สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า...

112
รยลยดขงลกสตรปรญญท ลกสตรบรรธรกจมบณฑต สขบรรธรกจ (ลกสตรปรบปรง พ.ศ. 2560) (มค. 2) สนกวชกรจดกร มวทยลยวลยลกษณ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รับทราบการให้ความเห็นชอบหลักสูตรนี ้แล ้ว เมื ่อวันที ่ 23 ตุลาคม 2562

Transcript of สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า...

Page 1: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

รายละเอียดของหลักสูตรปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

สาขาบริหารธุรกิจ (หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2560)

(มคอ. 2)

สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 2: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

บทนํา หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ ไดรับการปรับปรุงเม่ือ พ.ศ. 2554 มี

วัตถุประสงคเพ่ือพัฒนาศักยภาพของผูเรียนอยางแทจริง โดยมุงเนนการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพสูง เพ่ือสรางนักบริหารและนักวิจัยท่ีมีศักยภาพท้ังดานวิชาการและการประยุกต กลาวคือ เปนผูท่ีมีวิสัยทัศน ความรู และทักษะ ท้ังในภาคทฤษฎีและการประยุกตสามารถคิด วิเคราะห และแกปญหาอยางมีหลักการและเหตุผล ตลอดจนมีความสามารถในการปรับตัวเขากับเทคโนโลยีท่ีทันสมัยไดเปนอยางด ีโดยเปดการเรียนการสอนมาต้ังแตป พ.ศ. 2543 และไดรับการรับรองหลักสูตรฯ จากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ปจจุบันหลักสูตรมีนักศึกษาประมาณ 133 คน (ขอมูลจากศูนยบริการการศึกษา ณ วันท่ี 5 ตุลาคม 2559) หลักสูตรฯ สามารถรับนักศึกษาไดตามเปาหมายปละประมาณ 30 คน โดยนักศึกษาสวนใหญมีภูมิลําเนาในภาคใตตอนบน ทํางานอยูในองคกรภาครัฐ ภาคเอกชน รวมท้ังผูประกอบการอาชีพอิสระ โดยจบการศึกษาระดับปริญญาตรีมาจากหลากหลายสาขาวิชา และมีพ้ืนฐานความรูทางดานทักษะการบริหาร การวิเคราะหสถิติ และทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษท่ีแตกตางกัน จึงตองมีกระบวนการปรับพ้ืนฐานนักศึกษาในการเขาเรียนในหลักสูตรฯ ซ่ึงยังเปนเรื่องทาทายท่ีตองหาแนวทางพัฒนาตอไป

อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร 6 คนจบการศึกษาระดับปริญญาเอก และมีตําแหนงทางวิชาการ รองศาสตราจารย 1 คน ประกอบดวยอาจารยผูรับผิดชอบ ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ 3 คน และศูนยวิทยบริการสุราษฎรธานี 3 คน โดยอาจารยผูสอนมีท้ังอาจารยประจําและอาจารยพิเศษ ซ่ึงมีความเชี่ยวชาญทางดานตางๆ ท่ีเก่ียวของกับทางบริหารธุรกิจ

แนวทางการปรับปรุงหลักสูตร เพ่ือพัฒนาหลักสูตรใหมีความทันสมัย เทาทันกับศาสตรทางดานบริหารธุรกิจท่ีมีการเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว อีกทั้งพัฒนารายวิชาใหสอดคลองกับโครงสรางอุตสาหกรรมในพ้ืนท่ีภาคใตตอนบน ปรับปรุงแผนการศึกษาใหกระชับข้ึนปรับแผนการศึกษาใหเหมาะสมกับผูเรียนมากข้ึน อีกท้ังเสริมสรางกระบวนการพัฒนาบัณฑิตโดยเพ่ิมเติมกิจกรรมสรางเสริมกระบวนการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 ผานการเรียนท่ีมุงเนนการพัฒนาเรื่องบุคลิกภาพ ทักษะความเปนผูนําและการตัดสินใจความสามารถในการสื่อสาร การนําเสนอผลงาน ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษและความรู พ้ืนฐานภาษาอังกฤษ ใหใชภาษาอังกฤษในการติดตอสื่อสารหรือทํางานได การเสริมทักษะในการทําวิจัย รวมท้ังจัดรายวิชาเรียนใหมีความตอเนื่องเพ่ือใหนักศึกษาสามารถมีองคความรูเพียงพอใหตอยอดงานวิจัยได ควบคูกับกระบวนการดูแลนักศึกษาเพ่ือใหนักศึกษาสามารถจบไดในเวลาท่ีหลักสูตรกําหนด

2

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 3: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

สารบัญ

เรื่อง หนา หมวดท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป ……………………………………………………………………………….……………..……… 5

1. ชื่อหลักสูตร …………………………………………………………………………………………..……………… 5 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ……………………………………………………………………..………………… 5 3. วิชาเอก (ถามี) ………………………………………………………………………………..……………….……. 5 4. จํานวนหนวยกิตท่ีเรียนตลอดหลักสูตร ……………………………………………..……………………… 5 5. รูปแบบของหลักสูตร ……………………………………………………………………………………………… 5 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร ……………………………… 6 7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน ……………………….…………… 6 8. อาชีพท่ีสามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา ……………………………………………….……… 6 9. ชื่อ นามสกุล ตําแหนง และคุณวฒุิการศึกษาของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร ……………. 7

10. สถานท่ีจัดการเรียนการสอน …………………………………………………………………………….…….. 9 11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาท่ีจําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 9 12. ผลกระทบจากขอ 11.1 และ 11.2 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเก่ียวของกับพันธกิจ

ของสถาบัน……………………………………………………………………………………………………..……... 10 13. ความสัมพันธกับหลักสูตรอ่ืนท่ีเปดสอนในสํานักวิชา/สาขาอ่ืนของมหาวิทยาลัย…………..... 10

หมวดท่ี 2 ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร ............................................................................................ 11 1. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร …………………………………………….…… 112. แผนพัฒนาปรับปรุง ………………………………………………………………………………………..….… 12

หมวดท่ี 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร ………………....… 13 1. ระบบการจัดการศึกษา …………………………………………………………………..……………………… 132. การดําเนินการหลักสูตร ………………………………………………………………………………………… 13 3. หลักสูตรและอาจารยผูสอน …………………………………………………………………………………… 17 4. องคประกอบเก่ียวกับประสบการณภาคสนาม (การฝกงาน หรือสหกิจศึกษา)…................ 36 5. ขอกําหนดเก่ียวกับการทําโครงงานหรือวิจัย……………………………………………………………… 36

หมวดท่ี 4 ผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและการประเมินผล …………………………………………..… 38 1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา ……………………………………………………….…….… 382. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน ……………………………………………………………..…….… 393. แผนท่ีแสดงการกระจายความรบัผิดชอบตอผลการเรียนรู จากหลักสูตรสูรายวิชา

(Curriculum Mapping) ……………………………………………………………………………………….... 45

3

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 4: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

สารบัญ (ตอ)

เรื่อง หนา หมวดท่ี 5 หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา ……………………………………………………….……… 48

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน (เกรด) …………………………………..…….. 482. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ……………………………………….…. 48 3. เกณฑการสําเร็จการศึกษาของหลักสูตร …………………………………………….…………………… 49

หมวดท่ี 6 การพัฒนาคณาจารย ……………………………………………..………………………………………… 49 1. การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม …………………………………………………………………………… 492. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกคณาจารย ..................................……………………………… 49

หมวดท่ี 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร ……………………….…………………………………………….……… 50 1. การกํากับมาตรฐาน ............................................……………………………………………….……… 502. บัณฑิต...........................................................................................................…………. 513. นักศึกษา………………………………………...............................……………………………………..…….. 51

4 อาจารย................................................................................................................................ 53 5. หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผูเรียน …………………………………………………….….. 546. สิง่สนับสนุนการเรียนรู..…..................................................................................................... 547. ตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators) ………………………………………... 55

หมวดท่ี 8 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของหลักสูตร................................................. 56 1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน .......................…………………………………………….…… 562. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม ....................................................................................... 563. การประเมินผลการดําเนินงานตามท่ีกําหนดในรายละเอียดหลักสูตร ………………………….. 57 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง .............................................................. 57

ภาคผนวก ภาคผนวก ก ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2560 ................................ 58 ภาคผนวก ข ขอบังคับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณวาดวยการศึกษาข้ันบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2560.. 67

ภาคผนวก ค คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร..................................................... 68 ภาคผนวก ง ประวัติและผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําหลักสูตร ............................. 70

4

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 5: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

รายละเอียดของหลักสูตร หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

สาขาบริหารธุรกิจ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560

ช่ือสถาบันอุดมศกึษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชา สํานักวิชาการจัดการ

หมวดที ่1 ขอมูลทัว่ไป

1. ช่ือหลักสูตรรหัสหลักสูตร : 25490231111531 ชื่อหลักสูตรภาษาไทย : หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ : Master of Business Administration Program in Business

Administration

2. ช่ือปริญญาและสาขาวิชาภาษาไทย : ชื่อเต็ม

ชื่อยอ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) บธ.ม. (บริหารธุรกิจ)

ภาษาอังกฤษ : ชื่อเต็ม ชื่อยอ

Master of Business Administration (Business Administration) M.B.A. (Business Administration)

3. วิชาเอก (ถามี)ไมมี

4. จํานวนหนวยกิตท่ีเรียนตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 55 หนวยกิต ระบบไตรภาค

5. รูปแบบของหลักสูตร5.1 รูปแบบ

เปนหลักสูตรระดับปริญญาโท หลักสูตร 2 ป 5.2 ภาษาท่ีใช

หลักสูตรจัดการศึกษาเปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

5.3 การรับเขาศึกษา - รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาตางชาติท่ีสามารถใชภาษาไทยไดดีในระดับท่ีหลักสูตรกําหนด - เปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณวาดวยการศึกษาข้ันบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2560

5.4 ความรวมมือกับสถาบันอ่ืน ไมมี

5

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 6: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

5.5 การสรางเครือขายความรวมมือกับตางประเทศ ไมมี

5.6 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร1. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) ปรับปรุงจาก

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554)2. กําหนดการเปดสอนในภาคการศึกษาท่ี 1 ปการศึกษา 25603. สภาวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ เห็นชอบในการประชุม ครั้งท่ี4/2560 เม่ือวันท่ี 27

เมษายน 25604. สภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ อนุมัติในการประชุม ครั้งท่ี 2/2560 เม่ือวันท่ี 6 พฤษภาคม 2560

7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานหลักสูตรมีความพรอมในการเผยแพรเปนหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐาน

คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 ในปการศึกษา 2560

8. อาชีพท่ีสามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษามหาบัณฑิตบริหารธุรกิจของหลักสูตรสามารถประกอบอาชีพไดท้ังในองคการภาครัฐและเอกชน

รวมท้ังประกอบธุรกิจสวนตัว อาทิ ในองคการภาครัฐสามารถปฏิบัติงานในตําแหนงอาจารย นักวิจัย นักวิชาการ นักวิเคราะห นักวางแผน เจาหนาท่ีดานการบริหาร สวนองคการภาคเอกชนซ่ึงไดแก บริษัท ธนาคาร สถาบันการเงิน เปนตน สามารถปฏิบัติงานในตําแหนงเจาหนาท่ีวิเคราะหสินเชื่อ นักการตลาด เจาหนาท่ีบริหารทรัพยากรมนุษย ท่ีปรึกษา ตลอดจนผูบริหารขององคการ นอกจากนี้สามารถนําความรูท่ีไดจากการศึกษาไปประกอบธุรกิจของตนเองตามความถนัดของแตละบคุคล

6

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 7: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

9. ช่ือ นามสกุล ตําแหนง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

มหาวิทยาลยัวลยัลกัษณ์

ตาํแหน่งทางวิชาการ

ช่ือ-สกลุ คณุวฒิุระดบัอดุมศึกษา และสาขาวิชา

(เรยีงลาํดบัจาก เอก-โท-ตร)ี, (สาขาวชิา), สถาบนั,ปีทีส่าํเรจ็การศกึษา) ผลงานทางวิชาการ

5 ปีย้อนหลงั

รองศาสตราจารย นายสมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ Ph.D. (Technopreneurship and Innovation Management), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั, 2553

บช.ม. (การบัญชีตนทุน), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2533 บธ.บ. (การบัญช)ี, สถาบนัเทคโนโลยีราชมงคล, 2530 บธ.บ. (การจัดการทั่วไป), มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2530 บธ.บ. (การเงินการธนาคาร), มหาวิทยาลยัรามคําแหง, 2530

มีผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

ผูชวยศาสตราจารย นายสพุิศ ฤทธิ์แกว Ph.D. (Applied Mathematics), University of Innsbruck, Austria, 2538 M.Sc. (Mathematics), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2528 B.Sc. (Mathematics), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2524

มีผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

อาจารย นายพงศพนัธุ คําพรรณ ค.ด. (พัฒนศึกษา-เศรษฐศาสตรการศึกษา), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2558 ศ.ม. (เศรษฐศาสตรการศึกษา), มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ, 2547 ศ.บ. (เศรษฐศาสตรธุรกิจ), มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2545

มีผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

7

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 8: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ศนูยวิ์ทยบริการ จงัหวดัสุราษฎรธ์านี มหาวิทยาลยัวลยัลกัษณ์

ตาํแหน่งทางวิชาการ

ช่ือ-สกลุ คณุวฒิุระดบัอดุมศึกษา และสาขาวิชา

(เรยีงลาํดบัจาก เอก-โท-ตร)ี, (สาขาวชิา), สถาบนั,ปีทีส่าํเรจ็การศกึษา) ผลงานทางวิชาการ

5 ปีย้อนหลงั

อาจารย นางนีรนาท แกวประเสริฐ ระฆังทอง ปร.ด. (เศรษฐศาสตร), มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2549 พบ.ม. (การเงิน/อุตสาหกรรม/แรงงาน), สถาบนับัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2537 ศ.บ. (เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ), มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2534

มีผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

อาจารย นางรุงรวี จิตภักด ี Ph.D. (Regional and Rural Development Planning), Asian Institute of Technology, 2554

M.B.A. (International Tourism & Hospitality Management), Griffith University, Australia, 2548

รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร), มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร, 2543 ศ.บ. (ภาษาอังกฤษ), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2536

มีผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

อาจารย นางจนิตนยี รูซื่อ Ph.D. (Economics), มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2556 ศ.ม. (เศรษฐศาสตร), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548 ศ.บ. (เศรษฐศาสตรเกษตร อุตสาหกรรม และระหวางประเทศ), มหาวิทยาลยัวลัย

ลักษณ, 2545

มีผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

8

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 9: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

10. สถานท่ีจัดการเรียนการสอน- หองเรียนบรรยายของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวดันครศรธีรรมราช- หองเรียนบรรยายของศูนยวิทยบริการ จังหวัดสุราษฎรธานี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ- สถานท่ีอ่ืน ๆ ตามท่ีหลักสูตรกําหนด

11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาท่ีจําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร11.1 สถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

เศรษฐกิจไทยในเดือนธันวาคม 2559 ขยายตัวตอเนื่องจากเดือนกอน จากการใชจายภาครัฐท่ีขยายตัวสูงท้ังรายจายประจําและลงทุน และมูลคาการสงออกสินคาท่ีฟนตัวชัดเจนข้ึน สอดคลองกับการผลิตในอุตสาหกรรมเพ่ือการสงออกและการนําเขาวัตถุดิบและสินคาข้ันกลางท่ีเพ่ิมข้ึนโดยเฉพาะชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส นอกจากนี้ภาคการทองเท่ียวกลับมาขยายตัวตามจํานวนนักทองเท่ียวตางประเทศท่ีไดรับผลดีจากมาตรการยกเวนและลดคาธรรมเนียมวีซาชั่วคราวสําหรับบางประเทศประกอบกับการบริโภคภาคเอกชนโดยรวมปรับดีข้ึนตามความเชื่อม่ันผูบริโภค และผลของมาตรการกระตุนการใชจายในชวงปลายป สําหรับการลงทุนภาคเอกชนมีทิศทางปรับดีขึ้นตอเนื่องแตยังกระจุกตัวอยูในธุรกิจ (https://www.bot.or.th/Thai/ MonetaryPolicy/EconomicConditions/PressRelease/PressRelease2557/PressThai_December2559_65UNI.pdf)

จากสภาพเศรษฐกิจท่ีผันผวนดังกลาว ประกอบกับโครงสรางทางเศรษฐกิจท่ีซับซอน ตลอดจนทิศทางการพัฒนาประเทศ ไทยแลนด 4.0 การบริหารธุรกิจจําเปนตองใชความรู ทฤษฎีตลอดจนแนวคิด เพ่ือตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ สามารถวิเคราะห วางแผน ตลอดจนจัดการเศรษฐกิจท้ังระดับจุลภาคและระดับมหภาค เพ่ือใหธุรกิจมีความสามารถในการแขงขันระดับทองถ่ิน ประเทศ ภูมิภาค อาเซียน และระดับโลก

11.2 สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในปจจุบันซ่ึงเปนผลมาจากการพัฒนา

ทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ พบวามีการรวมกลุมในภูมิภาคตางๆ มากข้ึนท่ัวโลก อาทิ กลุมตลาดรวมยุโรป กลุมอเมริกา ในเอเชียท่ีใกลตัวมากท่ีสุดก็ไดแก กลุมอาเซียน เปนตน เปนท่ีคาดกันวาในอนาคตกลุมดังกลาวจะเข็มแข็งและมีบทบาทมากข้ึนในการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ประกอบกับพัฒนาการทางการสื่อสารอยางรวดเร็วจะมีสวนทําใหการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมมีมากข้ึน แนวโนมเชนนี้ จะมีผลตอสังคมไทยในอนาคตอันใกล ประเทศไทยนาจะมีบทบาทในทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมโลกมากข้ึน และนาจะอยูในฐานะประเทศระดับผูนําของกลุมอาเซียน อันจะทําใหประเทศไทยไดรับการยอมรับจากนานาประเทศมากข้ึน หากสามารถดําเนินการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมใหอยูในภาวะท่ีสมดุลกัน คือ เปนการพัฒนาเศรษฐกิจท่ีไมสรางหรือกอใหเกิดปญหาสังคมมากเกินไป

