ืนๆ ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ตามศักยภาพและโอกาสของบุคคลและชุมชนในแตละพ้ืนท่ี 2) สนับสนุนการพัฒนาจังหวัดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบเก่ียวกับงานดานวิชาการ การวิจัยและพัฒนา 3) กํากับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ 4) สนับสนุนการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการดําเนินงานตํามนโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ 5) ประสานการบริหารงานระหวางราชการสวนกลางและสวนภูมิภาคใหเกิดการพัฒนาอยางบูรณาการในระดับพ้ืนท่ีของหลายจังหวัด โดยยึดการมีสวนรวมและประโยชนสุขของประชาชนเปนหลัก 6) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอ่ืนท่ีเก่ียวของหรือท่ีไดรับมอบหมาย สํานักงานศึกษาธิการภาค 12 ตั้งอยูเลขท่ี 100/1 หมู 15 ถนนกสิกรทุงสราง ตําบลศิลา อําเภอเมืองขอนแกน จังหวัดขอนแกน 40000 โทรศัพท 043-238766 โทรสาร 043-238767 มีพ้ืนท่ีในความรับผิดชอบของสํานักงานศึกษาธิการภาค 12 ประกอบดวย 4 จังหวัด ไดแก จังหวัดรอยเอ็ด ขอนแกน มหาสารคาม และจังหวัดกาฬสินธุ มีสภาพท่ัวไปของกลุมจังหวัดท่ีสําคัญสรุป ดังนี้ 1) อาณาเขต สํานักงานศึกษาธิการภาค 12 ตั้งอยูตอนกลางภาคตะวันออกเฉียงเหนือบนพ้ืนท่ีราบลุมแมน้ําชีท่ีอยูตอนกลางของพ้ืนท่ีและท่ีราบลุมแมน้ํามูล ซ่ึงอยูทางตอนใตของพ้ืนท่ี โดยทางทิศตะวันตกและทิศเหนือจะมีสภาพเปนภูเขาเทลาดมาทางทิศตะวันออก และมีอาณาเขต ดังนี้

• ทิศเหนือ ติดตอกับ จังหวัดสกลนคร อุดรธานี หนองบัวลําภู และจังหวัดเลย

• ทิศใต ติดตอกับ จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย สุรินทร และจังหวัดศรีสะเกษ

• ทิศตะวันออก ติดตอกับ จังหวัดยโสธร และจังหวัดมุกดาหาร

• ทิศตะวันตก ติดตอกับ จังหวัดชัยภูมิ และจังหวัดเพชรบูรณ 2) สภาพสังคม 2.1) ดานการศึกษา สภาพการศึกษาของกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ถือไดวามีความพรอมในการเปนศูนยกลางการศึกษาของภูมิภาค โดยมีสถาบันการศึกษาตั้งแตระดับประถมศึกษาถึงระดับอุดมศึกษาท่ีพรอมจะใหบริการ ท้ังการศึกษาในระบบและนอกระบบ โดยมีสถาบันการศึกษาท่ีสําคัญ เชน มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏ

Page 43: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

16

รอยเอ็ด มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตอีสาน มหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ อําเภอบานไผ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน รวมถึงสถาบันอุดมศึกษาของของภาคเอกชน เชน มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยเอเชียบัณฑิต เปนตน นอกจากนี้ยังมีสถาบันกวดวิชาของภาคเอกชน ซ่ึงมีการเปดสอนท้ังภาษาไทย และภาษาตางประเทศจํานวนมาก รวมถึงยังเปนท่ีตั้งของสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค 6 ขอนแกน ท่ีพรอมจะสนับสนุนใหกับภาคแรงงาน 2.2) ดานการสาธารณสุข มีสถานพยาบาลท้ังของภาครัฐและอกชน รวมถึงศูนยรักษาพยาบาลเฉพาะทาง เชน โรคหัวใจ เปนตน ท้ังนี้ในการดูแลดานสุขภาพและการสาธารณสุขของประชาชนในกลุมจังหวัดและในภูมิภาคนั้น ถือไดวากลุมจังหวัดมีความพรอมในการเปนศูนยกลางดานสุขภาพ โดยเฉพาะจังหวัดขอนแกน 2.3) วิถีชีวิตความเปนอยู การดําเนินวิถีชีวิตของประชากรในกลุมจังหวัดจะเปนไปตามลักษณะของสภาพการพัฒนาทางเศรษฐกิจ กลาวคือ มีการดําเนินวิถีชีวิตท้ังในแบบสังคมชนบทและสังคมเมือง โดยสวนใหญยังคงใชการดําเนินวิถีชีวิตแบบสังคมชนบท เนื่องมีพ้ืนฐานการประกอบอาชีพสวนใหญเปนเกษตรกรรม โดยมีการพ่ึงพาและชวยเหลือซ่ึงกันและกันตามสถานะภาพ มีการยึดม่ันและรักษาประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิม สวนการดําเนินวิถีชีวิตของประชาชนสังคมเมืองจะมีลักษณะเปนวิถีชีวิตแบบครอบครัวเดี่ยวเปนสวนใหญ 2.4) การทองเท่ียว กลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง จะมีแหลงทองเท่ียวท่ีหลากหลายท้ังการทองเท่ียวทางวัฒนธรรม โบราณสถานและธรรมชาติ ซ่ึงกระจายในพ้ืนท่ีจังหวัดตางๆท่ีสําคัญ ดังนี้

• จังหวัดขอนแกน ไดแก พระธาตุขามแกน ปราสาทเปอยนอย พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พิพิธภัณฑและซากไดโนเสาร อ.ภูเวียง ผาไหม อ.ชนบท อุทยานแหงชาติภูผามาน อุทยานแหงชาติน้ําพอง อุทยานแหงชาติภูเกา–ภูพานคํา เข่ือนอุบลรัตน เปนตน

• จังหวัดกาฬสินธุ ไดแก พระธาตุยาคู พิพิธภัณฑของดีเมืองกาฬสินธุ พระธาตุพุทธสถูปสถานภูปอ เมืองฟาแดดสูงยาง เข่ือนลําปาว หมูบานวัฒนธรรมโนนสงา พิพิธภัณฑไดโนเสารศูนยสิรินธร

• จังหวัดมหาสารคาม ไดแก พระธาตุนาดูน แหลงโบราณสถานเมืองจําปาศรี ปาดูน ลําพัน วนอุทยานโกสัมพี

• จังหวัดรอยเอ็ด ไดแก บึงพลาญชัย พระมหาเจดียชัยมงคล วนอุทยานผาน้ํายอย ปรางคกู กาสิงห เปนตน ท้ังนี้สภาพการทองเท่ียวโดยท่ัวไปยังไมโดดเดนนัก สวนใหญจะเปนนักทองเท่ียวชาวไทยมากกวานักทองเท่ียวชาวตางประเทศ 3) ขอมูลดานคุณภาพการศึกษา

Page 44: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560

2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ

1 ระดับประเทศ 42.25 46.58 4.33 34.59 36.34 1.75 40.47 37.12 -3.35 41.22 39.12 -2.10

2 ระดับ ศธภ.12 41.44 44.68 3.24 -1.90 31.55 33.06 1.51 -3.28 38.60 35.16 -3.44 -1.96 40.35 37.87 -2.48 -1.25

3 กาฬสินธุ 40.50 43.89 3.39 -2.69 30.45 31.51 1.06 -4.83 37.74 33.94 -3.80 -3.18 39.59 37.30 -2.29 -1.82

4 ขอนแกน 41.26 44.68 3.42 -1.90 32.13 33.88 1.75 -2.46 38.17 35.05 -3.12 -2.07 39.98 37.77 -2.21 -1.35

5 มหาสารคาม 42.15 45.56 3.41 -1.02 30.55 33.02 2.47 -3.32 38.51 35.83 -2.68 -1.29 40.28 38.40 -1.88 -0.72

6 รอยเอ็ด 41.90 44.68 2.78 -1.90 32.25 33.13 0.88 -3.21 39.89 35.75 -4.14 -1.37 41.48 38.06 -3.42 -1.06

7 สพฐ. 41.27 44.30 3.03 -2.28 30.03 31.48 1.45 -4.86 38.03 34.58 -3.45 -2.54 40.11 37.57 -2.54 -1.55

8 สพม. 0.00 -46.58 0.00 -36.34 0.00 -37.12 0.00 -39.12

9 สพป. 41.27 44.30 3.03 -2.28 30.03 31.48 1.45 -4.86 38.03 34.58 -3.45 -2.54 40.11 37.57 -2.54 -1.55

10 สช. 42.60 46.75 4.15 0.17 37.22 38.81 1.59 2.47 41.47 37.69 -3.78 0.57 41.56 39.37 -2.19 0.25

11 สกอ. 50.69 58.39 7.70 11.81 58.06 58.15 0.09 21.81 59.25 53.41 -5.84 16.29 51.93 48.26 -3.67 9.14

12 สศศ. 37.60 37.60 -8.98 31.28 31.28 -5.06 28.78 28.78 -8.34 33.78 33.78 -5.34

13 สถ. 38.87 41.70 2.83 -4.88 31.39 32.61 1.22 -3.73 34.46 32.43 -2.03 -4.69 38.18 35.88 -2.30 -3.24

14 สถาบันพลศึกษา 0.00 -46.58 0.00 -36.34 0.00 0.00

15 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป (ม.6) 0.00 -46.58 0.00 -36.34 0.00 0.00

16 พศ. 0.00 -46.58 0.00 -36.34 0.00 0.00

แถว สังกัด

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)

ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2560

ในพื้นที่รับผิดชอบสํานักงานศึกษาธิการภาค 12

ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตรภาษาอังกฤษ

Page 45: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560

2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ

1 ระดับประเทศ 46.36 48.29 1.93 31.80 30.45 -1.35 29.31 26.30 -3.01 34.99 32.28 -2.71

2 ระดับ ศธภ.12 44.90 46.80 1.90 -1.49 29.70 28.95 -0.75 -1.50 27.68 24.38 -3.30 -1.92 34.11 31.32 -2.79 -0.96

3 กาฬสินธุ 44.19 45.99 1.80 -2.30 28.52 28.09 -0.43 -2.36 26.72 23.00 -3.72 -3.30 33.31 30.84 -2.47 -1.44

4 ขอนแกน 45.06 46.93 1.87 -1.36 30.27 29.37 -0.90 -1.08 27.63 24.65 -2.98 -1.65 34.25 31.27 -2.98 -1.01

5 มหาสารคาม 45.39 47.38 1.99 -0.91 29.89 29.11 -0.78 -1.34 28.59 25.35 -3.24 -0.95 34.43 31.87 -2.56 -0.41

6 รอยเอ็ด 44.88 46.81 1.93 -1.48 29.61 28.86 -0.75 -1.59 27.85 24.39 -3.46 -1.91 34.27 31.37 -2.90 -0.91

7 สพฐ. 45.25 47.12 1.87 -1.17 29.60 28.88 -0.72 -1.57 27.77 24.43 -3.34 -1.87 34.23 31.39 -2.84 -0.89

8 สพม. 46.30 48.11 1.81 -0.18 30.42 29.52 -0.90 -0.93 29.05 25.56 -3.49 -0.74 34.91 31.95 -2.96 -0.33

9 สพป. 42.53 44.41 1.88 -3.88 27.49 27.13 -0.36 -3.32 24.48 21.35 -3.13 -4.95 32.48 29.86 -2.62 -2.42

10 สช. 43.55 44.37 0.82 -3.92 29.98 28.53 -1.45 -1.92 26.34 22.00 -4.34 -4.30 33.51 29.90 -3.61 -2.38

11 สกอ. 58.24 62.80 4.56 14.51 51.66 47.17 -4.49 16.72 52.45 51.41 -1.04 25.11 47.37 44.69 -2.68 12.41

12 สศศ. 42.67 42.67 -5.62 27.57 27.57 -2.88 21.03 21.03 -5.27 29.40 29.40 -2.88

13 สถ. 42.98 45.06 2.08 -3.23 28.09 27.69 -0.40 -2.76 25.52 22.63 -2.89 -3.67 32.72 30.47 -2.25 -1.81

14 สถาบันพลศึกษา 44.15 42.74 -1.41 -5.55 27.26 27.10 -0.16 -3.35 24.05 20.28 -3.77 -6.02 30.86 29.86 -1.00 -2.42

15 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป (ม.6) 42.26 45.78 3.52 -2.51 27.59 26.82 -0.77 -3.63 22.04 19.84 -2.20 -6.46 32.41 27.76 -4.65 -4.52

16 พศ. 34.68 37.93 3.25 -10.36 25.71 26.23 0.52 -4.22 21.58 19.06 -2.52 -7.24 28.52 27.02 -1.50 -5.26

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2560

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12

ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร

สังกัดแถว

ภาษาไทย

Page 46: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560

2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ

1 ระดับประเทศ 52.29 49.25 -3.04 35.89 34.70 -1.19 27.76 28.31 0.55 24.88 24.53 -0.35 31.62 29.37 -2.25

2 ระดับ ศธภ.12 49.15 46.49 -2.66 -2.76 34.30 33.03 -1.27 -1.67 24.82 24.70 -0.12 -3.61 22.40 21.59 -0.81 -2.94 30.27 27.55 -2.72 -1.82

3 กาฬสินธุ์ 46.72 43.98 -2.74 -5.27 33.22 31.86 -1.36 -2.84 23.21 22.56 -0.65 -5.75 20.77 19.40 -1.37 -5.13 29.49 26.38 -3.11 -2.99

4 ขอนแก่น 50.64 47.54 -3.10 -1.71 34.66 33.69 -0.97 -1.01 26.12 26.27 0.15 -2.04 23.45 22.81 -0.64 -1.72 30.88 28.46 -2.42 -0.91

5 มหาสารคาม 49.23 47.39 -1.84 -1.86 34.87 33.41 -1.46 -1.29 24.85 24.85 0.00 -3.46 22.49 21.85 -0.64 -2.68 30.30 27.71 -2.59 -1.66

6 ร้อยเอ็ด 48.77 46.28 -2.49 -2.97 34.18 32.72 -1.46 -1.98 24.11 23.95 -0.16 -4.36 22.05 21.32 -0.73 -3.21 29.97 27.02 -2.95 -2.35

7 สพฐ. 49.58 46.92 -2.66 -2.33 34.48 33.09 -1.39 -1.61 24.60 24.44 -0.16 -3.87 22.32 21.47 -0.85 -3.06 30.33 27.50 -2.83 -1.87

8 สพม. 49.61 46.94 -2.67 -2.31 34.49 33.10 -1.39 -1.60 24.62 24.44 -0.18 -3.87 22.34 21.47 -0.87 -3.06 30.34 27.51 -2.83 -1.86

9 สพป. 43.68 37.57 -6.11 -11.68 32.29 29.55 -2.74 -5.15 21.69 20.95 -0.74 -7.36 18.52 15.69 -2.83 -8.84 28.34 22.13 -6.21 -7.24

10 สช. 45.69 42.46 -3.23 -6.79 31.76 31.16 -0.60 -3.54 24.38 23.81 -0.57 -4.50 20.35 18.55 -1.80 -5.98 28.08 25.12 -2.96 -4.25

11 สกอ. 64.15 62.25 -1.90 13.00 42.28 44.68 2.40 9.98 44.93 47.89 2.96 19.58 40.43 44.94 4.51 20.41 39.46 43.55 4.09 14.18

12 สศศ. 42.43 -6.82 31.45 -3.25 21.83 -6.48 17.25 -7.28 24.88 -4.49

13 สถ. 45.86 43.06 -2.80 -6.19 32.80 31.24 -1.56 -3.46 22.95 22.22 -0.73 -6.09 20.64 18.97 -1.67 -5.56 29.21 25.70 -3.51 -3.67

14 สถาบันพลศึกษา 40.18 34.41 -5.77 -14.84 29.86 27.87 -1.99 -6.83 20.65 19.06 -1.59 -9.25 18.27 15.42 -2.85 -9.11 26.33 23.22 -3.11 -6.15

15 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (ม.6) 42.34 38.39 -3.95 -10.86 30.96 29.37 -1.59 -5.33 22.01 20.28 -1.73 -8.03 16.62 15.56 -1.06 -8.97 26.63 22.98 -3.65 -6.39

16 พศ. 35.11 32.04 -3.07 -17.21 28.61 27.51 -1.10 -7.19 20.47 19.63 -0.84 -8.68 17.44 14.53 -2.91 -10.00 25.98 22.22 -3.76 -7.15

วิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ภาษาอังกฤษสังคมฯ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั�นพื�นฐาน (O-NET)

ชั�นมัธยมศึกษาปีที� 6 ปีการศึกษา 2560

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12

ภาษาไทย

แถว สังกัด

Page 47: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560

2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ

1 ระดับประเทศ 39.80 38.65 -1.15 35.47 35.45 -0.02 38.41 40.08 1.67 53.61 47.20 -6.41 43.79 42.15 -1.64

2 ระดับ ศธภ.12 40.29 42.58 2.30 3.93 38.76 38.20 -0.56 2.74 39.21 45.06 5.85 4.98 57.86 54.04 -3.82 6.84 47.87 47.62 -0.24 5.47

3 กาฬสินธุ์ 44.20 44.43 0.23 5.78 44.31 39.78 -4.53 4.33 41.27 48.03 6.76 7.95 61.52 55.72 -5.80 8.52 49.17 44.14 -5.03 1.99

4 ขอนแก่น 37.15 35.94 -1.21 -2.71 33.15 32.82 -0.33 -2.63 37.14 38.33 1.19 -1.75 54.54 44.97 -9.57 -2.23 43.64 38.38 -5.26 -3.77

5 มหาสารคาม 41.18 52.22 11.04 13.57 46.99 48.35 1.36 12.90 39.12 55.48 16.36 15.40 63.14 68.89 5.75 21.69 55.48 69.37 13.89 27.22

6 ร้อยเอ็ด 38.61 37.74 -0.87 -0.91 30.58 31.83 1.25 -3.62 39.31 38.38 -0.93 -1.70 52.22 46.58 -5.64 -0.62 43.17 38.59 -4.58 -3.56

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั�นพื�นฐาน (N-NET)

ชั�นประถมศึกษาปีที� 6 ปีการศึกษา 2560

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12

สาระการพัฒนาสังคม 405

แถว สังกัด

สาระทักษะการเรียนรู้ 401 สาระการประกอบอาชีพ 403 สาระทักษะการดําเนินชีวิต 404สาระความรู้พื�นฐาน 402

Page 48: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560

2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ

1 ระดับประเทศ 39.25 36.91 -2.34 31.57 30.60 -0.97 42.43 39.32 -3.11 46.84 46.42 -0.42 36.71 35.99 -0.72

2 ระดับ ศธภ.12 36.20 34.28 -1.93 -2.63 31.37 29.58 -1.80 -1.03 38.97 36.59 -2.38 -2.73 41.95 42.17 0.23 -5.03 34.55 34.23 -0.32 -1.76

3 กาฬสินธุ์ 35.06 34.15 -0.91 -2.76 31.13 29.40 -1.73 -1.20 36.90 36.22 -0.68 -3.10 39.95 41.26 1.31 -5.94 34.04 34.14 0.10 -1.85

4 ขอนแก่น 35.80 33.46 -2.34 -3.45 30.15 30.05 -0.10 -0.55 38.52 35.61 -2.91 -3.71 41.81 41.41 -0.40 -5.79 34.71 33.44 -1.27 -2.55

5 มหาสารคาม 37.95 34.72 -3.23 -2.19 33.76 29.41 -4.35 -1.19 40.96 37.32 -3.64 -2.00 43.75 43.47 -0.28 -3.73 35.34 35.48 0.14 -0.51

6 ร้อยเอ็ด 36.00 34.78 -1.22 -2.13 30.44 29.44 -1.00 -1.16 39.49 37.21 -2.28 -2.11 42.27 42.55 0.28 -4.65 34.09 33.85 -0.24 -2.14

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั�นพื�นฐาน (N-NET)

ชั�นมัธยมศึกษาตอนต้น ปีการศึกษา 2560

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12

สาระการพัฒนาสังคม 415

แถว สังกัด

สาระทักษะการเรียนรู้ 411 สาระความรู้พื�นฐาน 412 สาระการประกอบอาชีพ 413 สาระทักษะการดําเนินชีวิต 414

Page 49: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560

2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ

1 ระดับประเทศ 37.76 35.34 -2.42 33.08 27.49 -5.59 25.77 40.05 14.28 33.42 40.08 6.66 34.56 23.55 -11.01

2 ระดับ ศธภ.12 34.82 31.84 -2.99 -3.50 31.80 26.48 -5.32 -1.01 24.34 34.88 10.54 -5.17 30.64 35.66 5.02 -4.42 32.45 22.80 -9.64 -0.75

3 กาฬสินธุ์ 32.34 31.89 -0.45 -3.45 30.95 26.53 -4.42 -0.96 23.27 35.02 11.75 -5.03 28.22 35.73 7.51 -4.35 30.84 22.58 -8.26 -0.97

4 ขอนแก่น 35.55 31.57 -3.98 -3.77 31.11 27.10 -4.01 -0.39 24.65 34.31 9.66 -5.74 30.19 34.73 4.54 -5.35 32.28 23.00 -9.28 -0.55

5 มหาสารคาม 35.66 31.53 -4.13 -3.81 32.11 26.36 -5.75 -1.13 24.63 34.99 10.36 -5.06 31.98 35.11 3.13 -4.97 32.22 22.18 -10.04 -1.37

6 ร้อยเอ็ด 35.74 32.36 -3.38 -2.98 33.03 25.93 -7.10 -1.56 24.82 35.19 10.37 -4.86 32.17 37.08 4.91 -3.00 34.44 23.45 -10.99 -0.10

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั�นพื�นฐาน (N-NET)

ชั�นมัธยมศึกษาตอนปลาย ปีการศึกษา 2560

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12

สาระการพัฒนาสังคม 425

แถว สังกัด

สาระทักษะการเรียนรู้ 421 สาระความรู้พื�นฐาน 422 สาระการประกอบอาชีพ 423 สาระทักษะการดําเนินชีวิต 424

Page 50: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560

2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ

1 ระดับประเทศ 37.93 41.60 3.67 37.35 37.11 -0.24

2 ระดับ ศธภ.12 36.32 39.76 3.45 -1.84 36.09 35.69 -0.40 -1.42

3 กาฬสินธุ 35.65 38.73 3.08 -2.87 35.71 35.61 -0.10 -1.50

4 ขอนแกน 36.48 40.28 3.80 -1.32 36.54 35.44 -1.10 -1.67

5 มหาสารคาม 36.69 40.13 3.44 -1.47 36.36 35.84 -0.52 -1.27

6 รอยเอ็ด 36.44 39.91 3.47 -1.69 35.76 35.88 0.12 -1.23

แถว สังกัด

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (v-NET)

ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) - ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปการศึกษา 2560

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12

ความรูดานสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ระดับ ปวช. ความรูดานสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ระดับ ปวส.

Page 51: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

Pass kK:<8TXO

Page 52: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

บทที่ 3

ผลการวิเคราะหขอมูล

ผลการสนับสนุนการตรวจราชการของผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ประจําเขตตรวจ

ราชการท่ี 12 รอบท่ี 1 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสํานักงานศึกษาธิการภาค 12 สรุปไดดังนี้

นโยบายท่ี 1 การยกระดับคุณภาพการศึกษา

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการ :

1.1 การยกระดับคะแนน O-NET/N-NET/V-NET

1.1.1 การตรวจสอบ/วิเคราะหจุดออนจุดแข็ง ท้ังรายกลุมสาระและรายสาระ

KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีไดตรวจสอบ/วิเคราะหจุดออนจุดแข็ง ท้ังรายกลุมสาระ

และรายสาระ

1.1.2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และแกปญหาจุดออน เพ่ือพัฒนาจุดแข็งรายสาระ

KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีไดจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และแกปญหาจุดออน

เพ่ือพัฒนาจุดแข็งรายสาระ

1.1.3 การกําหนดเปาหมาย การยกระดับคาเฉลี่ย O-NET/N-NET/V-NET ตามแนวทาง

กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซ่ึงออกตามกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ

และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา

KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีมีการกําหนดเปาหมายการยกระดับคาเฉลี่ยO-NET/N-NET/

V-NET ตามแนวทางกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาซ่ึงออกตาม

กฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑและวิธีการ การประกันคุณภาพการศึกษา

1. ผลการดําเนินการ

ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด

1.1 จํานวนสถานศึกษาท่ีมีการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจราชการและตัวชี้วัด

หนวยงาน/สถานศึกษา

(สังกัด)

จํานวน

สถานศึกษา

ท้ังหมด

การดําเนินงานของสถานศึกษา

มีการตรวจสอบ/

วิเคราะหจุดออนจุด

แข็งผลการทดสอบ O-

NET/N-NET/ V-NET

จัดกิจกรรมการเรียน

การสอน และ

แกปญหาจุดออนเพ่ือ

พัฒนาจุดแข็งรายสาระ

กําหนดเปาหมายการ

ยกระดับคาเฉลี่ย O-

NET/N-NET/V-NET

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

สพป. 2106 2106 100 2106 100 2106 100

สพม. 174 174 100 174 100 174 100

Page 53: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

25

สศศ (ร.ร.ประชานุเคราะห) 3 3 100 3 100 3 100

สช. 187 187 100 187 100 187 100

สอศ. 46 46 100 46 100 46 100

กศน. 44 44 100 44 100 44 100

หมายเหตุ ขอมูลเชิงปริมาณจาก สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดขอนแกน มหาสารคาม และกาฬสินธิ์

1.2 รายสาระ/กลุมสาระ หรือรายทักษะ/รายสมรรถนะใด ท่ีเปนจุดแข็งจากการวิเคราะหผลการ

ทดสอบ O-NET / N-NET/ V-NET ภาพรวมของสังกัด/ หนวยงานโดยเรียงลําดับมากไปนอย

ศธจ.การสินธุ

1) รายสาระ/รายทักษะ การฟงการดูการพูด (68.50%) และการเขียน (54.68%) กลุมสาระ/

รายสมรรถนะ ภาษาไทยชั้น ป.6

2) รายสาระ/รายทักษะการวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน (71.44%) กลุมสาระ/ราย

สมรรถนะ คณิตศาสตร ชั้น ป.6

3) รายสาระ/รายทักษะกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก (34.37%สูงกวาระดับประเทศ) ดารา

ศาสตรและอวกาศ (61.11% ) และพลังงาน (59.82%) กลุมสาระ/รายสมรรถนะ วิทยาศาสตร ชั้น ป.6

4) รายสาระ/รายทักษะเศรษฐศาสตร(50.84%) และประวัติศาสตร(50.63%) กลุมสาระ/ราย

สมรรถนะสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

5) รายสาระ/รายทักษะ ภาษาอังกฤษไมมีสาระท่ีเปนจุดแข็ง กลุมสาระ/รายสมรรถนะ

ภาษาอังกฤษชั้น ป.6

ศธจ.มหาสารคาม

1) รายสาระการเรียนรู หลักการใชภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

2) รายสาระการเรียนรู ภูมิศาสตร กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา

3) รายสาระการเรียนรู ภาษากับความสัมพันธกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนกลุมสาระการเรียนรู

ภาษาอังกฤษ

4) รายสาระการเรียนรู ดาราศาสตรและอวกาศ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

5) รายสาระการเรียนรู การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปนกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

ศธจ.ขอนแกน

1) รายสาระ/รายทักษะภาษาไทยกลุมสาระ/รายสมรรถนะ -

2) รายสาระ/รายทักษะสังคมกลุมสาระ/รายสมรรถนะ –

ศธจ.รอยเอ็ด

-

Page 54: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

26

1.3 รายสาระ/กลุมสาระ หรือรายทักษะ/รายสมรรถนะใด ท่ีเปนจุดออนของการวิเคราะหผล

การทดสอบ O-NET / N-NET/ V-NET ภาพรวมของสังกัด/ หนวยงานโดยเรียงลําดับมากไปนอย

ศธจ.การสินธุ

1) รายสาระ/รายทักษะวรรณคดีและวรรณกรรม (44.72%) การอาน (45.55%) และหลักการ

ใชภาษา(45.20%) กลุมสาระ/รายสมรรถนะ ภาษาไทยชั้น ป.6

2) รายสาระ/รายทักษะพีชคณิต(16.31%) การวัด(26.95%) เรขาคณิต(39.40%) และจํานวน

และการดําเนินการ(40.55%) กลุมสาระ/รายสมรรถนะคณิตศาสตรชั้น ป.6

3) รายสาระ/รายทักษะสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต(32.37%) ชีวิตกับสิ่งแวดลอม

(32.26%) แรงและการเคลื่อนท่ี (33.29%) และ สารและสมบัติของสาร(36.39%) กลุมสาระ/ราย

สมรรถนะวิทยาศาสตร ชั้น ป.6

4) รายสาระ/รายทักษะภูมิศาสตร(34.88%) ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม(36.68%) และหนาท่ี

พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิต(48.61%)กลุมสาระ/รายสมรรถนะสังคมศึกษาศาสนาและ

วัฒนธรรมชั้น ป.6

5) รายสาระ/รายทักษะ ภาษากับความสัมพันธกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน(26.13%) ภาษากับ

ความสัมพันธชุมชนและโลก(30.59%) ภาษากับความสัมพันธชุมชนและโลก(30.62%) และภาษาและ

วัฒนธรรม(30.74%) กลุมสาระ/รายสมรรถนะภาษาอังกฤษชั้น ป.6

ศธจ.มหาสารคาม

1) รายสาระการเรียนรู การฟงการดูและการพูด กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

2) รายสาระการเรียนรู ประวัติศาสตร กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา

3) รายสาระการเรียนรู ภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลก กลุมสาระการเรียนรู

ภาษาอังกฤษ

4) รายสาระการเรียนรู สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

5) รายสาระการเรียนรู การวัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

ศธจ.ขอนแกน

1) รายสาระ/รายทักษะอังกฤษกลุมสาระ/รายสมรรถนะ -

2) รายสาระ/รายทักษะคณิตศาสตรกลุมสาระ/รายสมรรถนะ -

3) รายสาระ/รายทักษะวทิยาศาสตรกลุมสาระ/รายสมรรถนะ –

ศธจ.รอยเอ็ด

-

1.4 หนวยงาน/ สถานศึกษา มีวิธีการวิเคราะหจุดออนจุดแข็งผลการทดสอบ O-NET / N-NET/ V-

NET ดังนี้

Page 55: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

27

1) เปรียบเทียบกับเปาหมายท่ีตั้งไว โดยนําผลคะแนนเฉลี่ยรอยละรายสาระ หรือรายมาตรฐาน

แตละกลุมสาระการเรียนรู ของโรงเรียนตนเองเปรียบเทียบกับเปาหมายผลสัมฤทธิ์ท่ีตั้งไว ซ่ึงแตละกลุม

สาระจะตองมีผลสัมฤทธิ์รอยละ 50 ข้ึนไป กรณีท่ีผลสัมฤทธิ์ถึงรอยละ50 แลวตองมีคาพัฒนาการสูงข้ึนไม

ต่ํากวารอยละ 5

2) เปรียบเทียบกับคะแนนระดับประเทศโดยนําผลคะแนนเฉลี่ยรอยละรายสาระหรือราย

มาตรฐานแตละกลุมสาระการเรียนรู ของโรงเรียนตนเองเปรียบเทียบกับระดับประเทศ ถาสูงกวา

ระดับประเทศก็เปนจุดแข็ง ถาต่ํากวาก็เปนจุดออน

3) ประชุม/PLC ผูเก่ียวของรวมกันวิเคราะหผลการทดสอบรายกลุมสาระ มาตรฐาน สาระจัด

เรียงลําดับความสําคัญ วิเคราะหผลเปรียบเทียบระหวางโรงเรียนกับสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และ

ระดับประเทศ พิจารณาผลพัฒนาการจากปท่ีผานมาตรวจสอบเอกสารตามแบบรายงานการทดสอบจาก สทศ.

4) สถานศึกษาวิเคราะหผลการทดสอบ O-NET ในปการศึกษา ท่ีผานมารายกลุมสาระ ราย

มาตรฐาน ตัวชี้วัด กําหนดกิจกรรมโครงการในการแกไขปญหารวมกัน

5) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาวิเคราะหผลการทดสอบ O-NET ในปการศึกษา ท่ีผานมาใน

ภาพรวมของสํานักเขต และจุดแข็งจุดออนราย

6) สงเสริมสนับสนุนใหสถานศึกษาวิเคราะหขอมูลผลการสอบยอนหลัง 3 ป ศึกษามาตรฐาน

และตัวชี้วัด วิเคราะหขอสอบ O-Net สอนใหตรงประเด็นท่ีสอดคลองตามมาตรฐานตัวชี้วัด สนับสนุนให

นักเรียนเห็นความสําคัญในการเรียนรูกับกลุมสาระอ่ืน วิเคราะหผูเรียนโดยการนําผล O-NET วิเคราะห เพ่ือ

หาจุดออนท่ีจะสอนเสริม และหาจุดแข็งท่ีจะสนับสนุน

1.5 หนวยงาน/ สถานศึกษา สงเสริมสนับสนุนหรือจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือแกปญหา

จุดออนท่ีพบจากการทดสอบ O-NET / N-NET/ V-NETดังนี้

1) จัดทําโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวย

นวัตกรรมโปงลางโมเดลและสนับสนุนงบประมาณถึงกลุมเครือขายโรงเรียนใหดําเนินการข้ันตอนและ

มาตรการของโปงลางโมเดล กลุมเครือขายละ 52,000 บาท(ในกลุมฯ ขนาดเล็ก) และเครือขายละ 62,000

บาท(ในกลุมฯขนาดกลางข้ึนไป) และนิเทศแนะนําใหนํามาตรฐานสาระการเรียนรูท่ีเปนจุดออนมาวิเคราะห

วางแผนแกปญหา และพัฒนาดวยวิธีการหลากหลาย และเหมาะสมกับสภาพบริบทของตนเอง

2) ระดับกลุมเครือขายโรงเรียนและโรงเรียน ไดมีการวางแผนและดําเนินจัดกิจกรรมการ

เรียนการสอนเพ่ือแกปญหาและพัฒนาการอานออกเขียนได เนนการอานรูเรื่อง การอานคลอง เขียนคลอง

ตามนวัตกรรมแพรวาโมเดล เปนทักษะพ้ืนฐานเรียนรูใหกับวิชาอ่ืน ๆ สวนวิชาอ่ืนก็พัฒนาตามข้ันตอน

นวัตกรรมโปงลางโมเดล มีการนิเทศติดตามชวยเหลือกันภายในกลุมเครือขาย มีการปรับปรุงการเรียนการ

สอนและการวัดประเมินผลโดยการเชื่อมโยงโครงสรางขอสอบ (Test BlueprintO-NET) สูการจัดการ

เรียนการสอนและการวัดผลประเมินผลในชั้นเรียนใหเปนเนื้อเดียวกัน ในระหวางเรียน และในการทดสอบ

ปลายภาค/ปลายป ใหตรงตามมาตรฐานและครอบคลุมทุกมาตรฐานท้ังรูปแบบระดับการวัดพฤติกรรม

Page 56: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

28

การคิดข้ันสูง รูปแบบขอสอบท่ีหลากหลายในการตอบ สัดสวนจํานวนขอสอบ และมีการใชบุคลากรครู

สาขาวิชาเอกโดยตรงในการสอนเสริมใหกับนักเรียน ไดมีความรูและประสบการณในการทําขอสอบ เปน

วิธีการสอนใหตอบเปาหมายท่ีกําหนดไวในตัวชี้วัดใหมากท่ีสุด

3) สงเสริมพัฒนาดานกิจกรรมการวิเคราะหผูเรียนเปนรายบุคคล ปรับเปลี่ยนการจัด

กิจกรรมการเรียนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนเปนศูนยกลาง

4) สงเสริมพัฒนาดานการรวมกันของกลุมเครือขายพัฒนาคุณภาพการศึกษารวมกัน

กําหนดกิจกรรมรวมกันภายในกลุมเครือขาย ปญหาคลายกันรวมกันดําเนินการ

5) จัดสรรงบประมาณสนับสนุนการยกระดับผลสมัฤทธิ์รายโรง/รายศูนย

6) จัดทําโครงการ/กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ และมีการนิเทศติดตาม/PLC รายกลุม

สาระ/ระดับชั้น

7) วิเคราะหตัวชี้วัด/จัดทําแผนการจัดการเรียนรูท่ีสอดแทรก ขอสอบ O-NET / ใช PLC

ขับเคลื่อนท้ังระบบโรงเรียน

8) สงเสริมใหครูนําผลการประเมินไปใชพัฒนาการจัดการเรียนรูในรูปแบบตางๆ

9) กําหนดวิสัยทัศนพันธกิจและเปาหมายโดยมุงเนนท่ีคุณภาพผูเรียนท่ีสะทอนคุณภาพ

ความสําเร็จอยางชัดเจนและเปนรูปธรรม

10) จัดทําแผนพัฒนาหรือแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของสถานศึกษา

เพ่ือใชเปนแนวทางในการดําเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมตางๆ ของสถานศึกษา

11) สงเสริม สนับสนุน กระบวนการวิจัยและพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา

เชน กระบวนการวิจัยและพัฒนาดานการบริหารจัดการ ดานการนิเทศ การจัดการเรียนรู การวิจัย

เพ่ือศึกษาปญหาเก่ียวกับการทดสอบ

12) วางแผนการนิเทศติดตามผลการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 100% ดําเนินงาน

โดยเครือขายการนิเทศ ประกอบดวย รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และศึกษานิเทศก

ประจําศูนย ประธานศูนยฯ หัวหนากลุมเครือขาย และผูเชี่ยวชาญประจําศูนยเครือขาย รวมกันนิเทศ

ติดตามอยางตอเนื่อง จัดใหมีการทดสอบ Pre test O-NET ใชขอสอบเสมือนจริง Pre O-NET โดยมี

ประเด็นการนิเทศมุงเนนการจัดการเรียนรู การวัดและประเมินผลในระดับหองเรียน นําคะแนนสอบ Pre

test มารวมวางแผนการพัฒนาผูเรียน สงเสริมการนิเทศภายในสถานศึกษาท่ีเขมแข็ง เปนระบบสมํ่าเสมอ

และตอเนื่อง รวมท้ังจัดใหมีการประชุมชี้แจงครู ป.3 ป.6 ม.3 เตรียมความพรอมหลังประกาศผลคะแนน

สอบโอเน็ต เพ่ือวางแผนการพัฒนาผูเรียนตลอดปการศึกษา

13) การนิเทศภายในสถานศึกษาอยางตอเนื่อง สมํ่าเสมอ ตามบริบทของโรงเรียนอยางเปน

ระบบ มีแผนการนิเทศภายในสถานศึกษาและปฏิบัติตามแผนการดําเนินงานท่ีกําหนด

1.6 หนวยงาน/ สถานศึกษา มีการจัดกิจกรรมเพ่ือเสริมจุดแข็งผลการทดสอบ O-NET / N-

NET/ V-NET ของสถานศึกษา ดังนี้

Page 57: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

29

1) จัดกิจกรรมการเรียนรู และการวัดผลประเมินผล ใหตรงกับมาตรฐาน/ตัวชี้วัดในเวลา

เรียนปกติโดยเชื่อมโยงสอดคลองกับโครงสรางขอสอบ O-NET (Test BlueprintO-NET) ทุกกลุมสาระ

การเรียนรู โดยจะเนนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย มีการพัฒนาทักษะการอานรูเรื่องเขียนเลาเรื่อง และ

การเขียนสรุปใจความใหกับนักเรียนกลุมปานกลางและกลุมเกง

2) มีการสอนเสริมในชวง ลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู

3) มีการเสริมทักษะประสบการณใหกับนักเรียน ในการทําแบบทดสอบระดับชาติข้ัน

พ้ืนฐาน(O-NET)ของปท่ีผานมา ท่ีมีรูปแบบการคิดข้ันสูง หลากหลายรูปแบบการตอบ และฝกทักษะในการ

ระบายคําตอบ มีการทดสอบ Pre O-NETแลววิเคราะหผลการสอบนํามาปรับปรุงวิธีการสอน

4) ใชขอสอบ O-NET เปนเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรูตามมาตรฐานตัวชี้วัด

5) สนับสนุนงบประมาณการสําหรับการแกปญหาในระดับงกลุมเครือขายพัฒนาคุณภาพ

การศึกษารวมกันกําหนดกิจกรรมรวมกันภายในกลุมเครือขาย ปญหาคลายกันรวมกันดําเนินการ

6) คนหาวิธีปฏิบัติท่ีดี และขยายผลสูโรงเรียนท่ีออนกวา

7) สนับสนุนสื่ออุปกรณ เขาคายวิชาการ การจัดการแขงขันเพ่ือความเปนเลิศ

8) เม่ือโรงเรียนไดรับผลการทดสอบทางการศึกษาแลวโรงเรียนทําการประชุมชี้แจงใหขอมูล

สารสนเทศและรายงานผลการทดสอบแกครูเพ่ือใหทราบผลการศึกษาของป การศึกษาท่ีผานมาใน

ภาพรวมและรายกลุมสาระการเรียนรูในบางโรงเรียนไดเพ่ิมกระบวนการการกํากับติดตามผลการ

ดําเนินการของครูในแตละกลุมสาระการเรียนรูดวยเชนกันเม่ือแตละกลุมสาระการเรียนรูไดรับสารสนเทศ

และมีการวิเคราะหขอสอบรายตัวชี้วัดแลว โรงเรียนมีการปรับการจัดการเรียนรูตามตัวชี้วด

1.7 สถานศึกษากําหนดเปาหมายในการยกระดับคาเฉลี่ย O-NET / N-NET/ V-NET ได

เหมาะสมและสอดคลองกับขอมูลสารสนเทศในปจจุบัน ดังนี้

ทุกโรงเรียนมีการกําหนดเปาหมายในการยกระดับคาเฉลี่ย O-NETสูงข้ึนตามนโยบายของ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา /นโยบายของ สพฐ. คือไมต่ํากวารอยละ50 และมีพัฒนาการสูงข้ึนไมนอย

กวารอยละ 5 (ระดับเขตพ้ืนท่ี) ซ่ึงตั้งไวสูงกวาระดับพัฒนาการท่ี สพฐ.ตั้งไวรอยละ 3 ซ่ึงเห็นวาเหมาะสมทุก

โรงเรียนมีบางแหงกําหนดโดยพิจารณาผลจาก 3 ปยอนหลังหรือกําหนดเพ่ิมข้ึนจากฐานเดิม 5% ทุกสาระ

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือมี

ผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้

1) ทําใหผูเรียนมีพัฒนาการดานการอานออก อานคลอง อานจับใจความ เขียนได เขียนคลอง

เขียนสรุปความ และมีจํานวนเพ่ิมมากข้ึน

2) ทําใหผูเรียนมีพัฒนาการในการเรียนรูในกลุมสาระคณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมและ

ภาษาอังกฤษ ตามกลุมนักเรียนของแตละโรงเรียนแตกตางกันไป

Page 58: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

30

3) นักเรียนมีทักษะชีวิต (Life Skills) ทักษะการเรียนรู (Learning Skills / Knowledge

Skills) และทักษะการทํางาน (Working Skills)

4) พัฒนาใหนักเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชทักษะชีวิต

การใชเทคโนโลยีและเกิดความเขาใจตอสิ่งท่ีเรียน

5) เปดโอกาสใหนักเรียนไดเรียนรูและพัฒนาอยางเต็มตามศักยภาพ เหมาะสมกับชวงวัย

พรอมรับการทดสอบระดับชาติและมีความคุนชินแบบทดสอบท่ีมีทักษะการคิดข้ันสูง

6) การใช DLTV ในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก

7) การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยกลุมคุณภาพ โดยรูปแบบ PLC ระดับกลุมสาระ

ระดับชั้นเรียน

2.2 รายชื่อหนวยงาน/ สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามประเด็น

นโยบาย

รายช่ือหนวยงาน/

สถานศึกษาตนแบบหรือ

แบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้งหนวยงาน/ สถานศึกษา

รายการและรายเอียดของความ

โดดเดน/ จุดแข็ง/ นวัตกรรม

1. โรงเรียนคําคาราษฎร

บํารุง

ต.โนนศิลา อ.สหัสขันธ

จ.กาฬสินธุ

ภาษาไทยคณิตศาสตร สังคมฯ

2. โรงเรียนเหลาเขืองโนน

เสียววิทยา

ต.สามัคคี อ.รองคํา จ.

กาฬสินธุ

คณิตศาสตร ภาษาไทย

วิทยาศาสตร สังคมฯ

3. โรงเรียนโคกกลาง

ราษฎรพัฒนา

ต.หลุบ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ คณิตศาสตร ภาษาไทยสังคมฯ

4. โรงเรียนคําคาราษฎร

บํารุง

ต.โนนศิลา อ.สหัสขันธ จ.

กาฬสินธุ

ภาษาไทยคณิตศาสตร สังคมฯ

5. โรงเรียนเหลาเขืองโนน

เสียววิทยา

ต.สามัคคี อ.รองคํา จ.

กาฬสินธุ

คณิตศาสตร ภาษาไทย

วิทยาศาสตร สังคมฯ

6. โรงเรียนโคกกลาง

ราษฎรพัฒนา

ต.หลุบ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ คณิตศาสตร ภาษาไทยสังคมฯ

7. วิทยาลัยพณิชยการเชตุ

พน

จ.กาฬสินธุ นักเรียน นักศึกษา มีผลการ

ทดสอบv-net อยูในเกณฑที่ดีมาก

8. วิทยาลัยพณิชยการ

ธนบุรี

จ.กาฬสินธุ นักเรียน นักศึกษาท่ีมากและ มี

ผลการทดสอบv-net อยูใน

เกณฑท่ีดีมาก

9. กศน.อําเภอกมลาไสย 20หมูท่ี 15 ตําบลกมลาไสย จัดสอนเสริม ติวเขมใหกับ

Page 59: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

31

อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ นักศึกษาทุกตําบล โดยเชิญ

วิทยากรท่ีมีความรู ความถนัด

เฉพาะรายวิชามาเปนวิทยากร

10. กศน.อําเภอทาคันโท หมูท่ี 1 ตําบลนาตาล

อ.ทาคันโท จ.กาฬสินธุ

การจัดสื่อการเรียนรู ชุดการ

เรียนทางไกล นักศึกษามีความรู

ความเขาใจ สามารถเขาไปเรียนรู

ดวยตัวเองผานเว็ปไซต

11. กศน.อําเภอเมือง

กาฬสินธุ แหลงเรียนรู 17

ตําบล

37 ถ.สนามบิน อ.เมือง

กาฬสินธุ จ.กาฬสินธุ

ติดตามผูเรียน ผูเรียนไดปฏิบัติ

จริง

12. โรงเรียนบานโนนตาล

กุดเวียนหนองหญามา

อ.กันทรวิชัย จ.กาฬสินธุ ครูผูสอนรูจักนักเรียนทุกคน มี

ขอมูลรายบุคคล และจัดกิจกรรม

พัฒนาผูเรียนตามมาตรฐาน

ตัวชี้วัด ตั้งใจสอน ตามนักเรียน

ข้ึนชั้นป

13. โรงเรียนบานหนองหวา

เฒา

อ.พยัคฆภูมิพิสัย จ.กาฬสินธุ การจัดกิจกรรมการเรียนการ

สอนกลุมสาระการเรียนรู

ภาษาไทย วิทยาศาสตร

14. โรงเรียนบานหนอง

เหลา

อ.วาปปทุม จ.กาฬสินธุ การจัดกิจกรรมการเรียนการ

สอนกลุมสาระการเรียนรู

ภาษาอังกฤษ

15. โรงเรียนบานหนองโพธิ์ อ.นาเชือก จ.กาฬสินธุ การจัดกิจกรรมการเรียนการ

สอนกลุมสาระการเรียนรู

คณิตศาสตร

16. โรงเรียนบานโชคชัย อ.โกสุมพิสัย จ.กาฬสินธุ รายการและรายละเอียด

ของความโดดเดน/จุดแข็ง/

นวัตกรรม

17. โรงเรียนบานทิพโสต อ.โกสุมพิสัย จ.กาฬสินธุ การจดัการเรียนการสอนนักเรียน

ดานการอานออกเขียนได

18. โรงเรียนบานเหลา

หนองแคน

อ.โกสุมพิสัย จ.กาฬสินธุ การบริหารจัดการ และการ

จัดการเรียนการสอนโรงเรียน

ขนาดเล็กท่ีเปนเลิศ

Page 60: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

32

19. โรงเรียนอนุบาล

ขอนแกน

อ.เมือง จ. ขอนแกน มีผล O-NET ลําดับท่ี 1 ของ

เขตพ้ืนท่ี 3 ปซอน นักเรียนได

คณะเต็มในกลุมสาระวิชา

คณิตศาสตร ภาษาอังกฤษ และ

สังคม

20. โรงเรียนบานนา

อ.มัญจาคีรี จ. ขอนแกน เปนโรงเรียนท่ีมีโมเดลในการ

พัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์จน

ประสบผลสําเร็จและเปน

โรงเรียนในโครงการของ สคบศ.

21. โรงเรียนขอนแกน

วิทยายน

อ.เมือง จ.ขอนแกน Khon Kaen Model ท่ีใชในการ

ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ของนักเรียน

22. โรงเรียนอนุบาล

รอยเอ็ด

ถนนรณชัยชาญยุทธ ต.ใน

เมือง

อ.เมือง จ.รอยเอ็ด

การบริหารจดัการ ,นวัตกรรม

23. โรงเรียนบานมะอึ

บานมะอึ ต.มะอึ อ.ธวัชบุรี

จ.รอยเอ็ด

การบริหารจดัการ ,นวัตกรรม

24. โรงเรียนบานดู

บานดู ต.ธวัชบุรี อ.ธวัชบุรี

จ.รอยเอ็ด

การบริหารจดัการ ,นวัตกรรม

25. โรงเรียนบานแห (ประชานุกูล) (ม.3)

อ.เสลภูมิ จ.รอยเอ็ด นําสื่อ ICT มาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือกระตุนความสนใจเด็กนักเรียน ผลการสอบ O-NET กลุมสาระวิทยาศาตรสูงทุกป

26. โรงเรียนบานหนองโน (ป.6)

อ.เมยวดี จ.รอยเอ็ด นําสื่อ ICT มาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือกระตุนความสนใจเด็กนักเรียน ทําใหมีผลการทดสอบ O-NET สูงสุดของ สพป.รอ.3

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) โรงเรียนขนาดเล็ก ครูสอนไมครบชั้น ไมตรงเอก

2) การใชวัสดุ เครื่องมือหรืออุปกรณ และเทคนิควิธีการในการยกระดับคุณภาพผูเรียน ครูหรือ

บุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนมีปญหาดานงบประมาณไมเพียงพอและมีความลาชา วัสดุ เครื่องมือ

Page 61: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

33

หรืออุปกรณมีไมเพียงพอกับความตองการ ขาดประสบการณในการสราง/ใชสื่อการเรียนการสอน และ

ขาดความรูความเขาใจในการใชสื่อเทคโนโลยีหรือนวัตกรรม

3) ขาดสื่อ วัสดุ ครุภัณฑ อุปกรณการเรียนการสอนท่ีทันสมัยไมเพียงพอกับความตองการและ

ความจําเปนท่ีจะใชอยางเหมาะสม

4) การประสานงานระหวางครูท่ีปรึกษากับนักเรียนนักศึกษาแตละแผนกมีเวลาคอนขางนอย

5) นักเรียน นักศึกษา ไมชอบในรายวิชาสามัญมีความถนัดนอย ไมใหความสนใจในการทํา

ขอสอบจึงทําใหผลการทดสอบออกมามีคะแนนท่ีต่ํามาก

6) ภาระครูมาก สอนไดไมเต็มท่ี

7) ผูเรียนขาดความใฝรู ใฝเรียน ความสนใจ ตั้งใจ ศึกษาหาความรู

8) ผูบริหาร ผูเก่ียวของในการนํานโยบายสูการปฏิบัติครูผูสอน ความมุงม่ัน ในการพัฒนา

คุณภาพของผูเรียน คุณภาพการศึกษา

9) การบริหารจัดการเวลาเรียน ตามโครงสรางเวลาเรียนของสถานศึกษา ไมอํานวยหรือสงเสริม

ตอ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพเทาท่ีควร

10) ชวงระยะเวลาของการนิเทศ ติดตามไมเพียงพอ เพราะถูกจํากัดอยูในชวงเวลา 2 -3 เดือน

กอนสิ้นปงบประมาณ หรือชวงทายของภาคเรียนท่ี 1 ซ่ึงทุกๆโครงการ/กิจกรรมของเขตพ้ืนท่ีจะมีลักษณะเหมือนกันทุกๆปงบประมาณ 11) ครูไมครบชั้น มีภารกิจหลายดานทําใหการดําเนินกิจกรรมยกระดับการศึกษาไมไดเต็มท่ี

เทาท่ีควร 4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรสงเสริม สนับสนุน กระบวนการวิจัยและพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา เชน

กระบวนการวิจัยและพัฒนาดานการบริหารจัดการ ดานการนิเทศ การจัดการเรียนรูการวิจัยเพ่ือศึกษา

ปญหาเก่ียวกับการทดสอบ

2) ควรสงเสริม สนับสนุนผูบริหาร ศึกษานิเทศกและครูใหมีความรูเก่ียวกับการสราง

ขอสอบท่ีเนนกระบวนการคิดวิเคราะหในรูปแบบเดียวกันกับขอสอบท่ีใชในการประเมินคุณภาพการศึกษา

ข้ันพ้ืนฐานเพ่ือการประกันคุณภาพผูเรียน สรางความเขมแข็งดานการวัดและประเมินผลการศึกษา

3) ควรจัดทําโครงการวิจัยเพ่ือยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของสถานศึกษา

ในสังกัด โดยดูจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพ่ือการประกันคุณภาพผูเรียน เปนขอมูล

พ้ืนฐานในการยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ในปการศึกษาตอไป

4) ควรสรางเครือขายการนิเทศการศึกษาเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยางเปน

ระบบและตอเนื่อง โดยความรวมมือระหวางผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ศึกษานิเทศก

ประธานกลุมสถานศึกษา และผูอํานวยการสถานศึกษา

Page 62: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

34

5) ควรยกยองเชิดชูเกียรติ หรือชมเชย หรือใหเกียรติบัตรแกสถานศึกษาท่ีมีพัฒนาการของ

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยางชัดเจน และเปนแบบอยางท่ีดีแกหนวยงานอ่ืนๆ

6) ควรสรางเจตคติท่ีดีใหนักเรียนนักศึกษาตระหนักและใสใจการทดสอบ V-NET

7) ควรจัดสรรงบประมาณใหเพียงพอในการดําเนินงานตามนโยบาย

8) ควรอบรมเพ่ือพัฒนาการวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัด รวมท้ังการพัฒนาการจัดทํา

เครื่องมือการวัดประเมินผลในชั้นเรียนท่ีสามารถสะทอนองคความรูของผูเรียนตามมาตรฐานและตัวชี้วัด

4.2. ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) สรางมาตรการเพ่ือยกระดับคุณภาพผูเรียนในการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของ

ผูเรียนระดับชาติ เพ่ือใหครูผูสอนนํามาตรการมาใชใหเกิดประโยชนในการจัดการเรียนการสอนใหมี

ประสิทธิภาพยิ่งข้ึน

2) จัดทําโครงการยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสังกัด โดยนําผล

การทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผูเรียนระดับชาติ ในปการศึกษาท่ีผานมา เปนขอมูลพ้ืนฐาน

(Baseline) ในการยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนในปการศึกษาตอไป

3) วิเคราะหขอมูลและสะทอนผล เรงพัฒนาผูเรียนกอนการสอบจริงนําขอบกพรองในการ

สอบมาปรับปรุงใหนักเรียนสามารถทําขอสอบไดอยางเต็มตามศักยภาพ

4) ตรวจสอบนักเรียนและจัดกลุมนักเรียนเปนกลุม ไดแก นักเรียนกลุมความสามารถพิเศษ

กลุมปกติ (เกง ปานกลาง ออน) กลุมเสี่ยงท่ีมีปญหาการอาน เขียน คิดคํานวณ และแกปญหาราย

สถานศึกษา รายหองเรียน จนถึงรายบุคคล เรงรัดใหมีการดูแลเปนพิเศษเพ่ือใหสมรรถนะทางดานการเรียนรู

ไดรับการพัฒนา

5) จัดใหมีการนิเทศภายในสถานศึกษาเพ่ือชวยเหลือและจัดสรรเครื่องมือสื่อการเรียนรูและ

ปรับปรุงวิธีจัดการเรียนรูของครูใหมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

6) ผูบริหารควรใหความสําคัญ และใหการสงเสริม สนับสนุนอยางเต็มท่ี มีการพัฒนา

หลักสูตรของสถานศึกษาใหเหมาะสมกับชุมชน และจัดหาสื่อ นวัตกรรม แหลงเรียนรูใหเพียงพอ

1.2 การยกระดับคะแนนเฉล่ีย PISA

1.2.1 การเตรียมความพรอมของครูเพ่ือรองรับการทดสอบ PISA (เชน การศึกษาเรียนรู

แบบทดสอบPISA)

KPI: รอยละของสถานศึกษาทุกระดับท่ีไดเตรียมความพรอมของครูเพ่ือรองรับการ

ทดสอบ PISA (เชน การศึกษาเรียนรูแบบทดสอบ PISA)

1.2.2 การปรับกระบวนการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกับการทดสอบ PISA

KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีเปดสอนชั้น ม.3 ไดปรับกระบวนการเรียนการสอนท่ี

สอดคลองกับการทดสอบ PISA

1.2.3 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหนักเรียนฝกทําแบบทดสอบตามแนวทางของ PISA

Page 63: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

35

KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีเปดสอนชั้น ม.3 ไดจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือ

เสริมสรางประสบการณการทดสอบตามแนวทางของการสดสอบ PISA แกผูเรียน

1. ผลการดําเนินงาน

ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด

1.1 จํานวนสถานศึกษาท่ีมีการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจราชการและตัวชี้วัด

หนวยงาน/สถานศึกษา

(สังกัด)

จํานวน

สถาน

ศึกษา

ท้ังหมด

จํานวนสถานศึกษา

ท่ีมี นร.

อายุ 15ป

(ม.ตน,

ม.ปลาย,

ปวช.)

ท้ังหมด

สถานศึกษาท่ีเตรียม

ความพรอมใหกับครู

เพ่ือรองรับการ

ทดสอบ PISA

สถานศึกษาท่ีมี นร.

อายุ 15 ป (ม.ตน, ม.

ปลาย, ปวช.)

ไดปรับกระบวนการ

เรียนการสอนท่ี

สอดคลองกับการ

ทดสอบ PISA

สถานศึกษาท่ีมี นร.

อายุ 15 ป (ม.ตน, ม.

ปลาย, ปวช.)

ไดจัดกิจกรรมการ

เรียนการสอนเพ่ือ

เสรมิสราง

ประสบการณการ

ทดสอบตามแนวทาง

ของการทดสอบ PISA จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

สพป. 1,652 1,652 1,652 100 1,652 100 1,652 100

สพม. 174 174 174 100 174 100 174 100

สศศ. (ร.ร.ประชานุเคราะห) 3 1 - - - - - -

สช. 183 27 4 4 4

สกอ. (ร.ร.สาธิต) 4 4 4 100 4 100 4 100

สอศ. 46 - - - - - - -

หมายเหตุ ขอมูลเชิงปริมาณจาก สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดขอนแกน มหาสารคาม และกาฬสินธุ

1.2 สถานศึกษามีการเตรียมความพรอมใหกับครู เพ่ือรองรับการทดสอบ PISA ดังนี้

1) สงครูเขารวมการประชุมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพรอม สอบ PISA ท่ีสํานักงานเขต

พ้ืนท่ีการศึกษา และจัดกิจกรรมขยายผลใหกับคณะครูท่ีสอนในระดับชั้น ม.1-3 โดยทําความเขาใจ

เก่ียวกับนิยามศัพท สมรรถนะ บริบท ท้ังใน Reading Literacy, Scientific Literacy, Mathematical

Literacyไดศึกษาเรียนรูในเรื่องแบบทดสอบ PISA ในปท่ีผาน เชน PISA 2012, PISA 2015 และการ

ทดสอบ PISA2018

2) ตรวจสอบกลุมเปาหมายท่ีจะสอบ สํารวจขอมูลจํานวนนักเรียน

3) สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางการประเมิน ระดับนานาชาติ และใหครู

เขารับการอบรมพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทาง PISA

Page 64: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

36

4) จัดประชุมสรางความเขาใจใหกับผูบริหาร/หัวหนาวิชาการ และประชุมปฏิบัติการ

พัฒนาครูสอนวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและการอาน ในการเตรียมความพรอมเพ่ือรองรับการทดสอบ

PISA (เชน การศึกษาการเรียนรูแบบทดสอบ PISA)

5) จัดประชุมปฏิบัติการเพ่ือเสริมสรางทักษะการใชคอมพิวเตอรในการทําขอสอบของ

ครูผูสอน

ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 หรือระดับมัธยมศึกษาปท่ี 4 ใหสามารถใชระบบออนไลนขอสอบ PISA เพ่ือ

การพัฒนานักเรียนใหเสร็จสิ้นกอนเปดภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2561 โดยใชสื่อประกอบการประชุมท่ี

เผยแพรโดยศูนย PISA สพฐ. ไดทาง website : Obec channel, page facebook : PISA Center OBEC

6) จัดทําสําเนาสื่อ (ตัวอยางขอสอบ PISA สําหรับครู นักเรียน และ CD ระบบออนไลน

ขอสอบ PISA แจกโรงเรียนในสังกัด เพ่ือใหนักเรียนไดฝกทักษะการแกปญหาตามแนวทางการประเมิน

ของ PISA จากตัวอยางขอสอบและฝกทักษะการทําขอสอบดวยคอมพิวเตอร และกํากับ ติดตามการใชสื่อ

อยางตอเนื่อง และเกิดผล

1.3 สถานศึกษาท่ีมีนักเรียนอายุ 15 ป (ม.ตน, ม.ปลาย, ปวช.)มีการปรับกระบวนการเรียนการ

สอนท่ีสอดคลองกับการทดสอบ PISA ดังนี้

1) โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีสอดแทรกตามรูปแบบการประเมิน PISA

และบูรณาการเชื่อมโยงกับหลักสูตรใหสอดคลองตามแนว PISA

2) สถานศึกษาท่ีมีนักเรียนอายุ 15 ป (ม.ตน) มีการปรับกระบวนการเรียนการสอนท่ี

สอดคลองกับการทดสอบ PISA โดยครูผานการอบรมเพ่ือพัฒนาศักยภาพดานการสอบดวยคอมพิวเตอร

(Computer-based Assessment) เพ่ือเตรียมความพรอมในการประเมิน PISA 2018 นําสูการ

ปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนกับนักเรียนอายุ 15 ป (ม.ตน)

3) ครูผูสอนในระดับชั้น ม.1-3 มีการปรับกระบวนการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกับการ

ทดสอบการประเมิน PISA และบริบท สมรรถนะ รวมถึงกรอบการประเมินในแตละดาน

4) ฝกใหนักเรียนคิดวิเคราะหนําเสนอผลการวิเคราะหเรื่องท่ีอาน และพัฒนาสื่อ (แบบฝก

บทอาน ฯลฯ) จัดทํา/รวบรวมคลังขอสอบ ใชขอสอบ PISA เปนแนวทางการประเมินผูเรียน 5) ครูสอนใหนักเรียนไดเขาไปทดสอบดวยระบบคอมพิเตอร จากขอสอบ PISA ของ สสวท.

6) มีการนําแบบฝกหัด/แบบทดสอบ ไปใชวัดและประเมินควบคูกับการเรียน

1.4 สถานศึกษาท่ีมีนักเรียนอายุ 15 ป (ม.ตน, ม.ปลาย, ปวช.)จัดกิจกรรมการเรียนการสอน

เพ่ือเสริมสรางประสบการณการทดสอบตามแนวทางของการสดสอบ PISA แกผูเรียน ดังนี้

1) ครูผูสอนในระดับชั้น ม.1-3 ไดจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือเสริมสราง

ประสบการณการทดสอบอยางสมํ่าเสมอ โดยสอดแทรกเขาในการจัดกิจกรรมการเรียนรูในเนื้อหาท่ี

เก่ียวของ และใหนักเรียนฝกทําขอสอบ PISA ในปท่ีผานมา ท้ังในรูปแบบขอสอบท่ีอยูใน Computer

และเปน paper และทําแบบทดสอบตามแนว PISA ท้ัง 3 ดาน

2) ครูประเมินผูเรียนดวยขอสอบ PISA ของ สสวท.

Page 65: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

37

3) ฝกฝนการใชคอมพิวเตอรของนักเรียนรองรับการประเมินดวยขอสอบ PISA แ ล ะ จั ด

สอบ Pre – PISA กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา

4) เตรียมสมัครเปนสมาชิก สสวท. เพ่ือศึกษาแนวทางและตัวอยาง การจัดการเรียนการ

สอนท่ีสอดคลอง PISA ในการเตรียมนักเรียน

5) จัดคายนักเรียนการใชคอมพิวเตอร/ฝกทําขอสอบ จัดสอบ Pre – PISA กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือ

มีผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้

1) ผูเรียนมีความตระหนัก เขาใจในประเด็นการประเมิน PISA และไดรับการเตรียมความ

พรอมจากครูผูสอน โดยสอดแทรกกระบวนการคิดเชิงเหตุผลในการทํากิจกรรมการเรียนรู

2) พัฒนาทักษะการคิดของนักเรียน ใหสามารถนํากระบวนการคิดไปใชในชีวิตประจําวันได

3) สงผลใหนักเรียนไดรับพัฒนาสูความเปนเลิศในการแขงขันทักษะวิชาการ

(ศิลปหัตถกรรมนักเรียน) ระดับประเทศ ในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย, คณิตศาสตร, พัฒนาผูเรียน

4) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยทําขอสอบ PISA ผานระบบคอมพิวเตอร

5) ผูเรียนไดคิดออกแบบกระบวนการทางวิทยาศาสตรและไดคํานวณตนทุน และผลผลิตท่ีเกิดข้ึน ทําใหไดสิ่งประดิษฐใหมๆ เกิดข้ึนมา ตามสภาพทองถ่ินนั้นๆ 6) นักเรียนอายุ 15 ป (ม.ตน) ไดนํานวัตกรรมแผนบันทึกขอมูล CD ระบบออนไลน

ขอสอบ PISA ซ่ึงจัดทําโดย สสวท. มาใชในการฝกปฏิบัติในกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือเสริมสราง

ประสบการณการทดสอบตามแนวทางของการทดสอบ PISA ใหเกิดทักษะมากยิ่งข้ึน

2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตาม

ประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษา

ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด

ของความโดดเดน/จุดแข็ง/

นวัตกรรม

1. โรงเรียนบานโหมนสงเคราะห อ.เมือง จ.กาฬสินธุ การจัดกิจกรรมท่ีเนน

กระบวนการใหนักเรียนไดฝก

ทักษะ การคิดในรูปแบบ PISA

วิทยาศาสตร

2. โรงเรียนดานใตวิทยา อ.รองคํา จ.กาฬสินธุ การจัดกิจกรรมคณิตศาสตร

3. โรงเรียนบานนาวิทยาคม อ.ดอนจาน จ.กาฬสินธุ การจัดกิจกรรมการอานรูเรื่อง

Page 66: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

38

4. โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 35

(คําก้ัง)

หมูท่ี 4 บานคําก้ัง ตําบลเหลา

ใหญ อ.กุฉินารายณ จ.

กาฬสินธุ

บุคลากร/คอมพิวเตอร/ระบบ

Internetพอเพียงและพรอมใช

งาน

5.โรงเรียนสมเด็จประชานุเคราะห

หมูท่ี 9 บานโนนสวรรค ตําบล 16

สมเด็จ อ.สมเด็จ 16จ.กาฬสินธุ

บุคลากร/คอมพิวเตอร/ระบบ

Internetพอเพียงและพรอมใช

งาน

6. โรงเรียนอนุบาลมหาสารคาม อ.เมือง จ.มหาสารคาม รายการและรายละเอียด

ของความโดดเดน/จุดแข็ง/

นวัตกรรม

7. โรงเรียนบานเหลาจั่นนาภ ู

อ. แกดํา จ.มหาสารคาม ฝก นร. ทําแบบทดสอบOnline

บอยๆ

8. โรงเรียนหลักเมืองมหาสารคาม

ถ.นครสวรรค ต.ตลาด อ.เมือง

จ.มหาสารคาม

โครงการบานนักวิทยาศาสตร

นอยประเทศไทย

9. โรงเรียนหวยแคนโนนสูง ต.หนองแวง อ.กุดรัง

จ.มหาสารคาม

การสอบคิดวิเคราะหเขียนตาม

แนว PISA

10. โรงเรียนบานหนองกุงวันดี

ประชาสรรค

ต.แกงแก อ.โกสุมพิสัย

จ.มหาสารคาม

การพัฒนากระบวนการคิด โดย

ใชกิจกรรมคิดเลขเร็ว เอแม็ท คํา

คม

11. โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม

ต.ภูเวียง อ. ภูเวียง จ.ขอนแกน

สพม.25

บูรณาการจัดการเรียนการสอน

เตรียมความพรอมการสอบ PISA

ทุกกลุมสาระการเรียนรู

12. โรงเรียนบานหวยทรายทุงมร

อ.แวงนอย จ. ขอนแกน สื่อการเรียนการสอน การวัด

ประเมินผลตามแนว PISA

13. โรงเรียนบานสําโรง

อ.หนองสองหอง จ. ขอนแกน สื่อการเรียนการสอน การวัด

ประเมินผลตามแนว PISA

14. โรงเรียนสาธิตศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน

อ.เมือง จ.ขอนแกน นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน

(Lesson Study) และวิธีการ

แบบเปด (Open Approch)

15. โรงเรียนบานแห (ประชานุ

กูล)

อ.เสลภูมิ จ.รอยเอ็ด เด็กไดออกแนวความคิดใหมๆ

สามารถนํามาใหไดตามภูมิ

ปญญาทองถ่ิน

16. โรงเรียนเมืองรอยเอ็ด ถนนรณชัยชาญยุทธ ต.ในเมือง มีหองฝกทักษะการสอบเพ่ือ

Page 67: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

39

อ.เมือง จ.รอยเอ็ด เตรียมความพรอมของนักเรียน

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ระบบอินเตอรเน็ต จํานวนคอมพิวเตอรของโรงเรียนไมเพียงพอตอการประเมิน

2) ผูเรียนขาดทักษะการทดสอบ PISA โดยการใชคอมพิวเตอร ONLINE

3) หนวยงานท่ีเก่ียวของมีหลายหนวยงานตางคนตางคิด ตางทําไมมีการบูรณาการทําใหเปน

ภาระงานอยูกับครูผูปฏิบัติ

4) งบประมาณสนบัสนุนโรงเรยีนไมเพียงพอ

5) ความตอเนื่องของการดําเนินงานของโรงเรียนตองดูแลชวยเหลือและติดตาม เพราะเปนเรื่อง

ท่ีใหมและยาก ตองใหครูไดเปดใจท่ีจะยอมรับและนําสูการปฏิบัติ

6) ครูระดับมัธยมศึกษามีวุฒิการศึกษาไมตรงตามสาระการเรียนรูท่ีสอนทําใหการดําเนินการจัด

กิจกรรมการเรียนรูยังไมชัดเจนเทาท่ีควร

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) แตละเขตพ้ืนท่ีควรมีทีมสรางขอสอบแนว PISA อยางนอย 9 คน (การอาน 3 คน

คณิตศาสตร 3 คน วิทยาศาสตร 3 คน) ภายในปงบประมาณ 2560

2) แตละโรงเรียนควรมีครูท่ีไดรับการฝกใหเปนผูชํานาญการดานสรางขอสอบ/เครื่องมือ

ประเมินผลการเรียนรูประจําโรงเรียน 2-3 คนตอโรงเรียน ท่ีสามารถใหคําแนะนําและนิเทศครูในโรงเรียน

ได ภายในปการศึกษา 2560

3) ควรจัดทําแบบฝกท่ีสงเสริมใหนักเรียนไดฝกคิดตามสมรรถนะ บริบทของการประเมิน

PISA อยางหลากหลาย และสงเสริมดานงบประมาณใหสถานศึกษาไดจัดกิจกรรมอยางตอเนื่อง

4) หนวยงานท่ีเก่ียวของควรบูรณาการงานท่ีเปนเรื่องเดียวกัน เพ่ือการขับเคลื่อนท่ีชัดเจน

ไปในแนวทางเดียวกัน และตอเนื่องท้ังกระบวนการเรียนรูและการทดสอบ

5) ควรสนับสนุนงบประมาณท่ีเพียงพอใหกับโรงเรียนมีหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรเพ่ือฝกทักษะ

6) ควรมีการประชุมเชิงปฏิบัติการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางของ

PISA บอยๆ เพ่ือกระตุนใหครูเกิดความชํานาญ และสนใจมากข้ึน

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ควรศึกษาวิเคราะหขอสอบท่ีโรงเรียนใชวามีความเหมาะสม ความตรง ความเชื่อถือได

เพียงใด และตองพัฒนาอยางไร ท้ังนี้ไมใชเพ่ือจับผิด แตเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงแกไข

2) ควรศึกษาวิธีการวัดและประเมินผลเพ่ือเลื่อนชั้นและจบชวงชั้นของนานาประเทศ เชน

จาก ป.1 ข้ึน ป.2, จาก ม.2 ข้ึน ม.3, จบ ป.6, จบ ม.3 เปนตน

3) ควรไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวนของสังคม ท้ังนักเรียน พอแมผูปกครอง และ

ประชาชน ในการจัดกิจกรรมท้ังหมด และทุกคนตระหนักถึงความสําคัญ เห็นคุณคา ความจําเปนของการ

Page 68: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

40

เขารวมโครงการ PISA ตลอดจนมีความเชื่อวาเปนสิ่งท่ีตองทํา เชื่อวาทําได เราก็ผิวเหลือง ผมดํา เหมือนคน

อ่ืน และการจัดกิจกรรมจะตองดําเนินการตอเนื่องตลอดไป

นโยบายท่ี 2 การจัดการศึกษาปฐมวัย

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการ :

2.1 การเขาถึงโอกาสทางการศึกษาปฐมวัย

KPI:รอยละของนักเรียนปฐมวัยตอประชากรกลุมอายุ 3 – 5 ป

KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีมีการจัดทําระบบปองกันภัยท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา

(นิยาม: ระบบปองกันภัยท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษาหมายถึง การดําเนินงาน

ดานอาคารสถานท่ี ดานอุปกรณเครื่องใชตางๆ ดานเครื่องเลน ดานการรับสงนักเรียนและการจราจร)

1. ผลการดําเนินการ

ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด

1.1 จํานวนนักเรียนปฐมวัย (อนุบาล 1-3 และเด็กเล็ก)และจํานวนสถานศึกษาท่ีเปดสอนระดับ

ปฐมวัย ปการศึกษา 2560

หนวยงาน/สถานศึกษา

(สังกัด)

จํานวน

สถานศึกษา

ท่ีเปดสอน

ระดับ

ปฐมวัย

ท้ังหมด

(แหง)

จํานวน

ประชากร

วัยเรียน

อายุ 3-5 ป

(คน)

นักเรียนปฐมวัย

(อนุบาล 1-3 และเด็ก

เล็ก)

สถานศึกษาท่ีมีระบบ

ปองกันภัยท้ังภายในและ

ภายนอกสถานศึกษา

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

สพป. 2,238 77,618 63,065 81.25 2,238 100

สช. 284 30,648* 28382 92.61 284 100

สกอ. (โรงเรียนสาธิต) 3 851 851 100 3 100

Page 69: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

41

อปท. (อนุบาล) 407 23209 23209 100 407 100

ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก* 466 - 22700 - 466 100

อบจ.** 2 155 155 100 2 100

เทศบาล** 11 1119 1119 100 11 100

พมจ.** 26 745 745 100 26 100

สาธารณสุข** 1 146 146 100 1 100

หมายเหตุ: จํานวนประชากรวัยเรียน อายุ 3-5 ป ใชขอมูลจากสํานักทะเบียนราษฎรของแตละพ้ืนท่ี

(อําเภอ/จังหวัด) * ศธจ.กาฬสินธุ ** ศธจ.ขอนแกน

1.2 สถานศึกษาไดดําเนินการดานตางๆ เพ่ือเปนการปองกันภัยท้ังภายในและภายนอก

สถานศึกษาใหกับผูเรียนระดับปฐมวัย ดังนี้

ดานอาคารสถานท่ี สถานศึกษาไดจัดสภาพแวดลอมท่ีเปนบวกสนับสนุนการเรียนรูของเด็ก มี

พ้ืนท่ีสนามเด็กเลน และมีเครื่องเลน จํานวนเพียงพอเหมาะสม สะอาด มีรั้วรอบขอบชิดและอาคารเรียนท่ี

ปลอดภัยหองเรียนมีความปลอดภัย ไดแก หองเรียนท่ีอยูชั้นลางของตัวอาคารเรียน หรือแยกเปนเอกเทศ

สําหรับระดับอนุบาล รวมท้ังบรรยากาศภายในและภายนอกหองเรียนท่ีเอ้ือตอการเรียนรู และติดตั้งถัง

ดับเพลิงภายในอาคารเรียน มีการแตงตั้งเวรรับผิดชอบในการดูแลเด็กตลอดท้ังวัน จนกวาจะสงเด็กกลับบาน

ดานอุปกรณเครื่องใชตางๆ สถานศึกษาสรางขอตกลงรวมกันระหวางครู และผูเรียน เก่ียวกับ

การใชวัสดุ อุปกรณ สื่อการเรียนรู ท่ีอาจเปนอันตรายได เชน มีด กรรไกร โลหะ กระจก เครื่องใชไฟฟา

เพ่ือเปนการปองกันอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึน จัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกเพ่ือพัฒนาเด็กอยางรอบดาน มี

ระบบดูแลตรวจสอบ ซอมบํารุงรักษาอยางมีประสิทธิภาพอยูในสภาพพรอมใชงานมีมุมตางๆในการ

สงเสริมผูเรียน มีพ้ืนท่ีเลนเปนสัดสวนปลอดภัย อุปกรณท่ีใชในมุมตางๆมีความปลอดภัย

ดานเครื่องเลน สถานศึกษามีเครื่องเลนท่ีเหมาะสมปลอดภัยสําหรับเด็กมีมาตรการปองกัน

อันตรายจากการใชเครื่องเลน แหลงเรียนรู และอุปกรณการเลน มีการตรวจสอบสภาพมาตรฐาน และ

คุณภาพการใชงานของเครื่องเลน อุปกรณการเลน และปรับปรุงแหลงเรียนรูใหผูเรียนอยางสมํ่าเสมอ มี

การดูแลรักษาความสะอาด ซอมบํารุงใหใชงานเปนปกติ โดยไดรับความรวมมือจากท้ังผูปกครองและ

หนวยงานอ่ืนๆ เชน เทศบาล วิทยาลัยการอาชีพ เปนตน

ดานการรับสงนักเรียนและการจราจร สถานศึกษาบางแหงท่ีมีรถรับสงนักเรียนจะมีการทํา

ประกันภัย และชี้แจงขอตกลงเพ่ือความปลอดภัยในการตรวจนับจํานวนนักเรียนกอนข้ึนและลงจากรถ จัด

ประสบการณดานการสงเสริมวินัยจราจรสําหรับเด็กและผูปกครอง ชี้แจงทําความเขาใจกับนักเรียน

ผูปกครอง และเจาของรถมีการแตงตั้งครูเวร รับ-สง นักเรียน มีตํารวจจราจร และสารวัตรนักเรียนดูแล

ความปลอดภัยของนองๆ โดยใชสัญลักษณธงขาวเดินนําหนาแถว

Page 70: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

42

ดานโภชนาการ สถานศึกษาไดดําเนินการสงเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก ใหความรูผูปกครอง

และตัวเด็กในการเลือกรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ หลีกเลี่ยงอาหารท่ีเปน

อันตรายและไมมีประโยชนตอรางกาย จัดอาหารเสริม (นม) และอาหารกลางวันใหเด็กๆ อยางครบถวน

มีครูอนามัยตรวจสอบรายการอาหาร และสินคาท่ีนํามาขายในสถานศึกษามีโครงการอาหารกลางวัน

มีการควบคุมคุณภาพของอาหารกลางวัน อาหารเสริมนม ควบคุมไมใหมีการขายขนมอบกรอบ และ

น้ําอัดลมในโรงเรียน ใหความรูแกเด็กเรื่องการเลือกซ้ือ และเลือกรับประทานอาหาร

ดานสุขอนามัย สถานศึกษาไดดําเนินการจัดประสบการณใหเด็กไดมีพัฒนาการดานรางกาย

สงเสริมใหมีสุขอนามัยท่ีดี ไดแก ดูแลความสะอาดของรางกายโดยการตรวจสุขภาพอยางสมํ่าเสมอ ให

ความรูและพัฒนาทักษะชีวิตในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันท่ีถูกตอง เหมาะสมไดดวยตนเอง เชน การลางมือ

กอน และหลังรับประทานอาหาร ลางมือหลังจากใชหองน้ําหองสวม การแปรงฟนหลังรับประทานอาหาร

การอาบน้ํา การสวมใสเสื้อผาท่ีสะอาด การระมัดระวังตนเองจากอันตรายครูประจําชั้นตรวจสุขภาพ

รวมกับภาคีเครือขายคุณหมอใน รพ.สงเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลอ่ืนๆท่ีอยูใกลเคียง ชั่งน้ําหนักวัดสวนสูง

ตามระยะเวลาท่ีกําหนด รับประทานอาหารท่ีมีประโยชนจัดทําโครงการ อย. นอย โครงการเกลือไอโอดีน

เปนตน

2. ความโดดเดน / จุดแข็ง / นวัตกรรม / ตนแบบ หรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือมี

ผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้

1) การดําเนินงานของสถานศึกษาในโครงการบานนักวิทยาศาสตรนอยประเทศไทย ทําใหเด็กมี

ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรมากข้ึน สามารถใชทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรสืบเสาะหาความรู หรือ

สิ่งท่ีสงสัยไดอยางเปนระบบ และมีพัฒนาการดานรางกาย อารมณจิตใจ สังคม และสติปญญาสูงข้ึน

2) การพัฒนาผูปกครองเด็กปฐมวัย ทําใหผูปกครองสวนใหญมีความรู ความเขาใจ และสามารถ

อบรมเลี้ยงดูเด็กไดอยางถูกตองและเขาใจกระบวนการพัฒนาเด็กตามวัยมากข้ึน เด็กไดรับการเอาใจใส

และพัฒนาอยางมีสวนรวมระหวางผูปกครองและสถานศึกษาในการจัดประสบการณการเรียนรู เชน การ

ไดรับความอนุเคราะหจากผูปกครองในการเปนวิทยากรรวม การใหศึกษาแหลงเรียนรู การชวยเหลือดูแล

และการสนับสนุนสื่ออุปกรณการเรียนรู

3) การดําเนินงานสนามเด็กเลนตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) : เลนตามรอยพระยุคลบาท

ทําใหเด็กปฐมวัยในโรงเรียนตนแบบและตนแบบเครือขาย ไดรับการพัฒนาอยางมีประสิทธิภาพ

4) การพัฒนาครูปฐมวัยใหมีความรูดานหลักสูตรและการจัดประสบการณท่ีสอดคลองกับ

หลักสูตร ทําใหเด็กไดรับประสบการณท่ีดี เหมาะสมตามวัย สนองความสนใจ และมีคุณลักษณะท่ีพึง

ประสงคเปนไปตามหลักสูตรกําหนด

5) นักเรียนมีพัฒนาการท่ีสมบูรณครบท้ัง 4 ดาน เต็มตามศักยภาพของแตละบุคคล เด็กปฐมวัย

มีพัฒนาการและความสามารถในการสื่อสาร กลาแสดงออก มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค

Page 71: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

43

6) มีนวัตกรรมไฮสโคปท่ีทําใหเด็กปฐมวัยรูจักการวางแผนการทํางาน เกิดทักษะกระบวนการคิด

รูจักใชคําถามกับสถานการณ เหตุการณเรื่องนั้น ๆ นวัตกรรมมอนเตสซอรี่ ทําใหเด็กไดลงมือกระทํา เกิด

การเรียนรูและนําไปใชในชีวิตประจําวัน เด็กมีสมาธิ มีวินัยในตนเอง รูจักมีความรับผิดชอบในการทํางาน

เด็กมีความพรอมและมีพ้ืนฐานในการเรียนรูในระดับประถมศึกษา โดยเฉพาะเรื่องคณิตศาสตร สวนนวัตกรรม

วอลดอรฟ (อนุบาลแบบบาน) สามารถพัฒนาเด็กปฐมวัยใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณต้ังแตปฐมวัย เด็กไดเรียนรู

จากการลงมือทํา ลงมือปฏิบัติดวยตนเอง สามารถชวยเหลือตนเองได ในชีวิตประจําวัน มีความเขาใจ

ตนเองและผูอ่ืน เขาใจธรรมชาติ มีจิตใจท่ีออนโยน รูจักชวยเหลือผูอ่ืน มีวินัย มีสมาธิ เด็กจะเรียนรูมาเพ่ือ

ดํารงชีวิต จากเรื่องงานบาน งานครัว งานสวน นิทาน บทเพลงบทกวี ท่ีออนโยน เปนตน ซ่ึงในสังคมยุค

ปจจุบันท่ีเด็กไทยขาดมากคือ การชวยเหลือตนเอง ขาดทักษะชีวิต ทําอะไรไมเปนอาศัยเฉพาะพอแม

ผูปกครอง

7) ใชนวัตกรรมการจัดประสบการณแบบมอนเตสซอรี่ ระดับปฐมวัย อายุ 3-6ป

8) จัดกิจกรรมตามโครงการบานนักวิทยาศาสตรนอยประเทศไทย

2.2 รายชื่อหนวยงาน / สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตามประเด็น

นโยบาย

รายชื่อหนวยงาน / สถานศึกษา

ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง

หนวยงาน / สถานศึกษา

รายการและรายละเอียดของ

ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม

1. โรงเรียนอนุบาลกาฬสินธุ บานเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ

ต.กาฬสินธุ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ

-เปนโรงเรียนอนุบาลประจํา

จังหวัด มีการพัฒนารูปแบบและ

วิธีการสอนอยางตอเนื่อง เปน

ศูนยกลางการพัฒนาครูปฐมวัย

ดวย STEM ศึกษา

2. โรงเรียนบานหนองกุงใหญ หมูท่ี 1 บานหนองกุงใหญ ต.

สําราญ อ.สามชัย จ.กาฬสินธุ

-เปนโรงเรียนอนุบาลประจําเขต

พ้ืนท่ี เปนศูนยกลางการพัฒนาครู

ปฐมวัยดานการจัดการเรียนรู

แบบโครงงาน

3. โรงเรียนบานแกหัวแฮดสมโฮง

วิทยา

หมูท่ี 12 บานแก ต.ธัญญา อ.

กมลาไสย จ.กาฬสินธุ

-เปนโรงเรียนตนแบบสนามเด็ก

เลนตามหลักการพัฒนาสมอง

(BBL) : เลนตามรอยพระยุคล

บาท ใชสนามเด็กเลนและนํา

แนวคิดตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัด

ประสบการณ

Page 72: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

44

4. โรงเรียนชมุชนหนองสอวิทยา

คาร

หมูท่ี 2 บานหนองสอใต

ต.ลําปาว อ.เมือง จ.กาฬสินธุ

-เปนโรงเรียนตนแบบเครือขาย

สนามเด็กเลนตามหลักการพัฒนา

สมอง (BBL) : เลนตามรอยพระ

ยุคลบาท ใชสนามเด็กเลนและ

เปนโรงเรียนท่ีสงเสริมการเรียนรู

ท่ีสอดคลองกับวัฒนธรรมของ

ทองถ่ิน นําวิถีไทย ประเพณี

อีสานมาใชในการจัด

ประสบการณ

5. โรงเรียนบัวขาว (วันครู 2500) อ.กุฉินารายณ จ.กาฬสินธุ การจัดประสบการณตามทักษะ

กระบวนการวทิยาศาสตร

6. โรงเรียนสมเด็จประชานุเคราะห อ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ สนามเด็กเลนตามหลักพัฒนา

สมอง

BBL : เลนตามรอยพระยุคลบาท

7. โรงเรียนเหลาไฮงามวิทยาสูง อ.กุฉินารายณ จ.กาฬสินธุ จั ด ต า ม แ น ว ม อ น เต ส ซ อ รี่

โรงเรียน

8. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กตําบลหนอง

ตอกแปน

หมู 5 บานหนองตอกแปน

ตําบลหนองตอกแปน อ.ยาง

ตลาด จ.กาฬสินธุ

มีกระบวนการจัดการเรียนการ

สอนแบบ ไฮสโคป (High

Scope)

9. โรงเรียนอนุบาลมหาสารคาม

ถ.ศรีสวัสดิ์ดําเนิน ต.ตลาด อ.