ดังนั้นการบริหารธุรกิจซ่ึงมีผลตอการเติบโตหรือพัฒนาทางเศรษฐกิจตองคํานึงถึงสังคมและวัฒนธรรมไทยดวย เพ่ือใหประเทศเติบโตอยางม่ันคงและคนในสังคมมีความสุขอยางยั่งยืน

9

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 10: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

12. ผลกระทบจากขอ 11.1 และ 11.2 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวของกับพันธกิจของสถาบัน12.1 การพัฒนาหลักสูตร

จากสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปจจุบัน จึงเปนแนวทางพัฒนานวัตกรรมใหมของหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตท่ีมุงเนนทฤษฎี แนวคิด รวมท้ังการพัฒนาทักษะท่ีจําเปนสําหรับนักบริหาร โดยมุงเนนทักษะความคิดเชิงสรางสรรคและการจัดการนวัตกรรม ตลอดจนมุงเนนความเปนผูประกอบการ อีกท้ังการปลูกฝงจริยธรรมในการประกอบธุรกิจและความรับผิดชอบตอสังคม ตลอดจนใหความสําคัญแกการถายทอดเทคนิควิธีการบริหารงานท่ีนําไปปฏิบัติแลวประสบผลสําเร็จ โดยบูรณาการเขากับบริบทขององคการในประเทศไทย

12.2 ความเกี่ยวของกับพันธกิจของสถาบัน ดวยนโยบายของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ท่ีตองการผลิตและพัฒนากําลังคนใหมีมาตรฐานท่ี

สอดคลองกับความตองการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงการดําเนินการศึกษา คนควา วิจัย และพัฒนาองคความรูใหมใหสามารถนําไปใชในการผลิตบัณฑิตใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพเพ่ือเพ่ิมความสามารถในการแขงขันในระดับนานาชาติ โดยมุงเนนศาสตรวิชาท่ีสามารถอํานวยประโยชนเพ่ือเปนหลักในถ่ิน และเปนเลิศสูสากล หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ซ่ึงมุงพัฒนาระบบการศึกษา การวิจัย และบริการวิชาการเพ่ือเอ้ือประโยชน และตอบสนองความตองการของประชาคมทองถ่ิน รวมถึงการมุงพัฒนานักศึกษา ใหเปนท่ียอมรับในแวดวงธุรกิจและวงการวิชาการระดับสากลดวยกลยุทธท่ีมุงพัฒนาใหผูเรียนไดมีความรู ท้ังภาคทฤษฎี อีกท้ังทักษะท่ีจําเปนตอการเปนผูนํา สามารถนําความรูและประสบการณไปใชปฏิบัติงานไดทันที

13. ความสัมพันธกับหลักสูตรอ่ืนท่ีเปดสอนในสํานักวิชา/สาขาอ่ืนของมหาวิทยาลัย13.1 กลุมวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ท่ีเปดสอนโดยสํานักวิชา/หลักสูตรอ่ืน

ไมมี 13.2 กลุมวิชา/รายวิชาในหลักสูตรท่ีเปดสอนใหหลักสูตรอ่ืนตองมาเรียน

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต เปดรายวิชาใหหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจเปนวิชาปรับพ้ืนฐาน จํานวน 8 รายวิชา ไดแก ACT60-612 การบัญชีเพ่ือการจัดการ

Managerial Accounting Management 4 (4-0-8)

BUS60-723 การวิจัยทางธุรกิจและการจัดการ Business and Management Research

4 (4-0-8)

BUS60-724 นวัตกรรมและการประกอบธุรกิจ Innovation and Entrepreneurship

4 (4-0-8)

FNC60-651 การจัดการการเงิน Financial Management

4 (4-0-8)

HRM60-632 พฤติกรรมองคการและการจัดการทรัพยากรมนุษย Organizational Behavior and Human Resource

4 (4-0-8)

MAR60-641 การจัดการการตลาด Marketing Management

4 (4-0-8)

10

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 11: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

MGT60-781 การบริหารโครงการ Project Management

4 (4-0-8)

MGT60-782 การจัดการกลยุทธ Strategic Management

4 (4-0-8)

13.3 การบริหารจัดการ 1) มหาวิทยาลัยจะทําการแตงต้ังคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําหลักสูตรบริหารธุรกิจ

มหาบัณฑิต โดยใหมีหนาท่ีดูแลการดําเนินงานการจัดการเรียนการสอนใหเปนไปอยางมีคุณภาพตามขอกําหนดของหลักสูตร

2) คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําหลักสูตรฯ จะแตงต้ังอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรฯ เพ่ือทําหนาท่ีดูแลการดําเนินงาน วางแผนและการจัดการเก่ียวกับการเรียนการสอนของหลักสูตร รวมท้ังพิจารณาเห็นชอบอาจารยผูสอนและวิทยากรท่ีมาทําการสอนในหลักสูตร

หมวดที ่2 ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร

1. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร1.1 ปรัชญา ความสําคัญ

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สํานักวิชาการจัดการ มุงผลิตมหาบัณฑิตใหสามารถบูรณาการความรูภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพ่ือปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนมีคุณธรรมและจริยธรรม รับผิดชอบตอสังคม สวนรวมเปนสําคัญ

1.2 จุดเดนของหลักสูตร หลักสูตรมุงเนนนวัตกรรมทางดานการบริหารธุรกิจ ควบคูกับการพัฒนาทักษะการบริหารเพ่ือให

ผูเรียนมีความรูความสามารถพรอมท่ีจะเปนผูบริหารท่ีมีความรูความสามารถและทักษะท่ีจําเปนตอการบริหารท่ีมุงสูความสําเร็จ

1.3 วัตถุประสงค 1.3.1 เพ่ือมุงผลิตทรัพยากรบุคคลในระดับมหาบัณฑิตใหมีความรู ทักษะความสามารถ วิสัยทัศน และ

คุณธรรมในการดําเนินและบริหารธุรกิจ 1.3.2 เพ่ือมุงพัฒนา และสงเสริมการศึกษาวิจัยทางดานการบริหารจัดการเชิงธุรกิจ ในสภาพแวดลอม

ทางธรุกิจภาคใต 1.3.3 เพ่ือสนับสนุน และเสริมสรางศักยภาพของผูประกอบการในเชิงการแขงขันทางการคาของธุรกิจ

ตาง ๆ ในระดับภูมิภาคโดยเฉพาะอยางยิ่งภาคใตตอนบน

11

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 12: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

2. แผนพัฒนาปรับปรุงแผนการพัฒนา/เปล่ียนแปลง กลยุทธ หลักฐาน/ตัวบงช้ี

1. จัดทําและปรับปรุงหลักสูตรใหมีมาตรฐานไมต่ํากวาท่ี สกอ.กําหนด

- พัฒนาหลักสูตรโดยมีพ้ืนฐานจากหลักสูตรในระดับสากล

- ติดตามประเมินหลักสูตรอยางสมํ่าเสมอ

- เอกสารปรับปรุงหลักสูตร - รายงานผลการประเมินหลักสูตร

2. ปรับปรุงหลักสูตรใหสอดคลองกับความกาวหนาของเทคโนโลยี และความตองการของตลาดท้ังภาคอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของประเทศและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ภายใน 3 ป)

- ติดตามความเปลี่ยนแปลงในความตองการของภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรม

- นําเทคโนโลยีใหมๆ มาใชในการเรียนการสอนเพ่ือเพ่ิมศักยภาพของหลักสูตร

- ติดตามความพึงพอใจของผูใชมหาบัณฑิตหรือนายจางอยางสมํ่าเสมอ

- รายงานผลประเมินความพึงพอใจของผูเรียนตอความรูและความทันสมัยของหลักสูตร

- รายงานผลการประเมินความพึงพอใจของผูใชมหาบัณฑิตหรือนายจาง

3. พัฒนาบุคลากรดานการเรียนการสอนและบริการวิชาการ

(ภายใน 3 ป)

- สนับสนุนใหมีการบริการวิชาการแกองคกรภายนอก

- สงเสริมใหมีการนําความรูท้ังภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ และงานวิจัยเพ่ือนําไปใชจริง

- เพ่ิมพูนทักษะอาจารยในการสงเสริมการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง

- ความสามารถในการวัดและประเมินผลของหลักสูตร รวมถึงศักยภาพในการเปนอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ

- ปริมาณงานบริการวิชาการตออาจารยในหลักสูตร

- รายงานผลประเมินความพึงพอใจของผูใชบริการวิชาการ จํานวนโครงการ/กิจกรรมท่ีเปนประโยชนตอชุมชนและความบรรลุผลสําเร็จ

- ผลการประเมินประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียน เปนศูนยกลาง

12

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 13: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

หมวดที ่3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร

1. ระบบการจัดการศึกษา1.1 ระบบ

การจัดการศึกษาเปนระบบไตรภาค ปการศึกษาหนึ่งมี 3 ภาคการศึกษา โดยมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 12 สัปดาหตอภาคการศึกษา ขอกําหนดตางๆ ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ วาดวยการศึกษาข้ันบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2560

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน ไมมี

1.3 การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จัดการเรียนการสอนในระบบไตรภาค และใชระบบหนวยกิต

หนวยกิต (Credits) หมายถึง หนวยนับท่ีใชแสดงปริมาณการศึกษา โดย 1 หนวยกิตระบบไตรภาค เทียบไดกับ 12/15 หนวยกิตระบบทวิภาค หรือ 5 หนวยกิตระบบไตรภาค เทียบไดกับ 4 หนวยกิตระบบ ทวิภาค หรือ 4 หนวยกิต ระบบไตรภาค เทียบไดกับ 3 ACTS (Asean Credit Transfer System) หรือ 5 ECTS (European Credit Transfer System) 2. การดําเนินการหลักสูตร

2.1 วัน-เวลาในการดําเนินการเรียนการสอน ภาคการศึกษาท่ี 1 (เดือนกรกฎาคม - ตุลาคม) ภาคการศึกษาท่ี 2 (เดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ)

และภาคการศึกษาท่ี 3 (เดือนมีนาคม – มิถุนายน) โดยเรียนวันเสาร – อาทิตย เวลา 09.00 -16.00 น. และวันอ่ืน ๆ ตามท่ีหลักสูตรกําหนด

2.2 คุณสมบัติของผูเขาศึกษา เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทาทุกสาขา เปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยวลัย

ลักษณวาดวยการศึกษาข้ันบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2560 หลักสูตรปริญญาโท จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 55 หนวยกิต มีแผนการศึกษาใหเลือก 2 แผน ดังตอไปนี ้

แผน ก เนนการวิจยัโดยมีการทําวิทยานิพนธ แบบ ก 2 ทําวิทยานิพนธซ่ึงมีคาเทียบไดไมนอยกวา 15 หนวยกิต และศึกษางานรายวิชาไมนอยกวา

15 หนวยกิต โดยมีจํานวนหนวยกิตรวมท้ังหมด ไมนอยกวา 55 หนวยกิต แผน ข เนนการศึกษางานรายวิชาโดยไมตองทําวิทยานิพนธ แตตองมีการทําการคนควาอิสระท่ีไม

นอยกวา 7 หนวยกิต โดยมีจํานวนหนวยกิตรวมท้ังหมดไมนอยกวา 55 หนวยกิต ปญหาของนักศึกษาแรกเขา

2.2.1 นักศึกษาสวนใหญขาดทักษะและประสบการณในการทําวิจัย 2.2.2 นักศึกษาสวนใหญขอจํากัดทางทักษะภาษาอังกฤษ 2.2.3 นักศึกษาสวนใหญมีขอจํากัดทางทักษะ คณิตศาสตรและสถิต ิ

2.3 กลยุทธในการดําเนินการเพ่ือแกไขปญหา/ขอจํากัดของนักศึกษาในขอ 2.3 2.4.1 จัดกิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาใหมเพ่ือแนะนําหลักสูตร แผนการเรียน วิธีการเรียน 2.4.2 จัดกิจกรรมอาจารย ศิษยพบปะนักศึกษาปจจุบัน เพ่ือใหคําแนะนําปรึกษาดานการเรียน 2.4.3 จัดการเรียนปรับพ้ืนฐานทางการคํานวณและภาษาอังกฤษในภาคการศึกษาแรก 2.4.4 จัดระบบอาจารยท่ีปรึกษาทางวิชาการแกนักศึกษา 2.4.5 จัดพัฒนาทักษะการวิจัยอยางตอเนื่อง

13

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 14: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

2.4 แผนการรับนักศึกษาและจํานวนผูสําเร็จการศึกษาในระยะเวลา 5 ป (จํานวน 30 คน/ป)

ระดับช้ันป จํานวนนักศึกษาในแตละปการศึกษา 2560 2561 2562 2563 2564

ชั้นปท่ี 1 30 30 30 30 30 ชั้นปท่ี 2 - 30 30 30 30

รวมจํานวนนักศึกษา 30 60 60 60 60 จํานวนนักศึกษาท่ีคาดวาจะสําเร็จการศึกษาเม่ือส้ินปการศึกษา - - 30 30 30 โดยสามารถแยกตามแผนและสถานท่ีเรียนไดดังนี้

ปการศึกษา 2560 2561 2562 2563 2564 มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ แผน ก2 5 5 5 5 5 แผน ข 10 10 10 10 10 ศูนยวิทยบริการสุราษฎรธาน ีแผน ก2 5 5 5 5 5 แผน ข 10 10 10 10 10 จํานวนสําเร็จการศึกษา 30 30 30 30 มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ แผน ก2 5 5 5 5 แผน ข 10 10 10 10 ศูนยวิทยบริการสุราษฎรธาน ีแผน ก2 5 5 5 5 แผน ข 10 10 10 10

2.5 งบประมาณตามแผน (2) งบประมาณรายจาย (หนวย : บาท) *คาใชจายบุคลากรเปนคาใชจายรวมของทุกหลักสูตรในโครงการบัณฑิตศึกษาทางการจัดการ

รายละเอียดรายรับ/รายจาย

ประมาณความตองการในปงบประมาณ

2560 2561 2562 2563 2564

รายละเอียดรายรับ

คาธรรมเนียมการศึกษาหลักสูตรปกติ (75,000 บาท/คน/ป)

2,250,000.00 4,500,000.00 4,500,000.00 4,500,000.00 4,500,000.00

รายจายตัดผานมวล. เงินเดือน 1,657,800.00 1,757,268.00 1,862,704.08 1,974,466.32 2,092,934.30 คาจางชั่วคราวพนักงานทําความสะอาด 190,080.00 190,080.00 190,080.00 190,080.00 190,080.00

14

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 15: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

รายละเอียดรายรับ/รายจาย

ประมาณความตองการในปงบประมาณ

2560 2561 2562 2563 2564

คาประกันสังคมลูกจางชั่วคราว 9,504.00 9,504.00 9,504.00 9,504.00 9,504.00 เงินสะสมสมทบ 8% 132624.00 140581.44 149016.33 157957.31 167434.74 คาสวัสดิการ 72,000.00 72,000.00 72,000.00 72,000.00 72,000.00 คาเชาอาคารศูนยวิทยบริการฯ 730,423.20 730,423.20 730,423.20 730,423.20 730,423.20 คาสาธารณูปโภค 276,000.00 276,000.00 276,000.00 276,000.00 276,000.00 คายานพาหนะ 419,400.00 419,400.00 419,400.00 419,400.00 419,400.00 หักรายไดเขามหาวิทยาลัยรอยละ 20 ของรายได

450,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00

รวมคาใชจายผานมวล. 3,937,831.20 4,495,256.64 4,609,127.61 4,729,830.83 4,857,776.24

หมวดการจัดการศึกษา

คาตอบแทนอาจารยพิเศษและอาจารยประจํา (1,400*42 ชม. *20 วิชา)

1,176,000.00 1,176,000.00 1,176,000.00 1,176,000.00 1,176,000.00

คาเคร่ืองบินสําหรับอาจารยพิเศษ (4,000 บาท * 6 คร้ัง * 10 วิชา)

240,000.00 240,000.00 240,000.00 240,000.00 240,000.00

คาที่พักสําหรับอาจารยพิเศษ (1,000 บาท * 6 คร้ัง * 10 วิชา)

60,000.00 60,000.00 60,000.00 60,000.00 60,000.00

คารับรอง (300 บาท * 7 คร้ัง * 20 วิชา) 42,000.00 42,000.00 42,000.00 42,000.00 42,000.00 คาตอบแทนอาจารยที่ปรึกษาThesis และ IS (20 เลม * 3,000 บาท)

60,000.00 60,000.00 60,000.00 60,000.00 60,000.00

คาตรวจ Abstract การศึกษาอิสระ (200 บาท * 25 เลม)

5,000.00 5,000.00 5,000.00 5,000.00 5,000.00

คาตอบแทนกรรมการสอบประมวลความรู (10,000 บาท * 2 ภาค)

20,000.00 20,000.00 20,000.00 20,000.00 20,000.00

คาตอบแทนกรรมการสอบThesis และ IS 50,000.00 50,000.00 50,000.00 50,000.00 50,000.00

15

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 16: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

รายละเอียดรายรับ/รายจาย

ประมาณความตองการในปงบประมาณ

2560 2561 2562 2563 2564

หมวดพัฒนานักศึกษา

คาปฐมนิเทศนักศึกษาใหม (บางสวน ศบศ.ออกให) 20,000.00 20,000.00 20,000.00 20,000.00 20,000.00 คาปจฉิมนิเทศมหาบัณฑิต 20,000.00 20,000.00 20,000.00 20,000.00 20,000.00

คาใชจายงานศิษยเกาสัมพันธ 50,000.00 50,000.00 50,000.00 50,000.00 50,000.00 คาใชจายในการจัดกิจกรรมสัมมนาทางวชิาการสําหรับนักศึกษา