เมือง จ.มหาสารคาม 44000

การจัดการเรียนการสอนแบบ

มอนเตสชอรี ่

1 0 . โ ร ง เ รี ย น ห ลั ก เ มื อ ง

มหาสารคาม

ถ.นครสวรรค ต.ตลาด อ. เมือง

จ.มหาสารคาม 44000

โครงการบานนักวิทยาศาสตร

นอยประเทศไทย

11. โรงเรียนอนุบาลวาปปทุม

อ.วาปปทุม จ.มหาสารคาม สถาน ศึกษาไดดํ า เนิ นการจัด

การศึกษาปฐมวัยเพ่ือพัฒนาเด็ก

อยางรอบดาน มีระบบการดูแล

ตรวจสอบอยางมีประสิทธิภาพ

มีแผนงาน โครงการ กิจกรรมท่ี

สงเสริมและพัฒนาเด็กดวยวิธีการ

ท่ีหลากหลาย

12. โรงเรียนบานกอก สพป.ขอนแกน เขต 1 จัดการเรียนการสอนตามแนวทาง

Page 73: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

45

ของวอลดอฟ

การใชวิถีธรรมชาติเพ่ือพัฒนาการ

เรียนรู การใชสื่อการเรียนรู

ธรรมชาติท่ีไมใชอุปกรณสําเร็จรูป

เด็กไดสัมผัสและนํามาสรางสรรค

การเรียนรูดวนตนเอง

13. โรงเรียนบานคําไฮหัวทุง

ประชาบํารุง

สพป.ขอนแกน เขต 1 จัดการเรียนการสอนตามแนวทาง

มอนเตสเซอรรี่เด็กสามารถเรียนรู

ไดดวยตนเอง เรียนรูระเบียบ

วินัยของชีวิต มีอิสรภาพในการ

ทํางานและแกไขขอบกพรองเด็ก

สามารถเรียนไดดวยตนเอง เนน

เด็กเปนศูนยกลางในการเรียน

เพ่ิมข้ึน

14. โรงเรียนน้ําพอง

สพป.ขอนแกน เขต 4 จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ท่ี

หลากหลาย บู รณ าการ เน น

กิจกรรมท่ีเปน Active Learning

15. โรงเรียนไตรคามประชาพัฒนา สพป.ขอนแกน เขต 2 จัดกิจกรรมตามแนวทางมอนเตส

เซอรี่

16. โรงเรียนบานหนองนกเขียนนา

เสถียร

สพป.ขอนแกน เขต 2 จัดกิจกรรมตามแนวทางมอนเตส

เซอรี่

17. โรงเรียนบานปาง้ิว สพป.ขอนแกน เขต 2 จัดกิจกรรม 6 กิจกรรมหลักตาม

หลักสูตรท่ีเนน Active Learning

18. โรงเรียนหนองขามวิทยาคาร

อ.ชุมแพ จ.ขอนแกน กิจกรรมสงเสริมคุณลักษณะตาม

คานิยม 12 ประการ กิจกรรม

การสอนโดยใชภาษาธรรมชาติ

19. โรงเรียนหนองแสงวิทยาสรรค อ.หนองเรือ จ.ขอนแกน กิจกรรมบานนักวิทยาศาสตรนอย

ประเทศไทย และบู รณ าการ

ภาษาธรรมชาติ

20 .โรงเรียนบ าน โนนสว างท า

กระบือ

อ.ภผูามาน จ.ขอนแกน กิจกรรมบูรณาการสื่อผสม

21. โรงเรียนเมืองรอยเอ็ด ถนนรณชัยชาญยุทธ ต.ในเมือง นวัตกรรมไฮสโคป

Page 74: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

46

อ.เมืองรอยเอ็ด จ.รอยเอ็ด

45000

22.โรงเรียนอนุบาลรอยเอ็ด

ถนนรณชัยชาญยุทธ ต.ในเมือง

อ.เมืองรอยเอ็ด จ.รอยเอ็ด

45000

นวัตกรรมมอนเตสซอรี่

23. โรงเรียนบานปานหนองออ

หมูท่ี 6 บานปาน ต.ดงสิงห อ.

จังหาร จ.รอยเอ็ด 45000

นวัตกรรมวอลดอรฟ (อนุบาล

แบบบาน)

24. โรงเรียนอนุบาลเมืองหนอง

พอก

อ. หนองพอก จ.รอยเอ็ด สนามเด็กเลนตามรอยพระยุคล

บาทในโรงเรียนขนาดใหญ

25. โรงเรียนบานบะเค(ราษฎรผดุง

วิทยาคาร)

อ. โพนทอง จ.รอยเอ็ด สนามเด็กเลนตามรอยพระยุคล

บาทในโรงเรียนขนาดเล็ก

26. โรงเรียนอนุบาลโพนทอง

อ. โพนทอง จ.รอยเอ็ด นวัตกรรมการสอนแบบมอนเตส

ซอรี่

27. โรงเรียนเมืองสุวรรณภูมิ ต.สระคู อ. สุวรรณภูมิ

จ.รอยเอ็ด

-การจัดประสบการณแบบมอน

เตสซอรี่ ระดับปฐมวัย อายุ 3-6ป

-กิจกรรมบานนักวิทยาศาสตร

นอย ประเทศไทย

28. โรงเรียนอนุบาลเมืองใหม

สุวรรณภูมิ

อ. สุวรรณภูมิ จ.รอยเอ็ด -การจดัประสบการณแบบมอน

เตสซอรี่

ระดับปฐมวัย อายุ 3-6ป

-กิจกรรมบานนักวิทยาศาสตร

นอย ประเทศไทย

29 . โรงเรียนบานตาแหลวโนนหมาก

แงว

ต. น้ําคํา อ. สุวรรณภูมิ

จ.รอยเอ็ด

-การจดัประสบการณแบบมอน

เตสซอรี่

ระดับปฐมวัย อายุ 3-6ป

-กิจกรรมบานนักวิทยาศาสตร

นอย ประเทศไทย

30. โรงเรียนบานเหวอดงสวนผึง้ ต. น้ําคํา อ. สุวรรณภูมิ

จ.รอยเอ็ด

-การจดัประสบการณแบบมอน

เตสซอรี่

ระดับปฐมวัย อายุ 3-6ป

-กิจกรรมบานนักวิทยาศาสตร

นอย ประเทศไทย

Page 75: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

47

31. โรงเรียนบานเปลือยคุรุประชา

สรรค

อ. สุวรรณภูมิ จ.รอยเอ็ด -กิจกรรมบานนักวิทยาศาสตร

นอย ประเทศไทย

-การสอนแบบโครงการ (Project

Approach)

-STEM ศึกษาระดับปฐมวัย

32. โรงเรียนบานหนองแวง อ.เกษตรวิสัย จ.รอยเอ็ด -การจดัประสบการณแบบมอน

เตสซอรี่

ระดับปฐมวัย อายุ 3-6ป

33. โรงเรียนบานกูกาสิงห อ.เกษตรวิสัย จ.รอยเอ็ด -การจดัประสบการณแบบมอน

เตสซอรี่

ระดับปฐมวัย อายุ 3-6ป

34. โรงเรียนจตุรคามพัฒนา อ.เกษตรวิสัย จ.รอยเอ็ด -รูปแบบการจัดกิจกรรม

การละเลนของเด็กไทย

-กิจกรรมบานนักวิทยาศาสตร

นอย ประเทศไทย

35. โรงเรียนอนุบาลเมืองพนมไพร อ. พนมไพร จ.รอยเอ็ด

-กิจกรรมบานนักวิทยาศาสตร

นอย ประเทศไทย

-การสอนแบบโครงการ (Project

Approach)

-การสอนแบบภาษาธรรมชาติ

36. โรงเรียนบานนาชมดอนกลางวิทยา อ. พนมไพร จ.รอยเอ็ด -การจดัประสบการณแบบมอน

เตสซอรี่ระดับปฐมวัย อายุ 3-6 ป

-กิจกรรมบานนักวิทยาศาสตร

นอย ประเทศไทย

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ขาดความรู ความเขาใจในการนํานโยบายสูการปฏิบัติ

2) ผูบริหารบางสวนยังใหความสําคัญในการจัดกิจกรรมท่ีสงเสริมเด็กปฐมวัยนอย และเขาใจ

หลักการจัดการศึกษาปฐมวัยคลาดเคลื่อน

3) ครูท่ีจบการศึกษาดานปฐมวัยมีนอย ทําใหการจัดกิจกรรมยังไมไดคุณภาพ และการ

ขับเคลื่อนนโยบายลงสูการปฏิบัติคอนขางยาก ตองใชเวลานานในการพัฒนาครู และมีการโยกยายบอยทําให

เกิดความไมตอเนื่องในการพัฒนาคร ู

4) โรงเรียนอนุบาลขนาดเล็ก สวนใหญขาดบุคลากรในการสอนและสื่อการเรียนรู

Page 76: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

48

5) งบประมาณท่ีโรงเรียนสนับสนุนในระดับปฐมวัยมีไมเพียงพอ พบวาบางโรงเรียน ท้ังปไดรับ

งบประมาณ เพียง 2,000 บาท

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรเนนใหผูบริหารเห็นความสําคัญและสงเสริมการจัดประสบการณสําหรับเด็กปฐมวัยใหมากข้ึน

2) ควรใหผูบริหารทุกโรงเรียนรับการอบรมจากสวนกลาง เพ่ือสรางความตระหนักใหมากข้ึน

ครูปฐมวัยควรไดรับการพัฒนาดานเทคนิคการสอน และการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือรองรับ

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

3) ควรสรางความรู ความเขาใจใหแกครูผูสอนระดับปฐมวัยและผูดูแลเด็กปฐมวัย

4) ควรผลิตบุคลากรดานปฐมวัยท่ีมีคุณภาพเพ่ิมข้ึน และจัดสรรบุคลากรปฐมวัยใหครบทุก

โรงเรียนอยางนอย 1-3 คน ใหครบชั้นเรียนท่ีเปดสอน 4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) เปดโอกาสใหครูปฐมวัย / ผูบริหาร และศึกษานิเทศก ท่ีดําเนินงานโครงการบาน

นักวิทยาศาสตรนอยประเทศไทย สามารถนําผลงานทางวิชาการไปประกอบการเลื่อนวิทยฐานะได

2) สงเสริมกิจกรรม Best Practice ของครูปฐมวัยอยางตอเนื่อง และใหเปนผลงานวิชาการ

สามารถนําไปประกอบการเลื่อนวิทยฐานะได

3) ใหตนสังกัดของสถานศึกษามีสิทธิกลั่นกรองการเลือกหลักสูตรอบรมใหครูปฐมวัย

4) จัดสรรงบประมาณใหเพียงพอในการจัดกิจกรรม

5) ขอความรวมมือจากฝายทะเบียนราษฎรของอําเภอตาง ๆ ในเขต ใหชวยคัดแยกเด็กกลุมอายุ

3-5 ป ของแตละ หมูบาน ตําบลและอําเภอ เพ่ือใหไดขอมูลพ้ืนฐานท่ีตรงกับความเปนจริงมากท่ีสุด

6) โ รงเรียนตองมีขอมูลเด็กในเขตบริการของโรงเรียน โดยการทําสํามะโนไวลวงหนา 1 ป ให

เปนปจจุบัน (ซ่ึงเม่ือมีการเปดรับนักเรียนอายุ 3 ปของโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน

พ้ืนฐานในชั้นอนุบาลปท่ี 1 ตั้งแตปการศึกษา 2560 ตอไปจะตองดําเนินการทําสํามะโนเด็กตั้งแตอายุ 2 ป)

นโยบายท่ี 3 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการ :

3.1 การขยายผลการอบรมโครงการ Boot Camp และการจัดการอบรมขยายผลใหโรงเรียน

เครือขายของ Master Trainer (ตามโครงการ Boot Camp) ในสถานศึกษา

KPI: รอยละของครูผูผานการอบรมโครงการ Boot Camp ในสถานศึกษาสามารถนําเทคนิค

การเรียนการสอนภาษาอังกฤษไปใชในการสอน

KPI: รอยละของ Master Trainer (ตามโครงการ Boot Camp) ในสถานศึกษาสามารถเปนครูแกนนํา

3.2 การจัดสภาพแวดลอมเพ่ือสงเสริมการเรียนรู (เชน ปายช่ือตางๆ ใหมีภาษาอังกฤษควบคู

ภาษาไทย รวมท้ังครู นักเรียน ไดสนทนาภาษาอังกฤษ วันละ 1 ประโยค

Page 77: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

49

KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีสามารถจัดสภาพแวดลอมภายในหองเรียน และนอกหองเรียน

เพ่ือสงเสริมการเรียนรู

1. ผลการดําเนินการ

1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด

1.1 ขอมูลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด

สังกัด

ครูผูผานการอบรมโครงการ

Boot Camp

Master Trainerตามโครงการ

Boot Camp สถานศึกษา

ท่ีจัด

สภาพแวดล

อมภายใน

หองเรียน

และนอก

หองเรียน

เพ่ือสงเสริม

การเรยีนรู

(แหง)

ครูท่ีผาน

การอบรม

Boot

Camp

(คน)

ครูท่ีผาน

การอบรม Boot Camp

สามารถนํา

เทคนิคการเรียนการสอน

ภาษาอังกฤษ

ไปใชในการ

สอน (คน)

รอยละ

Master

Trainer

ตาม

โครงการ

Boot

Camp

(คน)

Master

Trainer

ตาม

โครงการ Boot Camp ที่สามารถเปน

ครูแกนนํา

(คน)

รอยละ

สพป 839 839 100 245 245 100 1,558

สพม. 101 101 100 5 5 100 139

สศศ. (ร.ร.ประชา

นุเคราะห)

- - - - - - 1

สช. - - - - - - 126

สอศ. 40 40 100 40 40 100 61

กศน. 1 1 100 - - - 26

1.2 สภาพแวดลอมภายในหองเรียน และนอกหองเรียนท่ีสถานศึกษาจัดเพ่ือสงเสริมการ

เรียนรูภาษาอังกฤษ ไดแก

1) สภาพแวดลอมภายในหองเรียน ไดแก (1) จัดปาย วัน เดือน ป (2) ปายบอกทิศทาง

(3) บอกตําแหนงท่ีอยูสิ่งของ (4) ปายตัวอักษรภาษาอังกฤษท่ีเปนตัวพิมพใหญ - เล็ก ตัวเขียนใหญ – เล็ก

(5) ปายบอกจํานวนและตัวเลข (6) ปายแสดงการทักทาย (7) ปายชื่อเพ่ือนรวมชั้นเรียนและครูประจําชั้น

ประจําวิชาฯลฯ ตลอดจนจัดใหมีมุมหองท่ีมีสื่อชนิดตางๆ เพ่ือใหนักเรียนไดเรียนรูเพ่ิมเติม และศึกษาดวย

ตนเองจัดบอรดในหองเรียน ผลงานและชิ้นงานนักเรียนเก่ียวกับภาษาอังกฤษ มุมคําศัพท สื่อการเรียนการ

สอนสําหรับครู เอกสารประกอบการสอน และจัดสื่อการเรียนการสอนท่ีนาสนใจ เชน มีโทรทัศน เพ่ือใชใน

การฝกภาษา

Page 78: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

50

2) สภาพแวดลอมภายนอกหองเรียน ไดแก ไดแก (1) ปายชื่อชั้นเรียน (2) ปายบอกชื่อ

หอง ชื่ออาคารตางๆ (3) ปายบอกจุดจอดรถ (4) ปายบอกจุดบริการตางๆ (5) ปายคติ คําคม (6) ปายชื่อ

ตนไม และสถานศึกษาจัดใหมีศูนย/หองเรียนอาเซียนเพ่ือสงเสริมความรูและทักษะในการเรียนรู

ภาษาอังกฤษ จัดทําปายตาง ๆ ท้ังท่ีเปนภาษาอังกฤษและภาษาไทยจัดแหลงเรียนรูภาษาอังกฤษ English Zone

1.3 สถานศึกษามีวิธีการหรือจัดกิจกรรมเพ่ือสงเสริมการใชภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ดังนี้

1) จัดบรรยากาศภายในบริเวณโรงเรียน เชน ติดปาย จัดปายนิเทศ จัดกิจกรรมวันสําคัญ

ของเจาของภาษา เชน วันคริสมาสต วันวาเลนไทน วันฮาโลวีน จัดคายภาษาอังกฤษ เสียงตามสาย โดย

ใชเพลงสากล

2) จัดโครงการท่ีสงเสริมการใชภาษาอังกฤษในการสื่อสาร ไดแก เชิญวิทยากรทางภาษา

มาใหความรูกับนักเรียน, จัดกิจกรรมภาษาอังกฤษหนาเสาธง, จัดกิจกรรมวันคริสมาสต จัดกิจกรรม

มัคคุเทศกนอย

3) จัดใหมีการแขงขันกิจกรรมการอาน เลาเรื่อง นิทานท่ีเปนภาษาอังกฤษ

4) ใหครูใชภาษาอังกฤษในการทักทายกัน รวมท้ังทักทายนักเรียนเปนภาษาอังกฤษให

เปนกิวัตรประจําวัน

5) Mini English Camp in school

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือ

มีผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ไดแก

1) ครู – ผูบริหาร เห็นสําคัญในการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ มีการจัดหาสื่อการ

เรียนการสอนภาษาอังกฤษ จัดครูใหสอนตรงตามเอก หรือจัดครูมาสอนภาษาอังกฤษเพ่ิมเติม จัดหา

วิทยากรชาวตางชาติมาชวยสอนในโรงเรียน

2) นักเรียน ครู ผูบริหาร ผูปกครอง ชุมชน เห็นความจําเปนและความสําคัญของการใช

ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารมากยิ่งข้ึน

2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตามประเด็น

นโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษา

ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด

ของความ โดด เด น /จุ ดแ ข็ ง /

Page 79: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

51

นวัตกรรม

1. โรงเรียนโคกนาดี อ.นาคู จ.กาฬสินธุ - นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรียนสูง

- นักเรียนเปนตัวแทนเขต แขง

เลานิทานภาษาอังกฤษ ระดับ

ภาค 2 รายการ

2. โรงเรียนบานโนนคอ อ.คํามวง จ.กาฬสินธุ - วิชาการเดนเปนตัวแทนแขง

กลาวสุนทรพจนระดับภาคอีสาน

3. โรงเรียนหนองบัวกลาง อ.นามน จ.กาฬสินธุ - โรงเรียนใชวิทยากรชาวตางชาติ

จากชุมชนและ มหาวิทยาลัย

กาฬสินธุ เปนเครือขายการ

เรียนรู

4. โรงเรียนกาฬสินธุพิทยาสัย

อ.เมือง จ.กาฬสินธุ การสอนวิชาวิทยาศาสตร และ

วิชาคณิตศาสตรเปน

ภาษาอังกฤษ

5. โรงเรียนสามชัยอุดมวิทย

อ.สามชัย จ.กาฬสินธุ จัดการเรียนการสอนโยใช

กิจกรรม

6. โรงเรียนงอนุบาลกาฬสินธุ

อ.เมือง จ.กาฬสินธุ มีหองเรียน EP

7. โรงเรียนสหัสขันธศึกษา

อ.สหัสขันธ - การใชนวัตกรรม KKu Smart

Learning

8. โรงเรียนกมลาไสย

อ.กมลาไสย - รูปแบบการสอน DEIS

9. โรงเรียนอนุกูลนารี

อ.เมือง - การใชเทคนิคการสอนของครูท่ี

ผานการอบรม Boot Camp

10. กศน.ตําบลโนนบุรี กศน. อ.สหัสขันธ มีถนนไดโนโรสเปนแหลง

ทองเท่ียว

11. โรงเรียนบานเหลาจั่นนาภ ู อ.แกดํา จ.มหาสารคาม ใช ICT เพ่ือการเรียนรู English

12. โรงเรียนอนุบาลมหาสารคาม อ.เมือง จ.มหาสารคาม ใช ICT เพ่ือการเรียนรู English

13. โรงเรียนบานหนองหวาหนอง

แคน

อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม ใช ICT เพ่ือการเรียนรู English

14. โรงเรยีนบานบรบือ อ.บรบือ จ.มหาสารคาม ใช ICT เพ่ือการเรียนรู English

Page 80: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

52

15. โรงเรียนบานน้ําสราง

หนองบะ

อ. พยัคฆภูมิพิสัย จ.มหาสารคาม 1. ผูบริหารเปนผูนําทางวิชาการ

2. ผูบริหารใหความสําคัญกับการ

ใชภาษาอังกฤษ

3. คณะครูมีความพรอม

16. โรงเรยีนบานกอกหนองผือ อ. โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ท่ีเนนความสามารถดานการใช

ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร

17. โรงเรียนศรีโกสุมวิทยา

มิตรภาพท่ี 209

อ. โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ภาษาอังกฤษท่ีบูรณาการการ

เรียนรูกับกลุมสาระอ่ืน ๆ

18. โรงเรยีนบานโชคชัย อ. โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ภาษาอังกฤษท่ีใชสื่อ เทคโนโลยีท่ี

เหมาะสมกับระดับชั้นและความ

สนใจของผูเรียน

19. โรงเรยีนบานโนน

อ.ซําสูง จ.ขอนแกน โรงเรียนสองภาษาบานนอก

จัดการเรียนการสอนภาษา

อังกฤษทุกระดับชั้นและจัด

กิจกรรมสงเสริมการใช

ภาษาอังกฤษหนาเสาธงและ

บูรณาการทุกกลุมสาระ

20. โรงเรียนบานนากานเหลือง

อ.ภูเวียง จ.ขอนแกน ตนแบบการสอนภาษาอังกฤษ

รูปแบบ MEP

21. โรงเรียนชมุชนชุมแพ

อ.ชุมแพ จ.ขอนแกน ตนแบบการจัดกิจกรรมการสอน

ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารใน

ชีวิตประจําวัน

22.โรงเรียนหนองตูมหนองงู

เหลือม

อ.เมือง จ.ขอนแกน การจัดการเรียนรูภาษาอังกฤษ

เพ่ือการสื่อสาร

23. โรงเรียนชมุชนบานพระยืน อ.เมือง จ.ขอนแกน การพัฒนาการออกเสียงโดยใช

Phonics

24. โรงเรียนเมืองรอยเอ็ด

ถนนรณชัยชาญยุทธ ต.ในเมือง อ.เมืองรอยเอ็ด จ.รอยเอ็ด 45000

นวัตกรรมไฮสโคป

25. โรงเรียนอนุบาลรอยเอ็ด ถนนรณชัยชาญยุทธ ต.ในเมือง นวัตกรรมมอนเตสซอรี่

Page 81: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

53

อ.เมืองรอยเอ็ด จ.รอยเอ็ด 45000

26. โรงเรียนบานปานหนองออ

หมูท่ี 6 บานปาน ต.ดงสิงห อ.จังหาร จ.รอยเอ็ด 45000

นวัตกรรมวอลดอรฟ (อนุบาลแบบบาน)

27. โรงเรียนหนองพอกพัฒนาประชานุสรณ

อ.หนองพอก จ.รอยเอ็ด - จัดการเรียนการสอนวิชาหลักเปนภาษาอังกฤษ - จัดครูผูสอนตรงเอกภาษาอังกฤษควบคูกับครปูระจําวิชา

28. โรงเรียนอนุบาลเมืองเสลภูมิ

อ.เสลภูมิ จ.รอยเอ็ด - จัดการเรียนการสอนวิชาหลักเปนภาษาอังกฤษ - จัดครูผูสอนตรงเอกาษาอังกฤษควบคูกับครูประจําวิชา - มีการจางครูชาวตางชาติสอนประจําวิชาภาษาอังกฤษ

29. โรงเรียนบานหนองสองหอง

อ.เมยวดี จ.รอยเอ็ด - สอนภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ใชเทคนิค CLT มีการใชสื่อท่ีหลากหลาย เนนผูเรียนเปนสําคัญ ตามหลักการ active learning - ใชเทคนิคการสอนแบบ micro teaching

30. โรงเรียนเมืองสุวรรณภูมิ

อ.สุวรรณภูมิ จ.รอยเอ็ด - มีการจัดกิจกรรมการเรียนการ

สอนท่ีสอดคลองกับธรรมชาติของ

วิชาเนน CLT

- กิจกรรมหลากหลาย - ครูมีสื่อ นวัตกรรมและการวิจัย

31. โรงเรียนบานหางหวา

อ.สุวรรณภูมิ จ.รอยเอ็ด -เนนกิจกรรมใหผูเรียนไดฝกปฏิบัตจิรงิ กิจกรรมสนุกสนาน เนน CLT -มีกิจกรรมหลากหลาย ใชรปูแบบการจัดคายในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน -มีนวัตกรรมและการวิจัย -มีครูท่ีมีความถนัดและมีประสบการณการสอนหลายคน

Page 82: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

54

ทําใหการดําเนินงานมีความตอเนื่องคลองตัว

32. โรงเรียนจตุรคามพัฒนา

อ.เกษตรวิสัย จ.รอยเอ็ด -พัฒนากิจกรรมท่ีสงเรียนภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ผานละคร เกมส บทบาทสมมติ ตามแนวทาง CLT - พัฒนานวตกรรมและการวิจัยในชั้นเรียนท่ีสงการเรียนรูในชั้นเรียน เชนแบบฝกพัฒนาการอานภาษาอังกฤษเชิงวิจารณญาณ กิจกรรมเกมสเพ่ือการเรียนรู การเรียนรูแบบมีสวนรวม -มีครูท่ีมีความถนัดและมีประสบการณการสอนหลายคนทําใหการดําเนินงานมีความตอเนื่องคลองตัว - ผูบริหารสงเสริมสิ่งแวดลอมในการเรียนรูภาษาอังกฤษ ผานสื่อ ICT เชน การนํา application EchoEnglish สูบริบทการเรยีนรูในสถานศึกษา

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ครูสอนภาษาอังกฤษท่ีตรงตามวิชาเอกมีนอยและบุคลากรตนแบบยังมีนอย ครูสวนใหญไม

จบวิชาเอกท่ีสอน และขาดเทคนิคการสอนวิชาภาษาอังกฤษ

2) การโยกยายครูท่ีมีความรู ความสามารถ หรือทักษะในการสอนบางครั้งอาจสงผลกระทบรตอ

การขับเคลื่อนการดําเนินงานตามนโยบาย

3) โรงเรียนสวนมากเปนโรงเรียนขนาดเล็ก ครูไมสามารถเขารับการพัฒนาตามโครงการ Boot

Camp รวมถึงการติดตามหลังการอบรมโครงการ Boot Camp ไมเปนระบบ

4) การพัฒนาครูแกนนํา (Boot Camp) เปนโครงการท่ีมีหลักสูตรพัฒนาครูไดอยางมีคุณภาพ เกิดทักษะและสามารถนําไปใชในการจัดการเรียนการสอนไดจริง แตไดรับความสนใจจากครูนอย เนื่องจากปญหาอุปสรรค ดานระยะเวลาในการอบรม และระยะทางในการเดินทางไปยังศูนยอบรม 5) นักศึกษาไมกลาแสดงออก และไมเห็นความสําคัญของภาษาอังกฤษ

6) ขาดงบประมาณสนับสนุนในการอบรมขยายผลในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

7) ขาดสื่อท่ีทันสมัยบรรยากาศในโรงเรียนไมเอ้ือตอการเรียน หรือการใชภาษาอังกฤษ

4. ขอเสนอแนะ

Page 83: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

55

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรปรับโครงสรางหลักสูตรภาษาอังกฤษ จัดอบรมเทคนิคการสอน และ มีการขยายผล

สู กศน.ตําบล

2) ควรจัดกิจกรรมพัฒนาครูผูสอนภาษาอังกฤษท่ีไมจบสาขาภาษาอังกฤษอยางท่ัวถึง

เพ่ือใหเกิดความม่ันใจและสามารถจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษไดอยางมีประสิทธิภาพ

3) สพฐ. ควรสั่งการให สพท. ดําเนินการเบิกจายงบประมาณใหรวดเร็วกวานี้ และจัดสรร

งบประมาณใหเพียงพอสําหรับขยายผลใหครบทุกโรงเรียน

4) หามาตรการสรางแรงจูงใจ/แรงบันดาลใจใหครูมุงพัฒนาตนเองใหมากยิ่งข้ึน

5) ควรมีการสงเสริมสนับ สนุน ใหนําแอปพลิเคชั่น Echo English มาใชในการพัฒนาครูและบุคลกรทางการศึกษา และนําสูหองเรียนอยางตอเนื่อง โดยการบูรณาการกับนโยบายดานเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา 4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) รัฐบาลควรจัดเปนวาระแหงชาติในการพัฒนาสาระภาษาอังกฤษ

2) ควรใหมีกิจกรรมท่ีสงเสริมการใชภาษาอังกฤษท้ังระดับเขตพ้ืนท่ี ภูมิภาค ประเทศ ให

เพ่ิมมากข้ึน และตอเนื่อง

3) หนวยงานสวนกลางท่ีเก่ียวของในระดับนโยบาย ควรทําความเขาใจ และมีการ

ประสานงานกันอยางเปนรูปธรรมมากข้ึน เพ่ือไมใหเกิดปญหาซํ้าซอนของการปฏิบัติในระดับภูมิภาค

4) กรณีท่ีไมสามารถจัดครูสอนภาษาอังกฤษไดตรงตามสาขาวิชาเอก อาจแกปญหาโดย

การสอบถามผูท่ีมีความสนใจ และชื่นชอบภาษาอังกฤษมาสอนแทน/สอนเสริม

5) จัดบรรยากาศภายในโรงเรียนใหเอ้ือตอการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ โดยอาจ

กําหนดใหมีชวงเวลาหรือชั่วโมงการใชภาษาอังกฤษในแตละวัน ทุกๆ วัน

6) ควรมีการประชุม วางแผนการขับเคลื่อนโดยใหศึกษานิเทศกระดับเขตพ้ืนท่ีมีสวนรวม

เพ่ือการขับเคลื่อนและพัฒนาใหเกิดความตอเนื่องยั่งยืน

นโยบายท่ี 4 การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการ :

4.1 การจัดกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือสงเสริมทักษะ การคิดวิเคราะห

KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีจัดกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือสรางกระบวนการคิดวิเคราะห

KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีมีนวัตกรรมเพ่ือเพ่ิมทักษะการคิดวิเคราะหแกผูเรียน

4.2 การจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา (STEM Education)

KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาโดยบูรณาการองคความรูแบบสะเต็มศึกษา

1. ผลการดําเนินการ

ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด

Page 84: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

56

1.1 ขอมูลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด

สังกัด

จัดกระบวนการเรียนการสอน

เพ่ือสรางกระบวนการคิด

วิเคราะห

นวัตกรรมเพ่ือเพ่ิมทักษะการ

คิดวิเคราะหแกผูเรียน

จัดการศึกษาโดยบูรณาการ

องคความรูแบบสะเต็มศึกษา

จํานวน

สถาน

ศึกษา

ทั้งหมด

(แหง)

จํานวน

สถาน

ศึกษา

ที่จัด

กระบวนกา

รเรียนการ

สอนเพ่ือ

สราง

กระบวนกา

รคิด

วิเคราะห

(แหง)

รอยละ

จํานวน

สถานศึกษ

าที่มี

นวตักรรม

เพ่ือเพ่ิม

ทักษะการ

คิด

วิเคราะห

แกผูเรียน

ปการ

ศึกษา

2559

(แหง)

จํานวน

สถานศึกษ

าที่มี

นวตักรรม

เพ่ือเพ่ิม

ทักษะการ

คิด

วิเคราะห

แกผูเรียน

ปการศึกษา

2560

(แหง)

เพ่ิมขึน้/

ลดลง

รอยละ

จํานวน

สถานศึกษ

ที่จัดการ

ศึกษาโดย

บูรณาการ

องคความรู

แบบ

สะเต็ม

ศึกษา

ปการศึกษา

2559

(แหง)

จํานวน

สถานศึกษ

าที่จัดการ

ศึกษาโดย

บูรณาการ

องคความรู

แบบ

สะเต็ม

ศึกษา

ปการศึกษา

2560

(แหง)

เพ่ิมขึน้/

ลดลง

รอยละ

สพป. 2717 1364 50.20 915 990 +8.20 135 183 +35.56

สพม. 174 55 28.74

ส ศ ศ . ( ร . ร .

ประชาสุเคราะห)

1

สช. 212 86

สอศ. 79 51 18 18 100

กศน. 44 18 18 18 100 18 18 100

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือ

มีผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้

1) ผูเรียนมีการคิดหาวิธีในการแกปญหาเปนการเชื่องโยงเพ่ือนําไปแกปญหาชีวิตจริง

2) ชวยใหนักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห คิดสรางสรรค คิดอยางเปนระบบ มี

กระบวนการทํางาน สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได

3) ผูเรียนไดเรียนรู พัฒนาทักษะการคิด มีทักษะในการทํางาน เชื่อมโยงความรูในหลาย

สาขาวิชา เพ่ือบูรณาการความรูจากการเรียนในหองเรียนสูการทํางานเพ่ือพัฒนาและแกปญหาในชีวิตจริง

มีการสรางชิ้นงานและนวัตกรรม ท่ีเปนประโยชนตอการดํารงชีวิตและการอนุรักษสิ่งแวดลอม

4) ผูเรียนไดมีการพัฒนาตามศักยภาพและความสามารถของตนเอง 2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตามประเด็น

นโยบาย

Page 85: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

57

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษา

ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด

ของความโดดเดน/จุดแข็ง/

นวัตกรรม

1. โรงเรียนบานหนองขอนแกน สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 1

อําเภอหวยผึ้ง

1.โครงงานคุณธรรมชั้นป.1-ป.3

(ลด ปรับ สราง)

2.การเปรียบเทียบการเลี้ยงปลา

ดุกในบอดินกับบอปูนซีเมนต

2. โรงเรียนโคกนาดี สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 2

อําเภอนาคู

1.ชุดฝกการอานและสื่อความ

2.นาวาฝาวิกฤต

3. โรงเรียนบานนากระเดา สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 2

อําเภอนาคู

1.การอานเปนสะพานสูความคิด

2.กิจกรรมสะเต็มศึกษาของ

สสวท.

4. โรงเรียนบานกุดตาใกล สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 2

อําเภอนาคู

1.การอานเปนสะพานสูความคิด

2.กิจกรรมสะเต็มศึกษาของ

สสวท.

5. โรงเรียนบานวังเวียง สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 2

อําเภอนาคู

1.การอานเปนสะพานสูความคิด

2.กิจกรรมสะเต็มศึกษาของ

สสวท.

6. โรงเรียนรัชมังคลาภิเษก

(บานนายอ)

สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 2

อําเภอนาคู

1.การอานเปนสะพานสูความคิด

2.กิจกรรมสะเต็มศึกษาของ

สสวท.

7. โรงเรียนชุมชนภูแลนชาง

คเชนทรพิทยาคาร

สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 2

อําเภอนาคู

1.การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน

2.การทาสบูสมุนไพร

8. โรงเรียนมะนาววิทยาเสริม สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 4

อําเภอกุฉินารายณ

1.แบบฝกทักษะการแกไขโจทย

ปญหา

9. โรงเรียนเหลาใหญวนาสณฑ

ผดุงเวทย

สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 4

อําเภอกุฉินารายณ

1.การสอนแบบโครงงานเพ่ือฝก

ทักษะการคิด

2.การปกลายผาเสื้อภูไท

10. โรงเรียนสามัคคีบัวขาว สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 4

อําเภอกุฉินารายณ

1.การบูรณาการการจัดการการ

เรียนรูแบบโครงงาน (PBL) เรื่อง

นอมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงสูการมีวินัยทางการเงิน

Page 86: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

58

ของผูเรียนในศตวรรษท่ี 21

11. โรงเรียนนาขามวทิยา สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 5

อําเภอกุฉินารายณ

1.นิทานเลมเล็กพัฒนาการอาน

การคิดวิเคราะห

2.โมบายรูปทรงเรือลํานอย

12. โรงเรยีนบานกลาง

สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 6

อําเภอกุฉินารายณ

1.การใชสื่อคอมพิวเตอรเพ่ือ

สงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห

สําหรับนักเรียนชั้น ป.4-ป.6

2.สื่อสะเต็มศึกษาสําหรับ

ม.1-ม.3

13. โรงเรียนสมสะอาดพิทยา

สรรพ

สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 5

อําเภอกุฉินารายณ

1.การจัดคายสะเต็มศึกษาแบบ

บูรณาการ

2.แบบฝกกิจกรรมสะเต็มศึกษา

14. โรงเรียนกุดหวาวิทยา

สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 6

อําเภอกุฉินารายณ

1.การสอนแบบบูรณาการให

นักเรียนรูจักคิดแบบเชื่อมโยง

ความรูกับชีวิตประจําวัน

2.การสอนแบบสะเต็มศึกษาเพ่ือ

เชื่อมโยงความรู

15. โรงเรียนบานขุมข้ียาง

สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 6

อําเภอกุฉินารายณ

1.การอานเชิงวิเคราะห

2.หุนยนตเก็บขยะ

16. โรงเรียนโคกโกง สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 6

อําเภอกุฉินารายณ

1.การจัดสวนถาดดวยเศษวัสดุ

จากธรรมชาต ิ

2.การผลิตตอไมเทียมจาก

ธรรมชาติ

17. โรงเรียนบานสวนผึง้ สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 6

อําเภอกุฉินารายณ

1.หมากรุกปลุกความคิด

2.พิมเสนน้ํา

18. โรงเรียนบานหนองเม็ก สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 6

อําเภอกุฉินารายณ

1.กิจกรรมการเรียนรูอาเซียน

2.ประดิษฐของใชจากเศษวัสดุ

เหลือใช

19. โรงเรียนบานโนนชาด สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 8

อําเภอสมเด็จ

1.การสอนแบบโครงงาน

2.การจัดการสอนSTEM แบบ

บูรณาการ

Page 87: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

59

20. โรงเรียนดงสวางวรวิทย สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 7

อําเภอนามน

1.โจทยปญหาพาคิด

21. โรงเรียนนามนราษฎร

สงเคราะห

สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 7

อําเภอนามน

1.การจัดกิจกรรมการเรียนการ

สอนแบบรวมมือ

2.คายวิชาการหรรษา

22. โรงเรียนเย็นสยามวทิยา สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 7

อําเภอนามน

1.นวัตกรรมแบบฝกทักษะการคิด

ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 1-6

2.ตารางรอยแสนสนุก

23. โรงเรียนหนองแวงหนแงนอย

วิทยาคาร

สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 7

อําเภอนามน

1.คณิตคิดเลขเร็ว

24. โรงเรียนหัวงัววิทยาคม สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 7

อําเภอนามน

1.เศรษฐกิจพอเพียง(การทํา

หนอไมดอง)

25. โรงเรียนบานสี่แยกสมเด็จ สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 8

อําเภอสมเด็จ

1.รักการอาน

26. โรงเรียนบานบัวสามัคคี สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 9

อําเภอสมเด็จ

1.เขียนเรื่องจากภาพ

2.การเปาฟองสบู

27. โรงเรียนบานหนองไผ สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 9

อําเภอสมเด็จ

1.โครงงานพัฒนาทักษะการคิด

วิเคราะห

28. โรงเรียนบานโจดนาตาล สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาท่ี 10

อําเภอคํามวง

1.โครงงานคอมพิวเตอร

2.โครงงานน้ํายาลางจาน

อเนกประสงค

3.กิจกรรมนักบนินอย สพฐ

29. โรงเรียนเหลาเขืองโนนเสียว

วิทยา

อ.รองคํา จ.กาฬสินธุ มีนวัตกรรมท่ีใช ในการจัดการ

เรี ย น ก า ร ส อ น นั ก เรี ย น มี

ผลสัมฤทธิ์สูง

30. โรงเรียนคําคาราษฎรบํารุง

อ.สหัสขันธ จ.กาฬสินธุ มีนวัตกรรมท่ีใช ในการจัดการ

เรี ย น ก า ร ส อ น นั ก เรี ย น มี

ผลสัมฤทธิ์สูง

31. โรงเรียนสามชัยอุดมวิทย

อ.สามชัย จ.กาฬสินธุ มีสื่อนวัตกรรมหลากหลายเชน

บทเรียนโปรแกรม E-book

32. วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ อ.เมือง จ.กาสินธุ 46000 ดานการเรียนการสอน

Page 88: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

60

33. วิทยาลัยเทคนิคเขาวง

88/8 หมู 11 ต.กุดสิมคุมใหม

อ.เขาวง จ.กาฬสินธุ 46160

ดานการเรียนการสอน-

34. กศน.อําเภอหวยผึ้ง หมู 4 ตําบลหวยผึ้ง อ.หวยผึ้ง จ.

กาฬสินธุ

การจัดการเรียนการสอนแบบ

บูรณาการรวมกับโรงเรียนใน

ระบบในพ้ืนท่ี

35. โรงเรียนบานหนองแวงหนอง

ต ุ

อ.บรบือ จ.มหาสารคาม จัดกิจกรรมเพ่ิมเติมในชั่วโมงลด

เวลาเรียนเพ่ิมเวลารู

36. โรงเรียนอนุบาลมหาสารคาม อ.เมือง จ.มหาสารคาม บูรณาการกับการจัดกิจกรรมการ

เรียนเพ่ือแกปญาน้ําหนักเกิน

มาตรฐาน

37. โรงเรียนอนุบาลมหาสารคาม อ.บรบือ จ.มหาสารคาม บูรณาการกับการจัดกิจกรมการ

เรียนรูเพ่ือใหนักเรียนสามารถ

สรางสิ่งประดิษฐได

38. โรงเรียนบานเม็กดํา อ.พยัคฆภูมิพิสัย จ.มหาสารคาม วิธีการจัดการเรียนการสอน

วิทยาศาสตร

39. โรงเรียนบานดอนจําปาดอน

สวรรค

อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม การจัดการเรียนการสอน ท่ี

บูรณาการ STEM Education

และการคิดวิเคราะหในชั้นเรียน

40. โรงเรียนบานหนองแสง อ.กุดรัง จ.มหาสารคาม การจัดการเรียนการสอน ท่ี

บูรณาการ STEM Education

และการคิดวิเคราะหในชั้นเรียน

41. โรงเรียนศรีโกสุมวิทยา

มิตรภาพท่ี 209

อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม การจัดการเรียนการสอน ท่ีบูรณา

การ STEM Education และการ

คิดวิเคราะหในชั้นเรียน

42. โรงเรียนบานกุดหวา

อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน STEM สิ่งแวดลอม แฝกสานฝน

43. โรงเรียนบานสําโรง

อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน

STEM สิ่ ง แ ว ด ล อ ม ก ระถ า ง

อัจฉริยะ

44. ชุมชนหนองเม็ก

อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน STEM สิ่งแวดลอม กาวเครือปด

ผมขาว

45. โรงเรียนชุมชนหนองสองหอง

คุรุราษฎรรังสรรค

อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน STEM สิ่ ง แ ว ด ล อ ม โ ด นั ท

สมุนไพร

Page 89: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

61

46. โรงเรียนบานหนองแวงนาง

เบา

อ.พล จ.ขอนแกน STEM สิ่ ง แ ว ด ล อ ม น้ํ า มั น

มะพราวมหัศจรรย

47. โรงเรียนบานโจดหนองแก

หนองสิม

อ.พล จ.ขอนแกน STEM สิ่ ง แ ว ด ล อ ม ถ า น

Recycle

48. โรงเรียนอนุบาลขอนแกน อ.เมือง จ.ขอนแกน จัดกิจกรรม Active Learning

49. อนุบาลรอยเอ็ด อ.เมือง จ.รอยเอ็ด นวัตกรรมท่ีหลากหลาย 50. เมืองรอยเอ็ด

อ.เมืองรอยเอ็ด จ.รอยเอ็ด นวัตกรรมท่ีหลากหลาย สามารถบูรณาการได

51. เมืองธวัชบุรี

อ.ธวัชบุรี จ.รอยเอ็ด นวัตกรรมท่ี เสริมสรางการคิดวิเคราะห

52. อนุบาลเมืองพนมไพร

อ.พนมไพร จ.รอยเอ็ด นวัตกรรมท่ีหลากหลาย

53. ทุงกุลาประชารัฐ

อ.เกษตรวิสัย จ.รอยเอ็ด นวัตกรรมท่ีหลากหลาย สามารถบูรณาการได

54. บานภูดิน

อ.ปทุมรัตต จ.รอยเอ็ด นวัตกรรมท่ี เสริมสรางการคิดวิเคราะห

55. โรงเรียนอนุบาลโพนทอง อ.โพนทอง จ.รอยเอ็ด การประดิษฐตอยอดองคความรู สูการสรางสิ่งประดิษฐ

56. โรงเรียนบานทาลาดหนองผักตบ

อ.เสลภูมิ จ.รอยเอ็ด การใหนักเรียนได มีชมรมการสรางสรรคนวัตกรรม เพ่ือการพัฒนาตอยอด วิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร การงานอาชีพ

57. โรงเรียนบานนาสีใส

อ.โพนทอง จ.รอยเอ็ด สรางสิ่งประดิษฐ เพ่ือแกปญหาสัญญาณอินเตอรเน็ต ชา

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) นโยบายไมชัดเจน ซํ้าซอน ไมตอเนื่อง ไมหลอมรวมเปนเรื่องเดียวกัน

2) มีนโยบายอ่ืนๆ มากเกินไปทําใหการนิเทศ กํากับ ดูแลไมท่ัวถึง

3) หนวยงานท่ีเก่ียวของหลายหนวยงาน ตางคนตางคิดตางคนตางสั่งการทําใหภาระงานของ

โรงเรียนเพ่ิมมากข้ึน

4) นักเรียน นักศึกษา ยังไมไดประดิษฐคิดคนนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ งานสรางสรรคใหมๆ

มากพอบางคนขาดทักษะการวิเคราะหงานท่ีทํา

5) นักเรียน นักศึกษายังไมมีการพัฒนาความสามารถและความชํานาญดานวิชาชีพ และไมมี

งบประมาณเพียงพอ จึงขาดการพัฒนาอยางตอเนื่อง

Page 90: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

62

6) ขาดบุคลากรท่ีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน บุคลากรไมตรงตามสาขาท่ีผูเรียนตองการ และ

โรงเรียนสวนมากเนนการสอนเนื้อหา มากกวาการสอนแบบคิดวิเคราะห

7) สื่อการเรียนการสอนไมเพียงพอและไมเขากับยุค 4.0

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) นโยบายควรชัดเจน มีความตอเนื่อง สามารถปฏิบัติไดจริง

2) หนวยงานท่ีเก่ียวของควรบูรณาการงานรวมกัน กําหนดเปนเปาหมายเดียวกัน

3) การจัดทําหลักสูตร STEM Education ควรจัดใหมีการบูรณาการในการเรียนการ

สอนวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยี โดยไมควรแยกออกจากตัวชี้วัดในหลักสูตร หรือถาจะแยกควร

แยกเปนกลุมสาระการเรียนรูสะเต็มศึกษาตางหากออกมาเปนกลุมสาระการเรียนรูท่ีชัดเจน

4) ควรปรับมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร หรือตัวชี้วัดหลักสูตร ใหสอดคลองกับ

STEM Education หรือมีตัวชี้วัด STEM Education ในหลักสูตร

5) ควรมีงบประมาณใหสถานศึกษาทุกแหงในการขยายผลของครูดานการจัดการเรียนรูท่ี

สงเสริมการคิด วิเคราะห และดําเนินงานอยางตอเนื่อง

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) การตรวจราชการควรแบงการตรวจราชการใหชัดเจนกวาเดิม และกําหนดเปนนโยบาย

ท่ีดําเนินการอยางตอเนื่อง

2) ควรใหสถานศึกษาสังกัดอาชีวศึกษามีบทบาทในการบริหารงานในสถานศึกษาใน

จังหวัดมากกวาเดิม

3) ควรปรับหนังสือเรียนใหมีการบูรณาการ STEM Education ในกลุมสาระการเรียนรู

วิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี หรือปรับกลุมสาระการเรียนรูใหเปนสาระการเรียนรู STEM

Education แยกออกจากกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยีตางหาก

4) ควรมีการดําเนินงานในเขตพ้ืนท่ีตามนโยบายอยางตอเนื่อง

5) ควรมีงบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานตามนโยบายในสถานศึกษาทุกแหง

นโยบายท่ี 5 การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการ :

5.1 การจัดทําแผนบูรณาการการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพระดับจังหวัด

KPI: จํานวนจังหวัดท่ีไดจัดทําแผนและยุทธศาสตรการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมผูเรียนสายอาชีพ

5.2 มาตรการ/เปาหมายการเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ

Page 91: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

63

KPI: รอยละของนักเรียนระดับประถมศึกษาถึงระดับมัธยมท่ีไดรับการสรางทัศนคติท่ีดีตออาชีพ

และการแนะแนวการศึกษาเพ่ืออาชีพ

KPI: สัดสวนผูเรียนสายอาชีวศึกษากับผูเรียนสายสามัญศึกษา

1. ผลการดําเนินการ

ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด

1.1 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดไดจัดทําแผนและยุทธศาสตรการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมผูเรียน

สายอาชีพ โดยสวนใหญมีการจัดทําแผนและยุทธศาสตรการรับนักเรียน มีบางจังหวัดท่ีไมไดจัดทํา

1.2 ยุทธศาสตร/มาตรการในการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมผูเรียนสายอาชีพของจังหวัด มีดังนี้

1) การประชุมวางแผนรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ

2) จัดทําโครงการสรางประสบการณอาชีพ (Work Experience) ของนักเรียนชั้น ม. 3 ใน

สถานประกอบการ

3) จัดทําโครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทํารูปแบบและแนวทางการพัฒนา

หลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา

4) จังหวัดจัดทําโปรแกรมเก็บขอมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 และทํา

โปรแกรมทดสอบความสามารถ/ความถนัดในอาชีพกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3

5) คณะกรรมการระดับจังหวัดนิเทศ ติดตาม ประเมินผลโครงการสรางประสบการณอาชีพ

1.3 จํานวนนักเรียนประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาท่ีไดรับการสรางทัศนคติท่ีดีตออาชีพและ

การแนะแนวการศึกษาเพ่ืออาชีพ ปการศึกษา 2560

สังกัด

จํานวนนักเรียนท้ังหมด

(คน)

จํานวนนักเรียนท่ีไดรับการสรางทัศนคติท่ีดี

ตออาชีพและการแนะแนวการศึกษา

เพ่ืออาชีพ (คน)

รอยละ

ประถม ม.ตน ม.ปลาย รวม ประถม ม.ตน ม.ปลาย รวม

สพป. 167,478 27,188 66 194,732 154,103 27,188 66 181,357 93.10

สพม. - 34,106 31,168 65,274 - 34,151 29,533 63,684 97.56

สช. 24,494 3,954 1,715 30,163 24,494 3,954 1,715 30,163 100

สศศ. 441 501 261 1,173 411 501 261 1,173 100

สกอ. 2,224 1,904 2,304 6,412 2,224 1,904 2,304 6,412 100

สอศ. - - - - - - - - -

กศน. 848 12,824 18,086 31,758 - - - 5,265 100

1.4 หนวยงาน/สถานศึกษาสรางทัศนคติท่ีดีตออาชีพและการแนะแนวการศึกษาเพ่ืออาชีพ

ใหกับผูเรียน ดังนี้

Page 92: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

64

1) มุงพัฒนาคุณภาพและปริมาณผูเรียนใหสัมพันธกับความตองการของตลาดแรงงานใน

ประเทศและระดับสากล

2) เนนท่ีเรียนแลวเม่ือสําเร็จการศึกษามีงานทํา 100%

3) ออกแนะแนวการศึกษาตามโรงเรียนท่ีมีการเรียนการสอน ม.3 – ม.6 พรอมท้ังออก

บริการศูนยซอมสรางเพ่ือชุมชน บริการซอมอุปกรณไฟฟา เครื่อมือการเกษตรใหประชาชนในเขตพ้ืนท่ี

นั้นๆ ดวย

4) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาจัดให มีการลงนามความรวมมือ (MOU) ระหวางสถานศึกษา กับสถานศึกษา สังกัดอ่ืนท่ีเปดสอนสายอาชีพ เชน สังกัด สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพ่ือสงเสริมและสนับสนุนการเรียนตอสายอาชีพ 5) สํารวจความสนใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ในการเรียนตอสายสามัญและสายอาชีพ เพ่ือเปนขอมูลในการแนะแนวการศึกษาตอ และใหความรวมมือกับสถานศึกษา 6) การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามกิจกรรมพัฒนาผูเรียน และพานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ไปชมสถานศึกษาท่ีเปดสอนสายอาชีพทุกสังกัด 1.4.1. หนวยงานขับเคลื่อนนโยบายของรัฐสูสถานศึกษา ดังนี้

1) มอบนโยบายใหแกผูบริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรในสถานศึกษา

2) แจงมาตรการและแนวทางดําเนินงานใหแกสถานศึกษา

3) สรางประสบการณอาชีพ (Work Experience) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 เพ่ือ

การ รูตน รูงาน สานฝนสูอาชีพ

1.4.2. หนวยงานและสถานศึกษาจัดกิจกรรมท่ีสอดคลองและตอบสนองนโยบายภาครัฐ ดังนี้

1) จัดกิจกรรมการแนะแนวเรียนตอสายอาชีพ

2) จัดกิจกรรม Open House เพ่ือเปดโอกาสใหนักเรียนและผูปกครองไดเยี่ยมชมโรงเรียน

ท่ีตนมีความสนใจสมัครเขาเรียน

3) โรงเรียนจัดการเรียนการสอนสายอาชีพใหกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตนตาม

ความถนัดของแตละคน

4) หนวยงานจัดอบรมพัฒนาศักยภาพดานการแนะแนวใหแกครูแนะแนวโรงเรียน

5) จัดกิจกรรมเปดบานงานอาชีพ (Open House) สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3

เพ่ือการ รูตน รูงาน สานฝนสูอาชีพ

1.5 จํานวนผูเรียนสายอาชีวศึกษากับผูเรียนสายสามัญศึกษา ปการศึกษา 2560

สังกัด

ผูเรียนระดับ

ม.ปลาย (คน)

(สายสามัญ: ม.4-ม.6)

*ไมรวมทวิศึกษา

ผูเรียนระบบ

ทวิศึกษา (คน)

ผูเรียนระดับ

ปวช.(คน)

(ปวช.1-ปวช.3)

*ไมรวมทวิศึกษา

สพป. 2481 - 422

Page 93: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

65

สพม. - - -

สช. - - -

สกอ. (ร.ร.สาธิต) - - -

สอศ. - 341 84,225

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือ

มีผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้

1) ชื่อนวัตกรรม ชุมแพโมเดล ; แนะแนวการเรียนรูสูอาชีพ

ประสิทธิภาพของรูปแบบ

รูปแบบชุมแพโมเดล ; แนะแนวการเรียนรูสูอาชีพ ท่ีมีคุณภาพ นี้ มีประสิทธิภาพระดับ

มากท่ีสุด ภายใตคุณสมบัติ 5 ประการ คือ

(1) ความเปนประโยชนเฉพาะ (Specific)

(2) ความถูกตองของขอมูลท่ีสามารถวัดได (Measurable)

(3) ความเหมาะสมกับสมรรถนะของบุคคล (Achievable)

(4) ความเปนไปไดกับการนําไปใชในบริบท (Realistic)

(5) ความเหมาะสมกับเวลาท่ีกําหนด(Time Phased)

Page 94: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

66

2) นักเรียน นักศึกษาท่ีเรียนในสายอาชีพเม่ือจบการศึกษาแลวสามารถประกอบอาชีพไดตอง

ตามสายงาน หรือสามารถทํางานไดจริง มีทักษะเฉพาะดาน มีความม่ันใจในการทํางาน

3) เกิดการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพ่ือเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและระดับ

สากล

4) นักเรียนระดับมัธยมศึกษามีความรูความเขาใจในหลักสูตรวิชาชีพ สายอาชีพท่ีตนเองมี

ความสนใจ

5) นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนตอสายอาชีพเพ่ิมมากข้ึน

6) นักเรียนมีความรูและทักษะเบื้องตนในการประกอบอาชีพในอนาคต

2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตามประเด็น

นโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษา

ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด

ของความโดดเดน/จุดแข็ง/

นวัตกรรม

1. โรงเรียนบานมวงกุล หมู 5 บานหวานต. บอแกว อ.นา

คู

จ.กาฬสินธุ

ตนแบบการสอนอาชีพดาน

วิชาการ

2. โรงเรียนกุดคาวเทพพิทยา หมู 4 บานแสนสุข ต.กุดคาว

อ.กุฉินารายณ จ.กาฬสินธุ

ตนแบบการสอนงานอาชีพใน

โรงเรียน

3. โรงเรียนบานดงสวนพัฒนา หมู 15 บานดงสวนพัฒนา ต.นา

ทัน

อ.คํามวง จ.กาฬสินธุ

ตนแบบการสอนงานอาชีพใน

โรงเรียน

4. โรงเรียนไคนุนวิทยาพูน บ.ไคนุน ต.ไคนุน อ.หวยผึ้ง

จ.กาฬสินธุ 46240

จํานวนนักเรียนระดับชั้น ม.3 15

คน ศึกษาตอสายอาชีพจํานวน

13 คน คิดเปนรอยละ 86.67

5. วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม อ.เมือง จ. มหาสารคาม จัดกิจกรรมแนะแนวเรียนตอสาย

อาชีพ

6. วิทยาลัยอาชีวศึกษา

มหาสารคาม

อ.เมือง จ. มหาสารคาม จัดกิจกรรมแนะแนวเรียนตอสาย

อาชีพ

7. วิทยาลัยสารพัดชาง อ.เมือง จ.มหาสารคาม จัดกิจกรรมแนะแนวเรียนตอสาย

Page 95: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

67

มหาสารคาม อาชีพ

8. โรงเรียนหนองไผพิทยาคม สพป.ขอนแกน เขต 5 นวัตกรรมจัดหลักสูตรวิชาชีพ

ระ ย ะ สั้ น ท่ี มี ค ว าม ต อ เนื่ อ ง

เชื่ อ ม โย งกั บ ห ลั ก สู ต รระ ดั บ

อาชีวศึกษา

9. วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ สถานศึกษาอาชีวศึกษา

จ.ขอนแกน

นวัตกรรมการแนะแนวการศึกษา

เพ่ืออาชีพใหกับผูเรียน นวัตกรรม

ชุ ม แ พ โ ม เด ล : แ น ะ แ น ว

ก า ร ศึ ก ษ าแ ล ะ อ า ชี พ เป น

นวัตกรรมรูป แบบ เชิ งระบ บ

(Systematic Model) ท่ีมีความ

เปนพลวัต เกิดความเคลื่อนไหว

และเปลี่ ยนแปลงตลอดเวลา

สามารถยืดหยุน ไดตามความ

เปลีย่นแปลงของบริบท

10. วิทยาลัยเทคนิคน้ําพอง สถานศึกษาอาชีวศึกษา นวัตกรรมการแนะแนวการศึกษา

เพ่ืออาชีพใหกับผูเรียน นวัตกรรม

Open House เปดบานวิชาชีพ

11. โรงเรียนธรรมจารีนิวาส ต.แคนใหญ อ.เมือง จ.รอยเอ็ด ผลิตภัณฑจากขาวหอมมะล ิ

12. โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 101

เฉลิมพระเกียรต ิ

ต.หนองแวงควง อ.ศรีสมเด็จ จ.รอยเอ็ด

ผ ลิ ต ภั ณ ฑ จั ก ส า น แ ล ะเกษตรกรรม

13. โรงเรียนบานเลาวิทยาคาร ต.หนองแกว อ.เมือง จ.รอยเอ็ด ผลิตภัณฑขนนโดนัท

14. โรงเรียนเมืองสุวรรณภูมิ ต.สระคู อ.สุวรรณภูมิ จ.รอยเอ็ด ปลาราบอง อินเตอร

15. โรงเรียนคําไฮสําโรงวิทยา

คาร

ต. คําไฮ อ.พนมไพร จ.รอยเอ็ด ผลิตภัณฑจากเสือกก

16. โรงเรียนชุมชนบานผํา ต.เมืองสรวง อ.เมืองสรวง

จ.รอยเอ็ด ผลิตภัณฑจากเศษผา

17. โรงเรียนบานสะอาด(สะอาดวิทยาคาร

ต.สะอาด อ.โพธิ์ชัย จ.รอยเอ็ด ศูนยการเรียนรูตามเศรษฐกิจพอเพียง

18. โรงเรียนทรายทองเฉลิมวิทย ต.ทาสีดา อ.หนองพอก จ.รอยเอ็ด

สงเสริมอาชีพในสถานศึกษา

19. โรงเรียนหนองหวานาคําพัฒนา

ต.นาเมือง อ.เสลภูมิ จ.รอยเอ็ด

สงเสริมอาชีพในสถานศึกษา

Page 96: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

68

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) การมอบและแจงนโยบายในระยะเวลากระชั้นชิดทําใหมีหนวยปฏิบัติดําเนินงานยากลําบาก

2) การสรางความเขาใจในการเรียนตอสายอาชีพกับผูปกครอง เนื่องจากผูปกครองและนักเรียน

นักศึกษา มีความตองการเรียนในสายสามัญมากกวาสายอาชีพเนื่องจากสามารถกาวหนาไดมากกวาสาย

อาชีพ

3) การเปดโอกาสใหผูเรียนมาเรียนสายอาชีพคอนขางนอย ขาดความจริงจัง และความตอเนื่อง

4) การสรางนวัตกรรมการแนะแนวท่ีเนนแรงจูงใจใหผูเรียนมาเรียนสายอาชีพมีนอย

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) สรางความตระหนักใหผูเก่ียวของใหมองเห็นผลเสียท่ีจะเกิดข้ึนตอประเทศชาติกับ

สถานการณพลเมืองขาดทักษะอาชีพในโลกศตวรรษท่ี 21

2) พัฒนาระบบการแนะแนวอาชีพเชิงรุกเพ่ือใหสามารถเขาถึงพอแมผูปกครอง

3) สรางความเขาใจในการศึกษาตอสายอาชีพไดแก ผูปกครอง

4) ประชาสัมพันธเผยแพรภาพลักษณเชิงคุณภาพไปยังกลุมเปาหมายใหเห็นความสําคัญ

ในการเรียนอาชีวศึกษา

5) สนับสนุนงบประมาณเพ่ือการวิจัยนวัตกรรมการแนะแนวท่ีเนนแรงจูงใจใหผูเรียนมา

เรียนสายอาชีพ

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ควรกําหนดใหเปนนโยบายตอเนื่องทุกปการศึกษา

2) ควรจัดโครงการอาชีวอาสาเพ่ือพัฒนาสังคมหรือควรจัดโครงการสงเสริมคนดีศรีอาชีวะ

โครงการเยาวชนอาชีวะสัมพันธรวมสรางสรรคสังคม

นโยบายท่ี 6 การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการ :

6.1 สมรรถนะของผูสําเร็จอาชีวศึกษา

KPI: รอยละความพึงพอใจของสถานประกอบการตอสมรรถนะผูสําเร็จอาชีวศึกษา

6.2 การเขาสูการมีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระ

KPI: รอยละของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาระดับ ปวช. มีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป

KPI: รอยละของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาระดับ ปวส. มีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป

6.3 การจัดอาชีวศึกษาแบบมีสวนรวมกับสถานประกอบการเพ่ือใหผูสําเร็จอาชีวศึกษามี

ประสบการณตรงในการฝกอาชีพ และมีสมรรถนะท่ีสอดคลองกับความตองการตลาดแรงงาน

KPI: รอยละของผูเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

1. ผลการดําเนินการ

ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด

Page 97: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

69

1.1 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการตอสมรรถนะผูสําเร็จอาชีวศึกษา (จําแนกเปนราย

สถานศึกษา)

สถานศึกษา ระดับความพึงพอใจ

มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด

1. วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ

2. วิทยาลัยเทคนิคเขาวง

3. วิทยาลัยสารพัดชางกาฬสินธุ

4. วิทยาลัยการอาชีพคํามวง

5. วิทยาลัยการอาชีพหนองกุงศรี

6. วิทยาลัยการอาชีพหวยผึ้ง

7. วิทยาลัยอาชีวศึกษากาฬสินธุ

8. วิทยาลัยเทคโนโลยีกมลาไสย

9. วิทยาลัยเทคโนโลยีสหัสขันธ

10. วิทยาลัยเทคโนโลยีเพ่ิมพูน

บริหารธุรกิจ

11. วิทยาลัยอาชีวศึกษาไทเทคอีสาน

12. วิทยาลัยอาชีวศึกษาลําปาว

13. วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนบัณฑิต

14. วิทยาลัยอาชีวศึกษาไทยเทคเอเชีย

15.วิทยาลัยเทคโนโลยีสมเด็จพณิชย

การ

16.วิทยาลัยอาชีวศึกษาไทย – เทค

กาฬสินธุ

17.วิทยาลัยเทคนิคขอนแกน

18.วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแกน

19.วิทยาลัยวิทยาลัยเทคนิคชุมแพ

20.วิทยาลัยเทคนิคนครขอนแกน

21.วิทยาลัยเทคนิคน้ําพอง

22.วิทยาลัยการอาชีพขอนแกน

23.วิทยาลัยการอาชีพกระนวน

24.วิทยาลัยการอาชีพบานไผ

Page 98: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

70

25.วิทยาลัยการอาชีพพล

26.วิทยาลัยเทคโนโลยีและเกษตร

ขอนแกน

27.วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการ

หนองสองหอง

28.วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจ

ขอนแกน

29.วิทยาลัยเทคโนโลยีขอนแกน

บริหารธุรกิจ

30.วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการ

ขอนแกน

31.วิทยาลัยเทคโนโลยีภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือ

32.วิทยาลัยเทคโนโลยีขอนแกน

33.วิทยาลัยเทคโนโลยีพงษภิญโญ

34.วิทยาลัยเทคโนโลยีคุวานันท

35.การอาชีพคนตาบอดขอนแกน

36.วิทยาลัยเทคโนโลยีพิมพไทย

37.วิทยาลัยอาชวีศึกษาการทองเท่ียว

และการโรงแรมขอนแกน

38.วิทยาลัยเทคโนโลยีนครขอนแกน

39.วิทยาลัยเทคโนโลยีพลพณิชยการ

40.วิทยาลัยเทคโนโลยีอมตะ

41.วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมแพ-ไทย

เยอรมัน

42.วิทยาลัยเทคโนโลยีสีชมพู

43.วิทยาลัยเทคโนโลยีหนองเรือ-ไทย

เยอรมัน

44.วิทยาลัยเทคโนโลยีพุทธเกษม

หมายเหตุ: รวมสถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษาดวย

1.2 จํานวนผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาแลวมีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป

Page 99: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

71

สังกัด

ผูสําเร็จการศึกษา

ปการศึกษา 2559

(คน)

มีงานทํา/ศึกษาตอ/อ่ืนๆ รอยละของ

ผูสําเร็จ

การศึกษามี

งานทํา

มีงานทําหรือ

ประกอบอาชีพ

อิสระภายใน

1 ป (คน)

ศึกษาตอ

(คน)

อ่ืนๆ (ระบุ)

(คน)

ระดับ ปวช.

สอศ. (รัฐบาล) 81,668 7,778 73817 220 -

สอศ. (เอกชน) 2,111 2,087 24 - -

สพม.(สายอาชีวศึกษา)

อ่ืนๆ

(ระบุ).......................

ระดับ ปวส.

สอศ. (รัฐบาล) 88,246 88,174 62 - -

สอศ. (เอกชน) 1,699 1,664 23 - -

อ่ืนๆ

(ระบุ).......................

หมายเหตุ ขอมูลเชิงปริมาณ จาก ศธจ.ขอนแกน และกาฬสนิธุ

1.3 จํานวนผูเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ระดับ ปวช./ปวส. ปการศึกษา 2559-2560

สังกัด

ปวช. ปวส.

ผูเรียนระบบ

ทวิภาคี

ปการศึกษา

2559 (คน)

ผูเรียนระบบ

ทวิภาคี

ปการศึกษา

2560 (คน)

เพ่ิมข้ึน/

ลดลง

รอยละ

ผูเรียนระบบ

ทวิภาคี

ปการศึกษา

2559 (คน)

ผูเรียนระบบ

ทวิภาคี

ปการศึกษา

2560 (คน)

เพ่ิมข้ึน/

ลดลง

รอยละ

สอศ. (รัฐบาล) 6,539 3,043 - 405 546 -

สอศ. (เอกชน) 105 163 - 33 48 -

1.4 สถานศึกษามีมาตรการในการเพ่ิมผูเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ดังนี้

1) มียุทธศาสตรกําหนดเปาหมายการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมผูเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

2) มียุทธศาสตรการพัฒนากําลังคน การวิจัย เพ่ือสรางความสามารถในการแขงขันของ

ประเทศ

Page 100: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

72

3) จัดหาสถานประกอบการท่ีมีความม่ันคง และการติดตามสาขาวิชาและในระดับ ปวส

เปนทวิภาคี 100%

4) ประชาสัมพันธใหผูปกครองนักเรียน นักศึกษาเขาใจถึงการเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

5) ทําความรวมมือกับสถานประกอบการ และนําหลักฐานและตัวอยางของรุนพ่ีรวมแนะแนว

6) มีการจัดการเรียนการสอนใหตรงตามความตองการของสถานประกอบการ

7) ประสานความรวมมือกับโรงเรียนท่ีเปดสอนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัด

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือ

มีผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้

1) นั ก เรี ยน นั ก ศึ กษา ส ามารถ มี ราย ได ระห ว า งเรี ยน เรี ยน จบ มี งาน รองรับ

2) ผูเรียนมีทักษะและประสบการณตรงในการฝกงานในสถานประกอบการท่ีไดมาตรฐาน

ตลอดจนผูเรียนมีรายไดระหวางเรียนจากสถานประกอบการ และผูเรียนมีความประทับใจในการเรียน

ระบบทวิภาคี

3) เปดโอกาสใหผู เรียนเขาถึงกลุมเปาหมายผู มีสวนสําคัญตอการเรียนสายอาชีพ

อาชีวศึกษา

4) นวัตกรรมการพัฒนาหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อาชีวศึกษา และ

อุดมศึกษา ประกอบรูปแบบทวิภาคีกับตางประเทศ

2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตาม

ประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษา

ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด

ของความโดดเดน/จุดแข็ง/

นวัตกรรม

1. บริษัท โปรเกรส พารท

แอนด ได จํากัด

1/6 ม.3 ซ.ประครอง 1 ต.หนาม

แดง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา

ผลิตชิ้นสวนอะไหรรถยนต

2. บริษัท ไพโอเนียร(ประเทศ

ไทย)จํากัด

1/31 หมู 5 ต.คานหาม อ.อุทัย

จ.พระนครศรีอยุธยา 13210

ผ ลิ ต ชิ้ น ส ว น อุ ป ก ร ณ

อิเล็กทรอนิกส

3. ราน อู โย เชอรวิส

57 ม.2 ต.ลําหนองแสน อ.หนอง

กุงศรี จ.กาฬสินธุ 46220

บริการซอมรถยนต ทุกระบบ

4. วิทยาลัยวิทยาลัยเทคนิคชุมแพ

ชุมชนบานโคกสูง

ตําบลชุมแพ

อําเภอชุมแพ

ห ลั ก สู ต รต อ เนื่ อ ง เชื่ อ ม โย ง

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อาชีวศึกษา

และอุดมศึกษา ประกอบรูปแบบ

Page 101: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

73

จังหวัดขอนแกน ทวิภาคีกับตางประเทศ

5. วิทยาลัยการอาชีพขอนแกน

ตําบลชนบท

อําเภอชนบท

จังหวัดขอนแกน

ห ลั ก สู ต รต อ เนื่ อ ง เชื่ อ ม โย ง

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อาชีวศึกษา

และอุดมศึกษา ประกอบรูปแบบ

ทวิภาคีกับตางประเทศ

6. วิ ท ยาลั ยวิ ท ยาลั ย เทคนิ ค

ขอนแกน

ตําบลในเมือง

อําเภอเมือง

จังหวัดขอนแกน

ห ลั ก สู ต รต อ เนื่ อ ง เชื่ อ ม โย ง

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อาชีวศึกษา

และอุดมศึกษา ประกอบรูปแบบ

ทวิภาคีกับตางประเทศ

7. วิทยาลัยสารพัดชาง

มหาสารคาม

ต.แกงเลิงจาน อ.เมือง

จ.มหาสารคาม

สงนักเรียนไปฝกประสบการณ

วิชาชีพโดยทําMOUกับประเทศ

ญี่ปุน

8. วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี

มหาสารคาม

ต.เขวา อ.เมือง จ.มหาสารคาม สงนักเรียนไปฝกประสบการณ

วิชาชีพโดยทําMOUกับประเทศ

อิสราเอล

9. วิทยาลัยเทคนิควาปปทุม

ต. หนองแสง อ.วาปปทุม

จ.มหาสารคาม

กําลังดําเนินโครงการความ

รวมมือจัดการอาชีวศึกษาไทย-

จีนสาขาวิชาระบบขนสงทางราง

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) สถานศึกษาอยูหางไกลจากสถานประกอบการ

2) ขาดงบประมาณในการสนับสนุนจากหนวยงานตนสังกัด

3) การวิจัยเพ่ือคนพบหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อาชีวศึกษา และ

อุดมศึกษา ประกอบรูปแบบทวิภาคีกับตางประเทศท่ีประสบผลสําเร็จยังมีนอย

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) สนับสนุนงบประมาณเพ่ือการวิจัยเพ่ือคนพบหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ัน

พ้ืนฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ประกอบรูปแบบทวิภาคีกับตางประเทศท่ีประสบผลสําเร็จ

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) กําหนดเปนนโยบายสําคัญอยางตอเนื่องทุกปการศึกษา

นโยบายท่ี 7 การยกระดับคุณภาพสถานศึกษาท่ีตองการความชวยเหลือและพัฒนาเปนพิเศษ

Page 102: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

74

อยางเรงดวน (ICU)

- ยกเลิก –

นโยบายท่ี 8 การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการ :

8.1 การจัดทําแผนและยุทธศาสตรการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก

KPI: จํานวนสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก

KPI: จํานวนสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีชั้นเรียน

ไมเหมาะสม

KPI: จํานวนสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาท่ีมีโรงเรียนขนาดเล็กลดลง

1. ผลการดําเนินการ

ผลการดําเนินงานตามประเด็นโยบายและตัวชี้วัด

1.1 สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีการจัดทําแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก

1.2 รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ดังนี้

1) วางแผนการบริหารจัดการศูนยโรงเรียนท่ีเปนโรงเรียนขนาดเล็กมีนักเรียนจํานวน120

คนลงมา โดยตั้งโรงเรียนหลักท่ีมีระยะทางหางจากโรงเรียนขนาดเล็กไมเกิน 6 กม. นํานักเรียนจาก

โรงเรียนรวมไปโรงเรียนหลักทุกชั้นเรียน

2) นําผูบริหารและครูผูสอนมาวางแผนการบริหารจัดการศึกษารวมกัน กําหนดบทบาท

หนาท่ีการบริหารจัดการโรงเรียนหลักและโรงเรียนรวมอยางชัดเจน

3) พัฒนาโรงเรียนดีใกลบาน(โรงเรียนแมเหล็ก) โดยการพัฒนาทางกายภาพและความ

พรอมในดานตางๆ โดยใชงบกระตุนเศรษฐกิจและเงินอุดหนุน

4) สรางความเขาใจ ความศรัทธาใหผูปกครองและนักเรียนเกิดความเชื่อม่ันเพ่ือ เปนการ

ดึงดูดนักเรียน

5) พัฒนาโรงเรียนรวมใหเปนแหลงเรียนรู

6) ขอสนับสนุนงบประมาณคาพาหนะนักเรียน สําหรับนักเรียนทุกคน ทุกระดับชั้นท่ีมา

เรียนโรงเรียนหลัก

1.3 สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีการจัดทําแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีชั้นเรียน

ไมเหมาะสม

1.4 รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีชั้นเรียนไมเหมาะสมของสํานักงานเขต

พ้ืนท่ีการศึกษา ดังนี้

1) จัดการเรียนการสอนแบบเรียนรวมกับโรงเรียนท่ีมีความพรอมท่ีอยูขางเคียง

2) จัดการเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียม

3) บริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กรูปแบบโมเดล

Page 103: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

75

1.5 ปการศึกษา 2559 และปการศึกษา 2560 สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีโรงเรียนขนาดเล็ก

จํานวนโรงเรยีนขนาดเล็ก

จังหวัด ปการศึกษา 2559 ปการศึกษา 2560

ศธภ. 12 1,029 1,471

รอยเอ็ด 173 523

ขอนแกน 738 672

มหาสารคาม - 155

กาฬสินธุ 118 121

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือ

มีผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้

1) มีเครื่องมือและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพ่ือยกระดับยกระดับผลการทดสอบ

ทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) โรงเรียนขนาดเล็ก เพ่ือเสริมสรางประสิทธิภาพการจัดการ

เรียนการสอนของครูผูสอนโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก ใหมีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกันในการ

ยกระดับยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) สงผลใหเกิดประโยชนใน

การจัดการเรียนการสอน คือ

- ครูผูสอนมีเครื่องมือและรูปแบบในการจัดการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพ

และเนนผูเรียนเปนสําคัญ

- ครูผูสอนไดปรับวิธีการสอนใหเหมาะสมตอการจัดการเรียนรู

- นักเรียนมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) เพ่ิมข้ึน

2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีข้ึนอยางเปนท่ีนาพอใจ

3) การดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือมีผลกระทบทางบวกแกผูเรียน

สามารถพัฒนาโรงเรียนเปนโรงเรียนท่ีมีความพรอมในทุกดานท้ังดานกายภาพและคุณภาพตอการพัฒนา

ผูเรียน เปนโรงเรียนท่ีมีศักยภาพในการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีอยูใกลบาน

3) ผูเรียนเปนคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค มีวินัย ผูเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถทางวิชาการสูง คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) สูงกวาคาเฉลี่ยระดับประเทศตอเนื่อง ใชชีวิตและมีความเขาใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี

2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตาม

ประเด็นนโยบาย

Page 104: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

76

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษา

ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด

ของความโดดเดน/จุดแข็ง/

นวัตกรรม

1. โรงเรียนเหลาเขืองโนนเสียว

วิทยา

อ.รองคํา จ.กาฬสินธุ สอนเต็มเวลา/สอนเต็มรูปแบบ

2. โรงเรียนบานแหเจริญวิทย หมู 3 บานบานแห ต.ยอดแกง

อ.นามน จ.กาฬสินธุ

ใชdltv ชวยสอน สามารถดูแล

นักเรียนไดท่ัวถึง

3. โรงเรียนโคกมะลิ หมู 1 บานดงหวาย ต.สระพัง

ทอง อ.เขาวง จ.กาฬสินธุ

ใช dltv ชวยสอน สามารถดูแล

นักเรียนไดท่ัวถึง

4. โรงเรียนบัวกลาง หมู 2 บานหนองบัวกลาง

ต.หนองบัว อ.นามน

จ.กาฬสินธุ

ใช dltv ชวยสอน สามารถดูแล

นักเรียนไดท่ัวถึง

5. โรงเรียนบานโนนตาลกุดเวียน

หนองหญามา

อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม การใชรูปแบบการบริหารแบบ

4 D เพ่ือพัฒนาคุณภาพ

การศึกษา

6. โรงเรียนบานทาปะทายโนน

ตูม

อ.เมือง จ.มหาสารคาม โรงเรียนบานโนนตาลกุดเวียน

หนองหญามา (ควบรวม)

7. โรงเรียนบานเตาบา

อ.พยัคฆภูมิพิสัย จ.มหาสารคาม 1.รางวัลโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีวิธี

ปฏิบัติท่ีเปนเลิศจากสพฐ.

2.รางวัลโครงการมหิงสาสายสืบ

ของกรมสงเสริมคุณภาพ

สิ่งแวดลอม

8. โรงเรียนบานนาอุดม

อ.สีชมพู สพป.ขอนแกน เขต 5 การจัดการเรียนการสอนดวย

DLTV

9.โรงเรียน บานโคกสะอาดหวย

บั้งทิง

อ.ชุมแพ สพป.ขอนแกน เขต 5 การจัดการเรียนการสอนดวย

DLTV

10. โรงเรียนบานหนองโนประชา

สรรพ

อ.หนองเรือ สพป.ขอนแกน เขต

5

การจัดการเรียนการสอนดวย

BBL

11. โรงเรียนบานแคน อ.เมือง จ.รอยเอ็ด แกปญหาเด็กอานไมออกเขียนไมได

12. โรงเรียนบานดู อ.ธวัชบุรี จ.รอยเอ็ด ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 13. โรงเรียนบานบากหนองแดง อ.ศซรีสมเด็จ จ.รอยเอ็ด พัฒนาทักษะขบวนการคิด

วิเคราะห

Page 105: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

77

14. โรงเรียนบานภูดิน

หมูท่ี 10 ต.สระบัว อ.ปทุมรัตต จ.รอยเอ็ด 45190

- ใชนวัตกรรม 3P MODEL - ความโดดเดนคือ ลงทุนนอยใชไดผลคุมคา - จุดแข็ง คือ ความสามัคคี ในการอุปถัมยกิจกรรมของทางโรงเรียน

15. โรงเรียนบานจิก (หจก.วิบูลยพาณิชยอนุเคราะห)

บานจิก หมูท่ี 1 ต.ข้ีเหล็ก อ.อาจสามารถ จ.รอยเอ็ด

1. ผูบริหารมีความรูความเขาใจ สามารถบริหารจัดการแบบมีสวนรวม โดยใชโรงเรียนเปนฐาน 2. ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความมุงม่ัน ทุมเท เสียสละ ปฏิบัติหนาท่ีดวยความเต็มใจ เต็มความรูความสามารถ 3. โรงเรียนไดรับการสนับสนุนจากชุมชน และทองถ่ินเปนอยางดีและตอเนื่อง

16. โรงเรียนบานบะเค

อ. โพนทอง จ.รอยเอ็ด Best Practice ระดั บป ระ เท ศโรงเรียนขนาดเล็ก ป 2559

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) การกําหนดนโยบายสูการปฏิบัติในพ้ืนท่ีควรมีแผนงานโครงการท่ีมีระยะเวลาการดําเนินการ

เปนข้ันตอนในระยะยาวและไมปรับเปลี่ยนกระทันหัน และสั่งการสูระดับปฏิบัติท่ีเรงรีบ

2) การยุบรวมหรือการควบรวมตามแผนงาน/นโยบายของ สพฐ. สงผลตอการดําเนินงานในการ

เตรียมการและสํารวจความพรอม สงผลใหเกิดปญหากับชุมชนและการบริหารจัดการ

3) ขาดแนวทางในการบริหารจัดการบุคลากรท่ีชัดเจนในทางปฏิบัติ

4) งบประมาณในการสนับสนุนท่ีลาชาสงผลตอการดําเนินงานในระดับพ้ืนท่ี

5) ดานบริหารวิชาการ โรงเรียนมีภารกิจดานบริหารวิชาการตั้งแตการกําหนดหลักสูตรการจัด

กิจกรรมการเรียนการสอน การสรางสื่อและนวัตกรรมรวมไปถึงการวัดผลประเมินผลใหครอบคลุม

พัฒนาการของผูเรียน สอดคลองกับสาระการเรียนรู 8 สาระ และกิจกรรมพัฒนาการของผูเรียน ซ่ึงภารกิจ

เหลานี้จะตองใชบุคลากร ท่ีมีความรูความสามารถท่ีเพียงพอ สําหรับจัดทําและบริหารจัดการ แตโรงเรียน

ขนาดเล็กจะมีบุคลากรไมเพียงพอจึงไมสามารถดําเนินการไดครบถวนสมบูรณ

6) ดานบริหารงานบุคคล การบริหารงานบุคคลในระดับสถานศึกษาคือการจัดบุคคลเขา

รับผิดชอบการเรียน การสอน ซ่ึงหากสถานศึกษาสามารถกําหนดความตองการดานบุคคล และไดรับการ

บรรจุแตงตั้งใหตรงตาม ความขาดแคลนของโรงเรียนแลว ก็จะสงผลตอการพัฒนาคุณภาพของผูเรียน แต

Page 106: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

78

โรงเรียนขนาดเล็กสวนใหญนอกจากขาดอัตรากําลังแลวบุคลากรท่ีมีอยูก็จะทําการสอนไมตรงกับวิชาเอก

หรือวิชาท่ีตนถนัด

7) ดานบริหารงบประมาณ ปจจุบันรัฐบาลจะจัดสรรงบประมาณอุดหนุนรายหัว และอุดหนุน

ปจจัยพ้ืนฐานแกโรงเรียนโดยใชจํานวนนักเรียนเปนตัวแปรในการจัดสรร กลาวคือ อนุบาลจัดสรรหัวละ

1,700 บาท ตอป ป.1-ป.6 รายละ 1,900 บาท ตอป ม.1-3 หัวละ 3,500 บาท ตอป และงบอุดหนุน

ปจจัยพ้ืนฐานสําหรับนักเรียนยากจน ป.1-6 40% ของจํานวนนักเรยีนยากจน หัวละ 1,000 บาท ตอคน

ตอป ม.1-3 จัด 30 % ของนักเรียนยากจนในวงเงิน 3,000 บาท ตอคนตอป ซ่ึงโรงเรียนขนาดเล็กมี

จํานวนนอยเม่ือคิดเปนตัวเงิน จะไมมาก ไมเพียงพอตอการนํามาใชพัฒนาหลายโรงเรียนตองจัดระดมทุน

ดวยการจัดผาปาเพ่ือการศึกษา หากตั้งอยูในชุมชนยากจน ก็เปนการรบกวนผูปกครอง สรางความ

เดือดรอนไปดวย

8) ดานบริหารงานท่ัวไป การพัฒนาคุณลักษณะผูเรียน โรงเรียนจะตองจัดกิจกรรมใหเสริมสราง

พัฒนาการ ของผูเรียน อยางครบถวนครอบคลุมเพ่ือใหผูเรียนมีพัฒนาการอยางรอบดาน แตสถานศึกษา

ขนาดเล็กบุคลากรนอย จํานวนนักเรียนก็นอย เม่ือจัดกิจกรรมตาง ๆ ก็จะขาดความพรอมขาดความ

สมบูรณของกิจกรรม นักเรียน ขาดการแลกเปลี่ยนเรียนรูท่ีหลากหลาย บางชุมชนผูปกครองยากจนเด็ก

ตองขาดเรียนไปชวยผูปกครองหารายได ทําใหขาดโอกาสรวมกิจกรรมอยางหลากหลาย

วิธีการ/แนวทางแกไข

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากร

ทางการศึกษาควรวางแนวทางใหชัดเจนและเอ้ือตอการทํางาน เชน

1) โรงเรียนท่ีมีนักเรียน 120 คนลงมา หากผูบริหารวางลงไมควรบรรจุผูอํานวยการโรงเรียน

โดยมอบหมายใหโรงเรียนใกลเคียงรักษาการในตําแหนงผูบริหารโรงเรียน

2) ควรพัฒนาโรงเรียนหลักท่ีมีความพรอมใหมีคุณภาพ ครูเพียงพอ สื่อเพียงพอ คัดสรรผูบริหาร

ท่ีมีความสามารถไปบริหารโรงเรียนหลัก

3) กรณีมีตําแหนงผูบริหารวางลงหากอยูในเกณฑบรรจุไดควรยายจากโรงเรียนท่ีควบรวมท่ีมี

ผลงานเดนไปดํารงตําแหนงเพ่ือสรางขวัญกําลังใจ

4) ควรมีการเผยแพรประชาสัมพันธผลงานเดนของโรงเรียนท่ีรวมท่ีสามารถเปนแบบอยางใหกับ

โรงเรียนอ่ืน ๆ เพ่ือสรางความม่ันใจผูเรียนมีคุณภาพ ออกมาเผยแพรทางสื่อมวลชนอยางตอเนื่อง

5) ควรแกไขกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ในการบริหารงานบุคคล ท่ีสามารถเอ้ือประโยชน

สําหรับผูบริหาร ครู ท่ีไปเรียนรวมเพ่ือเปนการสรางขวัญและกําลังใจสําหรับผูบริหารและครูท่ีนํานักเรียน

ไปเรียนรวม

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรทําความเขาใจในการขับเคลื่อนและการดําเนินงานอยางชัดเจนโดยเฉพาะการ

จัดระบบของบุคลากรท่ีมีสวนไดสวนเสียกับนโยบาย

Page 107: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

79

2) จัดสรรบุคลากรใหเพียงพอ

3) ระยะเวลาในการดําเนินการควรมีระยะท่ีชัดเจนและจริงจังในทางปฏิบัติ

4) การจัดสรรงบประมาณในการดําเนินงานโครงการควรมีแผนการใชจายท่ีชัดเจนไม

เรงดวนมาก จัดหาวัสดุอุปกรณใหเพียงพอ

5) ควรมีการกํากับ ติดตาม นิเทศอยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) สงเสริมสนับสนุนและพัฒนาครูในดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

2) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผานเทคโนโลยีอยางตอเนื่องและจริงจัง

3) ยุบโรงเรียนท่ีมีนักเรียนต่ํากวา 4 คนลงมา

นโยบายท่ี 9 การอานออกเขียนได

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการ :

9.1 การอานออก เขียนได

KPI: รอยละของนกัเรียนชั้น ป.1 อานออก เขียนได

9.2 การอานคลอง เขียนคลอง

KPI: รอยละของนกัเรียนชั้น ป.2-ป.3 อานคลอง เขียนคลอง

1. ผลการดําเนินการ

ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด

1.1 จํานวนนักเรียนท่ีอานออกเขียนได และอานคลองเขียนคลองปการศึกษา 2560

สังกัด

อานออกเขียนได ปการศึกษา 2560 อานคลอง เขียนคลอง ปการศึกษา

2560

นักเรียน

ช้ัน ป.1

ท้ังหมด (เฉพาะเด็ก

ปกติ)

(คน)

จํานวน

นักเรียน

อานออก

เขียนได (เฉพาะเด็ก

ปกติ)

(คน)

รอยละ

จํานวน

นักเรียน

ช้ัน ป.2-

ป.3 ท้ังหมด (เฉพาะเด็ก

ปกติ)

(คน)

จํานวน

นักเรียนท่ี

อานคลอง

เขียนคลอง (เฉพาะเด็ก

ปกติ)

(คน)

รอยละ

สพป. 32,698 31,440 96.15 65,887 63,046 95.69

สช.

หมายเหตุ: นับเฉพาะนักเรียนปกติ

1.2 หนวยงาน/สถานศึกษา มีรูปแบบหรือวิธีการเพ่ือใหนักเรียนชั้น ป.1 อานออกเขียนได ดังนี้

1) จัดทําเอกสารวิเคราะหผูเรียน วิเคราะหขอสอบและจัดกิจกรรมซอมเสริม

Page 108: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

80

2) จัดทําสื่อนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาการอานออกเขียนได ชื่อวา “แพรวา โมเดล” มี 6

ข้ันตอนในการพัฒนา ไดแก 1.รูจักอักษรไทย 2.ประสมคําใหมพรอมอานเขียน 3. ผันวรรณยุกตท้ั 5 ได

แนบเนียน 4.เขียนการแจกลูกสะกดคํา 5. นํามาแตงประโยคและผูกเรื่อง 6.ปราดเปรื่องสื่อสารอยาง

สรางสรรค โดยไดจัดทําคูมือครูและแบบฝกสําหรับนักเรียนตามข้ันตอนแพรวาโมเดล

3) จัดกิจกรรมภาษาไทยวันละคํากอนเริ่มกิจกรรมการเรียนการสอน เขียนตามคําบอกทุกวัน

4) จัดกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน โดยนักเรียนอานหนังสือท่ีตัวเองชอบใหครูและเพ่ือนฟง

5) จัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเนนการปฏิบัติ บอยย้ําช้ําทวน 6) จัดคายเพ่ือยกระดับการอานการเขียนตามความพรอมของกลุมพัฒนาคุณภาพการศึกษา 7) สงเสริม กํากับ ติดตามโครงการหนวยงานและสถานศึกษา

8) ใชวิธีการสอนในรูปแบบท่ีหลากหลาย เชน การสอนแบบแจกลูกสะกดคํา การสอน

ตามแนวทางภาษาพาเพลินกิจกรรมบันได 5 ข้ันสูการอานออก เขียนได (play and learn) การสอนตาม

แนวทางพัฒนาการทางสมอง( BBL)

9) สงเสริมและพัฒนาครูผูสอนไดรับการพัฒนาวิธีการแกไขปญหานักเรียนอานไมออก

เขียนไมได

10) สนับสนุนงบประมาณในการจัดสื่อ หนังสือ และนวัตกรรมในการแกไขปญหาการอาน

ไมออกเขียนไมได

1.3 หนวยงาน/สถานศึกษา มีรูปแบบหรือวิธีการเพ่ือใหนักเรียนชั้น ป.2-ป.3 อานคลอง เขียน

คลอง ดังนี้

1) จัดทําเอกสารวิเคราะหผูเรียน วิเคราะหขอสอบและจัดกิจกรรมซอมเสริม

2) นักเรียนชั้น ป.2 ฝกอาน ตามบทอาน และพัฒนาตามแพรวาโมเดล

3) จัดทําและพัฒนาคูมือสําหรับพัฒนาการคิดและการอานรูเรื่องภาษาไทยใหกับนักเรียน

ชั้น ป.3 3.ประเมินการอานการเขียนอยางเปนรูปธรรมโดยประเมินการอานการเขียนนักเรียนชั้น ป.1 –

ป.3 ภาคเรียนละ 2 ครั้ง เพ่ือกระตุนใหเกิดการพัฒนา

4) ใชวิธีการสอนในรูปแบบท่ีหลากหลาย เชน การสอนแบบแจกลูกสะกดคํา การสอน

ตามแนวทางภาษาพาเพลิน กิจกรรมบันได 5 ข้ันสูการอานออก เขียนได (play and learn) การสอน

ตามแนวทางพัฒนาการทางสมอง( BBL)

5) จัดกิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด การอานรูเรื่องตามแนวทาง PISA

6) จัดทําชุดฝกเสริมทักษะการอานคลอง เขียนคลอง

7) จัดกิจกรรมภาษาไทยวันละคํากอนเริ่มกิจกรรมการเรียนการสอนทุกวัน

8) จัดกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน โดยนักเรียนอานหนังสือท่ีตัวเองชอบใหครูและเพ่ือนฟง

9) กิจกรรมไมเทากายสิทธ เลานิทานใหเพ่ือนและครูฟง ทองคําพ้ืนฐานกอนเลิกเรียน

Page 109: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

81

10) สงเสริม กํากับ ติดตามโครงการของหนวยงานและสถานศึกษา

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือ

มีผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้

1) การวิเคราะหผูเรียนทําใหทราบถึงจุดเดนจุดดอยและวิธีการพัฒนาเปนรายบุคคล

2) การวิเคราะหขอสอบไดทราบขอยากงาย ทําใหครูสามารถพัฒนาผูเรียนไดตรงเปาหมาย

3) แพรวาโมเดล นวัตกรรมเพ่ือพัฒนาการอานออกเขียนได เปนนวัตกรรมท่ีนําแนวคิดจาก

การทอผาแพรวาซ่ึงเปนเอกลักษณของจังหวัดกาฬสินธุท่ีมีความวิจิตโดดเดนจนไดชื่อวา ผาไหมแพรวา

ราชินีแหงไหม นํามาออกแบบเปนโมเดลในการพัฒนาซ่ึงมี 6 ข้ันตอนเรียงลําดับจากงายไปหายาก ตามข้ัน

การเรียนรูของบลูมจัดทําคูมือครูและแบบฝกสําหรับผูเรียนไดเรียนรู ทําใหนักเรียนอานออกเขียนไดตาม

เปาหมายของหลักสูตร จากการประเมินครั้งท่ี 4 เดือนมกราคม 2561 พบวานักเรียนชั้นป.1 อานออก

เขียนได รอยละ 97.54 ชั้น ป.2 อาคลองเขียนคลองรอยละ 97.76 นอกจากนี้แพรวาโมเดลยังไดรับ

รางวัลเหรียญทองชนะเลิศดานทักษะการเรียนรูและนวัตกรรมในการประกวดนวัตกรรมทักษะการเรียนรู

สูศตวรรษท่ี 21 สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาอีสานตอนบน จาก สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน

พ้ืนฐาน และสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการสึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ เขต 1ไดรับโลรางวัล สํานักงานเขตท่ี

สงเสริมภาษาไทยประสบผลสําเร็จระดับยอดเยี่ยมจาก สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

เนื่องในวันภาษาไทยแหงชาติ ป 2560

4) พัฒนาเด็กนักเรียนท่ีมีปญหาการอาน การเขียนใหสามารถอานออก เขียนได อาน

คลอง เขียนคลอง สามารถอานรูเรื่องและสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ มีเจคติท่ีดีตอการเรียน

ภาษาไทย และมีนิสัยรักการอานเพ่ิมมากข้ึน

5) การฝกอานและเขียนคําพ้ืนฐานทุกวัน สงผลใหนักเรียนสามารถอานและเขียนคํา

พ้ืนฐานไดถูกตองไดรับรางวัลชนะเลิศกิจกรรมเขียนตามคําบอก ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 การแขงขัน

ทักษะภาษาไทย ประจําป 2560 และผูเรียนมีความกระตือรือรน เห็นความสําคัญ ใหความรวมมือพัฒนา

ดานการอานการเขียน

6) ผูเรียน ไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง โดยแยกตามสาเหตุและสภาพปญหาการอาน

การเขียนภาษาไทยเปนรายบุคคลอยางใกลชิด 2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตาม

ประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษา

ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด

ของความโดดเดน/จุดแข็ง/

นวัตกรรม

1. โรงเรียนบานสี่แยกสมเด็จ ต.สมเด็จ อ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ 1 . ช น ะ เลิ ศ ร ะ ดั บ ภ า ค ป

ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 0 กิ จ ก ร ร ม

Page 110: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

82

ศิลปหัตถกรรมนักเรียน “อานเอา

เรื่องตามแนว PISA” ป.1 – ป.3

2. รองชนะเลิศอันดับ 1

ป ก ารศึกษา 2560 กิจกรรม

ศิลปหัตถกรรมนักเรียน “ คัด

ลายมือสื่อภาษาไทย” ป.4 – ป.5

2. โรงเรียนสามขาราฎรบํารุง ต.สามขา อ.กุฉินารายณ

จ.กาฬสินธุ

- นักเรียน ป.3 คะแนนทดสอบ

ดานภาษาไทย 100 คะแนนเต็ม

3 . โร ง เรี ย น น าม น ราษ ฎ ร นุ

เคราะห

ต.โนนแหลมทอง อ.สหัสขันธ

จ.กาฬสินธุ

นํานวัตกรรมแพรวาโมเดลสูการ

พัฒนา

4. โรงเรียนหนองกุงวิทยาคม ต. บึงวิชัย อ. เมือง จ.กาฬสินธุ

นํานวัตกรรมแพรวาโมเดลสูการ

พัฒนา

5. โรงเรียนดงพยุงสงเคราะห

ต.ดงพยุง อ.ดอนจาน จ.กาฬสินธุ นํานวัตกรรมแพรวาโมเดลสูการ

พัฒนา

6. โรงเรียนบานหนองหญาแพรก สพป.ขอนแกน เขต 1

อําเภอเมือง

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

แบบ Active Learning

7. โรงเรียนบานฝางนาฝายนา

โพธิ ์

สพป.ขอนแกน เขต 1

อําเภอเมือง

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

แบบ Active Learning

8. โรงเรียนบานขุนดาน

สพป.ขอนแกน เขต 4

อําเภออุบลรัตน

ใชวิธีการสอนตามแนวทางภาษา

พาเพลิน(play and learn)

กิจกรรมบันได 5 ข้ันสูการ

อานออก เขียนได

9. โรงเรียนบานนาเรียง สพป.ขอนแกน เขต 4

อําเภอน้ําพอง

การแกปญหาเด็กอานไมออก

เขียนไมไดโดยใชหองเรียนภาษา

พาเพลิน

10. โรงเรียนหนองขามวิทยาคาร สพป.ขอนแกน เขต 5

อําเภอชุมแพ

กิจกรรมการเสริมทักษะการอาน

คิดและเขียนสื่อความ

11. โรงเรียนบานหัวนาจระเข

หนองแปน

สพป.ขอนแกน เขต 5

อ.หนองเรือ

บัตรคําหนูทําเอง

12. โรงเรียนบานนากานเหลือง สพป.ขอนแกน เขต 5

อ.ภูเวียง

การพัฒนาการอานคิดวิเคราะห

และเขียนโดยใช RAWP Model

Page 111: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

83

13. โรงเรียนอนุบาลมหาสารคาม

ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม - มีสื่อหลากหลาย

- เนนผูเรียนเปนสําคัญ

14. โรงเรียนบานโคกไร

ต. งัวบา อ.วาปปทุม จ.

มหาสารคาม 44120

การอานและเขียนคําศัพทจากคํา

พ้ืนฐาน ทุกวัน

15. โรงเรียนบานแวงดงหนอง

ยาง

ต.แวงดง อ.ยางสีสุราช จ.

มหาสารคาม44210

กิจกรรมไมเทากายสิทธิ์ พิชิตการ

อ าน ไม อ อ ก เขี ยน ไม ได ชั้ น

ประถมศึกษาป ท่ี 1 อ านออก

100%

16. โรงเรียนอนุบาลวาปปทุม ต.หนองแสง อ.วาปปทุม จ.

มหาสารคาม

กิจกรรมไมคหรรษา เพ่ือเพ่ิม

ทักษะการอาน

17. โรงเรียนบานวังโพน ต.เขวาไร อ.โกสุมพิสัย จ.

มหาสารคาม

การพัฒนาการอานของนักเรียน

ด วย กิจกรรมยุ วบ รรณ ารักษ

สงเสริมการอาน

18. โรงเรียนบานแพงหนองเหนือ ต.บานแพง อ.โกสุมพิสัย จ.

มหาสารคาม

รักการอาน สรรคสรางทางปญญา

19. โรงเรียนบานดอนจําปาดอน

สวรรค

ต.โพนงาม อ.โกสุมพิสัย จ.

มหาสารคาม

รักการอานและพัฒนาหองสมุด

3D

20. โรงเรียนบานเหลาจั่นหนอง

ทุม

อ.จตุรพักตรพิมาน จ.รอยเอ็ด นวัตกรรมเพลงและสื่อ

21. โรงเรียนบานคางฮุง

อ.ธวัชบุรี จ.รอยเอ็ด นวัตกรรมท่ีหลากหลาย สามารถบูรณาการได

22. โรงเรียนบานหวายนอย

อ.ทุงเขาหลวง จ.รอยเอ็ด นวัตกรรมท่ีเสริมสราง การอานออกเขียนได

23. โรงเรียนอนุบาลเมืองพนม

ไพร

อ.พนมไพร จ.รอยเอ็ด นวัตกรรมท่ีหลากหลาย

24. โรงเรียนทุงกุลาประชารัฐ

อ.เกษตรวิสัย จ.รอยเอ็ด นวัตกรรมท่ีหลากหลาย สามารถบูรณาการได

25. โรงเรียนบานภูดิน

อ.ปทุมรัตต จ.รอยเอ็ด นวัตกรรมท่ีเสริมสราง การอานออกเขียนได

26. โรงเรียนบานหนองแวงใหญ

อ.โพธิ์ชัย จ.รอยเอ็ด -สงเสริมการอาน การเขียน -หองสมุดมีชีวิต

27. โรงเรียนบานสะอาด

อ.โพธิ์ชัย จ.รอยเอ็ด -เสื้อก๊ักรักการอาน -สงเสริมการอานการเขียน

Page 112: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

84

28. โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36

อ.โพนทอง จ.รอยเอ็ด -เสียงตามสาย -นักขาวนอย

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) นโยบายไมตอเนื่อง การติดตอสื่อสารลาชา

2) การประเมินการอานการเขียนยังขาดงบประมาณสนับสนุน การทดสอบเปนภาระกิจของ

สถานศึกษาและกลุมสถานศึกษา ความคลาดเคลื่อนของผลสัมฤทธิ์ท่ีไดอาจสูง

3) การชี้แนะชี้นําใหครูเขาใจเรื่องการนําคะแนนผลการประเมินการอานการเขียน e-mes เพ่ือ

การพัฒนาผูเรียนยังไมท่ัวถึง

4) ครูผูสอนสวนใหญเนนทองจํา ใชสื่อการสอนสงเสริมการเรียนรูคอนขางนอยกิจกรรมไม

นาสนใจ ทําใหนักเรียนมีเจคติท่ีไมดีตอวิชาภาษาไทย ไมสนใจเรียนสะกดคําและแจกลูกไมถูกตอง

5) ผูบริหารสวนใหญขาดความตระหนักและเห็นความสําคัญ

6) ครูบางคนไมจบวิชาเอก ทําใหการสอนไมประสบความสําเร็จเทาท่ีควร และครูมีไมเพียงพอ

7) งบประมาณท่ีจัดสรรลาชาไมเพียงพอตอการพัฒนาของเขตพ้ืนท่ี และโรงเรียนในสังกัด

8) กิจกรรมการเรยีนการสอนยึดแบบเรียนเปนหลกั ขาดสื่อ/นวัตกรรมไมเปนท่ีนาสนใจ

9) ครูขาดการนําบันทึกผลหลังสอนไปใชสอนซอมเสริม และขาดการนิเทศภายในอยางตอเนื่อง

10) กิจกรรมจากสวนกลางลงสูสถานศึกษามีมากเกินไป

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรใหโรงเรียนกําหนดรูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายตามสภาพและบริบทของพ้ืนท่ี

2) ควรสนับสนุนงบประมาณเพ่ือการดําเนินการสอบการอานการเขียน e-mes และ

สนับสนุนงบประมาณในการขับเคลื่อนในระดับ ศธจ. เพ่ือเปนหนวยประสานและกํากับติดตามไดอยางมี

ประสิทธิภาพมากข้ึน

3) ควรกําหนดปฏิทินการทดสอบใหพรอมกัน

4) สงเสริมขวัญและกําลังใจใหครูผูสอนอยางตอเนื่อง

5) พัฒนาครูท่ีไมจบวิชาเอก ใหมีความม่ันใจและมีความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) กระบวนการวัดและประเมินดานการอาน การเขียนของนักเรียนโดยเฉพาะระดับชั้น

ประถมศึกษาปท่ี 1 ควรดําเนินการประเมินในวันเดียวกันท่ัวประเทศ และใชมาตรฐานการจัดสอบท่ี

ควบคุมตัวแปรไดทุกข้ันตอนจึงจะสามารถรับรองผลการประเมินท่ีเปนปรนัยได

นโยบายท่ี 10 การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการ :

Page 113: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

85

10.1 การจัดกระบวนการเรียนรูและพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมตามโครงการของตนสังกัด และ

มูลนิธิยุวสถิรคุณ

KPI: รอยละของสถานศึกษาใชกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมแบบมีสวนรวม

10.2 การจัดกระบวนการเรียนรูตามแนวทางการใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนินชีวิต

KPI: รอยละของนักเรียนท่ีเขารวมกิจกรรมตามโครงการนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ

1. ผลการดําเนินการ

ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด

1.1 จํานวนสถานศึกษาท่ีใชกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมตามโครงการ

ของตนสังกัดหรือมูลนิธิยุวสถิรคุณหรืออ่ืนๆ แบบมีสวนรวม

สังกัด

สถานศึกษาใชกระบวนการเรียนรูและ

พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมตามโครงการของ

ตนสังกัดหรือมูลนิธิยุวสถิรคณุ

หรือโครงการอ่ืนๆ แบบมสีวนรวม

ผูเรยีนท่ีเขารวมกิจกรรมตามโครงการนอม

นําแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง หรือนอมนําแนวคิดตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนิน

ชีวิต (คน)

จํานวน

สถานศึกษา

ท้ังหมด

(แหง)

จํานวน

สถานศึกษา

ท่ีดําเนินการ

(แหง)

รอยละ

จํานวน

ผูเรยีน

ท้ังหมด

(คน)

จํานวน

ผูเรยีน

ท่ีเขารวม

โครงการฯ

(คน)

รอยละ

สพป. 2,710 2,215 81.73 280,014 241,985 86.40

สพม. 139 116 83.45 61,358 61358 100

สศศ. 3 3 100 1,194 1,194 100

สช. 126 126 100 45,289 45,289 100

สอศ. 32 32 100 51,453 50,772 98.68

กศน. 44 44 100 56,233 56,233 100

อ่ืน ๆ 2 2 100 4,508 4,508 100

1.2 สถานศึกษาใชกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมตามโครงการของตนสังกัด

หรือมูลนิธิยุวสถิรคุณหรือโครงการอ่ืนๆ แบบมีสวนรวม ดังนี้

1) สงเสริมใหนักเรียนรวมกันคนหาปญหา/พฤติกรรมท่ีไมพ่ึงประสงคดวยกัน/หาทางออก/วิธีแกไขรวมกันจนนําไปสูคุณธรรม อัตลักษณในระดับโรงเรียน 2) สงเสริมและพัฒนากระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมโดยใชโครงงานคุณธรรม ใหนักเรียนทุกคนในโรงเรยีนมีสวนรวมในกิจกรรม

Page 114: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

86

3) สงเสริมกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมโดยใชโครงงานคุณธรรมนักเรียนทุกคนในโรงเรยีนมีสวนรวมในกิจกรรม 4) มีโครงการสถานศึกษาคุณธรรมทุกชมรมวิชาชีพ มีมูลนิธิยุวสถิรคุณ และกําหนดอัต

ลักษณคุณธรรมของสถานศึกษา สงเสริมคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ และเขาคายคุณธรรม ตาม

โครงการ “สถานศึกษาคุณธรรม”

5) มีการสรางความรูความเขาใจ โดย

5.1 ประชุมผูอํานวยการโรงเรียน คณะครู นักเรียน ผูปกครอง

5.2 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาครูและนักเรียน

5.3 การพัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนนํา

5.4 การออกแบบกิจกรรมการเรียนรูคูความดี

5.5 การศึกษาดูงานโรงเรียนตนแบบ

6) การลงมือปฏิบัติของโรงเรียน

7) การนิเทศติดตามโรงเรียน

8) การรายงานความกาวหนาและการประเมินผล

บางจังหวัดไดแบงกิจกรรมออกเปน 4 ดาน ดังนี้

(1) ดานความพอเพียง จัดกิจกรรมรณรงคใชทรัพยากรของโรงเรียนอยางประหยัด

กิจกรรมรักการออม กิจกรรมสืบสานภูมิปญญาทองถ่ิน กิจกรรมโครงงานคุณธรรมจิตอาสา และกิจกรรม

งานสูอาชีพ

(2) ดานความกตัญูรูคุณ ในวิถีชีวิต เชน การสอนใหนักเรียนยกน้ําด่ืมใหพอแม ครู

อาจารย มีน้ําใจชวยถือสิ่งของ สัมภาระ ชวยทํางานบานตามกําลังของนักเรียน การชื่นชมใหกําลังใจ

นักเรียน จัดกิจกรรมจิตอาสาชวยเหลือผูปาวยและคนชรา

(3) ดานความซ่ือสัตยสุจริตสรางคนดีใหกับชาติบานเมือง การสอนใหนักเรียนไมพูดโกหก

นักเรียนมีกิจกรรมไมลอกขอสอบ ไมลอกผลงานเพ่ือน กิจกรรม ปปช.นอยในโรงเรียนและชุมชน กิจกรรม

บันทึกความดี การปฏิบัติตามขอตกลงของหองเรียน กิจกรรมเขาแถวตามลําดับไมลัดคิว

(4) ดานความรับผิดชอบ นักเรียนไดทํากิจกรรมโครงงานคุณธรรมจิตอาสาทําความ

สะอาด โรงเรียน หมูบาน วัด รวมกับชุมชนรวมท้ังกิจกรรมจิตอาสาอ่ืน เชน การชวยบริการน้ําดื่มในงาน

ตาง ๆ ของชุมชน เพ่ือเปนการฝกความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม กิจกรรมเพ่ือนชวยเพ่ือน กิจกรรมพ่ี

สอนนอง กิจกรรมชวยเหลือผูปวยและคนชราในหมูบาน

1.3 สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมตามโครงการนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงหรือนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติใหกับนักเรียน ดังนี้

1) สถานศึกษาไดจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงกับกลุมสาระการเรียนรู 8 กลุมสาระฯ และกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยรวมกันออกแบบแผนการ

จัดการเรียนรูเนนการมีสวนรวมโดยผานกระบวนการ Active Learning

Page 115: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

87

2) สามารถนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซ่ึงเปนนามธรรมมาประยุกตใชอยางเปน

รูปธรรม และควรใชเวลาในการอบรมมากกวานี้ จะไดรูถึงการทําความดีตามรอยพระยุคลบาทและตาม

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมากกวานี้

3) สถานศึกษาจัดกิจกรรมในเรื่องการรักษาความสะอาด การคัดแยกขยะใหเปนสัดสวน

งายตอการจัดเก็บ ตลอดจนการรักษาประเพณีอันดีงามของไทย

4) มีการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูแบบฐานเศรษฐกิจพอเพียงใหสอดคลองกับสภาวะ

ปจจุบัน และเสริมสรางแนวคิดใหกับผูเรียน

5) สรางภูมิคุมกัน ในการดําเนินชีวิตของนักศึกษาเอง ของครอบครัว และชุมชนอยางมี

ความสขุ

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดาํเนินงานตามนโยบาย

2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือ

มีผลกระทบทางบวกแกผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย ดังนี้

1) นักเรียน นักศึกษา เขาใจความสําคัญและหลักในการประพฤติตนเปนคนดี มีคุณธรรม

จริยธรรม ธรรมาภิบาลตามคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ สามารถคิด วิเคราะห ตัดสินใจ ประพฤติ

ปฏิบัติตามหลักธรรม กฎระเบียบ วัฒนธรรมอันดีงามของสังคม มีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมทําความดี

ตามรอยพระยุคลบาท กิจกรรมตามหลักปรชัญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรรมเพ่ือประโยชนตอ

ตนเอง ชุมชน ทองถ่ิน

2) สรางใหสถานศึกษาเปนท่ียอมรับของสังคม และประชาชนท่ัวไป ในการเปนสถานศึกษา

ดานอาชีวศึกษา บริการวิชาชีพสูสังคม

3) มีการทํางานเปนระบบ โดยมีองคการนักเรียนนักศึกษา มีชมรมตางๆ ท่ีสามารถ

ดําเนินการโครงการตางๆ ภายใตการดูแลของคณะกรรมการดําเนินงานองคการนักวิชาชีพในอนาคตแหง

ประเทศไทย และคณะกรรมการบริหารองคการนักวิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย

4) โครงการนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหรือนอมนําแนวคิด

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ

2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตาม

ประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษา

ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด

ของความโดดเดน/จุดแข็ง/

นวัตกรรม

1. วิทยาลัยเทคนิคเขาวง

88/8 หมู 11 ต.กุดสิมคุมใหม

อ.เขาวง จ.กาฬสินธุ 46160

- นั กเรียน นัก ศึกษา เข าใจ

ความสํ า คัญ และหลั ก ในการ

ประพฤติตนเปนคนดี มีคุณธรรม

Page 116: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

88

จริยธรรม ธรรมาภิบาลตาม

ค านิ ยมหลักของคนไทย 12

ประการ สามารถคิด วิเคราะห

ตัดสินใจ ประพฤติปฏิบัติตาม

ห ลั ก ธ ร ร ม ก ฎ ร ะ เบี ย บ

วัฒนธรรมอันดีงามของสังคม มี

สวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมทํา

ความดีตามรอยพระยุคลบาท

กิจกรรมตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรร

รม เพ่ื อ ป ระ โยช น ต อ ต น เอ ง

ชุมชน ทองถ่ิน

2 . โร ง เรี ย น สม เด็ จ ป ระช านุ

เคราะห

อ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ - โครงการโรงเรยีนปลอดขยะ

- โครงการอาชีพการทําไขเค็ม

- โครงการยิ้มงายไหวสวย

3. โรงเรียนสงเปลือยวิทยายน อ.นามน จ.กาฬสินธุ โครงการดนตรีสรางคนแกปญหา

ใหกับผูเรียน หางไกลยาเสพติด

4. โรงเรียนบานหนองขอนแกน อ.หวยผึ้ง จ.กาฬสินธุ - โครงการอาชีพ สรางความ

เขมแข็งกับตนเองและชุมชน

- โครงการสวดมนตหมูสรภัญญะ

- โครงการอาชีพจากวัตถุดิบใน

ทองถ่ิน

- โค ร ง ก า ร อ บ ร ม คุ ณ ธ ร ร ม

จริยธรรมทุกวันศุกร

5. โรงเรียนบานหนองกุงใหญ

อ.สามชัย จ.กาฬสินธุ ร.ร.คุณธรรมระดับประเทศใน

ดานคุณธรรมจริยธรรมดีเดน

6. โรงเรียนบานแกหัวแฮดสมโฮง

วิทยา

อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ นักเรียนคุณธรรมระดับประเทศ

ในดานคุณธรรมจริยธรรมดีเดน

7. โรงเรียนกุดครองวิทยาคาร

อ.ดอนจาน จ.กาฬสินธุ ร.ร.ตนแบบร.ร.คุณธรรม สพฐ.

(ไดรับคัดเลือกจากสพฐ.)

8. โรงเรียนชุมชนแกงคําวิทยา อ.สหัสขันธ จ.กาฬสินธุ สวนเศรษฐกิจพอเพียง เลี้ยงไก

ปลูกผัก

Page 117: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

89

9. โรงเรียนชุมชนนาจารยวิทยา อ.เมือง จ.กาฬสินธุ สวนเศรษฐกิจพอเพียง เลี้ยงไก

ปลูกผัก

10. โรงเรียนชุมชนหนองสอวิทยา

คาร

อ.เมือง จ.กาฬสินธุ สวนเศรษฐกิจพอเพียง เลี้ยงไก

ปลูกผัก

11. ศูนยเรียนรูอยูนํากัน 47 หมูท่ี 5 ตําบลผาเสวย

อ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ

เกษตรทฤษฎีใหม

12. โรงเรียนวัดกลางภูแลนชาง ต.ภูแลนชาง จ.กาฬสินธุ การเรียนการสอนธรรมศึกษาใน

สถานศึกษา

13. กศน. ตําบลคําบง วัดประสิทธิ์โพธิ์ชัย สถานศึกษาอยูในวัด

14. โรงเรียนบานหวาเหลาโพน

ทอง

สพป.ขอนแกน เขต 1 การมีวินัย จิตอาสา

การมีวินัย สะอาด รมรื่น

15. โรงเรียนบานคําหญาแดง สพป.ขอนแกน เขต 1 การมีวินัย จิตอาสา

การมีวินัย สะอาด รมรื่น

16. โรงเรียนบานหวยแจดอนหัน

หนองหญามา

สพป.ขอนแกน เขต 2 สรางคนดีดวยโครงงานคุณธรรม

17. โรงเรียนบานกอกปาผุวิทยา สพป.ขอนแกน เขต 2 สรางคนดีดวยโครงงานคุณธรรม

18. โรงเรียนบานหนองสะแบงศรี

ชุมพร

สพป.ขอนแกน เขต 3

โครงการทําดีเพ่ือพอ

19. โรงเรียนวัดจุมพล สพป.ขอนแกน เขต 3 โครงงานอาชีพพอเพียง

20. โรงเรียนบานหนองแสง สพป.ขอนแกน เขต 4 โครงงานจิตอาสาจราจร

21. โรงเรียนบานวังเพ่ิม สพป.ขอนแกน เขต 5 เศรษฐกิจพอเพียง

22. โรงเรียนบัวใหญพิทยาคม สพม.25 เศรษฐกิจพอเพียง

23. โรงเรียนบานเหลา

อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม ผูบริห ารสถานศึกษา-ครู -นร.

สามารถเปนวิทยากรขยยายผล

ร.ร.อ่ืน เปนสถานศึกษาดูงานของ

ร.ร.อ่ืน ๆ

24. โรงเรียนชุมชนบานโพธิ์สอง

หองวิทยา

ต.หนองแสงอ.วาปปทุม จ.

มหาสารคาม 44120

โครงการปลูกฝงคุณธรรมจริยา

นักเรียนดวย

25. โรงเรียนบานเขวาทุง

ต. ภารแอน

อ.พยัคฆภูมิพิสัย จ.มหาสารคาม

26. โรงเรียนบ านชุมชนบ าน

หนองทุม

ต.หนองทุม

อ.วาปปทุม จ.มหาสารคาม

โครงการ 5 สีสดใส รวมใจพัฒนา

ดานความรับผิดชอบ

Page 118: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

90

27. โรงเรียนหินแหเสริมศิลป ต.ดอนกลาง อ.โกสุมพิสัย

จ. มหาสารคาม

โครงงานคุณธรรมตามแนวทาง

มูลนิธิยุวสถิรคุณ มยส.

28. โรงเรียนบานหนองแสง ต.หวยเตย อ.กุดรังจ.

มหาสารคาม

กิจกรรมการเรียนรู 8 กลุมสาระ

29. โรงเรียนบานบานโสกกาว ต.เลิงแฝกอ.กุดรังจ. มหาสารคาม กิ จ ก ร รม เก ษ ต ร เพ่ื อ อ าห าร

กลางวัน

30 . โรงเรียนบ านหนองแวง

หนองหัวคน

อําเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดรอยเอ็ด

กิจกรรมไขความดี

31. โรงเรียนธรรมจารีนิวาส

อําเภอเมือง จังหวัดรอยเอ็ด -ขนมคุณธรรม -การถายทําภาพยนตสั้น

32. โรงเรียนบานปอภาร

อําเภอเมือง จังหวัดรอยเอ็ด -เศรษฐกิจพอเพียง

33. โรงเรียนบานสระบัว

ตําบลสระบัว อําเภอปทุมรัตต จังหวัดรอยเอ็ด

การนอมนํ าหลักปรัชญาของเศ รษ ฐ กิ จพ อ เพี ย งสู ก า รจั ดกิจกรรมการเรียนการสอน การจั ด ฐ าน การ เรี ย น รู ต าม ห ลั กปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ก า ร ป ลู ก ฝ ง ให ผู เ รี ย น แ ล ะบุคลากรในโรงเรียนและชุมชนมีคุณลักษณะอยูอยางพอเพียง

34. โรงเรียนเมืองสุวรรณภูมิ

ตําบลสระคูอําเภอสุวรรณภูมิ โครงงานคุณธรรม

35 . โรงเรียนอนุบาลเมืองใหมสุวรรณภูมิ

ตําบลสระคูอําเภอสุวรรณภูมิ โครงงานคุณธรรม

36. โรงเรียนชมุชนบานโคกทม ตําบลสระบัวอําเภอปทุมรัตต โครงงานคุณธรรม 37. โรงเรียนบานสะอาด(สะอาดวิทยาคาร)

อ.โพธิ์ชัย กิจกรรมสรางอัตลักษณใฝเรียน ใฝรู อยูอยางพอเพียง ใหนักเรียนทุกคน

38. โรงเรียนบานสีเสียด อ.เสลภูมิ สรางอัตลักษณความพอเพียง รักสถาบัน ขยันหม่ันเพียร

39. โรงเรียนบานกกตาลดงบังวิทยา

อ.หนองพอก กิจกรรมโรงเรียนสะอาด ยิ้ม ไหว ทักทาย

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) งานนโยบายดําเนินการไมตอเนื่อง

Page 119: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

91

2) ผูบริหาร/ครูผูสอน ไมใหความสนใจงานนโยบาย เพราะเปลี่ยนแปลงบอย และมีมากเกินไป

3) การจดัสรรงบประมาณไมตรงตามระยะเวลาในการจัดกิจกรรม และไมเพียงพอตอการ

บริหารจัดการ

4) ขาดความรูความเขาใจในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูท่ีปลูกฝงคุณลักษณะพอเพียง ผานสื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู ท่ีสอดคลองกับการวัดและประเมินผล 5) ขาดการพัฒนาแหลงเรียนรู การจัดสภาพบริบทสิ่งแวดลอมในสถานศึกษาใหเอ้ือตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6) กิจกรรมบางกิจกรรมไมเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน

7) มีกรรมการนิเทศ หลายชุด และมากเกินไป เชน คณะนิเทศ EMS RT และนิเทศอาสา ควร

บูรณการกันใหมีชุดเดียว

8) การสงเสริมพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมตองใชเวลาและดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง

จริงจัง และมีสวนรวมจากทุกภาคสวนในการสรางพฤติกรรมท่ีพ่ึงประสงค

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรจัดสรรงบประมาณใหตรงตามระยะเวลาในการจัดกิจกรรม

2) เพ่ือพัฒนาและสงเสริมนโยบายคุณธรรมอยางตอเนื่องและยั่งยืน

3) ควรมีการติดตามอยางตอเนื่อง/สมํ่าเสมอ/ยั่งยืน

4) กิจกรรมควรเปนกิจกรรมในชีวิตประจําวันของนักเรียน เชน การไหว การกราบ การ

สวดมนตไหวพระ การชวยเหลือพอแม ผูปกครอง

5) ไมตองนําเอาตัวชี้วัดอ่ืนมาวัดและประเมินผล ควรนําเอาตัวชี้วัดจากหลักสูตร และ

คุณลักษณะอันพึงประสงคมาใชวัดและประเมินผล

6) นโยบายดานคุณธรรมควรกําหนดพฤติกรรมท่ีสอดคลองกับคุณลักษณะพฤติกรรมท่ีพึง

ประสงคของหลักสูตรเพ่ือความไมซํ้าซอน

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ผูประเมินดานสถานศึกษาคุณธรรมควรมีความรูความเขาใจหลักเกณฑการประเมินทุก

สถานศึกษาตามสังกัด

2) ควรใหมีการประกวดโครงงานคุณธรรมท้ัง 4 ดาน เพ่ือสรางขวัญและกําลังใจ ลงสู

สถานศึกษาและตัวผูเรียนใหมากและตอเนื่อง

นโยบายท่ี 11 การขับเคล่ือนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการ :

11.1 การวางแผนบูรณาการเพ่ือการขับเคล่ือนนโยบายการจัดการศึกษาระดับจังหวัดและระดับภาค

KPI: รอยละของสํานักงานศึกษาธิการภาคและระดับจังหวัด สามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติ

Page 120: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

92

และยุทธศาสตรกระทรวงสูการปฏิบัติได

11.2 การจัดระบบและพัฒนาระบบขอมูล สารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาเพ่ือ

การวางแผนและการกํากับ ติดตาม ประเมินผล

KPI: รอยละของสํานักงานศึกษาธิการภาคและระดับจังหวัด สามารถจัดระบบ ขอมูลสารสนเทศ

และเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาไดตามอํานาจหนาท่ีและภารกิจ

11.3 การประสานงานและพัฒนาเครือขายการปฏิบัติงานในระดับพ้ืนท่ี

KPI: รอยละของสํานักงานศึกษาธิการภาคและระดับจังหวัด มีกระบวนการประสานงานและ

พัฒนาเครือขายการปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธิภาพเปนท่ีพึงพอใจของผูรับบริการและ

ผูเก่ียวของ

1. ผลการดําเนินการ

ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด

1.1 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด ไดดําเนินการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติและยุทธศาสตร

กระทรวงสูการปฏิบัติ โดยไดดําเนินการ ดังนี้

1) รวมประชุมเพ่ือรับนโยบาย

2) นํานโยบายและยุทธศาสตรชาติ ยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ เสนอตอ

คณะกรรมการ

เพ่ือรับทราบนโยบายและขับเคลื่อน ดังนี้

(1) คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.)

(2) คณะอนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (อกศจ.)

(3) คณะอนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัด เก่ียวกับการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร

(4) คณะอนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัด เก่ียวกับการพัฒนาการศึกษา

3) จัดทําแผนปฏิบัติการ จังหวัด ปงบประมาณ พ.ศ. 2561 โดยการบูรณาการ แผนงาน/

โครงการ ในหนวยงานการศึกษาในจังหวัดใหสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติและยุทธศาสตร

กระทรวงศึกษาธิการ

4) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด จัดทําแผนปฏิบัติการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ให

สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ ยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายดานการศึกษาของจังหวัด

5) นําแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด พ.ศ. 2562 – 2565 แผนปฏิบัติการประจําป

งบประมาณ

พ.ศ. 2561 จังหวัด และแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสํานักงานศึกษาธิการ

จังหวัด เสนอตอคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดเพ่ือพิจารณาอนุมัติ และมีมติอนุมัติแผนฯ เม่ือคราว

ประชุมคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด ครั้งท่ี 7/2560 วันท่ี 25 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2560

6) จัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยจังหวัด พ.ศ. 2561-2564

Page 121: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

93

7) จัดทําโครงการสรางประสบการณอาชีพ (Work Experience) ของนักเรียนชั้น ม. 3

8) จัดทําโครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทํารูปแบบและแนวทางการพัฒนา

หลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา

9) ยกระดับผลสัมฤทธิ์โอเน็ตระดับชั้น ป.6 , ม.3, ม.6โรงเรียนเอกชนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ต่ํา

1.2 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีการจัดระบบขอมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือ

การศึกษาไดตามอํานาจหนาท่ีและภารกิจดังนี้

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดไดมีการดําเนินการ ดังนี้

1) ศึกษาวิเคราะหขอมูลพ้ืนฐานทางการศึกษาเบื้องตน ของทุกสังกัด

2) รวบรวมขอมูลเบื้องตน เพ่ือใชเปนแนวทางในการจัดเก็บขอมูลสารสนเทศทาง

การศึกษา

3) จัดตั้งศูนยดิจิตอลทางการศึกษา ในสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด

4) แตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการดําเนินงาน

5) ประชุมหนวยงานทางการศึกษา เพ่ือสรางความเขาใจในการจัดเก็บขอมูลและการใช

ขอมูลดานการศึกษารวมกัน

6) จัดเก็บขอมูลดานการศึกษาทุกหนวยงานในจังหวัดอยางเปนระบบ และสะดวกในการใชงาน

7) ปรับปรุงขอมูลดานการศึกษาใหเปนปจจุบันอยูเสมอ

8) มีเว็ปไซตประชาสัมพันธขาวสารของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด

9) มีระบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส

10) มีการดําเนินการจัดทําโปรแกรมสารสนเทศดานการศึกษา

1.3 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดมีกระบวนการประสานงานและพัฒนาเครือขายการปฏิบัติงาน

ท่ีมีประสิทธิภาพและเปนท่ีพึงพอใจของผูรับบริการและผูเก่ียวของ ดังนี้

1) มีการแตงตั้งชมรมศึกษานิเทศกในระดับจังหวัดและในระดับสํานักงานศึกษาธิการภาค

12 เพ่ือขับเคลื่อนการดําเนินงานตามนโยบายและการประสานงาน

2) มีการประชุมหนวยตรวจสอบภายใน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา

และสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เพ่ือขับเคลื่อนการดําเนินงานดานการตรวจสอบภายในและ

การประสานงาน

3) จัดทําแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจของผูรับบริการในทุกกลุมงาน

4) มีการประสานผานชองทางท่ีหลากหลาย เชน การประสานงานดวยตัวเอง จดหมาย

อิเล็กทรอนิกส, หนังสือราชการ, โทรศัพท และโทรสาร เปนตน

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือ

มีผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้

Page 122: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

94

1) โรงเรียนสงเสริมและจัดใหมีการใชสื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน รวมถึง

กระบวนการนิเทศอยางเปนระบบ สงผลใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึนอยางตอเนื่องและยั่งยืน

จนเปนท่ียอมรับในระดับหนวยงาน และเปนโรงเรียนยอดนิยมในระดบัประเทศ

2) ใช SARAKHAM Model ในการพัฒนาขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาเพ่ือเกิดประโยชน

สูงสุดตอผูเรียน

2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตาม

ประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษา

ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด

ของความโดดเดน/จุดแข็ง/

นวัตกรรม

1. โรงเรียนขอนแกนวิทยายน

อ.เมือง จ.ขอนแกน 1) สถาน ศึกษาใช เทค โน โลยี

ดิจิตอลในการจัดการเรียนการ

สอน และมีการนิเทศภายในอยาง

เปนระบบ

2) จัดทําระบบขอมูลสารสนเทศ

ของนักเรียนเปนรายบุคคล

3) หนวยงานตนสังกัดใช

เทคโนโลยีดิจิตอลในการนิเทศ

การเรียนการสอนอยางตอเนื่อง

1. โรงเรียนอนุบาลพยัคฆภูมิพิสัย

อ.พยัคฆภูมิพิสัย

สพป.มหาสารคาม เขต 2

1) ครูมีการผลิตสื่อการสอนท่ี

หลากหลาย

2) ครูมีแบบฝกทักษะเพ่ือใชใน

การจัดการเรียนการสอน

2. โรงเรียนบานเขวาทุง

อ.พยัคฆภูมิพิสัย

สพป.มหาสารคาม เขต 2

การพัฒนาการสื่อสาร

ภาษาอังกฤษ โดยใชกิจกรรม

One Day Sentence

3. โรงเรียนบานหนองแดงสห

มิตร

อ.พยัคฆภูมิพิสัย

สพป.มหาสารคาม เขต 2

1) ระดบัปฐมวยั – แบบพัฒนา

สติปญญาคณิตศาสตรป.4-6 1)

หนังสือสงเสริมการอานเรื่องคํา

สุภาพ

2) บัตรสะกดคําภาษาอังกฤษ

ม.1-3 – สื่อการเรียนการสอน

Page 123: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

95

Magicbox

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) นโยบายระดับภูมิภาคและระดับหนวยงานตนสังกัดไมตอเนื่อง

2) แผนงาน/โครงการตามยุทธศาสตรและนโยบายของหนวยงานทางการศึกษายังไมสามารถ

บูรณาการไดท้ังหมด

3) หนวยงานในระดับภูมิภาคมีหลายหนวยงานท่ีเก็บขอมูล เพ่ือการติดตามและประเมินผลใน

เรื่องเดียวกัน ทําใหเกิดความซํ้าซอนและสรางภาระ ใหกับหนวยงานท่ีปฏิบัติในดานการรายงานขอมูล และ

พบปญหาเรื่องขอมูลท่ีไมตรงกัน

4) การทําความเขาใจบทบาทและหนาท่ีของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดยังไมชัดเจน

5) มีบางหนวยงานประสานความรวมมือแลวยังลาชา ไมทันเวลาท่ีกําหนด ทําใหเสียระบบ

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) หนวยงานท่ีเก่ียวของควรเห็นความสําคัญและทราบบทบาทท่ีสํานักงานศึกษาธิการ

จังหวัดจะตองดําเนินการในสวนท่ีเก่ียวของ

2) หัวหนาหนวยงานควรเห็นความสําคัญและมีสวนรวมในการประสานงานกับทุกภาคสวน

3) หนวยงานทางการศึกษาในระดับจังหวัดควรบูรณาการแผนงาน/โครงการตาม

ยุทธศาสตรและนโยบายใหครอบคลุม

4) หนวยงานตางๆ ในระดับภูมิภาคประสานงานการจัดเก็บและการใชขอมูลท่ีเหมือนกัน

โดยมอบหมายใหหนวยงานใด หนวยงานหนึ่งเปนเจาภาพในการจัดเก็บขอมูล แลวนําขอมูลท่ีไดไปใช

รวมกันตามวัตถุประสงค ของแตละหนวยงาน ซ่ึงจะทําใหลดภาระการ รายงานและความซํ้าซอนของ

ขอมูลท่ีจัดเก็บในระดับพ้ืนท่ีและไมเกิดปญหาขอมูลไมตรงกัน

5) กระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานตนสังกัดควรกําหนดนโยบายเพ่ือขับเคลื่อนนโยบาย

อยางตอเนื่อง

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) หนวยงานตันสังกัด ควรมีการจัดอบรมและพัฒนาบุคลากร ใหความรูความเขาใจดาน

การจัดเก็บขอมูลเพ่ือการติดตามและประเมินผล

นโยบายท่ี 12 การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

ประเด็นการตรวจราชการ :

-

Page 124: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

96

นโยบายท่ี 13 การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต

และพ้ืนท่ีพิเศษ

-

นโยบายท่ี 14 การพัฒนาครูท้ังระบบ

ประเด็นการตรวจราชการ :

14.1 การพัฒนาครูตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร

KPI: รอยละของครูท่ีผานการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร นําผลการพัฒนา

มาใชในการเรียนการสอน

14.2 การพัฒนาครูตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู :PLC

KPI: รอยละของครูท่ีผานการพัฒนาตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู (PLC) นําผล

การพัฒนามาปรับการเรียนการสอน

1. ผลการดําเนินการ

ผลการดําเนินงานตามนโยบาย

1.1 จํานวนครูท่ีผานการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร นําผลการพัฒนามาใช

ในการเรียนการสอน และจํานวนครูท่ีผานการพัฒนาตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู (PLC)

นําผลการพัฒนามาปรับการเรียนการสอน

สังกัด

การพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร การพัฒนาครูตามกระบวนการ PLC

ครูท่ีผานการ

พัฒนาตาม

โครงการ

พัฒนาครู

รูปแบบครบ

วงจร

(คน)

ครูท่ีผานการ

พัฒนาตาม

โครงการ

พัฒนาครู

รูปแบบครบ

วงจร นําผล

การพัฒนามา

ใชในการเรียน

การสอน(คน)

รอยละ

ครูท่ีผานการ

พัฒนาตาม

กระบวนการ

สรางชุมชน

แหงการเรียนรู

(PLC) (คน)

ครูท่ีผานการ

พัฒนาตาม

กระบวนการ

สรางชุมชน

แหงการเรียนรู

(PLC) นําผล

การพัฒนามา

ปรับการเรียน

การสอน(คน)

รอยละ

สพป. 5,664 5,555 98.08 7,198 8,037 111.66

สพม. - - - - - -

Page 125: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

97

สช. - - - - - -

สอศ. 68 36 111 32 32 100

กศน. - - - - - -

หมายเหตุ ขาดขอมูลเชิงปริมาณของ ศธจ.ขอนแกน

1.2 ครูท่ีผานการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร นําผลการพัฒนามาใชในการ

เรียนการสอน ดังนี้

1) ครูท่ีเขารับการพัฒนาไดนําผลการพัฒนาไปปฏิบัติงานท่ีรับผิดชอบและจัดการเรียนการ

สอนในชั้นเรียน มีการใชและทดลองอยางหลากหลายกับผูเรียนและวิชาชีพใหสูงข้ึนจริง

2) ผลิตสื่อและพัฒนาสื่อการสอน โดยเลือกใชสื่อใหเหมาะสมกับเนื้อหาการสอน

3) ใชเทคโนโลยีและสรางนวัตกรรมทางการเรียนรูใหเหมาะสมกับผูเรียนไดดียิ่งข้ึน

4) ทําใหมีกิจกรรมการเรียนรูในหองเรียนท่ีหลากหลายและสามารถบูรณาการการเรียนรู

กับวิชาอ่ืนๆ ใหดียิ่งข้ึน

5) นําเทคนิคการสอนท่ีไดรับมาออกแบบการจัดกิจกรรมการสอนใหเขากับระดับความรู

และความแตกตางของนักเรียน

6) พัฒนาการจัดการสอนสูความเปนเลิศเปนรายบุคคล และบูรณาการโดยใชนักเรียนเปน

ฐาน รวมท้ังวิเคราะหนักเรียน จัดการเรียนรูตามความถนัด ความสนใจและความแตกตางระหวางบุคคล

ประเมินผูเรียนตามสภาพจริง และนําผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียนไดเปนอยางดี (โรงเรียน

ขนาดเล็ก)

7) ครูสามารถเรียนรูในระบบคอมพิวเตอร มาใชในชีวิตประจําวันและในการเรียนการสอน

8) นําความรูท่ีไดไปพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู และพัฒนาการของนักเรียนรวมท้ัง

ความกาวหนาทางวิชาชีพครู

1.3 ครูท่ีผานการพัฒนาตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู (PLC) นําผลการพัฒนามา

ปรับการเรียนการสอน ดังนี้ (การจัดการศึกษาของสถานศึกษา)

1) ครูไดปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในกลุมสาระท่ีรับผิดชอบ ปรับพฤติกรรมท่ีไมพึง

ประสงคของนักเรียนไปในทางท่ีดีข้ึน

2) สถานศึกษาเกิดการรวมกลุมท้ังท่ีเปนทางการและไมเปนทางการ มีการรวมกลุมท้ังใน

สถานศึกษา และศูนยเครือขายพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการแลกเปลี่ยนขอมูลสารสนเทศรวมกัน เกิด

นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนในแตละกลุมวิชา เกิดโรงเรียนตนแบบในการนํากระบวนการ PLC ไป

ใชเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน

3) พลิกโฉมโรงเรียนขนาดเล็กสูความเปนเลิศ ดวยนวัตกรรมการผลิตสื่อประกอบการเรียน

การสอน

4) การอบรมเพ่ือพัฒนาครูประจําการรูปแบบชุมชนแหงการเรียนรู สูสถานศึกษา (PLC)

Page 126: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

98

1.4 หลักสูตรการพัฒนาครูท่ีเปนจุดเนนของสังกัด ไดแก หลักสูตรภาษาไทย โดยสนับสนุนให

ขาราชการครูเขารับการพัฒนาตามความตองการตามโครงการพัฒนาครูเต็มรูปแบบ เพ่ือพัฒนาความรู

ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ของผูเรียนสูงข้ึน

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือ

มีผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้

1) นวัตกรรมยกระดับคุณภาพการอานออกเขียนได โดยใชนวัตกรรมแพรวาโมเดล

2) นวัตกรรมการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โปงลางโมเดล

3) ขาราชการครูเกิดความรูความเขาใจในการดําเนินการตามแนวทาง และการนํา

กระบวนการ PLC ไปใชเกิดการรวมกลุม PLC ระดับชั้นเรียน ระดับกลุมสาระการเรียนรู ระดับสถานศึกษา

และระดับศูนยเครือขายพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพ่ือใหทุกคนทราบถึงเปาประสงคในการพัฒนาผูเรียนใน

แตละสภาพบริบทของผูเรียนในสถานศึกษา

ผลท่ีเกิดกับสถานศึกษา

1) เกิดความรวมมือระหวางผูบริหารสถานศึกษากับครู

2) เกิดความรวมมือระหวางครูกับนักเรียน

3) เกิดความรวมมือระหวางผูปกครอง นักเรียน และครูนําผลพัฒนามาปรับการเรียนการสอน

4) จัดการเรียนการสอบแบบบูรณาการในทุกกลุมสาระการเรียนรู

5) จัดกลุมนักเรียน ออน กลาง เกง และจัดครูเปนท่ีปรึกษาแตละกลุม

6) นักเรียนแตละกลุมไดแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน

7) นักเรียนในกลุมสามารถคิด วางแผน และลงมือปฏิบัติ และแกปญหารวมกันได

8) เกิดการทํางานเปนทีม ชวยเหลือเก้ือกูลกัน

9) ครูเปนท่ีปรึกษาและใหขอเสนอแนะ

10) นวัตกรรมทางเทคโนโลยี มีประโยชนตอผูเรียนอยางยิ่ง ผูเรียนสามารถสืบคนขอมูลตางๆ

ดวยตัวเอง

11) มีการจัดการเรียนการสอบแบบบูรณาการ

12) มีสื่อนวัตกรรม สามารถจัดการเรียนการสอนไดอยางมีคุณภาพ

13) ผูเรียนมีความสนใจ ตื่นเตน สนุกสนาน ในกิจกรรมการเรียนการสอน

2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตาม

ประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษา

ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด

ของความโดดเดน/จุดแข็ง/

นวัตกรรม

Page 127: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

99

1. โรงเรียนบึงสวางวิทยาคม อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ PLC Less0nstudy /จิตศึกษา

2. โรงเรียนหนองพอกวิทยาวน อ.ดอนจาน จ.กาฬสินธุ PBL/จิตศึกษา

3. โรงเรียนดงพยุงสงเคราะห อ.ดอนจาน จ.กาฬสินธุ PLC

4. โรงเรียนบานทาศาลาประชา

รังสรรค

อ.มัญจาคีรี จ.ขอนแกน

สพป.ขอนแกน เขต 1

ก า ร จั ด ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น

วิทยาศาสตรระดับ ม.ตน

5. โรงเรียนชมุชนหนองสองหอง

อ.หนองสองหอง จ.ขอนแกน

สพป.ขอนแกน เขต 2

PLC ครูผูสอนในแตละระดับ ชวง

ชั้น กลุมวิชาท่ีสอน เครือขาย

6. โรงเรียนบานหนองบัวคํามูล

อ.ซําสูง จ.ขอนแกน

สพป.ขอนแกน เขต 3

ใช น วั ต ก ร รม One Day One

Conversation

7. โรงเรียนบัวใหญพิทยาคม อ.เมือง จ.ขอนแกน

สพม.25

การนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอ เพี ยงสู ห ลั กนิ ติ ธ รรมด วย

การบูรณาการในระบบนวัตกรรม

การศึกษา

8. กศน.อําเภอพระยืน ต.พระยืน จ.ขอนแกน ศูนยดิจิทัลชุมชน

9. โรงเรียนอนุบาลพยัคฆภูมิพิสัย อ.พยัคฆภูมิพิสัย

สพป.มหาสารคาม เขต 2

1.ครูมีการผลิตสื่อการสอนท่ี

หลากหลาย

2. ครูมีแบบฝกทักษะเพ่ือใชใน

การจัดการเรียนการสอน

10. โรงเรียนบานเขวาทุง

อ.พยัคฆภูมิพิสัย

สพป.มหาสารคาม เขต 2

การพัฒนาการสื่อสาร

ภาษาอังกฤษ โดยใชกิจกรรม

One Day Sentence

11. โรงเรียนบานหนองแดง

สหมิตร

อ.พยัคฆภูมิพิสัย

สพป.มหาสารคาม เขต 2

1) ระดบัปฐมวยั – แบบพัฒนา

สติปญญาคณิตศาสตรป.4-6 1)

หนังสือสงเสริมการอานเรื่องคํา

สุภาพ

2) บัตรสะกดคําภาษาอังกฤษ

ม.1-3 – สื่อการเรียนการสอน

Magicbox

12. โรงเรียนบานวังยาววิทยายน อ. โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม ตนแบบสําคัญท่ีแสดงใหเห็นวา

การเรียนรูจากการเลนใน

Page 128: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

100

ธรรมชาตินั้นเปนสิ่งสําคัญคือ

ตนแบบการเลนในชวงทรงพระ

เยาวของในหลวง รัชกาลท่ี 9 ซ่ึง

สมเด็จพระบรมราชชนนีมุงเนน

ไปท่ีการใหลูกๆ ไดเลนกับ

ธรรมชาติแวดลอมรอบตัว เพราะ

ธรรมชาติดีท่ีสุดสําหรับเด็กๆ

และธรรมชาติเปนครูท่ียิ่งใหญท่ี

จะชวยพัฒนาสมองของเด็กไดอีก

ดวย การเลนท่ีหลากหลายใน

ธรรมชาติของเด็ก ชวยกระตุน

พัฒนาการรางกาย สมอง และยัง

อาจตอยอดการเรียนรู ใหลูก

คนพบความชอบ ความถนัด จนสู

เปาหมายความสําเร็จในชีวิตได

อยางไมยาก ดังเชน ในหลวง ร.9

ซ่ึงทรงเปนตนแบบใหกับพวกเรา

พสกนิกร

13. โรงเรียนบานไพศาล

( ลี้ลอยอุทิศ)

อ.กุดรัง จ.มหาสารคาม นวัตกรรมแนวทางการสอนโดย

การใชเพลงสะกดคําศัพท

ภาษาอังกฤษเพ่ือพัฒนาดาน

ภาษาและเสริมสราง

ประสบการณดานภาษาสําหรับ

เด็กปฐมวัย

14. โรงเรียนบ านดอนกลอย

หนองยาง

อ. โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม STEM Education สําหรับเด็ก

ปฐมวัย

15. โรงเรียนหนองแวงหนองหัว

คน

อ.จตุรพักตรพิมาน จ.รอยเอ็ด -พัฒนาสื่อนวัตกรรม แหลงเรียนรู

และแนวความคิดในการพัฒนา

ผูเรียน ท่ีอานไมออกเขียนไมได

-นําขบวนการ PLC มาแกปญหา

การเรียนการสอน จนทําใหผล

สัมฤทธิ์สูงข้ึน

Page 129: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

101

16. โรงเรียนบานหนองอีเข็ม

อ.สุวรรณภูมิ สพป.รอ. 2 -เกิดนวัตกรรมท้ังสื่อ วัสดุและ

แนวความคิดในการพัฒนาผูเรียน

เช น การยกระดั บ ผลสั มฤท ธิ์

ภาษาอังกฤษ และแกปญหาอาน

ไมออก เขียนไมได

-นําขบวนการ PLC มาแกปญหา

การเรียนการสอน จนทําใหผล

สัมฤทธิ์สูงข้ึน

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ศูนยพัฒนาหลักสูตรอยูหางไกลพ้ืนท่ี

2) ความยุงยากในการเขาลงทะเบียนในระบบ หลายข้ันตอน ซับซอน และหลักสูตรท่ีจัดอบรม

พัฒนาไมตรงตามความตองการของครู

3) เปนนโยบายท่ีดําเนินการในชวงกลางปงบประมาณทําใหไมไดกําหนดกิจกรรมไวในแผนงาน/

โครงการ จึงตองใชงบประมาณจากโครงการอ่ืน ๆ มาสนับสนุน

4) การสรางชุมชนแหงการเรียนรูเปนเรื่องท่ีตองอาศัยความรวมมือจากบุคลากรทุกฝาย

โดยเฉพาะบุคลากรท่ีจะทําหนาท่ีโคช และพ่ีเลี้ยงซ่ึงตองมีความรูความเขาใจท่ีถูกตอง มีทักษะในการ

ปฏิบัติหนาท่ีและตองมีเวลาในการลงปฏิบัติงานรวมกัน

5) ระยะเวลาดําเนินการเรงดวนเกินไป ทําใหครูท่ีมีความประสงค จะเขารับการอบรมพัฒนา ไม

สามารถลงทะเบียนเขารับการพัฒนาตามความประสงคไดทันตามกําหนดเวลา ทําใหครูจํานวนมากเสีย

โอกาสท่ีจะเขารับการพัฒนา

6) การเบิกจายเงินในการเขาอบรมพัฒนา บางสวนไมสามารถเบิกจายไดทันตามกําหนดเวลา

ทําใหครูบางสวนตองสํารองจายเงินคาลงทะเบียนในการอบรมพัฒนา

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรใหเขตพ้ืนท่ีการศึกษาไดมีสวนรวมในการวิเคราะหหลักสูตร

2) ควรจัดสรรงบประมาณใหเขตพ้ืนท่ีการศึกษาในการออกนิเทศติดตามครูท่ีผานการ

อบรมพัฒนาในการนําความรูไปใชในการสอน

3) ควรจัดทําแนวปฏิบัติหรือคูมือในการดําเนินงานตามนโยบายใหสํานักงานเขตพ้ืนท่ี

การศึกษาเพ่ือใชเปนแนวทางในการขยายผลสูสถานศึกษา

4) ควรแจงหลักสูตรท่ีจะพัฒนาใหทราบลวงหนา เพ่ือครูจะไดมีเวลาศึกษาประกอบการ

ตัดสินใจเขารับการพัฒนา

5) การลงทะเบียนเขารับการพัฒนาควรจะมีระยะเวลาพอสมควร เพ่ือไมใหครูเสียโอกาส

เขารับการพัฒนา

Page 130: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

102

6) ระยะเวลาดําเนินการเรงดวนเกินไป ทําใหครูท่ีมีความประสงคจะเขารับการอบรม

พัฒนา ไมสามารถลงทะเบียนเขารับการพัฒนาตามความประสงคไดทันตามกําหนดเวลา ทําใหครูจํานวน

มากเสียโอกาสท่ีจะเขารับการพัฒนา

7) การเบิกจายเงินในการเขาอบรมพัฒนา บางสวนไมสามารถเบิกจายไดทันตาม

กําหนดเวลา ทําใหครูบางสวนตองสํารองจายเงินคาลงทะเบียนในการอบรมพัฒนา

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) การพัฒนาตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู PLC เปนหัวใจสําคัญท่ีจะทําให

เกิดการพัฒนาตามกระบวนการคือ Logbook ท่ีไดบันทึกการดําเนินการตามกิจกรรม ท้ังการแลกเปลี่ยน

เรียนรู ประเด็นปญหา แนวทางการแกไขปญหา รวมท้ังการติดตาม สืบคนขอมูลท่ีเปนฐานในการพัฒนา

ควรเรงดําเนินการนําระบบบันทึกขอมูล Logbook อิเล็กทรอนิกสท่ีสมบูรณมาใช

2) การพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร

(1) ควรลดข้ันตอนในการอนุมัติเขารับการอบรมพัฒนา

(2) หลักสูตรท่ีขาราชการครูสนใจ ไมเพียงพอตอจํานวนครูท่ีตองการเขารับการอบรม

พัฒนา

(3) หลักสูตรบางหลักสูตรท่ีนาสนใจ แตหนวยพัฒนาอยูหางไกล

นโยบายท่ี 15 การพัฒนาผูเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด

ประเด็นการตรวจราชการ :

15.1 การจัดทําแผนพัฒนาลูกเสือจังหวัดและลูกเสือระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

KPI: จํานวนสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

KPI: จํานวนสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เขต 1 ไดขับเคลื่อน

การดําเนินงานตามแผนพัฒนาลูกเสือจังหวัด/เขตพ้ืนท่ีการศึกษา

15.2 การใชกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาดในการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรมเพ่ือ

เสริมสรางความเปนพลเมือง (Civic Education)

KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีใชกระบวนการลูกเสือ/ยุวกาชาด/เนตรนารีในการจัดการเรียนการ

สอน/กิจกรรมเพ่ือเสริมสรางความเปนพลเมือง (Civic Education)

1. ผลการดําเนินการ

1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด

1.1 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาไดจัดทําแผนพัฒนาลูกเสือ

จังหวัด/แผนพัฒนาลูกเสือเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ไดมีการดําเนินการโดยสรุปดังนี้

1) โครงการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ อบรมทบทวน ผูบังคับบัญชาลูกเสือในสถานศึกษา

2) โครงการชุมนุมลูกเสือจังหวัดมหาสารคาม

3) โครงการปรับปรุงคายลูกเสือจังหวัดมหาสารคาม

Page 131: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

103

4) โครงการสรางหองลูกเสือจังหวัดมหาสารคาม

5) จัดตั้งสมาคมสโมสรลูกเสือจังหวัดมหาสารคาม

6) โครงการฝกอบรมลูกเสือหนวยตาง ๆ เชน ลูกเสือ 3 ดี อบรมนายหมูลูกเสือ อบรมลูกเสือ

ชอสะอาด ฯลฯ

7) จัดงาน/กิจกรรมเก่ียวกับงานลูกเสือ

8) งานชุมนุมลูกเสือเนตรนารีทุกระดับ

9) งานชุมนุมยุวกาชาดสวนภูมิภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

10) งานฝกอบรมลูกเสือ เนตรนารี

11) การสงเสริม สนับสนุนและพัฒนาเก่ียวกับงานการลูกเสือ เนตรนารีและ

งานพัฒนา และการขอใชคายลูกเสือ

12) ปลูกฝงคุณธรรม สํานึกความเปนไทย ความมีระเบียบวินัย และคานิยมอันพึงประสงค ใหแกนักเรียนทุกคน โดยใชกระบวนการลูกเสือ 1.2 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาไดขับเคลื่อนการดําเนินงานตาม

แผนพัฒนาลูกเสือจังหวัด/เขตพ้ืนท่ีการศึกษา โดยสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/สํานักงานเขตพ้ืนท่ี

การศึกษา มีการดําเนินการขับเคลื่อนการดําเนินงานตามแผนพัฒนาลูกเสือ สรุปดังนี้

1) โรงเรียนในสังกัด จัดกิจกรรมลูกเสือตามหลักสูตรลูกเสือ ทุกโรงเรียน

2) ลูกเสือ เนตรนารี ทุกคน ทุกโรงเรียนในสังกัด เขารวมกิจกรรมวันสําคัญของลูกเสือและได

บําเพ็ญประโยชนตามท่ีสาธารณะและชวยเหลือผูอ่ืนทุกโอกาส

3) ลูกเสือ เนตรนารี ผูบังคับบัญชาลูกเสือเขารวมประกอบพิธีวันสําคัญของลูกเสือกับ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาในพ้ืนท่ี

4) ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานกิจกรรมสงเสริมและพัฒนากิจการลูกเสือของ

สถานศึกษาทุกแหงในสังกัด

5) ประชุมชี้แจงผูบริหารสถานศึกษาและบุคลากรท่ีเก่ียวของในการจัดทํารายงานผลการจัด

กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผูบําเพ็ญประโยชน เพ่ือการเสริมสรางคานิยมของคนไทย 12

ประการ

6) วางแผนจัดกระบบขอมูลสารสนเทศและการบริหารงานลูกเสือ ยุวกาชาด และผูบําเพ็ญ

ประโยชนใหสามารถดําเนินงานจามภารกิจไดอยางมีประสิทธิภาพ 7) พัฒนาระบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล ศึกษา คนหวา วิเคราะห วิจัยกิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาดและผูบําเพ็ญประโยชน ชวยเหลือสถานศึกษาและหนวยงานท่ีเก่ียวของอยางตอเนื่อง 1.3 สถานศึกษาท่ีใชกระบวนการลูกเสือ/ยุวกาชาด/เนตรนารีในการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรม

เพ่ือเสริมสรางความเปนพลเมือง (Civic Education)

สังกัด จํานวนสถานศึกษา

รอยละ ท้ังหมด (แหง) ท่ีใชกระบวนการลูกเสือ/ ยุวกาชาด/

Page 132: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

104

เนตรนารีในการจดัการเรียนการ

สอน/กิจกรรมเพ่ือเสริมสรางความ

เปนพลเมือง (แหง)

ภาค 12 รอยเอ็ด ขอนแกน มหาสาร

คาม กาฬสินธุ ภาค12 รอยเอ็ด ขอนแกน มหาสารคาม กาฬสินธุ ภาค12 รอยเอ็ด ขอนแกน มหาสาร

คาม

กาฬสินธุ

สพป. - 781 - 420 379 - 781 420 379 - 100 - 66.

66

100

สพม. - - - 35 55 - - 35 55 - - - 100 100

สช. - - - - 53 - - 53 - - - - 100

สกอ. - - - 2 - - - 2 - - - - 100 -

สอศ. - - - - 18 - - 18 - - - - 100

กศน. - - - - 18 - - 18 - - - - 100

1.4 สถานศึกษาใชกระบวนการลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาดในการจดัการเรียนการสอน/กิจกรรมเพ่ือ

เสริมสรางความเปนพลเมือง (Civic Education) ดังนี้

1) ดําเนินโครงการตามกฎและคําปฏิญาณของลูกเสือ และคติพจนของลูกเสือ

2) มีการจัดการเรียนการสอนลูกเสือในสถานศึกษา เนนกฎระเบียบของลูกเสือ เปนผูท่ีมี

ความรับผิดชอบตอตนเองและตอสังคม

3) การดําเนินโครงการสงเสริมใหลูกเสือปฏิบัติตามกฎของลูกเสือและคําปฏิญาณของลูกเสือ

4) จัดทําโครงการอบรมนายหมู รองนายหมู ของวิทยาลัยฯ ไดดําเนินการจัดกิจกรรม

ลูกเสือวิสามัญใหกับนักเรียนนักศึกษาในระดับ ปวช. 1 โดยจัดใหเรียน จํานวน 2 ชั่วโมงตอสัปดาห

5) การนําหลักคุณธรรม 8 ประการเปนหลักในการเรียนการสอน

6) สงเสริมใหเกิดความสามัคคีระหวาง พ่ีนองลูกเสือ เนตรนารี และผูเขารวมกิจกรรม

7) สงเสริมใหผูบังคับบัญชาลูกเสือ ลูกเสือ เนตรนารี และผูเขารวมกิจกรรมไดเรียนรูและ

รวมกิจกรรมลูกเสือท่ีถูกตอง

8) ใหลูกเสือ เนตรนี ไดทบทวนกฎและคําปฏิญาณลูกเสือ และไดบําเพ็จประโยชนเนื่องใน

วันสําคัญของลูกเสือ

9) สงเสริมกิจกรรมลูกเสือใหบรรลุวัตถุประสงคในการพัฒนานักเรียนใหเปนพลเมือดีของชาติ

10) สถานศึกษา ใชกระบวนการลูกเสือเพ่ือปลูกฝงจิตสํานึกใหนักเรียนมี ความรักชาติ จิตสาธารณะการชวยเหลือสังคม ความเปนระเบียบวินัย ความอดทน ความสามัคคี ความรับผิดชอบตอตนเองและสังคมอยูในกรอบ มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงคคานิยม 12 ประการ 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือ

มีผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้

1) ผูบริหารองคกรเปนผูนําในการถายทอดยุทธศาสตรแกบุคลากรในสังกัดเพ่ือสรางความ

เขาใจและตระหนักในหนาท่ีเพ่ือนําไปสูความสําเร็จ

Page 133: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

105

2) สรางทีมงานในระดับปฏิบัติ และระดับการกํากับ ติดตามและประเมินผล 3) มีบุคลากรท่ีรับผิดชอบ มีประสิทธิภาพและสามารถดําเนินการอยางตอเนื่อง 4) ลูกเสือ เนตรนารี ผู บั งคับบัญชาลูกเสือ ไดแสดงออกถึงความจงรักภักดีแด

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว พระผูพระราชทานกําเนิดลูกเสือไทย

5) ลูกเสือ เนตรนารี ผูบังคับบัญชาลูกเสือ เปนผูมีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มี

ความเปนผูนําท่ีดี มีความรับผิดชอบ มีทักษะในการทํางานรวมกัน รูจักการแกไขปญหา มีเหตุผล และ

สามารถตัดสินใจไดอยางเหมาะสม

6) ลูกเสือ เนตรนารีทุกคน ทุกโรงเรียนในสังกัด เขารวมประกอบพิธีในวันสําคัญของ

ลูกเสือมีความรักสามัคคีในหมูคณะ มีความเขมแข็งและอดทน มีความเสียสละ ไมเห็นแกตัวและรูจักเปนผู

บําเพ็ญประโยชนตอชุมชนและสวนรวม

7) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ไดรับทราบขอเท็จจริงเก่ียวกับความสําเร็จ ความกาวหนา

สภาพปญหา อุปสรรคในการดําเนินงานจากการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานศึกษาและ

สงเสริมและพัฒนากิจการลูกเสือของสถานศึกษาในสังกัด

8) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีรายงานผลการดําเนินงานการปองกันและแกไขปญหา

ยาเสพติดในสถานศึกษาและรายงานผลการดําเนินการกิจกรรมสงเสริมและพัฒนากิจการลูกเสือ ของ

สถานศึกษาในสังกัด และนําไปใชประโยชนในการวางแผนการดําเนินงานตอไป

9) นักเรียนมีความสุขท่ีไดทํากิจกรรมลูกเสือมีจิตบริการ และเปนผูมีคุณธรรมพ้ืนฐาน ขยัน

ประหยัด ซ่ือสัตย มีวินัย สุภาพ สามัคคี มีน้ําใจพ่ึงตนเองได และชวยเหลือสังคมได

2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตาม

ประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษา

ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด

ของความโดดเดน/จุดแข็ง/

นวัตกรรม

1. วิทยาลัยเทคนิคเขาวง

88/8 หมู 11 ต.กุดสิมคุมใหม

อ.เขาวง จ.กาฬสินธุ 46160

-

2. กศน. อําเภอกมลาไสย 20 หมู 14 ต.กมลาไสย อ.กมลา

ไสย จ.กาฬสินธุ

จัดอบรมเปนฐานเรียนรู โดยให

นักศึกษาเรียนรูจากฐานเรียนรู

3. กศน. อําเภอเมืองกาฬสินธุ

(กศน. ตําบล 17 แหง)

37 ถ.สนามบิน อ.เมืองกาฬสินธุ

จ.กาฬสินธุ

มีทีมในการจัดกิจกรรมดี คณะ

คุณครูมีการติดตามผูเรียน

4. กศน. อําเภอรองคํา (กศน.

ตําบล 3 แหง)

หมู 13 ต.รองคํา อ.รองคํา จ.

กาฬสินธุ

มีทีมงานในการจัดกิจกรรมให

ความรูท่ีดี คณะคุณครูมีการ

ติดตาม

5. โรงเรียนสามชัย โรงเรียนสามชัย ตําบลสําราญ เปนโรงเรียนตนแบบลูกเสือของ

Page 134: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

106

อําเภอสามชัย จังหวัดกาฬสินธุ

46180

สํานักงานคณะกรรมการการข้ัน

พ้ืนฐาน ป 2559

6. โรงเรียนทานาจานวิทยา

อ.สามชัย จ.กาฬสินธุ ร.ร.ตนแบบลูกเสือ ปพ.ศ.2558

ระดับสพฐ.

7. โรงเรียนชุมชนหนองสอ

วิทยาคาร

อ.เมือง จ.กาฬสินธุ ร.ร.ตนแบบลูกเสือ ป พ.ศ.2560

ระดับเขต

8. โรงเรียนขามแกนนคร สพม.เขต 25

9. โรงเรียนแกนนครวิทยาลัย สพม.เขต 25

10. โรงเรียนนครขอนแกน สพม.เขต 25

11. โรงเรียนบานปาง้ิวหนองฮี สพป.ขก. 2

12. โรงเรียนบานไผ สพม.เขต 25

13. โรงเรียนบานภูเหล็ก สพป.ขก.2

14. โรงเรียนวังแสง สพป.ขก.2

15. โรงเรียนบานโคกลาม ต.บรบือ อ.บรบือ จ.มหาสารคาม เปนโรงเรียนตนแบบ

ระดบัประเทศ

16. โรงเรียนหลักเมือง

มหาสารคาม

ถ.นครสวรรค ต.ตลาด อ.เมือง เปนโรงเรียนตนแบบลูกเสือ

ระดบัประเทศ

17. โรงเรียนบานโนนทอง ต.วังปลาโด อ.บรบือจ.

มหาสารคาม

เปนโรงเรียนตนแบบลูกเสือ

ระดบัประเทศ

18. โรงเรียนบานหนองบัวสันต ุ ต.หนองบัว อ.ยางสีสุราช

จ. มหาสารคาม

เปนโรงเรียนตนแบบลูกเสือของ

สํานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาข้ันพ้ืฐาน ประจําป

2557

19. โรงเรียนบานหัวดง ต.หัวดง อ.นาดูน จ.

มหาสารคาม

เปนโรงเรียนตนแบบลูกเสือของ

สํานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาข้ันพ้ืฐาน ประจําป

2560

20. โรงเรียนบานหนองหวา ต.หนองหวา อ.วาปปทุม

จ.มหาสารคาม

เปนโรงเรียนตนแบบลูกเสือของ

สํานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาข้ันพ้ืฐาน ประจําป

Page 135: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

107

2560

21. โรงเรียนบานแบก อ.เชียงยืน จ.มหาสารคาม

22. โรงเรียนบานแพงหนองเหนือ อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสาคาม

23. โรงเรียนบานกุดเม็ก อ.กุดรัง จ.มหาสารคาม

24. โรงเรียนหนองกุงศาลาน้ํา

เท่ียงวิทยากร

อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม เปนตัวแทนจังหวัดเขารวม

ประกวดระเบียบแถว

ระดบัประเทศ

25. โรงเรียนไตรมิตรวิทยา

อําเภอเมืองรอยเอ็ด เปนโรงเรียนตนแบบลูกเสือของ สพฐ

26. โรงเรียนโพธิ์สัยสวางวิทย

อําเภอศรีสมเด็จ จังวัดรอยเอ็ด เปนโรงเรียนตนแบบลูกเสือของ สพฐ .

27. โรงเรียนบานมะยาง

อําเภอธวัชบุรี จังวัดรอยเอ็ด เป น โรงเรี ยนต นแบบลู ก เสื อของสพฐ

28. โรงเรียนบานแจง

อํ า เภ อ อาจส าม ารถ จั งวั ดรอยเอ็ด

เปนโรงเรียนตนแบบลูกเสือของ สพฐ

29. โรงเรียนจตุรคามพัฒนา

อําเภอเกษตรวิสัย จังวัดรอยเอ็ด เป น โร ง เรี ย น ท่ี ช น ะ เลิ ศ ก ารประกวดระเบี ยบแถวลูก เสื อระดับเขตพ้ืนท่ีระดับจังหวัดและร อ ง ช น ะ เ ลิ ศ อั น ดั บ ท่ี ๓ ระดบัประเทศ และโรงเรียนตนแบบของสพป.

30 . โรงเรียนคําไฮสําโรงวิทยาคาร

อําเภอพนมไพร จังวัดรอยเอ็ด เป น โรงเรี ยนต นแบบลู ก เสื อของสพฐ

31. โรงเรียนชุมชนบานผาํ อําเภอเมืองสรวง จังวัดรอยเอ็ด เปนโรงเรียนตนแบบลูกเสือของ สพป.รอยเอ็ด เขต ๒

32 . โรงเรียนบ านหั นหน อ งสามัคคี

หมูท่ี ๕ ตําบลขวาว อําเภอเสลภูมิ จังวัดรอยเอ็ด

โรงเรียนตนแบบลูกเสือ

33. โรงเรียนบานแหประชานุกูล

หมูท่ี 2 ตําบลนาเลิง อําเภอเสลภูมิ จังวัดรอยเอ็ด

โรงเรียนตนแบบลูกเสือ

34. โรงเรียนบานหัวคู

หมูท่ี 1 ตําบลบึงเกลือ อําเภอเสลภูมิ จังวัดรอยเอ็ด

โรงเรียนตนแบบลูกเสือ

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ขาดบุคลากรทางลูกเสือท่ีมีความรู ทักษะ ความชํานาญดานลูกเสือ

2) ขาดการติดตามและประเมินผลในกิจกรรมลูกเสือ

Page 136: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

108

3) โรงเรียนจัดกิจกรรมลูกเสือไมตรงตามหลักสูตร และใชชั่วโมงลูกเสือไปจัดกิจกรรมอ่ืน ๆ

4) ขาดงบประมาณ/งบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานลูกเสือไมเพียงพอ

5) การใหความรวมมือของผูบริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษายังนอย

6) ความมุงม่ันในการปฏิบัติตามหนาท่ีของ ครู ผูบริหาร บุคลากรทางการศึกษา และผูมีสวนเก่ียวของมีนอย 4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานดานลูกเสือใหมากข้ึน และเพียงพอ

2) ควรมีการจัดฝกอบรม ทบทวน พัฒนาเพ่ือเพ่ิมความรู ทักษะทางดานลูกเสือใหกับ

บุคลากรทางการลูกเสืออยางตอเนื่อง

3) ควรจัดประชุมชี้แจงแนวทางการสอนวิชาลูกเสือใหกับผูบังคับบัญชาลูกเสือ และแตงตั้ง

ทีมงานออกติดตามใหกําลังใจ

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ควรสงเสริมพัฒนางานดานลูกเสืออยางตอเนื่องท้ังดานงบประมาณ บุคลากร การจัดหา

วัสดุอุปกรณในการจัดการเรียนการสอนลูกเสือในสถานศึกษาใหครบถวนเพ่ือเสริมสรางความเปนพลเมือง

ท่ีดีของสังคม

2) ควรใหสถานศึกษาจัดการเรียนการสอนอยางสมํ่าเสมอ มีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการรายงานอยางตอเนื่อง 3) ควรแจงวัตถุประสงครวมกันกับผูท่ีมีสวนเก่ียวของทุกคน ใหความรวมมือและรวมรับผิดชอบ 4) ควรสรางขวัญ กําลังใจใหผูบริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษาท่ีปฏิบัติงานตามนโยบาย

Page 137: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

บทท่ี 4

สรุปผลการสนับสนุนการตรวจราชการ

จากการสนับสนุนการตรวจราชการของผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ประจําเขตตรวจ

ราชการท่ี 12 รอบท่ี 1 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสํานักงานศึกษาธิการภาค 12 สรุปไดดังนี้

นโยบายท่ี 1 การยกระดับคุณภาพการศึกษา

1.1 การยกระดับคะแนน O-NET/N-NET/V-NET

1. ผลการดําเนินการ

1) หนวยงาน/ สถานศึกษา มีวิธีการวิเคราะหจุดออนจุดแข็งผลการทดสอบ O-NET / N-NET/ V-

NET โดยเปรียบเทียบคะแนนท่ีไดกับเปาหมายท่ีตั้งไวคือรอยละ 50 ข้ึนไป กรณีท่ีผลสัมฤทธิ์ถึงรอยละ 50

แลวตองมีคาพัฒนาการสูงข้ึนไมต่ํากวารอยละ 5 มีการประชุม/PLC ผูเก่ียวของรวมกันวิเคราะหผลการ

ทดสอบรายกลุมสาระ มาตรฐาน จัดเรียงลําดับความสําคัญ สงเสริมสนับสนุนใหสถานศึกษาวิเคราะห

ขอมูลผลการสอบยอนหลัง 3 ป ศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัด วิเคราะหขอสอบ O-Net สอนใหตรงประเด็น

ท่ีสอดคลองกับมาตรฐานตัวชี้วัด และสนับสนุนใหนักเรียนเห็นความสําคัญในการเรียนรูกับกลุมสาระอ่ืน

วิเคราะหผูเรียนโดยการนําผล O-NET วิเคราะห เพ่ือหาจุดออนท่ีจะสอนเสริม และหาจุดแข็งท่ีจะสนับสนุน

2) หนวยงาน/สถานศึกษา สงเสริมสนับสนุนหรือจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือแกปญหา

จุดออนท่ีพบจากการทดสอบ O-NET / N-NET/ V-NET โดยจัดทําโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพ่ือ

ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยนวัตกรรมโปงลางโมเดลพัฒนาการวิเคราะหผูเรียนเปนรายบุคคลจัด

กิจกรรมการเรียนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนเปนศูนยกลางสงเสริมพัฒนาดานการรวมกันของกลุม

เครือขายพัฒนาคุณภาพการศึกษากําหนดกิจกรรมรวมกันภายในกลุมเครือขาย ปญหาคลายกันรวมกัน

ดําเนินการ และสนับสนุนกระบวนการวิจัยและพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษานิเทศภายใน

สถานศึกษาอยางตอเนื่อง สมํ่าเสมอตามบริบทของโรงเรียนอยางเปนระบบ

3) สถานศึกษากําหนดเปาหมายในการยกระดับคาเฉลี่ย O-NET / N-NET/ V-NET ได

เหมาะสมและสอดคลองกับขอมูลสารสนเทศในปจจุบันโดยทุกโรงเรียนกําหนดเปาหมายในการยกระดับ

คาเฉลี่ย O-NETสูงขึ้นตามนโยบายของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา /นโยบายของ สพฐ. คือไมตํ่ากวา

รอยละ 50 และมีพัฒนาการสูงข้ึนไมนอยกวารอยละ 5 (ระดับเขตพื้นท่ี) สพฐ. ตั้งไวรอยละ 3 ซ่ึงเห็นวา

เหมาะสมทุกโรงเรียน มีบางแหงกําหนดโดยพิจารณาผลจาก 3 ปยอนหลังหรือกําหนดเพ่ิมข้ึนจากฐานเดิม

5% ทุกสาระ

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ทําใหผูเรียนมีพัฒนาการดานการอานออก อานคลอง อานจบัใจความ เขียนได เขียนคลอง

Page 138: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

99

เขียนสรุปความ และมีจํานวนเพ่ิมมากข้ึน มีพัฒนาการในการเรียนรูในกลุมสาระคณิตศาสตร วิทยาศาสตร

สังคมและภาษาอังกฤษ และนักเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชทักษะ

ชีวิต การใชเทคโนโลยีและเกิดความเขาใจตอสิ่งท่ีเรียน

2) นักเรียนมีทักษะชีวิต (Life Skills) ทักษะการเรียนรู (Learning Skills / Knowledge Skills)

และทักษะการทํางาน (Working Skills) ไดพัฒนาตนเองอยางเต็มตามศักยภาพ เหมาะสมกับชวงวัย

3) การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยกลุมคุณภาพ โดยรูปแบบ PLC ระดับกลุมสาระ

ระดับชั้นเรียน

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ครูสอนไมครบชั้น ไมตรงเอกภาระครูมากและสอนไดไมเต็มท่ี

2) ขาดสื่อ วัสดุ ครุภัณฑ อุปกรณการเรียนการสอนท่ีทันสมัยไมเพียงพอกับความตองการและ

ความจําเปนท่ีจะใชอยางเหมาะสม

3) นักเรียน นักศึกษา ไมชอบในรายวิชาสามัญมีความถนัดนอย ไมใหความสนใจในการทํา

ขอสอบขาดความใฝรู ใฝเรียน ศึกษาหาความรูรวมถึงการประสานงานระหวางครูท่ีปรึกษากับนักเรียนแตละ

แผนกมีเวลาคอนขางนอย

4) การบริหารจัดการเวลาเรียน ตามโครงสรางเวลาเรียนของสถานศึกษา ไมอํานวยหรือสงเสริม

ตอ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพเทาท่ีควร

5) ระยะเวลาของการนิเทศ ติดตามไมเพียงพอ เพราะถูกจํากัดอยูในชวงเวลา 2 -3 เดือนกอนสิ้นป

งบประมาณ หรือชวงทายของภาคเรียนท่ี 1 ซ่ึงทุกๆโครงการ/กิจกรรมของเขตพ้ืนท่ีจะมีลักษณะเหมือนกันทุกๆ ปงบประมาณ 4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรสงเสริม สนับสนุน กระบวนการวิจัยและพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา เชน

กระบวนการวิจัยและพัฒนาดานการบริหารจัดการ ดานการนิเทศ การจัดการเรียนรูการวิจัยเพ่ือศึกษา

ปญหาเก่ียวกับการทดสอบ

2) ควรสงเสริม สนับสนุนผูบริหาร ศึกษานิเทศกและครูใหมีความรูเก่ียวกับการสราง

ขอสอบท่ีเนนกระบวนการคิดวิเคราะหในรูปแบบเดียวกันกับขอสอบท่ีใชในการประเมินคุณภาพการศึกษา

ข้ันพ้ืนฐานเพ่ือการประกันคุณภาพผูเรียน สรางความเขมแข็งดานการวัดและประเมินผลการศึกษา

3) ควรสรางเครือขายการนิเทศการศึกษาเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยางเปน

ระบบและตอเนื่อง โดยความรวมมือระหวางสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ศึกษานิเทศก ประธานกลุม

สถานศึกษา และผูอํานวยการสถานศึกษา

4) ควรยกยองเชิดชูเกียรติ หรือชมเชย หรือใหเกียรติบัตรแกสถานศึกษาท่ีมีพัฒนาการของ

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยางชัดเจน และเปนแบบอยางท่ีดีแกหนวยงานอ่ืนๆ

5) ควรสรางเจตคติท่ีดีใหนักเรียนนักศึกษาไดตระหนักและใสใจการทดสอบ V-NET

Page 139: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

100

6) ควรอบรมเพ่ือพัฒนาการวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัด รวมท้ังการพัฒนาการจัดทํา

เครื่องมือการวัดประเมินผลในชั้นเรียนท่ีสามารถสะทอนองคความรูของผูเรียนตามมาตรฐานและตัวชี้วัด

4.2. ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ควรสรางมาตรการเพ่ือยกระดับคุณภาพผูเรียนในการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของ

ผูเรียนระดับชาติ

2) ควรจัดทําโครงการยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสังกัด โดย

นําผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผูเรียนระดับชาติ ในปการศึกษาท่ีผานมา เปนขอมูลพ้ืนฐาน

(Baseline) ในการยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนในปการศึกษาตอไป

3) วิเคราะหขอมูลและสะทอนผล เรงพัฒนาผูเรยีนกอนการสอบจริงนําขอบกพรองในการ

สอบมาปรับปรุงใหนักเรียนสามารถทําขอสอบไดอยางเต็มตามศักยภาพ

4) ตรวจสอบและจัดกลุมนักเรียนเปนกลุม ไดแก กลุมความสามารถพิเศษ กลุมปกติ (เกง

ปานกลาง ออน) กลุมเสี่ยงท่ีมีปญหาการอาน เขียน คิดคํานวณ และแกปญหารายสถานศึกษา ราย

หองเรียน จนถึงรายบุคคล เรงรัดใหมีการดูแลเปนพิเศษเพ่ือใหสมรรถนะทางดานการเรียนรูไดรับการพัฒนา

5) จัดใหมีการนิเทศภายในสถานศึกษาเพ่ือชวยเหลือและจัดสรรเครื่องมือสื่อการเรียนรู

และปรับปรุงวิธีจัดการเรียนรูของครูใหมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

6) ผูบริหารควรใหความสําคัญ และใหการสงเสริม สนับสนุนอยางเต็มท่ี มีการพัฒนา

หลักสูตรของสถานศึกษาใหเหมาะสมกับชุมชน และจัดหาสื่อ นวัตกรรม แหลงเรียนรูใหเพียงพอ

1.2 การยกระดับคะแนนเฉล่ีย PISA

1. ผลการดําเนินงาน

1) สถานศึกษามีการเตรียมความพรอมใหกับครู เพ่ือรองรับการทดสอบ PISA โดยสงครูเขารวม

การประชุมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพรอม สอบ PISA ท่ีสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และจัดกิจกรรม

ขยายผลใหกับคณะครูท่ีสอนในระดับชั้น ม.1-3 ตรวจสอบกลุมเปาหมายท่ีจะสอบ สํารวจขอมูลจํานวน

นักเรียนสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางการประเมินระดับนานาชาติ และใหครูเขารับการ

อบรมพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทาง PISA จัดประชุมสรางความเขาใจใหกับผูบริหาร/

หัวหนาวิชาการ และประชุมปฏิบัติการพัฒนาครูสอนวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและการอาน เสริมสราง

ทักษะการใชคอมพิวเตอรในการทําขอสอบของครูผูสอนใหสามารถใชระบบออนไลนขอสอบ PISA เพ่ือ

การพัฒนานักเรียนใหเสร็จสิ้นกอนเปดภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2561 โดยใชสื่อประกอบการประชุมท่ี

เผยแพรโดยศูนย PISA สพฐ. ไดทางwebsite : Obec channel, page facebook : PISA Center

OBEC จัดทําสําเนาสื่อ (ตัวอยางขอสอบ PISA สําหรับครู นักเรียน และ CD ระบบออนไลนขอสอบ PISA

แจกโรงเรียนในสังกัด เพ่ือใหนักเรียนไดฝกทักษะการแกปญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA จาก

ตัวอยางขอสอบและฝกทักษะการทําขอสอบดวยคอมพิวเตอร และกํากับ ติดตามการใชสื่ออยางตอเนื่อง

และเกิดผล

Page 140: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

101

2) สถานศึกษาท่ีมีนักเรียนอายุ 15 ป (ม.ตน, ม.ปลาย, ปวช.) มีการปรับกระบวนการเรียนการ

สอนท่ีสอดคลองกับการทดสอบ PISA โดยมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีสอดแทรกตามรูปแบบการ

ประเมิน PISAและบูรณาการเชื่อมโยงกับหลักสูตรใหสอดคลองตามแนว PISA ปรับกระบวนการเรียนการ