130,000.00 130,000.00 130,000.00 130,000.00 130,000.00

คาใชจายในการจัดโครงการและสนับสนนุการศึกษาดูงานของนักศึกษา

270,000.00 270,000.00 270,000.00 270,000.00 270,000.00

หมวดพัฒนาการบริหารหลักสูตร คาใชจายในการศึกษาดูงานสรางเครือขายความรวมมือทางวชิาการ

130,000.00 130,000.00 130,000.00 130,000.00 130,000.00

คาใชจายในการจัดกิจกรรมสัมมนาทางวชิาการใหอาจารยและบุคลากร

100,000.00 100,000.00 100,000.00 100,000.00 100,000.00

คาใชจายประชาสัมพนัธหลักสูตร 110,000.00 110,000.00 110,000.00 110,000.00 110,000.00

รวมงบประมาณคาใชจายในการดําเนินงานป.โท 2,483,000.00 2,483,000.00 2,483,000.00 2,483,000.00 2,483,000.00 จํานวนนักศึกษา 30 60 60 60 60

คาใชจายตอหัว 214,027.70 116,304.27 118,202.12 120,213.84 122,346.30

* คาธรรมเนียมการศึกษาหลักสูตรปกติ เก็บแบบเหมาจาย ภาคการศึกษาละ 25,000 บาท

2.6 ระบบการศึกษา เปนระบบการศึกษาแบบชั้นเรียน ตามขอบังคับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณวาดวยการศึกษา

ข้ันบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2560

16

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 17: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

2.7 การเทียบโอนหนวยกิตรายวิชา และการลงทะเบียนขามสถาบัน เปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณวาดวยการศึกษาข้ันบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2560

(ภาคผนวก ค) และขอบังคับของสถาบันอุดมศึกษาท่ีรับเทียบโอนดวย

3. หลักสูตรและอาจารยผูสอน 3.1 หลักสูตร

3.1.1 จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร รวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 55 หนวยกิต

3.1.2 โครงสรางหลักสูตร แบงเปน 2 แผน คือ

1) หลักสูตรแผน ก แบบ ก 2 เนนการศึกษารายวิชาและวิจัยเฉพาะดานอยางลึกซ้ึง โดยผูศึกษาจะตองศึกษารายวิชาตาง ๆ ตามท่ีหลักสูตรกําหนดและตองทําวิทยานิพนธ

1) หมวดวิชาเสริมพ้ืนฐาน 12* หนวยกิต 2) หมวดวิชาบังคับ 40 หนวยกิต 3) วิทยานิพนธ 15 หนวยกิต รวม 55 หนวยกิต

หมายเหตุ : * กลุมวิชาเสริมพ้ืนฐานไมนับหนวยกิตและมีการประเมินผลเปนแบบ S/U 2) หลักสูตรแผน ข เนนการศึกษารายวิชา เพ่ือใหมีความรูทางดานการบริหารธุรกิจในมุมกวางโดย

ผูศึกษาจะตองศึกษารายวิชาตางๆ ตามท่ีหลักสูตรกําหนดและตองมีการศึกษาคนควาอิสระทางบริหารธรุกิจ รวมท้ังสอบประมวลความรู

1) หมวดวิชาเสริมพ้ืนฐาน 12* หนวยกิต 2) หมวดวิชาบังคับ 40 หนวยกิต 3) หมวดวิชาเลือก 8 หนวยกิต 4) การคนควาอิสระ 7 หนวยกิต รวม 55 หนวยกิต

หมายเหตุ: * กลุมวิชาเสริมพ้ืนฐานไมนับหนวยกิตและมีการประเมินผลเปนแบบ S/U ตารางเปรียบเทียบโครงสรางหลักสูตร

โครงสรางหลักสูตร หลักสูตร แผน ก 2 หลักสูตร แผน ข 1) หมวดวิชาเสริมพ้ืนฐาน 12* 12* 2) หมวดวิชาบังคับ 40 40 3) หมวดวิชาเลือก - 8 4) การคนควาอิสระ - 7 5) วิทยานิพนธ 15 -

รวม 55 55

หมายเหตุ: * หมวดวิชาเสริมพ้ืนฐานไมนับหนวยกิตสําหรับทุกแผนของหลักสูตร

17

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 18: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

รายวิชา 1) หมวดวิชาเสริมพ้ืนฐาน

เปนรายวิชาท่ีนักศึกษาทุกคนจะตองลงทะเบียนศึกษาและสอบผานทุกรายวิชา โดยไมนับหนวยกิตรวมในหลักสูตร ซ่ึงมีเกณฑการวัดผลในลักษณะ S (Satisfactory) หรือ U (Unsatisfactory) โดยการวัดผลตองไดในลักษณะ S จึงจะถือวาสอบผาน ท้ังนี้ คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต อาจพิจารณายกเวนใหนักศึกษาบางรายไมตองลงทะเบียนศึกษาในรายวิชาเสริมพ้ืนฐานก็ได เม่ือไดพิจารณาแลววานักศึกษามีความรูอยางเพียงพอในรายวิชาดังกลาวแลว โดยมีรายวิชาเสริมพ้ืนฐานท้ังสิ้น 12 หนวยกิต ดังนี ้

ACT60-611 การบัญชีการเงิน Financial Accounting

4 (4-0-8)

BUS60-621 สถิติเพ่ือการจัดการธุรกิจ Statistics for Business Management

4 (4-0-8)

BUS60-622 พันธกิจเพ่ือสังคม Social Engagement

2 (2-0-4)

HRM60-631 ภาวะผูนําและการสื่อสาร Leadership and communication

2 (1-2-3)

2) หมวดวิชาบังคับ 40 หนวยกิตACT60-612 การบัญชีเพ่ือการจัดการ

Managerial Accounting Management 4 (4-0-8)

BUS60-723 การวิจัยทางธุรกิจและการจัดการ Business and Management Research

4 (4-0-8)

BUS60-724 นวัตกรรมและการประกอบธุรกิจ Innovation and Entrepreneurship

4 (4-0-8)

BUS60-929 สัมมนาทางการบริหารธุรกิจ Seminar in Business Administration

4 (4-0-8)

ECN60-671 การวิเคราะหทางเศรษฐกิจเพ่ือการตัดสินใจทางธุรกิจ Economic Analysis for Business Decisions

4 (3-2-7)

FNC60-651 การจัดการการเงิน Financial Management

4 (4-0-8)

HRM60-632 พฤติกรรมองคการและการจัดการทรัพยากรมนุษย Organizational Behavior and Human Resource

4 (4-0-8)

MAR60-641 การจัดการการตลาด Marketing Management

4 (4-0-8)

MGT60-781 การบริหารโครงการ Project Management

4 (4-0-8)

MGT60-782 การจัดการกลยุทธ Strategic Management

4 (4-0-8)

18

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 19: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

3) หมวดวิชาเลือก 8 หนวยกิต นักศึกษาท่ีเลือกศึกษาตามแผน ข (ไมทําวิทยานิพนธ) จะตองเลือกศึกษารายวิชา ไมนอยกวา 8 หนวยกิต ดังตอไปนี้

ACT60-713 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร Business Law and Taxation

4 (4-0-8)

ACT60-714 รายงานการเงินและการวิเคราะหงบการเงิน Financial Report and Analysis

4 (4-0-8)

BUS60-625 การวิเคราะหธุรกิจ Business Analytic

4 (4-0-8)

BUS60-726 การจัดการธุรกิจระหวางประเทศ International Business Management

4 (4-0-8)

BUS60-727 การวิเคราะหเชงิปริมาณเพ่ือการจัดการทางธุรกิจ Quantitative Analysis for Business Management

4 (4-0-8)

BUS60-728 การจัดการธุรกิจอยางยั่งยืน Sustainable Business Management

4 (4-0-8)

LGT60-761 การจัดการการดําเนินงาน Operations Management

4 (4-0-8)

LGT60-762 การจัดการโลจิสติกสและโซอุปทาน Logistics and Supply Chain Management

4 (4-0-8)

MAR60-742 การวางแผนและกลยุทธทางการตลาด Marketing Strategies and Planning

4 (4-0-8)

MGT60-783 การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองคการ Organization Change and Development

4 (4-0-8)

MGT60-784 การจัดการการสื่อสารและการเจรจาตอรอง Communication Management and Negotiation

4 (4-0-8)

MGT60-785 ความคิดสรางสรรคและการออกแบบผลิตภัณฑ Creative Thinking and Product Design

4 (4-0-8)

4) หมวดวิทยานิพนธและการคนควาอิสระ

การคนควาอิสระ 7 หนวยกิตMBA60-910 การคนควาอิสระ

Independent Study 7 หนวยกิต

วิทยานิพนธ 15 หนวยกิต MBA60-921 วิทยานิพนธ

Thesis 15 หนวยกิต

19

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 20: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ความหมายของรหัสวิชา รหัสวิชาประกอบดวยรหัสตัวอักษร (A) และรหัสตัวเลข (9) รวม 6 หลัก ซ่ึงมีรูปแบบ AAA60-999

รหัสตัวอักษร ประกอบดวยตัวอักษร 3 ตัว แทนอักษรยอของสาขาวิชาดังนี้ ACT หมายถึง Accounting BUS หมายถึง Business ECN หมายถึง Economics FNC หมายถึง Finance HRM หมายถึง Human Resource Management LGT หมายถึง Logistics and Supply Chain Management MBA หมายถึง Master of Business Administration MAR หมายถึง Marketing MGT หมายถึง Management

ความหมายของเลขรหัสวิชา ประกอบดวยตัวเลข 3 หลัก หลักท่ี 1 หมายถึง ชั้นป

6 หมายถึง ชั้นปท่ี 1 7 หมายถึง ชั้นปท่ี 2 9 หมายถึง รายวิชาวิทยานิพนธ (Thesis) การศึกษาอิสระ

(Independent Study) และรายวิชาสัมมนา (Seminar) หลักท่ี 2 หมายถึง กลุมวิชาในสาขา

1 หมายถึง Accounting 2 หมายถึง Business and Management 3 หมายถึง Human Resource Management 4 หมายถึง Marketing 5 หมายถึง Finance 6 หมายถึง Logistics and Supply Chain Management

7 หมายถึง Economics 8 หมายถึง Management 9 หมายถึง Integrated Discipline

หลักท่ี 3 หมายถึง ลําดับรายวิชาในกลุม

20

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 21: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

3.1.3 แผนการศึกษา แผน ก แบบ ก 2 (จํานวนหนวยกิตรวม 55 หนวยกิต)

* หมายถึงรายวิชาท่ีไมนับหนวยกิต

แผน ข (จํานวนหนวยกิตรวม 55 หนวยกิต)

* หมายถึงรายวิชาท่ีไมนับหนวยกิต

ช้ันป ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 3

1 ACT60-611 การบัญชีการเงิน* HRM60-632 พฤติกรรมองคการ

และการจัดการ ทรัพยากรมนุษย

HRM60-631 ภาวะผูนํา และการส่ือสาร*

4 (4-0-8) 4 (4-0-8)

2 (1-2-3)

BUS60-621 สถิตเิพ่ือการจัดการธุรกิจ* ECN60-671 ก ารวิ เค ราะห เศ รษ ฐกิ จ

สําหรับการตัด สิน ใจทางธุรกิจ

BUS60-622 พันธกจิเพ่ือสังคม*

4 (4-0-8)

4 (4-0-8)

2 (1-2-3)

ACT60-612 การบัญชเีพ่ือการ จัดการ

FNC60-651 การจัดการการเงิน MAR60-641 การจัดการการตลาด

4 (4-0-8)

4 (4-0-8) 4 (4-0-8)

รวม 10 หนวยกิต (นับ 4 หนวยกิต) รวม 10 หนวยกิต (นับ 4 หนวยกิต) รวม 12 หนวยกิต 2 BUS60-724 นวัตกรรมและการ

ประกอบธุรกิจ BUS60-723 การวจิัยทางธรุกจิ

และการจัดการ MBA60-921 วิทยานิพนธ

4 (4-0-8)

4 (4-0-8)

4หนวยกิต

MGT60-782 การจัดการกลยุทธ MGT60-781 การบริหารโครงการ MBA60-921 วิทยานิพนธ

4 (4-0-8) 4 (4-0-8) 4หนวยกติ

BUS60-929 สัมมนาทางการบริหารธุรกิจ

MBA60-921 วิทยานิพนธ

4 (4-0-8)

7 หนวยกิต

รวม 12 หนวยกิต รวม 12 หนวยกิต รวม 11 หนวยกิต

ชั้นป ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 3

1 ACT60-611 การบญัชีการเงิน* HRM60-632 พฤติกรรมองคการ

และการจัดการ ทรัพยากรมนุษย

HRM60-631 ภาวะผูนําและการส่ือสาร *

4 (4-0-8) 4 (4-0-8)

2 (1-2-3)

BUS60-621 สถิตเิพ่ือการจัดการธุรกจิ*

ECN60-671 การวิเคราะห เศรษฐกิจเพื่ อการตัดสินใจทางธุรกิจ

BUS60-622 พันธกิจเพื่อสังคม*

4 (4-0-8)

4 (4-0-8)

2 (1-2-3)

BUS60-723 การวิจัยทางธุรกิจและการจัดการ

FNC60-651 การจัดการการเงิน MAR60-641 การจัดการการตลาด

4 (4-0-8)

4 (4-0-8) 4 (4-0-8)

รวม 10 หนวยกิต (นับ 4 หนวยกิต) รวม 10 หนวยกิต (นับ 4 หนวยกิต) รวม 12 หนวยกิต ชั้นป ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 3

2 ACT60-612 การบัญชีเพื่อการจัดการ

BUS60-724 นวัตกรรมและการ ประกอบธุรกิจ

XXX60-xxx วิชาเลือก MBA60-910 การคนควาอิสระ

4 (4-0-8)

4 (4-0-8)

4 (4-0-8) 2หนวยกิต

MGT60-782 การจัดการกลยุทธ

MGT60-781 การบริหารโครงการ XXX60-xxx วิชาเลือก MBA60-910 การคนควาอิสระ

4 (4-0-8)

4 (4-0-8) 4 (4-0-8) 2หนวยกิต

BUS60-929 สัมมนาทางบริหารธุรกิจ MBA60-910 การคนควาอิสระ

4(4-0-8)

3หนวยกิต

รวม 14 หนวยกิต รวม 14 หนวยกิต รวม 7 หนวยกิต

21

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 22: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

3.1.4 คําอธิบายรายวิชา 1.1.4.1 หมวดวิชาเสริมพ้ืนฐาน 12 หนวยกิต

ACT60-611 การบัญชีการเงิน Financial Accounting

4(4-0-8)

แนวคิดพ้ืนฐานทางการบัญชี บทบาทของการบัญชีตอสังคม หลักการและการบันทึกขอมูลทางการบัญชีและการจัดทํางบการเงิน การบัญชีและการรายงานสําหรับสินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ ในลักษณะตาง ๆ ตามรูปแบบของธุรกิจ การวิเคราะหผลการดําเนินงานการเงินของธุรกิจ

Basic concepts of accounting; the social role of accounting; role and recording and preparing financial statements; accounting and reporting concepts for assets, liabilities, and owners’ equity of various types of businesses; analysis of financial performance of the business.

BUS60-621 สถิติเพ่ือการจัดการธุรกิจ Statistics for Business Management

4(4-0-8)

แนวคิดการใชสถิติเพ่ือการวิจัยทางธุรกิจ ลักษณะขอมูลทางธุรกิจ การเก็บรวบรวมวิธีวิเคราะหขอมูล การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง การประมาณคา และการทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะหความถดถอยและสหสัมพันธ การวิเคราะหอนุกรมเวลา และการใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการทดสอบไคสแควร การวิเคราะหความแปรปรวน

Statistical concepts for business research; characteristics of business data; data collection methods; data analysis, estimating and testing parameters, regression and correlation analysis, time series analysis; and the use of software packages to test chi-square. Analysis of variance.

BUS60-622 พันธกิจเพ่ือสังคม Social Engagement

2(2-0-4)

จัดโครงการตามความตองการและการมีสวนรวมของชุมชน โดยอาศัยความรูในสาขาวิชาที่เก่ียวของ โดยใชข้ันตอนการจัดการโครงการประกอบดวย การกําหนดโครงการ การจัดเตรียมโครงการ การประเมินโครงการและการอนุมัติโครงการ การนําโครงการไปปฏิบัต ิการประเมินผลโครงการ

Conducting project to satisfy the community’s needs and engage with the community in the field of related studies by implementing procedure of project management: project formulation, project preparation, project assessment and project approval, project implementation, and project evaluation.

HRM60-631 ภาวะผูนําและการส่ือสาร Leadership and Communication.

2(1-2-3)

ภาวะผูนําในการสรางทีมงานและสรางสภาพแวดลอมในการทํางานรวมกัน ข้ันตอนการเปนผูนําในบริบทของทีมและสรางพลวัตของกลุมเพ่ือการเปลี่ยนแปลง กระบวนการและเนื้อหาประเด็นของการสรางทีมงาน และการแกปญหาท่ีมีประสิทธิภาพ ทักษะการตัดสินใจในสภาพแวดลอมการทํางาน

22

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 23: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

รวมกัน โดยเนนการศึกษาผานกิจกรรมพัฒนาทักษะการทํางานเปนทีม วิธีการสื่อสารทางธุรกิจท่ีมีประสิทธิภาพ ท้ังการวิเคราะห การนําเสนอ การเขียนและการประชุมอยางมีประสิทธิผล กระบวนการคิด วิเคราะห และการเลือกใชวิธีการสื่อสารทางธุรกิจท่ีมีประสิทธิภาพ

Leadership in team building and collaborative environments; leadership process in the context of the team and dynamics of the group for change; investigates process and content issues of team building; interpersonal and group relations and effective problem solving; decision making skills in collaborative environments; emphasis through skill development and teamworkว effective business communications: analysis, presentation, writing and meeting effectiveness analysis; and selection process used to communicate business performance.

3.1.4.2 หมวดวิชาบังคับ 40 หนวยกิต ACT60-612 การบัญชีเพ่ือการจัดการ

Managerial Accounting 4(4-0-8)

บทบาทและความสําคัญของขอมูลทางการบัญชีเพ่ือการจัดการ การวางแผน การควบคุม การวัดผลการปฏิบัติงาน และการตัดสินใจเก่ียวกับการดําเนินงานของธุรกิจ ท้ังระยะสั้น และระยะยาว แนวคิด ความหมาย และการจัดการตนทุนเพ่ือสรางประสิทธิภาพในการดําเนินงานของธุรกิจ การวิเคราะหขอมูลทางการบัญชีการเงินเพ่ือการจัดการธุรกิจ

Role and importance of accounting information for management; planning, controlling, performance evaluation and short-term and long-term decision making; concept and definition of cost, cost management for improving the effectiveness of a firm’s operations; analysis of accounting information for business management.

BUS60-723 การวิจัยทางธุรกิจและการจัดการ Business and Management Research

4 (4-0-8)

วิชาบังคับกอน: BUS60-621 สถิติเพ่ือการจัดการธุรกิจ Prerequisite: BUS60-621 Statistics for Business Management

แนวคิดและวัตถุประสงคของการวิจัยทางธุรกิจและการจัดการ หลักการ ระเบียบวิธ ีและกระบวนการวิจัยทางธุรกิจ การคนหาปญหา การออกแบบวิจัย การสรางและพัฒนาเครื่องมือวิจัย การกําหนดตัวอยาง แหลงท่ีมาและการเก็บขอมูล การประยุกตใชสถิติเพ่ือการวิเคราะหและการนําเสนอขอมูลการวิจัย ตลอดจนการจัดทํารายงานการวิจัย โดยเนนใหนักศึกษาตองสามารถทําการวิจัย และเสนอผลงานวิจัยทางดานธุรกิจและการจัดการได

Concepts and objectives of business and management research; principles; methodology and process of business research; instrument design; development of research tools; sampling methods, data collection methods; statistical analysis of data; research presentation and preparation research paper with an emphasis on research ability and presentation.

23

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 24: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

BUS60-724 นวัตกรรมและการประกอบธุรกิจ Innovation and Entrepreneurship

4 (4-0-8)

คุณลักษณะและทักษะท่ีจําเปนสําหรับการเปนผูประกอบการ การคิดริเริ่มสรางสรรคสิ่งใหมเพ่ือการประกอบธุรกิจของตนเอง ปญหา และอุปสรรคของการทําธุรกิจใหมโดยเนนธุรกิจ การแสวงหาโอกาสทางธุรกิจ การจัดทําแผนธุรกิจ ตลอดจนการประยุกตแนวคิดของการประกอบธุรกิจมาปรับปรุงและเพ่ิมประสิทธิภาพในการทํางานขององคการท่ัวไป

Characteristics and skills of entrepreneurship; creative thinking for starting own business; problems and obstacles of new business management; seeking new business opportunities; preparing business plan; implementation of entrepreneurship concepts for improving the effectiveness of a firm’s operations.

BUS60-929 สัมมนาทางการบริหารธุรกิจ Seminar in Business Administration

4 (4-0-8)

ศึกษาเชิงอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประเด็นเก่ียวกับแนวคิดการบริหารธุรกิจสมัยใหมจากผูเชี่ยวชาญ ศึกษาเรียนรูภาคสนามถึงแนวปฏิบัติท่ีดีในการบริหารจัดการท้ังในและตางประเทศ ตลอดจนมีการนําเสนอประเด็นนาสนใจทางการบริหารธุรกิจ และจัดทํารายงานทางการศึกษาอยางมีมาตรฐาน

Critical issues about the concept of modern management; experience sharing with expertise, field study Good practices in both domestic and international management. as well as presenting interesting business issues and prepare a report on educational standards.

ECN60-671 การวิเคราะหทางเศรษฐกิจเพ่ือการตัดสินใจทางธุรกิจ Economic Analysis for Business Decisions

4 (3-2-7)

เครื่องมือพ้ืนฐานของเศรษฐศาสตรจุลภาคและมหภาค แนวคิดเศรษฐศาสตรจุลภาคของอุปสงคและอุปทานการผลิตคาใชจายและโครงสรางตลาด ปญหาทางเศรษฐกิจมหภาคท่ีเก่ียวของกับการกําหนดระดับรวมเศรษฐกิจของการผลิตการจางงานและอัตราเงินเฟอและบทบาทของนโยบายเศรษฐกิจมหภาคเพ่ือพัฒนาความเขาใจในความสัมพันธระหวางองคกรและสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ

Basic tools of microeconomics and macroeconomics; microeconomic concepts of supply and demand, production, cost, and market structure; macroeconomic issues concerning the determination of an economy’s aggregate level of production, employment and inflation, role of macroeconomic policy; develop an understanding of the relationship between an enterprise and the economic environment in which it operate.

24

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 25: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

FNC60-651 การจัดการการเงิน Financial Management

4 (4-0-8)

วิชาบังคับกอน: ACT60-611 การบัญชีการเงิน Prerequisite: ACT60-611 Financial Accounting

การจัดการทางการเงินธุรกิจ การศึกษาความเปนไปไดทางดานการเงิน เครื่องมือในการวิเคราะหและตัดสินใจทางการเงิน ความเสีย่งและผลตอบแทน แนวคิด และกลยุทธในการจัดการเงินทุนหมุนเวียน การลงทุน การจัดหาเงินทุน โครงสรางเงินทุน รวมถึงการกําหนดมูลคาของหลักทรัพย ตนทุนเงินทุน นโยบายเงินปนผล การรวมกิจการและกลยุทธในการแกไขปญหาทางการเงินอ่ืน ๆ ของธุรกิจ

Business financial management; financial feasibility analysis; financial tools for decision making and analysis; risk and return, capital management; investment; financing; capital structure; valuation of financial assets; cost of capital; dividend policy; mergers and financial strategies used to solve business problems.

HRM60-632 พฤติกรรมองคการและการจัดการทรัพยากรมนุษย Organizational Behavior and Human Resource Management

4(4-0-8)

แนวคิดและทฤษฎีทางดานการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษยสมัยใหม บทบาทหนาท่ีของผูบริหารในดานการจัดการ กระบวนการจัดการ การออกแบบและพัฒนาองคการ หลักพ้ืนฐานและการวิเคราะหพฤติกรรมบุคคล และพฤติกรรมองคการ ความสัมพันธระหวางบุคคล และกลุมผูนํา ภาวะความเปนผูนํา อํานาจหนาท่ี การจูงใจ ขวัญและกําลังใจ การสื่อสารในองคการ ความขัดแยงและการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนภายในองคการ ประเด็นการศึกษาวิเคราะหการจัดการ และพฤติกรรมองคการภายใตการบริหารจัดการในยุคโลภาภิวัฒน

Concept and theory of modern human resource management and administration; roles of executives in managerial function, managerial process, organization design and development; basic principles and analysis of individual and organizational behavior, the relationship between individuals and group leader; leadership skills, authorities, motivation, will power, organizational communication; conflict and the organizational change; analysis of issues related to management organizational behavior in the globalized world.

MAR60-641 การจัดการการตลาด Marketing Management

4 (4-0-8)

แนวคิดเก่ียวกับการจัดการการตลาดสมัยใหม บทบาท และความสําคัญของการพัฒนาทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศตอการจัดการทางดานการตลาดของธุรกิจ การวิเคราะหทางการตลาด พฤติกรรมผูบริโภค การแบงสวนตลาด การกําหนดตลาดเปาหมายและกลยุทธในการแขงขัน บทบาทของขอมูลทางการตลาดและการวิเคราะหเพ่ือการตัดสินใจเก่ียวกับสวนผสมทางการตลาด การวางแผนและการกําหนดกลยุทธทางดานการตลาดใหเหมาะสมกับประเภท และรูปแบบของการดําเนินธุรกิจ

25

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 26: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

Concepts of modern marketing management; the roles and importance of technology development affecting marketing management; marketing analysis; consumer behavior; market segmentation; target market selecting; marketing strategies for competitiveness; the roles of marketing information; marketing mix analysis; marketing planning and strategies of various types of business.

MGT60-781 การบริหารโครงการ Project Management

4 (4-0-8)

การวางแผนโครงการ ความเปนไปไดของโครงการ เทคนิคและเครื่องมือท่ีใชในการวางแผนการปฏิบัติการ และการดําเนินการ การจัดลําดับข้ันตอนการดําเนินงาน การควบคุม และติดตามโครงการ และการประเมินผลโครงการในภาคสนาม และการนําเสนอผลกรณีศึกษา

Project planning the possibility of project, techniques and tools used in the planning of operations; sequences of operations, controlling and monitoring the project, evaluating the project in the field and case study presentation

MGT60-782 การจัดการกลยุทธ Strategic Management

4 (4-0-8)

เง่ือนไขรายวิชา: สอบผานรายวิชาในหมวดวิชาบังคับไมนอยกวา 4 รายวิชา และไดรับความเห็นชอบจากอาจารยผูสอน

Condition: Students must pass the compulsony core coureses no less than six subjects and receive permission from the lecturer.

การวิเคราะหสภาพแวดลอมท้ังภายในและภายนอกธุรกิจ ทิศทางในอนาคตของธุรกิจ การกําหนดภารกิจ นโยบาย เปาหมายและแผนกลยุทธของธุรกิจในระดับตาง ๆ ขององคการเพ่ือใหธุรกิจสามารถดํารงอยู และประสบความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจภายใตสภาพแวดลอมท่ีเปลี่ยนแปลง รวมท้ังการนําแผนกลยุทธไปปฏิบัติ ควบคุม ติดตามและประเมินผล ในการศึกษาจะเนนท่ีการใชกรณีศึกษา และเครื่องมือการเรียนการสอนท่ีมุงเนนเทคโนโลยีท่ีทันสมัย

Analysis of internal and external business environment; future business’ trends; identifying strategic direction, policy, goals and strategic plans for the success of business under the changing environment; implementing strategic plans, controlling and evaluation; emphasis on learning through case studies and business games.

3.1.4.3 หมวดวิชาเลือก ACT60-713 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

Business Law and Taxation 4 (4-0-8)

หลักกฎหมายแพงและพาณิชยท่ัวไป กฎหมายหางหุนสวนและบริษัทกฎหมาย ท่ีเก่ียวกับสัญญาทางธุรกิจ กฎหมายลมละลาย และกฎหมายท่ีเก่ียวกับการดําเนินธุรกิจอ่ืน ๆ ท่ีมีบทบาท และความสําคัญตอการดําเนินธุรกิจในยุคปจจุบัน ระบบและวิธีการจัดเก็บภาษีอากรในประเทศไทย การกําหนดนโยบายและการวางแผนภาษีเพ่ือการตัดสินใจทางธุรกิจ ปญหาทางภาษีอากรท่ีมีตอธุรกิจ

26

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 27: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

General principles of civil law and commercial law; partnerships law, limited company law; business contracts; bankruptcy law; systems and collection of tax in Thailand; tax policy and tax planning for business decision and tax problems in business issues.

ACT60-714 รายงานการเงินและการวิเคราะหงบการเงิน Financial Report and Analysis

4 (4-0-8)

ขอสนเทศทางการบัญชีท่ีนําเสนอในรูปของงบการเงิน และรายงานการเงินตาม มาตรฐานการบัญชี การใชขอสนเทศทางการบัญชีไดอยางมีประสิทธิภาพ เทคนิคและเครื่องมือตาง ๆ ท่ีใชในการวิเคราะหงบการเงิน การแปลความขอมูลท่ีวิเคราะหได และการนําไปใชในการตัดสินใจเพ่ือการบริหาร ตลอดจนกําหนดนโยบายทางดานการเงินของกิจการในดานตางๆ

Accounting information presented in financial reports and financial statements with accounting standards; efficiency usage of accounting information; techniques and tools for accounting report analysis; interpretation of results for management decision making and financial policy making.

BUS60-625 การวิเคราะหธุรกิจ 4 (4-0-8) Business Analytic การวิเคราะหขอมูลขนาดใหญเพ่ือการตัดสินใจในการจัดการ มุงเนนไปท่ีการทําความ

เขาใจเก่ียวกับแนวคิดหลักการตัดสินใจในการบริหารและความสามารถในการนําไปประยุกตใชกับปญหาทางธุรกิจท่ีแทจริง

Analyze big data for management decisions; focuses on understanding of key concepts of managerial judgment; apply to real business problems.

แนวคิดในการกําหนดนโยบายและการดําเนินงานของธุรกิจระหวางประเทศ ปญหา และอุปสรรคในการประกอบธุรกิจระหวางประเทศ ศึกษาปจจัยทางดานวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง สังคม เทคโนโลยีและการแขงขันท่ีมีอิทธิพลตอการกําหนดกลยุทธในการจัดการการตลาด การเงิน และดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ

Concepts of international business operations; problems and obstacles of international business operations; study of culture, economy, politics, society, technology and competition affecting marketing, financial and international business strategy and International business operation.

BUS60-726 การจัดการธุรกิจระหวางประเทศ International Business Management

4 (4-0-8)

27

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 28: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

BUS60-727 การวิเคราะหเชิงปริมาณเพ่ือการจัดการทางธุรกิจ Quantitative Analysis for Business Management

4 (4-0-8)

การประยุกตตัวแบบทางคณิตศาสตรเพ่ือวิเคราะหปญหา การวิเคราะหโปรแกรมเชิงเสน การขนสง วิเคราะหขายงาน ทฤษฎีเกม ปญหาการจัดสรรทรัพยากร การจําลองทางคณิตศาสตร เพ่ือการตัดสินใจ และการใชโปรแกรมสําเร็จรูปวิเคราะหผลทางสถิต ิ

Application of quantitative models for business problem solving; linear programming analysis; transportation problems; network analysis; game theory; resource allocation; quantitative simulation and other quantitative models for business management; software program to analyze statistical results.

BUS60-728 การจัดการธุรกิจอยางย่ังยืน Sustainable Business Management

4 (4-0-8)

แนวคิดในการจัดการองคกรท่ีมีผลกระทบเชิงลบนอยท่ีสุดตอสภาพแวดลอมชุมชน สังคมหรือเศรษฐกิจในระดับโลก นโยบายดานสิ่งแวดลอมและสิทธิมนุษยชนท่ีกาวหนา

Concept to manage an enterprise that has minimal negative impact on the global or local environment, community, society, or economy, progressive; environmental and human rights policies.

LGT60-761 การจัดการการดําเนนิงาน Operations Management

4 (4-0-8)

แนวคิดในการจัดการดําเนินงานภายใตการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีในยุคปจจุบัน กระบวนการและหนาท่ีในดานการจัดการการดําเนินงาน การออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑหรือบริการ การวิเคราะหและวางแผนกระบวนการผลิตหรือบริการ การกําหนดมาตรฐานการดําเนินงาน การควบคุมการดําเนินงาน การจัดการดานคุณภาพ เทคนิคในการจัดการ และควบคุมสินคาคงคลัง ผลกระทบจากสภาพ แวดลอมภายนอกตอการดําเนินงาน

Concepts of operations management; the process and function of operations management; product and service design; the analysis and planning of manufacturing and service process; job standard determination, operations control; quality management, Techniques in inventory management and control.; the external environment affecting operations management.

LGT60-762 การจัดการโลจิสติกสและโซอุปทาน Logistics and Supply Chain Management

4 (4-0-8)

แนวคิดการจัดการโลจิสติกส ครอบคลุมต้ังแตกระบวนการขนสง การจัดซ้ือวัตถุดิบจนถึงการสงมอบผลิตภัณฑใหลูกคา การจัดการสินคาคงคลัง การบริหารคลังสินคา เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ืองานดานโลจิสติกส แนวคิดการจัดการโซอุปทานท้ังในและระหวางประเทศ การประเมินความสามารถของโซอุปทาน การนํากลยุทธโลจิสติกสและการจัดการโซอุปทานไปปฏิบัติเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการดําเนินงานอยางยั่งยืน

28

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 29: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

Overview of logistics management concept; cover the process of transportation, purchasing from raw materials to customer delivery, inventory management, warehouse management, information technology for logistics; concept of supply chain management within and between countries, supply chain performance measurement; implementation of logistics and supply chain management strategies to increase productivity and sustainability.

MAR60-742 การวางแผนและกลยุทธทางการตลาด Marketing Strategies and Planning

4 (4-0-8)

การวิเคราะหสถานการณทางการตลาด การกําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายทางการตลาด ศึกษาลักษณะ ความสําคัญ และรายละเอียดของกระบวนการจัดการดานตาง ๆ ในการวางแผนและกําหนดกลยุทธการตลาดสําหรับ ตลาดผูบริโภค ตลาดอุตสาหกรรม ตลาดบริการ และตลาดสังคมออนไลน ศึกษากระบวนการวางแผนการตลาด และกําหนดกลยุทธการตลาดใหเหมาะสมกับสถานการณทางการตลาด เพ่ือใหธุรกิจสามารถประสบความสําเร็จทางการตลาด ในสภาวะการแขงขันท่ีรุนแรง ในการศึกษาจะใชกรณีศึกษาและการอภิปรายเปนหลัก

Marketing situation analysis; formulating marketing objectives and goals, characteristics, importance and process of marketing strategy formulation for consumer market, industrial market, service market and social network market; marketing planning process and formulating marketing strategies suitable for marketing situation with an emphasis on leaning though case studies and discussion.

MGT60-783 การเปล่ียนแปลงและพัฒนาองคการ Organization Change and Development

4 (4-0-8)

การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมท่ีมีผลกระทบตอองคการ กลยุทธและเทคนิควิธีการจัดการตอการเปลี่ยนแปลง ท้ังในระดับปจเจกบุคคล กลุม และองคการ การพัฒนาองคการเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลง ปญหาในการเปลี่ยนแปลงองคการ การตอตานและแนวทางแกไข

Environmental change affecting organization; strategies and techniques in change management at the individual, group and organization level; organizational development; problems of organizational change; resistance to organizational change and problems solution.

MGT60-784 การจัดการการส่ือสารและการเจรจาตอรอง Communication Management and Negotiation

4 (4-0-8)

แนวคิดทฤษฎีการสื่อสาร บทบาทและวิธีการเผยแพรขอมูลและสื่อสารในองคการ และนอกองคการยุคดิจิทัล ดําเนินการจัดตั้งเครือขายการสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพ รวมท้ังรูปแบบ และเทคนิคในการเจรจาตอรองเพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดแกองคการ

29

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 30: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

Communication Theory Concept; Roles and methods of communication: both inside and outside the organization in digiatal era; effective communication networking; patterns and techniques of negotiation for maximization of organizational benefits.