สอนท่ีสอดคลองกับการทดสอบ PISA โดยครูผานการอบรมเพ่ือพัฒนาศักยภาพดานการสอบดวย

คอมพิวเตอร (Computer-based Assessment) ฝกใหนักเรียนคิดวิเคราะหนําเสนอผลการวิเคราะห

เรื่องท่ีอาน และพัฒนาสื่อ (แบบฝก บทอานฯลฯ)จัดทํา/รวบรวมคลังขอสอบ มีการนําแบบฝกหัด/

แบบทดสอบ ไปใชวัดและประเมินควบคูกับการเรียน

3) สถานศึกษาท่ีมีนักเรียนอายุ 15 ป (ม.ตน, ม.ปลาย, ปวช.) จัดกิจกรรมการเรียนการสอน

เพ่ือเสริมสรางประสบการณการทดสอบตามแนวทางของการทดสอบ PISA แกผูเรียนโดย ครูผูสอนใน

ระดับชั้น ม.1-3 ไดจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือเสริมสรางประสบการณการทดสอบอยางสมํ่าเสมอ

โดยสอดแทรกในการจัดกิจกรรมการเรียนรูในเนื้อหาท่ีเก่ียวของ และใหนักเรียนฝกทําขอสอบ PISA ในปท่ี

ผานมา ท้ังในรูปแบบขอสอบท่ีอยูใน Computer และเปน paper และทําแบบทดสอบตามแนว PISA ท้ัง

3 ดานครูประเมินผูเรียนดวยขอสอบ PISA ของ สสวท.ฝกฝนการใชคอมพิวเตอรของนักเรียนรองรับการ

ประเมินดวยขอสอบ PISA และจัดสอบ Pre – PISA กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาเตรียมสมัครเปน

สมาชิก สสวท. เพ่ือศึกษาแนวทางและตัวอยาง การจัดการเรียนการสอนท่ีสอดคลอง PISA ในการเตรียม

นักเรียน และจัดคายนักเรียนในการใชคอมพิวเตอร/ฝกทําขอสอบจัดสอบ Pre – PISA กับนักเรียน

ระดับชั้นมัธยมศึกษา 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ผูเรียนมีความตระหนัก เขาใจในประเดน็การประเมิน PISA และไดรับการเตรียมความพรอม

จากครูผูสอน โดยสอดแทรกกระบวนการคิดเชิงเหตุผลในการทํากิจกรรมการเรียนรูมีการพัฒนาทักษะการ

คิดของนักเรียน ใหสามารถนํากระบวนการคิดไปใชในชีวิตประจําวันไดนักเรียนไดรับการพัฒนาสูความ

เปนเลิศในการแขงขันทักษะวิชาการ (ศิลปหัตถกรรมนักเรียน) ระดับประเทศ ในกลุมสาระการเรียนรู

ภาษาไทย, คณิตศาสตร, พัฒนาผูเรียน ผูเรียนไดคิดออกแบบกระบวนการทางวิทยาศาสตรและไดคํานวณ

ตนทุน และผลผลิตท่ีเกิดข้ึน ทําใหไดสิ่งประดิษฐใหมๆ เกิดข้ึนมา ตามสภาพทองถ่ินนั้นๆ และไดนํา

นวัตกรรมแผนบันทึกขอมูล CD ระบบออนไลนขอสอบ PISA ซ่ึงจัดทําโดย สสวท. มาใชในการฝกปฏิบัติใน

กิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือเสริมสรางประสบการณใหเกิดทักษะมากยิ่งข้ึน

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ระบบอินเตอรเน็ตจํานวนคอมพิวเตอรของโรงเรียนไมเพียงพอตอการประเมิน ผูเรียนขาด

ทักษะการทดสอบ PISA โดยการใชคอมพิวเตอร ONLINE

2) หนวยงานท่ีเก่ียวของมีหลายหนวยงานตางคนตางคิด ตางทําไมมีการบูรณาการทําใหเปน

ภาระงานอยูกับครูผูปฏิบัติ

4) งบประมาณสนับสนุนโรงเรยีนไมเพียงพอ

Page 141: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

102

5) ความตอเนื่องของการดําเนินงานของโรงเรียนตองดูแลชวยเหลือและติดตาม เพราะเปนเรื่อง

ท่ีใหมและยาก ตองใหครูไดเปดใจท่ีจะยอมรับและนําสูการปฏิบัติ

6) ครูระดับมัธยมศึกษามีวุฒิการศึกษาไมตรงตามสาระการเรียนรูท่ีสอนทําใหการดําเนินการจัด

กิจกรรมการเรียนรูยังไมชัดเจนเทาท่ีควร

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) แตละเขตพ้ืนท่ีควรมีทีมสรางขอสอบแนว PISA อยางนอย 9 คน (การอาน 3 คน

คณิตศาสตร 3 คน วิทยาศาสตร 3 คน) ภายในปงบประมาณ 2560

2) แตละโรงเรียนควรมีครูท่ีไดรับการฝกใหเปนผูชํานาญการดานสรางขอสอบ/เครื่องมือ

ประเมินผลการเรียนรูประจําโรงเรียน 2-3 คนตอโรงเรียน ท่ีสามารถใหคําแนะนําและนิเทศครูในโรงเรียน

ได ภายในปการศึกษา 2560

3) ควรจัดทําแบบฝกท่ีสงเสริมใหนักเรียนไดฝกคิดตามสมรรถนะ บริบทของการประเมิน

PISA อยางหลากหลาย และสงเสริมดานงบประมาณใหสถานศึกษาไดจัดกิจกรรมอยางตอเนื่อง

4) หนวยงานท่ีเก่ียวของควรบูรณาการงานท่ีเปนเรื่องเดียวกัน เพ่ือการขับเคลื่อนท่ีชัดเจน

ไปในแนวทางเดียวกัน และตอเนื่องท้ังกระบวนการเรียนรูและการทดสอบ

5) ควรสนับสนุนงบประมาณท่ีเพียงพอใหกับโรงเรียนมีหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรเพ่ือฝก

ทักษะ

6) ควรมีการประชุมเชิงปฏิบัติการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางของ

PISA เพ่ือกระตุนใหครูเกิดความชํานาญ และสนใจมากข้ึน

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ควรศึกษาวิเคราะหขอสอบท่ีโรงเรียนใชวามีความเหมาะสม ความตรง ความเชื่อถือได

เพียงใด และตองพัฒนาอยางไร ท้ังนี้ไมใชเพ่ือจับผิด แตเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงแกไข

2) ควรศึกษาวิธีการวัดและประเมินผลเพ่ือเลื่อนชั้นและจบชวงชั้นของนานาประเทศ เชน

จาก ป.1 ข้ึน ป.2, จาก ม.2 ข้ึน ม.3, จบ ป.6, จบ ม.3 เปนตน

3) ควรไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวนของสังคม ท้ังนักเรียน พอแมผูปกครอง และ

ประชาชน ในการจัดกิจกรรมท้ังหมด และทุกคนตระหนักถึงความสําคัญ เห็นคุณคา ความจําเปนของการ

เขารวมโครงการ PISA ตลอดจนมีความเชื่อวาเปนสิ่งท่ีตองทํา เชื่อวาทําได เราก็ผิวเหลือง ผมดํา เหมือนคน

อ่ืน และการจัดกิจกรรมจะตองดําเนินการตอเนื่องตลอดไป

นโยบายท่ี 2 การจัดการศึกษาปฐมวัย

การเขาถึงโอกาสทางการศึกษาปฐมวัย

Page 142: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

103

1. ผลการดําเนินการ

1) สถานศึกษาไดดําเนินการดานตางๆ เพ่ือเปนการปองกันภัยท้ังภายในและภายนอก

สถานศึกษาใหกับผูเรียนระดับปฐมวัย ดังนี้

ดานอาคารสถานท่ีสถานศึกษาไดจัดสภาพแวดลอมท่ีเปนบวกสนับสนุนการเรียนรูของเด็ก มี

พ้ืนท่ีสนามเด็กเลน และมีเครื่องเลน จํานวนเพียงพอเหมาะสม สะอาด มีรั้วรอบขอบชิดและอาคารเรียนท่ี

ปลอดภัยหองเรียนมีความปลอดภัย บรรยากาศภายในและภายนอกหองเรียนท่ีเอ้ือตอการเรียนรู และ

ติดตั้งถังดับเพลิงภายในอาคารเรียน มีการแตงตั้งเวรรับผิดชอบในการดูแลเด็กตลอดท้ังวันจนกวาจะสงเด็ก

กลับบาน

ดานอุปกรณเครื่องใชตางๆ สถานศึกษาสรางขอตกลงรวมกันระหวางครู และผูเรียน เก่ียวกับ

การใชวัสดุ อุปกรณ สื่อการเรียนรู ท่ีอาจเปนอันตรายได เชน มีด กรรไกร โลหะ กระจก เครื่องใชไฟฟา

เพ่ือปองกันอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึน จัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกเพ่ือพัฒนาเด็กอยางรอบดาน สงเสริม

ผูเรียนใหมีพ้ืนท่ีเลนเปนสัดสวนปลอดภัย อุปกรณท่ีใชในมุมตางๆมีความปลอดภัย

ดานเครื่องเลน สถานศึกษามีเครื่องเลนท่ีเหมาะสมปลอดภัยสําหรับเด็กมีมาตรการปองกัน

อันตรายจากการใชเครื่องเลน แหลงเรียนรู และอุปกรณการเลน มีการตรวจสอบสภาพมาตรฐาน และคุณภาพ

การใชงานของเครื่องเลน ปรับปรุงแหลงเรียนรูใหผูเรียนอยางสมํ่าเสมอ

ดานการรับสงนักเรียนและการจราจร สถานศึกษาบางแหงมีการทําประกันภัย และชี้แจง

ขอตกลงเพ่ือความปลอดภัยในการตรวจนับจํานวนนักเรียนกอนข้ึนและลงจากรถ จัดประสบการณดานการ

สงเสริมวินัยจราจรสําหรับเด็กและผูปกครองมีการแตงตั้งครูเวร รับ-สง นักเรียน มีตํารวจจราจร และสารวัตร

นักเรียนดูแลความปลอดภัย โดยใชสัญลักษณธงขาวเดินนําหนาแถว

ดานโภชนาการ สถานศึกษาไดดําเนินการสงเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก ใหความรูผูปกครอง

และตัวเด็กในการเลือกรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ หลีกเลี่ยงอาหารท่ีเปน

อันตรายและไมมีประโยชนตอรางกาย จัดอาหารเสริม (นม) และอาหารกลางวันใหเด็กๆ อยางครบถวน มี

ครูอนามัยตรวจสอบรายการอาหาร และสินคาท่ีนํามาขายในสถานศึกษา และมีโครงการอาหารกลางวัน

เปนตน

ดานสุขอนามัย สถานศึกษาไดดําเนินการจัดประสบการณใหเด็กไดมีพัฒนาการดานรางกาย

สงเสริมใหมีสุขอนามัยท่ีดี ไดแก ดูแลความสะอาดของรางกายโดยการตรวจสุขภาพอยางสมํ่าเสมอ ให

ความรูและพัฒนาทักษะชีวิตในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันท่ีถูกตอง เหมาะสมไดดวยตนเอง เชน การลาง

มือกอน และหลังรับประทานอาหาร หลังจากใชหองน้ําหองสวม การแปรงฟนหลังรับประทานอาหาร การ

อาบน้ํา การสวมใสเสื้อผาท่ีสะอาด การระมัดระวังตนเองจากอันตรายครูประจําชั้นตรวจสุขภาพรวมกับ

ภาคีเครือขายคุณหมอใน รพ.สงเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลอ่ืนๆท่ีอยูใกลเคียง ชั่งน้ําหนักวัดสวนสูงตาม

ระยะเวลาท่ีกําหนด รับประทานอาหารท่ีมีประโยชนจัดทําโครงการ อย. นอย โครงการเกลือไอโอดีน เปนต

2. ความโดดเดน / จุดแข็ง / นวัตกรรม / ตนแบบ หรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

Page 143: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

104

1) การดําเนินงานของสถานศึกษาในโครงการบานนักวิทยาศาสตรนอยประเทศไทย ทําใหเด็กมี

ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรมากข้ึน สามารถใชทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรสืบเสาะหาความรู หรือ

สิ่งท่ีสงสัยไดอยางเปนระบบ และมีพัฒนาการดานรางกาย อารมณจิตใจ สังคม และสติปญญาสูงข้ึน

2) การพัฒนาผูปกครองเด็กปฐมวัย ทําใหผูปกครองสวนใหญมีความรู ความเขาใจ และสามารถ

อบรมเลี้ยงดูเด็กไดอยางถูกตองและเขาใจกระบวนการพัฒนาเด็กตามวัยมากข้ึน เด็กไดรับการเอาใจใส

และพัฒนาอยางมีสวนรวมระหวางผูปกครองและสถานศึกษาในการจัดประสบการณการเรียนรู

3) การดําเนินงานสนามเด็กเลนตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) : เลนตามรอยพระยุคลบาท

ทําใหเด็กปฐมวัยในโรงเรียนตนแบบและตนแบบเครือขาย ไดรับการพัฒนาอยางมีประสิทธิภาพ

4) มีนวัตกรรมไฮสโคปท่ีทําใหเด็กปฐมวัยรูจักการวางแผนการทํางาน เกิดทักษะกระบวนการคิด

รูจักใชคําถามกับสถานการณ เหตุการณเรื่องนั้น ๆ

5) ใชนวัตกรรมการจัดประสบการณแบบมอนเตสซอรี่ ระดับปฐมวัย อายุ 3-6ป

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ขาดความรู ความเขาใจในการนํานโยบายสูการปฏิบัติ

2)ผูบริหารบางสวนยังใหความสําคัญในการจัดกิจกรรมท่ีสงเสริมเด็กปฐมวัยนอย และเขาใจ

หลักการจัดการศึกษาปฐมวัยคลาดเคลื่อน

3) ครูท่ีจบการศึกษาดานปฐมวัยมีนอย ทําใหการจัดกิจกรรมยังไมไดคุณภาพ และการ

ขับเคลื่อนนโยบายลงสูการปฏิบัติคอนขางยาก ตองใชเวลานานในการพัฒนาครู และมีการโยกยายบอยทําให

เกิดความไมตอเนื่องในการพัฒนาคร ู

4) งบประมาณท่ีโรงเรียนสนับสนุนในระดับปฐมวัยมีไมเพียงพอ พบวาบางโรงเรียน ท้ังปไดรับ

งบประมาณ เพียง 2,000 บาท

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรเนนใหผูบริหารเห็นความสําคัญ และสงเสริมการจัดประสบการณสําหรับเด็กปฐมวัยและมี

การอบรมจากสวนกลาง เพ่ือสรางความตระหนักใหมากข้ึน

2) ครูปฐมวัยควรไดรับการพัฒนาดานเทคนิคการสอน และการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือ

รองรับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

3) ควรผลิตบุคลากรดานปฐมวัยท่ีมีคุณภาพเพ่ิมข้ึน และจัดสรรบุคลากรปฐมวัยใหครบทุก

โรงเรียนอยางนอย 1-3 คน ใหครบชั้นเรียนท่ีเปดสอน 4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) เปดโอกาสใหครูปฐมวัย / ผูบริหาร และศึกษานิเทศก ท่ีดําเนินงานโครงการบาน

นักวิทยาศาสตรนอยประเทศไทย สามารถนําผลงานทางวิชาการไปประกอบการเลื่อนวิทยฐานะได

2) สงเสริมกิจกรรม Best Practice ของครูปฐมวัยอยางตอเนื่อง และใหเปนผลงานวิชาการ

สามารถนําไปประกอบการเลื่อนวิทยฐานะได

Page 144: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

105

3)ใหตนสังกัดของสถานศึกษามีสิทธิกลั่นกรองการเลือกหลักสูตรอบรมใหครูปฐมวัย

4) จัดสรรงบประมาณใหเพียงพอในการจัดกิจกรรม

5)ขอความรวมมือจากฝายทะเบียนราษฎรของอําเภอตาง ๆ ในเขต ใหชวยคัดแยกเด็กกลุมอายุ

3-5 ป ของแตละ หมูบาน ตําบลและอําเภอ เพ่ือใหไดขอมูลพ้ืนฐานท่ีตรงกับความเปนจริงมากท่ีสุด

6) โรงเรียนตองมีขอมูลเด็กในเขตบริการของโรงเรียน โดยการทําสํามะโนไวลวงหนา 1 ป ให

เปนปจจุบัน (ซ่ึงเม่ือมีการเปดรับนักเรียนอายุ 3 ปของโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน

พ้ืนฐานในชั้นอนุบาลปท่ี 1 ตั้งแตปการศึกษา 2560 ตอไปจะตองดําเนินการทําสํามะโนเด็กตั้งแตอายุ 2 ป)

นโยบายท่ี 3 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

การขยายผลการอบรมโครงการ Boot Camp และการจัดการอบรมขยายผลใหโรงเรียนเครือขายของ

Master Trainer (ตามโครงการ Boot Camp) ในสถานศึกษา

1. ผลการดําเนินการ

1) สภาพแวดลอมภายในหองเรียน และนอกหองเรียนท่ีสถานศึกษาจัดเพ่ือสงเสริมการเรียนรู

ภาษาอังกฤษโดยจัดสภาพแวดลอมภายในหองเรียน ไดแก (1) จัดปาย วัน เดือน ป (2) ปายบอกทิศทาง

(3) บอกตําแหนงท่ีอยูสิ่งของ (4) ปายตัวอักษรภาษาอังกฤษท่ีเปนตัวพิมพใหญ - เล็ก ตัวเขียนใหญ – เล็ก

(5) ปายบอกจํานวนและตัวเลข (6) ปายแสดงการทักทาย (7) ปายชื่อเพ่ือนรวมชั้นเรียนและครูประจําชั้น

ประจําวิชาฯลฯ ตลอดจนจัดใหมีมุมหองท่ีมีสื่อชนิดตางๆ เพ่ือใหนักเรียนไดเรียนรูเพ่ิมเติม และศึกษาดวย

ตนเองจัดบอรดในหองเรียน ผลงานและชิ้นงานนักเรียนเก่ียวกับภาษาอังกฤษ มุมคําศัพท สื่อการเรียนการ

สอนสําหรับครู เอกสารประกอบการสอน และจัดสื่อการเรียนการสอนท่ีนาสนใจ เชน มีโทรทัศน เพ่ือใชใน

การฝกภาษา

จัดสภาพแวดลอมภายนอกหองเรียน ไดแก (1) ปายชื่อชั้นเรียน (2) ปายบอกชื่อหอง ชื่อ

อาคารตางๆ (3) ปายบอกจุดจอดรถ (4) ปายบอกจุดบริการตางๆ (5) ปายคติ คําคม (6) ปายชื่อตนไม

และสถานศึกษาจัดใหมีศูนย/หองเรียนอาเซียนเพ่ือสงเสริมความรูและทักษะในการเรียนรูภาษาอังกฤษ

จัดทําปายตาง ๆ ท้ังท่ีเปนภาษาอังกฤษและภาษาไทย จัดแหลงเรียนรูภาษาอังกฤษ English Zone

2) สถานศึกษามีวิธีการหรือจัดกิจกรรมเพ่ือสงเสริมการใชภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารโดยจัด

บรรยากาศภายในบริเวณโรงเรียน เชน ติดปาย จัดปายนิเทศ จัดกิจกรรมวันสําคัญของเจาของภาษา เชน

วันคริสมาสต วันวาเลนไทน วันฮาโลวีน จัดคายภาษาอังกฤษ เสียงตามสาย โดยใชเพลงสากลจัดโครงการ

ท่ีสงเสริมการใชภาษาอังกฤษในการสื่อสาร ไดแก เชิญวิทยากรทางภาษามาใหความรูกับนักเรียน, จัด

กิจกรรมภาษาอังกฤษหนาเสาธง, จัดกิจกรรมวันคริสมาสตจัดกิจกรรมมัคคุเทศกนอยจัดใหมีการแขงขัน

กิจกรรมการอาน เลาเรื่อง นิทานท่ีเปนภาษาอังกฤษใหครูใชภาษาอังกฤษในการทักทายกัน รวมท้ังทักทาย

นักเรียนเปนภาษาอังกฤษใหเปนกิวัตรประจําวัน และ Mini English Camp in school

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

Page 145: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

106

1) ครู – ผูบริหาร เห็นสําคัญในการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ มีการจัดหาสื่อการเรียนการ

สอนภาษาอังกฤษ จัดครูใหสอนตรงตามเอก หรือจัดครูมาสอนภาษาอังกฤษเพ่ิมเติม จัดหาวิทยากร

ชาวตางชาติมาชวยสอนในโรงเรียน

2) นักเรียน ครู ผูบริหาร ผูปกครอง ชุมชน เห็นความจําเปนและความสําคัญของการใช

ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารมากยิ่งข้ึน

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ครูสอนไมตรงตามวิชาเอก และบุคลากรตนแบบยังมีนอย ครขูาดเทคนิคการสอนวิชา

ภาษาอังกฤษ

2) การโยกยายครูท่ีมีความรู ความสามารถ หรือทักษะในการสอนบางครั้งอาจสงผลกระทบตอ

การขับเคลื่อนการดําเนินงานตามนโยบาย

3) โรงเรียนขนาดเล็ก ครูไมสามารถเขารับการพัฒนาตามโครงการ Boot Camp รวมถึงการติด

ตามหลังการอบรมโครงการ Boot Camp ไมเปนระบบ

4) นักศึกษาไมกลาแสดงออก และไมเห็นความสําคัญของภาษาอังกฤษ

5) ขาดงบประมาณสนับสนุนในการอบรมขยายผลในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

6) ขาดสื่อท่ีทันสมัยบรรยากาศในโรงเรียนไมเอ้ือตอการเรียน หรือการใชภาษาอังกฤษ

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรปรับโครงสรางหลักสูตรภาษาอังกฤษ จัดอบรมเทคนิคการสอน และ มีการขยายผล

สู กศน.ตําบล

2) ควรจัดกิจกรรมพัฒนาครูผูสอนภาษาอังกฤษท่ีไมจบสาขาภาษาอังกฤษอยางท่ัวถึง

เพ่ือใหเกิดความม่ันใจและสามารถจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษไดอยางมีประสิทธิภาพ และหา

มาตรการสรางแรงจูงใจ/แรงบันดาลใจใหครูมุงพัฒนาตนเองใหมากยิ่งข้ึน

3) ควรมีการสงเสริมสนับ สนุน ใหนําแอปพลิเคชั่น Echo English มาใชในการพัฒนาครู

และบุคลกรทางการศึกษา และนําสูหองเรียนอยางตอเนื่อง โดยการบูรณาการกับนโยบายดานเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา 4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) รัฐบาลควรจัดเปนวาระแหงชาติในการพัฒนาสาระภาษาอังกฤษ

2) ควรใหมีกิจกรรมท่ีสงเสริมการใชภาษาอังกฤษท้ังระดับเขตพ้ืนท่ี ภูมิภาค ประเทศ ให

เพ่ิมมากข้ึน และตอเนื่อง

3) หนวยงานสวนกลางท่ี เก่ียวของในระดับนโยบาย ควรทําความเขาใจ และมีการ

ประสานงานกันอยางเปนรูปธรรมมากข้ึน เพ่ือไมใหเกิดปญหาซํ้าซอนของการปฏิบัติในระดับภูมิภาค

4) กรณีท่ีไมสามารถจัดครูสอนภาษาอังกฤษไดตรงตามสาขาวิชาเอก อาจแกปญหาโดย

การสอบถามผูท่ีมีความสนใจ และชื่นชอบภาษาอังกฤษมาสอนแทน/สอนเสริม

Page 146: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

107

5) จัดบรรยากาศภายในโรงเรียนใหเอ้ือตอการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ โดยอาจ

กําหนดใหมีชวงเวลาหรือชั่วโมงการใชภาษาอังกฤษในแตละวัน ทุกๆ วัน

6) ควรมีการประชุม วางแผนการขับเคลื่อนโดยใหศึกษานิเทศกระดับเขตพ้ืนท่ีมีสวนรวม

เพ่ือการขับเคลื่อนและพัฒนาใหเกิดความตอเนื่องยั่งยืน

นโยบายที่ 4 การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห

1. ผลการดําเนินการ

จํานวนสถานศึกษาท่ีจัดกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือสรางกระบวนการคิดวิเคราะหในสังกัด

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาคิดเปนรอยละ 50.20 และสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

มัธยมศึกษาคิดเปนรอยละ 28.74

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ผูเรียนมีการคิดหาวิธีในการแกปญหาเปนการเชื่องโยงเพ่ือนําไปแกปญหาชีวิตจริง

2) ชวยใหนักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห คิดสรางสรรค คิดอยางเปนระบบ มีกระบวนการ

ทํางาน สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได

3) ผู เรียนไดเรียนรู พัฒนาทักษะการคิด มีทักษะในการทํางาน เชื่อมโยงความรูในหลาย

สาขาวิชา เพ่ือบูรณาการความรูจากการเรียนในหองเรียนสูการทํางานเพ่ือพัฒนาและแกปญหาในชีวิตจริง

มีการสรางชิ้นงานและนวัตกรรม ท่ีเปนประโยชนตอการดํารงชีวิตและการอนุรักษสิ่งแวดลอม

4) ผูเรียนไดมีการพัฒนาตามศักยภาพและความสามารถของตนเอง 3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) นโยบายไมชัดเจน ซํ้าซอน ไมตอเนื่อง ไมหลอมรวมเปนเรื่องเดียวกัน

2) มีนโยบายอ่ืนๆ มากเกินไปทําใหการนิเทศ กํากับ ดูแลไมท่ัวถึง

3) หนวยงานท่ีเก่ียวของหลายหนวยงาน ตางคนตางคิดตางคนตางสั่งการทําใหภาระงานของ

โรงเรียนเพ่ิมมากข้ึน

4) นักเรียน นักศึกษา ยังไมไดประดิษฐคิดคนนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ งานสรางสรรคใหมๆ

มากพอบางคนขาดทักษะการวิเคราะหงานท่ีทํา

5) นักเรียน นักศึกษายังไมมีการพัฒนาความสามารถและความชํานาญดานวิชาชีพ และไมมี

งบประมาณเพียงพอ จึงขาดการพัฒนาอยางตอเนื่อง

6) ขาดบุคลากรท่ีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน บุคลากรไมตรงตามสาขาท่ีผูเรียนตองการ และ

โรงเรียนสวนมากเนนการสอนเนื้อหา มากกวาการสอนแบบคิดวิเคราะห

7) สื่อการเรียนการสอนไมเพียงพอและไมเขากับยุค 4.0

4. ขอเสนอแนะ

Page 147: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

108

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) นโยบายควรชัดเจน มีความตอเนื่อง สามารถปฏิบัติไดจริง

2) หนวยงานท่ีเก่ียวของควรบูรณาการงานรวมกัน กําหนดเปนเปาหมายเดียวกัน

3) การจัดทําหลักสูตร STEM Education ควรจัดใหมีการบูรณาการในการเรียนการสอน

วิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยี โดยไมควรแยกออกจากตัวชี้วัดในหลักสูตร หรือถาจะแยกควรแยก

เปนกลุมสาระการเรียนรูสะเต็มศึกษาตางหากออกมาเปนกลุมสาระการเรียนรูท่ีชัดเจน

4) ควรปรับมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร หรือตัวชี้วัดหลักสูตรใหสอดคลองกับ STEM

Education หรือมีตัวชี้วัด STEM Education ในหลักสูตร

5) ควรมีงบประมาณใหสถานศึกษาทุกแหงในการขยายผลของครูดานการจัดการเรียนรูท่ี

สงเสริมการคิดวิเคราะห และดําเนินงานอยางตอเนื่อง

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) การตรวจราชการควรแบงการตรวจราชการใหชัดเจนกวาเดิม และกําหนดเปนนโยบาย

ท่ีดําเนินการอยางตอเนื่อง

2) ควรใหสถานศึกษาสังกัดอาชีวศึกษามีบทบาทในการบริหารงานในสถานศึกษาใน

จังหวัดมากกวาเดิม

3) ควรปรับหนังสือเรียนใหมีการบูรณาการ STEM Education ในกลุมสาระการเรียนรู

วิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี หรือปรับกลุมสาระการเรียนรูใหเปนสาระการเรียนรู STEM

Education แยกออกจากกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยีตางหาก

4) ควรมีงบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานตามนโยบายในสถานศึกษาทุกแหง

นโยบายท่ี 5 การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ

1. ผลการดําเนินการ

1) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดไดจัดทําแผนและยุทธศาสตรการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมผูเรียนสาย

อาชีพโดยสวนใหญมีการจัดทําแผนและยุทธศาสตรการรับนักเรียน มีบางจังหวัดท่ีไมไดทํา โดยมียุทธศาสตร/

มาตรการคือ ประชุมวางแผนรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ จัดทําโครงการสรางประสบการณอาชีพ (Work

Experience) ของนักเรียนชั้น ม. 3 ในสถานประกอบการ โครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการ

จัดทํารูปแบบและแนวทางการพัฒนาหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและ

อุดมศึกษา จัดทําโปรแกรมเก็บขอมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 และทําโปรแกรมทดสอบ

ความสามารถ/ความถนัดในอาชีพกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 และคณะกรรมการระดับจังหวัดนิเทศ

ติดตาม ประเมินผลโครงการสรางประสบการณอาชีพ

2) หนวยงาน/สถานศึกษาสรางทัศนคติท่ีดีตออาชีพและการแนะแนวการศึกษาเพ่ืออาชีพใหกับ

ผูเรียน โดยมุงพัฒนาคุณภาพและปริมาณผูเรียนใหสัมพันธกับความตองการของตลาดแรงงานในประเทศ

และระดับสากล เนนท่ีเรียนแลวมีงานทํา 100% แนะแนวการศึกษาตามโรงเรียนท่ีมีการเรียนการสอน ม.

Page 148: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

109

3 – ม.6 พรอมท้ังออกบริการศูนยซอมสรางเพ่ือชุมชน บริการซอมอุปกรณไฟฟา เครื่อมือการเกษตรให

ประชาชนในเขตพ้ืนท่ี จัดกิจกรรมการเรียนรูตามกิจกรรมพัฒนาผูเรียน และพานักเรียนชั้น ม. ๓ ไปชม

สถานศึกษาท่ีเปดสอนสายอาชีพทุกสังกัด 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) นวัตกรรมชุมแพโมเดล ; แนะแนวการเรียนรูสูอาชีพ

รูปแบบชุมแพโมเดล ; แนะแนวการเรียนรูสูอาชีพ ท่ีมีคุณภาพ นี้ มีประสิทธิภาพระดับ

มากท่ีสุด ภายใตคุณสมบัติ 5 ประการ คือ (1) ความเปนประโยชนเฉพาะ (Specific) (2) ความถูกตองของ

ขอมูลท่ีสามารถวัดได (Measurable) (3) ความเหมาะสมกับสมรรถนะของบุคคล (Achievable) (4)

ความเปนไปไดกับการนําไปใชในบริบท (Realistic) และ (5) ความเหมาะสมกับเวลาท่ีกําหนด (Time

Phased)

2) นักเรียน นักศึกษาท่ีจบการศึกษาแลวสามารถประกอบอาชีพไดตามสายงาน หรือสามารถ

ทํางานไดจริง มีทักษะเฉพาะดาน มีความม่ันใจในการทํางาน มีความรูและทักษะเบื้องตนในการประกอบ

อาชีพในอนาคต

3) เกิดการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพ่ือเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและระดับสากล

4) นักเรียนระดับมัธยมศึกษามีความรูความเขาใจในหลักสูตรวิชาชีพ สายอาชีพท่ีตนเองมีความ

สนใจและมีแรงจูงใจในการเรียนตอสายอาชีพเพ่ิมมากข้ึน

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) การมอบและแจงนโยบายในระยะเวลากระชั้นชิดทําใหมีหนวยปฏิบัติดําเนินงานยากลําบาก

2) ผูปกครองและนักเรียน นักศึกษา มีความตองการเรียนในสายสามัญมากกวาสายอาชีพ

เนื่องจากสามารถกาวหนาไดมากกวาสายอาชีพ

3) การสรางนวัตกรรมการแนะแนวท่ีเนนแรงจูงใจใหผูเรียนมาเรียนสายอาชีพมีนอยขาดความ

จริงจัง และความตอเนื่อง

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) สรางความตระหนักใหผู เก่ียวของมองเห็นผลเสียท่ีจะเกิดข้ึนตอประเทศชาติกับ

สถานการณพลเมืองขาดทักษะอาชีพในโลกศตวรรษท่ี 21

2) พัฒนาระบบการแนะแนวอาชีพเชิงรุกเพ่ือใหสามารถเขาถึงพอแมผูปกครอง

3) ประชาสัมพันธเผยแพรภาพลักษณเชิงคุณภาพไปยังกลุมเปาหมายใหเห็นความสําคัญ

ในการเรียนอาชีวศึกษา

4) สนับสนุนงบประมาณเพ่ือการวิจัยนวัตกรรมการแนะแนวท่ีเนนแรงจูงใจใหผูเรียนมา

เรียนสายอาชีพ

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ควรกําหนดใหเปนนโยบายตอเนื่องทุกปการศึกษา

Page 149: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

110

2) ควรจัดโครงการอาชีวอาสาเพ่ือพัฒนาสังคมหรือควรจัดโครงการสงเสริมคนดีศรีอาชีวะ

โครงการเยาวชนอาชีวะสัมพันธรวมสรางสรรคสังคม

นโยบายท่ี 6 การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ

1. ผลการดําเนินการ

1) ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการตอสมรรถนะผูสําเร็จอาชีวศึกษาอยูในระดับมาก

2) สถานศึกษามีมาตรการในการเพ่ิมผูเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี โดย มียุทธศาสตรกําหนด

เปาหมายการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมผูเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี มียุทธศาสตรการพัฒนากําลังคน การ

วิจัย เพ่ือสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ จัดหาสถานประกอบการท่ีมีความม่ันคง และการ

ติดตามสาขาวิชาและในระดับ ปวส เปนทวิภาคี 100% ทําความรวมมือกับสถานประกอบการ จัดการ

เรียนการสอนใหตรงตามความตองการของสถานประกอบการ และประชาสัมพันธใหผูปกครองนักเรียน

นักศึกษาเขาใจถึงการเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) นักเรียน นักศึกษา สามารถมีรายไดระหวางเรียน เรียนจบมีงานรองรับ มีทักษะและ

ประสบการณตรงในการฝกงานในสถานประกอบการท่ีไดมาตรฐาน ตลอดจนผูเรียนมีรายไดระหวางเรียน

จากสถานประกอบการ

2) เปดโอกาสใหผูเรียนเขาถึงกลุมเปาหมายผูมีสวนสําคัญตอการเรียนสายอาชีพ อาชีวศึกษา

3) นวัตกรรมการพัฒนาหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อาชีวศึกษา และ

อุดมศึกษา ประกอบรูปแบบทวิภาคีกับตางประเทศ

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) สถานศึกษาอยูหางไกลจากสถานประกอบการ และขาดงบประมาณในการสนับสนุนจาก

หนวยงานตนสังกัด

2) การวิจัยเพ่ือคนพบหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อาชีวศึกษา และ

อุดมศึกษา ประกอบรูปแบบทวิภาคีกับตางประเทศท่ีประสบผลสําเร็จยังมีนอย

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) สนับสนุนงบประมาณเพ่ือการวิจัยเพ่ือคนพบหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ัน

พ้ืนฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ประกอบรูปแบบทวิภาคีกับตางประเทศท่ีประสบผลสําเร็จ

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) กําหนดเปนนโยบายสําคัญอยางตอเนื่องทุกปการศึกษา

Page 150: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

111

นโยบายท่ี 7 การยกระดับคุณภาพสถานศึกษาท่ีตองการความชวยเหลือและพัฒนาเปนพิเศษ

อยางเรงดวน (ICU)

- ยกเลิก –

นโยบายท่ี 8 การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก

1. ผลการดําเนินการ

1) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีการจัดทําแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก โดยวาง

แผนการบริหารจัดการศูนยโรงเรียนท่ีเปนโรงเรียนขนาดเล็กมีนักเรียนจํานวน120 คนลงมา โดยตั้ง

โรงเรียนหลักท่ีมีระยะทางหางจากโรงเรียนขนาดเล็กไมเกิน 6 กม.นํานักเรียนมารวมไปโรงเรียนหลักทุกชั้น

เรียน นําผูบริหารและครูผูสอนมาวางแผนการบริหารจัดการศึกษารวมกันกําหนดบทบาทหนาท่ีการ

บริหารจัดการโรงเรียนหลักและโรงเรียนรวมอยางชัดเจน

2) พัฒนาโรงเรียนดีใกลบาน(โรงเรียนแมเหล็ก) โดยการพัฒนาทางกายภาพและความพรอมใน

ดานตางๆ โดยใชงบกระตุนเศรษฐกิจและเงินอุดหนุน

3) สรางความเขาใจ ความศรัทธาใหผูปกครองและนักเรียนเกิดความเชื่อม่ันเพ่ือ เปนการดึงดูด

นักเรียน และพัฒนาโรงเรียนรวมใหเปนแหลงเรียนรู

4) ขอสนับสนุนงบประมาณคาพาหนะนักเรียน สําหรับนักเรียนทุกคน ทุกระดับชั้นท่ีมาเรียน

โรงเรียนหลัก

5) รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีชั้นเรียนไมเหมาะสมของสํานักงานเขตพ้ืนท่ี

การศึกษา มีการดําเนินการคือ จัดการเรียนการสอนแบบเรียนรวมกับโรงเรียนท่ีมีความพรอมท่ีอยู

ขางเคียงจัดการเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียม และบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กรูปแบบโมเดล

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) มีเครื่องมือและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพ่ือยกระดับยกระดับผลการทดสอบทาง

การศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) โรงเรียนขนาดเล็ก เพ่ือเสริมสรางประสิทธิภาพการจัดการเรียน

การสอนของครูผูสอนโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก ใหมีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกันในการยกระดับ

ยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) สงผลใหเกิดประโยชนในการจัดการ

เรียนการสอน

และผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนดีข้ึนอยางเปนท่ีนาพอใจ

2) การดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือมีผลกระทบทางบวกแกผูเรียน

สามารถพัฒนาโรงเรียนเปนโรงเรียนท่ีมีความพรอมในทุกดานท้ังดานกายภาพและคุณภาพตอการพัฒนา

ผูเรียน เปนโรงเรียนท่ีมีศักยภาพในการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีอยูใกลบาน

3) ผูเรียนเปนคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค มีวินัย ผูเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถทางวิชาการสูงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) สูงกวาคาเฉลี่ยระดับประเทศตอเนื่อง ใชชีวิตและมีความเขาใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

Page 151: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

112

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) การกําหนดนโยบายสูการปฏิบัติในพ้ืนท่ีควรมีแผนงานโครงการท่ีมีระยะเวลาการดําเนินการ

เปนข้ันตอนในระยะยาวและไมปรับเปลี่ยนกระทันหัน และสั่งการสูระดับปฏิบัติท่ีเรงรีบ

2) การยุบรวมหรือการควบรวมตามแผนงาน/นโยบายของสพฐ. สงผลตอการดําเนินงานในการ

เตรียมการและสํารวจความพรอม ทําใหเกิดปญหากับชุมชนและการบริหารจัดการ

3) ขาดแนวทางในการบริหารจัดการบุคลากรท่ีชัดเจนในทางปฏิบัติ

4) งบประมาณในการสนับสนุนท่ีลาชาสงผลตอการดําเนินงานในระดับพ้ืนท่ี

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรทําความเขาใจในการขับเคลื่อนและการดําเนินงานอยางชัดเจนโดยเฉพาะการ

จัดระบบของบุคลากรท่ีมีสวนไดสวนเสียกับนโยบาย และจัดสรรบุคลากรใหเพียงพอ

2) ควรมีระยะเวลาในการดําเนินการท่ีชัดเจนและจริงจังในทางปฏิบัติมีการกํากับ ติดตาม

นิเทศอยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ

3) การจัดสรรงบประมาณในการดําเนินงานโครงการควรมีแผนการใชจายท่ีชัดเจนไม

เรงดวนมาก จัดหาวัสดุอุปกรณใหเพียงพอ

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) สงเสริมสนับสนุนและพัฒนาครูในดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

2) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผานเทคโนโลยีอยางตอเนื่องและจริงจัง

3) ยุบโรงเรียนท่ีมีนักเรียนต่ํากวา 4 คนลงมา

นโยบายท่ี 9 การอานออกเขียนได

1. ผลการดําเนินการ

1) หนวยงาน/สถานศึกษา มีรูปแบบหรือวิธีการเพ่ือใหนักเรียนชั้น ป.1 อานออกเขียนได โดย

จัดทําเอกสารวิเคราะหผู เรียน วิเคราะหขอสอบและจัดกิจกรรมซอมเสริม จัดทําสื่อนวัตกรรมเพ่ือ

พัฒนาการอานออกเขียนได จัดกิจกรรมภาษาไทยวันละคํากอนเริ่มกิจกรรมการเรียนการสอน เขียนตาม

คําบอกทุกวันสงเสริมนิสัยรักการอาน โดยนักเรียนอานหนังสือท่ีตัวเองชอบใหครูและเพ่ือนฟง จัดกิจกรรม

การเรียนรูท่ีเนนการปฏิบัติบอยย้ําช้ําทวน จัดเขาคายเพ่ือยกระดับการอานการเขียนตามความพรอมของกลุมพัฒนาคุณภาพการศึกษา สงเสริม กํากับ ติดตามโครงการหนวยงานและสถานศึกษา

2) หนวยงาน/สถานศึกษา มีรูปแบบหรือวิธีการเพ่ือใหนักเรียนชั้น ป.2-ป.3 อานคลอง เขียนคลอง

โดย จัดทําเอกสารวิเคราะหผูเรียน วิเคราะหขอสอบและจัดกิจกรรมซอมเสริม นักเรียนชั้น ป.2 ฝกอาน

ตามบทอาน และพัฒนาตามแพรวาโมเดล

3) จัดทําและพัฒนาคูมือสําหรับพัฒนาการคิดและการอานรูเรื่องภาษาไทยใหกับนักเรียนชั้น ป.3

ประเมินการอานการเขียนอยางเปนรูปธรรมโดยประเมินการอานการเขียนนักเรียนชั้น ป.1 – ป.3 ภาค

Page 152: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

113

เรียนละ 2 ครั้ง เพ่ือกระตุนใหเกิดการพัฒนา ใชวิธีการสอนในรูปแบบท่ีหลากหลาย เชน การสอนแบบ

แจกลูกสะกดคํา การสอนตามแนวทางภาษาพาเพลิน กิจกรรมบันได 5 ข้ันสูการอานออก เขียนได (play

and learn) การสอนตามแนวทางพัฒนาการทางสมอง ( BBL) พัฒนากระบวนการคิด การอานรูเรื่องตาม

แนวทาง PISA จัดทําชุดฝกเสริมทักษะการอานคลอง เขียนคลองจัดกิจกรรมภาษาไทยวันละคํากอนเริ่ม

กิจกรรมการเรยีนการสอนทุกวัน กิจกรรมไมเทากายสิทธเลานิทานใหเพ่ือนและครูฟงทองคําพ้ืนฐานกอน

เลิกเรียน และสงเสริม กํากับ ติดตามโครงการของหนวยงานและสถานศึกษา

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) การวิเคราะหผูเรียนทําใหทราบถึงจุดเดนจุดดอยและวิธีการพัฒนาเปนรายบุคคล วิเคราะห

ขอสอบไดทราบขอยากงาย ทําใหครูสามารถพัฒนาผูเรียนไดตรงเปาหมาย

2) พัฒนาเด็กนักเรียนท่ีมีปญหาการอาน การเขียนใหสามารถอานออก เขียนได อานคลอง เขียน

คลอง สามารถอานรูเรื่องและสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ มีเจคติท่ีดีตอการเรียนภาษาไทย และมีนิสัย

รักการอานเพ่ิมมากข้ึน

3) การฝกอานและเขียนคําพ้ืนฐานทุกวัน สงผลใหนักเรียนสามารถอานและเขียนคําพ้ืนฐานได

ถูกตองไดรับรางวัลชนะเลิศกิจกรรมเขียนตามคําบอก ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 การแขงขันทักษะ

ภาษาไทย ประจําป 2560 และผูเรียนมีความกระตือรือรน เห็นความสําคัญ ใหความรวมมือพัฒนาดาน

การอานการเขียน

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) นโยบายไมตอเนื่องการติดตอสื่อสารลาชา กิจกรรมจากสวนกลางลงสูสถานศึกษามีมาก

เกินไป

2) การประเมินการอานการเขียนยังขาดงบประมาณสนับสนุน การทดสอบเปนภาระกิจของ

สถานศึกษาและกลุมสถานศึกษา ความคลาดเคลื่อนของผลสัมฤทธิ์ท่ีไดอาจสูง

3) การชี้แนะชี้นําใหครูเขาใจเรื่องการนําคะแนนผลการประเมินการอานการเขียน e-mes เพ่ือ

การพัฒนาผูเรียนยังไมท่ัวถึง

4) ครูผูสอนสวนใหญเนนทองจํา ใชสื่อการสอนสงเสริมการเรียนรูคอนขางนอยกิจกรรมไม

นาสนใจ ทําใหนักเรียนมีเจคติท่ีไมดีตอวิชาภาษาไทย ไมสนใจเรียนสะกดคําและแจกลูกไมถูกตอง การ

เรียนการสอนยึดแบบเรียนเปนหลักขาดสื่อ/นวัตกรรมไมเปนท่ีนาสนใจ

5) ผูบริหารสวนใหญขาดความตระหนักและเห็นความสําคัญ ครสูอนไมตรงตามเอก

6) งบประมาณท่ีจัดสรรลาชาไมเพียงพอตอการพัฒนาของเขตพ้ืนท่ี และโรงเรียนในสังกัด

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรใหโรงเรียนกําหนดรปูแบบการขับเคลื่อนนโยบายตามสภาพและบริบทของพ้ืนท่ี

Page 153: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

114

2) ควรสนับสนุนงบประมาณเพ่ือการดําเนินการสอบการอานการเขียน e-mes และ

สนับสนุนงบประมาณในการขับเคลื่อนในระดับ ศธจ. เพ่ือเปนหนวยประสานและกํากับติดตามไดอยางมี

ประสิทธิภาพมากข้ึน และกําหนดปฏิทินการทดสอบใหพรอมกัน

3) พัฒนาครูท่ีไมจบวิชาเอก ใหมีความม่ันใจและมีความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) กระบวนการวัดและประเมินดานการอาน การเขียนของนักเรียนโดยเฉพาะระดับชั้น

ประถมศึกษาปท่ี 1 ควรดําเนินการประเมินในวันเดียวกันท่ัวประเทศ และใชมาตรฐานการจัดสอบท่ี

ควบคุมตัวแปรไดทุกข้ันตอนจึงจะสามารถรับรองผลการประเมินท่ีเปนปรนัยได

นโยบายท่ี 10 การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา

1. ผลการดําเนินการ

1) สถานศึกษาใชกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมตามโครงการของตนสังกัด

หรือมูลนิธิยุวสถิรคุณหรือโครงการอ่ืนๆ แบบมีสวนรวม ดังนี้

1) สงเสริมใหนักเรียนรวมกันคนหาปญหา/พฤติกรรมท่ีไมพ่ึงประสงคดวยกัน/หาทางออก/วิธีแกไขรวมกันจนนําไปสูคุณธรรม อัตลักษณในระดับโรงเรียน 2) สงเสริมและพัฒนากระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมโดยใชโครงงานคุณธรรม ใหนักเรียนทุกคนในโรงเรยีนมีสวนรวมในกิจกรรม 3) สงเสริมกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมโดยใชโครงงานคุณธรรมนักเรียนทุกคนในโรงเรยีนมีสวนรวมในกิจกรรม 4) มีโครงการสถานศึกษาคุณธรรมทุกชมรมวิชาชีพ มีมูลนิธิยุวสถิรคุณ และกําหนดอัต

ลักษณคุณธรรมของสถานศึกษา สงเสริมคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ และเขาคายคุณธรรม ตาม

โครงการ “สถานศึกษาคุณธรรม”

บางจังหวัดไดแบงกิจกรรมออกเปน 4 ดาน ดังนี้

(1) ดานความพอเพียง จัดกิจกรรมรณรงคใชทรัพยากรของโรงเรียนอยางประหยัด

กิจกรรมรักการออม กิจกรรมสืบสานภูมิปญญาทองถ่ิน กิจกรรมโครงงานคุณธรรมจิตอาสา และกิจกรรม

งานสูอาชีพ

(2) ดานความกตัญูรูคุณ ในวิถีชีวิต เชน การสอนใหนักเรียนยกน้ําดื่มใหพอแม ครู

อาจารย มีน้ําใจชวยถือสิ่งของ สัมภาระ ชวยทํางานบานตามกําลังของนักเรียน การชื่นชมใหกําลังใจ

นักเรียน จัดกิจกรรมจิตอาสาชวยเหลือผูปาวยและคนชรา

(3) ดานความซ่ือสัตยสุจริตสรางคนดีใหกับชาติบานเมือง การสอนใหนักเรียนไมพูดโกหก

นักเรียนมีกิจกรรมไมลอกขอสอบ ไมลอกผลงานเพ่ือน กิจกรรม ปปช.นอยในโรงเรียนและชุมชน กิจกรรม

บันทึกความดี การปฏิบัติตามขอตกลงของหองเรียน กิจกรรมเขาแถวตามลําดับไมลัดคิว

(4) ดานความรับผิดชอบ นักเรียนไดทํากิจกรรมโครงงานคุณธรรมจิตอาสาทําความ

สะอาด โรงเรียน หมูบาน วัด รวมกับชุมชนรวมท้ังกิจกรรมจิตอาสาอ่ืน เชน การชวยบริการน้ําดื่มในงาน

Page 154: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

115

ตาง ๆ ของชุมชน เพ่ือเปนการฝกความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม กิจกรรมเพ่ือนชวยเพ่ือน กิจกรรมพ่ี

สอนนอง กิจกรรมชวยเหลือผูปวยและคนชราในหมูบาน

2) สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมตามโครงการนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงหรือนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติใหกับนักเรียน ดังนี้

1) จัดทําหลักสูตรสถานศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับกลุม

สาระการเรียนรู 8 กลุมสาระฯ และกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยรวมกันออกแบบแผนการจัดการเรียนรูเนน

การมีสวนรวมโดยผานกระบวนการ Active Learning

2) สามารถนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซ่ึงเปนนามธรรมมาประยุกตใชอยางเปน

รูปธรรม และควรใชเวลาในการอบรมมากกวานี้ จะไดรูถึงการทําความดีตามรอยพระยุคลบาทและตาม

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมากกวานี้

3) จัดกิจกรรมในเรื่องการรักษาความสะอาด การคัดแยกขยะใหเปนสัดสวนงายตอการ

จัดเก็บ ตลอดจนการรักษาประเพณีอันดีงามของไทย

4) มีการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูแบบฐานเศรษฐกิจพอเพียงใหสอดคลองกับสภาวะ

ปจจุบัน และเสริมสรางแนวคิดใหกับผูเรียน

5) สรางภูมิคุมกัน ในการดําเนินชีวิตของนักศึกษาเอง ของครอบครัว และชุมชนอยางมีความสุข

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) นักเรียน นักศึกษา เขาใจความสําคัญและหลักในการประพฤติตนเปนคนดี มีคุณธรรม

จริยธรรม ธรรมาภิบาลตามคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ สามารถคิด วิเคราะห ตัดสินใจ ประพฤติ

ปฏิบัติตามหลักธรรม กฎระเบยีบ วัฒนธรรมอันดีงามของสังคม มีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมทําความดี

ตามรอยพระยุคลบาท กิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรรมเพ่ือประโยชนตอ

ตนเอง ชุมชน ทองถ่ิน

2) โครงการนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหรือนอมนําแนวคิดตาม

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) งานนโยบายดําเนินการไมตอเนื่อง ผูบริหาร/ครูผูสอน ไมใหความสนใจงานนโยบาย เพราะ

เปลี่ยนแปลงบอย และมีมากเกินไป

2) การจัดสรรงบประมาณไมตรงตามระยะเวลาในการจัดกิจกรรม และไมเพียงพอตอการบริหาร

จัดการ

3) ขาดความรูความเขาใจในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูท่ีปลูกฝงคุณลักษณะพอเพียง ผานสื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู ท่ีสอดคลองกับการวัดและประเมินผล ขาดการพัฒนาแหลงเรียนรู การจัดสภาพบริบทสิ่งแวดลอมในสถานศึกษาใหเอ้ือตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4) มีกรรมการนิเทศมากเกินไป เชน คณะนิเทศ EMS RT และนิเทศอาสา ควรบูรณการกันใหมีชุดเดียว

Page 155: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

116

5) การสงเสริมพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมตองใชเวลาและดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง

จริงจัง และมีสวนรวมจากทุกภาคสวนในการสรางพฤติกรรมท่ีพึงประสงค

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรจัดสรรงบประมาณใหตรงตามระยะเวลาในการจัดกิจกรรม

2) ควรมีการติดตามอยางตอเนื่อง/สมํ่าเสมอ เพ่ือพัฒนาและสงเสริมนโยบายคุณธรรม

อยางตอเนื่องและยั่งยืน

3) ควรเปนกิจกรรมในชีวิตประจําวันของนักเรียน เชน การไหว การกราบ การสวดมนตไหว

พระ การชวยเหลือพอแม ผูปกครอง

4) ไมควรนําเอาตัวชี้วัดอ่ืนมาวัดและประเมินผล ควรนําเอาตัวชี้วัดจากหลักสูตร และ

คุณลักษณะอันพึงประสงคมาใชวัดและประเมินผล กําหนดพฤติกรรมท่ีสอดคลองกับคุณลักษณะ

พฤติกรรมท่ีพึงประสงคของหลักสูตรเพ่ือความไมซํ้าซอน

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ผูประเมินดานสถานศึกษาคุณธรรมควรมีความรูความเขาใจหลักเกณฑการประเมินทุก

สถานศึกษาตามสังกัด

2) ควรใหมีการประกวดโครงงานคุณธรรมท้ัง 4 ดาน เพ่ือสรางขวัญและกําลังใจ ลงสู

สถานศึกษาและตัวผูเรียนใหมากและตอเนื่อง

นโยบายท่ี 11 การขับเคล่ือนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค

1. ผลการดําเนินการ

1) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด ไดดําเนินการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติและยุทธศาสตร

กระทรวงสูการปฏิบัติ โดยไดนํานโยบายและยุทธศาสตรชาติ ยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ เสนอตอ

คณะกรรมการ เพ่ือรับทราบนโยบายและขับเคลื่อน จัดทําแผนปฏิบัติการจังหวัด ปงบประมาณ พ.ศ. 2561

โดยการบูรณาการแผนงาน/โครงการ ในหนวยงานการศึกษาในจังหวัดใหสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติและ

ยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ นําแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด พ.ศ. 2562 – 2565 แผนปฏิบัติการ

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 จังหวัด และแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของ

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด เสนอตอคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดเพ่ือพิจารณาอนุมัติ และมีมติ

อนุมัติแผนฯ เม่ือคราวประชุมคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด ครั้งท่ี 7/2560 วันท่ี 25 ตุลาคม พ.ศ. 2560

2) จัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยจังหวัด พ.ศ. 2561-2564

3) จัดทํากิจกรรม/โครงการตามแผนบูรณาการ เชน โครงการสรางประสบการณอาชีพ (Work

Experience) ของนักเรียนชั้น ม. 3 โครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทํารูปแบบและแนวทาง

การพัฒนาหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา และยกระดับ

ผลสัมฤทธิ์โอเน็ตระดับชั้น ป.6 , ม.3, ม.6 โรงเรียนเอกชนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ต่ํา

Page 156: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

117

4) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีการจัดระบบขอมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือ

การศึกษาไดตามอํานาจหนาท่ีและภารกิจโดย ศึกษาวิเคราะหขอมูลพ้ืนฐานทางการศึกษา รวบรวมขอมูล

เพ่ือใชเปนแนวทางในการจัดเก็บขอมูลสารสนเทศทางการศึกษา จัดตั้งศูนยดิจิตอลทางการศึกษาใน

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด

5) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดมีกระบวนการประสานงานและพัฒนาเครือขายการปฏิบัติงานท่ี

มีประสิทธิภาพและเปนท่ีพึงพอใจของผูรับบริการและผูท่ีเก่ียวของ โดยมีการแตงตั้งชมรมศึกษานิเทศกใน

ระดับจังหวัดและระดับสํานักงานศึกษาธิการภาค 12 เพ่ือขับเคลื่อนการดําเนินงานตามนโยบายและการ

ประสานงาน ประชุมหนวยตรวจสอบภายใน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา และ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เพ่ือขับเคลื่อนการดําเนินงานดานการตรวจสอบภายในและการ

ประสานงานมีการประสานผานชองทางท่ีหลากหลาย เชน การประสานงานดวยตัวเอง จดหมาย

อิเล็กทรอนิกส, หนังสือราชการ, โทรศัพท และโทรสาร เปนตน

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) โรงเรียนสงเสริมและจัดใหมีการใชสื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน รวมถึง

กระบวนการนิเทศอยางเปนระบบสงผลใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึนอยางตอเนื่องและยั่งยืน

จนเปนท่ียอมรับในระดับหนวยงาน และเปนโรงเรียนยอดนิยมในระดบัประเทศ

2) ใช SARAKHAM Model ในการพัฒนาขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาเพ่ือเกิดประโยชนสูงสุดตอผูเรียน

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) นโยบายระดับภูมิภาคและระดับหนวยงานตนสังกัดไมตอเนื่อง

2) แผนงาน/โครงการตามยุทธศาสตรและนโยบายของหนวยงานทางการศึกษายังไมสามารถ

บูรณาการไดท้ังหมด

3) หนวยงานในระดับภูมิภาคมีหลายหนวยงานท่ีเก็บขอมูลเพ่ือการติดตามและประเมินผลใน

เรื่องเดียวกัน ทําใหเกิดความซํ้าซอนและสรางภาระใหกับหนวยงานท่ีปฏิบัติในดานการรายงานขอมูล และ

พบปญหาเรื่องขอมูลท่ีไมตรงกัน

4) การทําความเขาใจบทบาทและหนาท่ีของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดยังไมชัดเจน และไมได

รับความรวมมือจากหนวยงานท่ีเก่ียวของ

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) หนวยงานท่ีเก่ียวของควรเห็นความสําคัญและเขาใจบทบาทท่ีสํานักงานศึกษาธิการ

จังหวัดจะตองดําเนินการในสวนท่ีเก่ียวของ

2) กระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานตนสังกัดควรกําหนดนโยบายเพ่ือขับเคลื่อนนโยบาย

อยางตอเนื่อง และหนวยงานทางการศึกษาในระดับจังหวัดควรบูรณาการแผนงาน/โครงการตาม

ยุทธศาสตรและนโยบายใหครอบคลุม

3) หนวยงานตางๆ ในระดับภูมิภาคประสานงานการจัดเก็บและการใชขอมูลท่ีเหมือนกัน

Page 157: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

118

โดยมอบหมายใหหนวยงานใด หนวยงานหนึ่งเปนเจาภาพในการจัดเก็บขอมูล แลวนําขอมูลท่ีไดไปใช

รวมกันตามวัตถุประสงค ของแตละหนวยงาน ซ่ึงจะทําใหลดภาระการ รายงานและความซํ้าซอนของ

ขอมูลท่ีจัดเก็บในระดับพ้ืนท่ีและไมเกิดปญหาขอมูลไมตรงกัน

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) หนวยงานตันสังกัด ควรมีการจัดอบรมและพัฒนาบุคลากร ใหความรูความเขาใจดาน

การจัดเก็บขอมูลเพ่ือการติดตามและประเมินผล

นโยบายท่ี 12 การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

ประเด็นการตรวจราชการ :

-

นโยบายท่ี 13 การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต

และพ้ืนท่ีพิเศษ

-

นโยบายท่ี 14 การพัฒนาครูท้ังระบบ

1. ผลการดําเนินการ

1) ครูท่ีผานการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร นําผลการพัฒนามาใชในการ

เรียนการสอน โดยครูท่ีเขารับการพัฒนาไดนําผลการพัฒนาไปปฏิบัติงานท่ีรับผิดชอบและจัดการเรียนการ

สอนในชั้นเรียนมีการใชและทดลองอยางหลากหลายกับผูเรียนและวิชาชีพใหสูงข้ึนจริง ผลิตสื่อและพัฒนา

สื่อการสอน โดยเลือกใชสื่อใหเหมาะสมกับเนื้อหาการสอน ใชเทคโนโลยีและสรางนวัตกรรมทางการเรียนรู

ใหเหมาะสมกับผูเรียนไดดียิ่งข้ึน มีกิจกรรมการเรียนรูในหองเรียนท่ีหลากหลายและสามารถบูรณาการการ

เรียนรูกับวิชาอ่ืนๆ ใหดียิ่งข้ึน และพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู และพัฒนาการของนักเรียนรวมท้ัง

ความกาวหนาทางวิชาชีพครู

2) ครูท่ีผานการพัฒนาตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู (PLC) นําผลการพัฒนามา

ปรับการเรียนการสอน (การจัดการศึกษาของสถานศึกษา) โดยปรับพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคของนักเรียน

ไปในทางท่ีดีข้ึน มีการรวมกลุมท้ังในสถานศึกษา และศูนยเครือขายพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการ

แลกเปลี่ยนขอมูลสารสนเทศรวมกัน เกิดนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนในแตละกลุมวิชา เกิดโรงเรียน

ตนแบบในการนํากระบวนการ PLC ไปใชเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน พลิกโฉมโรงเรียนขนาดเล็กสู

ความเปนเลิศ ดวยนวัตกรรมการผลิตสื่อประกอบการเรียนการสอน และอบรมเพ่ือพัฒนาครูประจําการ

รูปแบบชุมชนแหงการเรียนรู สูสถานศึกษา (PLC)

3) หลักสูตรการพัฒนาครูท่ีเปนจุดเนนของสังกัด ไดแกหลักสูตรภาษาไทย โดยสนับสนุนให

ขาราชการครูเขารับการพัฒนาตามความตองการตามโครงการพัฒนาครูเต็มรูปแบบ เพ่ือพัฒนาความรู

ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ของผูเรียนสูงข้ึน

Page 158: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

119

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) นวัตกรรมยกระดับคุณภาพการอานออกเขียนได โดยใชนวัตกรรมแพรวาโมเดล นวัตกรรม

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โปงลางโมเดล

2) ขาราชการครูเกิดความรูความเขาใจในการดําเนินการตามแนวทาง และการนํากระบวนการPLC

ไปใชเกิดการรวมกลุม PLC ระดับชั้นเรียน ระดับกลุมสาระการเรียนรู ระดับสถานศึกษาและระดับศูนย

เครือขายพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพ่ือใหทุกคนทราบถึงเปาประสงคในการพัฒนาผูเรียนในแตละสภาพ

บริบทของผูเรียนในสถานศึกษา

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ศูนยพัฒนาหลักสูตรอยูหางไกลพ้ืนท่ี และการเขาลงทะเบียนในระบบยุงยากหลายข้ันตอน

และหลักสูตรท่ีจัดอบรมพัฒนาไมตรงตามความตองการของครู

2) เปนนโยบายท่ีดําเนินการในชวงกลางปงบประมาณทําใหไมไดกําหนดกิจกรรมไวในแผนงาน/

โครงการ จึงตองใชงบประมาณจากโครงการอ่ืน ๆ มาสนับสนุน บางสวนไมสามารถเบิกจายไดทันตาม

กําหนดเวลา ทําใหครูตองสํารองเงินคาลงทะเบียนในการอบรมพัฒนา

3) การสรางชุมชนแหงการเรียนรูเปนเรื่องท่ีตองอาศัยความรวมมือจากบุคลากรทุกฝาย

โดยเฉพาะบุคลากรท่ีจะทําหนาท่ีโคช และพ่ีเลี้ยงซ่ึงตองมีความรูความเขาใจท่ีถูกตอง มีทักษะในการ

ปฏิบัติหนาท่ีและตองมีเวลาในการลงปฏิบัติงานรวมกัน

4) ระยะเวลาดําเนินการเรงดวนเกินไป ทําใหครูท่ีมีความประสงค จะเขารับการอบรมพัฒนา ไม

สามารถลงทะเบียนเขารับการพัฒนาตามความประสงคไดทันตามกําหนดเวลา ทําใหครูจํานวนมากเสีย

โอกาสท่ีจะเขารับการพัฒนา

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรให เขตพ้ืนท่ีการศึกษาได มีสวนรวมในการวิเคราะหหลักสูตร และจัดสรร

งบประมาณใหเขตพ้ืนท่ีการศึกษาในการออกนิเทศติดตามครูท่ีผานการอบรมพัฒนาในการนําความรูไปใช

ในการสอน

2) ควรจัดทําแนวปฏิบัติหรือคูมือในการดําเนินงานตามนโยบายใหสํานักงานเขตพ้ืนท่ี

การศึกษาเพ่ือใชเปนแนวทางในการขยายผลสูสถานศึกษา

3) ควรแจงหลักสูตรท่ีจะพัฒนาใหทราบลวงหนา เพ่ือครูจะไดมีเวลาศึกษาประกอบการ

ตัดสินใจเขารับการพัฒนา และการลงทะเบียนเขารับการพัฒนาควรมีระยะเวลา เพ่ือไมใหครูเสียโอกาสเขา

รับการพัฒนา

4) การเบิกจายเงินในการเขาอบรมพัฒนา บางสวนไมสามารถเบิกจายไดทันตาม

กําหนดเวลา ทําใหครูบางสวนตองสํารองจายเงินคาลงทะเบียนในการอบรมพัฒนา

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

Page 159: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

120

1) การพัฒนาตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู PLC เปนหัวใจสําคัญท่ีจะทําให

เกิดการพัฒนาตามกระบวนการคือ Logbook ท่ีไดบันทึกการดําเนินการตามกิจกรรม ท้ังการแลกเปลี่ยน

เรียนรู ประเด็นปญหา แนวทางการแกไขปญหา รวมท้ังการติดตาม สืบคนขอมูลท่ีเปนฐานในการพัฒนา

ควรเรงดําเนินการนําระบบบันทึกขอมูล Logbook อิเล็กทรอนิกสท่ีสมบูรณมาใช

2) การพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร ควรลดข้ันตอนในการอนุมัติเขารับ

การอบรมพัฒนา หลักสูตรท่ีขาราชการครูสนใจไมเพียงพอตอจํานวนครูท่ีตองการเขารับการอบรมพัฒนา

และบางหลักสูตรท่ีนาสนใจ แตหนวยพัฒนาอยูหางไกล

นโยบายท่ี 15 การพัฒนาผูเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด

1. ผลการดําเนินการ

1) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาไดจัดทําแผนพัฒนาลูกเสือ

จังหวัด/แผนพัฒนาลูกเสือเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ไดมีการดําเนินการโดย จัดทําโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ

อบรมทบทวน ผูบังคับบัญชาลูกเสือในสถานศึกษา ชุมนุมลูกเสือจังหวัด ปรับปรุงคายลูกเสือ สรางหอง

ลูกเสือ จัดต้ังสมาคมสโมสรลูกเสือ ฝกอบรมลูกเสือหนวยตาง ๆ เชน ลูกเสือ 3 ดี อบรมนายหมูลูกเสือ

อบรมลูกเสือชอสะอาด ฯลฯ จัดงาน/กิจกรรมเก่ียวกับงานลูกเสือ และสงเสริม สนับสนุนและพัฒนา

เก่ียวกับงานการลูกเสือ เนตรนารีและงานพัฒนา และการขอใชคายลูกเสือ เปนตน

2) ปลูกฝงคุณธรรม สํานึกความเปนไทย ความมีระเบียบวินัย และคานิยมอันพึงประสงค ใหแกนักเรียนทุกคน โดยใชกระบวนการลูกเสือ 3) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาไดขับเคลื่อนการดําเนินงานตาม

แผนพัฒนาลูกเสือจังหวัด/เขตพ้ืนท่ีการศึกษา โดยมีการดําเนินการขับเคลื่อนการดําเนินงานตาม

แผนพัฒนาลูกเสือ คือ ใหโรงเรียนในสังกัดจัดกิจกรรมลูกเสือตามหลักสูตรลูกเสือทุกโรงเรียน มีการเขา

รวมกิจกรรมวันสําคัญของลูกเสือและไดบําเพ็ญประโยชนตามท่ีสาธารณะและชวยเหลือผูอ่ืนทุกโอกาส มี

การติดตามและประเมินผลการดําเนินงานกิจกรรมสงเสริมและพัฒนากิจการลูกเสือของสถานศึกษาทุก

แหงในสังกัด

4) ประชุมชี้แจงผูบริหารสถานศึกษาและบุคลากรท่ีเก่ียวของในการจัดทํารายงานผลการจัด

กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผูบําเพ็ญประโยชน เพ่ือการเสริมสรางคานิยมของคนไทย 12

ประการ

5) วางแผนจัดกระบบขอมูลสารสนเทศและการบริหารงานลูกเสือ ยุวกาชาด และผูบําเพ็ญ

ประโยชนใหสามารถดําเนินงานจามภารกิจไดอยางมีประสิทธิภาพ และพัฒนาระบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล ศึกษา คนหวา วิเคราะห วิจัยกิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาดและผูบําเพ็ญประโยชน ชวยเหลือสถานศึกษาและหนวยงานท่ีเก่ียวของอยางตอเนื่อง 6) สถานศึกษาใชกระบวนการลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาดในการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรม

เพ่ือเสริมสรางความเปนพลเมือง (Civic Education) โดยดําเนินโครงการตามกฎและคําปฏิญาณของ

ลูกเสือ และคติพจนของลูกเสือ จัดการเรียนการสอนลูกเสือในสถานศึกษา เนนกฎระเบียบของลูกเสือ เปน

Page 160: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

121

ผูท่ีมีความรับผิดชอบตอตนเองและตอสังคม ดําเนินโครงการสงเสริมใหลูกเสือปฏิบัติตามกฎของลูกเสือ

และคําปฏิญาณของลูกเสือ นําหลักคุณธรรม 8 ประการเปนหลักในการเรยีนการสอน และปลูกฝงจิตสํานึก

ใหนักเรียนมี ความรักชาติ จิตสาธารณะการชวยเหลือสังคม ความเปนระเบียบวินัย ความอดทน ความสามัคคี ความรับผิดชอบตอตนเองและสังคมอยูในกรอบ มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงคคานิยม 12 ประการ 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ผูบริหารองคกรเปนผูนําในการถายทอดยุทธศาสตรแกบุคลากรในสังกัดเพ่ือสรางความเขาใจ

และตระหนักในหนาท่ีเพ่ือนําไปสูความสําเร็จ สรางทีมงานในระดับปฏิบัติ และระดับการกํากับ ติดตามและประเมินผล ลูกเสือ เนตรนารี ผูบังคับบัญชาลูกเสือ ไดแสดงออกถึงความจงรักภักดีแดพระบาทสมเด็จ

พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว พระผูพระราชทานกําเนิดลูกเสือไทย มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มี

ความเปนผูนําท่ีดี มีความรับผิดชอบ มีทักษะในการทํางานรวมกัน รูจักการแกไขปญหา มีเหตุผล และ

สามารถตัดสินใจไดอยางเหมาะสม

2) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ไดรับทราบขอเท็จจริงเก่ียวกับความสําเร็จ ความกาวหนา

สภาพปญหา อุปสรรคในการดําเนินงานจากการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานศึกษาและ

สงเสริมและพัฒนากิจการลูกเสือของสถานศึกษาในสังกัด

3) นักเรียนมีความสุขท่ีไดทํากิจกรรมลูกเสือมีจิตบริการ และเปนผูมีคุณธรรมพ้ืนฐาน ขยัน

ประหยัด ซ่ือสัตย มีวินัย สุภาพ สามัคคี มีน้ําใจพ่ึงตนเองได และชวยเหลือสังคมได

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย

1) ขาดบุคลากรทางลูกเสือท่ีมีความรู ทักษะ ความชํานาญดานลูกเสือ ความมุงม่ันในการปฏิบัติ

ตามหนาท่ีของผูบริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และผูมีสวนเก่ียวของมีนอย 2) ขาดการติดตามและประเมินผลในกิจกรรมลูกเสือ

3) โรงเรียนจัดกิจกรรมลูกเสือไมตรงตามหลักสูตร และใชชั่วโมงลูกเสือไปจัดกิจกรรมอ่ืน ๆ

4) ขาดงบประมาณ/งบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานลูกเสือไมเพียงพอ

4. ขอเสนอแนะ

4.1 ขอเสนอแนะในการปรบัปรุง/พัฒนานโยบาย

1) ควรจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานดานลูกเสือใหมากข้ึน และเพียงพอ

2) ควรมีการจัดฝกอบรม ทบทวน พัฒนาเพ่ือเพ่ิมความรู ทักษะทางดานลูกเสือใหกับ

บุคลากรทางการลูกเสืออยางตอเนื่อง

3) ควรจัดประชุมชี้แจงแนวทางการสอนวิชาลูกเสือใหกับผูบังคับบัญชาลูกเสือ และแตงตั้ง

ทีมงานออกติดตามใหกําลังใจ

4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย

Page 161: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

122

1) ควรสงเสริมพัฒนางานดานลูกเสืออยางตอเนื่องท้ังดานงบประมาณ บุคลากร การจัดหา

วัสดุอุปกรณในการจัดการเรียนการสอนลูกเสือในสถานศึกษาใหครบถวนเพ่ือเสริมสรางความเปนพลเมือง

ท่ีดีของสังคม

2) ควรใหสถานศึกษาจัดการเรียนการสอนอยางสมํ่าเสมอ มีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการรายงานอยางตอเนื่อง และแจงวัตถุประสงครวมกันกับผูท่ีมีสวนเก่ียวของใหความรวมมือและรวมรับผิดชอบ 3) ควรสรางขวัญกําลังใจใหผูบริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษาท่ีปฏิบัติงานตามนโยบาย

Page 162: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

120

ภาคผนวก

Page 163: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

121

ภาคผนวก ก นโยบายการตรวจราชการ รอบท่ี 1 ปงบประมาณ 2561

Page 164: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

122

ภาคผนวก ข เครื่องมือ

แบบรายงานการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ รอบท่ี 1 ปงบประมาณ 2561

แบบรายงานผลการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิาร รอบท่ี 1 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสํานักงานศึกษาธิการภาค สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด และหนวยงานการศึกษาในจังหวัด

ผลการติดตามประเมินผลการจดัการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการตามประเด็นนโยบายการตรวจราชการแตละประเด็นนโยบายและตัวชี้วัดการตรวจราชการ รอบท่ี 1 ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสํานักงานศึกษาธิการภาค/สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/หนวยงานการศึกษาในจังหวัด สรุปไดดังนี้ นโยบายท่ี 1 การยกระดับคุณภาพการศึกษา (สพป./สพม./สศศ.(ร.ร.ประชานุเคราะห)/ สช./ สกอ.(ร.ร.สาธิต)/สอศ./กศน.) 1.1 การยกระดับคะแนน O-NET/N-NET/V-NET 1.1.1 การตรวจสอบ/วิเคราะหจุดออนจุดแข็ง ท้ังรายกลุมสาระและรายสาระ KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีไดตรวจสอบ/วิเคราะหจุดออนจุดแข็ง ท้ังรายกลุมสาระ และรายสาระ 1.1.2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และแกปญหาจุดออน เพ่ือพัฒนาจุดแข็งรายสาระ KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีไดจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และแกปญหาจุดออน เพ่ือพัฒนาจุดแข็งรายสาระ 1.1.3 การกําหนดเปาหมาย การยกระดับคาเฉลี่ย O-NET/N-NET/V-NET ตามแนวทางกําหนด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซ่ึงออกตามกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑและวิธีการ การประกันคุณภาพการศึกษา KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีมีการกําหนดเปาหมายการยกระดับคาเฉลี่ย O-NET/N-NET/ V-NET ตามแนวทางกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาซ่ึงออกตาม กฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑและวิธีการ การประกันคุณภาพการศึกษา ประเด็นคําถาม 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด 1.1 จํานวนสถานศึกษาท่ีมีการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจราชการและตัวชี้วัด

หนวยงาน/สถานศึกษา (สังกัด)

จํานวนสถานศึกษาท้ังหมด

การดําเนินงานของสถานศึกษา มีการตรวจสอบ/วิเคราะหจุดออนจุดแข็งผลการทดสอบ O-

จัดกิจกรรมการเรียนการสอน และแกปญหาจุดออนเพ่ือ

กําหนดเปาหมายการยกระดับคาเฉลี่ย O-NET/N-NET/V-NET

แบบ รต 1/61-1

Page 165: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

123

NET/N-NET/ V-NET พัฒนาจุดแข็งรายสาระ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

สพป. สพม. สศศ. (ร.ร.ประชานุเคราะห) สช. สกอ.(ร.ร.สาธิต) สอศ. กศน. อ่ืนๆ (ระบุ)........................... 1.2 รายสาระ/กลุมสาระ หรือรายทักษะ/รายสมรรถนะใด ท่ีเปนจุดแข็งจากการวิเคราะหผลการทดสอบO-NET/N-NET/ V-NET ภาพรวมของสังกัด/หนวยงานโดยเรียงลําดับมากไปหานอย 1) รายสาระ/รายทักษะ.........................................กลุมสาระ/รายสมรรถนะ………………………… 2) รายสาระ/รายทักษะ.........................................กลุมสาระ/รายสมรรถนะ………………………… 3) รายสาระ/รายทักษะ.........................................กลุมสาระ/รายสมรรถนะ………………………… 4) รายสาระ/รายทักษะ..........................................กลุมสาระ/รายสมรรถนะ……………………….. 5) รายสาระ/รายทักษะ..........................................กลุมสาระ/รายสมรรถนะ………………………. 1.3 รายสาระ/กลุมสาระ หรือรายทักษะ/รายสมรรถนะใด ท่ีเปนจุดออนของการวิเคราะหผลการทดสอบ O-NET/N-NET/V-NET ภาพรวมของสังกัด/หนวยงานโดยเรียงลําดับมากไปหานอย 1)รายสาระ/รายทักษะ.............................................กลุมสาระ/รายสมรรถนะ……………………… 2) รายสาระ/รายทักษะ............................................กลุมสาระ/รายสมรรถนะ……………………… 3) รายสาระ/รายทักษะ............................................กลุมสาระ/รายสมรรถนะ……………………… 4) รายสาระ/รายทักษะ............................................กลุมสาระ/รายสมรรถนะ……………………… 5) รายสาระ/รายทักษะ............................................กลุมสาระ/รายสมรรถนะ……………………… 1.4 หนวยงาน/สถานศึกษามีวิธีการวิเคราะหจุดออนจุดแข็งผลการทดสอบ O-NET/N-NET/ V-NETอยางไร ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 1.5 หนวยงาน/สถานศึกษาสงเสริมสนับสนุนหรือจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือแกปญหาจุดออนท่ีพบจากการผลการทดสอบ O-NET/N-NET/ V-NET อยางไร ......................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................

Page 166: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

124

1.6 หนวยงาน/สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมเพ่ือเสริมจุดแข็งผลการทดสอบ O-NET/N-NET/ V-NET ของสถานศึกษาอยางไร ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. 1.7 สถานศึกษากําหนดเปาหมายในการยกระดับคาเฉลี่ยO-NET/N-NET/V-NET ไดเหมาะสมและสอดคลองกับขอมูลสารสนเทศในปจจุบันหรือไม/อยางไร ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือมีผลกระทบทางบวกแกผูเรียนอยางไรบาง ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด ของความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม

1.

2.

3.

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย 3.1 ..................................................................................................................................................... 3.2 ..................................................................................................................................................... 3.3 ..................................................................................................................................................... 4. ขอเสนอแนะ 4.1 ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ...............................................................................................................................................

Page 167: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

125

3) ............................................................................................................................................... 4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ............................................................................................................................................... 1.2 การยกระดับคะแนนเฉล่ีย PISA 1.2.1 การเตรียมความพรอมของครูเพ่ือรองรับการทดสอบ PISA (เชน การศึกษาเรียนรู แบบทดสอบ PISA) KPI: รอยละของสถานศึกษาทุกระดับท่ีไดเตรียมความพรอมของครูเพ่ือรองรับการทดสอบ PISA (เชน การศึกษาเรียนรูแบบทดสอบ PISA) 1.2.2 การปรับกระบวนการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกับการทดสอบ PISA KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีเปดสอนชั้น ม.3 ไดปรับกระบวนการเรียนการสอนท่ี สอดคลองกับการทดสอบ PISA 1.2.3 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหนักเรียนฝกทําแบบทดสอบตามแนวทางของ PISA KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีเปดสอนชั้น ม.3 ไดจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือ เสริมสรางประสบการณการทดสอบตามแนวทางของการสดสอบ PISA แกผูเรียน ประเด็นคําถาม 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด 1.1 จํานวนสถานศึกษาท่ีมีการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจราชการและตัวชี้วัด

หนวยงาน/สถานศึกษา (สังกัด)

จํานวนสถาน ศึกษาท้ังหมด

จํานวนสถานศึกษา

ท่ีมี นร.อายุ 15ป (ม.ตน, ม.ปลาย, ปวช.) ท้ังหมด

สถานศึกษาท่ีเตรียมความพรอมใหกับครู เพ่ือรองรับการทดสอบ PISA

สถานศึกษาท่ีมี นร.อายุ 15 ป (ม.ตน, ม.ปลาย, ปวช.) ไดปรับกระบวนการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกับการทดสอบ PISA

สถานศึกษาท่ีมี นร.อายุ 15 ป (ม.ตน, ม.ปลาย, ปวช.) ไดจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือเสรมิสรางประสบการณการทดสอบตามแนวทางของการทดสอบ PISA

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

สพป. สพม. สศศ. (ร.ร.ประชานุเคราะห) สช. สกอ.(โรงเรียนสาธิต) สอศ.

Page 168: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

126

อ่ืนๆ (ระบุ)................... 1.2 สถานศึกษามีการเตรียมความพรอมใหกับครู เพ่ือรองรับการทดสอบ PISA อยางไร ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 1.3 สถานศึกษาท่ีมีนักเรียนอายุ 15 ป (ม.ตน, ม.ปลาย, ปวช.)มีการปรับกระบวนการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกับการทดสอบ PISA อยางไร ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 1.4 สถานศึกษาท่ีมีนักเรียนอายุ 15 ป (ม.ตน, ม.ปลาย, ปวช.)จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือเสริมสรางประสบการณการทดสอบตามแนวทางของการสดสอบ PISA แกผูเรียน อยางไรบาง ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรอืมีผลกระทบทางบวกแกผูเรียนอยางไรบาง ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด ของความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม

1.

2.

3.

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย 3.1 ..................................................................................................................................................... 3.2 ..................................................................................................................................................... 3.3 .....................................................................................................................................................

Page 169: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

127

4. ขอเสนอแนะ 4.1 ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ............................................................................................................................................... 4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ...............................................................................................................................................

นโยบายที่ 2 การจัดการศึกษาปฐมวัย (สพป./สช./สกอ./อปท./ตชด./อ่ืนๆ)

2.1 การเขาถึงโอกาสทางการศึกษาปฐมวัย KPI:รอยละของนักเรียนปฐมวัยตอประชากรกลุมอายุ ๓ – ๕ ป KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีมีการจัดทําระบบปองกันภัยท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา (นิยาม: ระบบปองกันภัยท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษาหมายถึง การดําเนินงานดานอาคารสถานท่ี ดานอุปกรณเครื่องใชตางๆ ดานเครื่องเลน ดานการรับสงนักเรียนและการจราจร) ประเด็นคําถาม 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด 1.1 จํานวนนกัเรียนปฐมวัย (อนุบาล 1-3 และเด็กเล็ก)และจํานวนสถานศึกษาท่ีเปดสอนระดับปฐมวัย ปการศึกษา 2560

หนวยงาน/สถานศึกษา (สังกัด)

จํานวนสถานศึกษา

ท่ีเปดสอนระดับปฐมวัยท้ังหมด (แหง)

จํานวนประชากรวัยเรียน อายุ 3-5 ป (คน)

นักเรียนปฐมวัย (อนุบาล 1-3 และเด็กเล็ก)

สถานศึกษาท่ีมีระบบปองกันภัยท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ สพป. สช. สกอ.(โรงเรียนสาธิต) อปท. ตชด.

Page 170: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

128

อ่ืนๆ (ระบุ)................... หมายเหตุ: จํานวนประชากรวัยเรียน อายุ 3-5 ป ใชขอมูลจากสํานักทะเบียนราษฎรของแตละพ้ืนท่ี (อําเภอ/ จังหวัด) 1.2 สถานศึกษาไดดําเนินการในดานตางๆ อยางไรเพ่ือเปนการปองกันภัยท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษาใหกับผูเรียนระดับปฐมวัย - ดานอาคารสถานท่ี ……………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... - ดานอุปกรณเครื่องใชตางๆ ……………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... - ดานเครื่องเลน …………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… - ดานการรับสงนักเรยีนและการจราจร ……………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. - ดานโภชนาการ ................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. - ดานสุขอนามัย..................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. - ดานอ่ืนๆ (ถามี) …………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือมีผลกระทบทางบวกแกผูเรียนอยางไรบาง ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. 2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด ของความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม

1. 2. 3.

Page 171: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

129

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย 3.1 ..................................................................................................................................................... 3.2 .................................................................................................................................................... 3.3 ..................................................................................................................................................... 4. ขอเสนอแนะ 4.1 ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ...............................................................................................................................................

นโยบายที่ 3 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ (สพป./สพม./สศศ./สช./สอศ./กศน.) 3.1 การขยายผลการอบรมโครงการ Boot Camp และการจัดการอบรมขยายผลใหโรงเรยีน เครือขายของ Master Trainer (ตามโครงการ Boot Camp) ในสถานศึกษา KPI: รอยละของครูผูผานการอบรมโครงการ Boot Camp ในสถานศึกษาสามารถนําเทคนิคการเรียน การสอนภาษาอังกฤษไปใชในการสอน KPI: รอยละของ Master Trainer (ตามโครงการ Boot Camp) ในสถานศึกษาสามารถเปนครูแกนนํา 3.2 การจัดสภาพแวดลอมเพ่ือสงเสริมการเรียนรู (เชน ปายช่ือตางๆ ใหมีภาษาอังกฤษควบคู ภาษาไทย รวมท้ังครู นักเรียน ไดสนทนาภาษาอังกฤษ วันละ 1 ประโยค KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีสามารถจัดสภาพแวดลอมภายในหองเรียน และนอกหองเรียน เพ่ือสงเสริมการเรียนรู ประเด็นคําถาม

1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด 1.1 ขอมูลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด

สังกัด

ครผููผานการอบรมโครงการ Boot Camp

Master Trainerตามโครงการ Boot Camp

สถานศึกษาท่ีจัดสภาพแวดลอมภายในหองเรียน

ครูท่ีผานการอบรม Boot

ครูท่ีผานการอบรม Boot Camp

รอยละ Master Trainer ตาม

Master Trainer ตาม

รอยละ

Page 172: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

130

Camp (คน)

สามารถนําเทคนิคการเรียนการสอน

ภาษาอังกฤษไปใชในการสอน (คน)

โครงการ Boot Camp (คน)

โครงการ Boot Camp ที่สามารถเปน

ครูแกนนํา (คน)

และนอกหองเรียน เพ่ือสงเสริมการเรยีนรู (แหง)

สพป สพม. สศศ.(ร.ร.ประชา นุเคราะห)

สช. สอศ. กศน. 1.2 สภาพแวดลอมภายในหองเรียน และนอกหองเรียนท่ีสถานศึกษาจัดเพ่ือสงเสริมการเรียนรูภาษาอังกฤษมีอะไรบาง -สภาพแวดลอมภายในหองเรียน ไดแก..................................................................................... ............................................................................................................................................................................. -สภาพแวดลอมภายนอกหองเรียน ไดแก ................................................................................ ............................................................................................................................................................................. 1.3 สถานศึกษามีวิธีการหรือจัดกิจกรรมเพ่ือสงเสริมการใชภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารอยางไร ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือมีผลกระทบทางบวกแกผูเรียนอยางไรบาง ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด ของความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม

1. 2.

Page 173: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

131

3. 3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย 3.1 ..................................................................................................................................................... 3.2 ..................................................................................................................................................... 3.3 ..................................................................................................................................................... 4. ขอเสนอแนะ 4.1 ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ............................................................................................................................................... 4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ...............................................................................................................................................

นโยบายที่ 4 การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห (สพป./สพม./สศศ./สช./สอศ./กศน.)

4.1 การจัดกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือสงเสริมทักษะ การคิดวิเคราะห KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีจัดกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือสรางกระบวนการคิดวิเคราะห KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีมีนวัตกรรมเพ่ือเพ่ิมทักษะการคิดวิเคราะหแกผูเรียน 4.2 การจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา (STEM Education) KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาโดยบูรณาการองคความรูแบบสะเต็มศึกษา

ประเด็นคําถาม

1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด 1.1 ขอมูลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด

สังกัด

จัดกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือสรางกระบวนการคิดวิเคราะห

นวัตกรรมเพ่ือเพ่ิมทักษะการคิดวิเคราะหแกผูเรียน

จัดการศึกษาโดยบูรณาการองคความรูแบบสะเต็มศึกษา

จํานวนสถาน ศึกษาทั้งหมด (แหง)

จํานวนสถาน ศึกษา ที่จัดกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือ

รอยละ

จํานวนสถานศึกษาที่มีนวตักรรมเพ่ือเพ่ิมทักษะการคิด

จํานวนสถานศึกษาที่มีนวตักรรมเพ่ือเพ่ิมทักษะการคิด

เพ่ิมขึน้/ลดลง รอยละ

จํานวนสถานศึกษา ที่จัดการ ศึกษาโดยบูรณาการองคความรู

จํานวนสถานศึกษาที่จัดการ ศึกษาโดยบูรณาการองคความรูแบบ

เพ่ิมขึน้/ลดลง รอยละ

Page 174: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

132

สรางกระบวนการคิดวิเคราะห (แหง)

วิเคราะหแกผูเรียน ปการ ศึกษา 2559 (แหง)

วิเคราะหแกผูเรียน ปการศึกษา 2560 (แหง)

แบบ สะเต็มศึกษา ปการศึกษา 2559 (แหง)

สะเต็มศึกษา ปการศึกษา 2560 (แหง)

สพป. สพม. สศศ. (ร.ร.ประชา นุเคราะห)

สช. สอศ. กศน. 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือมีผลกระทบทางบวกแกผูเรียนอยางไรบาง ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด ของความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม

1.

2.

3.

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย 3.1 ..................................................................................................................................................... 3.2 ..................................................................................................................................................... 3.3 .....................................................................................................................................................

Page 175: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

133

4. ขอเสนอแนะ 4.1 ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ............................................................................................................................................... 4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ...............................................................................................................................................

นโยบายที่ 5 การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ (สพป./สพม./สศศ./สกอ./สช./สอศ.)

5.1 การจัดทําแผนบูรณาการการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพระดับจังหวัด KPI: จํานวนจังหวัดท่ีไดจัดทําแผนและยุทธศาสตรการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมผูเรียนสายอาชีพ 5.2 มาตรการ/เปาหมายการเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ KPI: รอยละของนักเรียนระดับประถมศึกษาถึงระดับมัธยมท่ีไดรับการสรางทัศนคติท่ีดีตออาชีพและ การแนะแนวการศึกษาเพ่ืออาชีพ KPI: สัดสวนผูเรียนสายอาชีวศึกษากับผูเรียนสายสามัญศึกษา

ประเด็นคําถาม

1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด 1.1 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดไดจัดทําแผนและยุทธศาสตรการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมผูเรียนสายอาชีพ หรือไม จัดทําแผนฯ ไมไดจัดทําแผนฯ 1.2 ยุทธศาสตร/มาตรการในการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมผูเรียนสายอาชีพของจังหวัดมีอะไรบาง ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................

Page 176: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

134

1.3 จํานวนนักเรียนประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาท่ีไดรับการสรางทัศนคติท่ีดีตออาชีพและการแนะแนวการศึกษาเพ่ืออาชีพ ปการศึกษา 2560

สังกัด จํานวนนักเรียนท้ังหมด (คน)

จํานวนนักเรียนท่ีไดรับการสรางทัศนคติท่ีดีตออาชีพและการแนะแนวการศึกษา เพ่ืออาชีพ (คน)

รอยละ

ประถม ม.ตน ม.ปลาย รวม ประถม ม.ตน ม.ปลาย รวม สพป. สพม. สศศ. (ร.ร.ประชานุเคราะห)

สกอ. (ร.ร.สาธิต)

สช. อ่ืนๆ (ระบุ) 1.4 หนวยงาน/สถานศึกษาสรางทัศนคติท่ีดีตออาชีพและการแนะแนวการศึกษาเพ่ืออาชีพใหกับผูเรียนอยางไร ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 1.5 จํานวนผูเรียนสายอาชีวศึกษากับผูเรียนสายสามัญศึกษา ปการศึกษา 2560

สังกัด

ผูเรยีนระดับ ม.ปลาย (คน) (สายสามัญ: ม.4-ม.6) *ไมรวมทวิศึกษา

ผูเรียนระบบ ทวิศึกษา (คน)

ผูเรียนระดับ ปวช.(คน) (ปวช.1-ปวช.3) *ไมรวมทวิศึกษา

สพป. สพม. สศศ. (ร.ร.ประชานุเคราะห) สช. สกอ. (ร.ร.สาธิต) สอศ. อ่ืนๆ (ระบุ) เชน อปท..............

Page 177: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

135

2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือมีผลกระทบทางบวกแกผูเรียนอยางไรบาง ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด ของความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม

1. 2. 3. 3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย 3.1 ..................................................................................................................................................... 3.2 ..................................................................................................................................................... 4. ขอเสนอแนะ 4.1 ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ...............................................................................................................................................

นโยบายที่ 6 การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ (สอศ./สพม.) 6.1 สมรรถนะของผูสําเร็จอาชีวศึกษา KPI: รอยละความพึงพอใจของสถานประกอบการตอสมรรถนะผูสําเร็จอาชีวศึกษา 6.2 การเขาสูการมีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระ KPI: รอยละของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาระดับ ปวช. มีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1ป KPI: รอยละของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาระดับ ปวส. มีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ป 6.3 การจัดอาชีวศึกษาแบบมีสวนรวมกับสถานประกอบการเพ่ือใหผูสําเร็จอาชีวศึกษามีประสบการณตรง ในการฝกอาชีพ และมีสมรรถนะท่ีสอดคลองกับความตองการตลาดแรงงาน KPI: รอยละของผูเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

Page 178: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

136

ประเด็นคําถาม 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด 1.1 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการตอสมรรถนะผูสําเร็จอาชีวศึกษา(จําแนกเปนรายสถานศึกษา)

สถานศึกษา ระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด

1.วิทยาลัย.................................................. 2.วิทยาลัย.................................................. 3.วิทยาลัย.................................................. 4.วิทยาลัย.................................................. 5.วิทยาลัย.................................................. 6.วิทยาลัย.................................................. 7.วิทยาลัย.................................................. ฯลฯ

หมายเหตุ: รวมสถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษาดวย

1.2 จํานวนผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาแลวมีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป

สังกัด ผูสําเร็จการศึกษา ปการศึกษา 2559 (คน)

มีงานทํา/ศึกษาตอ/อ่ืนๆ รอยละของผูสําเร็จการศึกษามีงานทํา

มีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป (คน)

ศึกษาตอ (คน)

อ่ืนๆ (ระบุ) (คน)

ระดับ ปวช. สอศ. (รัฐบาล) สอศ. (เอกชน) สพม.(สายอาชีวศึกษา) อ่ืนๆ (ระบุ)....................... ระดับ ปวส. สอศ. (รัฐบาล) สอศ. (เอกชน)

Page 179: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

137

สังกัด ผูสําเร็จการศึกษา ปการศึกษา 2559 (คน)

มีงานทํา/ศึกษาตอ/อ่ืนๆ รอยละของผูสําเร็จการศึกษามีงานทํา

มีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป (คน)

ศึกษาตอ (คน)

อ่ืนๆ (ระบุ) (คน)

อ่ืนๆ (ระบุ)....................... 1.3 จํานวนผูเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ระดับ ปวช./ปวส. ปการศึกษา 2559-2560

สังกัด

ปวช. ปวส. ผูเรียนระบบทวิภาคี ปการศึกษา 2559 (คน)

ผูเรียนระบบทวิภาคี ปการศึกษา 2560 (คน)

เพ่ิมข้ึน/ลดลง รอยละ

ผูเรียนระบบทวิภาคี ปการศึกษา 2559 (คน)

ผูเรียนระบบทวิภาคี ปการศึกษา 2560 (คน)

เพ่ิมข้ึน/ลดลง รอยละ

สอศ. (รัฐบาล) สอศ. (เอกชน) อ่ืนๆ (ระบุ.............) 1.4 สถานศึกษามีมาตรการในการเพ่ิมผูเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี อยางไร ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือมีผลกระทบทางบวกแกผูเรียนอยางไรบาง ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด ของความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม

1. 2. 3.

Page 180: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

138

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย 3.1 ..................................................................................................................................................... 3.2 ..................................................................................................................................................... 3.3 ..................................................................................................................................................... 4. ขอเสนอแนะ 4.1 ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ............................................................................................................................................... 4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ...............................................................................................................................................

นโยบายที่ ๗ การยกระดับคุณภาพสถานศึกษาที่ตองการความชวยเหลือและพัฒนาเปนพิเศษ อยางเรงดวน (ICU) -

นโยบายที่ 8 การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก (สพป./สพม.)

8.1 การจัดทําแผนและยุทธศาสตรการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก KPI: จํานวนสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก KPI: จํานวนสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีชั้นเรียน ไมเหมาะสม KPI: จํานวนสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาท่ีมีโรงเรียนขนาดเล็กลดลง ประเด็นคําถาม 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นโยบายและตัวชี้วัด 1.1 สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีการจัดทําแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กหรือไม ไมมี มี 1.2 รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เปนอยางไร ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. 1.3 สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีการจัดทําแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีชั้นเรียนไมเหมาะสมหรือไม

Page 181: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

139

ไมมี มี 1.4 รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีชั้นเรียนไมเหมาะสมของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เปนอยางไร ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 1.5 ปการศึกษา 2559 สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีโรงเรียนขนาดเล็ก จํานวน.............โรงเรียน และปการศึกษา 2560 มีโรงเรียนขนาดเล็ก จํานวน.......................โรงเรียน 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือมีผลกระทบทางบวกแกผูเรียนอยางไรบาง ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด ของความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม

1. 2. 3. 3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย 3.1 ..................................................................................................................................................... 3.2 ..................................................................................................................................................... 3.3 ..................................................................................................................................................... 4. ขอเสนอแนะ 4.1 ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ............................................................................................................................................... 4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ...............................................................................................................................................

Page 182: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

140

นโยบายที่ 9 การอานออกเขียนได (สพป./สช.) 9.1 การอานออก เขียนได KPI: รอยละของนักเรียนชั้น ป.1 อานออก เขียนได 9.2 การอานคลอง เขียนคลอง KPI: รอยละของนักเรียนชั้น ป.2-ป.3 อานคลอง เขียนคลอง ประเด็นคําถาม 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด 1.1 จํานวนนักเรียนท่ีอานออกเขียนได และอานคลองเขียนคลองปการศึกษา 2560

สังกัด

อานออกเขียนได ปการศึกษา 2560 อานคลอง เขียนคลอง ปการศึกษา 2560

นักเรียน ช้ัน ป.1 ท้ังหมด (เฉพาะเด็กปกติ)

(คน)

จํานวนนักเรียน อานออก เขียนได (เฉพาะเด็กปกติ)

(คน)

รอยละ

จํานวนนักเรียน ช้ัน ป.2- ป.3 ท้ังหมด (เฉพาะเด็กปกติ)

(คน)

จํานวนนักเรียนท่ีอานคลองเขียนคลอง (เฉพาะเด็กปกติ)

(คน)

รอยละ

สพป. สช. อ่ืนๆ (ระบุ............) หมายเหตุ: นับเฉพาะนักเรียนปกติ 1.2 หนวยงาน/สถานศึกษา มีรูปแบบหรือวิธีการเพ่ือใหนักเรียนชั้น ป.1 อานออกเขียนได อยางไร ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. 1.3 หนวยงาน/สถานศึกษา มีรูปแบบหรือวิธีการเพ่ือใหนักเรียนชั้น ป.2-ป.3 อานคลอง เขียนคลอง อยางไร ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือมีผลกระทบทางบวกแกผูเรียนอยางไรบาง ......................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................

Page 183: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

141

2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด ของความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม

1. 2. 3. 3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย 3.1 ..................................................................................................................................................... 3.2 ..................................................................................................................................................... 3.3 ..................................................................................................................................................... 4. ขอเสนอแนะ 4.1 ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ............................................................................................................................................... 4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ...............................................................................................................................................

นโยบายที่ 10 การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา (สพป./สพม./สศศ./สช./สอศ./ กศน.) 10.1 การจัดกระบวนการเรียนรูและพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมตามโครงการของตนสังกัด และมูลนิธิ ยุวสถิรคุณ KPI: รอยละของสถานศึกษาใชกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมแบบมีสวนรวม 10.2 การจัดกระบวนการเรียนรูตามแนวทางการใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนินชีวิต KPI: รอยละของนักเรียนท่ีเขารวมกิจกรรมตามโครงการนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ ประเด็นคําถาม 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด

Page 184: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

142

1.1 จํานวนสถานศึกษาท่ีใชกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมตามโครงการของตนสังกัดหรือมูลนิธิยุวสถิรคุณหรืออ่ืนๆ แบบมีสวนรวม

สังกัด

สถานศึกษาใชกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรม จรยิธรรมตามโครงการของตนสังกัดหรือมูลนิธิยุวสถิรคณุ หรือโครงการอ่ืนๆ แบบมสีวนรวม

ผูเรยีนท่ีเขารวมกิจกรรมตามโครงการนอมนําแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หรือนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดาํเนินชีวิต (คน)

จํานวนสถานศึกษาท้ังหมด (แหง)

จํานวนสถานศึกษาท่ีดําเนินการ (แหง)

รอยละ จํานวนผูเรยีนท้ังหมด (คน)

จํานวนผูเรยีน ท่ีเขารวมโครงการฯ(คน)

รอยละ

สพป. สพม. สศศ. (ร.ร.ประชานุเคราะห) สช. สอศ. กศน. อ่ืนๆ (ระบุ)....................

1.2 สถานศึกษาใชกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมตามโครงการของตนสังกัดหรือมูลนิธิยุวสถิรคุณหรือโครงการอ่ืนๆ แบบมีสวนรวม อยางไร ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 1.3 สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมตามโครงการนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหรือนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติใหกับนักเรียน อยางไร ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือมีผลกระทบทางบวกแกผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย อยางไรบาง ......................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................

Page 185: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

143

2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด ของความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม

1. 2. 3. 3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย 3.1 ..................................................................................................................................................... 3.2 ..................................................................................................................................................... 3.3 ..................................................................................................................................................... 4. ขอเสนอแนะ 4.1 ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ............................................................................................................................................... 4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ...............................................................................................................................................

นโยบายที่ 11 การขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศกึษาในระดับภูมิภาค (ศธจ.) 11.1 การวางแผนบูรณาการเพ่ือการขับเคล่ือนนโยบายการจัดการศึกษาระดับจังหวัดและระดับภาค KPI: รอยละของสํานักงานศึกษาธิการภาคและระดับจังหวัด สามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติ และยุทธศาสตรกระทรวงสูการปฏิบัติได 11.2 การจัดระบบและพัฒนาระบบขอมูล สารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาเพ่ือการ วางแผนและการกํากับ ติดตาม ประเมินผล KPI: รอยละของสํานักงานศึกษาธิการภาคและระดับจังหวัด สามารถจัดระบบ ขอมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาไดตามอํานาจหนาท่ีและภารกิจ 11.3 การประสานงานและพัฒนาเครือขายการปฏิบัติงานในระดับพ้ืนท่ี KPI: รอยละของสํานักงานศึกษาธิการภาคและระดับจังหวัด มีกระบวนการประสานงานและ พัฒนาเครือขายการปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธิภาพเปนท่ีพึงพอใจของผูรับบริการและผูเก่ียวของ

Page 186: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

144

ประเด็นคําถาม 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด 1.1 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด ไดดําเนินการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติและยุทธศาสตรกระทรวงสูการปฏิบัติหรือไม และดําเนินการอยางไร ไมมี มี ดําเนินการอยางไร ................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 1.2 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีการจัดระบบขอมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาไดตามอํานาจหนาท่ีและภารกิจหรือไม อยางไร ไมมี มี ดําเนินการอยางไร .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 1.3 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดมีกระบวนการประสานงานและพัฒนาเครือขายการปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธิภาพและเปนท่ีพึงพอใจของผูรับบริการและผูเก่ียวของ หรือไม ไมมี มี ดําเนินการอยางไร .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือมีผลกระทบทางบวกแกผูเรียนอยางไรบาง ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด ของความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม

1. 2. 3.

Page 187: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

145

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย 3.1 ..................................................................................................................................................... 3.2 ..................................................................................................................................................... 3.2 ..................................................................................................................................................... 4. ขอเสนอแนะ 4.1 ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ............................................................................................................................................... 4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ...............................................................................................................................................

นโยบายที่ 12 การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

นโยบายที่ 13 การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพ้ืนที่พิเศษ

นโยบายที่ 14 การพัฒนาครูทั้งระบบ (สพป./สพม./สศศ./สช./สอศ./กศน.) 14.1 การพัฒนาครูตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร KPI: รอยละของครูท่ีผานการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร นําผลการพัฒนามา ใชในการเรียนการสอน 14.2 การพัฒนาครูตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู :PLC KPI: รอยละของครูท่ีผานการพัฒนาตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู (PLC) นําผล การพัฒนามาปรบัการเรียนการสอน ประเด็นคําถาม 1. ผลการดําเนินงานตามนโยบาย 1.1 จํานวนครูท่ีผานการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร นําผลการพัฒนามาใชในการเรียนการสอน และจํานวนครูท่ีผานการพัฒนาตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู (PLC) นําผลการพัฒนามาปรบัการเรียนการสอน

Page 188: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

146

สังกัด

การพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร การพัฒนาครูตามกระบวนการ PLC

ครูท่ีผานการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร (คน)

ครูท่ีผานการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร นําผลการพัฒนามาใชในการเรียนการสอน(คน)

รอยละ

ครูท่ีผานการพัฒนาตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู (PLC) (คน)

ครูท่ีผานการพัฒนาตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู (PLC) นําผลการพัฒนามาปรับการเรียนการสอน(คน)

รอยละ

สพป. สพม. สศศ. (ร.ร.ประชานุเคราะห)

สช. สอศ. กศน. อ่ืนๆ (ระบุ)........

1.2 ครูท่ีผานการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร นําผลการพัฒนามาใชในการเรียนการสอนอยางไร ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 1.3 ครูท่ีผานการพัฒนาตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู (PLC) นําผลการพัฒนามาปรับการเรียนการสอน อยางไร(การจัดการศึกษาของสถานศึกษา) ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 1.4 หลักสูตรการพัฒนาครูท่ีเปนจุดเนนของสังกัด ไดแก

............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรือมีผลกระทบทางบวกแกผูเรียนอยางไรบาง ......................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................

Page 189: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

147

2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด ของความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม

1.

2.

3.

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย 3.1 .................................................................................................................................................... 3.2 ..................................................................................................................................................... 3.3 ..................................................................................................................................................... 4. ขอเสนอแนะ 4.1 ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ............................................................................................................................................... 4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ............................................................................................................................................... นโยบายท่ี 15 การพัฒนาผูเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด (ศธจ./สพป./สพม./ สศศ./สช./สอศ./กศน.และอ่ืนๆ)

15.1 การจัดทําแผนพัฒนาลูกเสือจังหวัดและลูกเสือระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา KPI: จํานวนสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา KPI: จํานวนสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เขต 1 ไดขับเคลื่อน การดําเนินงานตามแผนพัฒนาลูกเสือจังหวัด/เขตพ้ืนท่ีการศึกษา 15.2 การใชกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาดในการจัดการเรยีนการสอน/กิจกรรมเพ่ือ เสริมสรางความเปนพลเมือง (Civic Education)

Page 190: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

148

KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีใชกระบวนการลูกเสือ/ยุวกาชาด/เนตรนารีในการจัดการเรียนการสอน/ กิจกรรมเพ่ือเสริมสรางความเปนพลเมือง (Civic Education) ประเด็นคําถาม 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด 1.1 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาไดจัดทําแผนพัฒนาลูกเสือจังหวัด/แผนพัฒนาลูกเสือเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือไม ไมไดดําเนินการ

ดําเนินการ (ถาดําเนินการ) ดําเนินการอยางไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

1.2 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาไดขับเคลื่อนการดําเนินงานตามแผนพัฒนาลูกเสือจังหวัด/เขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือไม ไมไดดําเนินการ

ดําเนินการ (ถาดําเนินการ) ดําเนินการอยางไร .....................................................................................................................................................................

1.3 สถานศึกษาท่ีใชกระบวนการลูกเสือ/ยุวกาชาด/เนตรนารีในการจัดการเรยีนการสอน/กิจกรรมเพ่ือเสริมสรางความเปนพลเมือง (Civic Education)

สังกัด

จํานวนสถานศึกษา

รอยละ ท้ังหมด (แหง)

ท่ีใชกระบวนการลูกเสือ/ ยุวกาชาด/เนตรนารีในการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรมเพ่ือเสริมสรางความเปนพลเมือง (แหง)

สพป. สพม. สศศ. (ร.ร.ประชานุเคราะห) สช. สกอ. (ร.ร.สาธิต) สอศ. กศน. อ่ืนๆ (ระบุ).............................

Page 191: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

149

1.4 สถานศึกษาใชกระบวนการลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาดในการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรมเพ่ือเสริมสรางความเปนพลเมือง (Civic Education) อยางไร ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 2. ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนหรอืมีผลกระทบทางบวกแกผูเรียนอยางไรบาง ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 2.2 รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีเปนตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี ในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย

รายชื่อหนวยงาน/สถานศึกษาตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

รายการและรายละเอียด ของความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม

1. 2. 3. 3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตามนโยบาย 3.1 ..................................................................................................................................................... 3.2 ..................................................................................................................................................... 3.3 ..................................................................................................................................................... 4. ขอเสนอแนะ 4.1 ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ............................................................................................................................................... 4.2 ขอเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดําเนินงานตามนโยบาย 1) ............................................................................................................................................... 2) ............................................................................................................................................... 3) ...............................................................................................................................................

**************************************************

Page 192: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

150

ภาคผนวก ค รายช่ือผูบริหารหนวยรับตรวจ (ศธจ.,สพป.,สพม.,อศจ.,กศน.จ)

ท่ี สํานักงาน ชื่อ - สกุล ตําแหนง โทรศัพท 1

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดรอยเอ็ด นายอธิปปรัชญ ภัควฒันภักด ี ศึกษาธิการจังหวัดรอยเอ็ด 089-944-9004

นายสมาน แกวคําไสย รองศึกษาธิการจังหวัดรอยเอ็ด 061-421-3931

นายพชิิต เครือน้ําคํา ผอ.กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผล 087-858-5959

ดร.สกล คามบุศย ผอ.สพป.รอยเอ็ด เขต 1 087-230-9595

ดร.อนันต พันนึก ผอ.สพป.รอยเอ็ด เขต 2 081-261-6943

นายสุภาพ วงษามาตย ผอ.สพป.รอยเอ็ด เขต 3 081-799-0044

ดร.ปราโมทย ภูมิพนัธ ผอ.สพม. เขต 27 081-380-3619

นางรุงทวิา ศรีวรขาน ผอ.กศน.จังหวัดรอยเอ็ด 092-252-1526

นายรังสติ วงษแกว ประธานอาชีวศึกษาจังหวัดรอยเอ็ด 081-879-7232

(ผอ.วิทยาลัยเทคนิครอยเอ็ด)

2

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดขอนแกน นายเชิดศักดิ์ ศรีสงาชัย ศึกษาธิการจังหวัดขอนแกน 081-974-3300

นายสวุัฒนชัย แสนราช รองศึกษาธิการจังหวัดขอนแกน 081-954-3546

นายพิทกัษพันธ จนัทนเทศ ผอ.กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผล 093-453-9929

ดร.ภูมิพัทธ เรืองแหล ผอ.สพป.ขอนแกน เขต 1 098-564-5661

ดร.อนุศาสตร สอนศิลพงศ ผอ.สพป.ขอนแกน เขต 2 061-458-6565

ดร.ศุภสิน ภูศรีโสม ผอ.สพป.ขอนแกน เขต 3 081-546-5299

ดร.ชนาธปิ สาํเริง ผอ.สพป.ขอนแกน เขต 4 085-000-0509

นายณฤทธิ ์วิเศษศักดิ ์ ผอ.สพป.ขอนแกน เขต 5 081-544-2916

ดร.อดิศักดิ์ มุงชู ผอ.สพม. เขต 25 098-585-3198

วาที่ ร.ต.สมปอง วิมาโร ผอ.กศน.จังหวัดขอนแกน 089-861-8359

ดร.โปรงวิทย ลิ้มตระกูล ประธานอาชีวศึกษาจังหวัดขอนแกน 081-871-2882

(ผอ.วิทยาลัยเทคนิคขอนแกน)

Page 193: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

151

3 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดมหาสารคาม ดร.ครรชิต วรรณชา

ศึกษาธิการจังหวัดมหาสารคาม 16081-9645997

นายภัทรวรรธน นิลแกวบวรวชิญ รองศึกษาธิการจังหวัดมหาสารคาม 097-314-4193

นายศุภสาสน รัชโพธิ ์ ผอ.กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผล 081-546-8999

นางสุภารีย โพนเงิน ผอ.สพป.มหาสารคาม เขต 1 080-190-7776

นายบวร เทศารินทร ผอ.สพป.มหาสารคาม เขต 2 081-879-6280

นายชัยณรงค แสงคํา ผอ.สพป.มหาสารคาม เขต 3 061-019-7111

นายอดุลยศักดิ์ บุญเอนก ผอ.สพม. เขต 26 065-626-5295

นายจักรกริช บุญเดช ผอ.กศน.จังหวัดมหาสารคาม 081-725-9908

นายสิระพงศ ชูวงศเลิศ

ประธานอาชีวศึกษาจังหวัดมหาสารคาม (ผอ.วิทยาลัยเทคนิควาปปทุม)

085-647-2288

4

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ นายกิตติพศ พลพิลา ศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ 061-413-2894

นายรัชพร วรรณคํา รองศึกษาธิการจังหวัดกาฬสนิธุ 089-840-6225

นางนุชรัตน ประสิทธิศิลปชัย ผอ.กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผล 081-975-3204

นายยงยุทธ พรหมแกว ผอ.สพป.กาฬสนิธุ เขต 1 062-693-5395

นายสมพงษ โรจนภัทรพงศ ผอ.สพป.กาฬสนิธุ เขต 2 081-872-2449

ดร.ภัณฑรักษ พลตื้อ ผอ.สพป.กาฬสนิธุ เขต 3 029-421-8407

นายชัยวัฒน ตั้งพงษ ผอ.สพม. เขต 24 081-955-1507

นางสาวนพกนก บุรุษนันทน ผอ.กศน.จังหวัดกาฬสินธุ 081-873-4525

นายวิศวชาติ สุวรรณราช ประธานอาชีวศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ 089-422-2516

(ผอ.วิทยาลัยเทคนิคกาฬสนิธุ)

Page 194: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

คณะทํางาน

ที่ปรึกษา

นายอรรถพล ตรึกตรอง ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ นางวัลลีย ศรีรัตน นักวิชาการศึกษาเชี่ยวชาญ ปฏิบัติหนาท่ีรองศึกษาธิการภาค 12 นางสาวเมตตา นิรัตนตระกูล ผูชวยผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ

ผูจัดทํา

นางสาวน้ําฝน อรรคฮาด นักวิชาการศึกษาชํานาญการพิเศษ นายสยามพงษ วงศสุวรรณ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ สรุป วเิคราะห เขียนรายงาน

นางสาวน้ําฝน อรรคฮาด นักวิชาการศึกษาชํานาญการพิเศษ

Page 195: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

รายงานการติดตามประเมินผลการดําเนนิงาน

ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ

รอบที่ 2 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

Page 196: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

กลุมตรวจราชการและติดตามประเมินผล

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12

สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

Page 197: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

คํานํา

กระทรวงศึกษาธิการ ไดกําหนดแผนการตรวจราชการของผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ประจําป 2561 ใหสอดคลองกับนโยบายรัฐบาลดานการศึกษา โดยใชกลไกการตรวจราชการเปนเครื่องมือในการตรวจ ติดตาม กํากับดูแล สนับสนุน และสะทอนใหเห็นถึงความกาวหนา ความสําเร็จ ตลอดจนเปนขอมูลในการแสวงหาแนวทางการแกไขปญหา/อุปสรรค และพัฒนาการดําเนินงานของหนวยปฏิบัติใหสามารถนํานโยบายท่ีสําคัญตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงศึกษาธิการไปสูการปฏิบัติใหมีความกาวหนา บรรลุวัตถุประสงคและเปนประโยชนตอทางราชการสูงสุด การติดตามประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานทางการศึกษาในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ จึงเปนเรื่องสําคัญท่ีตองดําเนินการ

การติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ รอบท่ี 2 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ไดเก็บขอมูลตามนโยบายการตรวจราชการ 14 นโยบาย ประกอบดวย 1) การ

ยกระดับคุณภาพการศึกษา 2) การจัดการศึกษาปฐมวัย 3) การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ 4) การพัฒนา

ทักษะการคิดวิเคราะห 5) การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ 6) การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถาน

ประกอบการภายในประเทศ 7) การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก 8) การอานออกเขียนได 9) การ

สงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา 10) การขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค 11)

การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา 12) การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษ

เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพ้ืนท่ีพิเศษ 13) การพัฒนาครูท้ังระบบ และ 14) การพัฒนานักเรียนและ

เยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด โดยไดดําเนินการติดตามผลการดําเนินงานตามนโยบายของ

กระทรวงศึกษาธิการในเขตตรวจราชการท่ี 12 ประกอบดวย จังหวัดรอยเอ็ด จังหวัดขอนแกน จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดกาฬสินธุ ซ่ึงการติดตามประเมินผลฯ ดังกลาว สํานักงานศึกษาธิการภาค 12 ไดดําเนินการรวบรวม จัดทํารายงานผลการติดตามประเมินผลการดําเนินงาน ท่ีแสดงใหเห็นสภาพการปฏิบัติงาน ปญหา และขอเสนอแนะของการดําเนินงาน เพ่ือเผยแพรแกหนวยงานท่ีเก่ียวของและสาธารณชนท่ัวไป

ขอขอบพระคุณทุกหนวยงานท่ีใหความรวมมือและสนับสนุนขอมูลการติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ใหมีความสมบูรณ ครบถวน และหวังเปนอยางยิ่งวารายงานฉบับนี้ จะเปนประโยชนและแนวทางในการกําหนดนโยบาย รวมถึงการพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการใหสามารถขับเคลื่อนไปสูเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12 กันยายน 2561

Page 198: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

การติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ รอบท่ี 2 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 เขตตรวจราชการท่ี 12 มีวัตถุประสงคคือ 1) เพ่ือรายงานการติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ รอบท่ี 2 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ในเขตตรวจราชการที่ 12 และ 2) เพื่อทราบผลการดําเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการกรณีปกติ รอบที่ 2 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการรวมท้ังปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ของหนวยงาน/สถานศึกษา ในเขตตรวจราชการท่ี 12 สรุปผลการดําเนินงาน ไดดังนี้

นโยบายท่ี 1 การยกระดับคุณภาพการศึกษา

1.1 การยกระดับคะแนน O-NET/N-NET/V-NET

1. ผลการดําเนินงาน สถานศึกษาสรางความตระหนักถึงความสําคัญในการสอบ O-NET ใหแกครูผูสอนและนักเรียน

ทุกคนในระดับชั้นท่ีเขาสอบ สงเสริมใหครูนําผลการประเมินไปใชพัฒนาการจัดการเรียนรูในรูปแบบตาง

ๆ มีการกําหนดวิสัยทัศนพันธกิจและเปาหมายโดยมุงเนนท่ีคุณภาพผูเรียนท่ีสะทอนคุณภาพความสําเร็จ

อยางชัดเจนและเปนรูปธรรม จัดทําแผนพัฒนาหรือแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพ่ือใชเปนแนวทาง

ในการดําเนินงานของสถานศึกษา สงเสริม สนับสนุน กระบวนการวิจัยและพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพ

การศึกษา วางแผนการนิเทศติดตามผลการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 100% การนิเทศภายใน

สถานศึกษาอยางตอเนื่อง สมํ่าเสมอ ตามบริบทของโรงเรียนอยางเปนระบบ วิเคราะหและตรวจสอบผล

การทดสอบยอนหลัง 3 ปการศึกษา เพ่ือหาสาเหตุท่ีเปนปญหา วิเคราะหจุดออน จุดแข็ง และประชุม/PLC

ผูเก่ียวของ เพ่ือสงเสริมและพัฒนาการยกระดับคุณภาพการศึกษา

2. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินงาน โรงเรียนขาดความตระหนัก ครูไมใหความสนใจเทาท่ีควร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ท่ีไมบรรลุตามวัตถุประสงคของมาตรฐานและตัวชี้วัด ครูขาดทักษะในการวิเคราะห วินิจฉัยผูเรียนเปนรายบุคคล การบริหารจัดการเวลาเรียน ตามโครงสรางเวลาเรียนของสถานศึกษา ไมเอ้ือหรือสงเสริมตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพ โรงเรียนขนาดเล็กครูสอนไมครบชั้น ไมตรงเอก ภาระงานอ่ืน ๆ ท่ีไมใชงานสอนมากเกินไป ขาดการนิเทศ ติดตามการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีจริงจัง

งานนโยบาย/โครงการหนวยงานตนสังกัด มีเยอะเกินไป งบประมาณไมเพียงพอในการพัฒนาครูและบุคลากร

ทางการศึกษา และขาดวัสดุ เครื่องมือหรืออุปกรณ และเทคนิควิธีการในการยกระดับคุณภาพของผูเรียน

3. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) ควรกําหนดจุดเนน/นโยบายสรางมาตรการเพ่ือยกระดับคุณภาพผูเรียนในการทดสอบ

O-Net เพ่ือใหครูผูสอนนํามาตรการมาใชใหเกิดประโยชนในการจัดการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน

Page 199: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

2) ผูบริหารควรใหความสําคัญ และใหการสงเสริม สนับสนนุอยางเต็มท่ี มีการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาใหเหมาะสมกับชุมชน และทองถ่ิน รวมถึงมีการจัดหาสื่อ นวัตกรรม และแหลงเรียนรูใหเพียงพอ

3) ควรสงเสริม สนับสนุน กระบวนการวิจัยและพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา มี

นวัตกรรมท่ีดี เหมาะสมในการแกปญหาการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก และสรางเครือขายการ

นิเทศการศึกษาเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยางเปนระบบและตอเนื่อง 4) สพฐ. ควรมีการวิเคราะหลดภาระงานของครู มีการบริหารจัดการเวลาเรียนใหเกิด

ประสิทธิภาพสูงสุด และยกยองเชิดชูเกียรติ/ชมเชย/ใหเกียรติบัตรแกสถานศึกษาท่ีมีพัฒนาการของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยางชัดเจน และเปนแบบอยางท่ีดีแกหนวยงานอ่ืน ๆ 5) ควรเพ่ิมงบประมาณท่ีใหโรงเรียนสามารถนํามาวางแผนพัฒนาการเรียนการสอนเอง

ใหมากข้ึน

1.2 การยกระดับคะแนนเฉล่ีย PISA 1. ผลการดําเนินงาน สถานศึกษามีการเตรียมความพรอมใหกับครู เพ่ือรองรับการทดสอบ PISA โดยสรางความ

ตระหนักใหกับครูและนักเรียน ใหครูเขาถึงแหลงความรูจากสื่อระบบออนไลนขอสอบ PISA ของ สสวท.

PISA Like PISA Thailand สสวท. มาใชฝกนักเรียน และสงครูผูรับผิดชอบเขารับการอบรม ประชุม

วางแผนการทํางาน เสริมสรางทักษะการใชคอมพิวเตอรในการทําขอสอบของครูผูสอน จัดกิจกรรม

กระตุนใหผูบริหารและครูผูสอน รูและเขาใจเก่ียวกับ PISA สถานศึกษาท่ีมีนักเรียนอายุ 15 ป (ม.ตน, ม.ปลาย, ปวช.) มีการปรับกระบวนการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกับการทดสอบ PISA ดวยการใหครูได

เขารับการประชุมเชิงปฏิบัติการตามแนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของ PISA พัฒนาสื่อ (แบบฝก

บทอาน ฯลฯ) จัดทํา/รวบรวมคลังขอสอบ สรางแบบทดสอบสําหรับใชในการวัดประเมินผลในชั้นเรียนท่ี

มีความสอดคลองกับขอสอบ PISA จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยแทรกกิจกรรมดานการอานและ

การคิดวิเคราะหตามแนว PISA ในทุกกลุมสาระการเรียนรูหรือรายวิชาท่ีเหมาะสม

2. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจาการดําเนินงาน สถานศึกษามีหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรไมเพียงพอ ระบบอินเตอรเน็ตมีปญหา รวมถึงผูเรียนขาดทักษะการทดสอบ PISA โดยการใชคอมพิวเตอร ONLINE ครูมีวุฒิการศึกษาไมตรงตามสาระการเรียนรูท่ีสอน งานนโยบาย/โครงการหนวยงานตนสังกัด มีมากเกินไป โรงเรียนมีเวลาจัดการเรียน

การสอนไดไมเต็มเวลา และนักเรียนไมมีความอดทนในการอานสถานการณและโจทย

3. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) ควรลดนโยบายจํานวนมาก ๆ ใหเปนเชิงบูรณาการ เพ่ือสะดวกในการนําไปปฏิบัติ และ

มีเวลาจัดการเรียนการสอนมากข้ึนมีการนิเทศติดตามอยางตอเนื่อง และสมํ่าเสมอ

2) โรงเรียนควรสรางความตระหนักและใหความสําคัญกับการทดสอบรูปแบบ PISA ใหแก

ทุกภาคสวนของสังคม ท้ังนักเรียน พอแมผูปกครอง และประชาชน ครูทุกคน ทุกระดับชั้นท่ีสอน เพ่ือ

Page 200: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

สะดวกในการขับเคลื่อนตามนโยบาย และสรางนวัตกรรมท่ีดี เหมาะสมในการแกปญหาการเรียนการ

สอนในโรงเรียนขนาดเล็ก และกําหนดใหมีการสอบ PISA พรอมกันทุกโรงเรียนไมควรใชการสุม

3) ผูบริหารโรงเรียนควรเปนผูนําในการดําเนินงาน ในการพัฒนาการทดสอบ PISA

ออนไลน และใหการสนับสนุนอยางจริงจัง

4) ควรจัดประชุมเชิงปฏิบัติการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางของ

PISA เพ่ือกระตุนใหครูเกิดความชํานาญ และสนใจมากข้ึน

5) ควรจัดหางบประมาณใหสถานศึกษามีหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรและระบบ

อินเตอรเน็ตแกโรงเรียนอยางเพียงพอเพ่ือฝกทักษะ

นโยบายท่ี 2 การจัดการศึกษาปฐมวัย

1. ผลการดําเนินงาน

1) สถานศึกษาไดดําเนินการดานตาง ๆ เพ่ือเปนการปองกันภัยท้ังภายในและภายนอก

สถานศึกษาใหกับผูเรียนระดับปฐมวัย ดังนี้

ดานอาคารสถานท่ี มีการลอมรั้วรอบขอบชิด มีความปลอดภัย จัดบรรยากาศท้ังในหองเรียน

และนอกหองเรียนใหไดมาตรฐานเอ้ือตอการเรียนรู มีมุมประสบการณสําหรับเด็ก การรักษาความสะอาด มี

พ้ืนท่ีสีเขียว สวนหยอม ไมดอกไมประดับ สําหรับเด็กใหเรียนรูในชีวิตประจําวัน

ดานอุปกรณเครื่องใชตาง ๆ สรางขอตกลงรวมกันระหวางครู ผูเรียน เก่ียวกับการใชวัสดุ

อุปกรณ สื่อการเรียนรูท่ีอาจเปนอันตราย เพ่ือปองกันอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึน และใหทุกหองเรียนมีเครื่องมือ

ปฐมพยาบาลเบื้องตน มีสื่อวัสดุอุปกรณท่ีเปนสื่อการเรียนรูจัดวางในท่ีปลอดภัยอยูในระดับสายตาเด็ก

ใหความรู ความเขาใจเก่ียวกับการใชอุปกรณและเครื่องใชตาง ๆ โดยเฉพาะเครื่องใชไฟฟาและเฝาระวัง

การใชอุปกรณใหมีความปลอดภัยเสมอ

ดานเครื่องเลน สถานศึกษามีมาตรการปองกันอันตรายจากการใชเครื่องเลน แหลงเรียนรู

และอุปกรณการเลน เพ่ือสงเสริมการเรียนรูและพัฒนาการดานกลามเนื้อ จิตใจและอารมณและเสริมสราง

การอยูรวมกันกับผูอ่ืน มีครูผูสอนคอยกํากับดูแลทุกครั้ง เพ่ือเฝาระวังความปลอดภัยใหกับเดก็มีการตรวจสอบ

เครื่องเลนสนามทุกสัปดาห เพ่ือใหมีความพรอมสําหรับใชงานอยางปลอดภัย ดานการรับสงนักเรียนและการจราจร สถานศึกษาบางแหงท่ีมีรถรับสงนักเรียนจะมีการ

ทําประกันภัย และชี้แจงขอตกลงเพ่ือความปลอดภัยในการตรวจนับจํานวนนักเรียนกอนข้ึนและลงจากรถ

จัดประสบการณดานการสงเสริมวินัยจราจรสําหรับเด็กและผูปกครอง ใหความรูหนาเสาธง แตงตั้งและ

จัดเวรยามเพ่ือรับสงนักเรียนและการจราจร นอกจากนั้นมีกลุมพ่ีชวยเหลือนองเปนกลุมบานใกลเคียงกัน

เพ่ือใหพ่ีไดคอยดูแลนอง เกิดความรักและผูกพันระหวางพ่ีและนอง

Page 201: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

ดานโภชนาการ สถานศึกษาไดดําเนินการสงเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก ใหความรู

ผูปกครอง และตัวเด็กในการเลือกรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ หลีกเลี่ยง

อาหารท่ีเปนอันตรายและไมมีประโยชนตอรางกาย จัดอาหารเสริม (นม) และอาหารกลางวันใหเด็ก ๆ

อยางครบถวน แตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพอาหาร เขารวมรับการประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ

ดานสุขอนามัย สถานศึกษาไดดําเนินการจัดประสบการณใหเด็กไดมีพัฒนาการดานรางกาย

มีสุขอนามัยท่ีดี จัดแหลงเรียนรูท่ีถูกสุขลักษณะ มีการตรวจสุขภาพจากสถานพยาบาลตาง ๆ จัดสภาพหองเรียน

ท่ีสะอาดปลอดโปรง เปนระบบระเบียบ หองน้ํา-หองสวม มีความเหมาะสมกับวยัของเด็ก เพียงพอกับจํานวน

เด็กและมีความสะอาด มีสภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการเสริมสรางสุขอนามัยและการจัดประสบการณในเรื่อง

ของสุขอนามัยท่ีจะสงเสริมใหเด็กไดมีพฤติกรรมและสุขนิสัยท่ีดีในการรักษาสุขอนามัยของตนเองเม่ือเติบโตข้ึน

ดานอ่ืนๆ การใหความรูกับพอแมผูปกครองเด็กปฐมวัย เพ่ือสงเสริมและปองกันความปลอดภัยในการอบรมเลี้ยงดูท่ีบาน หรือนอกบาน เวลาเดินทาง ตลอดจนใหความรูเรื่องการสงเสริมพัฒนาการท้ังสี่ดานเพ่ือนําไปใชในการอบรมเลี้ยงดูและใหการศึกษาท่ีบาน

2. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินงาน

ผูบริหารใหความสําคัญกับการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยนอยกวาในระดับอ่ืน ๆ

ครูผูสอนไมจบการศึกษาดานปฐมวัยทําใหไมเขาใจในการจัดการศึกษาท่ีถูกตองตามหลักจิตวิทยาและ

พัฒนาการเด็กปฐมวัย งานขอมูลซํ้าซอนเรียกเก็บจากหลายหนวย ตัวชี้วัดการประเมินและแนวทาง

ปฏิบัติไมสอดคลองกัน โดยเฉพาะการตรวจสอบการดําเนินงานการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย

พุทธศักราช 2560 ขาดงบประมาณสนับสนุน และลาชาทําใหเกิดความเลื่อมล้ําในการดําเนินงานท้ัง 6

ดานของโรงเรียน และการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยใหม มีความจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตอง

สรางความเขาใจในการจัดการศึกษาลงสูการปฏิบัติในระดับสถานศึกษา

3. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

1) การดําเนินงานควรจะสอดรับ สอดคลองระหวางการกําหนดนโยบายและงบประมาณ

ในการดําเนินงาน เพ่ือใหการขับเคลื่อนแนวนโยบายสามารถขับเคลื่อนไดอยางเปนระบบ และเนนการ

จัดประสบการณมากกวางานนโยบาย

2) เนนใหผูบริหารเห็นความสําคัญ และสงเสริมการจัดประสบการณสําหรับเด็กปฐมวัยให

มากข้ึน และสรางความรู ความเขาใจใหครูผูสอนระดับปฐมวัยและผูดูแลเด็กปฐมวัย

3) ครูปฐมวัยควรไดรับการพัฒนาดานเทคนิคการสอน และการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

เพ่ือรองรับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และสงเสริมกิจกรรม Best Practice ของครู

ปฐมวัยอยางตอเนื่อง

4) ผลิตบุคลากรดานปฐมวัยท่ีมีคุณภาพเพ่ิมข้ึน และจัดสรรบุคลากรปฐมวัยใหครบทุกโรงเรียนท่ีเปดสอนและใหสอนระดับปฐมวัย

นโยบายท่ี 3 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

1. ผลการดําเนินงาน

Page 202: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

1) สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดลอมภายในหองเรียน และนอกหองเรียนเพ่ือสงเสริมการเรียนรูภาษาอังกฤษ ดังนี้ สภาพแวดลอมภายในหองเรียน ไดแก จัดเปนหองแหงการเรียนรู มุมการเรียนรู มุม

ประสบการณ จัดชั้นเรียนแบบตัวยู สรางบรรยากาศนาเรียน มีบอรดคําศัพท สื่อคําศัพทภาษาอาเซียน

สื่อภาษาอังกฤษ บัตรคํา เกมตอคําศัพท บอรดประโยคสนทนาภาษาอังกฤษ เหมาะสมกับการสื่อสาร

เพียงพอ และครูผูสอนสนทนากับนักเรียนเปนภาษาอังกฤษ

สภาพแวดลอมภายนอกหองเรียน ไดแก มีปายชื่อสถานท่ีหรือหองปฏิบัติการ ชื่อครูภาษา อังกฤษ รายการอาหาร ปายนิเทศ หองสมุด โรงอาหาร หองน้ํา ทางเดินข้ึน – ลง สนามเด็กเลน ปายสํานวนภาษาอังกฤษติดตามตนไม และจัดทําปายหนาหองตางๆ เปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีสื่อการเรียนการสอนท่ีนาสนใจ จัดกิจกรรมภาษาอังกฤษวันละคําหนาเสาธง และวันละประโยค English all day

สัปดาหละ 1 ครั้ง เปนตน

2) สถานศึกษาไดใชรูปแบบภาษาเพ่ือการสื่อสาร Communicative Language Teaching

ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและสงเสริมการใชภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารในชั้นเรียนอยางสมํ่าเสมอ

และตอเนื่อง ใชสื่อการเรียนการสอนจาก DLIT และเว็บไซต Eng 24 และ Application Echo English รวมถึง

เว็บไซตอ่ืน ๆ เพ่ือสงเสริมการใชภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารใหเกิดประสิทธภิาพและนําไปใชในชีวิตประจําวนั

ไดจัดคายวิชาการภาษาอังกฤษ จัดกิจกรรมการแขงขันภาษาอังกฤษ Mini English Camp เปนตน

3) จัดกิจกรรมชุมนุมภาษาอังกฤษ นักเรียน ครู ผูบริหาร ผูปกครอง ชุมชน เห็นความจําเปน

และความสําคัญของการใชภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารมากยิ่งข้ึน

4) สงเสริมการใชสื่อการสอนภาษาอังกฤษท่ีเปนสื่อ ICT ใหมากข้ึน เนนการสื่อสาร นักเรียน

กลาพูดภาษาอังกฤษ

5) นักเรียนไดเรียนรูในรูปแบบท่ีหลากหลายจากครูท่ีผานการอบรม Boot Camp สงผล

ใหนักเรียน มีผลการเรียนภาษาอังกฤษสูงข้ึน และครูไดพัฒนาตนเองในดานภาษาอังกฤษและการจัด

กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Active learning ท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ สงผลใหผูเรียนไดพัฒนา

ทักษะการฟง การพูด การอานและการเขียน ครูผูสอนใชภาษาอังกฤษไดอยางมีประสิทธิภาพ นํา

รูปแบบและกิจกรรมตางๆ มาใชใหเกิดการเรียนรูแกผูเรียนไดอยางแทจริง

2. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินงาน การพัฒนาครูแกนนํา (Boot Camp) ไดรับความสนใจจากครูนอย เนื่องจากปญหาอุปสรรค ดานระยะเวลาในการอบรม และระยะทางในการเดินทางไปยังศูนยอบรม และโรงเรียนขนาด

เล็ก ไมสามารถสงครูเขารวมอบรมได เนื่องจากมีครูไมครบชั้น โรงเรียนสวนใหญยังขาดบุคลากรท่ีมี

ความเชี่ยวชาญดานภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็ก สําหรับโรงเรียนขนาดใหญจํานวน

นักเรียนในแตละหองเรียนมีมากเกินไป ทําใหเปนอุปสรรคในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เชน สื่อ

ไมพอเพียง และนักศึกษาไมกลาแสดงออก ไมเห็นความสําคัญของภาษาอังกฤษ การโยกยายครูท่ีมี

Page 203: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

ความรู ความสามารถ หรือทักษะในการสอนบางครั้งอาจสงผลกระทบกับนโยบาย และโรงเรียนบางแหง

ขาดงบประมาณในการจัดกิจกรรมท่ีสงเสริมแหลงเรียนรู 3. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) รัฐบาลควรจัดเปนวาระแหงชาติในการพัฒนาสาระภาษาอังกฤษ โดยใหมีกิจกรรมท่ีสงเสริมการใชภาษาอังกฤษท้ังระดับเขตพ้ืนท่ี ภูมิภาค ประเทศ ใหเพ่ิมมากข้ึน และตอเนื่อง 2) หนวยงานสวนกลางท่ีเก่ียวของในระดับนโยบาย ควรทําความเขาใจ ประสานงานกันอยางเปนรูปธรรมมากข้ึน เพ่ือไมใหเกิดปญหาซํ้าซอนของการปฏิบัติในระดับภูมิภาคและ สพฐ. ควรจัด

โครงการ/กิจกรรม ใหกับผู อํานวยการโรงเรียน เพ่ือให มีเจตคติท่ีดีในการจัดการเรียนการสอน

ภาษาอังกฤษ และเห็นความสําคัญของภาษาอังกฤษท่ีเปนเครื่องในการเตรียมนักเรียนในการเปน

พลเมืองของโลก

3) ควรมีการสงเสริมสนับสนุน ใหนําแอปพลิเคชั่น Echo English มาใชในการพัฒนาครูและบุคลกรทางการศึกษา และนําสูหองเรียนอยางตอเนื่อง โดยการบูรณาการกับนโยบายดานเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา 4) ควรมีการประชุม วางแผนการขับเคลื่อนโดยใหศึกษานิเทศกระดับเขตพ้ืนท่ีมีสวนรวมเพ่ือการขับเคลื่อนและพัฒนาใหเกิดความตอเนื่องยั่งยืน และติดตาม ประเมินผล แลกเปลี่ยนเรียนรู

เทคนิคกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพของครูแตละรุน หรือ ครูในจังหวัดเดียวกัน

5) การดําเนินนโยบายดานการพัฒนาครู และพัฒนานักเรียนควรมีความชัดเจน ตอเนื่องและ

เปนระบบ

นโยบายท่ี 4 การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห

1. ผลการดําเนินงาน

จัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา (STEM Education) อบรมพัฒนาครูโดยความรวมมือกับ

โครงการอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของ จัดกิจกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปด (Open

Approach) เปนนวัตกรรมในการพัฒนาวิชาชีพครู ใหสามารถบริหารจัดการชั้นเรียนและสามารถจัดการ

เรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ ทําใหนักเรียนมีศักยภาพและความสามารถในการคิดวิเคราะหอันรวมถึง

การคิดในระดับตางๆ อันเปนทักษะพ้ืนฐานท่ีมีความจําเปนในการดํารงชีพและในการศึกษาตอในหลายๆ

สาขาวิชา ฝกกระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณญาณ และการสังเคราะหสรางสรรคชิ้นงานการประดิษฐ

คิดคนและทําโครงงานเกิดรูปแบบการเรียนรูเชิงบูรณาการท่ีหลากหลายผานโครงงาน (Project Based

Learning) รวมถึงพัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21 ท้ังดานการสื่อสาร ดาน ICT และดานการนําเสนอ

2. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินงาน

หนวยงานท่ีเก่ียวของหลายหนวยงาน ตางคนตางคิดตางคนตางสั่งการทําใหภาระงาน

ของโรงเรียนมากข้ึน นโยบายไมชัดเจนและไมตอเนื่อง การสงเสริมสนับสนุนจากหนวยงานท่ีกําหนด

นโยบายในดานตาง ๆ ไมตอเนื่อง และเปนรูปธรรมท่ีชัดเจน ขาดงบประมาณสนับสนุนท้ังดานสื่อวัสดุ

อุปกรณ การพัฒนาบุคลกร และผูบริหารโรงเรียนขาดการนิเทศภายในท่ีตอเนื่อง

Page 204: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

3. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

1) นโยบายควรมีความชัดเจน ตอเนื่อง สามารถปฏิบัติไดจริง เนื่องจากนโยบายตางๆ ใน

ดานนี้ยังไมไดรับการสนับสนุนท่ีเปนรูปธรรมจากหนวยงานท่ีกําหนดนโยบายเทาท่ีควร ขาดการ

สนับสนุนและสงเสริมอยางจริงจัง ขาดการติดตามและพัฒนาอยางตอเนื่อง และควรพัฒนาวิธีการท่ีจะ

ทําใหผูบริหารมีความรูความสามารถเชิงวิชาการและสามารถนิเทศภายในได

2) การจดัสรรงบประมาณใหทันตอการพัฒนา รวดเร็วและมีรายละเอียดในการดําเนินการท่ีชัดเจน

3) ควรปรับมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร หรือตัวชี้วัดหลักสูตรใหสอดคลองกับ STEM

Education หรือมีตัวชี้วัด STEM Education ในหลักสูตร และจัดใหมีการบูรณาการในการเรียนการสอน

วิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยี โดยไมควรแยกออกจากตัวชี้วัดในหลักสูตร หรือถาแยกควรแยกเปน

กลุมสาระการเรียนรูสะเต็มศึกษาตางหากออกมาเปนกลุมสาระการเรียนรูท่ีชัดเจน

4) ควรสรางการรับรู และเขาใจถึงความจําเปนในการใช STEM เพ่ือพัฒนากระบวนการ

คิด และพัฒนาบุคลากรใหมีความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน

นโยบายท่ี 5 การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ

1. ผลการดําเนินงาน

กําหนดยุทธศาสตร/มาตรการในการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมผูเรียนสายอาชีพของจังหวัดโดย

ประชุมวางแผนรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ จัดทําโปรแกรมเก็บขอมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นมัธยมศึกษาป

ท่ี 3 มอบนโยบายใหแกผูบริหารสถานศึกษาและครู บุคลากรในสถานศึกษา ออกแนะแนวการศึกษาตาม

โรงเรียนท่ีมีการเรียนการสอน ม.3 – ม.6 พรอมท้ังออกบริการศูนยซอมสรางเพ่ือชุมชน บริการซอมอุปกรณไฟฟา เครื่องมือการเกษตรใหประชาชนในเขตพ้ืนท่ีนั้น ๆ จัดทําโครงการสรางประสบการณอาชีพ (Work Experience) ของนักเรียนชั้น ม. 3 โครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทํารูปแบบและแนวทางการพัฒนาหลกัสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา จัดกิจกรรม

Open House เพ่ือเปดโอกาสใหนักเรียนและผูปกครองไดเยี่ยมชมโรงเรียนท่ีตนมีความสนใจสมัครเขาเรียน

จัดการเรียนการสอนสายอาชีพใหกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตนตามความถนัดของแตละคน

สํารวจความสนใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ในการเรียนตอสายสามัญและสายอาชีพ จัดหาครู

และบุคลากรท่ีมีความสามารถดานอาชีพ หรือวิทยากรภายนอกมาสอนอาชีพ สงเสริมใหโรงเรียนมีเครือขาย

ดานอาชีพในชุมชน

2. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินงาน ผูปกครองและนักเรียนบางสวนมีทัศนคติท่ีไมดีตอสถาบันอาชีวศึกษา จึงไมสนับสนุนให

เรียนตอสายอาชีพ โรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาไมคอยไดรับการสนับสนุน

บุคลากรดานงานอาชีพเทาท่ีควร สวนมากจะใหความสําคัญกับบุคลากรในกลุมสาระการเรียนรูหลัก เชน

คณิตศาสตร วิทยาศาสตร การฝกทักษะดานอาชีพตองใชเวลามาก แตชั่วโมงเรียนในการงานอาชีพมีการ

ปรับลดลง และสถานศึกษาไมเห็นความสําคัญของการแนะแนวการเรียนตอสายอาชีพ

Page 205: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

3. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) สถานศึกษาท่ีเปดสอนสายอาชีพทุกสังกัด และสถานประกอบการ ควรมีการแนะแนวการศึกษาตอสายอาชีพและความตองการกําลังคนของประเทศ โดยพัฒนาระบบการแนะแนวอาชีพเชิงรุกเพ่ือใหสามารถเขาถึงพอแมผูปกครอง 2) สรางความเขาใจในการศึกษาตอสายอาชีพ ประชาสัมพันธเผยแพรภาพลักษณเชิงคุณภาพไปยังกลุมเปาหมายใหเห็นความสําคัญในการเรียนอาชีวศึกษา จัดโครงการอาชีวอาสาเพ่ือพัฒนาสังคมหรือควรจัดโครงการสงเสริมคนดีศรีอาชีวะ โครงการเยาวชนอาชีวะสัมพันธรวมสรางสรรคสังคม 3) สงเสริมใหโรงเรียนมีเครือขายวิชาการดานอาชีพเพ่ือพัฒนาผูเรียน เชน สถาบัน

อาชีวศึกษาวิทยาลัยการอาชีพ ศูนยพัฒนาฝมือแรงงาน เปนตน และใหสามารถเทียบโอนหนวยกิตได

และจัดกิจกรรมเพ่ือใหนักเรียนไดสํารวจความถนัด ความสามารถของตนเอง สามารถเรียนตอในระดับท่ี

สูงข้ึนตรงกับความรูความสามารถ และความถนัดของตนเอง

4) พัฒนาครูโดยสงเสริมการสรางองคความรู นวัตกรรมและงานวิจัยเก่ียวกับการจัดการ

เรียนรูดานอาชีพ

นโยบายท่ี 6 การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ 1. ผลการดําเนินงาน สํารวจสถานประกอบการ และสรางความเขาใจในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี ประชุมผูปกครอง นักเรียน นักศึกษา ทําความรวมมือกับสถานประกอบการ และนําหลักฐานและตัวอยางของรุนพ่ีรวมแนะแนว จัดการเรียนการสอนใหตรงตามความตองการของสถานประกอบการ จัดหาสถานประกอบการท่ีมีความม่ันคง และติดตามสาขาวิชาในระดับ ปวส. เปนทวิภาคี 100% และประสานความ

รวมมือกับโรงเรียนท่ีเปดสอนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัด โดยเปดโอกาสใหผูเรียนเขาถึงกลุมเปาหมายผู

มีสวนสําคัญตอการเรียนสายอาชีพ อาชีวศึกษาเกิดความรู ทักษะท่ีสอดคลองและตรงกับความตองการของสถานประกอบการ และสงเสริมนวัตกรรมการพัฒนาหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ประกอบรูปแบบทวิภาคีกับตางประเทศ

2. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินงาน สถานศึกษาอยูหางไกลจากสถานประกอบการ จํานวนผูเรียนระบบทวิภาคีมีนอย ไมเหมาะสมสําหรับนักเรียนท่ีจบมัธยมศึกษา (ม.6) การวิจัยเพ่ือคนพบหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ประกอบรูปแบบทวิภาคีกับตางประเทศท่ีประสบผลสําเร็จยังมีนอย และ

ขาดงบประมาณในการสนับสนุนจากหนวยงานตนสังกัด 3. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

1) ควรสนับสนุนงบประมาณเพ่ือการวิจัยเพ่ือคนพบหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษา

ข้ันพ้ืนฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ประกอบรูปแบบทวิภาคีกับตางประเทศท่ีประสบผลสําเร็จ

2) ควรกําหนดเปนนโยบายสําคัญอยางตอเนื่องทุกปการศึกษา

3) ควรสรางความเขาใจกับสถานประกอบการ ในการจัดการศึกษาระบบทวีภาคี ขอดีท่ีจะเกิดกับสถานประกอบการ สิทธิท่ีจะไดรับ และผลดีกับประเทศชาติ

Page 206: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

นโยบายท่ี 7 การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก 1. ผลการดําเนินงาน โรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีชั้นเรียนไมเหมาะสมดําเนินการโดยจัดการเรียนการสอนแบบเรียนรวม สอนทางไกลผานดาวเทียม บริหารจัดการในรูปแบบโมเดล วางแผนการบริหารจัดการศูนยโรงเรียน

ท่ีเปนโรงเรียนขนาดเล็กมีนักเรียนจํานวน 120 คนลงมา โดยตั้งโรงเรียนหลัก นํานักเรียนจากโรงเรียน

รวมไปโรงเรียนหลักทุกชั้นเรียน กํากับ ติดตามชวยเหลือดูแลโรงเรียนขนาดเล็กในสังกัด และใหนโยบาย

การเรียนรวมอยางเปนรูปธรรม สนับสนุนงบประมาณคาพาหนะนักเรียน สําหรับนักเรียนทุกคน ทุก

ระดับชั้นท่ีมาเรียนโรงเรียนหลัก

2. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินงาน

การสรางความเขาใจใหแกผูบริหาร ครู และผูปกครอง ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ

วาดวยการจัดตั้ง รวม หรือเลิกสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ป 2550 กําหนดใหการรวม เลิกสถานศึกษา ตองผาน

ความยินยอมของชุมชนกอน ซ่ึงชุมชนสวนมากยึดติดคานิยม ความเชื่อท่ีวา “บาน วัด โรงเรียน” ทําใหการ

ขับเคลื่อนนโยบายเปนไปไดยาก ขาดบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถเพียงพอ การเกลี่ยอัตรากําลังครู

ไมสามารถทําได เนื่องจากไมมีการยื่นความประสงคจากเจาตัว โรงเรียนขนาดเล็กมีภารงานมาก ท้ังโครงการ

ปกติ และโครงการพิเศษ จํานวนบุคลากรนอย/ขาดขวัญกําลังใจ งบประมาณดําเนินการตาง ๆ มีจํากัด

และการพัฒนาคุณลักษณะผูเรียนขาดความพรอมและความสมบูรณของกิจกรรมเพราะคนนอย

3. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

1) ควรพิจารณาแกไขระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการรวม เลิกสถานศึกษาใหผาน

ความเห็นชอบจากชุมชนกอน และใช ม.44 ในการเลิกสถานศึกษาท่ีไมมีนักเรียน หรือการรวม

สถานศึกษาท่ีมีนักเรียน 20 คนลงมา

2) ควรพัฒนาโรงเรียนหลักท่ีมีความพรอมใหมีคุณภาพ ครูเพียงพอ สื่อเพียงพอ คัดสรร

ผูบริหารท่ีมีความสามารถไปบริหารโรงเรียนหลัก

3) ควรมีการเผยแพรประชาสัมพันธผลงานดีเดนของโรงเรียนรวมท่ีสามารถเปนแบบอยาง

ใหกับโรงเรียนอ่ืน ๆ เพ่ือสรางความม่ันใจ ผูเรียนมีคุณภาพ ออกมาเผยแพรทางสื่อมวลชนอยางตอเนื่อง

นโยบายท่ี 8 การอานออกเขียนได 1. ผลการดําเนินงาน หนวยงาน/สถานศึกษามีการดําเนินการตามนโยบาย การอานออกเขียนไดเพ่ือใหนักเรียนชั้น ป.1

อานออกเขียนได โดยจัดทําเอกสารวิเคราะหผูเรียน วิเคราะหขอสอบและจัดกิจกรรมซอมเสริม จัดทําสื่อ

นวัตกรรมเพ่ือพัฒนาการอานออกเขียนได จัดทําและพัฒนาคูมือสําหรับพัฒนาการคิดและการอานรูเรื่องภาษาไทย ตรวจสอบผลการประเมินการอานการเขียนของแตละโรงเรียนจาการรายงานผลผานระบบ

e-MES ระบบติดตามและประเมินผลอิเล็กทรอนิกส นิเทศติดตามใหคําแนะนําชี้แนะแนวทางการแกปญหา

นักเรียนท่ีอานไมออกเขียนไมไดท้ังเด็กปกติและเด็กบกพรองการเรียนรู

Page 207: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

2. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินงาน การประเมินการทดสอบตาง ๆ มีมากเกินไป การประเมินการอานการเขียนยังขาดงบประมาณสนับสนุน การทดสอบเปนภารกิจของสถานศึกษาและกลุมสถานศึกษาซ่ึงอาจเกิดความคลาดเคลื่อนในมาตรฐานท่ีได สื่อ/นวัตกรรมไมเปนท่ีนาสนใจ การชี้แจงใหครูเขาใจเรื่องการนําคะแนนผลการประเมิน

e-mes เพ่ือการพัฒนาผูเรียนยังไมท่ัวถึง ขาดบุคลากรท่ีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน ครูสอนไมตรงกับ

สาขาวิชาท่ีเรียนและจํานวนครูมีไมเพียงพอ การนิเทศภายในไมตอเนื่อง และงบประมาณสนับสนุนไปยัง

สถานศึกษาโดยตรงไมมี

3. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) นโยบายควรชัดเจน มีความตอเนื่อง สามารถปฏิบัติไดจริง และใหโรงเรียนกําหนด

รูปแบบการขับเคลือ่นนโยบายตามสภาพและบริบทของโรงเรียน

2) กระบวนการวัดและประเมินดานการอาน การเขียน ของนักเรียน โดยเฉพาะระดับชั้น

ประถมศึกษาปท่ี 1 ควรดําเนินการประเมินในวันเดียวกันท่ัวประเทศ และใชมาตรฐานการจัดสอบท่ี

ควบคุมตัวแปรไดทุกข้ันตอน จึงจะสามารถรับรองผลการประเมินท่ีเปนปรนัยได

3) ควรมีการประเมินพัฒนาการของเด็กพิเศษ เพ่ือทราบพัฒนาการของเด็กพิเศษเพ่ือนํามาเปนฐานขอมูลในการการจัดกิจกรรมอยางเหมาะสม 4) โรงเรียนท่ีมีวิธีปฏิบัติท่ีเปนเลิศ ควรมีการเผยแพรผลงานเพ่ือใหสถานศึกษาอ่ืนนําไปปรับและประยุกตใช

นโยบายท่ี 9 การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา

1. ผลการดําเนินงาน สถานศึกษาใชกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมตามโครงการของตน

สังกัดหรือมูลนิธิยุวสถิรคุณหรือโครงการอ่ืนๆ แบบมีสวนรวม ดังนี้

ดานความพอเพียง จัดกิจกรรมรณรงคใชทรัพยากรของโรงเรียนอยางประหยัด กิจกรรม

รักการออม กิจกรรมสืบสานภูมิปญญาทองถ่ิน กิจกรรมโครงงานคุณธรรมจิตอาสา กิจกรรมงานสูอาชีพ

ดานความกตัญูรูคุณในวิถีชีวิต เชน การสอนใหนักเรียนยกน้ําดื่มใหพอแม ครูอาจารย

มีน้ําใจชวยถือสิ่งของ สัมภาระ การชวยทํางานบานตามกําลังของนักเรียน การชื่นชมใหกําลังใจนักเรียน

จัดกิจกรรมจิตอาสาชวยเหลือผูปวยและคนชรา

ดานความซ่ือสัตยสุจริตสรางคนดีใหกับชาติบานเมือง การสอนใหนักเรียนไมพูดโกหก

นักเรียนมีกิจกรรมไมลอกขอสอบ ไมลอกผลงานเพ่ือน กิจกรรม ปปช.นอยในโรงเรียนและชุมชน กิจกรรม

บันทึกความดี การปฏิบัติตามขอตกลงของหองเรียน กิจกรรมเขาแถวตามลําดับไมลัดคิว

ดานความรับผิดชอบ นักเรียนไดทํากิจกรรมโครงงานคุณธรรมจิตอาสาทําความสะอาด

โรงเรียน หมูบาน วัด รวมกับชุมชนรวมท้ังกิจกรรมจิตอาสาอ่ืนๆ เชน การชวยบริการน้ําดื่มในงานตาง ๆ

ของชุมชน เพ่ือเปนการฝกความรับผิดขอบตอตนเองและสงัคม กิจกรรมเพ่ือนชวยเพ่ือน พ่ีสองนอง ชวยเหลือ

ผูปวยและคนชราในหมูบาน

Page 208: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

2. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินงาน นโยบายมีมากเกินไป ครู/นักเรียน ปฏิบัติสนองนโยบายทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ

นักเรียนต่ําลง บางโรงเรยีนผูบรหิารไมใหความสําคัญในการจดักิจกรรม ขาดความรูความเขาใจในการออกแบบ

กิจกรรมการเรียนรูท่ีปลูกฝงคุณลักษณะพอเพียง ผานสื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู ท่ีสอดคลองกับการวัดและประเมินผล การพัฒนาแหลงเรียนรู การจัดสภาพบริบทสิ่งแวดลอมในสถานศึกษาไมเอ้ือตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คณะกรรมการประเมินหลายชุด และการจดัสรรงบประมาณไมตรง และไมเพียงพอตอการบริหารจัดการ 3. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

1) สพฐ. ควรปรับปรุงแนวทางปฏิบัติใหสอดคลองกับแนวทางปฏิบัติของมูลนิธิฯ

2) การปฏิบัติตามนโยบายบางอยางมีเปาหมายเดียวกัน แตคนละหนวยงาน กอนนําสูการปฏิบัติ

ควรมีการวิเคราะหหลอมรวมกิจกรรมและงบประมาณเขาดวยกัน เพราะบางกิจกรรมสามารถตอบสนอง

ตัวชี้วัดและเปาหมายตามนโยบายไดหลากหลาย

3) ผูประเมินดานสถานศึกษาคุณธรรมควรมีความรูความเขาใจหลักเกณฑการประเมิน ทุกสถานศึกษาตามสังกัด

3) ควรงดการประเมินโรงเรียนคุณธรรมเปนการนิเทศ ติดตามโครงการโรงเรียนคุณธรรมแทน

และใหมีการประกวดโครงงานคุณธรรมท้ัง 4 ดาน เพ่ือสรางขวัญและกําลังใจสูสถานศึกษาและตัวผูเรียน

นโยบายท่ี 10 การขับเคล่ือนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค 1. ผลการดําเนินงาน สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด ไดดําเนินการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติและยุทธศาสตรกระทรวงสูการปฏิบัติ มีการจัดประชุมสัมมนากับหนวยงานท่ีเก่ียวของเพ่ือทําความเขาใจในการปฏิบัติงาน

จัดระบบขอมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาไดตามอํานาจหนาท่ีและภารกิจโดยมีเว็ปไซตประชาสัมพันธของสํานักงาน มีขอมูลสารสนเทศกลางดานการศึกษา และมีระบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส มีกระบวนการประสานงานและพัฒนาเครือขายการปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธิภาพและเปนท่ีพึงพอใจของผูรับบริการและผูเก่ียวของ 2. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินงาน การทําความเขาใจบทบาทและหนาท่ีของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดกับหนวยงานท่ีเก่ียวของไมชัดเจนทําใหการประสานความรวมมือกับบางหนวยงานลาชา ไมทันเวลาท่ีกําหนด 3. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) กระทรวงศึกษาธิการควรชี้แจงใหหนวยงานท่ีเก่ียวของเห็นความสําคัญและทราบบทบาทท่ีสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดจะตองดําเนินการในสวนท่ีเก่ียวของ 2) ควรใหหัวหนาหนวยงานเห็นความสําคัญและมีสวนรวมในการประสานงานกับทุกภาคสวน

นโยบายท่ี 11 การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

Page 209: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

-

นโยบายท่ี 12 การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต

และพ้ืนท่ีพิเศษ

-

นโยบายท่ี 13 การพัฒนาครูท้ังระบบ 1. ผลการดําเนินงาน ครูท่ีผานการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร นําผลการพัฒนามาใชในการเรียนการสอน โดยการผลิตสื่อและพัฒนาสื่อการสอน เลือกใชสื่อใหเหมาะสม ใชเทคโนโลยีและสรางนวัตกรรม

ทางการเรียนรูใหเหมาะสมกับผูเรียนไดดียิ่งข้ึน ออกแบบการจัดกิจกรรมการสอนใหเขากับระดับความรู

และความแตกตางของนักเรียน จัดกิจกรรมการเรียนรูในหองเรียนท่ีหลากหลายและสามารถบูรณาการ

การเรียนรูกับวิชาอ่ืนๆ ไดดียิ่งข้ึน

2. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินงาน ระยะเวลาดําเนินการเรงดวนเกินไป ทําใหครูท่ีมีความประสงคจะเขารับการอบรมพัฒนา

ไมสามารถลงทะเบียนไดทันตามกําหนดเวลา ผูบริหารไมสนใจระบบทําใหการอนุมัติการอบรมของครู

ลาชา โรงเรียนมีภาระงานหลายดานทําใหการดําเนินงานไมเขมขนและขาดความตอเนื่อง ขาดการ

ประชาสัมพันธท่ีชัดเจน การเบิกจายเงินในการเขาอบรมพัฒนาบางสวนไมสามารถเบิกจายไดทันทําให

ครูบางสวนตองสํารองจายเงินคาลงทะเบียนกอน ศูนยพัฒนาหลักสูตรอยูหางไกล และหลักสูตรท่ีจัด

อบรมพัฒนาไมตรงตามความตองการของครู 3. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

1) สพฐ. ควรกําหนดหลักสูตรการพัฒนาบุคลากรท่ีสําคัญๆ จากสวนกลาง เพ่ือใหการ

พัฒนาครอบคลุมขาราชการในทุกระดับ และใหเขตพ้ืนท่ีการศึกษาไดมีสวนรวมในการวิเคราะหหลักสูตร

2) ควรแจงหลักสูตรท่ีจะพัฒนาใหทราบลวงหนา เพ่ือครูจะไดมีเวลาศึกษาประกอบการ

ตัดสินใจกอนเขารับการพัฒนา และเลือก Shopping หลักสูตรตั้งแตเริ่มปงบประมาณ โดยสามารถเลือก

ระยะเวลาในการอบรมและหลักสูตรท่ีเหมาะสมตามสภาพบริบทของแตละบุคคล 3) ควรจัดสรรงบประมาณใหเขตพ้ืนท่ีการศึกษาในการออกนิเทศติดตามครูท่ีผานการ

อบรมพัฒนาเก่ียวกับการนําความรูไปใชในการจัดการเรียนการสอน

นโยบายท่ี 14 การพัฒนาผูเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด 1. ผลการดําเนินงาน 1) มีนโยบายในการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ โดยการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพ่ือใหเปนผูนําองคกรการเรียนรูในการจัดการเรียนการสอนลูกเสือเพ่ือพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค ยกระดับคุณภาพการบริหารงานภายในกองลูกเสือโรงเรียน ใหเปนตนแบบการบริหารลูกเสือท่ีเปนระบบ

Page 210: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

สรางความเขมแข็งและสงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการดําเนินกิจการลูกเสือในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาใหมีความม่ันคงและเจริญกาวหนา และปลูกฝงคุณธรรม สํานึกความเปนไทย ความมีระเบียบวินัย และคานิยมอันพึงประสงคใหแกนักเรียนทุกคน โดยใชกระบวนการลูกเสือ 2) ทุกหนวยงานไดจัดทําแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการลูกเสือ และมีการขับเคลื่อน โดยวางแผนจัดระบบขอมูลสารสนเทศและการบริหารงานลูกเสือ ยุวกาชาด และผูบําเพ็ญประโยชนใหสามารถดําเนินงานตามภารกิจไดอยางมีประสิทธิภาพ สงเสริม สนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรทางการลูกเสือ และนักเรียนไดเขารับการฝกอบรมประชุม สัมมนาในกิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาดและผูบําเพ็ญประโยชน พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมโดยใชกิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาดและผูบําเพ็ญประโยชน เนนการฝกปฏิบัติจริง ตามกระบวนการ/วิธีการของลูกเสือ ยุวกาชาด และตามแนวทางการปฏิรูปกระบวนการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ 2. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินงาน ไมมีขอมูลท่ีถูกตองในการดําเนินงาน ขาดบุคลากรทางลูกเสอืท่ีมีความชํานาญในการจัดกิจกรรม

งบประมาณในการดําเนินกิจกรรมตามนโยบายไมเพียงพอ ขาดความตอเนื่องของนโยบาย และความมุงม่ันและความรวมมือในการปฏิบัติตามหนาท่ีของครู ผูบรหิาร บุคลากรทางการศึกษา และผูมีสวนเก่ียวของมีนอย

3. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) ควรมีการจัดฝกอบรม ทบทวน พัฒนาเพ่ือเพ่ิมความรู ทักษะทางดานลูกเสืออยาง

ตอเนื่อง

2) ควรใหความสําคัญในกิจกรรมพัฒนาผูเรียนอยางจริงจัง เนื่องจากเยาวชนไดรับการพัฒนาท้ังรางกาย จิตใจ สติปญญา และศีลธรรมทําใหลูกเสือ เนตรนารี เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และชวยสรางสรรคสังคมใหเกิดความสามัคคี รักชาติ และประเทศมีความเจริญกาวหนา 3) ควรสงเสริมพัฒนางานดานลูกเสืออยางตอเนื่องท้ังดานงบประมาณ บุคลากร การ

จัดหาวัสดุอุปกรณในการจัดการเรียนการสอนลูกเสือในสถานศึกษาใหครบถวนเพ่ือเสริมสรางความเปน

พลเมืองท่ีดีของสังคม และมีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการรายงานอยางตอเนื่อง

จุดเนนพิเศษตามขอส่ังการของนายกรัฐมนตรี

1. การลดช่ัวโมงเรียนดานวิชาการ ลดปริมาณการบาน ลดการเรียนพิเศษ เสริมจากการเรียนใน

หองเรียนปกติ

1.1 ผลการดําเนินงาน

โดยภาพรวมการลดชั่วโมงเรียน โรงเรียนสวนใหญไมไดมีการดําเนินการมากนัก เนื่องจาก

ทุกโรงเรียนจัดโครงสรางเวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และ

ท่ีปรับปรุงในป 2560 ระหวาง 1,000-1,200 ชั่วโมง มีการเพ่ิมเวลาเรียนวิชาภาษาอังกฤษ เปน 5 ชั่วโมง

ซ่ึงโรงเรียนสอนตามปกติ การลดชั่วโมงเรียนดานวิชาการเปนความรูและทักษะในการออกแบบการจัด

กิจกรรมการเรียนรูของครูท่ีจะจัดกิจกรรมใหเด็กไดฝกปฏิบัติควบคูไปกับการเรียนทางวิชาการ ใหเด็ก

Page 211: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

เกิดความสนใจ ใฝรู และสนุกสนานในการเรียนรู สวนการบานในโรงเรียนขนาดเล็ก สวนใหญครูคนเดียว

สอนหลายวิชาและเปนครูประจําชั้นดวย จึงทราบขอมูลการบานรายวิชาของนักเรียน แตในโรงเรียนขยาย

โอกาสจะมีการบานในวิชาหลักแตไมมากเกินไปจนสรางปญหาเพราะนักเรียนจะแจงใหครูทราบวามี

การบานวิชาใดบางแลวลดการเรียนพิเศษ และสวนใหญไมมีการสอนพิเศษ ยกเวนโรงเรียนใหญ ๆ ท่ีเปน

โรงเรียนเอกชน

1.2 ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงาน

โรงเรียนสวนใหญหวงเรื่องผลการสอบ O-Net/ NT จึงยังเนนการสอนวิชาการเพ่ือสอบ

คานิยมของผูปกครองท่ีตองการใหลูกเรียนพิเศษเพ่ิมเติมเพ่ือการสอบเขามหาวิทยาลัย และระบบการสอบ

เขามหาวิทยาลัยท่ีตองแขงขัน ทําใหนักเรียนตองแสวงหาเทคนิควิธีการสอบ โดยการเรียนพิเศษและผูปกครอง

นักเรียนและชุมชนมีคานิยมทางการศึกษาท่ีไมสอดคลองกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกการศึกษา

ในปจจุบัน สงผลใหไมไดรับความรวมมือจากผูปกครองและชุมชนเพราะไมเห็นแนวปฏิบัติของโรงเรียนท่ี

กําหนดข้ึนจากนโยบายของตนสังกัด

1.3 ขอเสนอแนะ

1) ควรชี้แจงแนวทางการปฏิบัติการลดชั่วโมงเรียนดานวิชาการ ลดปริมาณการบาน ลด

การเรียนพิเศษเสริมจากการเรียนในหองเรียนปกติใหผูปกครองทราบและทําความเขาใจท่ีถูกตอง

2) หนวยงานตนสังกัดควรหาแนวทางการลดภาระงานอ่ืนนอกเหนือจากงานสอนใหกับครู

และสรางสื่ออุปกรณใหสอดคลองกับความตองการท่ีจําเปนในการจัดกิจกรรมใหกับโรงเรียนและครูผูสอน

2. การประเมินผลคุณภาพการศึกษาท่ีมีมาตรฐานเปนท่ียอมรับ

2.1 ผลการดําเนินงาน

ระดับหนวยงานตนสังกัด

ประชุมชี้แจงใหความรูแนวทางการออกขอสอบท่ีเปนขอสอบวัดผลการคิดข้ันสูง และตระหนัก

ในเรื่องการประเมินคุณภาพการศึกษาแกสถานศึกษาในสังกัด สงเสริมใหสถานศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ใชขอสอบท่ีพัฒนาโดยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน นําไปใชทดสอบในกลุมสาระการเรียนรู

ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

ในทุกระดับชั้นท่ีมีการทดสอบระดับชาติ และนําผลการสอบของนักเรียนในปท่ีผานมาเปรียบเทียบความ

กาวหนาและวางแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน หาจุดเดน จุดดอย เพ่ือนําไปพัฒนาตอยอดจัดทํา

แผนนิเทศ ติดตาม และใหคําแนะนําสถานศึกษาในสังกัด เก่ียวกับการใชเครื่องมือวัดและประเมินผลผูเรียน ระดับโรงเรียน

โรงเรียนใชเครื่องมือตามหลักสูตรในการประเมินนักเรียนท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานและ

Page 212: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

นําผลการประเมินมาใชในการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนใหบรรลุมาตรฐาน

ตัวชี้วัดสําคัญในหลักสูตรและเนนใหผูเรียนใชทักษะการคิดข้ันสูง ตามแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพ

ผูเรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในเรื่องแนวปฏิบัติในการใชขอสอบกลางในการสอบปลายปของผูเรียน

ปการศึกษา 2560

2.2 ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงาน

โรงเรียนสวนใหญเปนโรงเรียนท่ีตั้งอยูในพ้ืนท่ีเศรษฐกิจยากจน มีปญหาดานเศรษฐกิจ

ฐานะยากจน คลาดแคลนมีปญหาครอบครัวหยาราง เด็กในวัยเรียนอาศัยอยูกับ ผูสูงอายุ เกิดภาวะปญหาท่ี

สงผลใหนักเรียนมีพัฒนาการไมเปนไปตามวัย เนื่องจากปญหาจากครอบครัว สวนโรงเรียนขนาดเล็กจะมี

ปญหาเรื่องครูไมครบชั้น ขาดงบประมาณสนับสนุนรายหัว และการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน

ยังไมครอบคลุมทุกมาตรฐานตัวชี้วัด

2.3 ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา

1) หนวยงานท่ีเก่ียวของท้ังระดับ สพฐ. ตนสังกัด ตองมีการจัดทําขอมูลพ้ืนฐาน และมี

การประสานการแกปญหาทุกภาคสวน เพ่ือรวมกันแกปญหาเชิงโครงสราง และทํางานแบบบูรณาการ

ไมแยกสวนกัน

2) ควรมีการสรางความเขมแข็งในระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเพ่ือพรอม

รับการประเมินภายนอกอยางตอเนื่อง

3) ควรชี้แจงทําความเขาใจในการดําเนินงานรวมกับหนวยงานทางการศึกษา และใช

งบประมาณรวมกันในการดําเนินงาน เพ่ือใหสามารถขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหเกิดผลสําเร็จ

อยางมีประสิทธิภาพ

Page 213: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

สารบัญ

หนา

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

คํานํา

สารบัญ

บทท่ี 1 บทนํา….……………………………………………………………………………………........................... 1 1 ความเปนมาของการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล ...………………..…………............. 2 วัตถุประสงคของการติดตามประเมินผล ....................…............…………….………………… 3 กรอบแนวคิดของการติดตามประเมินผล .…………………………………......................……... 4 ขอบเขตของการติดตามประเมินผล ................................................................................ 5 คํานิยามศัพท................................................................................................................ 6 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ........................................................................................... บทท่ี 2 ขอมูลและเอกสารท่ีเกี่ยวของ........................................................................................... 1 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ................. 2 พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ.2546 3 ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการตรวจราชการ การติดตามตรวจสอบ และ ประเมินผลการจัดการศึกษา พ.ศ. 2560 ............................................................... 4 คําสั่งคณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี 19/2560 ......................................................... 5 นโยบายของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป) 6 นโยบายการตรวจราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ....................................... 7 แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 (แผน 20 ป) ............................................ 8 สภาพท่ัวไปของสํานักงานศึกษาธิการภาค 12 ................................................................

1 2 2 3 6 7 8 8 9

9 12 12 13 14 15

บทท่ี 3 ผลการดําเนินงาน ............................................................................................................... 25 นโยบายท่ี 1 การยกระดับคุณภาพการศึกษา ...................................................................... นโยบายท่ี 2 การจัดการศึกษาปฐมวัย ................................................................................ นโยบายท่ี 3 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ....................................................................... นโยบายท่ี 4 การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห .................................................................. นโยบายท่ี 5 การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ .................................................................... นโยบายท่ี 6 การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ นโยบายท่ี 7 การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก .................................................... นโยบายท่ี 8 การอานออกเขียนได ...................................................................................... นโยบายท่ี 9 การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา ................................................

25 39 42 46 49 52 54 57 60 65 66

66

Page 214: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

นโยบายท่ี 10 การขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค ............................. นโยบายท่ี 11 การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา .................................. นโยบายท่ี 12 การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใตและพ้ืนท่ีพิเศษ .............................................................. นโยบายท่ี 13 การพัฒนาครูท้ังระบบ ................................................................................ นโยบายท่ี 14 การพัฒนาผูเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด ........

67 70

สารบัญ (ตอ)

หนา จุดเนนพิเศษตามขอส่ังการของนายกรัฐมนตรี 1 การลดชั่วโมงเรียนดานวิชาการ ลดปริมาณการบาน ลดการเรียนพิเศษเสริมจาก การเรียนในหองเรียนปกติ .........................................................................................

73

73 2 การประกันผลคุณภาพการศึกษาท่ีมีมาตรฐานเปนท่ียอมรับ ............................................. 75 ภาคผนวก…………………………………………………………………………………………………………………………

ก นโยบายการตรวจราชการ ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ....................................... ข เครื่องมือการจัดเก็บขอมูล ........................................................................................... ค รายชื่อผูบริหารหนวยรับตรวจ เขตตรวจราชการท่ี 12 ................................................

77 78 81

101

คณะผูจัดทํา ..…………………………………………………………………………………………………….…….. 103

Page 215: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

สารบัญตาราง

ตาราง หนา 1 แสดงแนวทางการตรวจราชการ..................................................................................................... ๒ 2 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET วิชาหลัก ๕ รายวิชา ของนักเรียนชั้น ป. ๖ ................ ๑๗ 3 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET วิชาหลัก ๕ รายวิชา ของนักเรียนชั้น ม. ๓ ................ ๑๘ 4 แสดงคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET วิชาหลัก ๕ รายวิชา ของนักเรียนชั้น ม. ๖ ................ ๑๙ 5 แสดงผลทดสอบทางการศึกษาระดับชาติทางดานอาชีวศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๙ จําแนกระดับ

จังหวัด ในพ้ืนท่ีสํานักงานศึกษาธิการภาค ๑๒ .......................................................................

๒๐ ๖ แสดงจํานวนโรงเรียนประชารัฐ แยกเปนรายเขตพ้ืนท่ีการศึกษา .................................................. ๒๘ ๗ แสดงโรงเรียนท่ีเขารวมโครงการโรงเรียนคุณธรรม........................................................................ ๓๖ ๘ แสดงจํานวนโรงเรียน ICU ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบสํานักงานศึกษาธิการภาค ๑๒ ............................... ๕๘

Page 216: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

1

บทท่ี 1

บทนํา

1. ความเปนมาของการติดตามประเมินผล

การตรวจราชการเปนมาตรการสําคัญประการหนึ่งในการบริหารราชการแผนดินท่ีจะทําใหการ

ปฏิบัติราชการหรือการปฏิบัติภารกิจของหนวยงานของรัฐบรรลุเปาหมาย สอดคลองกับแผนการบริหารราชการ

แผนดินและนโยบายของรัฐบาล สามารถแกไขปญหาอุปสรรค และกอใหเกิดประโยชนสุขแกประชาชนดวย

ความโปรงใสเปนธรรม ประหยัด และมีประสิทธิภาพ ตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการ

บริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 มาตรา 6 บัญญัติวา การบริหารราชการตองเปนไปเพ่ือประโยชนสุข

แกประชาชนเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ โดย

ประชาชนไดรับการอํานวยความสะดวกและไดรับการตอบสนองความตองการโดยมีผูตรวจราชการกระทรวง

รับผิดชอบและมีอํานาจหนาท่ีในการตรวจราชการเก่ียวกับการปฏิบัติราชการของหนวยงานของรัฐและ

เจาหนาท่ีของรัฐเฉพาะในขอบเขตอํานาจหนาท่ีของกระทรวง ในฐานะผูสอดสองดูแลแทนรัฐมนตรีวาการ

กระทรวงและปลัดกระทรวง ตามท่ีกําหนดไวในขอ 9 ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการตรวจราชการ

พ.ศ. 2548 และขอ 8 กําหนดใหการตรวจราชการดําเนินการตามแผนการตรวจราชการประจําปหรือตามท่ีไดรับ

คําสั่งจากผูบังคับบัญชานายกรัฐมนตรี หรือคณะรัฐมนตรีโดยใหจัดทําแผนการตรวจราชการประจําปใหแลวเสร็จ

ตามกําหนดเวลารวมท้ังกําหนดมาตรฐานและเครื่องมือในการตรวจราชการของผูตรวจราชการใหเปนไปใน

ทิศทางเดียวกัน

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 20 บัญญัติให

กระทรวงศึกษาธิการมีผูตรวจราชการของกระทรวงเพ่ือทําหนาท่ีในการตรวจราชการ และติดตาม

ประเมินผลระดับนโยบาย การนิเทศ ใหคําปรึกษา แนะนํา เพ่ือการปรับปรุงพัฒนาการบริหารจัดการศึกษาของ

กระทรวงศึกษาธิการ ประกอบกับคําสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี 19/2560 ขอ 5 (4) ให

สํานักงานศึกษาธิการภาคมีอํานาจหนาท่ีสนับสนุนการตรวจราชการและการติดตามประเมินผลการ

ดําเนินงานตามยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการในพ้ืนท่ีรับผิดชอบและประกาศสํานักงานปลัดกระทรวง

ศึกษาธิการ เรื่อง การแบงหนวยงานภายในสํานักงานศึกษาธิการภาค และสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัด

สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ขอ 2.5 และ 4.5 เก่ียวกับหนาท่ีความรับผิดชอบดานการตรวจราชการ

และการติดตามประเมินผลของสํานักงานศึกษาธิการภาคและสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด และระเบียบ

กระทรวงศึกษาธิการวาดวยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา พ.ศ.