MGT60-785 ความคิดสรางสรรคและการออกแบบผลิตภัณฑ Creative Thinking and Product Design

4 (4-0-8)

เทคนิคในการคนหาและพัฒนาไอเดีย แนวคิดพ้ืนฐานการออกแบบ กระบวนการออกแบบ ประเภทผลิตภัณฑ และการเชื่อมโยงความคิดสรางสรรคสูการออกแบบผลิตภัณฑ

Techniques for finding and developing ideas; basic design concepts; design process Product type and linking creativity to product design.

หมวดวิทยานิพนธและการคนควาอิสระ MBA60-910 การคนควาอิสระ

Independent Study 7 หนวยกิต

ศึกษาและคนควาดวยตนเอง ในหัวขอวิจัยท่ีนักศึกษาสนใจและเก่ียวของกับการศึกษาในหลักสูตร หรืออาจเปนการทําแผนธุรกิจก็ได ภายใตการดูแลแนะนําของอาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระ

Independently conduct a research on a topic of interest in the field of study or write a business plan under the supervision of the advisor.

MBA60-921 วิทยานิพนธ Thesis

15 หนวยกิต

วิจัยดานการบริหารธุรกิจและการจัดการ ในประเด็นหัวขอท่ีสนใจภายใตการดูแลแนะนําของอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ

Research on a topic of interest in the field of business administration under the supervision of thesis advisor.

30

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 31: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

3.2 ช่ือ ตําแหนง และคุณวุฒิของอาจารยประจําหลักสูตร

ตําแหนงทางวิชาการ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา และสาขาวิชา

(เรียงลําดับจาก เอก-โท-ตรี), (สาขาวิชา), สถาบนั,ปทีส่ําเร็จการศึกษา) ผลงานทางวิชาการ

5 ปยอนหลัง

รองศาสตราจารย นายสมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ* Ph.D. (Technopreneurship and Innovation Management), จุฬาลงกรณ มหาวทิยาลัย, 2553

บช.ม. (การบัญชีตนทุน), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2533 บธ.บ. (การบัญช)ี, สถาบนัเทคโนโลยีราชมงคล, 2530 บธ.บ. (การจัดการทั่วไป), มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2530 บธ.บ. (การเงินการธนาคาร), มหาวิทยาลยัรามคําแหง, 2530

มีผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

อาจารย นางสาววิภาวรรณ กลิ่นหอม Ph.D. (Human Resource Development), มหาวิทยาลัยบูรพา, 2555 ศศ.ม. (การบริหารองคการ), มหาวิทยาลยัศรีปทุม, 2541 พณ.บ. (การตลาด), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2536

มีผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

อาจารย นางสาวจรรยา ชาญชัยชูจิต Ph. D. (Logistics and Supply Chain Management), Curtin University, Australia, 2558

M.Sc. (Operational Research), University of Hertfordshire, U.K. 2543

วท.บ. (คณิตศาสตร), มหาวิทยาลัยมหิดล, 2540

มีผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

อาจารย นางนีรนาท แกวประเสริฐ ระฆังทอง* ปร.ด. (เศรษฐศาสตร), มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2549 พบ.ม. (การเงิน/อุตสาหกรรม/แรงงาน), สถาบนับณัฑิตพัฒนบริหารศาสตร,

2537 ศ.บ. (เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ), มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2534

มีผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

อาจารย นางรุงรวี จิตภักด*ี Ph.D. (Regional and Rural Development Planning), Asian Institute of Technology, 2554

มีผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

31

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 32: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ตําแหนงทางวิชาการ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา และสาขาวิชา

(เรียงลําดับจาก เอก-โท-ตรี), (สาขาวิชา), สถาบนั,ปทีส่ําเร็จการศึกษา) ผลงานทางวิชาการ

5 ปยอนหลัง

M.B.A. (International Tourism & Hospitality Management), Griffith University,Australia, 2548

รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร), มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร, 2543 ศ.บ. (ภาษาอังกฤษ), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2536

อาจารย นางจนิตนยี รูซื่อ* Ph.D. (Economics), มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2556 ศ.ม. (เศรษฐศาสตร), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548 ศ.บ. (เศรษฐศาสตรเกษตร อุตสาหกรรม และระหวางประเทศ), มหาวิทยาลัย

วลัยลักษณ, 2545

มีผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

อาจารย นางพิมพลภัส พงศกรรังศิลป Ph.D. (Management Studiesin Tourism) University of Exeter, United Kingdom ,2554

วท.ม. (อุทยานและนนัทนาการ) มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร, 2545 วท.บ. (วนศาสตร) มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร, 2539

ผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

อาจารย นายปยะ ปานผูมีทรัพย Ph.D. (Energy Economics and Finance) : Heriot – Watt University U.K., 2555

พบ.ม. (เศรษฐศาสตรธุรกิจ), สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร, 2538 พณ.บ. (การเงินและการธนาคาร), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2535

ผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

อาจารย นางสาวพรเพ็ญ ทิพยนา Ph.D. Finance, สถาบนั บัณฑติพัฒนบริหารศาสตร, 2558 บธ.ม. (บริหารธุรกิจ), มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ, 2542 บธ.บ. (บริหารธุรกิจ), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2535

ผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

อาจารย นางสาวสมจินตนา คุมภัย รป.ด. (การบริหารทรัพยากรมนษุย), สถาบนับณัฑิต พัฒนบริหารศาสตร,2553

รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั, 2537

ผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

32

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 33: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ตําแหนงทางวิชาการ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา และสาขาวิชา

(เรียงลําดับจาก เอก-โท-ตรี), (สาขาวิชา), สถาบนั,ปทีส่ําเร็จการศึกษา) ผลงานทางวิชาการ

5 ปยอนหลัง

ร.บ. (บริหารรัฐกิจ), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2531 ผูชวยศาสตราจารย นายสพุิศ ฤทธิ์แกว* Ph.D. (Applied Mathematics), University of Innsbruck, Austria,

2538 M.Sc. (Mathematics), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2528 B.Sc. (Mathematics), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2524

ผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

ผูชวยศาสตราจารย นายศิวฤทธิ ์พงศกรรังศิลป Ph.D. (Management Studies in Marketing), University of Exeter, UK, 2553

บธ.ม. (บริหารธุรกิจ), มหาวิทยาลัยแมโจ, 2542 บธ.บ. (การตลาด), มหาวิทยาลยัแมโจ, 2539

ผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

ผูชวยศาสตราจารย นางภัทรวรรณ แทนทอง Ph.D. (Marketing and International Business), Old Dominion University, U.S.A., 2546

M.B.A. (Marketing), Old Dominion University, U.S.A., 2540 M.B.A. (Business Administration), มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

หาดใหญ, 2538 น.บ. (นิติศาสตร), มหาวิทยาลยัสโุขทัยธรรมาธิราช, 2534 B.A. (Economics), มหาวิทยาลัยหอการคาไทย , 2523

ผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

อาจารย นางพนิดา แชมชาง Ph.D. (Operations Research), Case Western Reserve University, U.S.A., 2543

M.S. (Management Science) Case Western Reserve University, U.S.A., 2541 M.S. (Operations Research) University of Delaware, U.S.A., 2539 วท.บ. (คณิตศาสตร), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2536

ผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

33

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 34: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ตําแหนงทางวิชาการ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา และสาขาวิชา

(เรียงลําดับจาก เอก-โท-ตรี), (สาขาวิชา), สถาบนั,ปทีส่ําเร็จการศึกษา) ผลงานทางวิชาการ

5 ปยอนหลัง

ผูชวยศาสตราจารย นางชูลีรัตน คงเรือง Ph.D. (Economics), Nagoya University, Japan,2547 M.Econ. (Economics), Wakayama University, Japan, 2544 ศ.บ. (เศรษฐศาสตร), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิรฒ, 2539

ผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

อาจารย นายพงศพนัธุ คําพรรณ* ค.ด. (พัฒนศึกษา-เศรษฐศาสตรการศึกษา), จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2558 ศ.ม. (เศรษฐศาสตรการศึกษา), มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ, 2547 ศ.บ. (เศรษฐศาสตรธุรกิจ), มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2545

ผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

อาจารย นางสาวอรอนงค เฉียบแหลม Ph.D. (Natural Resources Management) , Asian Institute of Technology, 2557

วท.ม. (อุทยานและนนัทนาการ) มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร, 2548 วท.บ. (วนศาสตร) มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร, 2545

ผลงานเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ภาคผนวก ง)

*คือ อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

3.3 อาจารยพิเศษ

ตําแหนงทางวิชาการ ชื่อ-สกลุ คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา และสาขาวิชา

(เรียงลําดับจาก เอก-โท-ตรี), (สาขาวิชา), สถาบัน,ปท่ีสําเร็จการศึกษา) ผลงานทางวิชาการ

5 ปยอนหลัง

ศาสตราจารย นางสุนันทา เสียงไทย Ph.D. (Labor and Industrial Relations), Institute of Labor and Industrial Relations, University of Illinois,USA 2527

A.M. (Labor and Industrial Relations), Institute of Labor and Industrial Relations, University of Illinois, 2522

B.A. (ภาษาอังกฤษ), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั, 2518 รองศาสตราจารย นางจินตนา บุญบงการ M.B.A. (Management), Northern Arizona University, USA 2515

B.Acc. (Accounting), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2515

34

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 35: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ตําแหนงทางวิชาการ ชื่อ-สกลุ คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา และสาขาวิชา

(เรียงลําดับจาก เอก-โท-ตรี), (สาขาวิชา), สถาบัน,ปท่ีสําเร็จการศึกษา) ผลงานทางวิชาการ

5 ปยอนหลัง

อาจารย นายเกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค Ph.D. (Stategic Human Resource Management), Charles Sturt University, Australia2544 สค.ม. (สังคมวิทยา) วท.บ. (พาณิชยนาวี)

ผูชวยศาสตราจารย นายสังวรณ งัดกระโทก Ph.D. (Measurement and Quantitative Methods), Michigan State University, USA 2552 ค.ม. (การวัดและประเมินผลการศกึษา), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542 ค.บ. (คุรุศาสตร), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540

อาจารย นางสาวญาณินี ทรงขจร Ph.D. (Technopreneurship and Innovation Management), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554 M.S. (Technology Management), มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ, 2546 B.S. (Computer Graphic), มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ, 2542

อาจารย นายพันธณภัทร เศวตภาณุวงศ Post-Doc Research Funds (Business Visualization through Multi-touch Games), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2555

Ph.D. (Technopreneurship and Innovation Management), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2554 M.S. (Management Information System), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2546 B.Eng. (Telecommunications), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540

อาจารย นางฬุลิยา ธีระธัญศิริกุล Ph.D. (Management), Asian Institute of Technology, 2555 M.B.A. (บริหารธุรกิจ), มหาวิทยาลัยวลยัลักษณ, 2546 B.S. (Accounting), มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2535

อาจารย นายตุลย วงศศุภสวัสดิ ์ Ph.D. (บริหารธุรกิจอุตสาหกรรม), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาคุณทหารลาดกระบัง M.B.A. (บริหารธุรกิจ), มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ B.B.A. (Marketing, Magna Cum Laude honors), มหาวิทยาลยัอัสสมัชัญ

35

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 36: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

4. องคประกอบเกี่ยวกับประสบการณภาคสนาม (การฝกงาน หรือสหกิจศึกษา)หลักสูตรจัดใหมีกิจกรรมภาคสนามในรายวิชา อีกท้ังการศึกษาดูงานท้ังในและตางประเทศ โดย

หลักสูตรสนับสนุนคาใชจายบางสวน 4.1 มาตรฐานผลการเรียนรูของประสบการณภาคสนาม

เปนไปตามแนวทางการพัฒนาการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 โดยการมุงเนนการพัฒนาทักษะสําหรับการเปนผูบริหาร โดยนักศึกษาตองสามารถนําความรูท่ีไดรับจากกิจกรรมภาคสนามมาวิเคราะห และประยุกตใชได

4.2 ชวงเวลา ภาคการศึกษาท่ี 3 ของปการศึกษาท่ี 1 และ 2 4.3 การจัดเวลาและตารางสอน

จัดทํากําหนดการแจงนักศึกษาลวงหนา

5. ขอกําหนดเกี่ยวกับการทําโครงงานหรือวิจัยการทําการศึกษาอิสระ หรือวิทยานิพนธในหัวขอทางดานบริหารธุรกิจและการจัดการท่ีนักศึกษา

สนใจและผานความเห็นชอบจากอาจารยท่ีปรึกษา 5.1 คําอธิบายโดยยอ

การทําวิทยานิพนธ คือ การทําวิจัยเพ่ือความกาวหนาทางวิชาการในสาขาบริหารธุรกิจและการจัดการ ภายใตการดูแลของคณะกรรมการและอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ซ่ึงมีหนาท่ีใหคําปรึกษาและควบคุมการทําวิทยานิพนธของนักศึกษาเปนรายบุคคลจนแลวเสร็จ พรอมเรียบเรียงเขียนเปนวิทยานิพนธ และมีบทความวิจัยหรือบทความวิชาการตีพิมพหรือเผยแพรผานสื่อทางวิชาการหรือวิชาชีพตางๆ ท่ีไดมาตรฐานและเปนท่ียอมรับ

การคนควาอิสระ คือ การศึกษาและคนควาดวยตนเอง ในหัวขอวิจัยท่ีนักศึกษาสนใจและเก่ียวของกับการศึกษาในหลักสูตร หรืออาจเปนการทําแผนธุรกิจก็ได ภายใตการดูแลแนะนําของอาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระ

5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู นักศึกษามีศักยภาพในการเรียนรูดวยตนเอง สามารถคิดและวิเคราะหปญหาอยางเปนระบบและ

มีหลักการ สามารถประยุกตใชศาสตรท้ังทางภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ดานบริหารธุรกิจในแขนงตางๆ และผลการเรียนรูท้ัง 5 ดาน มาใชในการทําวิทยานิพนธไดผลเปนท่ีนาพึงพอใจ

5.3 ชวงเวลา 5.3.1 หลักสูตร แผน ก แบบก2 เริ่มทําวิทยานิพนธตั้งแตภาคการศึกษาท่ี 1 ของปการศึกษาท่ี 2 53.2 หลักสูตร แผน ข ทําการคนควาอิสระ ตั้งแตภาคการศึกษาท่ี 1 ของปการศึกษาท่ี 2

5.4 จํานวนหนวยกิต 5.4.1 หลักสูตร แผน ก แบบ ก 2 ทําวิทยานิพนธ 16 หนวยกิต 5.4.2 หลักสูตร แผน ข ทําการคนควาอิสระ 8 หนวยกิต

5.5 การเตรียมการวิทยานิพนธ การเตรียมการและดําเนินการเพ่ือทําวิทยานิพนธประกอบดวยข้ันตอน ดังนี้

1) นักศึกษาขอแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ

36

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 37: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

2) นักศึกษายื่นคํารองขอสอบโครงรางวิทยานิพนธตอคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําหลักสูตรฯ พรอมกับแนบเอกสารท่ีจะใชสอบ (Thesis Proposal)

3) คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําหลักสูตรฯ จะแตงต้ังคณะกรรมการสอบตามขอบังคับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ วาดวยการศึกษาข้ันบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2560

4) นักศึกษาสอบโครงรางวิทยานิพนธ5) นักศึกษารายงานความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธทุกภาคการศึกษา6) นักศึกษายื่น คํารองขอสอบปองกันวิทยานิพนธ พรอมกับแนบรายงานฉบับสมบูรณ และ

ผลงานทางวิชาการจํานวน 1 บทความ ท่ีไดรับการตีพิมพหรืออยางนอยไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสาร ระดับชาติหรือระดับนานาชาติท่ีมีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวิชาการ หรือนําเสนอตอท่ีประชุมวิชาการระดับนานาชาติโดยบทความท่ีนําเสนอเปนบทความฉบับสมบูรณ (Full Paper) ไดรับการตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings)

7) คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําหลกัสูตรฯ จะแตงตั้งคณะกรรมการสอบตามขอบังคับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณวาดวยการศึกษาข้ันบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2560

8) นักศึกษาสอบปองกันวทิยานิพนธ 9) นักศึกษาสงเลมวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ

การคนควาอิสระ การเตรียมการและดําเนินการเพ่ือการคนควาอิสระประกอบดวยข้ันตอน ดังนี ้1) นักศึกษาขอแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษาการคนควาอิสระ2) นักศึกษายื่นคํารองขอสอบหัวขอการคนควาอิสระตอคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจํา

หลักสูตรฯ พรอมกับแนบเอกสารท่ีจะใชสอบ 3) คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําหลักสูตรฯ จะแตงตั้งคณะกรรมการสอบตามขอบังคับ

มหาวทิยาลัยวลัยลักษณวาดวยการศึกษาข้ันบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2560 4) นักศึกษาสอบหัวขอของการคนควาอิสระ5) นักศึกษายื่นคํารองขอสอบความกาวหนาของการคนควาอิสระตอคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา

ประจําหลักสูตรฯ พรอมกับแนบเอกสารท่ีจะใชสอบ 6) คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําหลักสูตรฯ จะแตงต้ังคณะกรรมการสอบตามขอบังคับ

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณวาดวยการศึกษาข้ันบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2560 7) นักศึกษาสอบความกาวหนาของการคนควาอิสระ8) นักศึกษายื่นคํารองขอสอบปองกันของการคนควาอิสระตอคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจํา

หลักสูตรฯ พรอมกับแนบเอกสารรายงานฉบับสมบูรณ และผลงานทางวิชาการจํานวน 1 บทความท่ีนําเสนอตอท่ีประชุมวิชาการระดับชาติหรือสูงกวาโดยบทความท่ีนําเสนอเปนบทความฉบับสมบูรณ

9) คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําหลักสูตรฯ จะแตงต้ังคณะกรรมการสอบตามขอบังคับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณวาดวยการศึกษาข้ันบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2560