2560 ไดกําหนดรายละเอียดแนวทางการตรวจราชการการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัด

Page 217: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

2

การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการใหมีความชัดเจนยิ่งข้ึนนอกจากนั้นประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง

การแบงสวนราชการภายในสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา พ.ศ. 2560 ขอ 5 (4) ใหสํานักงานเขตพ้ืนท่ี

การศึกษา กํากับ ดูแล ติดตามและประเมินผลสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานและในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12 ในฐานะเปนหนวยงานสนับสนุนการตรวจราชการของผูตรวจ

ราชการกระทรวงศึกษาธิการตามคําสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติท่ี 19/2560 เรื่องการปฏิรูป

การศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันท่ี 3 เมษายน 2560 อาศัยอํานาจตามขอ 5 ใหมี

สํานักงานศึกษาธิการภาค จํานวนสิบแปดภาค สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือปฏิบัติภารกิจ

ของกระทรวงศึกษาธิการในระดับพ้ืนท่ี ทําหนาท่ีขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัดโดยการ

อํานวยการสงเสริม สนับสนุน และพัฒนาการศึกษาแบบรวมมือ และบูรณาการกับหนวยงานในสังกัด

กระทรวงศึกษาธิการ และหนวยงานอ่ืนหรือภาคสวนท่ีเก่ียวของในพ้ืนท่ีนั้น ๆ และกําหนดใหมีอํานาจหนาท่ี

ขอ (4) สนับสนุนการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตรของ

กระทรวงศึกษาธิการในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ในเขตตรวจราชการท่ี 12 สํานักงานศึกษาธิการภาค 12 ได

ปฏิบัติงานสนับสนุนการตรวจราชการของผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการเพ่ือใหการตรวจราชการของ

ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ เปนมาตรการสําคัญในการตรวจและติดตามการดําเนินงานของ

หนวยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาท่ีนํานโยบายของกระทรวงศึกษาธิการไปสูการปฏิบัติในพ้ืนท่ี ได

อยางมีประสิทธิภาพและบรรลุเปาหมายสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ

ตลอดจนมีความโปรงใส เปนธรรม ประหยัด สมประโยชนตอทางราชการ เปนไปตามหลักการบริหารกิจการ

บานเมืองท่ีดี รวมท้ังเปนการดําเนินการในฐานะผูสอดสอง ดูแล แทนรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ

รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ และผูบริหารระดับสูงของกระทรวงศึกษาธิการ จึงไดจัดทํารายงาน

การติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ รอบท่ี 2 ประจําปงบประมาณ

พ.ศ. 2561 ข้ึน

2. วัตถุประสงคของการติดตามประเมินผล

1) เพ่ือรายงานการติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ รอบ

ท่ี 2 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ในเขตตรวจราชการท่ี 12

2) เพ่ือทราบผลการดําเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการกรณีปกติ รอบท่ี 2 ประจําปงบประมาณ

พ.ศ. 2561 ของกระทรวงศึกษาธิการรวมท้ังปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ของหนวยงาน/

สถานศึกษา ในเขตตรวจราชการท่ี 12

Page 218: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

3

3. กรอบแนวคิดของการติดตามประเมินผล

การตรวจราชการของกระทรวงศึกษาธิการในปจจุบันไดใชแนวปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายก

รัฐมนตรี วาดวยการตรวจราชการ พ.ศ. 2548 พระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ

พ.ศ. 2546 (มาตรา 20) และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการตรวจ ติดตาม ประเมินผลและนิเทศ

การศึกษา พ.ศ. 2549 แบงการตรวจราชการเปน 3 ประเภท ไดแก การตรวจราชการกรณีปกติ การตรวจราชการ

แบบบูรณาการ และการตรวจราชการกรณีพิเศษ การตรวจราชการแตละประเภทจะมีแนวทางการตรวจราชการ

เปนลักษณะเฉพาะ มีวิธีการตรวจและการรายงานผล แยกออกจากกัน ดังนี้

แนวทางการตรวจราชการ

ประเภทการตรวจ ลักษณะการตรวจ ระยะเวลาการตรวจ การรายงานผล

1. การตรวจ

ราชการกรณีปกติ

- ตรวจตามนโยบายการตรวจ

ราชการ ของ รมว.ศธ.

ปละ 2 รอบ ดังนี้

- รอบท่ี 1 ต.ค.-มี.ค.

- รอบท่ี 2 เม.ย.-ก.ย.

- รายงาน เชิงการ

ตรวจ ติดตามและ

ประเมินผล

2. การตรวจ

ราชการ

แบบบูรณาการ

- ตรวจรวมกับการตรวจ

ราชการกรณีปกติ

- ตรวจราชการรวมกับผูตรวจ

ราชการสํานักนายกรัฐมนตรี

และกระทรวงอ่ืนๆ

ปละ 2 รอบ ดังนี้

- รอบท่ี 1 Project and

Progress Review

ต.ค.-มี.ค.

- รอบท่ี 2 Monitoring

and Evaluation

เม.ย.-ก.ย.

- รายงาน ตามแบบ

รายงานท่ีสํานัก

นายกรัฐมนตรี

กําหนด

3. การตรวจ

ราชการกรณีพิเศษ

- ตรวจสอบเรื่องท่ีไดรับการ

รองเรียนเรื่องท่ีเก่ียวกับ

สถานการณ หรือเหตุการณ

สําคัญหรือสาธารณภัยอัน

จําเปนท่ีรัฐบาลและหนวยงาน

ของรัฐตองเขาไปชวยเหลือและ

แกไขใหทัน

- ตามระยะเวลาท่ีเกิดข้ึน

หรือตามท่ีไดรับมอบหมาย

- รายงาน

ผูบังคับบัญชาทราบ

ความกาวหนา

ผลการดําเนินการ

ตามท่ีไดรับ

มอบหมาย

Page 219: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

4

4. ขอบเขตของการติดตามประเมินผล

ขอบเขตการรายงานการติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ

ในเขตตรวจราชการท่ี 12 รอบท่ี 2 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ในระหวางเดือนเมษายน ถึงเดือน

กันยายน 2561 โดยจะรายงานผลการดําเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการกรณีปกติของ

กระทรวงศึกษาธิการ รวมท้ังปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ของหนวยงาน/สถานศึกษา ใน

ภาพรวมของเขตตรวจราชการท่ี 12 ประกอบดวย จังหวัดรอยเอ็ด ขอนแกน มหาสารคาม และจังหวัด

กาฬสินธุ

ขอบเขตดานพ้ืนท่ีและผูรับการตรวจ

1. ขอบเขตดานพ้ืนท่ีเปนการกําหนดเขตตรวจราชการของผูตรวจราชการสํานักนายกรัฐมนตรี ให

สอดคลองกับการปรับปรุงการจัดกลุมจังหวัดและการกําหนดจังหวัดท่ีเปนศูนยปฏิบัติการกลุมจังหวัด 18 กลุม

จังหวัด ตามมติคณะรัฐมนตรี โดยใหทุกกระทรวง ทบวง กรม ปรับปรุงเขตตรวจราชการใหสอดคลองกับการ

กําหนดเขตตรวจราชการ สํานักนายกรัฐมนตรีจึงมีคําสั่งสํานักนายกรัฐมนตรี ท่ี 10/2551 ลงวันท่ี 30

มกราคม 2551 เรื่อง การกําหนดเขตตรวจราชการของผูตรวจราชการสํานักนายกรัฐมนตรี โดยเขตตรวจ

ราชการท่ี 12 ประกอบดวยจังหวัดรอยเอ็ด ขอนแกน มหาสารคาม และจังหวัดกาฬสินธุ

2. ขอบเขตของผูรับการตรวจ ไดแก หนวยงานทางการศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

จํานวน 30 แหง ดังนี้

1) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด 4 จังหวัด ไดแก

(1) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดรอยเอ็ด

(2) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดขอนแกน

(3) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดมหาสารคาม

(4) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ

2) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา (สพป.) 14 เขต ไดแก

(1) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษารอยเอ็ด เขต 1

(2) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษารอยเอ็ด เขต 2

(3) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษารอยเอ็ด เขต 3

(4) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต 1

(5) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต 2

(6) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต 3

Page 220: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

5

(7) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต 4

(8) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต 5

(9) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1

(10) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2

(11) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3

(12) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ เขต 1

(13) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ เขต 2

(14) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ เขต 3

3) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) เขต 4 ไดแก

(1) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 (กาฬสินธุ)

(2) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 (ขอนแกน)

(3) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 (มหาสารคาม)

(4) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 (รอยเอ็ด)

4) สํานักงานอาชีวศึกษาจังหวัด 4 แหง ไดแก

(1) สํานักงานอาชีวศึกษาจังหวัดรอยเอ็ด

(2) สํานักงานอาชีวศึกษาจังหวัดขอนแกน

(3) สํานักงานอาชีวศึกษาจังหวัดมหาสารคาม

(4) สํานักงานอาชีวศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ

5) สํานักงาน กศน.จังหวัด 4 แหง ไดแก

(1) สํานักงาน กศน.จังหวัดรอยเอ็ด

(2) สํานักงาน กศน.จังหวัดขอนแกน

(3) สํานักงาน กศน.จังหวัดมหาสารคาม

(4) สํานักงาน กศน.จังหวัดกาฬสินธุ

ขอบเขตดานเนื้อหา

ขอบเขตดานเนื้อหา ไดแก นโยบาย/ประเด็นการการตรวจราชการ ประจําปงบประมาณพ.ศ.

2561 ตามคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการท่ี สป 1828/2560 ลงวันท่ี 8 พฤศจิกายน 2560 ประกอบดวย

นโยบาย ดังนี้

1. การยกระดับคุณภาพการศึกษา

2. การจัดการศึกษาปฐมวัย

Page 221: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

6

3. การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

4. การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห

5. การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ

6. การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ

7. การยกระดับคุณภาพสถานศึกษาท่ีตองการความชวยเหลือและพัฒนาเปนพิเศษอยาง

เรงดวน (ICU)

8. การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก

9. การอานออกเขียนได

10. การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา

11. การขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค

12. การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

13. การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและ

พ้ืนท่ีพิเศษ

14. การพัฒนาครูท้ังระบบ

15. การพัฒนานักเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด

เนื่องจาก นายกรัฐมนตรีไดสั่งการในคราวประชุมคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 3 มกราคม 2561 ให

กระทรวง ศึกษาธิการเรงรัดดําเนินการพัฒนาระบบการศึกษาในภาพรวมของประเทศใหมีประสิทธิภาพและให

ความสําคัญกับเรื่องท่ีเก่ียวของและมีผลกระทบกับประชาชน กอปรกับกระทรวงศึกษาธิการโดยสํานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไดยุติการดําเนินการโครงการยกระดับคุณภาพโรงเรียนท่ีตองการความ

ชวยเหลือและพัฒนาเปนพิเศษอยางเรงดวน (ICU) จึงไดยกเลิกคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สป 1828/2560

ลงวันท่ี 8 พฤศจิกายน 2560 และมีคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สป. 403/2561 ลงวันท่ี 23 กุมภาพันธ

2561 มอบหมายใหผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการตรวจราชการตามนโยบายการตรวจราชการ ประจําป

งบประมาณ พ.ศ. 2561 ดังนี้

1. การยกระดับคุณภาพการศึกษา

2. การจัดการศึกษาปฐมวัย

3. การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

4. การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห

5. การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ

6. การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ

Page 222: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

7

7. การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก

8. การอานออกเขียนได

9. การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา

10. การขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค

11. การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

12. การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและ

พ้ืนท่ีพิเศษ

13. การพัฒนาครูท้ังระบบ

14. การพัฒนานักเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด

จุดเนนพิเศษตามขอส่ังการของนายกรัฐมนตรี

1. การลดชั่วโมงเรียนดานวิชาการ ลดปริมาณการบาน และการลดการเรียนพิเศษเสริมจาก

การเรียนในหองเรียนปกติ

2. การประเมินผลคุณภาพการศึกษาท่ีมีมาตรฐานเปนท่ียอมรับ

5. คํานิยามศัพท

การตรวจราชการ หมายถึงการตรวจ ติดตามผล เรงรัด แนะนํา สืบสวน สอบสวน สอบ

ขอเท็จจริง สดับตรับฟงเหตุการณ เสนอแนะ ติดตอประสานงาน ตรวจเยี่ยมหรือดําเนินการอ่ืนใดเพ่ือใหการ

ปฏิบัติงานของหนวยงานของรัฐและเจาหนาท่ีของรัฐสัมฤทธิ์ผลตามนโยบายของรัฐบาลและของกระทรวง

การติดตามประเมินผล หมายถึง การกํากับ ติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายการ

ตรวจราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ลงวันท่ี 23 กุมภาพันธ 2561 จํานวน 14 นโยบายของ

หนวยงานทางการศึกษา ในพ้ืนท่ีเขตตรวจราชการท่ี 12

เขตตรวจราชการท่ี 12 หมายถึงการกําหนดเขตตรวจราชการของผูตรวจราชการสํานัก

นายกรัฐมนตรีใหสอดคลองกับการปรับปรุงการจัดกลุมจังหวัดและการกําหนดจังหวัดท่ีเปนศูนยปฏิบัติการ

กลุมจังหวัด 18 กลุมจังหวัด ตามมติคณะรัฐมนตรี โดยใหทุกระทรวง ทบวง กรม ปรับปรุงเขตตรวจราชการ

ใหสอดคลองกับการกําหนดเขตตรวจราชการ สํานักนายกรัฐมนตรีจึงมีคําสั่งสํานักนายกรัฐมนตรีท่ี

10/2551 ลงวันท่ี 13 มกราคม 2551 เรื่อง การกําหนดเขตตรวจราชการของผูตรวจราชการสํานัก

นายกรัฐมนตรี โดยเขตตรวจราชการท่ี 12 ประกอบดวย จังหวัดรอยเอ็ด ขอนแกน มหาสารคาม และ

จังหวัดกาฬสินธุ

องคกรหลักของการตรวจราชการ หมายถึงหนวยงานทางการศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

ในพ้ืนท่ีเขตตรวจราชการท่ี 12 ไดแก สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

Page 223: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

8

ประถมศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา กลุมสงเสริมการศึกษาเอกชน สํานักงานอาชีวศึกษา

จังหวัด และสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด

6. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

กระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานตนสังกัดนําผลการดําเนินงาน ปญหา/อุปสรรค และขอเสนอแนะ

ตามนโยบายการตรวจราชการกรณีปกติของกระทรวงศึกษาธิการ รอบท่ี 2 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

ในเขตตรวจราชการท่ี 12 สําหรับเปนขอมูลสารสนเทศในการปรับปรุงและพัฒนาแนวทางการดําเนินงาน

ตามนโยบายแหงรัฐและกระทรวงศึกษาธิการ

Page 224: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

8

บทท่ี 2

ขอมูลและเอกสารท่ีเกี่ยวของ

จากการศึกษาวิเคราะหขอมูลจากบริบทท่ีเก่ียวของ เพ่ือใชเปนขอมูลประกอบการกําหนดแนวคิด

สําหรับการจัดทํารายงานการติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ รอบท่ี 2 ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีขอมูลสําคัญท่ีใชศึกษา ประกอบดวย 1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546

2. พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546

3. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการตรวจราชการ การติดตามตรวจสอบ และประเมินผล

การจัดการศึกษา พ.ศ. 2560 4. คําสั่งคณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี 19/2560

5. นโยบายของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นายแพทยธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป)

6. นโยบายการตรวจราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

7. แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 (แผน 20 ป)

8. สภาพท่ัวไปของสํานักงานศึกษาธิการภาค 12

1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 20 ไดบัญญัติไววาใหกระทรวงศึกษาธิการมีผูตรวจราชการของกระทรวง เพ่ือทําหนาท่ีในการตรวจราชการ ศึกษา วิเคราะห วิจัย ติดตาม และประเมินผลระดับนโยบาย เพ่ือนิเทศใหคําปรึกษาและแนะนําเพ่ือการปรับปรุงพัฒนาในระดับสํานักงานคณะกรรมการหรือสวนราชการท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืน ใหทําหนาท่ีติดตามและประเมินผลนโยบายตามภารกิจ ตลอดจนนิเทศ ใหคําปรึกษาและแนะนําเพ่ือปรับปรุงพัฒนาในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ใหเปนการศึกษา วิเคราะห วิจัย นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการดําเนินการโดยมุงเนนผลสัมฤทธิ์ของหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพ่ือการเตรียมการรับการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลจากหนวยงานภายนอก การดําเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสาม ใหมีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการและคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เปนผูรับผิดชอบดําเนินการ สําหรับกระทรวงศึกษาธิการหรือสําหรับแตละเขตพ้ืนท่ีการศึกษา การดําเนินการจะตองไมกระทบกระเทือนตอสาระการบริหารและการจัดการของสถานศึกษาของรัฐท่ีจัดการศึกษาระดับปริญญาท่ีเปนนิติบุคคลในสายบังคับบัญชาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาท่ีสามารถดําเนินกิจการไดโดยอิสระ พัฒนาระบบบริหาร และการจัดการท่ีเปนของตนเอง มีความ

Page 225: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

9

คลองตัว มีเสรีภาพทางวิชาการ และอยูภายใตการกํากับดูแลของสภาสถานศึกษาตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งสถานศึกษานั้น 2. พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546

พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 มาตรา 6 กําหนดวา การบริหารราชการตองเปนไปเพ่ือประโยชนสุขแกประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐโดยประชาชนไดรับการอํานวยความสะดวกและไดรับการตอบสนองความตองการและมาตรา 9 ไดกําหนดไววา การบริหารราชการเพ่ือใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐใหสวนราชการปฏิบัติ ดังตอไปนี้ 1) กอนจะดําเนินการตามภารกิจใด สวนราชการตองจัดทําแผนปฏิบัติราชการไวเปนการลวงหนา 2) การกําหนดแผนปฏิบัติราชการของสวนราชการตาม (1) ตองมีรายละเอียดของข้ันตอนระยะเวลาและงบประมาณท่ีจะตองใชในการดําเนินการของแตละข้ันตอนเปาหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ และตัวชี้วัดความสําเร็จของภารกิจ 3) สวนราชการตองจัดใหมีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีสวนราชการกําหนดข้ึน ซ่ึงตองสอดคลองกับมาตรฐานท่ี ก.พ.ร. กําหนด 4) ในกรณีท่ีการปฏิบัติภารกิจหรือการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการเกิดผลกระทบตอประชาชน ใหเปนหนาท่ีของสวนราชการท่ีจะตองดําเนินการแกไขหรือบรรเทาผลกระทบนั้น หรือเปลี่ยนแผนปฏิบัติราชการใหเหมาะสม

3. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การจัดการศึกษา พ.ศ. 2560 การตรวจราชการของกระทรวงศึกษาธิการ ในปจจุบันไดใชแนวปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการตรวจราชการ พ.ศ. 2548 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 (มาตรา 20) และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการตรวจ ติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษา พ.ศ. 2549 ซ่ึงขอนําเสนอตามประเด็นท่ีเก่ียวของกับการตรวจราชการของกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้ การตรวจราชการ มีวัตถุประสงค ดังนี้ (1) เพ่ือชี้แจงนโยบาย ประสานงานและเรงรัดใหผูรับการตรวจ นําแผนการศึกษาแหงชาติ แผนการบริหารราชการแผนดิน นโยบายของรัฐบาล และนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ไปจัดทําแผนปฏิบัติราชการใหครบถวน (2) เพ่ือติดตาม ประเมินผล และเสนอแนะการบริหารงบประมาณการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับหลักการศึกษา แนวทางการจัดการศึกษา และคุณภาพมาตรฐานการศึกษา (3) เพ่ือศึกษา วิเคราะห วิจัย ติดตามและประเมินผลระดับนโยบาย เพ่ือนิเทศใหคําปรึกษา เพ่ือการปรับปรุงพัฒนาแกสวนราชการและหนวยงานการศึกษา (4) เพ่ือเรงรัดติดตามความกาวหนา ความสําเร็จ ปญหาอุปสรรค และเสนอแนะในการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการ

Page 226: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

10

(5) เพ่ือตรวจเยี่ยม รับฟงหรือสดับตรับฟงทุกขสุข ความคิดเห็น นิเทศ ชวยเหลือ แนะนํา ชี้แจงใหเจาหนาท่ีมีสมรรถนะและขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงาน การตรวจราชการ การติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษาระดับกระทรวง เปนการตรวจราชการ ศึกษา วิเคราะห วิจัย ติดตามและประเมินผลระดับนโยบาย เพ่ือนิเทศ ใหคําปรึกษา และแนะนําเพ่ือการปรับปรุงพัฒนาเก่ียวกับการปฏิบัติราชการของหนวยงานและเจาหนาท่ีในขอบเขตอํานาจหนาท่ีของกระทรวงศึกษาธิการในฐานะผูสอดสองดูแลแทนรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ และปลัดกระทรวงศึกษาธิการ การตรวจราชการจะตองไมกระทบกระเทือนตอสาระการบริหารและการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาของรัฐท่ีจัดการศึกษาระดับปริญญาท่ีเปนนิติบุคคลท่ีสามารถดําเนินกิจการไดโดยอิสระ พัฒนาระบบบริหารและการจัดการท่ีเปนของตนเอง มีความคลองตัวมีเสรีภาพทางวิชาการ และอยูภายใตการกํากับดูแลของสภาสถานศึกษาตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งสถานศึกษานั้น ใหปลัดกระทรวงศึกษาธิการแตงตั้งผูตรวจราชการคนหนึ่ง เปนหัวหนาผูตรวจราชการ มีหนาท่ีใหคําปรึกษาแนะนําแกผูตรวจราชการ เพ่ือใหการปฏิบัติงานของผูตรวจราชการเปนไปตามระเบียบนี้ และจะใหมีรองหัวหนาผูตรวจราชการดวยก็ได ใหนําระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการตรวจราชการมาใชบังคับกับการตรวจราชการของผูตรวจราชการโดยอนุโลม และใหผูตรวจราชการมีอํานาจหนาท่ี ดังนี้ (1) สั่งเปนลายลักษณอักษร ใหผูรับการตรวจปฏิบัติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ใหถูกตองตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ มติของคณะรัฐมนตรี หรือคําสั่งของนายกรัฐมนตรี (2) สั่งเปนลายลักษณอักษรใหผูรับการตรวจ ปฏิบัติหรืองดเวนการปฏิบัติงานใด ๆ ในระหวางการตรวจราชการไวกอน หากเห็นวาจะกอใหเกิดความเสียหายแกทางราชการหรือประชาชน อยางรายแรง และเม่ือผูตรวจราชการไดสั่งการดังกลาวแลวใหรายงานผูบังคับบัญชาเพ่ือทราบหรือพิจารณาโดยดวน (3) สั่งใหผูรับการตรวจชี้แจง ใหถอยคํา หรือสงเอกสารและหลักฐานเก่ียวกับการปฏิบัติงานเพ่ือประกอบการพิจารณา (4) สอบขอเท็จจริง สืบสวนขอเท็จจริง หรือสดับตรับฟงเหตุการณ เม่ือไดรับการรองเรียน หรือเม่ือมีเหตุอันควร โดยประสานการดําเนินงานกับหนวยงานตรวจสอบอ่ืน ๆ เพ่ือแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชนหรือปญหาอุปสรรคของผูรับการตรวจ (5) ศึกษา วิเคราะห วิจัย ติดตามและประเมินผลระดับนโยบายเพ่ือนิเทศใหคําปรึกษาแนะนําเพ่ือปรับปรุงพัฒนา (6) แตงตั้งบุคคลหรือคณะทํางานเพ่ือสนับสนุนการดําเนินงานตามอํานาจหนาท่ีไดตามความเหมาะสม (7) ปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ตามท่ีผูบังคับบัญชามอบหมาย ใหปลัดกระทรวงศึกษาธิการมอบหมายขาราชการปฏิบัติหนาท่ีผูชวยผูตรวจราชการ โดยใหมีหนาท่ี ดังนี้

Page 227: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

11

(1) รวบรวม ศึกษา วิเคราะห และจัดทํารายละเอียดขอมูลนโยบาย แผนงาน งาน โครงการ จุดเนนและประเด็นการตรวจราชการ ในระดับเขตตรวจราชการ (2) จัดทําและประสานแผนปฏิบัติการตรวจราชการของผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการประจําป รวมกับสํานักงานศึกษาธิการภาคและหนวยงานสนับสนุนการตรวจราชการ ในระดับเขตตรวจราชการ (3) จัดทําแนวทางการตรวจราชการประจําปในระดับเขตตรวจราชการ (4) ประสานและสนับสนุนขอมูลดานการศึกษา ระเบียบ กฎหมาย และขอมูลสารสนเทศท่ีเก่ียวของ ประกอบการปฏิบัติราชการของผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ (5) รวมปฏิบัติการตรวจราชการกับผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และประสานการตรวจราชการกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ (6 ) จัดทํา รายงานผลการตรวจราชการ หลั งการตรวจราชการเสนอผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือรายงานผูบริหารระดับสูง (7) จัดทํารายงานผลการตรวจราชการภาพรวมและรายรอบรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ (8 ) ติ ด ต ามผลการดํ า เนิ น งาน ต ามข อ เสน อแน ะ ข อ สั่ งก าร ขอ งผู ต รวจ ราช การกระทรวงศึกษาธิการ และผูบริหารระดับสูงในระดับเขตตรวจราชการ (9) ปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ท่ีผูบังคับบัญชามอบหมาย ท้ังนี้ จํานวน หลักเกณฑและวิธีการไดมาซ่ึงผูชวยผูตรวจราชการตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามท่ีปลัดกระทรวงศึกษาธิการกําหนด ผูรับการตรวจ มีหนาท่ี ดังนี้ (1) อํานวยความสะดวก และใหความรวมมือในการปฏิบัติงานแกผูตรวจราชการ หรือผูทําหนาท่ีตามท่ีไดรับมอบหมาย (2) จัดเตรียมบุคคล เอกสาร หลักฐาน ในการปฏิบัติงานใหครบถวนสมบูรณ พรอมท่ีจะรับการตรวจ (3) ชี้แจงหรือตอบคําถาม พรอมท้ังใหขอมูลใด ๆ อันเปนประโยชนตอการตรวจราชการ (4) จัดใหมีสมุดตรวจราชการตามแบบท่ีกฎหมายหรือระเบียบกําหนด (5) ปฏิบัติหรืองดเวนการปฏิบัติงานใด ๆ ท่ีผูตรวจราชการไดตรวจและแนะนําในระหวางการตรวจราชการ หากไมสามารถปฏิบัติได ใหรายงานผูบังคับบัญชาเพ่ือทราบหรือพิจารณาและรายงานใหผูตรวจราชการทราบภายในสิบหาวัน (6) รายงานความกาวหนา ความสําเร็จของผลการดําเนินงานตามขอสั่งการหรือขอเสนอแนะของผูตรวจราชการตอผูบังคับบัญชา และผูตรวจราชการ (7) ดําเนินการอ่ืนใดท่ีเปนประโยชนในการตรวจราชการ ในระหวางการตรวจราชการแตละครั้ง ถาผูตรวจราชการพบเห็นปญหา อุปสรรค หรือแนวโนมท่ีจะเกิดผลกระทบตอการบริหารจัดการศึกษาหรือประเทศโดยสวนรวม หรือตอผลสัมฤทธิ์ของนโยบาย โครงการหรือแผนงาน ใหรีบทํารายงานโดยสรุปพรอมขอเสนอแนะตอหัวหนาหนวยงาน ผูรับการตรวจเพ่ือดําเนินการแกไขใหลุลวงโดยเร็วแลวแจงใหผูตรวจราชการทราบภายในสามสิบวันนับแตไดรับรายงานจากผูตรวจราชการ

Page 228: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

12

ในการตรวจราชการตามขอ 16 เม่ือเสร็จสิ้นการตรวจราชการแตละคราว ใหผูตรวจราชการ รายงานผลการตรวจราชการตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการผานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เม่ือรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ไดสั่งการหรือมีความเห็นในรายงานผลการตรวจราชการเปนประการใดแลว ใหสวนราชการหรือหนวยงานการศึกษาท่ีเก่ียวของรับไปดําเนินการ และรายงานใหทราบโดยเร็ว

4. คําส่ังหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี 19/2560 เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ขอ 5 กําหนดใหมีสํานักงานศึกษาธิการภาค จํานวนสิบแปดภาค สังกัดสํานักงานปลัด กระทรวงกระทรวงศึกษาธิการ ตามบัญชีท่ีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด เพ่ือปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการในระดับพ้ืนท่ี ทําหนาท่ีขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด โดยการอํานวยการ ส ง เสริม สนั บสนุ น และพัฒ นาการศึกษาแบบรวม มือและบู รณ าการกับหน วยงาน ในสั ง กัดกระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานอ่ืนหรือภาคสวนท่ีเก่ียวของในพ้ืนท่ีนั้น ๆ และขอ 11 ใหมีสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการเก่ียวกับการบริหารและการจัดการศึกษาตามท่ีกฎหมายกําหนด การปฏิบัติราชการตามอํานาจหนาท่ี นโยบาย และยุทธศาสตรของสวนราชการตาง ๆ

5. นโยบายของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นายแพทยธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป) รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ไดกําหนดจุดเนนนโยบายกระทรวงศึกษาธิการเพ่ือใชเปนกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนนโยบายและใหทุกสวนราชการ/หนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการนําไปดําเนินการ ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้ 4.1 นอมนําแนวพระราชดําริ สืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบายดานการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช และสมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูล มาขับเคลื่อนงานดานการศึกษาใหเกิดเปนรูปธรรม 4.2 การดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป โดยยึดยุทธศาสตรชาติเปนจุดเนนดานการศึกษาท่ีจะดําเนินการ 6 ดาน คือ 1) ความม่ันคง 2) การสรางความสามารถในการแขงขัน 3) การพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน 4) การสรางโอกาสความเสมอภาคและเทาเทียมกันทางสังคม 5) การสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 6) การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 4.3 จุดเนนการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ 1) ดําเนินการภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ.2560-2579) 2) ทุกโครงการของกระทรวงศึกษาธิการตองเนนความโปรงใส และตอตานการทุจริตคอรัปชั่น

Page 229: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

13

3) กระทรวงศึกษาธิการ ตองมีคุณลักษณะ MM = Modernized MOE มีการดําเนินการสอดคลองกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร พุทธศักราช 2560 4) ดําเนินการเรงดวนตามขอสั่งการของนายกรัฐมนตรีใหเห็นผลการดําเนินการเปนรูปธรรม 6. นโยบายการตรวจราชการของกระทรวงศึกษาธิการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 คําสั่งกระทรวงศึกษาธิการท่ี สป 1828/2560 ลงวันท่ี 8 พฤศจกิายน 2560 ประกอบดวยนโยบาย

ดังนี้

1. การยกระดับคุณภาพการศึกษา

2. การจัดการศึกษาปฐมวัย

3. การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

4. การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห

5. การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ

6. การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ

7. การยกระดับคุณภาพสถานศึกษาท่ีตองการความชวยเหลือและพัฒนาเปนพิเศษอยางเรงดวน

(ICU)

8. การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก

9. การอานออกเขียนได

10. การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา

11. การขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค

12. การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

13. การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพ้ืนท่ี

พิเศษ

14. การพัฒนาครูท้ังระบบ

15. การพัฒนานักเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด

เนื่องจาก นายกรัฐมนตรีไดสั่งการในคราวประชุมคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 3 มกราคม 2561 ให

กระทรวงศึกษาธิการเรงรัดดําเนินการพัฒนาระบบการศึกษาในภาพรวมของประเทศใหมีประสิทธิภาพและ

ใหความสําคัญกับเรื่องท่ีเก่ียวของและมีผลกระทบกับประชาชน กอปรกับกระทรวงศึกษาธิการโดยสํานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไดยุติการดําเนินการโครงการยกระดับคุณภาพโรงเรียนท่ีตองการความ

ชวยเหลือและพัฒนาเปนพิเศษอยางเรงดวน (ICU) จึงไดยกเลิกคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สป 1828/2560

ลงวันท่ี 8 พฤศจิกายน 2560 และมีคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สป. 403/2561 ลงวันท่ี 23 กุมภาพันธ 2561

Page 230: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

14

มอบหมายใหผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการตรวจราชการตามนโยบายการตรวจราชการ ประจําป

งบประมาณ พ.ศ. 2561 ดังนี้

1. การยกระดับคุณภาพการศึกษา

2. การจัดการศึกษาปฐมวัย

3. การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

4. การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห

5. การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ

6. การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ

7. การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก

8. การอานออกเขียนได

9. การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา

10. การขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค

11. การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

12. การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพ้ืนท่ี

พิเศษ

13. การพัฒนาครูท้ังระบบ

14. การพัฒนานักเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด

จุดเนนพิเศษตามขอส่ังการของนายกรัฐมนตรี

1. การลดชั่วโมงเรียนดานวิชาการ ลดปริมาณการบาน และการลดการเรียนพิเศษเสริมจากการ

เรียนในหองเรยีนปกติ

2. การประเมินผลคุณภาพการศึกษาท่ีมีมาตรฐานเปนท่ียอมรับ

7. แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 (แผน 20 ป) ประกอบดวย 6 ยุทธศาสตร มีรายละเอียด ดังนี้ ยุทธศาสตรท่ี 1 การจัดการศึกษาเพ่ือความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ เปาหมายท่ี 1: คนทุกชวงวัยมีความรักสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข เปาหมายท่ี 2 : คนทุกชวงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพ้ืนท่ีพิเศษไดรับการศึกษาและเรียนรูอยางมีคุณภาพ เปาหมายท่ี 3 : คนทุกชวงวัยไดรับการศึกษา การดูแลและปองกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม ยุทธศาสตร ท่ี 2 การผลิตและพัฒนากําลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพ่ือสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ

Page 231: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

15

เปาหมายท่ี 1: กําลังคนมีทักษะท่ีสําคัญจําเปนและมีสมรรถนะตรงตามความตองการของ ตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เปาหมายท่ี 2 : สถาบันการศึกษาและหนวยงานท่ีจัดการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีความเชี่ยวชาญและเปนเลิศเฉพาะดาน เปาหมายท่ี 3: การวิจัยและพัฒนาเพ่ือสรางองคความรู และนวัตกรรมท่ีสรางผลผลิตและ มูลคาเพ่ิมทางเศรษฐกิจ ยุทธศาสตรท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู เปาหมายท่ี 1: ผูเรียนมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทยและทักษะและ คุณลักษณะท่ีจาเปนในศตวรรษท่ี 21 เปาหมายท่ี 2: คนทุกชวงวัยมีทักษะความรูความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตไดตามศักยภาพ เปาหมายท่ี 3 : สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรูตามหลักสูตรอยางมีคุณภาพและมาตรฐาน เปาหมายท่ี 4 : แหลงเรียนรู สื่อตําราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรูมีคุณภาพและมาตรฐานและประชาชนสามารถเขาถึงไดโดยไมจากัดเวลาและสถานท่ี เปาหมายท่ี 5 : ระบบและกลไกการวัด การติดตามและประเมินผลมีประสิทธิภาพ เปาหมายท่ี 6 : ระบบการผลิตครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาไดมาตรฐานระดับสากล เปาหมายท่ี 7: ครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน ยุทธศาสตรท่ี 4 การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมทางการศึกษา เปาหมายท่ี 1 : ผูเรียนทุกคนไดรับโอกาสและความเสมอภาคในการเขาถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพ เปาหมายท่ี 2 : การเพ่ิมโอกาสทางการศึกษา ผานเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษา สําหรับคนทุกชวงวัย เปาหมายท่ี 3 : ระบบขอมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกตอง เปนปจจุบัน เพ่ือการวางแผน การบริหารจัดการศึกษา การติดตามประเมิน และรายงานผล ยุทธศาสตรท่ี 5 การจัดการศึกษาเพ่ือสรางเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม เปาหมายท่ี 1: คนทุกชวงวัย มีจิตสํานึกรักษสิ่งแวดลอม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ เปาหมายท่ี 2: หลักสูตร แหลงเรียนรู และสื่อการเรียนรูท่ีสงเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม คุณธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ เปาหมายท่ี 3 : การวิจัยเพ่ือพัฒนาองคความรูและนวัตกรรมดานการสรางเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ยุทธศาสตรท่ี 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา เปาหมายท่ี 1: โครงสราง บทบาทและระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคลองตัว ชัดเจนและสามารถตรวจสอบได เปาหมายท่ี 2: ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สงผลตอ

Page 232: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

16

คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา เปาหมายท่ี 3: ทุกภาคสวนของสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความตองการของประชาชนและพ้ืนท่ี เปาหมายท่ี 4: กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะท่ีแตกตางกันของผูเรียน สถานศึกษา และความตองการกําลังแรงงานของประเทศ เปาหมายท่ี 5: ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษามีความเปนธรรม สรางขวัญกําลังใจ และสงเสริมใหปฏิบัติงานไดอยางเต็มตามศักยภาพ

8. สภาพท่ัวไปของสํานักงานศึกษาธิการภาค 12

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12 เปนหนวยงานท่ีจัดตั้งข้ึนใหมตามคําสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี 19/2560 เรื่องการปฏิรูปการศึกษา ในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ สั่ง ณ วันท่ี 3 เมษายน 2560 ปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการในระดับพ้ืนท่ี ทําหนาท่ีขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัดโดยการอํานวยการ สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาการศึกษาแบบรวมมือและบูรณาการกับหนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานอ่ืน หรือภาคสวนท่ีเก่ียวของในพ้ืนท่ีนั้นๆ โดยมีอํานาจหนาท่ี ดังนี้ 1) กําหนดยุทธศาสตรและบทบาทการพัฒนาภาคตางๆ ใหเชื่อมโยงและสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาประเทศ ทิศทางการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการในระดับภูมิภาคหรือจังหวัด นโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการ และยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด รวมท้ังการพัฒนาดานอ่ืนๆ ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ตามศักยภาพและโอกาสของบุคคลและชุมชนในแตละพ้ืนท่ี 2) สนับสนุนการพัฒนาจังหวัดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบเก่ียวกับงานดานวิชาการ การวิจัยและพัฒนา 3) กํากับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ 4) สนับสนุนการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการดําเนินงานตํามนโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ 5) ประสานการบริหารงานระหวางราชการสวนกลางและสวนภูมิภาคใหเกิดการพัฒนาอยางบูรณาการในระดับพ้ืนท่ีของหลายจังหวัด โดยยึดการมีสวนรวมและประโยชนสุขของประชาชนเปนหลัก 6) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอ่ืนท่ีเก่ียวของหรือท่ีไดรับมอบหมาย สํานักงานศึกษาธิการภาค 12 ตั้งอยูเลขท่ี 100/1 หมู 15 ถนนกสิกรทุงสราง ตําบลศิลา อําเภอเมืองขอนแกน จังหวัดขอนแกน 40000 โทรศัพท 043-238766 โทรสาร 043-238767 มีพ้ืนท่ีในความรับผิดชอบของสํานักงานศึกษาธิการภาค 12 ประกอบดวย 4 จังหวัด ไดแก จังหวัดรอยเอ็ด ขอนแกน มหาสารคาม และจังหวัดกาฬสินธุ มีสภาพท่ัวไปของกลุมจังหวัดท่ีสําคัญสรุป ดังนี้ 1) อาณาเขต

Page 233: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

17

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12 ตั้งอยูตอนกลางภาคตะวันออกเฉียงเหนือบนพ้ืนท่ีราบลุมแมน้ําชีท่ีอยูตอนกลางของพ้ืนท่ีและท่ีราบลุมแมน้ํามูล ซ่ึงอยูทางตอนใตของพ้ืนท่ี โดยทางทิศตะวันตกและทิศเหนือจะมีสภาพเปนภูเขาเทลาดมาทางทิศตะวันออก และมีอาณาเขต ดังนี้

• ทิศเหนือ ติดตอกับ จังหวัดสกลนคร อุดรธานี หนองบัวลําภู และจังหวัดเลย

• ทิศใต ติดตอกับ จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย สุรินทร และจังหวัดศรีสะเกษ

• ทิศตะวันออก ติดตอกับ จังหวัดยโสธร และจังหวัดมุกดาหาร

• ทิศตะวันตก ติดตอกับ จังหวัดชัยภูมิ และจังหวัดเพชรบูรณ 2) สภาพสังคม 2.1) ดานการศึกษา สภาพการศึกษาของกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ถือไดวามีความพรอมในการเปนศูนยกลางการศึกษาของภูมิภาค โดยมีสถาบันการศึกษาตั้งแตระดับประถมศึกษาถึงระดับอุดมศึกษาท่ีพรอมจะใหบริการ ท้ังการศึกษาในระบบและนอกระบบ โดยมีสถาบันการศึกษาท่ีสําคัญ เชน มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตอีสาน มหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ อําเภอบานไผ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน รวมถึงสถาบันอุดมศึกษาของของภาคเอกชน เชน มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยเอเชียบัณฑิต เปนตน นอกจากนี้ยังมีสถาบันกวดวิชาของภาคเอกชน ซ่ึงมีการเปดสอนท้ังภาษาไทย และภาษาตางประเทศจํานวนมาก รวมถึงยังเปนท่ีตั้งของสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค 6 ขอนแกน ท่ีพรอมจะสนับสนุนใหกับภาคแรงงาน 2.2) ดานการสาธารณสุข มีสถานพยาบาลท้ังของภาครัฐและอกชน รวมถึงศูนยรักษาพยาบาลเฉพาะทาง เชน โรคหัวใจ เปนตน ท้ังนี้ในการดูแลดานสุขภาพและการสาธารณสุขของประชาชนในกลุมจังหวัดและในภูมิภาคนั้น ถือไดวากลุมจังหวัดมีความพรอมในการเปนศูนยกลางดานสุขภาพ โดยเฉพาะจังหวัดขอนแกน 2.3) วิถีชีวิตความเปนอยู การดําเนินวิถีชีวิตของประชากรในกลุมจังหวัดจะเปนไปตามลักษณะของสภาพการพัฒนาทางเศรษฐกิจ กลาวคือ มีการดําเนินวิถีชีวิตท้ังในแบบสังคมชนบทและสังคมเมือง โดยสวนใหญยังคงใชการดําเนินวิถีชีวิตแบบสังคมชนบท เนื่องมีพ้ืนฐานการประกอบอาชีพสวนใหญเปนเกษตรกรรม โดยมีการพ่ึงพาและชวยเหลือซ่ึงกันและกันตามสถานะภาพ มีการยึดม่ันและรักษาประเพณีวัฒนธรรมด้ังเดิม สวนการดําเนินวิถีชีวิตของประชาชนสังคมเมืองจะมีลักษณะเปนวิถีชีวิตแบบครอบครัวเดี่ยวเปนสวนใหญ 2.4) การทองเท่ียว กลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง จะมีแหลงทองเท่ียวท่ีหลากหลายท้ังการทองเท่ียวทางวัฒนธรรม โบราณสถานและธรรมชาติ ซ่ึงกระจายในพ้ืนท่ีจังหวัดตางๆท่ีสําคัญ ดังนี้

Page 234: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

18

• จังหวัดขอนแกน ไดแก พระธาตุขามแกน ปราสาทเปอยนอย พิพิธภัณฑสถานแหงชาต ิพิพิธภัณฑและซากไดโนเสาร อ.ภูเวียง ผาไหม อ.ชนบท อุทยานแหงชาติภูผามาน อุทยานแหงชาติน้ําพอง อุทยานแหงชาติภูเกา–ภูพานคํา เข่ือนอุบลรัตน เปนตน

• จังหวัดกาฬสินธุ ไดแก พระธาตุยาคู พิพิธภัณฑของดีเมืองกาฬสินธุ พระธาตุพุทธสถูปสถานภูปอ เมืองฟาแดดสูงยาง เข่ือนลําปาว หมูบานวัฒนธรรมโนนสงา พิพิธภัณฑไดโนเสารศูนยสิรินธร

• จังหวัดมหาสารคาม ไดแก พระธาตุนาดูน แหลงโบราณสถานเมืองจําปาศรี ปาดูน ลําพัน วนอุทยานโกสัมพี

• จังหวัดรอยเอ็ด ไดแก บึงพลาญชัย พระมหาเจดียชัยมงคล วนอุทยานผาน้ํายอย ปรางคกู กาสิงห เปนตน ท้ังนี้สภาพการทองเท่ียวโดยท่ัวไปยังไมโดดเดนนัก สวนใหญจะเปนนักทองเท่ียวชาวไทยมากกวานักทองเท่ียวชาวตางประเทศ

3) ขอมูลดานคุณภาพการศึกษา

Page 235: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560

2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ

1 ระดับประเทศ 42.25 46.58 4.33 34.59 36.34 1.75 40.47 37.12 -3.35 41.22 39.12 -2.10

2 ระดับ ศธภ.12 41.44 44.68 3.24 -1.90 31.55 33.06 1.51 -3.28 38.60 35.16 -3.44 -1.96 40.35 37.87 -2.48 -1.25

3 กาฬสินธุ 40.50 43.89 3.39 -2.69 30.45 31.51 1.06 -4.83 37.74 33.94 -3.80 -3.18 39.59 37.30 -2.29 -1.82

4 ขอนแกน 41.26 44.68 3.42 -1.90 32.13 33.88 1.75 -2.46 38.17 35.05 -3.12 -2.07 39.98 37.77 -2.21 -1.35

5 มหาสารคาม 42.15 45.56 3.41 -1.02 30.55 33.02 2.47 -3.32 38.51 35.83 -2.68 -1.29 40.28 38.40 -1.88 -0.72

6 รอยเอ็ด 41.90 44.68 2.78 -1.90 32.25 33.13 0.88 -3.21 39.89 35.75 -4.14 -1.37 41.48 38.06 -3.42 -1.06

7 สพฐ. 41.27 44.30 3.03 -2.28 30.03 31.48 1.45 -4.86 38.03 34.58 -3.45 -2.54 40.11 37.57 -2.54 -1.55

8 สพม. 0.00 -46.58 0.00 -36.34 0.00 -37.12 0.00 -39.12

9 สพป. 41.27 44.30 3.03 -2.28 30.03 31.48 1.45 -4.86 38.03 34.58 -3.45 -2.54 40.11 37.57 -2.54 -1.55

10 สช. 42.60 46.75 4.15 0.17 37.22 38.81 1.59 2.47 41.47 37.69 -3.78 0.57 41.56 39.37 -2.19 0.25

11 สกอ. 50.69 58.39 7.70 11.81 58.06 58.15 0.09 21.81 59.25 53.41 -5.84 16.29 51.93 48.26 -3.67 9.14

12 สศศ. 37.60 37.60 -8.98 31.28 31.28 -5.06 28.78 28.78 -8.34 33.78 33.78 -5.34

13 สถ. 38.87 41.70 2.83 -4.88 31.39 32.61 1.22 -3.73 34.46 32.43 -2.03 -4.69 38.18 35.88 -2.30 -3.24

14 สถาบันพลศึกษา 0.00 -46.58 0.00 -36.34 0.00 0.00

15 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป (ม.6) 0.00 -46.58 0.00 -36.34 0.00 0.00

16 พศ. 0.00 -46.58 0.00 -36.34 0.00 0.00

แถว สังกัด

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)

ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2560

ในพื้นที่รับผิดชอบสํานักงานศึกษาธิการภาค 12

ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตรภาษาอังกฤษ

Page 236: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560

2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ

1 ระดับประเทศ 46.36 48.29 1.93 31.80 30.45 -1.35 29.31 26.30 -3.01 34.99 32.28 -2.71

2 ระดับ ศธภ.12 44.90 46.80 1.90 -1.49 29.70 28.95 -0.75 -1.50 27.68 24.38 -3.30 -1.92 34.11 31.32 -2.79 -0.96

3 กาฬสินธุ 44.19 45.99 1.80 -2.30 28.52 28.09 -0.43 -2.36 26.72 23.00 -3.72 -3.30 33.31 30.84 -2.47 -1.44

4 ขอนแกน 45.06 46.93 1.87 -1.36 30.27 29.37 -0.90 -1.08 27.63 24.65 -2.98 -1.65 34.25 31.27 -2.98 -1.01

5 มหาสารคาม 45.39 47.38 1.99 -0.91 29.89 29.11 -0.78 -1.34 28.59 25.35 -3.24 -0.95 34.43 31.87 -2.56 -0.41

6 รอยเอ็ด 44.88 46.81 1.93 -1.48 29.61 28.86 -0.75 -1.59 27.85 24.39 -3.46 -1.91 34.27 31.37 -2.90 -0.91

7 สพฐ. 45.25 47.12 1.87 -1.17 29.60 28.88 -0.72 -1.57 27.77 24.43 -3.34 -1.87 34.23 31.39 -2.84 -0.89

8 สพม. 46.30 48.11 1.81 -0.18 30.42 29.52 -0.90 -0.93 29.05 25.56 -3.49 -0.74 34.91 31.95 -2.96 -0.33

9 สพป. 42.53 44.41 1.88 -3.88 27.49 27.13 -0.36 -3.32 24.48 21.35 -3.13 -4.95 32.48 29.86 -2.62 -2.42

10 สช. 43.55 44.37 0.82 -3.92 29.98 28.53 -1.45 -1.92 26.34 22.00 -4.34 -4.30 33.51 29.90 -3.61 -2.38

11 สกอ. 58.24 62.80 4.56 14.51 51.66 47.17 -4.49 16.72 52.45 51.41 -1.04 25.11 47.37 44.69 -2.68 12.41

12 สศศ. 42.67 42.67 -5.62 27.57 27.57 -2.88 21.03 21.03 -5.27 29.40 29.40 -2.88

13 สถ. 42.98 45.06 2.08 -3.23 28.09 27.69 -0.40 -2.76 25.52 22.63 -2.89 -3.67 32.72 30.47 -2.25 -1.81

14 สถาบันพลศึกษา 44.15 42.74 -1.41 -5.55 27.26 27.10 -0.16 -3.35 24.05 20.28 -3.77 -6.02 30.86 29.86 -1.00 -2.42

15 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป (ม.6) 42.26 45.78 3.52 -2.51 27.59 26.82 -0.77 -3.63 22.04 19.84 -2.20 -6.46 32.41 27.76 -4.65 -4.52

16 พศ. 34.68 37.93 3.25 -10.36 25.71 26.23 0.52 -4.22 21.58 19.06 -2.52 -7.24 28.52 27.02 -1.50 -5.26

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2560

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12

ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร

สังกัดแถว

ภาษาไทย

Page 237: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560

2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ

1 ระดับประเทศ 52.29 49.25 -3.04 35.89 34.70 -1.19 27.76 28.31 0.55 24.88 24.53 -0.35 31.62 29.37 -2.25

2 ระดับ ศธภ.12 49.15 46.49 -2.66 -2.76 34.30 33.03 -1.27 -1.67 24.82 24.70 -0.12 -3.61 22.40 21.59 -0.81 -2.94 30.27 27.55 -2.72 -1.82

3 กาฬสินธุ์ 46.72 43.98 -2.74 -5.27 33.22 31.86 -1.36 -2.84 23.21 22.56 -0.65 -5.75 20.77 19.40 -1.37 -5.13 29.49 26.38 -3.11 -2.99

4 ขอนแก่น 50.64 47.54 -3.10 -1.71 34.66 33.69 -0.97 -1.01 26.12 26.27 0.15 -2.04 23.45 22.81 -0.64 -1.72 30.88 28.46 -2.42 -0.91

5 มหาสารคาม 49.23 47.39 -1.84 -1.86 34.87 33.41 -1.46 -1.29 24.85 24.85 0.00 -3.46 22.49 21.85 -0.64 -2.68 30.30 27.71 -2.59 -1.66

6 ร้อยเอ็ด 48.77 46.28 -2.49 -2.97 34.18 32.72 -1.46 -1.98 24.11 23.95 -0.16 -4.36 22.05 21.32 -0.73 -3.21 29.97 27.02 -2.95 -2.35

7 สพฐ. 49.58 46.92 -2.66 -2.33 34.48 33.09 -1.39 -1.61 24.60 24.44 -0.16 -3.87 22.32 21.47 -0.85 -3.06 30.33 27.50 -2.83 -1.87

8 สพม. 49.61 46.94 -2.67 -2.31 34.49 33.10 -1.39 -1.60 24.62 24.44 -0.18 -3.87 22.34 21.47 -0.87 -3.06 30.34 27.51 -2.83 -1.86

9 สพป. 43.68 37.57 -6.11 -11.68 32.29 29.55 -2.74 -5.15 21.69 20.95 -0.74 -7.36 18.52 15.69 -2.83 -8.84 28.34 22.13 -6.21 -7.24

10 สช. 45.69 42.46 -3.23 -6.79 31.76 31.16 -0.60 -3.54 24.38 23.81 -0.57 -4.50 20.35 18.55 -1.80 -5.98 28.08 25.12 -2.96 -4.25

11 สกอ. 64.15 62.25 -1.90 13.00 42.28 44.68 2.40 9.98 44.93 47.89 2.96 19.58 40.43 44.94 4.51 20.41 39.46 43.55 4.09 14.18

12 สศศ. 42.43 -6.82 31.45 -3.25 21.83 -6.48 17.25 -7.28 24.88 -4.49

13 สถ. 45.86 43.06 -2.80 -6.19 32.80 31.24 -1.56 -3.46 22.95 22.22 -0.73 -6.09 20.64 18.97 -1.67 -5.56 29.21 25.70 -3.51 -3.67

14 สถาบันพลศึกษา 40.18 34.41 -5.77 -14.84 29.86 27.87 -1.99 -6.83 20.65 19.06 -1.59 -9.25 18.27 15.42 -2.85 -9.11 26.33 23.22 -3.11 -6.15

15 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (ม.6) 42.34 38.39 -3.95 -10.86 30.96 29.37 -1.59 -5.33 22.01 20.28 -1.73 -8.03 16.62 15.56 -1.06 -8.97 26.63 22.98 -3.65 -6.39

16 พศ. 35.11 32.04 -3.07 -17.21 28.61 27.51 -1.10 -7.19 20.47 19.63 -0.84 -8.68 17.44 14.53 -2.91 -10.00 25.98 22.22 -3.76 -7.15

วิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ภาษาอังกฤษสังคมฯ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั�นพื�นฐาน (O-NET)

ชั�นมัธยมศึกษาปีที� 6 ปีการศึกษา 2560

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12

ภาษาไทย

แถว สังกัด

Page 238: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560

2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ

1 ระดับประเทศ 39.80 38.65 -1.15 35.47 35.45 -0.02 38.41 40.08 1.67 53.61 47.20 -6.41 43.79 42.15 -1.64

2 ระดับ ศธภ.12 40.29 42.58 2.30 3.93 38.76 38.20 -0.56 2.74 39.21 45.06 5.85 4.98 57.86 54.04 -3.82 6.84 47.87 47.62 -0.24 5.47

3 กาฬสินธุ์ 44.20 44.43 0.23 5.78 44.31 39.78 -4.53 4.33 41.27 48.03 6.76 7.95 61.52 55.72 -5.80 8.52 49.17 44.14 -5.03 1.99

4 ขอนแก่น 37.15 35.94 -1.21 -2.71 33.15 32.82 -0.33 -2.63 37.14 38.33 1.19 -1.75 54.54 44.97 -9.57 -2.23 43.64 38.38 -5.26 -3.77

5 มหาสารคาม 41.18 52.22 11.04 13.57 46.99 48.35 1.36 12.90 39.12 55.48 16.36 15.40 63.14 68.89 5.75 21.69 55.48 69.37 13.89 27.22

6 ร้อยเอ็ด 38.61 37.74 -0.87 -0.91 30.58 31.83 1.25 -3.62 39.31 38.38 -0.93 -1.70 52.22 46.58 -5.64 -0.62 43.17 38.59 -4.58 -3.56

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั�นพื�นฐาน (N-NET)

ชั�นประถมศึกษาปีที� 6 ปีการศึกษา 2560

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12

สาระการพัฒนาสังคม 405

แถว สังกัด

สาระทักษะการเรียนรู้ 401 สาระการประกอบอาชีพ 403 สาระทักษะการดําเนินชีวิต 404สาระความรู้พื�นฐาน 402

Page 239: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560

2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ

1 ระดับประเทศ 39.25 36.91 -2.34 31.57 30.60 -0.97 42.43 39.32 -3.11 46.84 46.42 -0.42 36.71 35.99 -0.72

2 ระดับ ศธภ.12 36.20 34.28 -1.93 -2.63 31.37 29.58 -1.80 -1.03 38.97 36.59 -2.38 -2.73 41.95 42.17 0.23 -5.03 34.55 34.23 -0.32 -1.76

3 กาฬสินธุ์ 35.06 34.15 -0.91 -2.76 31.13 29.40 -1.73 -1.20 36.90 36.22 -0.68 -3.10 39.95 41.26 1.31 -5.94 34.04 34.14 0.10 -1.85

4 ขอนแก่น 35.80 33.46 -2.34 -3.45 30.15 30.05 -0.10 -0.55 38.52 35.61 -2.91 -3.71 41.81 41.41 -0.40 -5.79 34.71 33.44 -1.27 -2.55

5 มหาสารคาม 37.95 34.72 -3.23 -2.19 33.76 29.41 -4.35 -1.19 40.96 37.32 -3.64 -2.00 43.75 43.47 -0.28 -3.73 35.34 35.48 0.14 -0.51

6 ร้อยเอ็ด 36.00 34.78 -1.22 -2.13 30.44 29.44 -1.00 -1.16 39.49 37.21 -2.28 -2.11 42.27 42.55 0.28 -4.65 34.09 33.85 -0.24 -2.14

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั�นพื�นฐาน (N-NET)

ชั�นมัธยมศึกษาตอนต้น ปีการศึกษา 2560

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12

สาระการพัฒนาสังคม 415

แถว สังกัด

สาระทักษะการเรียนรู้ 411 สาระความรู้พื�นฐาน 412 สาระการประกอบอาชีพ 413 สาระทักษะการดําเนินชีวิต 414

Page 240: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี�ย คะแนนเฉลี�ย ผลต่าง คะแนน 2560

2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ

1 ระดับประเทศ 37.76 35.34 -2.42 33.08 27.49 -5.59 25.77 40.05 14.28 33.42 40.08 6.66 34.56 23.55 -11.01

2 ระดับ ศธภ.12 34.82 31.84 -2.99 -3.50 31.80 26.48 -5.32 -1.01 24.34 34.88 10.54 -5.17 30.64 35.66 5.02 -4.42 32.45 22.80 -9.64 -0.75

3 กาฬสินธุ์ 32.34 31.89 -0.45 -3.45 30.95 26.53 -4.42 -0.96 23.27 35.02 11.75 -5.03 28.22 35.73 7.51 -4.35 30.84 22.58 -8.26 -0.97

4 ขอนแก่น 35.55 31.57 -3.98 -3.77 31.11 27.10 -4.01 -0.39 24.65 34.31 9.66 -5.74 30.19 34.73 4.54 -5.35 32.28 23.00 -9.28 -0.55

5 มหาสารคาม 35.66 31.53 -4.13 -3.81 32.11 26.36 -5.75 -1.13 24.63 34.99 10.36 -5.06 31.98 35.11 3.13 -4.97 32.22 22.18 -10.04 -1.37

6 ร้อยเอ็ด 35.74 32.36 -3.38 -2.98 33.03 25.93 -7.10 -1.56 24.82 35.19 10.37 -4.86 32.17 37.08 4.91 -3.00 34.44 23.45 -10.99 -0.10

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั�นพื�นฐาน (N-NET)

ชั�นมัธยมศึกษาตอนปลาย ปีการศึกษา 2560

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12

สาระการพัฒนาสังคม 425

แถว สังกัด

สาระทักษะการเรียนรู้ 421 สาระความรู้พื�นฐาน 422 สาระการประกอบอาชีพ 423 สาระทักษะการดําเนินชีวิต 424

Page 241: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560 คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ผลตาง คะแนน 2560

2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ 2559 2560 (2560-2559) เทียบระดับประเทศ

1 ระดับประเทศ 37.93 41.60 3.67 37.35 37.11 -0.24

2 ระดับ ศธภ.12 36.32 39.76 3.45 -1.84 36.09 35.69 -0.40 -1.42

3 กาฬสินธุ 35.65 38.73 3.08 -2.87 35.71 35.61 -0.10 -1.50

4 ขอนแกน 36.48 40.28 3.80 -1.32 36.54 35.44 -1.10 -1.67

5 มหาสารคาม 36.69 40.13 3.44 -1.47 36.36 35.84 -0.52 -1.27

6 รอยเอ็ด 36.44 39.91 3.47 -1.69 35.76 35.88 0.12 -1.23

แถว สังกัด

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (v-NET)

ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) - ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปการศึกษา 2560

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12

ความรูดานสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ระดับ ปวช. ความรูดานสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ระดับ ปวส.

Page 242: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

Pass kK:<8TXO

Page 243: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

บทท่ี 3

ผลการดําเนินงาน

จากการติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการตามประเด็น

นโยบายการตรวจราชการ และตัวชี้วัดการตรวจราชการ รอบท่ี 2 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของ

สํานักงานศึกษาธิการภาค 12 สรุปไดดังนี้

นโยบายท่ี 1 การยกระดับคุณภาพการศึกษา ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 1.1 การยกระดับคะแนน O-NET/N-NET/V-NET 1.1.1 การตรวจสอบ/วิเคราะหจุดออนจุดแข็ง ท้ังรายกลุมสาระและรายสาระ KPI: สถานศึกษาไดตรวจสอบ/วิเคราะหจุดออนจุดแข็ง ท้ังรายกลุมสาระและรายสาระ รอยละ 100 1.1.2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และแกปญหาจุดออน เพ่ือพัฒนาจุดแข็งรายสาระ KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีไดจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และแกปญหาจุดออน เพ่ือพัฒนาจุดแข็งรายสาระ 1.1.3 การกําหนดเปาหมาย การยกระดับคาเฉลีย่ O-NET/N-NET/V-NET ตามแนวทางกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซ่ึงออกตามกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑและวิธีการการประกันคุณภาพการศึกษา KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีมีการกําหนดเปาหมายการยกระดับคาเฉลี่ย O-NET/N-NET/V-NET ตามแนวทางกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาซ่ึงออกตามกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑและวิธีการ การประกันคุณภาพการศึกษา ผลการดําเนินงาน 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาดังนี้ 1) รายสาระ/กลุมสาระ หรือรายทักษะ/รายสมรรถนะท่ีเปนจุดแข็ง จุดออนจากการวิเคราะหผล

การทดสอบ O-NET / N-NET/ V-NET ภาพรวมของสังกัด/ หนวยงานโดยเรียงลําดับมากไปนอย แยกราย

ศธจ. ดังนี้

จํานวนสถานศึกษาท่ีมีการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจราชการและตัวชี้วัด

หนวยงาน/สถานศึกษา (สังกัด)

จํานวนสถานศึกษา

ท้ังหมด

การดําเนินงานของสถานศึกษา มีการตรวจสอบ/วิเคราะห

จุดออนจดุแข็งผลการทดสอบ

O-NET/N-NET/ V-NET

จัดกิจกรรมการเรียนการสอน และแกปญหาจุดออนเพ่ือพัฒนาจุดแข็งรายสาระ

กําหนดเปาหมายการ

ยกระดับคาเฉล่ีย O-NET/N-NET/V-NET

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ สพป. 2,866 2,866 100 2,866 100 2,866 100 สพม. 233 233 100 233 100 233 100 สศศ. (ร.ร.ประชานุเคราะห) 4 4 100 4 100 4 100 สช. 246 246 100 246 100 246 100 สกอ.(ร.ร.สาธิต) 5 5 100 5 100 5 100 สอศ. 74 74 100 74 100 74 100

Page 244: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

26

กศน. 77 77 100 77 100 77 100

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดรอยเอ็ด O-NET

จุดแข็ง

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาพรวมของสังกัด/หนวยงานโดยเรียงลําดับมากไปหานอย (1) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย คาเฉลี่ย เทากับ 44.68 (2) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร คาเฉลี่ย เทากับ 38.06 (3) กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร คาเฉลี่ย เทากับ 35.75 (4) กลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ คาเฉลี่ย เทากับ 33.13 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาพรวมของสังกัด/หนวยงานโดยเรียงลําดับมากไปหานอย (1) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย คาเฉลี่ย เทากับ 46.81 (2) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร คาเฉลี่ย เทากับ 31.37 (3) กลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ คาเฉลี่ย เทากับ 28.86 (4) กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร คาเฉลี่ย เทากับ 24.39 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 ภาพรวมของสังกัด/หนวยงานโดยเรียงลําดับมากไปหานอย (1) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย คาเฉลี่ย เทากับ 46.28 (2) กลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ คาเฉลี่ย เทากับ 32.72 (3) กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษาฯ คาเฉลี่ย เทากับ 27.02 (4) กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร คาเฉลี่ย เทากับ 23.95 (5) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร คาเฉลี่ย เทากับ 21.32 จุดออน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ภาพรวมของสังกัด/หนวยงานโดยเรียงลําดับมากไปหานอย (1) กลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ คาเฉลี่ย เทากับ 33.13 (2) กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร คาเฉลี่ย เทากับ 35.75 (3) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร คาเฉลี่ย เทากับ 38.06 (4) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย คาเฉลี่ย เทากับ 44.68 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาพรวมของสังกัด/หนวยงานโดยเรียงลําดับมากไปหานอย (1) กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร คาเฉลี่ย เทากับ 24.39 (2) กลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ คาเฉลี่ย เทากับ 28.86 (3) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร คาเฉลี่ย เทากับ 31.37 (4) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย คาเฉลี่ย เทากับ 46.81 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 ภาพรวมของสังกัด/หนวยงานโดยเรียงลําดับมากไปหานอย 1) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร คาเฉลี่ย เทากับ 21.32 2) กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร คาเฉลี่ย เทากับ 23.95 3) กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษาฯ คาเฉลี่ย เทากับ 27.02 4) กลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ คาเฉลี่ย เทากับ 32.72 5) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย คาเฉลี่ย เทากับ 46.28

Page 245: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

27

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดขอนแกน จุดแข็ง O-NET

สังกัด ระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6

กลุมสาระการเรียนรู รายสาระ

สพป.ขอนแกนเขต 1 1) ภาษาไทย 1) ท 3.1

2) วิทยาศาสตร 2) ว 4.1 ว 4.2

3) คณิตศาสตร 3) ค 4.1

4) ภาษาอังกฤษ 4) ต 2.1

สพป.ขอนแกนเขต 2 1) ภาษาไทย 1) การเขียน

2) ภาษาอังกฤษ 2) ภาษาและวัฒนธรรม

3) คณิตศาสตร 3) การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน

4) วิทยาศาสตร 4) สารและสมบัติของสาร

สพป.ขอนแกนเขต 3 -

สพป.ขอนแกนเขต 4 1) ภาษาไทย 1) การฟง การดู และการพูด (63.45)

2) วิทยาศาสตร 3) ชีวิตกับสิ่งแวดลอม (52.36)

3) คณิตศาสตร 2) การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน

(49.60)

4) ภาษาอังกฤษ 4) ชุมชนและโลก(35.99)

สพป.ขอนแกนเขต 5 -

ร.รสาธิต (มอดินแดง) 1.ภาษาไทย การฟง การดู และการพูด คาเฉลี่ยรอยละ 81.71

2.คณิตศาสตร การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน คาเฉลี่ย

รอยละ 69.30

3.วิทยาศาสตร ชีวิตกับสิ่งแวดลอม คาเฉลี่ยรอยละ 67.43

4.ภาษาอังกฤษ ภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลก คาเฉลี่ย

รอยละ 65.61

ร.รสาธิต

(ศึกษาศาสตร)

1) ภาษาไทย 1) การฟง การดู และการพูด

2) คณิตศาสตร 2) วิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน

3) ภาษาอังกฤษ 3) ภาษากับความสัมพันธกับชุมชน และโลก

4) วิทยาศาสตร 4) ชีวิตกับสิ่งแวดลอม

ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3

กลุมสาระการเรียนรู รายสาระ

Page 246: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

28

สพป.ขอนแกนเขต 1 1) ภาษาไทย 1) ท 1.1

2) วิทยาศาสตร 2) ว 2.2

3) ภาษาอังกฤษ 3) ต 2.1

4) คณิตศาสตร 4) ค 1.4

สพป.ขอนแกนเขต 2 1) ภาษาไทย 1) การเขียน

สพป.ขอนแกนเขต 3 -

สพป.ขอนแกนเขต 4 1) ภาษาไทย 1) การเขียน (45.39)

2) วิทยาศาสตร 3) ชีวิตกับสิ่งแวดลอม (39.78)

3) ภาษาอังกฤษ 4) ภาษากับการสื่อสาร (26.58)

4) คณิตศาสตร 2) พีชคณิต (24.70)

สพป.ขอนแกนเขต 5 -

N-NET ระดับประถมศึกษา

1) รายสาระ/รายทักษะวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ( X = 54.20) กลุมสาระ/รายสมรรถนะกลุม

ทักษะการดําเนินชีวิต มีคะแนนโดยเฉลี่ยรอยละสูงท่ีสุด เฉลี่ยรอยละ 44.97

2) รายสาระ/รายทักษะวิชาสังคมศึกษา ( X = 43.53) กลุมสาระ/รายสมรรถนะการพัฒนา

สังคม คะแนนโดยรวมเฉลี่ยรอยละ 38.38

3) รายสาระ/รายทักษะวิชาชองทางการเขาสูอาชีพ ( X = 46.07) กลุมสาระ/รายสมรรถนะ

การประกอบอาชีพ คะแนนโดยรวมเฉลี่ยรอยละ 38.33

4) รายสาระ/รายทักษะทักษะการเรียนรู ( X = 35.94) กลุมสาระ/รายสมรรถนะ

ทักษะการเรียนรู คะแนนโดยรวมเฉลี่ยรอยละ 35.94

5) รายสาระ/รายทักษะภาษาไทย ( X = 42.70) กลุมสาระ/รายสมรรถนะ กลุมสาระการ

เรียนรูความรูพ้ืนฐาน มีคะแนนโดยรวมเฉลี่ยรอยละต่ําท่ีสุด คะแนนเฉลี่ยรอยละ 32.82

N-NET ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

1) รายสาระ/รายทักษะวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ( X = 47.79) กลุมสาระ/รายสมรรถนะทักษะ

การดําเนินชีวิต คะแนนโดยรวมเฉลี่ยรอยละสูงท่ีสุด เฉลี่ยรอยละ 41.41

2) รายสาระ/รายทักษะวิชาชองทางการเขาสูอาชีพมี ( X = 42.38) กลุมสาระ/รายสมรรถนะ

การประกอบอาชีพ คะแนนโดยรวมเฉลีย่รอยละ 35.61

3) รายสาระ/รายทักษะวิชาทักษะการเรียนรู ( X = 33.46) กลุมสาระ/รายสมรรถนะ ทักษะ

การเรียนรู คะแนนโดยรวมเฉลี่ยรอยละ 33.46

4) รายสาระ/รายทักษะ การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ( X = 33.66) กลุมสาระ/ราย

สมรรถนะการพัฒนาสังคม คะแนนโดยรวมเฉลี่ยรอยละ 33.44

Page 247: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

29

5) รายสาระ/รายทักษะภาษาไทย ( X = 38.37) กลุมสาระ/รายสมรรถนะ ความรูพ้ืนฐาน มี

คะแนนโดยรวมเฉลี่ยรอยละต่ําท่ีสุด คะแนนเฉลี่ยรอยละ 30.05

N–NET ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

1) รายสาระ/รายทักษะสุขศึกษาและพลศึกษา ( X = 45.62) กลุมสาระ/รายสมรรถนะ กลุม

ทักษะการดําเนินชีวิต มีคะแนนโดยรวมเฉลี่ยรอยละสูงท่ีสุด เฉลี่ยรอยละ 34.73

2) รายสาระ/รายทักษะวิชาชองทางการเขาสูอาชีพ ( X = 39.33) กลุมสาระ/รายสมรรถนะ

การประกอบอาชีพ คะแนนโดยรวมเฉลีย่รอยละ 34.31

3) รายสาระ/รายทักษะ วิชาทักษะการเรียนรู ( X = 31.57 ) กลุมสาระ/รายสมรรถนะทักษะ

การเรียนรู คะแนนโดยรวมเฉลี่ยรอยละ 31.57

4) รายสาระ/รายทักษะภาษาไทย ( X = 38.04) กลุมสาระ/รายสมรรถนะ ความรูพ้ืนฐาน

คะแนนโดยรวมเฉลี่ยรอยละ 27.10

5) รายสาระ/รายทักษะสังคมศึกษา ( X = 27.54) กลุมสาระ/รายสมรรถนะการ

พัฒนาสังคม มีคะแนนเฉลี่ยรอยละโดยรวมต่ําท่ีสุด คะแนนเฉลี่ยรอยละ 23.00

ผลการทดสอบ V-NET

1. โดยเปรียบเทียบตามระดับดานอาชีวศึกษา (V-NET) วิชาความรูดานสมรรถนะหลักและ

สมรรถนะท่ัวไป ระดับประกาศนียบัตร ชั้นปท่ี 3 (ปวช.3) ปการศึกษา 2558-2560 เม่ือเปรียบเทียบคาเฉลี่ยระดับ

จังหวัดอยูในสามอันดับแรก เฉพาะปการศึกษา 2560 มีผลตางคาเฉลี่ย เพ่ิมข้ึน 3.80 (ปการศึกษา 2559-2560)

2. โดยเปรียบเทียบตามระดับดานอาชีวศึกษา (V-NET) แยกตามองคประกอบ ระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.2) ปการศึกษา 2559-2560 เม่ือเปรียบเทียบคาเฉลี่ยระดับจังหวัดอยูใน

สามอันดับแรก ปการศึกษา 2560 ยกเวน ทักษะการจัดการงานอาชีพ และปการศึกษ 2558 อยูอันดับสาม

เฉพาะทักษะทางสังคมและการดํารงชีวิต

3. ผลตางคาเฉลี่ยเม่ือแยกตามองคประกอบปการศึกษา 2559 และ 2560 มากท่ีสุดสามอับดับ

แรก คือทักษะภาษาและการสื่อสาร ทักษะทางสังคมและการดํารงชีวิต และทักษะการจัดการงานอาชีพ

4. ผลตางคาเฉลี่ยเม่ือแยกตามองคประกอบปการศึกษา 2559 และ 2560 มากท่ีสุดสามอับดับ

แรก คือทักษะภาษาและการสื่อสาร ทักษะทางสังคมและการดํารงชีวิต และทักษะการจัดการงานอาชีพ

จุดออน สังกัด ระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6

กลุมสาระการเรียนรู รายสาระ

สพป.ขอนแกนเขต 1 1) ภาษาอังกฤษ 1) ต 1.1

2) คณิตศาสตร 2) ค 4.2

3) วิทยาศาสตร 3) ว 7.2

4) ภาษาไทย 4) ท 5.1

สพป.ขอนแกนเขต 2 1) ภาษาไทย 1) การอาน

Page 248: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

30

2) ภาษาอังกฤษ 2) ภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลก

3) คณิตศาสตร 3) จํานวนและการดําเนินการ

4) วิทยาศาสตร 4) พลังงาน

สพป.ขอนแกนเขต 3 1) ภาษาอังกฤษ

สพป.ขอนแกนเขต 4 1) ภาษาไทย 1) วรรณคดีและวรรณกรรม (35.58)

2) คณิตศาสตร 2) การวัด (24.76)

3) วิทยาศาสตร 3) กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก (24.85)

4) ภาษาอังกฤษ 4) ภาษาเพ่ือการสื่อสาร (28.86)

สพป.ขอนแกนเขต 5 -

ร.ร.สาธิต มอดินแดง 1) ภาษาไทย หลักการใชภาษาไทย คาเฉลี่ยรอยละ 54.14

ร.ร.สาธิต

(ศึกษาศาสตร)

1) วิทยาศาสตร 1) กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก

2) ภาษาไทย 2) วรรณคดีและวรรณกรรม

3) คณิตศาสตร 3) การวัด

4) ภาษาอังกฤษ 4) ภาษาและวัฒนธรรม

ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3

กลุมสาระการเรียนรู รายสาระ

สพป.ขอนแกนเขต 1 1) คณิตศาสตร 1) ค 5.2

2) ภาษาอังกฤษ 2) ต 2.2

3) วิทยาศาสตร 3) ว 4.1

4) ภาษาไทย 4) ท 4.1

สพป.ขอนแกนเขต 2 1) ภาษาไทย 1) การอาน

2) ภาษาอังกฤษ 2) ภาษาเพ่ือการสื่อสาร

3) คณิตศาสตร 3) เรขาคณิต

4) วิทยาศาสตร 4) ชีวิตกับสิ่งแวดลอม

สพป.ขอนแกนเขต 3 1) ภาษาอังกฤษ

สพป.ขอนแกนเขต 4 1) ภาษาไทย 1) หลักการใชภาษาไทย (40.18)

2) ภาษาอังกฤษ 4) ภาษาและวัฒนธรรม (24.57)

3) วิทยาศาสตร 3) กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก (24.15)

4) คณิตศาสตร 2) จํานวนและการดําเนินการ (21.09)

สพป.ขอนแกนเขต 5 - -

N-NET ระดับประถมศึกษา

Page 249: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

31

1) รายสาระ/รายทักษะวิทยาศาสตร ( X = 28.48) กลุมสาระ/รายสมรรถนะ ความรูพ้ืนฐาน

มีคะแนนโดยรวมเฉลี่ยต่ําท่ีสุด คะแนนเฉลี่ยรอยละ 32.82

2) รายสาระ/รายทักษะวิชาทักษะการเรียนรู ( X = 35.94) กลุมสาระ/รายสมรรถนะ ทักษะ

การเรียนรู มีคะแนนโดยรวมเฉลี่ยรอยละ 35.94

N-NET ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

1) ราย สาระ/รายทักษะ วิทยาศาสตร ( X = 26.31) กลุมสาระ/รายสมรรถนะ ความรู

พ้ืนฐาน มีคะแนนโดยรวมต่ําท่ีสุด เฉลี่ยรอยละ 30.05

2) รายสาระ/รายทักษะ วิชาศาสนาและหนาท่ีพลเมือง ( X = 31.72) กลุมสาระ/ราย

สมรรถนะการพัฒนาสงัคม มีคะแนนโดยรวมเฉลี่ยรอยละ 33.44

N–NET ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

1) รายสาระ/รายทักษะ การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ( X = 19.58).. กลุมสาระ/

รายสมรรถนะ การพัฒนาสังคม มีคะแนนโดยรวมต่ําท่ีสุด คะแนนเฉลี่ยรอยละ 23.00

2) รายสาระ/รายทักษะ วิทยาศาสตร ( X = 20.03.) กลุมสาระ/รายสมรรถนะ ความรูพ้ืนฐาน มี

คะแนนโดยรวมเฉลี่ยรอยละ 27.10

ผลการทดสอบ V-NET

1) โดยเปรียบเทียบตามระดับดานอาชีวศึกษา (V-NET) วิชาความรูดานสมรรถนะหลักและ

สมรรถนะท่ัวไป ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.2) ปการศึกษา 2558-2560 เม่ือ

เปรียบเทียบคาเฉลี่ยระดับจังหวัด ไมไดอยูในสามอันดับแรก

2) โดยเปรียบเทียบตามระดับดานอาชีวศึกษา (V-NET) แยกตามองคประกอบ ระดับ

ประกาศนียบัตร ชั้นปท่ี 3 (ปวช.3) ปการศึกษา 2558-2560 เม่ือเปรียบเทียบคาเฉลี่ยระดับจังหวัดอยูในสาม

อันดับแรก เฉพาะปการศึกษา 2560 เทานั้น

3) โดยเปรียบเทียบตามระดับดานอาชีวศึกษา (V-NET) แยกตามองคประกอบ ระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.2) ปการศึกษา 2559-2560 เม่ือเปรียบเทียบคาเฉลี่ยระดับจังหวัดอยูใน

สามอันดับแรก ปการศึกษา 2560 ยกเวน ทักษะการจัดการงานอาชีพ และปการศึกษ 2558 อยูอันดับสาม

เฉพาะ ทักษะทางสังคมและการดํารงชีวิต

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดมหาสารคาม จุดแข็ง O-NET ภาพรวมของสังกัด/หนวยงานโดยเรียงลําดับมากไปหานอย

1) รายสาระการเรียนรู หลักการใชภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

2) รายสาระการเรียนรู ภูมิศาสตร กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา

3) รายสาระการเรียนรู ภาษากับความสัมพันธกับกลุมสาระการเรียนรู อ่ืนกลุมสาระการเรียนรู

ภาษาอังกฤษ

Page 250: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

32

4) รายสาระการเรียนรู ดาราศาสตรและอวกาศ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

5) รายสาระการเรียนรู การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปนกลุมสาระการเรียนรู

คณิตศาสตร

N-NET ภาพรวมของสังกัด/หนวยงานโดยเรียงลําดับมากไปหานอย

1) สาระความรูพ้ืนฐาน

2) สาระการประกอบอาชีพ

3) สาระทักษะการดําเนินชีวิต

4) สาระทักษะการเรียนรู

5) สาระการพัฒนาสังคม

จุดออน O-NET ภาพรวมของสังกัด/หนวยงานโดยเรียงลําดับมากไปหานอย

1) รายสาระการเรียนรู การฟงการดูและการพูด กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

2) รายสาระการเรียนรู ประวัติศาสตร กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา

3) รายสาระการเรียนรู ภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลก กลุมสาระการเรียนรู

ภาษาอังกฤษ

4) รายสาระการเรียนรู สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

5) รายสาระการเรียนรู การวัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ จุดแข็ง

1) รายสาระ/รายทักษะ การฟงการดูการพูด (68.50%) และการเขียน (54.68%) กลุมสาระ/ราย

สมรรถนะ ภาษาไทยชั้น ป.6

2) รายสาระ/รายทักษะ การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน (71.44%) กลุมสาระ/รายสมรรถนะ

คณิตศาสตร ชั้น ป.6

3) รายสาระ/รายทักษะ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก (34.37%สูงกวาระดับประเทศ) ดารา

ศาสตรและอวกาศ (61.11% ) และพลังงาน (59.82%) กลุมสาระ/รายสมรรถนะวิทยาศาสตร ชั้น ป.6

4) รายสาระ/รายทักษะเศรษฐศาสตร(50.84%) และประวัติศาสตร(50.63%) กลุมสาระ/ราย

สมรรถนะสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

5) รายสาระ/รายทักษะ ภาษาอังกฤษไมมีสาระท่ีเปนจุดแข็ง กลุมสาระ/รายสมรรถนะภาษาอังกฤษชั้น ป.6

จุดออน

1) รายสาระ/รายทักษะ วรรณคดีและวรรณกรรม (44.72%) การอาน (45.55%) และหลักการใชภาษา(45.20%) กลุมสาระ/รายสมรรถนะ ภาษาไทยชั้น ป.6 2) รายสาระ/รายทักษะพีชคณิต (16.31%) การวัด (26.95%) เรขาคณิต (39.40%) และจํานวนและการดําเนินการ (40.55%) กลุมสาระ/รายสมรรถนะคณิตศาสตรชั้น ป.6

Page 251: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

33

3) รายสาระ/รายทักษะสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต (32.37%) ชีวิตกับสิ่งแวดลอม (32.26%) แรงและการเคลื่อนท่ี (33.29%) และ สารและสมบัติของสาร (36.39%) กลุมสาระ/รายสมรรถนะวิทยาศาสตร ชั้น ป.6 4) รายสาระ/รายทักษะภูมิศาสตร(34.88%) ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม (36.68%) และหนาท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิต (48.61%) กลุมสาระ/รายสมรรถนะสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมชั้น ป.6 5) รายสาระ/รายทักษะ ภาษากับความสัมพันธกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน (26.13%) ภาษากับความสัมพันธชุมชนและโลก (30.59%) ภาษากับความสัมพันธชุมชนและโลก (30.62%) และภาษาและวัฒนธรรม(30.74%) กลุมสาระ/รายสมรรถนะภาษาอังกฤษชั้น ป.6

2. หนวยงาน/สถานศึกษา มีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็น

การตรวจราชการ ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน

1) การสรางความตระหนักถึงความสําคัญในการสอบ O-NET ใหแกครูผูสอนและนักเรียนทุกคน

ในระดับชั้นท่ีเขาสอบ

2) สงเสริมใหครูนําผลการประเมินไปใชพัฒนาการจัดการเรียนรูในรูปแบบตางๆ

3) กําหนดวิสัยทัศนพันธกิจและเปาหมายโดยมุงเนนท่ีคุณภาพผูเรียนท่ีสะทอนคุณภาพ

ความสําเร็จอยางชัดเจนและเปนรูปธรรม

4) จัดทําแผนพัฒนาหรือแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของสถานศึกษาเพ่ือใชเปนแนวทาง

ในการดําเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมตางๆ ของสถานศึกษา

5) สงเสริม สนับสนุน กระบวนการวิจัยและพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา เชน

กระบวนการวิจัยและพัฒนาดานการบริหารจัดการ ดานการนิเทศ การจัดการเรียนรู การวิจัยเพ่ือศึกษาปญหา

เก่ียวกับการทดสอบ

6) วางแผนการนิเทศติดตามผลการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 100% ดําเนินงานโดย

เครือขายการนิเทศ จัดใหมีการทดสอบ Pre test O-NET ใชขอสอบเสมือนจริง Pre O-NET โดยมีประเด็นการ

นิเทศมุงเนนการจัดการเรียนรู การวัดและประเมินผลในระดับหองเรียน นําคะแนนสอบ Pre test มาวางแผน

การพัฒนาผูเรียน

7) การนิเทศภายในสถานศึกษาอยางตอเนื่อง สมํ่าเสมอ ตามบริบทของโรงเรียนอยางเปนระบบ มี

แผนการนิเทศภายในสถานศึกษาและปฏิบัติตามแผนการดําเนินงานท่ีกําหนด

8) วิเคราะหและตรวจสอบผลการทดสอบยอนหลัง 3 ปการศึกษา เพ่ือคนหาสาเหตุและตัวชี้วัด ท่ี

เปนปญหา วิเคราะหจุดออน จุดแข็ง ท้ังคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมและคะแนนเฉลี่ยรายกลุมสาระวิชา โดยนํามา

วิเคราะห ในรูปของการระดมความคิด (PLC) ภายในสถานศึกษา แลวนําผลท่ีไดมาวางแผนการดําเนินการ

เตรียมการรองรับการทดสอบในปการศึกษาตอไป

9) กําหนดเปาหมายการพัฒนาผลการทดสอบไวในการประเมินผลสถานศึกษาโดยใชแนวคิด

Balanced Scorecard (BSC)

Page 252: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

34

10) ประชุม/PLC ผูเก่ียวของรวมกันวิเคราะหผลการทดสอบรายกลุมสาระ มาตรฐานสาระจัด

เรียงลําดับความสําคัญ วิเคราะหผลเปรียบเทียบระหวางโรงเรียนกับสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และ

ระดับประเทศ พิจารณาผลพัฒนาการจากปท่ีผานมา

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 1) โรงเรียนขาดความตระหนัก ครูไมใหความสนใจเทาท่ีควร จัดการเรียนการสอนไมเนนให

นักเรียนไดปฏิบัติจริง ไมฝกใหนักเรียนไดคิดอยางเปนระบบ ทําใหการดําเนินงานออกมาไมดี

2) การบริหารจัดการเวลาเรียน ตามโครงสรางเวลาเรียนของสถานศึกษา ไมเอ้ือหรือสงเสริมตอ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพเทาท่ีควร 3) โรงเรียนขนาดเล็ก ครูสอนไมครบชั้น ไมตรงเอก และการปฏิบัติงานของครูมีภาระงานอ่ืนๆ ท่ีไมใชงานสอนมากเกินไป 4) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีไมบรรลุตามวัตถุประสงคของมาตรฐานและตัวชี้วัด ครูขาดทักษะในการวิเคราะห วินิจฉัยผูเรียนเปนรายบุคคล 5) งานนโยบาย/โครงการหนวยงานตนสังกัด มีเยอะเกินไป โรงเรียนมีเวลาจัดการเรียนการสอน

ไดไมเต็มเวลา

6) งบประมาณไมเพียงพอในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในเรื่องการวัดประเมินผลในชั้นเรียน และกิจกรรมอ่ืน ๆ 7) ขาดการนิเทศ ติดตามการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีจริงจังชวงระยะเวลาของการนิเทศ

ติดตามไมเพียงพอ เพราะถูกจํากัดอยูในชวงเวลา 2-3 เดือนกอนสิ้นปงบประมาณ หรือชวงทายของภาคเรียนท่ี 1 ซ่ึงทุกๆโครงการ/กิจกรรมของเขตพ้ืนท่ีจะมีลักษณะเหมือนกันทุกๆ ปงบประมาณ 8) ขาดวัสดุ เครื่องมือหรืออุปกรณ และเทคนิควิธีการในการยกระดับคุณภาพของผูเรียน ขาด

ประสบการณในการสราง/ใชสื่อการเรียนการสอน และขาดความรูความเขาใจในการใชสื่อเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมท่ีจําเปน 4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

1) ควรกําหนดจุดเนน/นโยบาย การนําผลการทดสอบมาใชในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรียน

2) ควรสรางมาตรการเพ่ือยกระดับคุณภาพผูเรียนในการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู เรียนระดับชาติ เพ่ือใหครูผูสอนนํามาตรการมาใชใหเกิดประโยชนในการจัดการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน

3) ควรจัดทําโครงการยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสังกัด โดยนําผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผูเรียนระดับชาติในปการศึกษาท่ีผานมา เปนขอมูลเสนฐาน (Baseline) ในการยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนในปการศึกษาตอไป

4) ตรวจสอบนักเรียนและจัดกลุมนักเรียนเปนกลุม ไดแก นักเรียนกลุมความสามารถพิเศษ กลุมปกติ (เกง ปานกลาง ออน) กลุมเสี่ยงท่ีมีปญหาการอาน เขียน คิดคํานวณ และแกปญหา รายสถานศึกษา รายหองเรียน จนถึงรายบุคคล เรงรัดใหมีการดูแลเปนพิเศษเพ่ือใหสมรรถนะทางดานการเรียนรูไดรับการพัฒนา

5) ควรจัดใหมีการนิเทศภายในสถานศึกษาเพ่ือชวยเหลือและจัดสรรเครื่องมือสื่อการเรียนรูและปรับปรุงวิธีจัดการเรียนรูของครูใหมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

Page 253: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

35

6) สพฐ. ควรมีการวิเคราะหลดภาระงานของครู มีการบริหารจัดการเวลาเรียนใหเกิด

ประสิทธิภาพสูงสุด เชน มีการสอนชดเชย ใหครูปฏิบัติการสอนไดอยางเต็มท่ี 7) ผูบริหารควรใหความสําคัญ และใหการสงเสริม สนับสนุนอยางเต็มท่ี มีการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาใหเหมาะสมกับชุมชน และทองถ่ิน รวมถึงมีการจัดหาสื่อ นวัตกรรม และแหลงเรียนรูใหเพียงพอ

8) ควรสงเสริม สนับสนุน กระบวนการวิจัยและพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา เชน กระบวนการวิจัยและพัฒนาดานการบริหารจัดการ ดานการนิเทศ การจัดการเรียนรูการวิจัย เพ่ือศึกษาปญหาเก่ียวกับการทดสอบ

9) ควรยกยองเชิดชูเกียรติ/ชมเชย/ใหเกียรติบัตรแกสถานศึกษาท่ีมีพัฒนาการของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยางชัดเจน และเปนแบบอยางท่ีดีแกหนวยงานอ่ืนๆ

10) ควรสรางเครือขายการนิเทศการศึกษาเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยางเปนระบบและตอเนื่อง 11) ควรมีนวัตกรรมท่ีดี เหมาะสม ในการแกปญหาการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก

12) ควรเพ่ิมงบประมาณท่ีใหโรงเรียนสามารถนํามาวางแผนพัฒนาการเรียนการสอนเองใหมากข้ึน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice) ในการดําเนินงานตามนโยบาย

เร่ือง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางที่ด ี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ที่ตั้ง

หนวยงาน/ สถานศึกษา

1. การบริหารจัดการ ,นวัตกรรม โรงเรียนอนุบาลรอยเอ็ด

ถนนรณชยัชาญยุทธ ต.ในเมือง

อ.เมือง จ.รอยเอ็ด

2. การบริหารจัดการ ,นวัตกรรม

โรงเรียนบานมะอึ บานมะอึ ต.มะอึ อ.ธวัชบุรี

จ.รอยเอ็ด

3. สถานศึกษามีคะแนน O-NET เฉลี่ย

รวม 4 กลุมสาระการเรียนรูสูงข้ึน

มากกวารอยละ 5 และสูงกวา

ระดับประเทศระดบัชัน้ ป. 6

โรงเรียนบานหนองหัววัว สพป.ขอนแกน เขต 1

4. วิเคราะหขอมูล, วางแผนการสอนและ

สอนเต็มเวลา เต็มความสามารถ

โรงเรียนบานหัวนา อําเภอมัญจาคีรี สพป.ขก.2

5. ผูบริหารมีความเขาใจและตระหนัก

เห็นความสําคัญของการสอบ O-NET

โรงเรียนบริหารจัดการแบบมีสวนรวม

ของทุกภาคสวน ครูดําเนนิคัดกรอง

นักเรียน และวิเคราะหจัดกลุมผูเรียนจัด

กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผูเรียนบนพืน้

ฐานขอมูลสารสนเทศผลการคัดกรอง

นักเรียน และวิเคราะหจัดกลุมผูเรียน

โรงเรียนอนุบาลมหาสารคาม สพป.มค.1

Page 254: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

36

6. ครูผูสอนรูจักนักเรียนทุกคน มีขอมูล

รายบุคคล และจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน

ตามมาตรฐานตัวชี้วัด ตั้งใจสอน ตาม

นักเรียนข้ึนชั้นป

โรงเรียนบานโนนตาลกุดเวียนหนอง

หญามา

อําเภอกันทรวิชัย สพป.มค.1

7. คําคาราษฎรบํารุง ต.โนนศิลา อ.สหัสขันธ จ.กาฬสนิธุ ภาษาไทย คณิตศาสตร สังคมฯ

8. เหลาเขืองโนนเสียววิทยา ต.สามัคคี อ.รองคํา จ.กาฬสินธุ คณิตศาสตร ภาษาไทย

วิทยาศาสตร สังคมฯ

1.2 การยกระดับคะแนนเฉล่ีย PISA 1.2.1 การเตรียมความพรอมของครูเพ่ือรองรับการทดสอบ PISA (การศึกษาเรียนรูแบบทดสอบ PISA) KPI: รอยละของสถานศึกษาทุกระดับท่ีไดเตรียมความพรอมของครูเพ่ือรองรับการทดสอบ PISA (เชน การศึกษาเรียนรูแบบทดสอบ PISA) 1.2.2 การปรับกระบวนการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกับการทดสอบ PISA KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีเปดสอนชั้น ม.3 ไดปรับกระบวนการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกับการทดสอบ PISA 1.2.3 การจดักิจกรรมการเรยีนการสอนใหนักเรียนฝกทําแบบทดสอบตามแนวทางของ PISA KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีเปดสอนชั้น ม.3 ไดจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือเสริมสรางประสบการณการทดสอบตามแนวทางของการสดสอบ PISA แกผูเรียน ผลการดําเนินงาน 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาดังนี้ จํานวนสถานศึกษาท่ีมีการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจราชการและตัวชี้วัด

หนวยงาน/สถานศึกษา (สังกัด)

จํานวนสถาน ศึกษาทั้งหมด

จํานวน

สถานศึกษา

ที่มี นร.อายุ 15ป (ม.ตน, ม.ปลาย, ปวช.)

ทั้งหมด

สถานศึกษาที่เตรียมความพรอมใหกับครู เพ่ือรองรับ

การทดสอบ PISA

สถานศึกษาที่ม ีนร.อายุ 15 ป (ม.ตน, ม.ปลาย, ปวช.) ไดปรับกระบวนการเรียน

การสอนที่สอดคลองกับการ

ทดสอบ PISA

สถานศึกษาที่ม ีนร.อายุ 15 ป (ม.ตน, ม.ปลาย, ปวช.) ไดจัดกิจกรรมการเรียนการ

สอนเพ่ือเสริมสรางประสบการณการทดสอบ

ตามแนวทางของการ

ทดสอบ PISA

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

สพป. 1,652 466 466 100 466 100 466 100 สพม. 174 174 174 100 174 100 174 100 สศศ. (ร.ร.ประชานุเคราะห) 3 1 0 0 0 0 0 0 สช. 183 80 80 100 80 100 80 100 สอศ. 54 54 100

หมายเหตุ ขอมูลเชิงปริมาณ ไมรวม ศธจ.รอยเอ็ด

1) สถานศึกษามีการเตรียมความพรอมใหกับครู เพ่ือรองรับการทดสอบ PISA ดังนี้ (1) สรางความตระหนัก โดยใหความรูความเขาใจเก่ียวกับการสอบ PISA ใหนักเรียนรับรูวา

Page 255: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

37

เปนการสอบในระดับนานาชาติ นําขอสอบ PISA ยอนหลังใหนักเรียนฝกคิดฝกทําท้ังรายกลุมและรายบุคคล

โดยใชกระบวนการกลุมและทํา Mind map

(2) ใหครูเขาถึงแหลงความรูจากสื่อระบบออนไลนขอสอบ PISA ของ สสวท. PISA Like

PISA Thailand สสวท. มาใชฝกนักเรียน และสงครูผูรับผิดชอบเขารับการอบรม ประชุมวางแผนการทํางาน

(3) ครูผูสอนในกลุมสาระการเรียนรูท่ีเก่ียวของไดแก ภาษาไทย คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร

ทําการจัดใหนักเรียนทดสอบเรื่องเดียวกันพรอมกัน อธิบายเพ่ิมเติมในเนื้อหา หรือรูปแบบการทดสอบท่ีนักเรียน

ไมเขาใจ

(4) ครูผูสอนในระดับชั้น ม.1-3 ไดศึกษาเรียนรูในเรื่องนิยาม บริบท สมรรถนะ ในการ ประเมิน PISA ท้ังใน Reading Literacy, Scientific Literacy, Mathematical Literacy

(5) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือเสริมสรางทักษะการใชคอมพิวเตอรในการทําขอสอบของ ครูผูสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 หรือระดับมัธยมศึกษาปท่ี 4 ใหสามารถใชระบบออนไลนขอสอบ PISA เพ่ือการพัฒนานักเรียนใหเสร็จสิ้นกอนเปดภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2561 โดยใชสื่อประกอบการประชุมท่ีเผยแพรโดยศูนย PISA สพฐ. ไดทาง website : Obec channel, page facebook : PISA Center OBEC

(6) จัดกิจกรรมกระตุนใหผูบริหารและครูผูสอน รูและเขาใจเก่ียวกับ PISA และตระหนักถึง ความสําคัญของผลการสอบ PISA ท่ีมีตอประเทศ

(7) สงเสริมและสนับสนุนใหนักเรียนท่ีเปนกลุมตัวอยางการสอบ PISA 2018 ใชแบบฝกทักษะ

การแกปญหาตามแนวทางการประเมิน PISA 2018 ท้ัง 3 ดานการรูเรื่อง คือ การรูเรื่องการอาน การรูเรื่องคณิตศาสตร และการรูเรื่องวิทยาศาสตร ซ่ึงสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจะจัดสงใหตอไป 2) สถานศึกษาท่ีมีนักเรียนอายุ 15 ป (ม.ตน, ม.ปลาย, ปวช.) มีการปรับกระบวนการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกับการทดสอบ PISA ดังนี้ (1) ครูท่ีไดเขารับการประชุมเชิงปฏิบัติการตามแนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ตาม

แนวทางของ PISA นํากิจกรรมการเรียนการสอนไปปรับปรุงในการจัดการเรียนรู ฝกใหนักเรียนทําโครงงาน

และใชกระบวนการจัดการเรียนการสอน แบบ Active Learning

(2) สถานศึกษาท่ีมีนักเรียนอายุ 15 ป (ม.ตน) มีการปรับกระบวนการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกับการทดสอบ PISA โดยครูผานการอบรมเพ่ือพัฒนาศักยภาพดานการสอบดวยคอมพิวเตอร (Computer-based Assessment) เพ่ือเตรียมความพรอมในการประเมิน PISA 2018 นําสูการปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนกับนักเรียนอายุ 15 ป (ม.ตน) (3) พัฒนาสื่อ (แบบฝกบทอาน ฯลฯ) จัดทํา/รวบรวมคลังขอสอบ ใชขอสอบ PISA เปนแนวทางการประเมินผูเรียน (4) สรางแบบทดสอบสําหรับใชในการวัดประเมินผลในชั้นเรียนท่ีมีความสอดคลองกับ

ขอสอบ PISA หรือจัดทําคลังขอสอบคูขนานขอสอบ PISA ในปการศึกษาตางๆ โดยเนนการปูพ้ืนฐานนักเรียนมี

ความสามารถในการมีความพรอมตอการรับการประเมิน PISA ตอไป

(5) สถานศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 - 3

โดยแทรกกิจกรรมดานการอานและการคิดวิเคราะหตามแนว PISA ในทุกกลุมสาระการเรียนรูหรือรายวิชาท่ี

Page 256: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

38

เหมาะสมโดยใชบทอานและแบบฝกท่ีไดรับจากสพฐ. มาปรับใหสอดคลองกับบริบท สมรรถนะ และกรอบการ

ประเมินในแตละดาน

3) สถานศึกษาท่ีมีนักเรียนอายุ 15 ป (ม.ตน, ม.ปลาย, ปวช.) จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือเสริมสรางประสบการณการทดสอบตามแนวทางของการทดสอบ PISA แกผูเรียน ดังนี้ (1) เนนใหเด็กไดฝกคิด ออกแบบ คํานวณตนทุนผลผลิต และผลลัพธท่ีจะเกิดข้ึนโดยใชกระบวนการเรียนรูทางวิทยาศาสตรเขามาเก่ียวของ ใชแผนบันทึกขอมูล CD ระบบออนไลนขอสอบ PISA ซ่ึงจัดทําโดย สสวท. และจัดคายนักเรียนใชคอมพิวเตอร/ฝกทําขอสอบ จัดสอบ Pre – PISA กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา (2) ประเมินผูเรียนดวยขอสอบ PISA ของ สสวท. ฝกการใชคอมพิวเตอรของนักเรียน

รองรับการประเมินดวยขอสอบ PISA ศึกษาแนวทางและตัวอยางการจัดการเรียนการสอนท่ีสอดคลอง PISA

ในการเตรียมนักเรียน

(3) โรงเรียนพิจารณาลดการใชขอสอบแบบเลือกตอบลง และเพ่ิมขอสอบท่ีมีสถานการณท่ี

มีความยากและความซับซอนท่ีเหมาะสมใหนักเรียนไดอาน ไดศึกษาวิเคราะหขอมูลตางๆ จากสถานการณนั้นๆ

แลวตั้งคําถามใหนักเรียนไดคิดวิเคราะห โดยนักเรียนตองเขียนคําตอบพรอมแสดงเหตุผลหรือท่ีมาของคําตอบ

หรือแสดงวิธีทํา วิธีคิดท่ีไดมาซ่ึงคําตอบนั้นๆ ทํานองเดียวกับขอสอบ PISA

(4) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหนักเรียนมีความรูความเขาใจเก่ียวกับการวิเคราะหโจทย

ปญหาดานการรูเรื่องการอาน ดานการรูเรื่องคณิตศาสตร และดานการรูเรื่องวิทยาศาสตร

(5) ครูผูสอนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร มอบหมายให

นักเรียนไดฝกทดสอบ PISA ออนไลน และกําหนดใหครูผูสอนตรวจสอบการทดสอบของนักเรียนสัปดาหละ 1

ครั้ง/วิชา ทดลองทําแบบทดสอบ PISA ในระบบท่ีใชสอบจริงโดยใช Computer

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจาการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 1) สถานศึกษามีหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรเพ่ือฝกทักษะการสอบไมเพียงพอ ระบบอินเตอรเน็ตของโรงเรียนมีปญหา รวมถึงผูเรียนขาดทักษะการทดสอบ PISA โดยการใชคอมพิวเตอร ONLINE 2) ครูระดับมัธยมศึกษามีวุฒิการศึกษาไมตรงตามสาระการเรียนรูท่ีสอนทําใหการดําเนินการจัด กิจกรรมการเรียนรูยังไมชัดเจนเทาท่ีควร และสวนมากไมคอยใหความสําคัญในกิจกรรมนี้ เนื่องจากใชเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนสอนนาน และเปนเรื่องใหม ครูยังไมคอยถนัด 3) งานนโยบาย/โครงการหนวยงานตนสังกัด มีมากเกินไป โรงเรียนมีเวลาจัดการเรียนการสอนได

ไมเต็มเวลา โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็ก ปญหาครูสอนไมครบชั้น และไมตรงวิชาเอก

4) การสุมโรงเรียนสําหรับรับการประเมินตองมีการสุมตั้งแตตนเทอม หรือนานกวาท่ีจะแจงให

โรงเรียนทราบเพราะโรงเรียนจะมีเวลาในการเตรียมการประเมินท่ีเพียงพอไมใชทราบกอนประเมินเพียงไมก่ีเดือน

5) นักเรียนไมมีความอดทนในการอานสถานการณและโจทย

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) แตละเขตพ้ืนท่ีควรมีทีมสรางขอสอบแนว PISA อยางนอย 9 คน (การอาน 3 คน คณิตศาสตร

3 คน วิทยาศาสตร 3 คน) และมีครูท่ีไดรับการฝกใหเปนผูชํานาญการดานสรางขอสอบ/เครื่องมือประเมินผล

การเรียนรูประจําโรงเรียน ท่ีสามารถใหคําแนะนําและนิเทศครูในโรงเรียนได

Page 257: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

39

2) ควรจัดทําแบบฝกท่ีสงเสริมใหนักเรียนไดฝกคิดตามสมรรถนะ บริบทของการประเมิน PISA

อยางหลากหลาย และสงเสริมดานงบประมาณใหสถานศึกษาไดจัดกิจกรรมอยางตอเนื่อง

3) ควรไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวนของสังคม ท้ังนักเรียน พอแมผูปกครอง และประชาชน

ในการจัดกิจกรรมท้ังหมด และทุกคนตระหนักถึงความสําคัญ เห็นคุณคา ความจําเปนของการเขารวมโครงการ

PISA ตลอดจนมีความเชื่อวาเปนสิ่งท่ีตองทํา

4) ควรจัดประชุมเชิงปฏิบัติการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางของ PISA บอยๆ

เพ่ือกระตุนใหครูเกิดความชํานาญ และสนใจมากข้ึน

5) ควรจัดหางบประมาณใหสถานศึกษามีหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรและระบบอินเตอรเน็ตแก

โรงเรียนอยางเพียงพอเพ่ือฝกทักษะ

6) โรงเรียนควรสรางความตระหนักและใหความสําคัญกับการทดสอบรูปแบบ PISA ใหแกครูทุก

คน ทุกระดับชั้นท่ีสอน เพ่ือสะดวกในการขับเคลื่อนตามนโยบาย และสรางนวัตกรรมท่ีดี เหมาะสมในการ

แกปญหาการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก

7) ควรกําหนดใหมีการสอบ PISA พรอมกันทุกโรงเรียน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ไม

ควรใชการสุม

8) ควรลดนโยบายจํานวนมากๆ ใหเปนเชิงบูรณาการ เพ่ือสะดวกในการนําไปปฏิบัติ และมีเวลา

จัดการเรียนการสอนมากข้ึนมีการนิเทศติดตามอยางตอเนื่อง และสมํ่าเสมอ

9) ผูบริหารโรงเรียนควรเปนผูนําในการดําเนินงาน ในการพัฒนาการทดสอบ PISA ออนไลน และ

ใหการสนับสนุนอยางจริงจัง

10) สถานศึกษาควรรวมกันกําหนดเปาหมายและสรางความตระหนักแกผูเก่ียวของทุกคนใหเห็น

ความสําคัญของการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice)

เร่ือง/กิจกรรมและรายละเอียด ของตนแบบหรือแบบอยางที่ด ี

รายชื่อ หนวยงาน/สถานศึกษา

ที่ตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

1. เด็กไดออกแนวความคิดใหมๆ

สามารถนํามาใหไดตามภูมิปญญา

ทองถ่ิน

โรงเรียนบานแห (ประชานกูุล)

อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด

2. มีหองฝกทักษะการสอบเพื่อ

เตรียมความพรอมของนักเรียน

โรงเรียนเมืองรอยเอ็ด

ถนนรณชยัชาญยุทธ ต.ในเมือง

อ.เมือง จ.รอยเอ็ด

3.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเนน

ทักษะกระบวนการคิด และผลสอบ

O-NET สูงกวาระดับประเทศ

โรงเรียนบานโสกเสี้ยวแสนสขุ อําเภอกระนวน

สพป.ขอนแกน เขต 4

Page 258: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

40

4. ครูเขาถึงแหลงความรูจากสื่อ

ระบบออนไลนขอสอบ PISA ของ

สสวท. PISA Like PISA Thailand

สสวท. มาใชฝกนักเรียน และออก

ขอสอบตามแนว PISA ดานการอาน

รูเร่ือง

โรงเรียนบานหนองหลุบ สพป.ขอนแกน เขต 1

5. ผูบริหารสถานศึกษามีความเขาใจ

และตระหนักเห็นความสาํคัญของ

การสอบ PISA ใหการสนับสนนุ

งบประมาณ สื่อ อุปกรณ อยาง

เต็มที่ จัดครูที่มีความชาํนาญ

เชี่ยวชาญสอน

โรงเรียนบานหนองขามแสบง อําเภอบรบือ จ.มหาสารคาม

6. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม

สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัดหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน

พุทธศักราช 2551

สรางแรงจูงใจใหผูเรียนเห็น

ความสําคัญและเสริมแรง ใหรางวัล

ผูเรียน กิจกรรมคายวิชาการใน

สถานศึกษา

โรงเรียนบานนาฝาย โรงเรียนบานนาฝาย หมูที่ 6 บานนา

ฝาย ตําบลดงดวน อําเภอนาดูน

จังหวัดมหาสารคาม 44180

7. การจัดกิจกรรมที่เนน

กระบวนการใหนักเรียนไดฝกทกัษะ

การคิดในรูปแบบ PISA

วิทยาศาสตร

โรงเรียนบานโหมนสงเคราะห อําเภอเมือง จ.กาฬสินธุ

8. การจัดกิจกรรมคณิตศาสตร โรงเรียนดานใตวิทยา อําเภอรองคํา จ.กาฬสินธุ

นโยบายท่ี 2 การจัดการศึกษาปฐมวัย

2.1 การเขาถึงโอกาสทางการศึกษาปฐมวัย KPI: รอยละของนักเรียนปฐมวัยตอประชากรกลุมอายุ 3 – 5 ป KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีมีการจัดทําระบบปองกันภัยท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา ผลการดําเนินงาน

1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนา ดังนี้ จํานวนนักเรียนปฐมวัย (อนุบาล 1-3 และเด็กเล็ก) และจํานวนสถานศึกษาท่ีเปดสอนระดับปฐมวัย ปการศึกษา 2560

Page 259: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

41

หนวยงาน/สถานศึกษา

(สังกัด)

จํานวน

สถานศึกษา

ท่ีเปดสอน

ระดับ

ปฐมวัย

ท้ังหมด

(แหง)

จํานวน

ประชากรวัย

เรยีน

อายุ 3-5 ป

(คน)

นักเรียนปฐมวัย

(อนุบาล 1-3 และเด็กเล็ก)

สถานศึกษาท่ีมีระบบปองกัน

ภัยท้ังภายในและภายนอก

สถานศึกษา

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

สพป. 2,233 78,711 64,158 81.51 2,233 100

สช. 265 30,100 27,834 100 7,688 100

สกอ.(โรงเรียนสาธิต) 3 855 855 100 1 100

อปท.(ศูนยเด็ก) 1,441 42,122 42,122 100 975 100

อบจ. 2 155 155 100 2 100

เทศบาล 11 1,119 1,119 100 11 100

พมจ. 26 745 745 100 26 100

สาธารณสุข (กรมอนามัย) 1 146 146 100 1 100

หมายเหตุ: จํานวนประชากรวัยเรียน อายุ 3-5 ป ใชขอมูลจากสํานักทะเบียนราษฎรของแตละพ้ืนท่ี (อําเภอ/จังหวัด)

1) สถานศึกษาไดดําเนินการดานตางๆ เพ่ือเปนการปองกันภัยท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา

ใหกับผูเรียนระดับปฐมวัย ดังนี้

ดานอาคารสถานท่ี สถานศึกษาไดมีการบริหารจัดการดานอาคารสถานท่ี คือจัดอาคารเรียนให

เปนเอกเทศเปนสัดสวนเฉพาะของระดับปฐมวยัในโรงเรียนท่ีมีความพรอม โดยเฉพาะโรงเรียนท่ีเปนศูนยเด็กปฐมวัย

ตนแบบ/ศูนยเด็กปฐมวัยตนแบบเครือขาย มีการลอมรั้วรอบขอบชิด มีความปลอดภัย สวนสถานศึกษาท่ีมี

ขอจํากัดดานอาคารสถานท่ีไมสามารถเปนอาคารเอกเทศไดก็จะมีการจัดบริเวณเปนโซนหรืออาคาร หรือหองเรียน

ใหเปนสัดสวนเฉพาะระดับปฐมวัย มีการจัดบรรยากาศท้ังในหองเรียนและนอกหองเรียนใหไดมาตรฐานหองเรียน

ปฐมวัย มีมุมประสบการณสําหรับเด็ก การรักษาความสะอาด นอกหองเรียนมีพ้ืนท่ีสีเขียว สวนหยอม ไมดอก

ไมประดับ สําหรับเด็กใหเรียนรูในชีวิตประจําวัน รวมท้ังบรรยากาศภายในและภายนอกหองเรียนท่ีเอ้ือตอการ

เรียนรู

ดานอุปกรณเครื่องใชตางๆ สถานศึกษาสรางขอตกลงรวมกันระหวางครู ผูเรียน เก่ียวกับการ

ใชวัสดุ อุปกรณ สื่อการเรียนรู ท่ีอาจเปนอันตรายได เชน มีด กรรไกร โลหะ กระจก เครื่องใชไฟฟา เพ่ือเปน

การปองกันอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึน และใหทุกหองเรียนมีเครื่องมือปฐมพยาบาลเบื้องตน มีสื่อวัสดุอุปกรณท่ีเปน

สื่อการเรียนรู เชน จอทีวี (แอลซีดี) เครื่องคอมพิวเตอร จัดวางในท่ีปลอดภัยอยูในระดับสายตาเด็ก และอุปกรณอ่ืนจัดวางในท่ีปลอดภัย รักษาความสะอาดอุปกรณเครื่องใชอยูเสมอ ใหความรู ความเขาใจเก่ียวกับการใช

Page 260: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

42

อุปกรณและเครื่องใชตางๆ โดยเฉพาะเครื่องใชไฟฟาใหมีความปลอดภัยและเฝาระวังการใชอุปกรณใหมีความ

ปลอดภัยเสมอ

ดานเครื่องเลน สถานศึกษามีมาตรการปองกันอันตรายจากการใชเครื่องเลน แหลงเรียนรู และ

อุปกรณการเลน จัดเตรียมสถานท่ีสําหรับการเลนท่ีมีพ้ืนท่ีเหมาะสมและเปนลานกลางแจงเพ่ือสงเสริมการ

เรียนรูและพัฒนาการดานกลามเนื้อ จิตใจและอารมณและเสริมสรางการอยูรวมกันกับผูอ่ืน มีครูผูสอนคอย

กํากับดูแลในการเลนเครื่องเลนสนามรวมกับเด็กทุกครั้ง เพ่ือเฝาระวังความปลอดภัยใหกับเด็กวัยปฐมวัยมีการ

ตรวจสอบเครื่องเลนสนามทุกสัปดาห เพ่ือใหมีความพรอมสําหรับใชงานอยางปลอดภัย ดานการรับสงนักเรียนและการจราจร สถานศึกษาบางแหงท่ีมีรถรับสงนักเรียนจะมีการทํา

ประกันภัย และชี้แจงขอตกลงเพ่ือความปลอดภัยในการตรวจนับจํานวนนักเรียนกอนข้ึนและลงจากรถ จัด

ประสบการณดานการสงเสริมวินัยจราจรสําหรับเด็กและผูปกครอง ใหความรูหนาเสาธง และประชาสัมพันธ

เสียงตามสายในหมูบานมีการแจงใหผูปกครองรับทราบเก่ียวกับระเบียบและแนวปฏิบัติในการรับ-สงนักเรียน

แตงตั้งและจัดเวรยามเพ่ือรับสงนักเรียนและการจราจรเพ่ือเปนการเฝาระวังรักษาความปลอดภัยในการ

เดินทางไป-กลับ บานจากโรงเรียน นอกจากนั้นยังดําเนินการใหมีกลุมพ่ีชวยเหลือนองเปนกลุมบานใกลเคียงกัน

ใหเขารวมกลุมเดินทางมาโรงเรียนรวมกัน เพ่ือใหพ่ีไดคอยดูแลนอง เกิดความรักและผูกพันระหวางพ่ีและนอง

ดานโภชนาการ สถานศึกษาไดดําเนินการสงเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก ใหความรูผูปกครอง

และตัวเด็กในการเลือกรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ หลีกเลี่ยงอาหารท่ีเปน

อันตรายและไมมีประโยชนตอรางกาย จัดอาหารเสริม (นม) และอาหารกลางวันใหเด็กๆ อยางครบถวน แตงตั้ง

คณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพอาหาร เขารวมรับการประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ

ดานสุขอนามัย สถานศึกษาไดดําเนินการจัดประสบการณใหเด็กไดมีพัฒนาการดานรางกาย

สงเสริมใหมีสุขอนามัยท่ีดี จัดแหลงเรียนรูท่ีถูกสุขลักษณะ เชน ท่ีแปรงฟน ท่ีลางมือ ท่ีลางจาน ท่ีดื่มน้ํา ท่ีสะอาด

ปลอดภัยมีการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็ก เริ่มจากตรวจสุขภาพตอนเชาทุกวันชวงรับเด็ก ตรวจความสะอาด

ของรางกาย และมีการตรวจสุขภาพจากโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล โรงพยาบาลประจําอําเภอ และ

โรงพยาบาลประจําจังหวัด และสถานพยาบาลอ่ืน ๆ จัดสภาพหองเรียนท่ีสะอาดปลอดโปรง เปนระบบระเบียบ

หองน้ํา-หองสวม มีความเหมาะสมกับวัยของเด็ก เพียงพอกับจํานวนเด็กและมีความสะอาด รวมท้ังยังจัดเตรียม

สถานท่ีสําหรับการจัดการเรียนรูและสภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการเสริมสรางสุขอนามัยและการจัดประสบการณ

ในเรื่องของสุขอนามัยท่ีจะสงเสริมใหเด็กในวัยปฐมวัยไดมีพฤติกรรมและสุขนิสัยท่ีดีในการรักษาสุขอนามัยของ

ตนเองเม่ือเติบโตข้ึน

ดานอ่ืนๆ การใหความรูกับพอแมผูปกครองเด็กปฐมวัย เพ่ือสงเสริมและปองกันความปลอดภัยในการอบรมเลี้ยงดูท่ีบาน หรือนอกบาน เวลาเดินทาง ตลอดจนใหความรูเรื่องการสงเสริมพัฒนาการท้ังสี่ดานเพ่ือนําไปใชในการอบรมเลี้ยงดูและใหการศึกษาท่ีบาน

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

1) ผูบริหารใหความสําคัญกับการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยนอยกวาในระดับชั้นอ่ืน

Page 261: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

43

2) ครูผูสอนปฐมวัย ไมจบการศึกษาดานปฐมวัย ทําใหไมเขาใจในการจัดการศึกษาท่ีถูกตองตาม

หลักจิตวิทยาและพัฒนาการเด็กปฐมวัย

3) ขาดงบประมาณสนับสนุน ทําใหเกิดความเลื่อมล้ําในการดําเนินงานท้ัง 6 ดานของโรงเรียน

4) งบประมาณในการดําเนินงานการพัฒนาการศึกษาระดับปฐมวัยลาชา ทําใหการดําเนินงาน

ตางๆในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตองลาชา โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยใหม มี

ความจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองสรางความเขาใจในการจัดการศึกษาลงสูการปฏิบัติในระดับสถานศึกษา แตสพฐ.

ก็จัดสรรใหชามาก ทําใหคอนขางไมทันการ

5) งานขอมูลซํ้าซอนเรียกเก็บจากหลายหนวยงานซํ้าๆซอนๆ

6) ไมมี Treatment หรือ Budget แตติดตามผล

7) ตัวชี้วัดการประเมินและแนวทางปฏิบัติไมสอดคลองกัน โดยเฉพาะการตรวจสอบการ

ดําเนินงานการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ในขณะท่ีประกาศใชหลักสูตรให

สถานศึกษานําหลักสูตรไปใช

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

1) การดําเนินงานควรจะสอดรับ สอดคลองระหวางการกําหนดนโยบายและงบประมาณในการ

ดําเนินงาน เพ่ือใหการขับเคลื่อนแนวนโยบายสามารถขับเคลื่อนไดอยางเปนระบบ และเนนการจัด

ประสบการณมากกวางานนโยบาย

2) เนนใหผูบริหารเห็นความสําคัญ และสงเสริมการจัดประสบการณสําหรับเด็กปฐมวัยใหมากข้ึน

3) ครูปฐมวัยควรไดรับการพัฒนาดานเทคนิคการสอน และการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือ

รองรับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

4) สงเสริมกิจกรรม Best Practice ของครูปฐมวัยอยางตอเนื่อง และใหเปนผลงานวิชาการ

สามารถนําไปประกอบการเลื่อนวิทยฐานะได

5) สรางความรู ความเขาใจใหครูผูสอนระดับปฐมวัยและผูดูแลเด็กปฐมวัย

6) ผลิตบุคลากรดานปฐมวัยท่ีมีคุณภาพเพ่ิมข้ึน และจัดสรรบุคลากรปฐมวัยใหครบทุกโรงเรียนๆ ละอยางนอย 1-3 คน ใหครบชั้นเรียนท่ีเปดสอนและใหสอนระดับปฐมวัยดวย

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน / สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน / สถานศึกษา

1. นวัตกรรมไฮสโคป โรงเรียนเมืองรอยเอ็ด

ถนนรณชัยชาญยทุธ ต.ในเมือง

อ.เมืองรอยเอ็ด จ.รอยเอ็ด 45000

2. นวัตกรรมมอนเตสซอร่ี โรงเรียนอนุบาลรอยเอ็ด

ถนนรณชัยชาญยทุธ ต.ในเมือง

อ.เมืองรอยเอ็ด จ.รอยเอ็ด 45000

Page 262: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

44

3. ผูบริหารใหความสําคัญในการจัด

การศึกษาปฐมวัย โดยเปดโอกาสให

หนวยงานตาง ๆ เขามามีสวนรวม มี

ผลงานเปนที่ประจักษ และขับเคลื่อน

อยางตอเนื่อง

โรงเรียนน้ําพองศึกษา อ.น้ําพอง สพป.ขอนแกน เขต 4

4. ครูผูสอนจบการศึกษาระดบัปฐมวัย

เปนแกนนาํในการจัดกิจกรรมบาน

นักวิทยาศาสตรนอย ประเทศไทย

และจัดกิจกรรมตอเนื่องทุกป ผูบริหาร

ใหการสนับสนุนในการดําเนนิงาน

โรงเรียนชุมชนกระนวน อ.กระนวน สพป.ขอนแกน เขต 4

5. การจัดการเรียนการสอนแบบมอน

เตสชอร่ี

โรงเรียนอนุบาลมหาสารคาม

(สพป.มค.1)

ถ.ศรีสวัสดิ์ดําเนิน ต.ตลาด อ.เมือง

จ.มหาสารคาม 44000

6. โครงการบานนักวิทยาศาสตรนอย

ประเทศไทย

โรงเรียนหลักเมืองมหาสารคาม

(สพป.มค.1)

ถ.นครสวรรค ต.ตลาด อ. เมือง จ.

มหาสารคาม44000

7. เปนโรงเรียนอนุบาลประจาํจงัหวัด

มีการพัฒนารูปแบบและวธิีการสอน

อยางตอเนื่อง เปนศูนยกลางการ

พัฒนาครูปฐมวัยดวย STEM ศึกษา

โรงเรียนอนุบาลกาฬสินธุ บานเขตเทศบาลเมืองกาฬสนิธุ ต.

กาฬสินธุ อ.เมือง จ.กาฬสนิธุ

8. เปนโรงเรียนอนุบาลประจําเขต

พื้นที่ เปนศูนยกลางการพัฒนาครู

ปฐมวัยดานการจัดการเรียนรูแบบ

โครงงาน

โรงเรียนบานหนองกุงใหญ หมูที่ 1 บานหนองกุงใหญ ต.สําราญ

อ.สามชัย จ.กาฬสินธุ

นโยบายท่ี 3 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

3.1 การขยายผลการอบรมโครงการ Boot Camp และการจัดการอบรมขยายผลใหโรงเรียนเครือขายของ Master Trainer (ตามโครงการ Boot Camp) ในสถานศึกษา KPI: รอยละของครูผูผานการอบรมโครงการ Boot Camp ในสถานศึกษาสามารถนําเทคนิคการเรียน การสอนภาษาอังกฤษไปใชในการสอน KPI: รอยละของ Master Trainer (ตามโครงการ Boot Camp) ในสถานศึกษาสามารถเปนครูแกนนํา 3.2 การจัดสภาพแวดลอมเพ่ือสงเสริมการเรียนรู (เชน ปายช่ือตางๆ ใหมีภาษาอังกฤษควบคูภาษาไทย รวมท้ังครู นักเรียน ไดสนทนาภาษาอังกฤษ วันละ 1 ประโยค KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีสามารถจัดสภาพแวดลอมภายในหองเรียน และนอกหองเรียนเพ่ือสงเสริมการเรียนรู

Page 263: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

45

ผลการดําเนินงาน 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนา ดังนี้

ขอมูลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด

สังกัด

ครผููผานการอบรมโครงการ Boot Camp

Master Trainerตามโครงการ Boot Camp สถานศึกษาที่

จัดสภาพแวดลอม

ภายในหองเรียน และนอกหองเรียน เพ่ือสงเสริมการเรียนรู (แหง)

ครูที่ผานการ

อบรม Boot Camp

(คน)

ครูที่ผานการ

อบรม Boot Campสามารถนําเทคนิคการ

เรียนการสอนภาษาอังกฤษไปใชในการสอน

(คน)

รอยละ

Master Trainer ตาม

โครงการ

Boot Camp

(คน)

Master Trainer ตาม

โครงการ Boot Camp

ที่สามารถเปนครูแกนนํา

(คน)

รอยละ

สพป 429 429 100 1,690 สพม. 228 228 100 217 สช. สอศ. 64 64 100 40 40 100 40 กศน. 9 9 100

1) สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดลอมภายในหองเรียน และนอกหองเรียนเพ่ือสงเสริมการเรียนรูภาษาอังกฤษ ดังนี้ สภาพแวดลอมภายในหองเรียน ไดแก การจัดเปนหองแหงการเรียนรู มุมการเรียนรู มุม

ประสบการณ จัดชั้นเรียนแบบตัวยู บรรยากาศนาเรียน บอรดคําศัพท มีสื่อคําศัพท ภาษาอาเซียน สื่อภาษา

อังกฤษ บัตรคํา เกมตอคําศัพท ปายคําศัพท บอรดประโยคสนทนาภาษาอังกฤษ เหมาะสมกับการสื่อสาร

เพียงพอ และครูผูสอนสนทนากับนักเรียนเปนภาษาอังกฤษ

สภาพแวดลอมภายนอกหองเรียน ไดแก ปายชื่อสถานท่ีหรือหองปฏิบัติการ เชน หองผูอํานวยการ ปายบอกหองเรียน ชื่อครูภาษาอังกฤษ รายการอาหาร ปายนิเทศ หองสมุด โรงอาหาร หองน้ํา ทางเดินข้ึน – ลง สนามเด็กเลน ปายสํานวนภาษาอังกฤษติดตามตนไม และจัดทําปายหนาหองตางๆ เปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีสื่อการเรียนการสอนท่ีนาสนใจ เชน มีโทรทัศน เพ่ือใชในการฝกภาษา จัดกิจกรรมภาษาอังกฤษวันละคําหนา

เสาธง ภาษาอังกฤษวันนี้ และวันละประโยค English all day สัปดาหละ 1 ครั้ง เปนตน

2) สถานศึกษาไดใชรูปแบบภาษาเพ่ือการสื่อสาร Communicative Language Teaching ใน

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและสงเสริมการใชภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารในชั้นเรียนอยางสมํ่าเสมอและ

ตอเนื่อง นอกจากนี้สถานศึกษาใชสื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษจาก DLIT และเว็บไซต Eng 24 และ

Application Echo English รวมถึงเว็บไซตอ่ืนๆ และสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบอ่ืนๆ เพ่ือสงเสริมการใช

Page 264: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

46

ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารใหเกิดประสิทธิภาพและนําไปใชในชีวิตประจําวันได จัดคายวิชาการภาษาอังกฤษ

จัดกิจกรรมการแขงขันภาษาอังกฤษ Mini English Camp

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้ 1) จัดโครงการท่ีสงเสริมการใชภาษาอังกฤษในการสื่อสาร ไดแก เชิญวิทยากรทางภาษามาให

ความรูกับนักเรียน, จัดกิจกรรมภาษาอังกฤษหนาเสาธง, จัดกิจกรรมวันคริสมาสต, จัดกิจกรรมมัคคุเทศกนอย

2) นักเรียน ครู ผูบริหาร ผูปกครอง ชุมชน เห็นความจําเปนและความสําคัญของการใช

ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารมากยิ่งข้ึน

3) สงเสริมการใชสื่อการสอนภาษาอังกฤษท่ีเปนสื่อ ICT ใหมากข้ึน เนนการสื่อสาร นักเรียน

กลาพูดภาษาอังกฤษมากข้ึนโดยไมเคอะเขินหรืออาย

4) จัดกิจกรรมชุมนุมภาษาอังกฤษ กิจกรรม crossword และละครภาษาอังกฤษ จัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษดวยเพลง เกม การทองคําศัพท สนทนาเปนภาษาอังกฤษในชั้นเรียน 5) นักเรียนไดเรียนรูในรูปแบบท่ีหลากหลายจากครูท่ีผานการอบรม Boot Camp สงผลให

นักเรียน มีผลการเรียนภาษาอังกฤษสูงข้ึน มีความชอบภาษาอังกฤษ สนใจในการเรียนภาษาอังกฤษมากข้ึน

กลาแสดงออกในการพูดภาษาอังกฤษ และมีเจตคติท่ีดีตอการเรียนภาษาอังกฤษ

6) ครูไดพัฒนาตนเองในดานภาษาอังกฤษและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Active

learning ท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ จนสงผลใหผูเรียนไดพัฒนาทักษะการฟง การพูด การอานและการเขียน ครูมี

ความพึงพอใจในการเขาอบรมในครั้งนี้และมีความพรอมในการท่ีจะเปลี่ยนแปลงการสอนและมีความม่ันใจใน

การใชภาษาอังกฤษในหองเรียนเปนอยางมาก

7) ครูผูสอนใชภาษาอังกฤษไดอยางมีประสิทธิภาพ นํารูปแบบและกิจกรรมตางๆ มาใชใหเกิด

การเรียนรูแกผูเรียนไดอยางแทจริง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 1) การพัฒนาครูแกนนํา (Boot Camp) เปนโครงการท่ีมีหลักสูตรพัฒนาครูไดอยางมีคุณภาพ เกิดทักษะและสามารถนําไปใชในการจัดการเรียนการสอนไดจริง แตไดรับความสนใจจากครูนอย เนื่องจากปญหาอุปสรรค ดานระยะเวลาในการอบรม และระยะทางในการเดินทางไปยังศูนยอบรม และโรงเรียนขนาด

เล็ก ไมสามารถสงครูเขารวมอบรมได เนื่องจากมีครูไมครบชั้น

2) การจัดสภาพแวดลอมเพ่ือสงเสริมการเรียนรู โรงเรียนบางแหงขาดงบประมาณในการจัดทําปายท่ีสวยงามและคงทนถาวร ซ่ึงควรไดรับการจัดสรรงบประมาณสวนนี้เพ่ิมเติม 3) โรงเรียนสวนใหญยังขาดบุคลากรท่ีมีความเชี่ยวชาญดานภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็ก ท่ีมีความจํากัดดานบุคลากรและงบประมาณ

Page 265: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

47

4) โรงเรียนขนาดใหญจํานวนนักเรียนในแตละหองเรียนมีมากเกินไป ทําใหเปนอุปสรรคในการ

จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เชน สื่อไมพอเพียง และนักศึกษาไมกลาแสดงออก ไมเห็นความสําคัญของ

ภาษาอังกฤษ 5) การโยกยายครูท่ีมีความรู ความสามารถ หรือทักษะในการสอนบางครั้งอาจสงผลกระทบกับ

นโยบาย

6) โรงเรียนมีงานอ่ืนใหครูทํานอกจากการสอน ทําใหไมสามารถสอนไดตามท่ีอบรมมามีเวลา

เตรียมการนอย ครูบางสวนยังทําไดไมดี เนื่องจากปญหาหลายประการ อาทิเชนกรณีโรงเรียนเล็กครูจํานวน

นอย ภาระอ่ืนมาก จึงไมไดเตรียมการสอน และไมคอยจะไดสอนเต็มเวลา

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) รัฐบาลควรจัดเปนวาระแหงชาติในการพัฒนาสาระภาษาอังกฤษ โดยใหมีกิจกรรมท่ีสงเสริมการใชภาษาอังกฤษท้ังระดับเขตพ้ืนท่ี ภูมิภาค ประเทศ ใหเพ่ิมมากข้ึน และตอเนื่อง 2) หนวยงานสวนกลางท่ีเก่ียวของในระดับนโยบาย ควรทําความเขาใจ และมีการประสานงานกันอยางเปนรูปธรรมมากข้ึน เพ่ือไมใหเกิดปญหาซํ้าซอนของการปฏิบัติในระดับภูมิภาค 3) ควรมีการสงเสริมสนับ สนุน ใหนําแอปพลิเคชั่น Echo English มาใชในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา และนําสูหองเรียนอยางตอเนื่อง โดยการบูรณาการกับนโยบายดานเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา 4) ควรผลิตบุคลากรดานปฐมวัยท่ีมีคุณภาพเพ่ิมข้ึน และจัดสรรบุคลากรปฐมวัยใหครบทุกโรงเรียนๆ ละอยางนอย 1-3 คน ใหครบชั้นเรียนท่ีเปดสอนและใหสอนระดับปฐมวัยดวย 5) ควรมีการประชุม วางแผนการขับเคลื่อนโดยใหศึกษานิเทศกระดับเขตพ้ืนท่ีมีสวนรวมเพ่ือการขับเคลื่อนและพัฒนาใหเกิดความตอเนื่องยั่งยืน 6) ควรมีการติดตาม ประเมินผล และแลกเปลี่ยนเรียนรูเทคนิคกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีมี

ประสิทธิภาพของครูแตละรุน หรือ ครูในจังหวัดเดียวกัน

7) การดําเนินนโยบายดานการพัฒนาครู และพัฒนานักเรียนควรมีความชัดเจน ตอเนื่องและเปนระบบ

8) สพฐ. ควรจัดโครงการ/กิจกรรม ใหกับผูอํานวยการโรงเรียน เพ่ือใหมีเจตคติท่ีดีในการ

จัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และเห็นความสําคัญของภาษาอังกฤษท่ีเปนเครื่องในการเตรียมนักเรียนใน

การเปนพลเมืองของโลก

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

1. จัดการเรียนการสอนวิชาหลกัเปน

ภาษาอังกฤษ และจดัครูตรงเอก

ภาษาอังกฤษควบคูกับครูประจาํวิชา

รร.หนองพอกพัฒนาประชานสุรณ

อ.หนองพอก จ.รอยเอ็ด

Page 266: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

48

2. จัดการเรียนการสอนวิชาหลกัเปน

ภาษาอังกฤษ จัดครูผูสอนตรงเอก

ภาษาอังกฤษควบคูกับครูประจาํวิชา

และจางครูชาวตางชาตสิอนประจํา

วิชาภาษาอังกฤษ

รร.อนุบาลเมืองเสลภูมิ

อ.เสลภูม ิจ.รอยเอ็ด

3. โรงเรียนสองภาษาบานนอก

จัดการเรียนการสอนภาษา

อังกฤษทุกระดับชั้นและจัดกิจกรรม

สงเสริมการใชภาษาอังกฤษหนาเสา

ธงและบูรณาการทุกกลุมสาระ

โรงเรียนบานโนน อ.ซําสูง สพป.ขอนแกน เขต 4

4. จัดกิจกรรมโดยใชสื่อการเรียน

การสอนอยางหลากหลาย

โรงเรียนหนองโก

อ. กระนวน สพป.ขอนแกน เขต 4

5. กิจกรรมการรวบรวมคําศัพทที่ใช

ในชีวิตประจําวนัและพูดสื่อสาร

คําศัพทที่ควรทราบเพื่อพูดสื่อสาร

และนาํไปใชในชีวิตจริงได

โรงเรียนอนุบาลมหาสารคาม

(สพป.มค.1)

อ.เมือง จ.มหาสารคาม

6. โครงการเสริมทักษะภาษาอังกฤษ

การอาน การเขียน การฟง และ

การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน

เพื่อพูดสื่อสาร และนาํไปใชในชวีิต

จริงได

โรงเรียนหลักเมืองมหาสารคาม

(สพป.มค.1)

อ.เมือง จ.มหาสารคาม

7. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

สูง เปนตัวแทนเขต แขงเลานิทาน

ภาษาอังกฤษ ระดับภาค 2 รายการ

โรงเรียนโคกนาดี อ.นาคู จ.กาฬสินธุ

8. วิชาการเดนเปนตัวแทนแขงกลาว

สุนทรพจนระดับภาคอีสาน

โรงเรียนบานโนนคอ อ.คํามวง จ.กาฬสินธุ

นโยบายท่ี 4 การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห 4.1 การจัดกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือสงเสริมทักษะ การคิดวิเคราะห KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีจัดกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือสรางกระบวนการคิดวิเคราะห KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีมีนวัตกรรมเพ่ือเพ่ิมทักษะการคิดวิเคราะหแกผูเรียน 4.2 การจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา (STEM Education) KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาโดยบูรณาการองคความรูแบบสะเต็มศึกษา

ผลการดําเนินงาน

Page 267: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

49

1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนา ดังนี้ 1.1 ขอมูลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด

สังกัด

จัดกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือ

สรางกระบวนการคดิวิเคราะห

นวัตกรรมเพ่ือเพ่ิมทักษะการคิด

วิเคราะหแกผูเรียน

จัดการศึกษาโดยบูรณาการองค

ความรูแบบสะเต็มศึกษา

จํานวน

สถาน

ศึกษา

ท้ังหมด

(แหง)

จํานวน

สถาน

ศึกษา

ท่ีจัด

กระบวน

การเรยีน

การสอน

เพ่ือสราง

กระบวน

การคิด

วิเคราะห

(แหง)

รอยละ

จํานวน

สถานศึก

ษาท่ีมี

นวัตกรร

มเพ่ือ

เพ่ิม

ทักษะ

การคิด

วิเคราะห

แก

ผูเรยีน

ปการ

ศึกษา

2559

(แหง)

จํานวน

สถานศึก

ษาท่ีมี

นวัตกรร

มเพ่ือ

เพ่ิม

ทักษะ

การคิด

วิเคราะห

แก

ผูเรยีน

การศึกษ

า 2560

(แหง)

เพ่ิมข้ึน/

ลดลง

รอยละ

จํานวน

สถานศึก

ษา

ท่ีจัดการ

ศึกษา

โดย

บูรณา

การองค

ความรู

แบบ

สะเต็ม

ศึกษา

การศึกษ

า 2559

(แหง)

จํานวน

สถานศึก

ษาท่ี

จัดการ

ศึกษา

โดย

บูรณา

การองค

ความรู

แบบ

สะเต็ม

ศึกษา

การศึกษ

า 2560

(แหง)

เพ่ิมข้ึน/

ลดลง

รอยละ

สพป. 2551 2085 81.73 993 1172 18.03 391 662 69.31

สพม. 234 234 100

สศศ. (ร.ร.ประชา

นุเคราะห)

2 2 100

สช. 271 271 100

สอศ. 74 74 100

กศน. 77 77 100

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้ 1) จัดกิจกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธกีารแบบเปด (Open Approach)

เปนนวัตกรรมในการพัฒนาวิชาชีพครู ใหสามารถบริหารจัดการชั้นเรียนและสามารถจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียน

เปนสําคัญ ท้ังนี้กระบวนการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรูของครูตั้งอยูบนพ้ืนฐานการทํางานรวมกันในชั้น

เรียน โดยการท่ีครูทํากิจกรรมรวมกันอยางนอย0 4 กิจกรรม คือ พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู จัดการเรียนรู

และสังเกตการจัดการเรียนรู สะทอนผลชั้นเรียน และชวยกันสรุปผลการเรียนรูของตนเอง กระบวนการคิดใน

การแกไขสถานการณปญหาของนักเรียนมักจะมาจากการท่ีนักเรียนไดมีการนําความรูและประสบการณเดิมมา

Page 268: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

50

เชื่อมโยงกับจินตนาการของตนเองรวมกับการเรียนรูกับประสบการณใหมท่ีเกิดข้ึนเปนลําดับข้ันตอน ซ่ึงมาจาก

กระบวนการคิดของนักเรียนเพ่ือท่ีจะหาคําตอบจากสถานการณปญหาท่ีเกิดข้ึนในชั้นเรียนโดยท่ีครูผูสอนเปน

คนกําหนดข้ึน

2) จัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา (STEM Education) อบรมพัฒนาครูโดยความรวมมือกับ

โครงการอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของ

3) ทําใหนักเรียนมีศักยภาพและความสามารถในการคิดวิเคราะหอันรวมถึงการคิดในระดับ

ตางๆ อันเปนทักษะพ้ืนฐานท่ีมีความจําเปนในการดํารงชีพและในการศึกษาตอในหลายๆ สาขาวิชา ทําให

นักเรียนมีความพรอมในการดําเนินชีวิตในโลกปจจุบันไดเปนอยางดี

4) ทําใหนักเรียนมีความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการ

ตาง ๆ ไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางานและการอยูรวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสมปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอมและการรูจักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึงประสงคท่ีสงผลตอตนเองและผูอ่ืน 5) นักเรียนไดฝกกระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณญาณ และการสังเคราะหสรางสรรคชิ้นงาน

การประดิษฐคิดคนและทําโครงงานเกิดรูปแบบการเรียนรูเชิงบูรณาการท่ีหลากหลายผานโครงงาน (Project

Based Learning)

6) นักเรียนไดพัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21 ท้ังดานการสื่อสาร ดาน ICT และดานการนําเสนอ

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 1) นโยบายไมชัดเจนและไมตอเนื่องการรับรู และสรางความเขาใจ เก่ียวกับการใช STEM เพ่ือพัฒนากระบวนการคิด 2) หนวยงานท่ีเก่ียวของหลายหนวยงาน ตางคนตางคิดตางคนตางสั่งการทําใหภาระงานของ

โรงเรียนมากข้ึน

3) การสงเสริมสนับสนุนจากหนวยงานท่ีกําหนดนโยบายในดานตางๆ อยางตอเนื่อง และเปน

รูปธรรมท่ีชัดเจนในการดําเนินการ ไมใชกําหนดนโยบายมาแลว ก็ใหสํานักงานเขตรายงานผลการดําเนินการ

เพราะบางครั้งในการดําเนินการจะตองมีความสําคัญและจําเปนท่ีจะตองไดรับการสนับสนุนในดานตางๆ มา

ตลอดและตอเนื่อง เชน ขาดแคลนงบประมาณสนับสนุน สื่อวัสดุอุปกรณ การพัฒนาบุคลกรในการแสวงหาความรู

4) ครูจะดําเนินการจัดกิจกรรมเม่ือทราบวาจะมีการนิเทศติดตาม หรือหลังการอบรมพัฒนาใน

ชวงแรก ๆ ตอจากนั้นก็จะสอนแบบเดิม

5) ผูบริหารโรงเรียนขาดการนิเทศภายในท่ีตอเนื่อง

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) นโยบายควรมีความชัดเจน ตอเนื่อง สามารถปฏิบัติไดจริง เนื่องจากนโยบายตางๆ ในดานนี้

ยังไมไดรับการสนับสนุนท่ีเปนรูปธรรมจากหนวยงานท่ีกําหนดนโยบายเทาท่ีควร โดยยังขาดการสนับสนุนและ

สงเสริมอยางจริงจัง ขาดการติดตามและพัฒนาอยางตอเนื่อง

2) การจัดสรรงบประมาณใหทันตอการพัฒนา รวดเร็วและมีรายละเอียดในการดําเนินการท่ีชัดเจน

Page 269: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

51

3) ควรปรับมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร หรือตัวชี้วัดหลักสูตรใหสอดคลองกับ STEM

Education หรือมีตัวชี้วัด STEM Education ในหลักสูตร

4) การจัดทําหลักสูตร STEM Education ควรจัดใหมีการบูรณาการในการเรียนการสอน

วิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยี โดยไมควรแยกออกจากตัวชี้วัดในหลักสูตร หรือถาจะแยกควรแยกเปน

กลุมสาระการเรียนรูสะเต็มศึกษาตางหากออกมาเปนกลุมสาระการเรียนรูท่ีชัดเจน

5) ควรสรางการรับรู และเขาใจถึงความจําเปนในการ ใช STEM เพ่ือพัฒนากระบวนการคิด และพัฒนาบุคลากรใหมีความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน 6) ควรพัฒนาวิธีการท่ีจะทําใหผูบริหารมีความรูความสามารถเชิงวิชาการและสามารถนิเทศ

ภายในได

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

1. นวัตกรรมที่หลากหลาย โรงเรียนอนุบาลรอยเอ็ด อ.เมืองรอยเอ็ด

2. นวัตกรรมที่เสริมสรางการคิด

วิเคราะห โรงเรียนเมืองธวัชบุรี อ.ธวัชบุรี

3. การใชนวัตกรรม Lesson Study

ดวยวิธกีารแบบเปด (Open

Approach) ในการจัดกิจกรรมการ

เรียนการสอน

โรงเรียนคูคําพิทยาสรรพ

อ.ซําสูง สพป.ขอนแกน เขต 4

4. จัดกิจกรรมเนนทักษะการเรียนรู

สะเต็มศึกษา

โรงเรียนน้ําพอง

อ.น้ําพอง สพป.ขอนแกน เขต 4

5. ผูบริหารสถานศึกษามีความเขาใจ

และตระหนักเห็นความสาํคัญของ

การจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา

(STEM Education) สนบัสนุน

งบประมาณ สื่อ อุปกรณ อยาง

เต็มที่ ครูมีความชํานาญเชี่ยวชาญ

สอน ติดตามแกปญหานักเรียนที่

รับผิดชอบอยางใกลชิด จดักิจกรรม

การเรียนการสอนเพื่อใหนักเรียนมี

คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู/

ตัวชี้วัดทุกชัน้ป ตอเนื่อง

โรงเรียนบานโคกบัวคอ

(สพป.มค.1)

อําเภอเมือง

6. ผูบริหารสถานศึกษามีความเขาใจ

และตระหนักเห็นความสาํคัญของ

โรงเรียนชุมชนบานลาด

(สพป.มค.1)

อําเภอเมือง

Page 270: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

52

การจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา

(STEM Education) สนบัสนุน

งบประมาณ สื่อ อุปกรณ อยาง

เต็มที่ ครูมีความชํานาญเชี่ยวชาญ

สอน ติดตามแกปญหานักเรียนที่

รับผิดชอบอยางใกลชิด จดักิจกรรม

การเรียนการสอนเพื่อใหนักเรียนมี

คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู/

ตัวชี้วัดทุกชัน้ป ตอเนื่อง

7.โครงงานคุณธรรมชัน้ป.1-ป.3 (ลด

ปรับ สราง) เปรียบเทียบการเลีย้ง

ปลาดุกในบอดินกับบอปนูซีเมนต

โรงเรียนบานหนองขอนแกน

สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาที่ 1

อําเภอหวยผึ้ง

8. ชุดฝกการอานและสื่อความ

และนาวาฝาวิกฤต โรงเรียนโคกนาด ี

สพป.กส.3 กลุมสถานศึกษาที่ 2

อําเภอนาคู

นโยบายท่ี 5 การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ 5.1 การจัดทําแผนบูรณาการการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพระดับจังหวัด KPI: จํานวนจังหวัดท่ีไดจัดทําแผนและยุทธศาสตรการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมผูเรียนสายอาชีพ 5.2 มาตรการ/เปาหมายการเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ KPI: รอยละของนักเรียนระดับประถมศึกษาถึงระดับมัธยมท่ีไดรับการสรางทัศนคติท่ีดีตออาชีพและการแนะแนวการศึกษาเพ่ืออาชีพ KPI: สัดสวนผูเรียนสายอาชีวศึกษากับผูเรียนสายสามัญศึกษา

ผลการดําเนินงาน 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนา ดังนี้ 1) จัดทําโครงการสรางประสบการณอาชีพ (Work Experience) ของนักเรียนชั้น ม. 3 โครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทํารูปแบบและแนวทางการพัฒนาหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา 2) ออกแนะแนวการศึกษาตามโรงเรียนท่ีมีการเรียนการสอน ม.3 – ม.6 พรอมท้ังออกบริการศูนยซอมสรางเพ่ือชุมชน บริการซอมอุปกรณไฟฟา เครื่องมือการเกษตรใหประชาชนในเขตพ้ืนท่ีนั้นๆดวย 3) กําหนดยุทธศาสตร/มาตรการในการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมผูเรียนสายอาชีพของจังหวัดโดย

ประชุมวางแผนรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ จัดทําโปรแกรมเก็บขอมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3

คณะกรรมการระดับจังหวัดนิเทศ ติดตาม ประเมินผลโครงการสรางประสบการณอาชีพ

4) มอบนโยบายใหแกผูบริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา แจงมาตรการและ

แนวทางดําเนินงานใหแกสถานศึกษา แนะแนวดานอาชีพใหกับนักเรียน

Page 271: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

53

5) จดักิจกรรม Open House เพ่ือเปดโอกาสใหนักเรียนและผูปกครองไดเยี่ยมชมโรงเรียนท่ีตน

มีความสนใจสมัครเขาเรียน จัดการเรียนการสอนสายอาชีพใหกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตนตามความ

ถนัดของแตละคน

6) สํารวจความสนใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ในการเรียนตอสายสามัญและสายอาชีพ เพ่ือเปนขอมูลในการแนะแนวการศึกษาตอ และใหความรวมมือกับสถานศึกษา 7) สงเสริมใหโรงเรียนมีเครือขายดานอาชีพในชุมชน เชน โรงงานอุตสาหกรรม รานคา แหลง

ผลิตและจําหนายสินคาเพ่ือการฝกงานและทําการตลาด

8) ประสานการดําเนินงานแนะแนวกับศูนยแนะแนวเขตพ้ืนท่ีสถานศึกษา อาชีวศึกษา และ

หนวยงานท่ีเก่ียวของ เพ่ือพัฒนาครูแนะแนวและพัฒนาผูเรียน ทํา MOU รวมกับสถาบันอาชีวศึกษาท่ีอยู

ใกลเคียง ในการแนะแนวและจัดกิจกรรม Open house

9) จัดกิจกรรมตางๆ เชน พาไปทัศนศึกษาแหลงเรียนรูทางอาชีพ กิจกรรมสงเสริมการมีรายได

ระหวางเรียนรวมกับวิทยาลัย เชน เทคนิคชุมแพ จัดโครงการชุมแพโมเดล แนะแนวการเรียนรูสูอาชีพ

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้ 1) นักเรียน นักศึกษาท่ีเรียนในสายอาชีพเม่ือจบการศึกษาแลวสามารถประกอบอาชีพไดตอง

ตามสายงาน หรือสามารถทํางานไดจริง มีทักษะเฉพาะดาน มีความม่ันใจในการทํางาน มีแรงจูงใจในการเรียน

ตอสายอาชีพเพ่ิมมากข้ึน

2) เกิดการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพ่ือเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและระดับสากล 3) โรงเรียนมีหลักสูตรทองถ่ินท่ีสงเสริมการฝกทักษะอาชีพในชุมชน ใหกับผูเรียน บุคลากร

ทางการศึกษาและผูท่ีเก่ียวของมีความพรอมในการพัฒนาผูเรียนใหมีทักษะในงานอาชีพ และมีเครือขายในการ

พัฒนางานอาชีพใหกับผูเรียน

4) ศึกษาเชิงประจักษ มีประสบการณตรงจากการแสดงนิทรรศการของสถาบันอาชีวะศึกษา

และโรงเรียนตนแบบ มีโมเดลท่ีด ี มีนวัตกรรมในการดําเนินงานตามประเด็นนโยบาย

5) ประสานความรวมมือกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ รวมกันแนะแนวใหผูเรียนท่ีจบชั้น

มัธยมศึกษาปท่ี 3 เขาเรียนตอสายอาชีพ

6) นักเรียนเกิดความตระหนักและเห็นความสําคัญในการศึกษาเพ่ือพัฒนาตนเองใหรูจักโลกของ

การทํางานเพ่ือเปนขอมูลในการตัดสินใจเลือกศึกษาตอเพ่ือออกไปประกอบอาชีพ

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 1) ผูปกครองและนักเรียน นักศึกษา มีความตองการเรียนในสายสามัญมากกวาสายอาชีพเนื่องจากสามารถกาวหนาไดมากกวาสายอาชีพ

Page 272: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

54

2) โรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา การสงเสริมบุคลากรดานงาน

อ า ชี พ

ไมคอยไดรับการสนับสนุนเทาท่ีควร สวนมากจะใหความสําคัญกับบุคลากรในกลุมสาระการเรียนรูหลัก เชน

คณิตศาสตร วิทยาศาสตร

3) การฝกทักษะดานอาชีพตองใชเวลามาก แตชั่วโมงเวลาเรียนการงานอาชีพปรับลดลง

4) ผูปกครองและนักเรียนบางสวนมีทัศนคติท่ีไมดีตอสถาบันอาชีวะ เชน การยกพวกตีกัน ซ่ึงไม

สนับสนุนใหเรียนตอสายอาชีพ

5) สถานศึกษาในสังกัดยังไมเห็นความสําคัญของการแนะแนวการเรียนตอสายอาชีพ

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) สถานศึกษาท่ีเปดสอนสายอาชีพทุกสังกัด และสถานประกอบการ ควรมีการแนะแนวการศึกษาตอสายอาชีพและความตองการกําลังคนของประเทศในวันประชุมผูปกครอง 2) พัฒนาระบบการแนะแนวอาชีพเชิงรุกเพ่ือใหสามารถเขาถึงพอแมผูปกครอง 3) สรางความเขาใจในการศึกษาตอสายอาชีพ ประชาสัมพันธเผยแพรภาพลักษณเชิงคุณภาพไปยังกลุมเปาหมายใหเห็นความสําคัญในการเรียนอาชีวศึกษา 4) ควรจัดโครงการอาชีวอาสาเพ่ือพัฒนาสังคมหรือควรจัดโครงการสงเสริมคนดีศรีอาชีวะ โครงการเยาวชนอาชีวะสัมพันธรวมสรางสรรคสังคม 5) สงเสริมใหโรงเรียนมีเครือขายวิชาการดานอาชีพเพ่ือพัฒนาผูเรียน เชน สถาบันอาชีวศึกษา

วิทยาลัยการอาชีพ ศูนยพัฒนาฝมือแรงงาน เปนตน และใหสามารถเทียบโอนหนวยกิตกันได

6) พัฒนาครโูดยสงเสริมการสรางองคความรู นวัตกรรมและงานวิจัยเก่ียวกับการจัดการเรียนรูดาน

อาชีพ

7) จัดกิจกรรมเพ่ือใหนักเรียนไดสํารวจความถนัด ความสามารถของตนเอง สามารถเรียนตอใน

ระดับท่ีสูงข้ึนตรงกับความรูความสามารถ และความถนัดของตนเอง

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

1. ผลิตภัณฑจากขาวหอมมะล ิ โรงเรียนธรรมจารีนิวาส ต.แคนใหญ อ.เมือง จ.รอยเอ็ด

2. ผลิตภัณฑจักสานและ

เกษตรกรรม

โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 101 เฉลิม

พระเกียรต ิ

ต.หนองแวงควง อ.ศรีสมเด็จ

จ.รอยเอ็ด

3. กิจกรรมการทํานาขาว การแปร

รูปผลิตภัณฑการจากผลผลิต

สงเสริม

การนําผลผลติไปจําหนาย

โรงเรียนบานฝางวิทยา อ.กระนวน สพป.ขอนแกน เขต 4

Page 273: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

55

4. การทําเกษตรครบวงจร จัด

กิจกรรมเปนฐานฝกทักษะดาน

การเกษตรเปนแหลงเรียนรู

โรงเรียนบานทรายมลู อ.น้ําพอง สพป.ขอนแกน เขต 4

5. กิจกรรม 1 ชั้น 1 อาชีพ โรงเรียนบานมะกอกฯ

(สพป.มค.1)

อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม

6. หลักสูตรสถานศึกษา (รายวชิา

เพิ่มเติมเศรษฐกิจพอเพียง) หลักสูตร

การบูรณาการทาํนาตามหลกั

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยีงดวย

กระบวนการ STEM Education สู

ธุรกิจคาปลีกในศตวรรษที่ 21

(ระดับชัน้ประถมศึกษาและชั้น

มัธยมศึกษาตอนตน)

โรงเรียนบานหนองหวาโนนทอง

(สพป.มค.1)

อ.บรบือ จ.มหาสารคาม

7. ตนแบบการสอนอาชีพดาน

วิชาการ

โรงเรียนบานมวงกุล หมู 5 บานหวานต. บอแกว อ.นาคู

จ.กาฬสินธุ

8. ตนแบบการสอนงานอาชีพใน

โรงเรียน

โรงเรียนกุดคาวเทพพิทยา หมู 4 บานแสนสุข ต.กุดคาว

อ.กุฉินารายณ จ.กาฬสินธุ

นโยบายท่ี 6 การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ 6.1 สมรรถนะของผูสําเร็จอาชีวศึกษา KPI: รอยละความพึงพอใจของสถานประกอบการตอสมรรถนะผูสําเร็จอาชีวศึกษา 6.2 การเขาสูการมีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระ KPI: รอยละของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาระดับ ปวช. มีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป KPI: รอยละของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาระดับ ปวส. มีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ป 6.3 การจัดอาชีวศึกษาแบบมีสวนรวมกับสถานประกอบการเพ่ือใหผู สําเร็จอาชีวศึกษามีประสบการณตรงในการฝกอาชีพ และมีสมรรถนะท่ีสอดคลองกับความตองการตลาดแรงงาน KPI: รอยละของผูเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ผลการดําเนินงาน 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนา ดังนี้ 1) ประสานความรวมมือกับโรงเรียนท่ีเปดสอนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัด

2) จัดหาสถานประกอบการท่ีมีความม่ันคง และการติดตามสาขาวิชาในระดับ ปวส เปนทวิภาคี 100% 3) ทําความรวมมือกับสถานประกอบการ และนําหลักฐานและตัวอยางของรุนพ่ีรวมแนะแนว จัดการเรียนการสอนใหตรงตามความตองการของสถานประกอบการ 4) สํารวจสถานประกอบการ และสรางความเขาใจการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี ประชุมผูปกครอง นักเรียน นักศึกษาเพ่ือสรางความเขาใจการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี

Page 274: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

56

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้ 1) เปดโอกาสใหผูเรียนเขาถึงกลุมเปาหมายผูมีสวนสําคัญตอการเรียนสายอาชีพ อาชีวศึกษาเกิดความรู ทักษะท่ีสอดคลองและตรงกับความตองการของสถานประกอบการ 2) ผูเรียนมีทักษะและประสบการณตรงในการฝกงานในสถานประกอบการท่ีไดมาตรฐาน ตลอดจนผูเรียนมีรายไดระหวางเรียนจากสถานประกอบการ

3) นักเรียน นักศึกษมีความรู ทักษะ และมีความเขาใจในอาชีพจากการฝกประสบการณใน สถานประกอบการ

4) นักเรียน นักศึกษา ท่ีออกฝกงานอาชีพตามสถานประกอบการระบบทวิภาคี จะมีรายไดระหวาง

ฝกอาชีพ ทําใหนักเรียน นักศึกษามีความตั้งใจในการเรียนรูมากข้ึน และชวยแบงเบาคาใชจายใหกับผูปกครอง 5) นวัตกรรมการพัฒนาหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อาชีวศึกษา และ

อุดมศึกษา ประกอบรูปแบบทวิภาคีกับตางประเทศ

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 1) สถานศึกษาอยูหางไกลจากสถานประกอบการ 2) ขาดงบประมาณในการสนับสนุนจากหนวยงานตนสังกัด

3) จํานวนผูเรียนระบบทวิภาคีมีจํานวนนอย ระบบทวิภาคีไมเหมาะสมสําหรับนักเรียนท่ีจบ มัธยมศึกษา (ม.6) 4) การวิจัยเพ่ือคนพบหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อาชีวศึกษา และ

อุดมศึกษา ประกอบรูปแบบทวิภาคีกับตางประเทศท่ีประสบผลสําเร็จยังมีนอย

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) ควรสนับสนุนงบประมาณเพ่ือการวิจัยเพ่ือคนพบหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ัน

พ้ืนฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ประกอบรูปแบบทวิภาคีกับตางประเทศท่ีประสบผลสําเร็จ

2) ควรกําหนดเปนนโยบายสําคัญอยางตอเนื่องทุกปการศึกษา

3) ควรสรางความเขาใจกับสถานประกอบการ ในการจัดการศึกษาระบบทวีภาคี ขอดีท่ีจะเกิดกับสถานประกอบการ สิทธิท่ีจะไดรับ และผลดีกับประเทศชาติ

4) สรางความเขาใจกับนักเรียนสายสามัญ (ม. 3) และผูปกครองในการเรียนสายอาชีพ ระบบทวิภาคี 5) สํารวจความตองการของผูเรียน และความตองการของตลาดแรงงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

1. สํารวจความตองการของสถาน

ประกอบการจัดทําหลักสูตรใหตรง

กับความตองการ ทําความรวมมือ

วิทยาลัยเทคนิครอยเอ็ด เลขที่ 1 ถ. เทวิภิบาล ต. ในเมือง อ. เมือง จ. รอยเอ็ด

Page 275: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

57

กับสถานประกอบการ (MOU) ตาม

สาขาที่เปดสอนและเพิ่มจํานวน

สถานประกอบการทุกป ฝกพืน้ฐาน

นักเรียน นักศึกษาใหตรงกับความ

ตองการของสถานประกอบการ

2. มีคุณธรรมนําความรูคูสมรรถนะ

วิชาชีพ จัดทาํหลักสูตรตอเนื่อง

เชื่อมโยงการศึกษาข้ันพืน้ฐานกับ

อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา

"หลักสูตรนวัตกรรมการผลิตและ

แปรรูปขาว”

กูกาสิงหประชาสรรค ที่อยู : ทางหลวงชนบท รอ. 6019 เกษตรวิสัย อําเภอ เกษตรวิสัย รอยเอ็ด 45150

3. หลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยง

การศึกษาข้ันพื้นฐาน อาชีวศึกษา

และอุดมศึกษา ประกอบรูปแบบทวิ

ภาคีกับตางประเทศ

วิทยาลัยวิทยาลัยเทคนิคชุมแพ

ชุมชนบานโคกสูง

ตําบลชุมแพ

อําเภอชุมแพ

จังหวัดขอนแกน

4. หลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยง

การศึกษาข้ันพื้นฐาน อาชีวศึกษา

และอุดมศึกษา ประกอบรูปแบบทวิ

ภาคีกับตางประเทศ

วิทยาลัยการอาชีพขอนแกน

ตําบลชนบท

อําเภอชนบท

จังหวัดขอนแกน

5. สงนักเรียนไปฝกประสบการณ

วิชาชีพโดยทําMOUกับประเทศ

ญี่ปุน

วิทยาลัยสารพัดชางมหาสารคาม

ต.แกงเลิงจาน อ.เมือง

จ.มหาสารคาม

6. สงนักเรียนไปฝกประสบการณ

วิชาชีพโดยทําMOUกับประเทศ

อิสราเอล

วิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยี

มหาสารคาม

ต.เขวา อ.เมือง จ.มหาสารคาม

7. ผลิตชิ้นสวนอะไหรรถยนต

บริษัท โปรเกรส พารทแอนด ได จํากัด

1/6 ม.3 ซ.ประครอง 1 ต.หนามแดง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา

8. ผลิตชิ้นสวน อุปกรณ

อิเล็กทรอนิกส

บริษัท ไพโอเนียร (ประเทศไทย)จํากัด

1/31 หมู 5 ต.คานหาม อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา 13210

นโยบายท่ี 7 การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก 7.1 การจัดทําแผนและยุทธศาสตรการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก KPI: จํานวนสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก KPI: จํานวนสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีชั้นเรียนไมเหมาะสม

Page 276: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

58

KPI: จํานวนสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาท่ีมีโรงเรียนขนาดเล็กลดลง

ผลการดําเนินงาน 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนา ดังนี้ 1) รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีชั้นเรียนไมเหมาะสมของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ดําเนินการโดยจัดการเรียนการสอนแบบเรียนรวม สอนทางไกลผานดาวเทียม และบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กรูปแบบโมเดล 2) กํากับ ติดตามชวยเหลือดูแลโรงเรียนขนาดเล็กในสังกัด และใหนโยบายการเรียนรวมอยาง

เปนรูปธรรม โดยการเดินทางไปเรียนรวมบางชวงชั้น เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมีขนาด

เล็กนักเรียนต่ํากวา 40 คน โดยการเรียนรวม/ยุบรวม การจดักิจกรรมการเรยีนการสอนคละชั้น การจดักิจกรรม

การเรียนการสอนโดยการใชสื่อการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (DLTV) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดย

การใชสื่อ DLIT

3) วางแผนการบริหารจัดการศูนยโรงเรียนท่ีเปนโรงเรียนขนาดเล็กมีนักเรียนจํานวน 120 คน

ลงมา โดยตั้งโรงเรียนหลัก นํานักเรียนจากโรงเรยีนรวมไปโรงเรียนหลักทุกชั้นเรียน นําผูบริหารและครูผูสอนมา

วางแผนการบริหารจัดการศึกษารวมกัน กําหนดบทบาทหนาท่ีการบริหารจัดการโรงเรียนหลักและโรงเรียนรวม

อยางชัดเจน และพัฒนาโรงเรียนรวมใหเปนแหลงเรียนรู

4) ขอสนับสนุนงบประมาณคาพาหนะนักเรียน สําหรับนักเรียนทุกคน ทุกระดับชั้นท่ีมาเรียน

โรงเรียนหลัก

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้ 1) มีเครื่องมือและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพ่ือยกระดับยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) โรงเรียนขนาดเล็ก เพ่ือเสริมสรางประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนของครูผูสอนโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก ใหมีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกันในการยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) สงผลใหเกิดประโยชนในการจัดการเรียนการสอน 2) นักเรียนมีโอกาสไดเรียนรูอยางเต็มตามศักยภาพบรรลุวัตถุประสงคของหลักสูตร ไดรับ

การบริการทางการศึกษาอยางท่ัวถึง เทาเทียมและมีคุณภาพ

3) มีการวางแผนและขับเคลื่อนการดําเนินงานอยางเปนระบบทุกระดับอยางชัดเจน และ

ทุมเทเสียสละของผูมีสวนเก่ียวของทุกฝาย

4) ผูเรียนเปนคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค มีวินัย ผูเรียนมี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถทางวิชาการสูง คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) สูงกวาคาเฉลี่ยระดับประเทศตอเนื่อง ใชชีวิตและมีความเขาใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5) มีการกํากับติดตามประเมินผลการดําเนินงานท่ีชัดเจน เปนระบบ ผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรียนของนักเรียนดีข้ึนอยางเปนท่ีนาพอใจ

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

Page 277: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

59

1) ขาดบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถท่ีเพียงพอ สําหรับจัดทําและบริหารจัดการงานวิชาการ

จึงไมสามารถดําเนินการไดครบถวนสมบูรณ

2) การบริหารงานบุคคลในระดับสถานศึกษา บรรจุบุคลากรไมตรงกับความขาดแคลนของ

โรงเรียนสงผลตอการพัฒนาคุณภาพของผูเรียน โรงเรียนขนาดเล็กสวนใหญนอกจากขาดอัตรากําลังแลว

บุคลากรท่ีมีอยูก็จะทําการสอนไมตรงกับวิชาเอก หรือวิชาท่ีตนถนัด

3) การจัดสรรงบประมาณอุดหนุนรายหัว และอุดหนุนปจจัยพ้ืนฐานแกโรงเรียนโดยใชจํานวน

นักเรียนเปนตัวแปรในการจัดสรร โรงเรียนขนาดเล็กมีจํานวนนอยเม่ือคิดเปนตัวเงินทําใหไมเพียงพอตอการ

นํามาใชพัฒนา หลายโรงเรียนตองจัดระดมทุนดวยการจัดผาปาเพ่ือการศึกษา หากตั้งอยูในชุมชนยากจน ก็เปน

การรบกวนผูปกครอง สรางความเดือดรอนไปดวย

4) การพัฒนาคุณลักษณะผูเรียน โรงเรียนจะตองจัดกิจกรรมใหเสริมสรางพัฒนาการของผูเรียน

อยางครบถวนครอบคลุมเพ่ือใหผูเรียนมีพัฒนาการอยางรอบดาน แตสถานศึกษาขนาดเล็กบุคลากรนอย

จํานวนนักเรียนก็นอย เม่ือจัดกิจกรรมตาง ๆ ก็จะขาดความพรอมขาดความสมบูรณของกิจกรรม นักเรียน ขาด

การแลกเปลี่ยนเรียนรูท่ีหลากหลาย บางชุมชนผูปกครองยากจนเด็กตองขาดเรียนไปชวยผูปกครองหารายได

ทําใหขาดโอกาสรวมกิจกรรมอยางหลากหลาย

5) การสรางความเขาใจใหผูบริหาร ครู และผูปกครอง เขาใจและยอมรับการเปลี่ยนแปลง

ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการจัดต้ัง รวม หรือเลิกสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ป 2550 กําหนดใหการ

รวม เลิกสถานศึกษา ตองผานความยินยอมของชุมชนกอน ซ่ึงชุมชนสวนมากยึดติดคานิยม ความเชื่อท่ีวา

“บาน วัด โรงเรียน” ทําใหการสรางความเขาใจในการขับเคลื่อนนโยบายเปนไปไดยาก เกิดความติดขัด

ดานความรูสึกของชุมชนและตัวกฏหมายท่ีกําหนด

6) ไมสามารถเกลี่ยอัตรากําลังครูได เนื่องจากไมมีการยื่นความประสงคจากเจาตัว

7) การของบประมาณสนับสนุนคาพาหนะในการเดินทางไปเรียนรวมคอนขางชา ทําใหโรงเรียน

ตองหาวิธีการในการดําเนินการไปกอน

8) โรงเรียนขนาดเล็กมีภารงานมาก ท้ังโครงการปกติ และโครงการพิเศษ จํานวนบุคลากรนอย

/ขาดขวัญกําลังใจ งบประมาณการดําเนินการตางๆ มีจํากัด

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) ควรพิจารณาแกไขระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการ รวม เลิกสถานศึกษาใหผาน

ความเห็นชอบจากชุมชนกอน

2) ควรนําแนวคิด รูปแบบการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กดังตัวอยางท่ีนําเสนอ ไปใชในโรงเรียน

ขนาดเล็กใหไดมากท่ีสุด เพราะเปนวิธีการแกปญหาท่ีมีความเหมาะสมมากท่ีสุด

3) ควรพัฒนาโรงเรียนหลักท่ีมีความพรอมใหมีคุณภาพ ครูเพียงพอ สื่อเพียงพอ คัดสรร

ผูบริหาร ท่ีมีความสามารถไปบริหารโรงเรียนหลัก

4) เห็นควรพิจารณาใช ม.44 ในการเลิกสถานศึกษาท่ีไมมีนักเรียน หรือการรวมสถานศึกษาท่ีมี

นักเรียน 20 คนลงมา

Page 278: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

60

5) ควรมีการเผยแพรประชาสัมพันธผลงานเดนของโรงเรียนท่ีรวมท่ีสามารถเปนแบบอยางใหกับ

โรงเรียนอ่ืน ๆ เพ่ือสรางความม่ันใจผูเรียนมีคุณภาพ ออกมาเผยแพรทางสื่อมวลชนอยางตอเนื่อง

ความตองการความชวยเหลือ

1) สรางความเขาใจกับคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผูปกครอง ชุมชน องคกรปกครองสวน

ทองถ่ิน และผูมีสวนเก่ียวของ ใหตระหนักรับรูถึงเหตุผลสงผลตอประสิทธิภาพการบริหารบุคลากร งบประมาณ

และคุณภาพศึกษา

2) ดําเนินการยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนดวยวิธีการท่ีเหมาะสม มีประสิทธิภาพตอการ

เรียนการเรียนการสอน เชน

2.1 จัดการเรยีนรูและการสอนแบบบูรณาการ / การสอนคละชั้น

2.2 สรางเครือขายการเรียนรวม /นํานักเรียนไปเรียนรวมกับโรงเรียนหลักเพ่ือแกปญหาครู

ไมครบชั้น

2.3 พัฒนาครูใหมีศักยภาพในการปฏิบัติการสอนในสภาการณขอจํากัดในเรื่องบุคลากร

3) จัดการเรียนการสอนโดยใชการเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียม (DLTV) เพ่ือ

ยกระดับคุณภาพ การศึกษา เพ่ือเสริมสรางความเขมแข็งการเรียนการสอนของครูและนักเรียน

4) ใหคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานและชุมชนมีสวนรวมในการระดมทรัพยากรทาง

การศึกษา ท้ัง คน เงิน วัสดุและการจัดการ

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

1.แกปญหาเด็กอานไมออกเขียน

ไมได

โรงเรียนบานแคน อ.เมือง จ.รอยเอ็ด

2. ยกระดับผลสัมฤทธิท์างการเรียน โรงเรียนบานดู อ.ธวัชบุรี จ.รอยเอ็ด

3 . มีค รูครบทุกชั้นทุกหอง เ รียน

นักเรียนมีโอกาสไดเรียนรูอยางเต็ม

ตามศักยภาพบรรลุวัตถุประสงคของ

หลักสูตร

โรงเรียนบานทุงโพธิ์ชยั

อําเภอเขาสวนกวาง จังหวัด

ขอนแกน

4 . มีค รูครบทุกชั้นทุกหอง เ รียน

นักเรียนมีโอกาสไดเรียนรูอยางเต็ม

ตามศักยภาพบรรลุวัตถุประสงคของ

หลักสูตร

โรงเรียนบานโคกกลางนาลอม อําเภอเขาสวนกวาง จังหวัด

ขอนแกน

5. การใชรูปแบบการบริหารแบบ 4

D เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ

โรงเรียนบานโนนตาลกุดเวียนหนอง

หญามา

อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม

Page 279: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

61

6. โรงเรียนบานโนนตาลกุดเวียน

หนองหญามา (ควบรวม)

โรงเรียนบานทาปะทายโนนตูม อ.เมือง จ.มหาสารคาม

7. สอนเต็มเวลา/สอนเต็มรูปแบบ โรงเรียนเหลาเขืองโนนเสียววทิยา อ.รองคํา จ.กาฬสินธุ

8. ใช dltv ชวยสอน สามารถดูแล

นักเรียนไดทั่วถึง

โรงเรียนบานแหเจริญวิทย หมู 3 บานบานแห ต.ยอดแกง

อ.นามน จ.กาฬสินธุ

นโยบายท่ี 8 การอานออกเขียนได 8.1 การอานออก เขียนได KPI: รอยละของนกัเรียนชั้น ป.1 อานออก เขียนได 8.2 การอานคลอง เขียนคลอง KPI: รอยละของนกัเรียนชั้น ป.2-ป.3 อานคลอง เขียนคลอง

ผลการดําเนินงาน 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนา ดังนี้ จํานวนนักเรียนท่ีอานออกเขียนได และอานคลองเขียนคลองปการศึกษา 2560

สังกัด

อานออกเขียนได ปการศึกษา 2560 อานคลอง เขียนคลอง ปการศึกษา 2560

นักเรียน ชั้น ป.1 ทั้งหมด

(เฉพาะเด็กปกติ) (คน)

จํานวนนกัเรียน อานออก เขียนได

(เฉพาะเด็กปกติ) (คน)

รอยละ

จํานวนนกัเรียน ชั้น ป.2-

ป.3 ทั้งหมด (เฉพาะเด็ก

ปกติ) (คน)

จํานวนนกัเรียนที่อานคลองเขียน

คลอง (เฉพาะเด็ก

ปกติ) (คน)

รอยละ

สพป. 31,084 29,570 95.13 61,015 57,468 94.19 สช. 2,109 1,743 82.64 2,153 1,928 89.54

หมายเหตุ: นับเฉพาะนักเรียนปกติ ขอมูล สช. เฉพาะขอมูลของ ศธจ.รอยเอ็ด 1) หนวยงาน/สถานศึกษา มีรูปแบบหรือวิธีการเพ่ือใหนักเรียนชั้น ป.1 อานออกเขียนได โดย จัดทําเอกสารวิเคราะหผูเรียน วิเคราะหขอสอบและจัดกิจกรรมซอมเสริม จัดทําสื่อนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาการอานออกเขียนได เชน “แพรวา โมเดล” มี 6 ข้ันตอนในการพัฒนา ไดแก (1) รูจักอักษรไทย (2) ประสมคําใหมพรอมอานเขียน (3) ผันวรรณยุกตท้ั 5 ไดแนบเนียน (4) เขียนการแจกลูกสะกดคํา (5) นํามาแตงประโยคและผูกเรื่อง (6) ปราดเปรื่องสื่อสารอยางสรางสรรค โดยไดจัดทําคูมือครูและแบบฝกสําหรับนักเรียนตามข้ันตอนแพรวาโมเดล 2) จัดทําและพัฒนาคูมือสําหรับพัฒนาการคิดและการอานรูเรื่องภาษาไทยใหกับนักเรียนชั้น ป.3 ประเมินการอานการเขียนอยางเปนรูปธรรมโดยประเมินการอานการเขียนนักเรียนชั้น ป.1 – ป.3 ภาคเรียนละ 2 ครั้ง เพ่ือกระตุนใหเกิดการพัฒนา 3) ดําเนินการตามนโยบาย การอานออกเขียนไดเพ่ือใหนักเรียนชั้น ป.1 อานออกเขียนได ดังนี้

(1) ประกาศนโยบายใหโรงเรียนในสังกัดทราบโดยการแจงหนังสือใหทุกโรงเรียนในสังกัดทราบ (2) จัดประชุม

Page 280: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

62

ชีแ้จงคณะผูบริหารและคณะครูบุคลากรโรงเรียนทุกโรงเรียนเก่ียวกับนโยบาย (3) จัดประชุมชี้แจงครูผูสอน

ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 (4) ผูบริหารโรงเรียนจัดทําขอตกลงกับสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา (5) โรงเรียน

จัดทําขอตกลงกับผูปกครอง (6) โรงเรียนคัดกรองนักเรียนและจัดทําหองคลินิกภาษา

4) เขตพ้ืนท่ีการศึกษาจัดทําโครงการสงเสริมสนับสนุนกิจกรรมการอานออกเขียนได เชน

กิจกรรมคลินิกภาษา สงเสริมสนับสนุนคุณครูชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 จัดทําสื่อสามมิติแกปญหาการอานการ

เขียน การสอนแบบแจกลูกสะกดคํา นิเทศติดตามประเมินผลการเขียนภาษาไทย (เขียนตามคําบอก) ประกวด

แขงขันทักษะภาษาไทยระดับเขตพ้ืนท่ี

5) ตรวจสอบผลการประเมินการอานการเขียนของแตละโรงเรียนจาการรายงานผลผานระบบ

e-MES ระบบติดตามและประเมินผลอิเล็กทรอนิกสการดําเนินงานตามนโยบาย

6) นิเทศติดตามใหคําแนะนําชี้แนะแนวทางการแกปญหานักเรียนท่ีอานไมออกเขียนไมไดท้ัง

เด็กปกติและเด็กบกพรองการเรียนรู

7) สงเสริมสนับสนุนใหขวัญกําลังใจสําหรับครูผูสอนโดยมอบเกียรติบัตรโรงเรียนท่ีมีผลการ