10) นักศึกษาสอบปองกันของการคนควาอิสระ11) นักศึกษาสงเลมของการคนควาอิสระฉบับสมบูรณ

**มีการจัดทําการอบรมเชิงปฏิบัติการในทักษะท่ีจําเปนสําหรับการทําวิจัย ควบคูกับการเรียนรูระเบียบวิธีการวิจัยในรายวิชาท่ีกําหนดไว**

37

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 38: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

5.6 กระบวนการประเมินผล 5.6.1 วิทยานิพนธ การประเมินวิทยานิพนธ ในหัวขอดังตอไปนี้

1) การสอบหัวขอและโครงรางวิทยานิพนธ2) การรายงานความกาวหนาการทําวิทยานิพนธ3) การสอบวิทยานิพนธ4) การตีพิมพเผยแพรผลงานทางวิชาการท่ีเปนผลงานวิทยานิพนธหรือสวนหนึ่งของวิทยานิพนธ

5.6.2 การศึกษาอิสระ การประเมินการศึกษาอิสระ ในหัวขอดังตอไปนี้

1) การสอบประมวลความรู 2) การสอบหัวขอของการคนควาอิสระ3) การสอบความกาวหนาของการคนควาอิสระ4) การสอบปองกันของการคนควาอิสระ5) การเผยแพรผลงานทางวิชาการท่ีเปนผลงานการคนควาอิสระหรือสวนหนึ่งของการคนควาอิสระ

หมวดที ่4 ผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและการประเมินผล

1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษาคุณลักษณะพิเศษ กลยุทธหรือกิจกรรมของนักศึกษา

1. ความสามารถดานการใชภาษาอังกฤษ

- สงเสริมทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาอังกฤษ โดยการใชตําราภาษาอังกฤษในการเรียนการสอน - มีการเรียนเสริมพ้ืนฐานภาษาอังกฤษโดยเปนไปตามเง่ือนไขขอบังคับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2560

2. ความสามารถดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

- สงเสริมใหมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการเรียนรูและปฏิบัติงาน เชน การใชสื่ออิเล็กทรอนิกส การใชบริการหองสมุดผานระบบอินเทอรเน็ตท่ัวประเทศ (Journal link & VLS) และการใชซอฟตแวรพ้ืนฐานเปนตน - มีรายวิชาท่ีประยุกตใชเครื่องมือสารสนเทศเพ่ือการวิเคราะหขอมูล ไดแก วิชา BUS60-723 การวิจัยทางธุรกิจและการจัดการ ECN60-671 การวิเคราะหทางเศรษฐกิจเพ่ือการตัดสินใจทางธุรกิจ FNC60-651 การจัดการการเงิน BUS60-625 การวิเคราะหธุรกิจ BUS60-727 การวิเคราะหเชิงปริมาณเพ่ือการจัดการทางธุรกิจ

3. ดานภาวะผูนํา ความรับผิดชอบ และการมีวินัย

-มีการสรางภาวะความเปนผูนําในการปฏิบัติงานหรือการทําวิจัยรวมกับผูอ่ืนมีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานหรือสงงาน และมีกติกาในการสรางวินัยในตนเอง เชน การเขาเรียนตรงตามเวลา

38

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 39: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

2. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน

2.1 ดานคุณธรรม จริยธรรม 2.1.1 ผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม

1) มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซ่ือสัตยสุจริต สามารถจัดการปญหาทางคุณธรรม จริยธรรมท่ีซับซอนเชิงวิชาการหรือวิชาชีพ โดยคํานึงถึงความถูกตองและความรูสึกของผูอ่ืน

2) ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพและระเบียบขอบังคับตางๆ ขององคกรอยางเครงครัด 3) มีภาวะผูนําและผูตามในการสงเสริมใหมีการประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม

จริยธรรม ในสภาพแวดลอมของการทํางานและในชุมชนท่ีกวางขวางข้ึน 2.1.2 กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรูดานคณุธรรม จริยธรรม

ปลูกฝงใหนักศึกษามีระเบียบวินัยในตนเอง แตงกายเหมาะสมกับสถานภาพนักศึกษา มีความรับผิดชอบในการเขาเรียนและการสงงานตรงเวลา ฝกฝนภาวะความเปนผูนํา ผูตาม รวมถึงการเคารพสิทธิ และการรับฟงความคิดเห็นผูอ่ืนในการปฏิบัติงานเปนทีมและการทํางานวิจัย มีการสอดแทรกความรูดานคุณธรรม จริยธรรม ในการเรียนการสอน ท้ังในดานการดํารงชีวิตอยูในสังคม และการประกอบวิชาชีพ โดยเนนในเรื่องจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพเปนสําคัญ และมีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพ อาทิเชน ดานทรัพยสินทางปญญา ใหแกนักศึกษา รวมท้ังมุงเนนการใชประโยชนจากการองคความรูทางการ ศึกษาท้ังภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ และจากการทําวิจัย ในการปองกันและการแกไขปญหาในสังคม ท้ังในระดับชุมชน ทองถ่ิน และในระดับท่ีสูงข้ึน

2.1.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม มีการประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม ท้ังระหวางกําลังศึกษา และภายหลัง

สําเร็จการศึกษา ดวยวิธีการตางๆ เชน การสังเกต การสัมภาษณ การสนทนากลุม การใชแบบสอบถาม แบบประเมิน และแบบวัดผล โดยประเมินจากหลายๆ ดาน ดังนี ้

-มีรายวิชาเสริมสรางภาวะผูนํา คือ วิชา HRM60-631 ภาวะผูนําและการสื่อสาร และรายวิชาท่ีเสริมสรางความรับผิดชอบตอสังคม คือวิชา BUS60-622 พันธกิจเพ่ือสังคม

4. ดานบุคลิกภาพ -มีการสอดแทรกเรื่องการแตงกาย การเขาสังคม การมีมนุษยสัมพันธท่ีดี การเจรจาสื่อสาร และการวางตัวในการทํางานรวมกับบุคคลอ่ืนในระหวางการเรียนรู ท้ังทางภาคทฤษฎีและการทําการวิจัย -มีรายวิชาเสริมสรางบุคลิกภาพ คือ วิชา HRM60-631 ภาวะผูนําและการสื่อสาร

5. ดานจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ

- มีการใหความรูถึงดานจริยธรรม ดานบริหารธุรกิจ รวมถึงขอกฎหมายตางๆ ท่ีเก่ียวของกับการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพ

-มีรายวิชาเสริมสรางจริยธรรม คือ คือวิชา BUS60-622 พันธกิจเพ่ือสังคม BUS60-728 การจัดการธุรกิจอยางยั่งยืน

6. ดานศักยภาพในการปฏิบัติงานจริง

การเรียนการสอนมุงเนนใหนักศึกษามีความรูความเขาใจในเชิงลึก สามารถผลิตงานวิจัยท่ีมีประโยชนและนําไปประยุกตใชงานในภาคอุตสาหกรรมไดจริงในเชิงปฏิบัติ

39

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 40: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

1) ประเมินจากการมีวินัยในการเรียน การตรงเวลาในการเขาชั้นเรียน การทํางานเสร็จและสงงานตามกําหนด

2) ประเมินจากความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานเปนทีม การทํางานวิจัย และการเขารวมกิจกรรมในการใชองคความรูทางการศึกษาทําประโยชนตอสังคม

3) ประเมินจากความซ่ือสตัย และจรรยาบรรณในการสอบ4) ผูเรียนประเมินตนเอง และประเมินโดยเพื่อนและอาจารย โดยใชแบบประเมินและ

แบบวัดผล 5) ภายหลังสําเร็จการศึกษาใหมหาบัณฑิตประเมินตนเอง ประเมินจากผูใชมหาบัณฑิต

โดยใชแบบสอบถาม

2.2 ดานความรู 2.2.1 ผลการเรียนรูดานความรู

1) มีความรูและความเขาใจอยางถองแท ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาบริหารธุรกิจตลอดจนหลักการและทฤษฎีท่ีสําคัญ และนํามาประยุกตใชในการศึกษาคนควาทางวิชาการ

2) มีความเขาใจทฤษฎี การวิจัย และการปฏิบัติทางวิชาชีพ ในแขนงวิชาเฉพาะตางๆไดแก การบัญชีและการเงิน การตลาด เศรษฐศาสตร การจัดการทรัพยากรมนุษย การจัดการการดําเนินงาน ฯลฯ

3) สามารถพัฒนานวัตกรรมหรือสรางองคความรูใหม สะสมองคความรูจากงานวิจัยเพ่ือเชื่อมโยงกับการพัฒนาองคกร พัฒนานวัตกรรม รวมถึงการปองกันและการแกไขปญหาในสังคมอุตสาหกรรม ท้ังในระดับชุมชน ทองถ่ิน และในระดับท่ีสูงข้ึน

4) มีความแข็งแกรงทางวิชาการ และมีความสามารถท่ีจะพ่ึงตนเองไดในอนาคต2.2.2 กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรูดานความรู

เปนการจัดการเรียนรูในลักษณะ Research-based ท่ีมุงเนนใหนักศึกษามีความรูความเขาใจศาสตรในเชิงลึก ผสมผสานใหนําไปสูวิธีการดําเนินการท่ีเปนการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยใชวิธีการเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ และทันตอการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี เนนหลักการทางทฤษฎี และการประยุกตทางปฏิบัติในสภาพแวดลอมจริง การเรียนรูดวยตนเอง และการเรียนรูแบบมีสวนรวม เรียนรูจากสถานการณจริง มีการเรียนรูท้ังในชั้นเรียน หองปฏิบัติการ การทําวิจัย และการนําความรูไปประยุกตใชในการทําประโยชนตอชุมชน ทองถ่ิน และในระดับท่ีสูงข้ึน รวมถึงการทําวิทยานิพนธ และสงเสริมใหผูเรียนสามารถพ่ึงตนเองได มีอิสระในการแสวงหาความรูโดยไมยึดติดกับการรับขอมูลจากผูสอนเพียงวิธีเดียว เปนรูปแบบการเรียนรูท่ีกระตุนใหเกิดการคิด วิเคราะห และตัดสินใจดวยตนเอง เชนใหมีการนําเสนองาน การรวมแสดงความคิดเห็น การตอบคําถาม เพ่ือสนับสนุนใหนักศึกษาคิดเปนและมีนิสัยใฝรู

2.2.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานความรู ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ใหครอบคลุมในทุกดาน

ท้ังโดยการนําความรูไปประยุกตใชประโยชน รวมไปถึงการสอบประมวลความรู การสอบวิทยานิพนธ และการสอบการคนควาอิสระ

40

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 41: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

2.3 ดานทักษะทางปญญา 2.3.1 ผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา

1) สามารถใชความรูทางทฤษฎีและปฏิบัติในการคิดวิเคราะหอยางเปนระบบ และจัดการบริบทใหมทางวิชาการและวิชาชีพ ในการพัฒนาและสรางสรรคเพ่ือตอบสนองประเด็นหรือปญหาทางดานบริหารธุรกิจอยางเหมาะสม

2) สามารถสืบคนขอมูลผลงานวิจัย สิ่งตีพิมพทางวิชาการ หรือรายงานทางวิชาชีพ จากแหลงขอมูลท่ีหลากหลาย สังเคราะห และนําไปใชประโยชนในการพัฒนาความคิดใหมๆ โดยการบูรณาการแนวคิดตางๆ ท้ังจากภายในและภายนอกสาขาวิชาท่ีศึกษาในข้ันสูง

3) สามารถประยุกตใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การวิจัย นวัตกรรม และศาสตรเฉพาะทางดานบริหารธุรกิจในการวิเคราะหประเด็น ดําเนินการ ควบคุม หรือแกไขปญหาท่ีซับซอน ในทุกข้ันตอนของกระบวนการดานบริหารธุรกิจ ไดอยางเหมาะสมและสรางสรรค

4) สามารถออกแบบและดําเนินการโครงการวิจัยคนควาทางวิชาการท่ีสําคัญในเรื่องท่ีซับซอนท่ีเก่ียวกับการพัฒนาองคความรูใหม ปรับปรุงแนวปฏิบัติในวิชาชีพอยางมีนัยสําคัญ และสามารถผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัย ในระดับชาติ และนานาชาต ิ

2.3.2 กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรูดานทักษะทางปญญา ใชหลักการสอนท่ีเนนใหผูเรียนไดฝกทักษะการคิดและการแกไขปญหา มีความสามารถใน

การเรียนรูดวยตนเอง และการปฏิบัติงานจริง สามารถคิดและวิเคราะหปญหาอยางเปนระบบ สามารถประยุกตใชศาสตรทางดานตางๆ กับสถานการณจริง โดยใชปญหาเปนตัวกระตุนใหเกิดการเรียนรู รวมท้ังสงเสริมใหนักศึกษามีความพรอมในการปรับตัวได และสามารถแกปญหาในสถานการณตางๆ ในชีวิตไดอยางเหมาะสม สามารถเขาถึงแกนความรู สามารถสรางและอธิบายองคความรูใหมๆ ได

2.3.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา ประเมินทักษะทางปญญา ไดจากการแสดงออกทางการกระบวนการคิดและการแกไข

ปญหา ผลการปฏิบัติงาน ความสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนรู การนําเสนอผลงาน การอธิบาย การตอบคําถาม การโตตอบสื่อสารกับผูอ่ืน ตกผลึกทางความคิด และคาดการณอนาคตในองคความรูในดานตางๆ ได

2.4 ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 2.4.1 ผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

1) มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบในการดําเนินงานของตนเองและองคการ2) สามารถตัดสินใจในการดําเนินงานดวยตนเอง ประเมินตนเอง รวมท้ังวางแผนปรับปรุง

ตนเองและองคกรไดอยางมีประสิทธิภาพ 3) มีความรับผิดชอบในการพัฒนาความรูของตนเอง องคการ และสังคม และมี

ความสามารถสูงในการแสดงความเห็นทางวิชาการ สามารถใชความรูในศาสตรมาชี้นําองคกร แกไขปญหาท่ีมีความซับซอนสูงมากดวยตนเอง และเปลี่ยนแปลงสังคมในประเด็นท่ีเหมาะสม

4) สามารถทํางานเปนทีม เคารพสิทธิ รับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน และสามารถปรับตัวและมีปฏิสัมพันธอยางสรางสรรคกับผูรวมงานและผูมีสวนไดสวนเสีย

5) แสดงภาวะการเปนผูนําท่ีโดดเดน บริหารการทํางานเปนทีม และภาวะการเปนผูตามในทีม ไดอยางเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ เพ่ือเพ่ิมพูนประสิทธิภาพในการทํางานของกลุม และสามารถแกไขขอขัดแยงตามลําดับความสําคัญ

41

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 42: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

2.4.2 กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรู ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล และ ความรับผิดชอบ เนนการเรียนการสอนท่ีมีการปฏิสัมพันธท่ีดีระหวางผูเรียนและผูสอน การเรียนรูและการ

ปฏิบัติงานเปนทีม การแสดงออกถึงภาวะความเปนผูนําและผูตามท่ีดี การมีมนุษยสัมพันธท่ีดีกับผูรวมงาน การวางตัวท่ีเหมาะสมตอกาลเทศะ การทํากิจกรรมเพ่ือสังคม การประสานงานกับผู อ่ืนท้ังภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา และความรับผิดชอบตองานท่ีไดรับมอบหมาย รวมท้ังมีความกลาหาญทางจริยธรรม

2.4.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรู ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล และ ความรับผิดชอบ ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในหลายๆ ดาน ระหวางกิจกรรมการ

เรียนการสอน เชน พฤติกรรมความสนใจ ต้ังใจเรียนรู และพัฒนาตนเอง การแสดงบทบาทภาวะผูนําและผูตามท่ีดี ความสามารถในการทํางานรวมกับผูอ่ืน ความรับผิดชอบในการเรียนและงานท่ีไดรับมอบหมาย และการรวมทํากิจกรรมเพ่ือสังคม

2.5 ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.1 ผลการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใชเทคโนโลยี

สารสนเทศ 1) สามารถคัดกรองขอมูลและใชหลักตรรกะทางคณิตศาสตรและสถิติ ในการศึกษาคนควา

ปญหา เชื่อมโยงประเด็นปญหาท่ีสําคัญและซับซอน และเสนอแนะแนวทางการแกไขปญหาในดานตางๆ ไดเปนอยางด ี

2) สามารถสื่อสารโดยใชภาษาไทยและภาษาอังกฤษไดอยางมีประสิทธภิาพท้ังการพูด การอาน การฟง การเขียน และการนําเสนอ และสื่อสารกับกลุมบุคคลตางๆ ท้ังในวงการวิชาการ และชุมชนไดอยางเหมาะสม

3) สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการทําวิจัยและนําเสนอรายงานการวิจัย วิทยานิพนธ หรือโครงการคนควาท่ีสําคัญ ท้ังในรูปแบบท่ีเปนทางการและไมเปนทางการ รวมถึงการตีพิมพผานสื่อทางวิชาการและวิชาชีพไดอยางเหมาะสม

2.5.2 กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ มีรายวิชาสัมมนา ซ่ึงนักศึกษาทุกคนตองลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิต ใหนักศึกษาได

ฝกทักษะท้ังดานการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการคนควาและนําเสนองานท้ังเปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และมีกิจกรรมการเรียนการสอนอ่ืนๆ ท่ีมุงเนนใหผูเรียนไดฝกฝนทักษะตางๆ เหลานี้ ท้ังดวยตนเองและรวมกับผูอ่ืน การอภิปราย และการวิเคราะหปญหาจริงในการเรียนรูและการทํางานวิจัย

2.5.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเมินผลตามกิจกรรมการเรียนการสอน และการนําเสนองานโดยใชแบบประเมินทักษะ

ในดานตางๆ เหลานี้ การทดสอบความรูและเทคนิคการวเิคราะหและแกปญหาในสถานการณจําลองเสมือนจริง และการทํางานวิจัย ตั้งแตเริ่มตนจนถึงข้ันตอนการเขียนรายงาน และการนําเสนอผลงาน

42

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 43: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

3. แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบตอผลการเรียนรู จากหลักสูตรสูรายวิชา (CurriculumMapping)

แสดงใหเห็นวาแตละรายวิชาในหลักสูตรรับผิดชอบตอผลการเรียนรูในดานใดบาง (สัมพันธกับการพัฒนาผลการเรียนรูแตละดานตามขอ 2) โดยระบุวาเปนความรับผิดชอบหลักหรือความรับผิดชอบรอง โดยท่ีผลการเรียนรูแตละขอของดานตางๆ ในตารางมีความหมายดังตอไปนี ้

3.1 ดานคุณธรรม จริยธรรม 3.1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซ่ือสัตยสุจริต สามารถจัดการปญหาทางคุณธรรม

จริยธรรมท่ีซับซอนเชิงวิชาการหรือวิชาชีพ โดยคํานึงถึงความถูกตองและความรูสึกของผูอ่ืน 3.1.2 ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพและระเบียบขอบังคับตางๆ ขององคกรอยางเครงครัด 3.1.3 มีภาวะผูนําและผูตามในการสงเสริมใหมีการประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรม

ในสภาพแวดลอมของการทํางานและในชุมชนท่ีกวางขวางข้ึน 3.2 ดานความรู

3.2.1 มีความรูและความเขาใจอยางถองแท ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาบริหารธุรกิจ ตลอดจนหลักการและทฤษฎีท่ีสําคัญ และนํามาประยุกตใชในการศึกษาคนควาทางวิชาการ

3.2.2 มีความเขาใจทฤษฎี การวิจัย และการปฏิบัติทางวิชาชีพ ในแขนงวิชาเฉพาะตางๆ ไดแก การบัญชีและการเงิน การตลาด เศรษฐศาสตร การจัดการทรัพยากรมนุษย การจัดการการดําเนินงาน ฯลฯ

3.2.3 สามารถพัฒนานวัตกรรมหรือสรางองคความรูใหม สะสมองคความรูจากงานวิจัยเพ่ือเชือ่มโยงกับการพัฒนาองคกร พัฒนานวัตกรรม รวมถึงการปองกันและการแกไขปญหาในสังคมอุตสาหกรรม ท้ังในระดับชุมชน ทองถ่ิน และในระดับท่ีสูงข้ึน

3.2.4 มีความแข็งแกรงทางวิชาการ และมีความสามารถท่ีจะพ่ึงตนเองไดในอนาคต 3.3 ดานทักษะทางปญญา

3.3.1 สามารถใชความรูทางทฤษฎีและปฏิบัติในการคิดวิเคราะหอยางเปนระบบ และจัดการบริบทใหมทางวิชาการและวิชาชีพ ในการพัฒนาและสรางสรรคเพ่ือตอบสนองประเด็นหรือปญหาทางดานบริหารธุรกิจอยางเหมาะสม

3.3.2 สามารถสืบคนขอมูลผลงานวิจัย สิ่งตีพิมพทางวิชาการ หรือรายงานทางวิชาชีพ จากแหลงขอมูลท่ีหลากหลาย สังเคราะห และนําไปใชประโยชนในการพัฒนาความคิดใหมๆ โดยการบูรณาการแนวคิดตางๆ ท้ังจากภายในและภายนอกสาขาวิชาท่ีศึกษาในข้ันสูง

3.3.3 สามารถประยุกตใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การวิจัย นวัตกรรม และศาสตรเฉพาะทางดานบริหารธุรกิจในการวิเคราะหประเด็น ดําเนินการ ควบคุม หรือแกไขปญหาท่ีซับซอน ในทุกข้ันตอนของกระบวนการดานบริหารธรุกิจ ไดอยางเหมาะสมและสรางสรรค

3.3.4 สามารถออกแบบและดําเนินการโครงการวิจัยคนควาทางวิชาการท่ีสําคัญในเรื่องท่ีซับซอนท่ีเก่ียวกับการพัฒนาองคความรูใหม ปรับปรุงแนวปฏิบัติในวิชาชีพอยางมีนัยสําคัญ และสามารถผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัย ในระดับชาติ และนานาชาต ิ

3.4 ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 3.4.1 มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบในการดําเนินงานของตนเองและองคการ 3.4.2 สามารถตัดสินใจในการดําเนินงานดวยตนเอง ประเมินตนเอง รวมท้ังวางแผนปรับปรุง

ตนเองและองคกรไดอยางมีประสิทธิภาพ

43

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 44: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

3.4.3 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาความรูของตนเอง องคการ และสังคม และมีความสามารถสูงในการแสดงความเห็นทางวิชาการ สามารถใชความรูในศาสตรมาชี้นําองคกร แกไขปญหาท่ีมีความซับซอนสูงมากดวยตนเอง และเปลี่ยนแปลงสังคมในประเด็นท่ีเหมาะสม

3.4.4 สามารถทํางานเปนทีม เคารพสิทธิ รับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน และสามารถปรับตัว และมีปฏิสัมพันธอยางสรางสรรคกับผูรวมงานและผูมีสวนไดสวนเสีย

3.4.5 แสดงภาวะการเปนผูนําท่ีโดดเดน บริหารการทํางานเปนทีม และภาวะการเปนผูตามในทีม ไดอยางเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ เพ่ือเพ่ิมพูนประสิทธิภาพในการทํางานของกลุม และสามารถแกไขขอขัดแยงตามลําดับความสําคัญ

3.5 ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การส่ือสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.5.1 สามารถคัดกรองขอมูลและใชหลักตรรกะทางคณิตศาสตรและสถิติ ในการศึกษาคนควา

ปญหา เชื่อมโยงประเด็นปญหาท่ีสําคัญและซับซอน และเสนอแนะแนวทางการแกไขปญหาในดานตางๆ ไดเปนอยางด ี

3.5.2 สามารถสื่อสารโดยใชภาษาไทยและภาษาอังกฤษไดอยางมีประสิทธิภาพท้ังการพูด การอาน การฟง การเขียน และการนําเสนอ และสื่อสารกับกลุมบุคคลตางๆ ท้ังในวงการวิชาการ และชุมชนไดอยางเหมาะสม

3.5.3 สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการทําวิจัยและนําเสนอรายงานการวิจัย วิทยานิพนธ หรือโครงการคนควาท่ีสําคัญ ท้ังในรูปแบบท่ีเปนทางการและไมเปนทางการ รวมถึงการตีพิมพผานสื่อทางวิชาการและวิชาชีพไดอยางเหมาะสม

44

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 45: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum mapping) ระดับปริญญาโท

• ความรับผิดชอบหลัก ο ความรับผิดชอบรอง

รายวิชา 1.ดานคุณธรรม

จริยธรรม 2. ดานความรู 3. ดานทักษะทางปญญา

4. ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความ

รับผิดชอบ

5. ดานทักษะการวิเคราะห การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 หมวดวิชาเสริมพ้ืนฐาน ACT60-611 การบัญชีการเงิน • • • • • ο • • ο ο ο BUS60-621 สถิตเิพ่ือการจดัการธุรกิจ ο • • • • • • • BUS60-622 พันธกิจเพ่ือสังคม • ο • • • • • • • • • • • • ο HRM60-631 ภาวะผูนําและการสือ่สาร • • • • • • • • • • • • • • • •

หมวดวิชาบังคับ ACT60-612 การบัญชีเพ่ือการจัดการ • • • • ο • ο • • • • ο ο ο BUS60-723 การวิจัยทางธุรกิจและการจัดการ • • • • • • • • • • • • • BUS60-724 นวัตกรรมและการประกอบธุรกิจ • • • • • • • • • • • • • • BUS60-929 สัมมนาทางบริหารธุรกิจ • • • ο • • • • ο • • • • • • ECN60-671 การวิเคราะหทางเศรษฐกิจเพ่ือการ

ตัดสินใจทางธุรกิจ ο • • • • • • • ο • • • • •

FNC60-651 การจัดการการเงิน • • • • • • • • • • • HRM60-632 พฤติกรรมองคการและการจัดการ

ทรัพยากรมนุษย • • • ο ο • • •

MAR60-641 การจัดการการตลาด ο • • • • • • • • •

45

มคอ.2

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 46: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

รายวิชา 1.ดานคุณธรรม

จริยธรรม 2. ดานความรู 3. ดานทักษะทางปญญา

4. ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความ

รับผิดชอบ

5. ดานทักษะการวิเคราะห การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 MGT60-781 การบริหารโครงการ ο • • • • • • • • • • • • • MGT60-782 การจัดการกลยุทธ • • • • ο • • • ο • • ο • • • • • หมวดวิชาเลือกแทนวิทยานิพนธ ACT60-713 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร • • • • ο • • ο • • • ο ACT60-714 รายงานการเงินและการวิเคราะหงบ

การเงิน • • • ο • • ο • • • • ο

BUS60-625 การวิเคราะหธุรกิจ • • • • • ο • • • • • • • • BUS60-726 การจัดการธุรกิจระหวางประเทศ • • • • • • BUS60-727 การวิเคราะหเชิงปรมิาณเพ่ือการจัดการ

ทางธุรกิจ • • • • • ο • • • • • •

BUS60-728 การจัดการธุรกิจอยางยั่งยืน • • • • • • • • • • • • • • • LGT60-761 การจัดการการดําเนินงาน ο • • • • • • • • • • • LGT60-762 การจัดการโลจิสติกสและโซอุปทาน ο • • • • • • • • • MAR60-742 การวางแผนและกลยุทธทางการตลาด • • • • • • • • • • • • • • • • • MGT60-783 การเปลีย่นแปลงและพัฒนาองคการ • • • • • • • • • • • • MGT60-784 การจัดการการสื่อสารและการเจรจา

ตอรอง ο • ο • • • • ο • • ο • • • •

MGT60-785 ความคิดสรางสรรคและการออกแบบผลิตภัณฑ

ο • • • ο • • ο ο • • • • • • •

46

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 47: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

รายวิชา 1.ดานคุณธรรม

จริยธรรม 2. ดานความรู 3. ดานทักษะทางปญญา

4. ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความ

รับผิดชอบ

5. ดานทักษะการวิเคราะห การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ

1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 การคนควาอิสระ MBA60-910 การคนควาอิสระ • • • • • • • • • • • • • • • • • • • วิทยานิพนธ MBA60-921 วิทยานิพนธ • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

47

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 48: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

หมวดที ่5 หลกัเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน (เกรด)เปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ วาดวยการศึกษาข้ันบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2560 (ภาคผนวก ก)

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูขณะนักศึกษายังไมสําเร็จการศึกษา

การทวนสอบในรายวิชาการสัมมนา การทําวิทยานิพนธ และการสอบประมวลความรู (สําหรับนักศึกษาแผน 2.1) จะตองสอดคลองกับกลยุทธการประเมินผลการเรียนรู โดยใหเปนความรับผิดชอบของอาจารยผูควบคุมการทําวิทยานิพนธ ในการออกขอสอบหรือกําหนดกลไกและกระบวนการสอบ และมีการประเมินแผนการสอนสัมพันธกับการประเมินขอสอบ การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอนจากผลการสอบ โดยคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําหลักสูตร และ/หรือ คณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิท้ังจากภายในและภายนอกสถาบัน รวมถึงการประเมินอาจารย และมีระบบแสดงความคิดเห็นตอการสอนของอาจารยโดยนักศึกษา สวนการทวนสอบในระดับหลักสูตร ใหมีระบบประกันคุณภาพภายในของสาขาบริหารธุรกิจเอง ระบบประกันคุณภาพภายในระดับสํานักวิชา และระบบประกันคุณภาพภายในระดับสถาบัน เพ่ือดําเนินการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูและรายงานผล

2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูหลังจากนักศึกษาสําเร็จการศึกษา การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูหลังจากนักศึกษาสําเร็จการศึกษา เนนการทําวิจัยสัมฤทธิผล

ของการประกอบอาชีพของมหาบัณฑิต โดยทําการวิจัยอยางตอเนื่อง แลวนําผลท่ีไดมาเปนขอมูลในการประเมินคุณภาพของหลักสูตร การพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร และกระบวนการเรียนการสอน โดยมีหัวขอการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู ดังตอไปนี ้

2.2.1 สภาวะการไดงานทําหรือศึกษาตอของมหาบัณฑิต ประเมินจากการไดงานทําหรือศึกษาตอตรงตามสาขาหรือในสาขาท่ีเก่ียวของ และระยะเวลาในการหางาน โดยทําการประเมินจากมหาบัณฑิตแตละรุนท่ีสําเร็จการศึกษา

2.2.2 ตําแหนงงานและความกาวหนาในสายงานของมหาบัณฑิต 2.2.3 ความพึงพอใจของมหาบัณฑิต ตอความรูความสามารถท่ีไดเรียนรูจากหลักสูตร ท่ีใช

ในการประกอบอาชีพ พรอมกับเปดโอกาสใหมีการเสนอขอคิดเห็นในการปรับปรุงหลักสูตรใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน

2.2.4 ความพึงพอใจของผูใชมหาบัณฑิตหรือนายจาง พรอมกับเปดโอกาสใหมีขอเสนอแนะตอสิ่งท่ีคาดหวังหรือตองการจากหลักสูตรในการนําไปใชในการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ

2.2.5 ความเห็นและขอเสนอแนะจากอาจารยพิเศษและผูทรงคุณวุฒิภายนอก ตอผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของมหาบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษา กระบวนการพัฒนาการเรียนรู องคความรู และการปรับปรุงหลักสูตร ใหมีความเหมาะสมกับสถานการณทางการศึกษา ภาคอุตสาหกรรมและสังคมในปจจุบันมากยิ่งข้ึน

2.2.6 ผลงานของนักศึกษาและมหาบัณฑิตท่ีสามารถวัดเปนรูปธรรมได เชน 1) จํานวนผลงานวิจัยท่ีตีพิมพเผยแพร2) จํานวนสิทธิบัตร

48

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 49: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

3. เกณฑการสําเร็จการศึกษาของหลักสูตร เปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ วาดวยการศึกษาข้ันบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2560 และ

สอดคลองกับเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 และขอกําหนดของหลักสูตรเพ่ิมเติมดังนี้ แผน ก แบบ ก2 วิทยานิพนธ มีผลงานทางวิชาการจํานวน 1 บทความ ท่ีไดรับการตีพิมพหรืออยางนอยไดรับการยอมรับให

ตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติท่ีมีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวิชาการ หรือนําเสนอตอท่ีประชุม วิชาการระดับนานาชาติโดยบทความท่ีนําเสนอเปนบทความฉบับสมบูรณไดรับการตีพิมพในรายงานสืบเนื่อง จากการประชุมวิชาการ

แผน ข การศึกษาอิสระ สอบประมวลความรูผานตามท่ีหลักสูตรฯ กําหนด และมีผลงานทางวิชาการจํานวน 1 บทความ

ท่ีนําเสนอตอท่ีประชุมวิชาการระดับชาติหรือสูงกวาโดยบทความท่ีนําเสนอเปนบทความฉบับสมบูรณ ท้ังนี้ ในการสอบปองกันวิทยานิพนธ และการคนควาอิสระ เปนระบบเปดใหผูสนใจเขาฟงได โดยมี

การประกาศขอมูลการจัดสอบไดแก ชื่อนักศึกษา ชื่อหัวขอวิทยานิพนธ วันท่ี เวลา และสถานท่ีผานเวบไซตมหาวิทยาลัยและเวบไซตสํานักวิชา

หมวดที ่6 การพัฒนาคณาจารย

1. การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม มีการปฐมนิเทศแนะแนวอาจารยใหม ใหมีความรูและเขาใจนโยบายของมหาวิทยาลัย สํานักวิชา และ

หลักสูตรท่ีสอน โดยสาระประกอบดวย - บทบาทหนาท่ีของอาจารยในพันธกิจของสถาบัน - การเตรียมความพรอมในการเปนอาจารย ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ/การให คําปรึกษา

วิทยานิพนธ - การทําการวิจัย - การเขียนบทความวิชาการ - หลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมตางๆ ของสาขาวิชาฯ - สิทธิผลประโยชนของอาจารยและกฎระเบียบตางๆ และมีอาจารยอาวุโสเปนอาจารยพ่ีเลี้ยง โดยมีหนาท่ีใหคําแนะนําและการปรึกษาเพ่ือเรียนรู

และปรับตัวเองเขาสูการเปนอาจารยในสาขาวิชาฯ มีการนิเทศการสอนท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติท่ีตองสอน และมีการประเมินและติดตามความกาวหนาในการปฏิบัติงานของอาจารยใหม

2. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกคณาจารย (อธิบายถึงสิ่งท่ีจะดําเนินการเพ่ือชวยใหคณาจารยไดพัฒนา)2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล

2.1.1 สงเสริมอาจารยใหมีการเพ่ิมพูนความรู สรางสมประสบการณในดานบริหารธุรกิจ สงเสริมการสอนและการวิจัยอยางตอเนื่องท้ังอาจารยเกาและอาจารยใหม โดยการสนับสนุนดานการฝกอบรม

49

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 50: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ดูงานทางวิชาการ หาประสบการณจากการทํางานรวมกับองคกรตางๆ การประชุมทางวิชาการท้ังในประเทศและ/หรือตางประเทศ การลาเพ่ือเพ่ิมพูนความรูและประสบการณ

2.1.2 การเพ่ิมพูนทักษะการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลใหทันสมัย 2.1.3 การอบรมอาจารยในการทํางานวิจัย การใหคําปรึกษาการทําวิทยานิพนธ และการ

เขียนบทความวิจัย 2.1.4 การมีสวนรวมในกิจกรรมบริการวิชาการแกชุมชนท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาความรูและ

คุณธรรม 2.1.5 ใหอาจารยพัฒนาผลงานทางวิชาการสายตรงในสาขาวิชา 2.1.6 สงเสริมการทําวิจัยสรางองคความรูใหมเปนหลักและเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนและ

มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพเปนรอง 2.1.7 มีการแนะแนวในการเปนอาจารยท่ีปรึกษาในการทําวิทยานิพนธ รวมถึงการแกปญหา