ประเมินการอานการเขียนผานรอยละ 100

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้ 1) การวิเคราะหผูเรียนทําใหทราบถึงจุดเดนจุดดอยและวิธีการพัฒนาเปนรายบุคคล การวิเคราะหขอสอบไดทราบขอยาก งาย ทําใหครูสามารถพัฒนาผูเรียนไดตรงเปาหมาย 2) ศธจ.กาฬสินธุใช แพรวาโมเดล นวัตกรรมเพ่ือพัฒนาการอานออกเขียนได เปนนวัตกรรมท่ีนําแนวคิดจากการทอผาแพรวาซ่ึงเปนเอกลักษณของจังหวัดกาฬสินธุท่ีมีความวิจิตโดดเดนจนไดชื่อวา ผาไหมแพรวาราชินีแหงไหม นํามาออกแบบเปนโมเดลในการพัฒนาซ่ึงมี 6 ข้ันตอนเรียงลําดับจากงายไปหายาก ตามข้ันการเรียนรูของบลูมจัดทําคูมือครูและแบบฝกสําหรับผูเรียนไดเรียนรู ทําใหนักเรียนอานออกเขียนไดตามเปาหมายของหลักสูตร จากการประเมินครั้งท่ี 4 เดือนมกราคม 2561 พบวานักเรียนชั้นป.1 อานออกเขียนได รอยละ 97.54 ชั้น ป.2 อาคลองเขียนคลองรอยละ 97.76 นอกจากนี้แพรวาโมเดลยังไดรับรางวัลเหรียญทองชนะเลิศดานทักษะการเรียนรูและนวัตกรรมในการประกวดนวัตกรรมทักษะการเรียนรู สูศตวรรษท่ี 21 สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาอีสานตอนบน จาก สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการสึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ เขต 1ไดรับโลรางวัล สํานักงานเขตท่ีสงเสริมภาษาไทยประสบผลสําเร็จระดับยอดเยี่ยมจาก สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เนื่องในวันภาษาไทยแหงชาติ ป 2560 3) ผูเรียน ไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง โดยแยกตามสาเหตุและสภาพปญหาการอานการเขียนภาษาไทยเปนรายบุคคลอยางใกลชิด สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทย (O-Net) สูงข้ึนกวาปท่ีผานมา 4) การฝกอานและเขียนคําพ้ืนฐานทุกวัน สงผลใหนักเรียนสามารถอานและเขียนคําพ้ืนฐานได

ถูกตองไดรับรางวัลชนะเลิศกิจกรรมเขียนตามคําบอก ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 การแขงขันทักษะภาษาไทย

ประจาํป 2560 และผูเรียนมีความกระตือรือรน เห็นความสําคัญ ใหความรวมมือพัฒนาดานการอานการเขียน

Page 281: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

63

5) ครูผูสอนภาษาไทยทุกโรงเรียนมีขอมูลสารสนเทศนักเรียนอานออกเขียนได เพ่ือใชพัฒนา

นักเรียนตอไป

6) นักเรียนไดรับการพัฒนาทําใหการอานออก เขียนได อานคลอง เขียนคลองและสื่อสารได

มีทักษะการอานการเขียน สงผลใหไดรับรางวัลในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ระดับจังหวัด ระดับภาค และ

ระดับประเทศ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงข้ึน

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 1) การประเมินการอานการเขียนยังขาดงบประมาณสนับสนุน การทดสอบเปนภาระกิจของสถานศึกษาและกลุมสถานศึกษา ความคลาดเคลื่อนของผลสัมฤทธิ์ท่ีไดอาจสูง 2) การชี้แนะชี้นําใหครูเขาใจเรื่องการนําคะแนนผลการประเมินการอานการเขียน e-mes เพ่ือการพัฒนาผูเรียนยังไมท่ัวถึง 3) การประเมินการทดสอบ มีมากเกินไป เชน O-Net NT Pre-O-net Pre-nt Rt ขอสอบกลาง และการทดสอบการอานการเขียน ฯลฯ เปนตน 4) ขาดแคลนบุคลากรท่ีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน ครูสอนไมตรงกับสาขาวิชาท่ีเรียนและ

จํานวนครูมีไมเพียงพอ

5) ขาดการนิเทศภายในอยางตอเนื่อง

6) สื่อ/นวัตกรรมไมเปนท่ีนาสนใจ

7) งบประมาณสนับสนุนไปยังสถานศึกษาโดยตรงไมมี

8) ภาระงานและหนาท่ีท่ีมีมากเกินไปของผูปฏิบัติ

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) ควรใหโรงเรียนกําหนดรูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายตามสภาพและบริบท

2) กระบวนการวัดและประเมินดานการอาน การเขียน ของนักเรียน โดยเฉพาะระดับชั้น

ประถมศึกษาปท่ี 1 ควรดําเนินการประเมินในวันเดียวกันท่ัวประเทศ และใชมาตรฐานการจัดสอบท่ีควบคุมตัว

แปรไดทุกข้ันตอน จึงจะสามารถรับรองผลการประเมินท่ีเปนปรนัยได

3) นโยบายควรชัดเจน มีความตอเนื่อง สามารถปฏิบัติไดจริง 4) ควรมีการประเมินพัฒนาการของเด็กพิเศษ เพ่ือทราบพัฒนาการของเด็กพิเศษเพ่ือนํามาเปนฐานขอมูลในการจัดกิจกรรมอยางเหมาะสม 5) โรงเรียนท่ีมีวิธีปฏิบัติท่ีเปนเลิศ ควรมีการเผยแพรผลงานเพ่ือใหสถานศึกษาอ่ืนนําไปปรับและประยุกตใช 5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice)

Page 282: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

64

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

1. นวัตกรรมเพลงและสื่อ โรงเรียนบานเหลาจั่นหนองทุม อ.จตุรพกัตรพิมาน

2. นวัตกรรมที่หลากหลาย สามารถ

บูรณาการได

โรงเรียนบานคางฮุง

อ.ธวัชบุรี

3. นักเรียนอานออกเขียนไดรอยละ

100

โรงเรียนพระธาตุขามแกน

สพป.ขอนแกน เขต 4

4. นักเรียนอานออกเขียนไดรอยละ

100

โรงเรียนบานขุนดาน

สพป.ขอนแกน เขต 4

5. มีสื่อหลากหลาย เนนผูเรียนเปน

สําคัญ

โรงเรียนอนุบาลมหาสารคาม

ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม

6. ระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน โรงเรียนบานใครนุน อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม

7. ชนะเลิศระดับภาค ปการศึกษา

2560 กิจกรรม ศิลปหัตถกรรม

นักเรียน “อานเอาเร่ืองตามแนว

PISA” ป.1 – ป.3

รองชนะเลิศอันดับ 1 ปการศึกษา

2560 กิจกรรม ศิลปหัตถกรรม

นักเรียน “คัดลายมือสื่อภาษาไทย”

ป.4 – ป.5

โรงเรียนบานสี่แยกสมเด็จ

ต.สมเด็จ อ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ

8. นักเรียน ป.3 คะแนนทดสอบดาน

ภาษาไทย 100 คะแนนเต็ม

โรงเรียนสามขาราฎรบํารุง

ต.สามขา อ.กุฉินารายณ

จ.กาฬสินธุ

นโยบายท่ี 9 การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา

9.1 การจัดกระบวนการเรียนรูและพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมตามโครงการของตนสังกัด และมูลนิธิยุวสถิรคุณ KPI: รอยละของสถานศึกษาใชกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมแบบมีสวนรวม 9.2 การจัดกระบวนการเรียนรูตามแนวทางการใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนินชีวิต KPI: รอยละของนักเรียนท่ีเขารวมกิจกรรมตามโครงการนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ

Page 283: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

65

ผลการดําเนินงาน 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนา ดังนี้ จํานวนสถานศึกษาท่ีใชกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมตามโครงการของตนสังกัดหรือมูลนิธิยุวสถิรคุณหรืออ่ืนๆ แบบมีสวนรวม

สังกัด

สถานศึกษาใชกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมตามโครงการของตนสังกัดหรอืมูลนิธิยุวสถริคุณ

หรือโครงการอืน่ๆ แบบมีสวนรวม

ผูเรียนที่เขารวมกิจกรรมตามโครงการนอมนําแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หรอืนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิพอเพียงในการดาํเนินชีวิต

(คน)

จํานวนสถานศึกษา

ทั้งหมด (แหง)

จํานวนสถานศึกษาที่

ดําเนนิการ (แหง) รอยละ

จํานวนผูเรียนทั้งหมด (คน)

จํานวนผูเรียน ที่เขารวมโครงการฯ

(คน)

รอยละ

สพป. 1,719 1,133 65.91 159,526 159,042 99.70 สพม. 150 97 64.67 74,289 74,289 100 สศศ. (ร.ร.ประชานุ

เคราะห) 3 3

100 384 384 100

สช. 146 146 100 44,296 44,296 100 สอศ. 32 32 100 7,569 7,569 100 กศน. 51 51 100 54,123 54,123 100 อ่ืนๆ

หมายเหตุ ขอมูลเชิงปริมาณ ไมรวม ศธจ.ขอนแกน 1) สถานศึกษาใชกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมตามโครงการของตนสังกัดหรือมูลนิธิยุวสถิรคุณหรือโครงการอ่ืนๆ แบบมีสวนรวม ดังนี้ ดานความพอเพียง จัดกิจกรรมรณรงคใชทรัพยากรของโรงเรียนอยางประหยัด กิจกรรมรัก

การออม กิจกรรมสืบสานภูมิปญญาทองถ่ิน จัดกิจกรรมโครงงานคุณธรรมจิตอาสา กิจกรรมงานสูอาชีพ

ดานความกตัญูรูคุณ ในวิถีชีวิต เชน การสอนใหนักเรียนยกน้ําด่ืมใหพอแม ครูอาจารย มี

น้ําใจชวยถือของ สิ่งของ สัมภาระ การชวยทํางานบานตามกําลังของนักเรียน การชื่นชมใหกําลังใจนักเรียน จัด

กิจกรรมจิตอาสาชวยเหลือผูปวยและคนชรา

ดานความซ่ือสัตยสุจริตสรางคนดีใหกับชาติบานเมือง การสอนใหนักเรียนไมพูดโกหก

นักเรียนมีกิจกรรมไมลอกขอสอบ ไมลอกผลงานเพ่ือน กิจกรรม ปปช.นอยในโรงเรียนและชุมชน กิจกรรม

บันทึกความดี การปฏิบัติตามขอตกลงของหองเรียน กิจกรรมเขาแถวตามลําดับไมลัดคิว

ดานความรับผิดชอบ นักเรียนไดทํากิจกรรมโครงงานคุณธรรมจิตอาสาทําความสะอาด

โรงเรียน หมูบาน วัด รวมกับชุมชนรวมท้ังกิจกรรมจิตอาสาอ่ืน เชน การชวยบริการน้ําด่ืมในงานตาง ๆ ของ

ชุมชน เพ่ือเปนการฝกความรับผิดขอบตอตนเองและสังคม กิจกรรมเพ่ือนชวยเพ่ือน กิจกรรมพ่ีสองนอง

กิจกรรมชวยเหลือผูปวยและคนชราในหมูบาน

Page 284: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

66

2) สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมตามโครงการนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหรือนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติใหกับนักเรียน ดังนี้ -ใหนักเรียนฝกปฏิบัติจริง เชน โครงการสหกรณ,โครงการเพาะเห็ด,ปลูกพืชสวนครัวรั้วกินได,ออมเงิน,เลี้ยงสัตว,พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม -จัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.2551 -สรางความเขาใจการใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในกิจกรรมของสถนศึกษา และใหนักเรียนไดรวมถอดบทเรียนหลักปรัชญาจากองคประกอบ และผลลัพธของกิจกรรม - สามารถนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซ่ึงเปนนามธรรมมาประยุกตใชอยางเปนรูปธรรม และควรใชเวลาในการอบรมมากกวานี้จะไดรูถึงการทําความดีตามรอยพระยุคลบาทและตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมากกวานี้

- ไดดําเนินการจัดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงในแผนการจัดการเรียนรูของแตละ

รายวิชา และไดดําเนินการโครงการธนาคารขยะ เพ่ือใหนักเรียนรูจักการประหยัดสามารถสรางรายไดจากขยะ

- สถานศึกษาจัดกิจกรรมในเรื่องการรักษาความสะอาด การคัดแยกขยะใหเปนสัดสวนงายตอการจัดเก็บ ตลอดจนการรักษาประเพณีอันดีงามของไทย - มีการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูแบบฐานเศรษฐกิจพอเพียงใหสอดคลองกับสภาวะปจจุบัน และเสริมสรางแนวคิดใหกับผูเรียน - สรางความเขาใจใหนักศึกษาในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในทุกรายวิชา และสามารถนํามาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน - สรางภูมิคุมกัน ในการดําเนินชีวิตของนักศึกษาเอง ของครอบครัว และชุมชนอยางมีความสุข 2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้ 1) โครงการนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหรือนอมนําแนวคิดตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ

2) การพัฒนาคุณธรรมจรยิธรรม ความโดดเดน จุดแข็ง นวัตกรรมในการดําเนินงานตาม

ประเด็นนโยบายเปนโครงการเพ่ือสบืสานพระราชปณิธานเดินตามรอยเบื้องพระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จ

พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ตามพระราชประสงคของสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 10 โดยมี

วัตถุประสงคเพ่ือเสริมสรางระบบคุณธรรมจริยธรรม ในรอบรั้วสถานศึกษา การใชภาษาตางประเทศท่ีมีความ

ไพเราะถูกตอง การกาวทันยุคโลกาภิวัตน การสงเสริมความพอเพียง ความกตัญูก ความรับผิดชอบ ความ

ซ่ือสัตย และอุดมการณคุณธรรม

3) นักเรียน นักศึกษา เขาใจความสําคัญและหลักในการประพฤติตนเปนคนดีมีคุณธรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาลตามคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ สามารถคิด วิเคราะห ตัดสินใจ ประพฤติปฏิบัติตามหลักธรรม กฎระเบียบ วัฒนธรรมอันดีงามของสังคม มีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมทําความดีตามรอยพระยุคลบาท กิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรรมเพ่ือประโยชนตอตนเอง ชุมชน ทองถ่ิน

Page 285: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

67

4) จุดแข็งโครงการนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหรือนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ การบริหารจัดการโดยการมีสวนรวมของหนวยงานตนสังกัด องคกรปกครองสวนทองถ่ิน หนวยงานอ่ืนๆ เครือขายผูปกครอง และชุมชน 5) จุดแข็งของนวัตกรรมตามนโยบายคือการใชโครงงานคุณธรรมเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรยีนการสอนหลอหลอมจิตใจคานิยมความซ่ือสัตยการมีคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนทุกคนสงผลถึงผูท่ีมามีสวนเก่ียวของหรือผูมีสวนไดสวนเสียไดรับความประทับใจเม่ือใชบริการจากทางโรงเรียน 6) จุดแข็งโครงการนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหรือนอมนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ การบริหารจัดการโดยการมีสวนรวมของหนวยงานตนสังกัด องคกรปกครองสวนทองถ่ิน หนวยงานอ่ืนๆ เครือขายผูปกครอง และชุมชน 7) จุดแข็งของนวัตกรรมตามนโยบายคือการใชโครงงานคุณธรรมเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรยีนการสอนหลอหลอมจิตใจคานิยมความซ่ือสัตยการมีคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนทุกคนสงผลถึงผูท่ีมามีสวนเก่ียวของหรือผูมีสวนไดสวนเสียไดรับความประทับใจเม่ือใชบริการจากทางโรงเรียน 8) จุดแข็งดานบุคลากร : ผูบริหาร ครู และบุคลากรท่ีเก่ียวของ มีความรูความเขาใจสามารถบริหารจัดการแบบมีสวนรวม ชุมชน องคกรใหการสนับสนุนสงเสริมแนวปฏิบัติอยางตอเนื่อง สรางความรักโรงเรียน ใหนักเรียนรักครูรักสถานบัน รักศักดิ์ศรีของตนเองและสถานศึกษา 3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 1) การจัดสรรงบประมาณไมตรงตามระยะเวลาในการจัดกิจกรรม และไมเพียงพอตอการบริหารจัดการ โรงเรียนขนาดเล็กขาดงบประมาณสนับสนุน 2) บางโรงเรียนผูบริหารไมใหความสําคัญในการจัดกิจกรรมเทาท่ีควร ขาดความตอเนื่องในระดับชั้น 3) ความรูความเขาใจในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูท่ีปลูกฝงคุณลักษณะพอเพียง ผานสื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู ท่ีสอดคลองกับการวัดและประเมินผล 4) การพัฒนาแหลงเรียนรู การจัดสภาพบริบทสิ่งแวดลอมในสถานศึกษาใหเอ้ือตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5) กรรมการนิเทศหลายชุด และมากเกินไป เชน คณะนิเทศ EMS RT และนิเทศอาสา ควรบูรณ

การกันใหมีชุดเดียว

6) นโยบายมีมากเกินไป ครู/นักเรียน ปฏิบัติสนองนโยบายเปนผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ของนักเรียนต่ําลง กิจกรรมท่ีใหดําเนินการมีเยอะ แตเวลามีคอนขางจํากัด

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) ผูประเมินดานสถานศึกษาคุณธรรมควรมีความรูความเขาใจหลักเกณฑการประเมินทุก

สถานศึกษาตามสังกัด 2) ใหมีการประกวดโครงงานคุณธรรมท้ัง 4 ดาน เพ่ือสรางขวัญและกําลังใจ ลงสูสถานศึกษา

และตัวผูเรียนไดมาก อยากใหทําตอเนื่อง 3) สพฐ. ควรปรับปรุงแนวทางปฏิบัติใหสอดคลองกับแนวทางปฏิบัติของมูลนิธิฯ

4) การปฏิบัติตามนโยบายบางอยางมีเปาหมายเดียวกัน มาจากรัฐบาลเดียวกัน แตคนละ

หนวยงาน กอนนําสูการปฏิบัติ ควรมีการวิเคราะหหลอมรวมกิจกรรมและงบประมาณเขาดวยกัน เพราะ

กิจกรรมบางกิจกรรมสามารถตอบสนองตัวชี้วัดและเปาหมายตามนโยบายไดหลากหลาย

Page 286: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

68

5) งดการประเมินโรงเรียนคุณธรรม ควรเปนการนิเทศ ติดตาม ตามโครงการโรงเรียนคุณธรรมแทน

6) ไมควรมุงเนนกิจกรรมการประเมินโดยการตั้งเปาหมายเชิงปริมาณ แตควรเปนกิจกรรมสงเสริม และรวมพัฒนาเพ่ือใหเกิดความยั่งยืน 7) โรงเรียนยังไมใชโครงงานคุณธรรมในการดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอน 100% ของโรงเรียนโครงการ

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

1. กิจกรรมไขความดี โรงเรียนบานหนองแวงหนองหัวคน อําเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัด

รอยเอ็ด

2. ขนมคุณธรรม การถายทํา

ภาพยนตสั้น

โรงเรียนธรรมจารีนิวาส

อําเภอเมือง จังหวัดรอยเอ็ด

3. การจัดกิจกรรมตามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการกับ

กลุมสาระการเรียนรู

โรงเรียนบานหนองแสง อ.น้ําพอง สพป.ขอนแกน เขต 4

4. การจัดกิจกรรมตามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการกับ

กลุมสาระการเรียนรู

โรงเรียนโนนศิลาราศรี อ.กระนวน สพป.ขอนแกน เขต 4

5. ผูบริหารสถานศึกษา-ครู-นร.

สามารถเปนวิทยากรขยายผล ร.ร.

อ่ืน เปนสถานศึกษาดูงานของ ร.ร.

อ่ืน ๆ

โรงเรียนบานเหลา

อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม

6. โครงการปลูกฝงคุณธรรมจริยา

นักเรียนดวย

โรงเรียนชุมชนบานโพธิ์สองหอง

วิทยา

ต.หนองแสงอ.วาปปทุม จ.

มหาสารคาม 44120

7. นักเรียน นักศึกษา เขา

ความสําคัญและหลักในการ

ประพฤติตนเปนคนดี มีคุณธรรม

จริยธรรม ธรรมาภิบาลตามคานยิม

หลักของคนไทย 12 ประการ

สามารถคิดวิเคราะห ตัดสนิใจ มี

สวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมทํา

วิทยาลัยเทคนิคเขาวง

88/8 หมู 11 ต.กุดสิมคุมใหม

อ.เขาวง จ.กาฬสินธุ 46160

Page 287: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

69

ความดีตามรอยพระยุคลบาท

กิจกรรมตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรรม

เพื่อประโยชนตอตนเอง ชุมชน

ทองถ่ิน

8. โครงการโรงเรียนปลอดขยะ

โครงการอาชีพการทาํไขเค็ม และ

โครงการยิ้มงายไหวสวย

โรงเรียนสมเด็จประชานุเคราะห

อ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ

นโยบายท่ี 10 การขับเคล่ือนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค 10.1 การวางแผนบูรณาการเพ่ือการขับเคล่ือนนโยบายการจัดการศึกษาระดับจังหวัดและระดับภาค KPI: รอยละของสํานักงานศึกษาธิการภาคและระดับจังหวัด สามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติและยุทธศาสตรกระทรวงสูการปฏิบัติได 10.2 การจัดระบบและพัฒนาระบบขอมูล สารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาเพ่ือการวางแผนและการกํากับ ติดตาม ประเมินผล KPI: รอยละของสํานักงานศึกษาธิการภาคและระดับจังหวัด สามารถจัดระบบ ขอมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาไดตามอํานาจหนาท่ีและภารกิจ 10.3 การประสานงานและพัฒนาเครือขายการปฏิบัติงานในระดับพ้ืนท่ี KPI: รอยละของสํานักงานศึกษาธิการภาคและระดับจังหวัด มีกระบวนการประสานงานและพัฒนาเครือขายการปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธิภาพเปนท่ีพึงพอใจของผูรับบริการและผูเก่ียวของ

ผลการดําเนินงาน 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนา ดังนี้ 1) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด ไดดําเนินการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติและยุทธศาสตรกระทรวงสูการปฏิบัติ โดยดําเนินการ ดังนี้ - จัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยจังหวัดกาฬสินธุ พ.ศ. 2561-2564 - จัดทําโครงการสรางประสบการณอาชีพ (Work Experience) ของนักเรียนชั้น ม. 3 - จัดทําโครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทํารูปแบบและแนวทางการพัฒนาหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา - ยกระดับผลสัมฤทธิ์โอเน็ตระดับชั้น ป.6 , ม.3, ม.6 โรงเรียนเอกชนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ต่ํา 2) จัดประชุมสัมมนากับหนวยงานท่ีเก่ียวของเพ่ือทําความเขาใจในการปฏิบัติงาน

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดมหาสารคามไดใช SARAKHAM Model ในการพัฒนาขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา

เพ่ือเกิดประโยชนสูงสุดตอผูเรียน

Page 288: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

70

3) จัดระบบขอมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาไดตามอํานาจหนาท่ีและภารกิจโดย มีเว็ปไซตประชาสัมพันธขาวสารของสํานักงาน มีขอมูลสารสนเทศกลางดานการศึกษา และมีระบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส 4) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดมีกระบวนการประสานงานและพัฒนาเครือขายการปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธิภาพและเปนท่ีพึงพอใจของผูรับบริการและผูเก่ียวของ โดย ดําเนินการพัฒนาเครือขาย

ความรวมมือการผลิตและพัฒนากําลังคนในระดับจังหวัดตามรูปแบบประชารัฐ ไดแก เครือขายประชุมเชิง

ปฏิบัติการภาคีเครือขายขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจังหวัดขอนแกน เครือขาย Best Practice of

STEM Education จังหวัดขอนแกน และเครือขายนํารองมัคคุเทศกนอยรักถ่ินเกิด

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้ 1) สถานศึกษาอาชีวศึกษามีความพรอมในการเปนศูนยกลางเครือขายหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยง

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา

2) ครูมีผลงานและไดแลกเปลี่ยนเรียนรู นวัตกรรม วิธีการปฏิบัติท่ีเปนเลิศ (Best Practice) ดานการ

จัดการเรียนรูตามแนวสะเต็มศึกษา

3) สรางขวัญและกําลังใจ ยกยองเชิดชูเกียรติ เผยแพรประชาสัมพันธ ครูผูมีผลงานวิธีการปฏิบัติท่ี

เปนเลิศ (Best Practice) ดานการจัดการเรียนรูตามแนวสะเต็มศึกษา

4) สรางเครือขายครูผูมีผลงานวิธีการปฏิบัติท่ีเปนเลิศ (Best Practice) ดานการจัดการเรียนรูตาม

แนวสะเต็มศึกษา

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 1) การทําความเขาใจบทบาทและหนาท่ีของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ 2) มีบางหนวยงานประสานความรวมมือแลวยังลาชา ไมทันเวลาท่ีกําหนด ทําใหเสียระบบ 4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) ควรใหหนวยงานท่ีเก่ียวของเห็นความสําคัญและทราบบทบาทท่ีสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดจะตองดําเนินการในสวนท่ีเก่ียวของ 2) ควรใหหัวหนาหนวยงานเห็นความสําคัญและมีสวนรวมในการประสานงานกับทุกภาคสวน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

1. หลักสูตร “ชางอากาศยาน” วิทยาลัยการอาชีพขอนแกน

อําเภอชนบท จังหวัดขอนแกน

2. หลักสูตร“ขนสงทางราง” วิทยาลัยการอาชีพบานไผ

อําเภอบานไผ จังหวัดขอนแกน

Page 289: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

71

นโยบายท่ี 11 การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

นโยบายท่ี 12 การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต

และพ้ืนท่ีพิเศษ

นโยบายท่ี 13 การพัฒนาครูท้ังระบบ 13.1 การพัฒนาครูตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร KPI: รอยละของครูท่ีผานการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร นําผลการพัฒนามาใช ในการเรียนการสอน 13.2 การพัฒนาครูตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู :PLC KPI: รอยละของครูท่ีผานการพัฒนาตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู (PLC) นําผลการพัฒนามาปรับการเรียนการสอน

ผลการดําเนินงาน 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนา ดังนี้ 1) ครูท่ีผานการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร นําผลการพัฒนามาใชในการเรียนการสอน โดยการผลิตสื่อและพัฒนาสื่อการสอน โดยเลือกใชสื่อใหเหมาะสมกับเนื้อหาการสอน ใช

เทคโนโลยีและสรางนวัตกรรมทางการเรียนรูใหเหมาะสมกับผูเรียนไดดียิ่งข้ึน ออกแบบการจัดกิจกรรมการสอน

ใหเขากับระดับความรูและความแตกตางของนักเรียน จัดกิจกรรมการเรียนรูในหองเรียนท่ีหลากหลายและ

สามารถบูรณาการการเรียนรูกับวิชาอ่ืนๆ ไดดียิ่งข้ึน

2) พัฒนาในการจัดการเรียนการสอนสูความเปนเลิศเปนรายบุคคล และบูรณาการโดยใช

นักเรียนเปน ฐาน รวมท้ังวิเคราะหนักเรียน จัดการเรียนรูตามความถนัด ตามความสนใจและความแตกตาง

ระหวางบุคคล ประเมินผูเรียนตามสภาพจริง และนําผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียนไดเปนอยางดี

(โรงเรียนขนาดเล็ก)

Page 290: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

72

3) ครูท่ีผานการพัฒนาตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู (PLC) นําผลการพัฒนามาปรับการเรียนการสอน โดยปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในกลุมสาระท่ีรับผิดชอบ ปรับพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคของนักเรียนไปในทางท่ีดีข้ึน พลิกโฉมโรงเรียนขนาดเล็กสูความเปนเลิศ และสรางนวัตกรรมการผลิต

สือ่ประกอบการเรียนการสอน

4) ครูนําความรูท่ีไดรับจากการพัฒนาตนเองมาปรับปรุงแนวทางและวิธีการจัดการเรียนการ

สอนของตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน จัดกลุมผูเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีสอดคลองกับ

พัฒนาการ/สมรรถนะของผูเรียน จัดกิจกรรมแบบ Active Learning

5) ครสูามารถนําเทคโนโลยีมาใชในการเรียนการสอน สามารถเรียนรูในระบบคอมพิวเตอรมาใช

ในชีวิตประจําวันในการเรียนการสอน อบรมเพ่ือพัฒนาครูประจําการรูปแบบชุมชนแหงการเรียนรู สูสถานศึกษา

(PLC)

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้ 1) นวัตกรรมยกระดับคุณภาพกสนอานออกเขียนได โดยใชนวัตกรรมแพรวาโมเดล, โปงลางโมเดล 2) มีการคิดคนนวัตกรรมใหมๆ เพ่ือนํามาพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดวย

กระบวนการ PLC ซ่ึงเกิดข้ึนจากการประชุมปรึกษาหารือของคณะครูเพ่ือคนหาปญหาการจัดการเรียนการ

สอนของสถานศึกษาของตนเอง โดยนวัตกรรมท่ีเกิดข้ึนสามารถแกไขปญหาไดตรงจุดมากท่ีสุด นอกจากนั้นยัง

สงผลตอการชวยยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนใหเพ่ิมสูงข้ึนอีกดวย

3) ระดับสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีการจัดทําแผนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู

สถานศึกษา และมีการนําไปใชอยางมีประสิทธิภาพ มีผลการปฏิบัติงานท่ีเปนเลิศ (Best Practice) ท่ีเกิดจาก

กระบวนการ PLC มีการกํากับติดตามผลการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ของสถานศึกษาอยางใกลชิด และมี

การเครื่องมือนิเทศกํากับติดตามท่ีสมบูรณ มีการประชุมสะทอนผลการดําเนินและรายงานผลการดําเนินงาน

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 1) ระยะเวลาดําเนินการเรงดวนเกินไป ทําใหครูท่ีมีความประสงค จะเขารับการอบรมพัฒนา ไม

สามารถลงทะเบียนเขารับการพัฒนาตามความประสงคไดทันตามกําหนดเวลา ทําใหครูจํานวนมากเสียโอกาสท่ี

จะเขารับการพัฒนา

2) การเบิกจายเงินในการเขาอบรมพัฒนา บางสวนไมสามารถเบิกจายไดทันตามกําหนดเวลา

ทําใหครูบางสวนตองสํารองจายเงินคาลงทะเบียนในการอบรมพัฒนา

3) ศูนยพัฒนาหลักสูตรอยูหางไกลพ้ืนท่ีหลักสูตรท่ีจัดอบรมพัฒนาไมตรงตามความตองการของครู 4) ผูบริหารไมสนใจระบบ ทําใหการอนุมัติการอบรมของครูลาชา 5) ขาดการประชาสัมพันธท่ีชัดเจน ทําใหครูเขาระบบไมทันเวลา มีการยกเลิกบางหลักสูตรทําใหครูเสียสิทธิ์ในการพัฒนาตนเอง 6) ขาดงบประมาณในการขยายผลการดําเนินงานตามนโยบายสูสถานศึกษา

7) เนื่องจากเปนนโยบายท่ีดําเนินการในชวงกลางปงบประมาณ ทําใหไมไดกําหนดกิจกรรมไว

Page 291: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

73

ในแผนงานโครงการ จึงทําใหขาดงบประมาณในการดําเนินงานตองใชงบประมาณจากโครงการอ่ืนๆ มา

สนับสนุน

8) การสรางชุมชนแหงการเรียนรูเปนเรื่องท่ีตองอาศัยความรวมมือจากบุคลากรทุกฝาย

โดยเฉพาะบุคลากรท่ีจะทําหนาท่ีโคชและพ่ีเลี้ยง ซ่ึงตองมีความรูความเขาใจท่ีถูกตอง มีทักษะในการปฏิบัติ

หนาท่ีและตองมีเวลาในการลงปฏิบัติงานรวมกับผูบริหารและคณะครูในโรงเรียน แตโดยการปฏิบัติจริง คณะ

ศึกษานิเทศกท่ีจะทําหนาท่ีโคชหรือพ่ีเลี้ยงตองดําเนินโครงการตางๆ จาก สพฐ. มากมายทําใหไมมีเวลาเพียงพอ

และจํานวนบุคลากรก็ไมสามารถลงปฏิบัติงานกับโรงเรียนไดอยางท่ัวถึง

9) โรงเรียนมีภาระงานหลายดานทําใหการดําเนินงานไมเขมขนและขาดความตอเนื่อง

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) ควรแจงหลักสูตรท่ีจะพัฒนาใหทราบลวงหนา เพ่ือครูจะไดมีเวลาศึกษาประกอบการ

ตัดสินใจเขารับการพัฒนา

2) การลงทะเบียนเขารับการพัฒนาควรจะมีระยะเวลาพอสมควร เพ่ือไมใหครูเสียโอกาสเขารับ

การพัฒนา

3) ควรให เขตพ้ืนท่ีการศึกษาไดมีสวนรวมในการวิเคราะหหลักสูตร 4) ควรจัดสรรงบประมาณใหเขตพ้ืนท่ีการศึกษาในการออกนิเทศติดตามครูท่ีผานการอบรมพัฒนาในการนําความรูไปใชในการสอน

5) สพฐ. ควรกําหนดหลักสูตรการพัฒนาบุคลากรท่ีสําคัญๆ จากสวนกลาง เพ่ือใหการพัฒนา

ครอบคลุมขาราชการในทุกระดับ ท้ังขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาภายในสํานักงานเขตพ้ืนท่ี

การศึกษา เนนระบบนิเทศภายในเปนสําคัญ เสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย

6) ใหครูเลือก Shopping หลักสูตรการอบรมตั้งแตเริ่มปงบประมาณ โดยสามารถเลือกระยะเวลาในการอบรมและหลักสูตรท่ีเหมาะสมตามสภาพบริบทของแตละบุคคล 5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

1. พัฒนาสื่อนวัตกรรม แหลงเรียนรูและแนวความคิดในการพัฒนาผูเรียน ที่อานไมออกเขียนไมได นําขบวนการ PLC มาแกปญหาการเรียนการสอน จนทําใหผลสัมฤทธิ์สูงข้ึน

โรงเรียนหนองแวงหนองหัวคน

อ.จตุรพักตรพิมาน จ.รอยเอ็ด

2. นวัตกรรมทั้งสื่อ วัสดุและแนวความคิดในการพฒันาผูเรียน

โรงเรียนบานหนองอีเข็ม

อ.สุวรรณภูมิ สพป.รอ. 2

Page 292: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

74

เชนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ภาษาอังกฤษ และแกปญหาอานไมออก เขียนไมได นําขบวนการ PLC มาแกปญหาการเรียนการสอน จนทําใหผลสัมฤทธิส์ูงข้ึน 3. จัดการเรียนการสอนวิชา

วิทยาศาสตร ระดับมั ธยมศึกษา

ตอนตน ครูมีการวิเคราะหหลักสูตร

อยางเปนระบบ มีแผนจัดการเรียนรู

มีสื่อการเรียนรูที่สอดคลองกับ

กิจกรรมอยางหลากหลาย มีการ

นิเทศภายในและการนิเทศภายนอก

ตอเนื่อง

โรงเรียนบานทาศาลาประชารังสรรค

หมู 2 ตําบลทาศาลา อําเภอ

มัญจาคีรี จังหวัดขอนแกน 40160

4. โรงเรียนมีการดําเนินการโดยเนน

การมีสวนรวมของคณะครู จัดการ

เรียนรูตามความถนัดของตนเอง

มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู

ระหวางครูอยางสม่ําเสมอ

โรงเรียนโนนพะยอมพิทยไพศาล

หมู 8 ตําบลโนนพะยอม

อําเภอชนบท

จังหวัดขอนแกน 40180

5. ครูมีการผลิตสื่อการสอนที่

หลากหลาย มีแบบฝกทักษะเพือ่ใช

ในการจัดการเรียนการสอน

โรงเรียนอนุบาลพยัคฆภูมิพิสัย อ.พยัคฆภูมิพิสัย

สพป.มหาสารคาม เขต 2

6. การพัฒนาการสื่อสาร

ภาษาอังกฤษ โดยใชกิจกรรม One

Day Sentence

โรงเรียนบานเขวาทุง

อ.พยัคฆภูมิพิสัย

สพป.มหาสารคาม เขต 2

7. PLC Less0nstudy /จิตศึกษา โรงเรียนบึงสวางวทิยาคม อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ 8. PBL/จิตศึกษา โรงเรียนหนองพอกวิทยาวน อ.ดอนจาน จ.กาฬสนิธุ

นโยบายท่ี 14 การพัฒนาผูเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด 14.1 การจัดทําแผนพัฒนาลูกเสือจังหวัดและลูกเสือระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา KPI: จํานวนสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา KPI: จํานวนสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เขต 1 ไดขับเคลื่อนการดําเนินงานตามแผนพัฒนาลูกเสือจังหวัด/เขตพ้ืนท่ีการศึกษา 14.2 การใชกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาดในการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรมเพ่ือ เสริมสรางความเปนพลเมือง (Civic Education) KPI: รอยละของสถานศึกษาท่ีใชกระบวนการลูกเสือ/ยุวกาชาด/เนตรนารีในการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรมเพ่ือเสริมสรางความเปนพลเมือง (Civic Education)

Page 293: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

75

ผลการดําเนินงาน 1. ผลการดําเนินงานตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนา ดังนี้ 1) มีนโยบายในการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ ดังตอไปนี้ (1) พัฒนาศักยภาพบุคลากร เพ่ือใหเปนผูนําองคกรการเรียนรูในการจัดการเรียนการสอน ลูกเสือเพ่ือพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค (2) เพ่ือยกระดับคุณภาพการบริหารงานภายในกองลูกเสือโรงเรียน ใหเปนตนแบบการบริหาร ลูกเสือท่ีเปนระบบ (3) สรางความเขมแข็งและสงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการดําเนินกิจการลูกเสือในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาใหมีความม่ันคงและเจริญกาวหนา (4) ปลูกฝงคุณธรรม สํานึกความเปนไทย ความมีระเบียบวินัย และคานิยมอันพึงประสงค ใหแกนักเรียนทุกคน โดยใชกระบวนการลูกเสือ 2) ทุกหนวยงานไดจัดทําแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการลูกเสือ และมีการขับเคลื่อน ดังตอไปนี้ (1) สงเสริม สนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรทางการลูกเสือ และนักเรียนไดเขารับการฝกอบรมประชุม สัมมนาในกิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาดและผูบําเพ็ญประโยชน (2) พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมโดยใชกิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาดและผูบําเพ็ญประโยชน เนนการฝกปฏิบัติจริง ตามกระบวนการ/วิธีการของลูกเสือ ยุวกาชาด และตามแนวการปฏิรูปกระบวนการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ (3) วางแผนจัดระบบขอมูลสารสนเทศและการบริหารงานลูกเสือ ยุวกาชาด และผูบําเพ็ญประโยชนใหสามารถดําเนินงานตามภารกิจไดอยางมีประสิทธิภาพ (4) พัฒนาระบบการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล ศึกษา คนควา วิเคราะห วิจัยกิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาดและผูบําเพ็ญประโยชน ชวยเหลือสถานศึกษาและหนวยงานท่ีเก่ียวของอยางตอเนื่อง 3) สํานักงานลูกเสือเขตพ้ืนท่ีไมไดดําเนินการจัดทําแผนพัฒนาลูกเสือเขตพ้ืนท่ีการศึกษา แตได

ดําเนินการทํากิจกรรมท่ีเปนงานประจํา ดังนี้

(1) การจัดกิจกรรมวันมหาธีรราชเจา ทุกป 25 พฤศจกิายน 2560

(2) การดําเนินการจัดกิจกรรมประกวดระเบียบแถวลูกเสือ ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา วันท่ี

12 มิถุนายน 2561

(3) การจัดทบทวนคําปฏิญาณและสวนสนาม 1 กรกฎาคม 2561

(4) การจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 10 วันท่ี

28 กรกฎาคม 2561

(5) โครงการฝกอบรมทบทวนความรูและสัมมนาวิทยากรลูกเสือ สํานักงานลูกเสือเขต

พ้ืนท่ีการศึกษาขอนแกน เขต 2 วันท่ี 29 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม 2561

(6) จัดฝกอบรมสัมมนาวิทยากรลูกเสือเก่ียวกับการเดินทางไกลและแรมคืน แนวปฏิบัติ

ของวิทยากร ระเบียบกฎหมายท่ีเก่ียวของกับกิจการลูกเสือ การปรับปรุงสํานักสํานักงานลูกเสือเขตพ้ืนท่ี

การศึกษา

(7) การดําเนินโครงการลูกเสือตานยาเสพติด (กิจกรรมชุมชุมลูกเสือตานยาเสพติด)

จํานวน 2 รุน วันท่ี 6-7 กรกฎาคม 2561 และ วันท่ี 10-11 กรกฎาคม 2561

Page 294: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

76

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน ดังนี้ 1) ดําเนินโครงการตามกฎและคําปฏิญาณของลูกเสือ และคติพจนของลูกเสือ 2) มีการจัดการเรียนการสอนลูกเสือในสถานศึกษา เนนกฎระเบียบของลูกเสือ เปนผูท่ีมีความรับผิดชอบตอตนเองและตอสังคม 3) การดําเนินโครงการสงเสริมใหลูกเสือปฏิบัติตามกฎของลูกเสือและคําปฏิญาณของลูกเสือ 4) จัดทําโครงการอบรมนายหมู รองนายหมู ของวิทยาลัยฯ ไดดําเนินการจัดกิจกรรมลูกเสือ

วิสามัญใหกับนักเรียนนักศึกษาในระดับ ปวช. 1 โดยจัดใหเรียน จํานวน 2 ชั่วโมงตอสัปดาห

5) ผูบริหารองคกรเปนผูนําในการถายทอดยุทธศาสตรแกบุคลากรในสังกัดเพ่ือสรางความเขาใจและตระหนักในหนาท่ีเพ่ือนําไปสูความสําเร็จ 6) สรางทีมงานในระดับปฏิบัติ และระดับการกํากับ ติดตามและประเมินผล มีบุคลากรท่ีรับผิดชอบ มีประสิทธิภาพและสามารถดําเนินการอยางตอเนื่อง 7) เรียนมีความตระหนักในความเปนพลเมืองของสังคม และมีความรับผิดชอบตอสังคมนักเรียน

ไดรับการฝกใหรูจักรับรูสภาพสังคมไทย นําความรูท่ีไดไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน เชนการปฐมพยาบาล

ข้ันพ้ืนฐาน การมีทักษะการเอาชีวิตรอดจากสังคม และรูจักชวยเหลือผูอ่ืน เสียสละ มีระเบียบวินัย มีความ

สามัคคี

8) ลูกเสือ เนตรนารี ผูบังคับบัญชาลูกเสือ ไดแสดงออกถึงความจงรักภักดีแดพระบาทสมเด็จพระ

มงกุฎเกลาเจาอยูหัว พระผูพระราชทานกําเนิดลูกเสือไทย

9) ลูกเสือ เนตรนารี ผูบังคับบัญชาลูกเสือ เปนผูมีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย และปฏิบัติ

ตนตามคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือ

10) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 ไดรับทราบขอเท็จจริง

เก่ียวกับความสําเร็จ ความกาวหนา สภาพปญหา อุปสรรคในการดําเนินงานจากการปองกันและแกไขปญหายา

เสพติดในสถานศึกษาและสงเสริมและพัฒนากิจการลูกเสือของสถานศึกษาในสังกัด

11) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 มีรายงานผลการดําเนินงาน

การปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานศึกษาและรายงานผลการดําเนินการกิจกรรมสงเสริมและพัฒนา

กิจการลูกเสือ ของสถานศึกษาในสังกัด และนําไปใชประโยชนในการวางแผนในการดําเนินงานตอไป

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 1) ขาดบุคลากรทางลูกเสือท่ีมีความชํานาญในการจัดกิจกรรม

2) ความมุงม่ันและความรวมมือในการปฏิบัติตามหนาท่ีของครู ผูบริหาร บุคลากรทางการศึกษา และผูมีสวนเก่ียวของมีนอย 3) งบประมาณในการดําเนินกิจกรรมตามนโยบายไมเพียงพอ และขาดความตอเนื่องของนโยบาย 4) ขาดขอมูลท่ีถูกตองในการดําเนินงาน

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 1) ควรมีการจัดฝกอบรม ทบทวน พัฒนาเพ่ือเพ่ิมความรู ทักษะทางดานลูกเสืออยางตอเนื่อง

Page 295: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

77

2) ควรใหความสําคัญในกิจกรรมพัฒนาผูเรียนอยางจริงจัง เนื่องจากเยาวชนไดรับการพัฒนา ท้ังรางกาย จิตใจและสติปญญา และศีลธรรม ทําใหลูกเสือ เนตรนารี เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และชวยสรางสรรคสังคมใหเกิดความสามัคคี รักชาติ และประเทศมีความเจริญกาวหนา 3) สรางองคกรเครือขายการเรียนรู จัดทําขอตกลงรวมกัน (MOU) ในการพัฒนางานใหประสบ

ผลสําเร็จท่ีปฏิบัติงานตามนโยบาย 4) จัดสรรบุคลากรทางดานลูกเสือ ยุวกาชาด และมีการอบรมบุคลากรทางลูกเสือใหเพียงพอ

5) ควรจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานดานลูกเสือใหมากข้ึน

6) ควรมีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการรายงานอยางตอเนื่อง

7) ควรสงเสริมพัฒนางานดานลูกเสืออยางตอเนื่องท้ังดานงบประมาณ บุคลากร การจัดหาวัสดุ

อุปกรณในการจัดการเรียนการสอนลูกเสือในสถานศึกษาใหครบถวนเพ่ือเสริมสรางความเปนพลเมืองท่ีดีของ

สังคม

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

1. เปนโรงเรียนตนแบบลูกเสือของ

สพฐ

โรงเรียนไตรมิตรวิทยา

อําเภอเมืองรอยเอ็ด

2. เปนโรงเรียนตนแบบลูกเสือของ

สพฐ .

โรงเรียนโพธิ์สัยสวางวิทย

อําเภอศรีสมเด็จ

3. กิจกรรมโรงเรียนดีวิถีพุทธ โรงเรียนบานหนองแสง

อ.น้ําพอง สพป.ขอนแกน เขต 4

4. เปนโรงเรียนตนแบบกิจกรรม

ลูกเสือ

โรงเรียนหวยทรายศึกษา

อ.อุบลรัตน สพป.ขอนแกน เขต 4

5. เปนโรงเรียนตนแบบ

ระดับประเทศ

โรงเรียนบานโคกลาม ต.บรบืออ.บรบือ จ.มหาสารคาม

6. เปนโรงเรียนตนแบบลูกเสือ

ระดับประเทศ

โรงเรียนหลักเมืองมหาสารคาม ถ.นครสวรรค ต.ตลาด อ.เมือง

7. จัดอบรมเปนฐานเรียนรู โดยให

นักศึกษาเรียนรูจากฐานเรียนรู

กศน. อําเภอกมลาไสย

20 หมู 14 ต.กมลาไสย

อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ

8. เปนโรงเรียนตนแบบลูกเสือของ

สํานักงานคณะกรรมการการข้ัน

พื้นฐาน ป 2559

โรงเรียนสามชัย

โรงเรียนสามชัย ตําบลสําราญ

อําเภอสามชัย จังหวัดกาฬสินธุ

46180

จุดเนนพิเศษตามขอส่ังการของนายกรัฐมนตรี

Page 296: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

78

1. การลดช่ัวโมงเรียนดานวิชาการ ลดปริมาณการบาน ลดการเรียนพิเศษ เสริมจากการเรียนในหองเรียนปกติ

1.1 ผลการดําเนินงาน

1) โดยภาพรวมการลดชั่วโมงเรียน โรงเรียนสวนใหญไมไดมีการลดมากนกั เนื่องจาก

ทุกโรงเรียนจัดโครงสรางเวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 และสวนท่ี

ปรับปรุงในป 2560 ระหวาง 1,000-1,200 ชั่วโมง เนื่องจากมีการเพ่ิมเวลาเรียนวิชาภาษาอังกฤษ เปน 5

ชั่วโมง ซ่ึงโรงเรียนก็สอนตามปกติ เนื่องจากการลดชั่วโมงเรียนดานวิชาการเปนเรื่องความรูและทักษะในการ

ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูท่ีจะจัดกิจกรรมใหเด็กไดฝกปฏิบัติควบคูไปกับการเรียนทางวิชาการ

ใหเด็กเกิดความสนใจ ใฝรู สนุกสนานในการเรียนรู แตสิ่งท่ีกลาวมาขางตน เปนทักษะท่ีครูสวนใหญยังไมเขาใจ

ดังนั้นเม่ือสอนวิชาใดเรื่องใดในชั่วโมงเรียนจึงยังสอนดวยวิธแีบบเดิม

2) โรงเรียนระดับประถมศึกษา/โรงเรียนขนาดเล็กไมมีปญหาเรื่องการใหการบานเนื่องจาก

สวนใหญครูคนเดียวตองสอนหลายวิชาและเปนครูประจําชั้นไปดวย จึงทราบวานักเรียนมีการบานวิชาใดมาก

นอยเพียงใดอยูแลว แตในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาจะมีการใหการบานในวิชาหลักแตก็ไมมากจนเกิด

ปญหาเพราะนักเรียนจะแจงใหครูทราบวามีการบานวิชาใดบางแลวลดการเรียนพิเศษ และสวนใหญไมมีการ

สอนพิเศษ ยกเวนโรงเรียนใหญ ๆ ท่ีเปนโรงเรียนเอกชน

3) การลดชั่วโมงเรียนดานวิชาการ ลดปริมาณการบาน ลดการเรียนพิเศษ เสริมจากการ

เรียนในหองเรยีนปกติ การลดชั่วโมง บางโรงเรียนไดดําเนินการ สรุปไดดังนี้

ดานวิชาการ โดยสรุปหนวยงานในสังกัดดําเนินการ ดังนี้

(1) แจงจุดเนนพิเศษตามขอสั่งการของนายกรัฐมนตรีใหโรงเรียนในสังกัดทราบเพ่ือ

ดําเนินการ

(2) สงเสริมใหโรงเรียนเขารวมโครงการลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู ใหครบทุกโรงเรียน

(3) สงเสริมใหโรงเรียนดําเนินการจัดกิจกรรมเพ่ิมเวลารู แบบ Active Learning ใน

ชั่วโมงเพ่ิมเวลารูในรูปแบบตางๆ ท่ีหลากหลาย

(4) สงเสริมใหสถานศึกษาดําเนินการโดยครูแตละกลุมสาระเรียนรูเขามารวมวาง

แผนการใหการบานแบบบูรณาการ การบาน 1 ชิ้น สามารถเปนกิจกรรม/เครื่องมือในการวัดและประเมินผล

รวมกันของหลายกลุมสาระการเรียนรู

(5) สงเสริมใหสถานศึกษาท่ีไมดําเนินการลดปริมาณการบาน ใหการบานนักเรียนอยาง

เหมาะสม ไมเพ่ิมภาระใหกับนักเรียน

ดานผูเรียน

(1) นักเรียนมีความสุขในการเรียนรูเพ่ิมมากข้ึน

(2) นักเรียนสามารถคนพบศักยภาพความสามารถ และความถนัดของตนเอง

(3) นักเรียนมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงคตามความคาดหวังหลักของหลักสูตรฯ และสังคม

เพ่ิมมากข้ึน

Page 297: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

79

(4) นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรูของตัวเองจากท่ีเคยนั่งรับฟง

ครูผูสอนเลาเรื่องใหฟงมาเปนผูคนหาความรูดวยตัวเองตามความสนใจ

(5) การประชุมชี้แจงครู ตอขอสั่งการของนายกรัฐมนตรี ในการลดการบาน และใหครู

ประจําวิชาเนนการเรียนการสอน ควบคูกับการปฏิบัติงานในชั้นเรียน

(6) การวางแผนการจัดการเรียนรูท่ีมีกิจกรรมหลากหลายมีสื่อการเรียนรู ท่ีหลากหลาย

เพ่ือใหผูเรียนไดศึกษาเพ่ิมเติม และจัดโครงการ การสงเสริมพัฒนานักเรียนท่ีมีผลการเรียนต่ําโดยจัดกิจกรรม

สงเสริมการเรียนรูนอกเวลา

(7) บูรณาการการเรียนการสอนนอกหองเรียน

(8) มีการลดปริมาณการบานใหกับนักเรียน

(9) สงเสริมใหครูจัดการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

(10) สรางความเขาใจใหกับคณะครูในการลดการบานนักเรียน

(11) โดยการสั่งการเปนหนังสือราชการของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพ่ือใหโรงเรียน

ปฏิบัติตามโดยเครงครัด

ดานครผููสอน

เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการจัดการเรียนรูจากการยึดครูผูสอนเปนสําคัญไปเปนยึดผูเรียน

เปนสําคัญเพ่ิมมากข้ึน

1.2 ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงาน

สถานศึกษาใหความสําคัญในการลดชั่วโมงเรียนดานวิชาการ ลดปริมาณการบาน ลดการ

เรียนพิเศษ เสริมจากการเรียนในหองเรียนปกติ โดยคงคุณภาพในการพัฒนาคุณภาพนักเรียนนักศึกษา ลด

ปริมาณเวลาเรียน ลดการบานแตยังคงความสมบูรณของการฝกทักษะผานกิจกรรมท่ีบูรณาการองคความรูให

นักเรียน นักศึกษาไดทํางานอยางมีคุณภาพท่ีแสดงถึงความรูความสามารถท่ีนําไปใชไดจริง

1.3 ปญหาอุปสรรคในการดําเนนิงาน

1) ไมสามารถดําเนินการไดอยางตอเนื่อง เนื่องมาจากครูผูสอนมีจํานวนนอย และ

ปฏิบัติงานตามภาระงานอ่ืนนอกเหนือจากงานสอนเปนจํานวนมาก

2) ยังขาดแคลนสื่อและอุปกรณท่ีจําเปนตองใชในการจัดกิจกรรม หรือมีจํานวนไมเพียงพอ

3) ขาดการสนับสนุนจากผูปกครองนักเรียนและชุมชน เนื่องจากผูปกครองนักเรียนและ

ชุมชนมีคานิยมทางการศึกษาท่ีไมสอดคลองกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกการศึกษาในปจจุบัน สงผลให

ไมไดรับความรวมมือจากผูปกครองและชุมชนเพราะไมเห็นแนวปฏิบัติของโรงเรียนท่ีกําหนดข้ึนตามนโยบาย

ของตนสังกัด

4) คานิยมของผูปกครอง ท่ีตองการใหลูกเรียนพิเศษ เพ่ิมเติมเพ่ือการสอบเขา

มหาวิทยาลัย และระบบการสอบเขามหาวิทยาลัยท่ีตองแขงขัน ทําใหนักเรียนตองแสวงหาเทคนิควิธีการสอบ

โดยการเรียนพิเศษ

5) โรงเรียนสวนใหญหวงเรื่องผลการสอบ O-Net/ NT จึงยังเนนการสอนวิชาการเพ่ือสอบ

Page 298: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

80

1.4 ขอเสนอแนะ

1) ควรชี้แจงแนวทางการปฏิบัติการลดชั่วโมงเรียนดานวิชาการ ลดปริมาณการบาน ลด

การเรียนพิเศษ เสริมจากการเรียนในหองเรียนปกติใหผูปกครองทราบและทําความเขาใจท่ีถูกตอง

2) ตนสังกัดตองหาแนวทางการลดภาระงานอ่ืนนอกเหนือจากงานสอนใหหมดไป

3) ตนสังกัดตองสรางสื่อและอุปกรณใหสอดคลองกับความตองการท่ีจําเปนตองใชในการ

จัดกิจกรรมใหกับโรงเรียนและครูผูสอน

4) ตนสังกัดตองสรางความเขาใจท่ีถูกตองใหกับผูปกครองนักเรียนและชุมชนในจุดเนนท่ี

ตองการ เพ่ือใหผูปกครองนักเรียนและชุมชนมีคานิยมทางการศึกษาท่ีสอดคลองกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของ

โลกการศึกษาในปจจุบัน

2. การประเมินผลคุณภาพการศึกษาท่ีมีมาตรฐานเปนท่ียอมรับ

2.1 ผลการดําเนินงาน

ระดับหนวยงานตนสังกัด

1) จัดประชุมชี้แจงใหความรูแนวทางการออกขอสอบท่ีเปนขอสอบวัดผลการคิดข้ันสูง และ

ตระหนักในเรื่องการประเมินคุณภาพการศึกษาแกสถานศึกษาในสังกัด 2) สงเสริมใหสถานศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ใชขอสอบท่ีพัฒนาโดยสํานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน นําไปใชทดสอบในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา

ศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ในทุกระดับชั้นท่ีมีการทดสอบระดับชาติ

3) จัดทําแผนนิเทศ ติดตาม และใหคําแนะนําสถานศึกษาในสังกัด เก่ียวกับการสรางขอสอบตาม

แนวทางการทดสอบระดับชาติใหเหมาะสมสอดคลองกัน 4) สงเสริมใหสถานศึกษานําผลการสอบของนักเรียนในปท่ีผานมาไปใชเปรียบเทียบความกาวหนา

และวางแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน หาจุดเดน จุดดอย เพ่ือนําไปพัฒนาตอยอดและแกไขปญหาใหตรง

กับสาเหตุ เพ่ือยกระดับคุณภาพใหสูงข้ึน

5) มีการนิเทศ ติดตาม การใชเครื่องมือวัดและประเมินผลผูเรียน

ระดับโรงเรียน

1) ครูและโรงเรียนมีตัวอยางของเครื่องมือวัดและประเมินผลท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน

2) โรงเรียนใชเครื่องมือตามหลักสูตรในการประเมินนักเรียนท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานและนํา

ผลการประเมินมาใชในการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนใหบรรลุมาตรฐานตัวชี้วัด

สําคัญในหลักสูตรและเนนใหผูเรียนใชทักษะการคิดข้ันสูง

3) โรงเรียนมีกระบวนการวัดและประเมินผลผูเรียนดวยวิธีการท่ีหลากหลาย มีการวัดและ

ประเมินผลผูเรียนดวยเครื่องมือท่ีมีคุณภาพและไดมาตรฐาน ตามแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพผูเรียน

ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในเรื่องแนวปฏิบัติในการใชขอสอบกลางในการสอบปลายปของผูเรียน ปการศึกษา 2560

4) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาใชเครื่องมือตามหลักสูตรในการประเมินนักเรียนท่ีมีคุณภาพ

Page 299: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

81

และมาตรฐานและนําผลการประเมินมาใชในการวางแผน นิเทศติดตามและสนับสนุนกระบวนการจัดการเรียน

การสอนของโรงเรียนใหบรรลุมาตรฐานตัวชี้วัดสําคัญในหลักสูตรและเนนใหผูเรียนมีทักษะการคิดข้ันสูง

5) ผูบริหารโรงเรียน ครูผูสอนและผูมีสวนเก่ียวของมีความตระหนักในการดําเนินการ

ประเมินผลท่ีมีมาตรฐาน

6) ผูบริหารโรงเรียน และครูผูสอนท่ีไดรับการแตงตั้งเปนคณะกรรมการในการดําเนินการจัดสอบ

มีความรู ความเขาใจ และปฏิบัติหนาท่ีไดอยางมีคุณภาพ

7) ไดขอมูลสารสนเทศจากการประเมินคุณภาพการศึกษาท่ีมีมาตรฐาน เปนท่ียอมรับจาก

หนวยงานท่ีเก่ียวของ สามารถนํามาใชในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและพัฒนานักเรียนไดอยางมี

ความม่ันใจ

2.2 ความโดดเดน/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดีในการดําเนินงาน

สถานศึกษาใหความสําคัญในการดําเนินงานตามนโยบายสําคัญของกระทรวงศึกษาธิการ

โดยปรับใหเหมาะสมตามบริบทของตนเอง ใหความรวมมือในการพัฒนาหองเรียนคุณภาพ พัฒนาคุณภาพ

ผูเรียนและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค เพ่ือชวยใหผูเรียนมีคุณภาพบรรลุผลตามเปาหมายของหลักสูตร สามารถ

นําสูการปฏิบัติไดดี

2.3 ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงาน

1) การดําเนินงานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด

รอยเอ็ด จะตองอาศัยความรวมมือของหนวยงานตางๆ และใชงบประมาณในการดําเนินงาน

2) โรงเรียนขนาดเล็กจะมีปญหา เรื่องของ จํานวนครู การขาดงบประมาณสนับสนุนรายหัว

ครูไมครบชั้น ทําใหการดําเนินงานการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนยังไมครอบคลุมทุกมาตรฐานตัวชี้วัด

3) โรงเรียนสวนใหญ เปนโรงเรียนท่ีตั้งอยูในพ้ืนท่ีเศรษฐกิจยากจน มีปญหาดาน

เศรษฐกิจ ฐานะยากจน คลาดแคลน มีปญหาครอบครัวหยาราง เด็กในวยัเรียนอาศัยอยูกับ ผูสูงอายุ เกิดภาวะ

ปญหาท่ีสงผลใหนักเรียนมีพัฒนาการไมเปนไปตามวัย เนื่องจากปญหาจากครอบครัว

4) ความรูความเขาใจ และการนําสูการปฏิบัติในการออกแบบการเรียนรู และการวัด

ประเมินผลท่ีสอดรับมาตรฐาน/ตัวชี้วัด ของหลักสูตรแกนกลางฯ ของครูผูสอนยังไมมีคุณภาพเทาท่ีควร

2.4 ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา

1) หนวยงานท่ีเก่ียวของ ท้ังระดับ สพฐ. ตนสังกัด ตองมีการจัดทําขอมูลพ้ืนฐาน และมี

การประสานการแกปญหาทุกภาคสวน เพ่ือรวมกันแกปญหาเชิงโครงสราง และทํางานแบบบูรณาการ ไมแยก

สวนกัน

2) ควรมีการสรางความเขมแข็งในระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเพ่ือพรอม

รับการประเมินภายนอก อยางตอเนื่อง

3) ควรชี้แจงทําความเขาใจในการดําเนินงานรวมกับหนวยงานทางการศึกษา และใช

งบประมาณรวมกันในการดําเนินงาน เพ่ือใหสามารถขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหเกิดผลสําเร็จ

อยางมีประสิทธิภาพตอไป

Page 300: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

82

Page 301: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

77

ภาคผนวก

Page 302: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

78

ภาคผนวก ก นโยบายการตรวจราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

Page 303: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

79

Page 304: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

80

Page 305: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

81

ภาคผนวก ข เคร่ืองมือการจัดเก็บขอมูล

แบบรายงานผลการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิาร รอบท่ี 2 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

ของสํานักงานศึกษาธิการภาค สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด และหนวยงานการศึกษาในจังหวัด

ผลการติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการตามประเด็นนโยบายการตรวจราชการแตละประเด็นนโยบายและตัวชี้วัดการตรวจราชการ รอบท่ี 2 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสํานักงานศึกษาธิการภาค/สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/หนวยงานการศึกษาในจังหวัด สรุปไดดังนี้ 1. นโยบาย : การยกระดับคุณภาพการศึกษา ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 1.1 การยกระดับคะแนน O-NET/N-NET/V-NET

1.1.1 การตรวจสอบ/วิเคราะหจุดออนจุดแข็ง ท้ังรายกลุมสาระและรายสาระ (ตัวชี้วัด) ตัวช้ีวัด : สถานศึกษา ไดตรวจสอบ/วิเคราะหจุดออนจุดแข็ง ท้ังรายกลุมสาระและรายสาระ (ตัวชี้วัด) รอยละ 100

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนนิการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

แบบ รต 2/61

Page 306: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

82

1.1.2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และแกปญหาจุดออน เพ่ือพัฒนาจุดแข็งรายสาระ (ตัวชี้วัด) ตัวช้ีวัด : สถานศึกษา ไดจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และแกปญหาจุดออน เพ่ือพัฒนาจุดแข็งรายสาระ (ตัวชี้วัด) รอยละ 100

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

1.1.3 การกําหนดเปาหมาย การยกระดับคาเฉลี่ย O-NET/N-NET/V-NET ตามแนวทางกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซ่ึงออกตามกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑและวิธีการ การประกันคุณภาพการศึกษา ตัวช้ีวัด : สถานศึกษา มีการกําหนดเปาหมาย การยกระดับคาเฉลี่ย O-NET/N-NET/V-NET ตามแนวทางกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาซ่ึงออกตามกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑและวิธีการ การประกันคุณภาพการศึกษา รอยละ 100

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

Page 307: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

83

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 1.2 การยกระดับคะแนนเฉล่ีย PISA 1.2.1 การเตรียมความพรอมของครูเพ่ือรองรับการทดสอบ PISA (เชน การศึกษาเรียนรูแบบทดสอบ PISA) ตัวช้ีวัด : สถานศึกษาทุกระดับ ไดเตรียมความพรอมของครูเพ่ือรองรับการทดสอบ PISA (เชน การศึกษาเรียนรูแบบทดสอบ PISA) รอยละ 100

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

1.2.2 การปรับกระบวนการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกับการทดสอบ PISA ตัวช้ีวัด : สถานศึกษาท่ีเปดสอนชั้น ม.3 ไดปรับกระบวนการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกับการทดสอบ PISA รอยละ 100

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

Page 308: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

84

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

1.2.3 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหนักเรียนฝกทําแบบทดสอบตามแนวทางของ PISA ตัวช้ีวัด : สถานศึกษาเปดสอนชั้น ม.3 ไดจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือเสริมสรางประสบการณการทดสอบตามแนวทางของการสดสอบ PISA แกผูเรียน รอยละ 100

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

2. นโยบาย : การจัดการศึกษาปฐมวัย ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : การเขาถึงโอกาสทางการศึกษาปฐมวัย ตัวช้ีวัด 1 : สัดสวนนักเรียนปฐมวัย (3 – 5 ป) ตอประชากรกลุมอายุ 3 – 5 ป ไมนอยกวารอยละ 90 ตัวช้ีวัด 2 : สถานศึกษามีการจัดทําระบบปองกันภัยท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา รอยละ 100

(พิจารณาจากแนวทางการจัดระบบปองกันภัยท่ีอาจเกิดข้ึนข้ึนไดกับนักเรียนท่ีอาจเกิดจากสภาพแวดลอมภายในสถานศึกษาและบริเวณใกลเคียง เชน การจัดสิ่งแวดลอมบริเวณโดยรอบสถานศึกษาท้ัง

Page 309: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

85

ภายในและภายนอกใหเอ้ือตอความปลอดภัยของเด็ก โดยมีการตรวจสอบ แกไข ปรับปรุงบริเวณตามจุดตางๆ ของสถานศึกษาท่ีอยูเปนประจําตั้งแตอาคารเรียน หองเรียน สนามเด็กเลน โรงอาหาร หองน้ํา หองสวม ระบบไฟฟา ทางเขา-ออก สถานศึกษาฯลฯ การจัดอุปกรณเสริมการเรียนใหมีความปลอดภัยตอการนําไปใช โดยมีการตรวจสอบเครื่องมือ อุปกรณใหพรอมในการใชงาน และไมกอใหเกิดอันตรายจากความผิดปกติหรือความบกพรองของอุปกรณนั้น การกําหนดแนวทางการเขา-ออก ของบุคคลภายนอก เพ่ือปองกันผูท่ีไมพึงประสงคท่ีอาจเขามากอความไมสงบในบริเวณสถานศึกษา)

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

3. นโยบาย : การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ :

3.1 การขยายผลการอบรมโครงการ Boot Camp และการจัดการอบรมขยายผลใหโรงเรียนเครือขายของ Master

Trainer (ตามโครงการ Boot Camp) ในสถานศึกษา

ตัวช้ีวัดท่ี 1 : ผูผานการอบรมโครงการ Boot Camp ในสถานศึกษาสามารถนําเทคนิคการเรียนการสอน

ภาษาอังกฤษไปใชในการสอนรอยละ 80

ตัวช้ีวัดท่ี 2 : Master Trainer (ตามโครงการ Boot Camp) ในสถานศึกษาสามารถเปนครูแกนนํา รอยละ 80

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

Page 310: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

86

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 3.2 การจัดสภาพแวดลอมเพ่ือสงเสริมการเรียนรู (เชน ปายช่ือตางๆ ใหมีภาษาอังกฤษควบคูภาษาไทย

รวมท้ังครู นักเรียน ไดสนทนาภาษาอังกฤษ วันละ 1 ประโยค)

ตัวช้ีวัด : สถานศึกษาสามารถจัดสภาพแวดลอมภายในหองเรียน และนอกหองเรียนเพ่ือเสริมการเรียนรู ทักษะ

ภาษาอังกฤษ รอยละ 100

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

Page 311: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

87

4. นโยบาย : การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ :

4.1 การจัดกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือสงเสริมทักษะ การคิดวิเคราะห

ตัวช้ีวัด 1 : สถานศึกษาจัดการบวนการเรียนการสอนเพ่ือสรางกระบวนการคิดวิเคราะห รอยละ 100

ตัวช้ีวัด 2 : สถานศึกษาท่ีมีนวัตกรรมเพ่ือเพ่ิมทักษะการคิดวิเคราะหแกผูเรียน เพ่ิมข้ึน รอยละ 30

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 4.2 การจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา (STEM Education)

ตัวช้ีวัดท่ี 1 : สถานศึกษาจัดการศึกษาโดยบูรณาการองคความรูแบบสะเต็มศึกษา เพ่ิมข้ึน รอยละ 30*

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

Page 312: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

88

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

5. นโยบาย : การเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 5.1 การจัดทําแผนบูรณาการการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพระดับจังหวัด ตัวช้ีวัด : จังหวัดไดจัดทําแผนและยุทธศาสตรการรับนักเรียนเพ่ือเพ่ิมผูเรียนสายอาชีพ

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 5.2 มาตรการ/เปาหมายการเพ่ิมสัดสวนผูเรียนสายอาชีพ

ตัวช้ีวัดท่ี 1 : นักเรียนประถมศึกษาถึงระดับมัธยม ท่ีไดรับการสรางทัศนคติท่ีดีตออาชีพและการแนะแนวการศึกษาเพ่ืออาชีพ รอยละ 100 ตัวช้ีวัดท่ี 2 : สัดสวนผูเรียนอาชีวศึกษาสูงข้ึนเม่ือเทียบกับผูเรียนในสายสามัญศึกษา สัดสวน 42 : 58

ผลการดําเนินการ

Page 313: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

89

1. ผลการดําเนนิการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร 2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง 3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

6. นโยบาย : การพัฒนากําลังคนตามความตองการของสถานประกอบการภายในประเทศ ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ 6.1 สมรรถนะของผูสําเร็จอาชีวศึกษา

ตัวช้ีวัด : ความพึงพอใจของสถานประกอบการตอสมรรถนะผูสําเร็จอาชีวศึกษา ไมนอยกวารอยละ 75 ผลการดําเนินการ

1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร 2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 6.2 การเขาสูการมีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระ

ตัวช้ีวัดท่ี 1 : อาชีวศึกษาระดับ ปวช. มีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป ไมนอยกวารอยละ 40

ตัวช้ีวัดท่ี 2 : ผูสําเร็จอาชีวศึกษาระดับ ปวส. มีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ป รอยละ 80

Page 314: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

90

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 6.3 การจัดอาชีวศึกษาแบบมีสวนรวมกับสถานประกอบการเพ่ือใหผูสําเร็จอาชีวศึกษามีประสบการณตรงในการฝกอาชีพและมีสมรรถนะท่ีสอดคลองกับความตองการตลาดแรงงาน ตัวช้ีวัด : ผูเรียนอาชีวศึกษาแบบทวิภาคี เพ่ิมข้ึนไมนอยกวา รอยละ 15

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร 2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง 3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

Page 315: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

91

7. นโยบาย : การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : การจัดทําแผนและยุทธศาสตรการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก ตัวช้ีวัดท่ี 1 : สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก ตัวช้ีวัดท่ี 2 : สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีแผนบริหารจัดการโรงเรียนท่ีมีชั้นเรียนไมเหมาะสม ตัวช้ีวัดท่ี 3 : โรงเรียนขนาดเล็กในสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีจํานวนลดลง

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร 2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง 3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

8. นโยบาย : การอานออกเขียนได ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 8.1 การอานออก เขียนได ตัวช้ีวัด : นักเรียนชั้น ป.1 อานออก เขียนได รอยละ 100

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร 2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง 3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

Page 316: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

92

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 8.2 การอานคลอง เขียนคลอง

ตัวช้ีวัด : นักเรียนชั้น ป.2- ป.3 อานคลอง เขียนคลอง รอยละ 100

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

9. นโยบาย : การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 9.1 การจัดกระบวนการเรียนรูและพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมตามโครงการของตนสังกัด หรือมูลนิธิยุวสถิรคุณ ตัวช้ีวัด : สถานศึกษาใชกระบวนการเรียนรูและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมแบบมีสวนรวม รอยละ 100

(พิจารณาจากการผานเกณฑของตนสังกัด หรือมูลนิธิยุวสถิรกุล) ผลการดําเนินการ

1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

Page 317: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

93

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ :

9.2 การจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนินชีวิต ตัวช้ีวัด : นักเรียนท่ีเขารวมกิจกรรมตามโครงการนอมนําแนวคิดตามหลักปรชัญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนินชีวิตไมนอยกวารอยละ 60 (พิจารณาจากภายใตเศรษฐกิจพอเพียง 3 หวง 2 เง่ือนไข และ 4 มิติ)

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

10. นโยบาย : การขับเคล่ือนนโยบายการจัดการศึกษาในระดับภูมิภาค ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 10.1 การวางแผนบูรณาการเพ่ือการขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาระดับจังหวัดและระดับภาค ตัวช้ีวัด : สํานักงานศึกษาธิการภาคและระดับจังหวัด สามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติและยุทธศาสตร

กระทรวงสูการปฏิบัติได รอยละ 100 ผลการดําเนินการ

1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

Page 318: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

94

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 10.2 การจัดระบบและพัฒนาระบบขอมูล สารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาเพ่ือการวางแผนและ

การกํากับติดตาม ประเมินผล ตัวช้ีวัด : สํานักงานศึกษาธิการภาคและระดับจังหวัด สามารถจัดระบบ ขอมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือการศึกษาไดตามอํานาจหนาท่ีและภารกิจ รอยละ 100

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนนิการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง หนวยงาน/สถานศึกษา

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 10.3 การประสานงานและพัฒนาเครือขายการปฏิบัติงานในระดับพ้ืนท่ี ตัวช้ีวัด : สํานักงานศึกษาธิการภาคและระดับจังหวัด มีกระบวนการประสานงานและพัฒนาเครือขายการปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธิเปนท่ีพึงพอใจของผูรับบริการและผูเก่ียวของ รอยละ 100

Page 319: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

95

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร 2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม 4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน 5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

11. นโยบาย : การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ :

การบริหารจัดการระบบฐานขอมูลและสารสนเทศสถานศึกษาระดับจังหวัด เพ่ือการบริหารและจัดการศึกษาในพ้ืนท่ีใหสามารถใชทรัพยากรใหมีประสิทธิภาพ สามารถนําขอมูลสารสนเทศมาใชเพ่ือการวางแผน การกําหนดนโยบาย การกํากับ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ตลอดจนเพ่ิมโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา

ตัวช้ีวัด 1 : ความสามารถในการรับนักเรียนของสถานศึกษา (คํานวณจากจํานวนนักเรียนท่ีแตละสถานศึกษารับเขาเรียนเปรียบเทียบกับจํานวนนักเรียนท่ี

สถานศึกษาสามารถรับไดตามเกณฑมาตรฐานการจัดการศึกษา จําแนกตามระดับการศึกษา ระดับจังหวัด ระดับภาค (ระดับกอนประถมศึกษา/ประถมศึกษา จํานวน นร. : หอง เทากับ 30 : 1) (ระดับมัธยมศึกษา จํานวน นร. : หอง เทากับ 40 : 1))

ตัวช้ีวัด 2 : อัตราสวนครูตอนักเรียน (คํานวณจากจํานวนครูผูสอน ขาราชการครู พนักงานราชการ ครูอัตราจาง) ตอจํานวนนักเรียนท่ี

สถานศึกษารับเขาเรียน เปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานการจัดการศึกษา จําแนกตามระดับการศึกษา ระดับจังหวัด ระดับภาค) ตัวช้ีวัด 3 : อัตราสวนนักเรียนตอหอง

(คํานวณจากจํานวนนักเรียนท่ีสถานศึกษารับเขาเรียนตอจํานวนหองเรียนท่ีสถานศึกษาเปดสอน เปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานการจัดการศึกษา จําแนกตามระดับการศึกษา ระดับจังหวัด ระดับภาค) ตัวช้ีวัด 4 : ตนทุนตอหนวยของการจัดการศึกษา

Page 320: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

96

(คํานวณจากคาใชจายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเฉพาะสวนท่ีเปนงบบุคลากร (เงินเดือนและเงินวิทยฐานะของขาราชการ ผูบริหารและครู เงินเดือนพนักงานราชการและครูอัตราจาง ตอจํานวนนักเรียนท่ีสถานศึกษารับเขาเรียน เปรียบเทียบกับตนทุนตอหนวยท่ีควรจะเปนของการจัดการศึกษา จําแนกรายสถานศึกษา และจังหวัด)

ตัวช้ีวัด 5 : ตนทุนตอหนวยท่ีควรจะเปนของการจัดการศึกษา ตามเกณฑมาตรฐานการจัดการศึกษาและมาตรฐาน อัตรากําลัง

(คํานวณโดย 1) วิเคราะหอัตรากําลังบุคลากร ผูบริหาร/ครู ตามเกณฑมาตรฐาน กคศ. เพ่ือหาจํานวนบุคลากรเกิน/ขาดของแตละสถานศึกษา 2) วิเคราะหคาใชจายบุคลากรท่ีควรจะเปนของแตละสถานศึกษา โดยนําคาใชจายบุคลากรเฉลี่ยคนตอปของแตละสถานศึกษาคูณจํานวนบุคลากรท่ีเกิน/ขาด แลวนําไป

หัก/เพ่ิมจากคาใชจายบุคลากรของสถานศึกษา เพ่ือหาคาใชจายบุคลากรท่ีควรจะเปน 3) นําคาใชจายบุคลากรท่ีควรจะเปนของแตละสถานศึกษาหารดวยจํานวนนักเรียนท่ีสถานศึกษาสามารถรับไดตามเกณฑมาตรฐานการจัดการศึกษา เพ่ือหาตนทุนตอหนวยท่ีควรจะเปนท่ีมีประสิทธิภาพ) ตัวช้ีวัด 6 : ประสิทธิภาพเชิงตนทุนของการจัดการศึกษา

(คํานวณโดยการเปรียบเทียบความแตกตางตนทุนตอหนวยท่ีเปนจริงกับท่ีควรจะเปนของแตละ

สถานศึกษา เพ่ือสะทอนประสิทธิภาพของตนทุนในการจัดการศึกษา) ตัวช้ีวัด 7 : ประสิทธิภาพการใชทรัพยากรของสถานศึกษาเปรียบเทียบกับคุณภาพของการจัดการศึกษา (ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน คะแนน O-NET) ชั้น ป.6 ม.3 และ ม.6

(คํานวณโดย 1) เปรียบเทียบตนทุนตอหนวยของการจัดการศึกษากับผลคะแนน O-Net ชั้น ป.6 ม.3 และ ม.6 จําแนกรายสถานศึกษา 2) วิเคราะหผลคะแนน O-Net ชั้น ป.6 ม.3 และ ม.6 กับจํานวนครูท่ีมีวิทย

ฐานะชํานาญการพิเศษข้ึนไปเปรียบเทียบกับจํานวนครูผูสอน ของแตละสถานศึกษา)

ผลการดําเนินการ (สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด)

1. มีระบบขอมูลสถานศึกษาท่ีครบถวน ถูกตองและเปนปจจุบัน สามารถนําขอมูลมา

วิเคราะหเปรียบเทียบ เพ่ือจัดทําเปนสารสนเทศและตัวชี้วัดเชิงปริมาณ คุณภาพ และประสิทธิภาพ

2. สามารถใชประโยชนจากขอมูลสารสนเทศดังกลาวเพ่ือกําหนดยุทธศาสตรการ

พัฒนาการศึกษาของจังหวัด โดยมีเปาหมายและตัวชี้วัดผลการดําเนินงาน

3. สามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาใหบรรลุตามเปาหมายและ

ตัวชี้วัดท้ังดานปริมาณ คุณภาพ และประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

4. สามารถกํากับ ติดตามและประเมินผล และรายงานผลการพัฒนาการศึกษาในมิติ

ของปริมาณ คุณภาพ และประสิทธิภาพ เปรียบเทียบระหวางสถานศึกษาในจังหวัด

(หมายเหตุ : ใชขอมูลจากระบบสารสนเทศเพ่ือการตรวจราชการฯ E-Inspection System เพ่ือนํามาศึกษา

วิเคราะหผลการดําเนินการตามประเด็นนโยบายนี้ โดยไมตองจัดเก็บขอมูลจากหนวยงานตางๆ

(www.sp.moe.go.th))

Page 321: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

97

12. นโยบาย : การยกระดับคุณภาพการ ศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพ้ืนท่ีพิเศษ

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ :

12.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET)

ตัวช้ีวัด : คาเฉลี่ยคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรียน 4 วิชาหลัก

เพ่ิมข้ึนรอยละ 3

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 12.2 ผลสัมฤทธิ์ในการดําเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ตัวช้ีวัดท่ี 1 : นักเรียนท่ีออกกลางคันและตกหลน โครงการจัดการศึกษาใหเด็กออกกลางคันและเด็กตกหลน ไดรับการชวยเหลือและกลับเขาสูระบบการศึกษาในปงบประมาณ พ.ศ. 2561 รอยละ 100* (จํานวน 1,620 คน (กศน. 5 จว.)) ขอมูลจากแผนบูรณาการฯ ตัวช้ีวัดท่ี 2 : นักเรียนโรงเรียนเอกชนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายท่ีเขารับการติวเตอรมีผลสัมฤทธิ์หลังเขาอบรมสูงข้ึนตามโครงการเสริมสรางความเขาใจในสถานศึกษาเอกชน กิจกรรมติวเตอร แนะแนวการศึกษาตอ เขารับการศึกษาตอไดไมนอยกวา รอยละ 10

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนนิการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

Page 322: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

98

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

13. นโยบาย : การพัฒนาครูท้ังระบบ ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 13.1 การพัฒนาครูตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร ตัวช้ีวัด : ครูท่ีผานการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจรนําผลการพัฒนามาใชในการเรียนการส อ น ไมนอยกวา รอยละ 80

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนนิการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 13.2 การพัฒนาครูตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู: PLC

Page 323: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

99

ตัวช้ีวัด : ครูท่ีผานการพัฒนาตามกระบวนการสรางชุมชนแหงการเรียนรู (PLC) นําผลการพัฒนามาปรับการเรียนการสอนไมนอยกวา รอยละ 80

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

14. นโยบาย : การพัฒนาผูเรียนและเยาวชนผานกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ :

14.1 การจัดทําแผนพัฒนาลูกเสือจังหวัด และลูกเสือระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ตัวช้ีวัดท่ี 1 : สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ไดจัดทําแผนพัฒนาลูกเสือจังหวัด/

แผนพัฒนาลูกเสือเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ตัวช้ีวัดท่ี 2 : สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เขต 1 ไดขับเคลื่อนการดําเนินงาน

ตามแผนพัฒนาลูกเสือจังหวัด/เขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนนิการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด รายชื่อ ท่ีตั้ง

Page 324: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

100

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี หนวยงาน/สถานศึกษา หนวยงาน/สถานศึกษา

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ : 14.2 การใชกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาดในการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรมเพ่ือเสริมสรางความเปนพลเมืองดี (Civic Education) ตัวช้ีวัด : สถานศึกษาใชกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาดในการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรมเพ่ือเสริมสราง ความเปนพลเมืองดี (Civic Education) รอยละ 100

ผลการดําเนินการ 1. ผลการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม มีความกาวหนาอยางไร

2. หนวยงานมีวิธีการ/ปจจัยใดท่ีสามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามประเด็นการตรวจ

ติดตาม หรือเกิดผลกระทบทางบวกแกผูเรียน อยางไรบาง

3. ปญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

4. ขอเสนอแนะของหนวยงาน

5. ตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี (Best Practice 3 ลําดับแรก)

เรื่อง/กิจกรรมและรายละเอียด

ของตนแบบหรือแบบอยางท่ีดี

รายชื่อ

หนวยงาน/สถานศึกษา

ท่ีตั้ง

หนวยงาน/สถานศึกษา

จุดเนนพิเศษตามขอส่ังการของนายกรัฐมนตรี การพัฒนานักเรียน นักศึกษา 1. การลดช่ัวโมงเรียนดานวิชาการ ลดปริมาณการบาน ลดการเรียนพิเศษเสริมจากการเรียนในหองเรียนปกต ิ 1) ผลการดําเนินงาน 2) ปญหา อุปสรรคและขอเสนอแนะ 2. การประเมินผลคุณภาพการศึกษา ท่ีมีมาตรฐานเปนท่ียอมรับ 1) ผลการดําเนินงาน 2) ปญหา อุปสรรคและขอเสนอแนะ

Page 325: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

101

ภาคผนวก ค รายช่ือผูบริหารหนวยรับตรวจ (ศธจ.,สพป.,สพม.,อศจ.,กศน.จ) เขตตรวจราชการท่ี 12

ท่ี สํานักงาน ชื่อ - สกุล ตําแหนง โทรศัพท 1

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดรอยเอ็ด นายอธิปปรัชญ ภัควฒันภักด ี ศึกษาธิการจังหวัดรอยเอ็ด 089-944-9004

นายสมาน แกวคําไสย รองศึกษาธิการจังหวัดรอยเอ็ด 061-421-3931

นายพชิิต เครือน้ําคํา ผอ.กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผล 087-858-5959

ดร.สกล คามบุศย ผอ.สพป.รอยเอ็ด เขต 1 087-230-9595

ดร.อนันต พันนึก ผอ.สพป.รอยเอ็ด เขต 2 081-261-6943

นายสุภาพ วงษามาตย ผอ.สพป.รอยเอ็ด เขต 3 081-799-0044

ดร.ปราโมทย ภูมิพนัธ ผอ.สพม. เขต 27 081-380-3619

นางรุงทวิา ศรีวรขาน ผอ.กศน.จังหวัดรอยเอ็ด 092-252-1526

นายรังสติ วงษแกว ประธานอาชีวศึกษาจังหวัดรอยเอ็ด 081-879-7232

(ผอ.วิทยาลัยเทคนิครอยเอ็ด)

2

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดขอนแกน นายเชิดศักดิ์ ศรีสงาชัย ศึกษาธิการจังหวัดขอนแกน 081-974-3300

นายสวุัฒนชัย แสนราช รองศึกษาธิการจังหวัดขอนแกน 081-954-3546

นายพิทกัษพันธ จนัทนเทศ ผอ.กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผล 093-453-9929

ดร.ภูมิพัทธ เรืองแหล ผอ.สพป.ขอนแกน เขต 1 098-564-5661

ดร.อนุศาสตร สอนศิลพงศ ผอ.สพป.ขอนแกน เขต 2 061-458-6565

ดร.ศุภสิน ภูศรีโสม ผอ.สพป.ขอนแกน เขต 3 081-546-5299

ดร.ชนาธปิ สาํเริง ผอ.สพป.ขอนแกน เขต 4 085-000-0509

นายณฤทธิ์ วิเศษศักดิ ์ ผอ.สพป.ขอนแกน เขต 5 081-544-2916

ดร.อดิศักดิ ์ มุงช ู ผอ.สพม. เขต 25 098-585-3198

วาที่ ร.ต.สมปอง วิมาโร ผอ.กศน.จังหวัดขอนแกน 089-861-8359

ดร.โปรงวิทย ลิ้มตระกูล ประธานอาชีวศึกษาจังหวัดขอนแกน 081-871-2882

(ผอ.วิทยาลัยเทคนิคขอนแกน)

Page 326: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

102

3 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดมหาสารคาม ดร.ครรชิต วรรณชา

ศึกษาธิการจังหวัดมหาสารคาม 16081-9645997

นายภัทรวรรธน นิลแกวบวรวชิญ รองศึกษาธิการจังหวัดมหาสารคาม 097-314-4193

นายศุภสาสน รัชโพธิ ์ ผอ.กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผล 081-546-8999

นางสุภารีย โพนเงิน ผอ.สพป.มหาสารคาม เขต 1 080-190-7776

นายบวร เทศารินทร ผอ.สพป.มหาสารคาม เขต 2 081-879-6280

นายชัยณรงค แสงคํา ผอ.สพป.มหาสารคาม เขต 3 061-019-7111

นายอดุลยศักดิ ์บุญเอนก ผอ.สพม. เขต 26 065-626-5295

นายจักรกริช บุญเดช ผอ.กศน.จังหวัดมหาสารคาม 081-725-9908

นายสิระพงศ ชูวงศเลิศ

ประธานอาชีวศึกษาจังหวัดมหาสารคาม (ผอ.วิทยาลัยเทคนิควาปปทุม)

085-647-2288

4

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ นายกิตติพศ พลพิลา ศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ 061-413-2894

นายรัชพร วรรณคํา รองศึกษาธิการจังหวัดกาฬสนิธุ 089-840-6225

นางนุชรัตน ประสิทธิศิลปชัย ผอ.กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผล 081-975-3204

นายยงยุทธ พรหมแกว ผอ.สพป.กาฬสนิธุ เขต 1 062-693-5395

นายสมพงษ โรจนภัทรพงศ ผอ.สพป.กาฬสนิธุ เขต 2 081-872-2449

ดร.ภัณฑรักษ พลตื้อ ผอ.สพป.กาฬสนิธุ เขต 3 029-421-8407

นายชัยวัฒน ตั้งพงษ ผอ.สพม. เขต 24 081-955-1507

นางสาวนพกนก บุรุษนันทน ผอ.กศน.จังหวัดกาฬสินธุ 081-873-4525

นายวิศวชาติ สุวรรณราช ประธานอาชีวศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ 089-422-2516

(ผอ.วิทยาลัยเทคนิคกาฬสนิธุ)

Page 327: รายงานการสนับสนุนการตรวจ ... · 2019-02-04 · o-net / n-net/ v-net โดยเปรียบเทียบคะแนนที่ได

103

คณะผูจัดทํา

ท่ีปรึกษา นายอรรถพล ตรึกตรอง ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ปฏิบัติหนาท่ี ศึกษาธิการภาค 12 นางวัลลีย ศรีรัตน นักวิชาการศึกษาเชี่ยวชาญ ปฏิบัติหนาท่ี รองศึกษาธิการภาค 12 ผูจัดเก็บ และรวบรวมขอมูล นางสาวน้ําฝน อรรคฮาด นักวิชาการศึกษาชํานาญการพิเศษ นายสยามพงษ วงคสุวรรณ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ สรุป วิเคราะห เขียนรายงาน นางสาวน้ําฝน อรรคฮาด นักวิชาการศึกษาชํานาญการพิเศษ