2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพดานอ่ืนๆ 2.2.1 สนับสนุนใหผูสอนไปใหบริการวิชาการหนวยงานภาครัฐ เอกชน และชุมชน เพ่ือ

สามารถนําประสบการณมาพัฒนาการเรียนการสอน 2.2.2 สนับสนุนใหอาจารยจัดทําผลงานทางวิชาการ โดยพัฒนาทักษะการเขียนหนังสือ ตําราและบทความวิชาการ เพ่ือเขาสูตําแหนงทางวิชาการท่ีสูงข้ึนของอาจารย 2.2.3 สงเสริมการทําวิจัยสรางองคความรูใหม รวมท้ังการไปนําเสนอผลงานในท่ีประชุมทางวิชาการท้ังในระดับชาติและระดับนานาชาต ิ 2.2.4 จัดโครงการศึกษาดูงานตางมหาวิทยาลัยท้ังในและตางประเทศ

หมวดที ่7 การประกันคุณภาพหลักสูตร 1. การกํากับมาตรฐาน

หลักสูตรไดดําเนินการเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาและเกณฑมาตรฐานอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของ โดยพิจารณาองคประกอบสําคัญ ไดแก การกํากับมาตรฐาน บัณฑิต นักศึกษา อาจารย หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผูเรียน และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู

1. การกํากับมาตรฐาน การบริหารจัดการหลักสูตรใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรท่ีประกาศใชและเปนไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติและมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา มีดังนี ้

1.1 การแตงต้ังอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร จํานวน 3 คน โดยแตงต้ังจากอาจารยประจําหลักสูตร และมีภาระหนาท่ีในการบริหารและพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ต้ังแตการวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามและประเมินผลและการพัฒนาหลักสูตร โดยอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรมีคุณสมบัติดังตอไปนี้คือ มีคุณวุฒิข้ันต่ําปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือมีตําแหนงรองศาสตราจารยในสาขาวิชาท่ีตรงหรือสัมพันธกับสาขาวิชา และตองมีผลงานทางวิชาการท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการท่ีไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑกําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการ อยางนอย 3 รายการในรอบ 5 ปยอนหลัง

50

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 51: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

1.2 การวางแผน การพัฒนา และการประเมินหลักสูตรตามรอบระยะเวลาท่ีกําหนด โดยมีการวางแผน มีการประเมินและรายงานผลการดําเนินงานของหลักสูตรทุกปการศึกษา (มคอ.7) และนําขอมูลท่ีไดไปปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรเปนระยะๆ อยางนอยทุกรอบ 5 ป

1.3 การดําเนินงานตามตัวบงชี้ผลการดําเนินงานเพ่ือการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาขอ 1-5 ดังนี ้

1.3.1 กําหนดใหอาจารยผูรับผิดชอบอยางนอยรอยละ 80 มีสวนรวมในการประชุมเพ่ือวางแผนติดตามและทบทวนการดําเนินงานหลักสูตร

1.3.2 มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ท่ีสอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติและมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา

1.3.3 มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณภาคสนาม ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อยางนอยกอนการเปดสอนในแตละภาคการศึกษาใหครบทุกวิชา

1.3.4 มีการรายงานผลการดําเนินการของรายวิชาและรายงานผลการดําเนินการของประสบการณภาคสนาม ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วันหลังจากสิ้นสุดภาคการศึกษาท่ีเปดสอนใหครบทุกรายวิชา

1.3.5 จัดทํารายงานผลการดําเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วันหลังสิ้นสุดปการศึกษา

2. บัณฑิตหลักสูตรมีการติดตามคุณภาพของบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู หรือ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

ของหลักสูตร โดยพิจารณาจากขอมูลผลลัพธการเรียนรู ผลการสอบประมวลความรอบรู และการมีงานทํา นอกจากนั้นยังติดตามความตองการของตลาดแรงงานและสังคมท้ังจํานวนและคุณภาพ การสํารวจความ พึงพอใจและความคาดหวังของผูใชบัณฑิตเปนประจําทุกป และแจงผลการสํารวจใหกับคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ ไดรับทราบเพ่ือเปนขอมูลสําหรับการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรกําหนดวาผูใชบัณฑิตจะตองมีคะแนนความพึงพอใจมากกวา 3.5 (จากระดับ 5)

3. นักศึกษา3.1 การรับนักศึกษา

เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทาทุกสาขา เปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณวาดวยการศึกษาข้ันบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2560

3.2 การสงเสริมและพัฒนานักศึกษา จัดใหมีกิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาเพ่ือแนะแนวกระบวนการเรียนรูในระดับบัฯฑิตศึกษา และการเรียน

ปรับพ้ืนฐานทางดานภาษาอังกฤษ

3.3 ผลท่ีเกิดกับนักศึกษา 3.3.1 จํานวนนักศึกษาคงอยู

1) ขอมูลแนวโนมจํานวนนักศึกษาคงอยูในแตละปการศึกษา

51

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 52: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ขอมูลสถิติเกี่ยวกับนักศึกษาและบัณฑิต จํานวนนักศึกษาคงอยู

ปการศึกษาท่ีรับเขา จํานวนนักศึกษาคงอยู จําแนกตามปการศึกษา

2554 2555 2556 2557 2558 2554 39 36 32 26 19 2555 49 34 29 20 2556 49 33 24 2557 47 39 2558 41

หลักสูตรฯ มีกระบวนการในการกํากับติดตามการคงอยูของนักศึกษา ดังนี้

1) ติดตามการคงอยูของนักศึกษา 2) สํารวจความพึงพอใจของนักศึกษาตอหลักสูตรฯ ในดานตางๆ 3) จัดการขอรองเรียนของนักศึกษาตอหลักสูตรฯ ผานอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรและ

นําเสนอตอคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําหลักสูตรฯ และติดตามผลกับนักศึกษา

3.3.2 จํานวนผูสําเร็จการศึกษา 1) ขอมูลแนวโนมจํานวนผูสําเร็จการศึกษาในแตละปการศึกษา

ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด ผลการดําเนินงานของแตละปการศึกษา

2554 2555 2556 2557 2558 2559 1) จํานวนนักศึกษาชั้นปท่ี 1 ท่ีรับเขาศึกษา คน 21 31 17 47 42 36 2) จํานวนและรอยละนักศึกษาท่ีสําเร็จ

การศึกษากอนกําหนดเวลาของหลักสูตร คน

(รอยละ) - - - - -

3) จํานวนและรอยละนักศึกษาท่ีสําเร็จการศึกษาตามกําหนดเวลาของหลักสูตร

คน (รอยละ)

- 1 - - 1 -

4) จํานวนและรอยละนักศึกษาท่ีสําเร็จการศึกษาหลังกําหนดเวลาของหลักสูตร

คน (รอยละ)

5 10 17 30 5 -

2) ปจจัยท่ีมีผลกระทบตอการสําเร็จการศึกษา จากการพิจารณาปจจัยท่ีมีผลกระทบตอการสําเร็จการศึกษาลาชากวาหลักสูตร เนื่องจากเม่ือจบ

Coursework แลวนักศึกษามีการรักษาสภาพการศึกษา โดยไมไดจัดทําผลงานวิจัยตอเนื่อง และมักจะเริ่มมาลงทะเบียนทําวิจัยในปหลัง เชนปท่ี 4 หรือปท่ี 5 ของการศึกษา

52

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 53: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

3.3.3 ความพึงพอใจและผลการจัดการขอรองเรียนของนักศึกษา

ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวบงช้ี หนวยวัด ผลการดําเนินงานของแตละปการศึกษา

ป 2557 ป 2558 1) ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาตอ

หลักสูตร ในดานตางๆ

คาเฉลี่ย - 3.75

2) จํานวนขอรองเรียนของนักศึกษาตอหลักสูตร เรื่อง - 0

3.3.4 การวิเคราะหผลท่ีได นักศึกษาระดับปริญญาโทท่ีมาศึกษา บางสวนมาศึกษาเพ่ือพัฒนาศักยภาพทางดานการบริหาร เพ่ือ

การพัฒนาสายงานในอาชีพในอนาคต และบางสวนเปนการศึกษาตามความตองการของบริษัท/องคกรท่ีสังกัดอยู ในชวง 2 ปท่ีผานมา คือ 2557 และ 2558 หลักสูตร MBA มหาวิทยาลัยวลัยลักษณเปนหลักสูตร

MBA ของสถาบันเดียวท่ีเปดรับนักศึกษาในพ้ืนท่ีจังหวัดสุราษฎรธานี เนื่องจาก สถาบันการศึกษาอ่ืน ๆ มีการระงับการรับนักศึกษา หรือรับเฉพาะนักศึกษาภาคปกต ิ

อยางไรก็ตามยังมีสถาบันการศึกษาเปดรับนักศึกษาสาขาอ่ืน ๆ เชน รัฐประศาสนศาสตร ซ่ึงบางสวนมุงไปท่ีการเปดรับกลุมเปาหมายเดียวกัน

4. อาจารย 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย ไดมีการประชุมรวมกันเพ่ือวางแนวทางการบริหารงานหลักสูตร โดยมีการกําหนดรายวิชาท่ีเปดสอนใน

แตละภาคการศึกษา วางแผนการจัดกิจกรรมและโครงการของหลักสูตร และมีการติดตามผลการศึกษาและงานในแตละโครงการท่ีมอบหมายไวในการประชุมของหลักสูตร

คณาจารยมีการพัฒนาศักยภาพตนเองตามความตองการและตามแผนพัฒนาอาจารย ภายใตงบประมาณท่ีไดรับการจัดสรรจากมหาวิทยาลัย โดยขออนุมัติงบประมาณเพ่ือเขารวมอบรม ประชุม สัมมนาในโครงการท่ีเปนการเสริมสรางความรู ความสามารถ และทักษะในดานตางๆ ซ่ึงมีการติดตามและประเมินผลการพัฒนาตนเองโดยอาจารยแตละทานจัดทํารายงานผลท่ีไดจากการพัฒนาตนเองทุกครั้ง

4.2 คุณภาพอาจารย อาจารยยังไมมีตําแหนงทางวิชาการ แตก็กําลังผลิตผลงานวิชาการ ดวยการทํางานวิจัย พัฒนาเอกสารประกอบการสอนหรือตํารา การเขียนบทความวิชาการ และศึกษาภาษาอังกฤษเพ่ิมเติมเพ่ือเตรียมความพรอมในการขอตําแหนงทางวิชาการ

4.3 ผลท่ีเกิดกับอาจารย เม่ือสิ้นสุดทุกการเรียนการสอน กิจกรรมหรือโครงการไดจัดทํารายงานสรุปผลสํารวจความพึงพอใจของนักศึกษาและผูเขารวมโครงการอยูในระดับดีถึงดีมาก นอกจากนี้ มีการพัฒนาผลงานทางวิชาการท้ังในสวนของเอกสารประกอบการสอน/ เอกสารคําสอน ในรายวิชาท่ีเก่ียวของ โครงการวิจัยและบทความวิจัย เพ่ือใชประกอบการขอตําแหนงทางวิชาการ

53

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 54: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

5. หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผูเรียน5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร

มีการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตรใหมีความทันสมัยกาวหนาทันกับบริบทการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ สังคมและนวัตกรรมการบริหารจัดการ ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงไปและตรงกับความตองการของผูมีสวนไดเสียซ่ึงประกอบดวยผูใชบัณฑิต นักศึกษาปจจุบัน ศิษยเกาและผูทรงคุณวุฒิ การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตรประกอบดวยการสํารวจสถานการณปจจุบันทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การสํารวจความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตและภาวะการมีงานทําของบัณฑิตและการสํารวจความพึงพอใจของศิษยเกาและศิษยปจจุบันตอหลักสูตร เพ่ือนําผลมาใชในการออกแบบและปรับปรุงหลักสูตรตลอดจนถึงการจัดทํารายวิชาใหทันสมัย

5.2 การวางระบบผูสอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพ่ือใหการดําเนินงานดานการเรียนการสอนของหลักสูตรเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

คณะกรรมการหลักสูตรมีการพิจารณากําหนดผูสอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอนรวมกัน สําหรับผูสอนในแตละรายวิชาจะพิจารณาจากคุณวุฒิ ความรูความสามารถ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ และความสนใจของอาจารย กําหนดวิธีการจัดการเรียนการสอนท้ังภาคทฤษฎีและปฏิบัติท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ

5.3 การประเมินผูเรียน มีระบบและกลไกการประเมินผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

โดยมีการแตงตั้งคณะกรรมการประจําหลักสูตรเพ่ือกํากับดูแลและประเมินผลการเรียนการสอนและประเมินหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ กอนเปดภาคการศึกษา ทุกรายวิชาจะนําแผนท่ีความรับผิดชอบท้ัง 5 ดานท่ีระบุใน มคอ.2 มากําหนดรายละเอียดของรายวิชา มคอ.3 หรือ มคอ.4 ภายใน 30 วัน เพ่ือกําหนดวิธีการสอน วิธีการประเมินผล และวิธีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์เพ่ือใหม่ันใจวาผูเรียนจะไดรับการพัฒนาผลการเรียนรูท่ีกําหนด หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาท่ีเปดสอน ผูสอนจะดําเนินการประเมินผลการเรียนรูตามกรอบแนวมาตรฐานคุณวุฒิของนักศึกษาในแตละรายวิชา ตามกลยุทธการประเมินผลการเรียนรูท้ัง 5 ดาน จัดทํารายงานผลการการจดัการเรียนการสอน มคอ.5 หรือ มคอ.6 ภายใน 30 วัน และอาจารยประจําหลักสูตรรวมกันจัดทํารายงานผลการดําเนินการของหลักสูตร มคอ.7 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดปการศึกษา

6. ส่ิงสนับสนุนการเรียนรู6.1 การบริหารงบประมาณ

เปนหลักสูตรเลี้ยงตนเองภายใตเง่ือนไขการเบิกจายตามเกณฑมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ 6.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนท่ีมีอยูเดิม

ดานทรัพยากรสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมีความพรอมดานหนังสือ ตําราเฉพาะทาง และมีอุปกรณท่ีใชสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนอยางพอเพียง โดยท่ีศูนยบรรณสารและสื่อการศึกษาของมหาวิทยาลัยมีเอกสารสิ่งพิมพและสื่อการศึกษาท่ีสัมพันธกับสาขาบริหารธุรกิจ ดังนี ้

หนังสือเฉพาะสาขาบริหารธุรกิจ (ภาษาไทย) 2,954 ชื่อเรื่อง หนังสือเฉพาะสาขาบริหารธุรกิจ (ภาษาอังกฤษ) 2,050 ชื่อเรื่อง วารสารเฉพาะสาขาบริหารธุรกิจ (ภาษาไทย) 30 ชือ่เรื่อง วารสารเฉพาะสาขาบริหารธุรกิจ (ภาษาอังกฤษ) 6 ชื่อเรื่อง หนังสื่อ-ตําราดานอ่ืนๆ 129,416 ชื่อเรื่อง

54

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 55: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

วารสารภาษาไทย 409 ชื่อเรื่อง วารสารภาษาอังกฤษ 78 ชื่อเรื่อง

นอกจากนี้ยังมีสื่อการศึกษาในรูปแบบอ่ืนๆ เชน VCD, DVD, CD-ROM และหนังสืออิเล็กทรอนิกส บริการหองผานระบบอินเทอร เน็ต (Journal-Link และ VLS) และฐานขอมูล อิเล็กทรอนิกส ไดแก ABI/INFORM Complete, Academic Search Elite, Cambridge Journals Online, H.W. Wilson, Matichon e-Library, Sciences Direct, Springer Link, Web of Sciences และ Emerald Management

สําหรับอุปกรณคอมพิวเตอรและระบบเครือขายท่ีสนับสนุนการเรียนการสอนนั้น มหาวิทยาลัยมีโครงสรางพ้ืนฐาน ประกอบดวยระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูง มีระบบ Teleconference เชื่อมโยงมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ นครศรีธรรมราช และศูนยวิทยบริการ จ.สุราษฎรธานี รวมถึงระบบหองสมุดท่ีเชื่อมโยงท้ัง 2 หนวยงาน

6.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพ่ิมเติม มีการประสานงานกับศูนยบรรณสารและสื่อการศึกษา ในการจัดซ้ือหนังสือ ตําราและฐานขอมูลท่ี

เก่ียวของ เพ่ือบริการใหอาจารยและนักศึกษาไดคนควาวิจัย และใชประกอบการเรียนการสอน ในการประสานการจัดซ้ือหนังสือ ตําราและฐานขอมูลนั้น อาจารยผูสอนแตละรายวิชา จะมีสวนรวมในการเสนอแนะรายชื่อ ตลอดจนสื่ออ่ืนๆ ท่ีจําเปน นอกจากนี้อาจารยพิเศษท่ีเชิญมาสอนบางรายวิชาและบางหัวขอ ก็มีสวนในการเสนอแนะการจัดหาทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน สําหรับใหศูนยบรรณสารและสื่อการศึกษาจัดซ้ือหนังสือดวย

6.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากรเรียนรู คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําหลักสูตรฯ จะประสานงานในการจัดซ้ือจัดหาหนังสือ รวมถึง

ฐานขอมูลเพ่ือการวิจัยในรูปแบบตางๆ เขาศูนยบรรณสารและสื่อการศึกษา และทําหนาท่ีประเมินความพอเพียงของหนังสือ ตํารา ฐานขอมูล ตลอดจนประเมินความเหมาะสมและความเพียงพอของโสตทัศนอุปกรณ ซ่ึงจะสนับสนุนและอํานวยความสะดวกในการเรียนการสอน

7. ตัวบงช้ีผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators)

ตัวบงชี้และเปาหมาย ปการศึกษา

2560 2561 2562 2563 2564 1. อาจารยผูรับผิดชอบหลักสตูรอยางนอยรอยละ 80 มีสวนรวมในการประชุม

เพ่ือวางแผน ติดตาม และทบทวนการดําเนินงานหลักสตูร X X X X X

2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ท่ีสอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแหงชาต ิหรือ มาตรฐานคณุวุฒิสาขา/สาขาวิชา X X X X X

3. มีการจัดทํารายละเอียดของรายวิชา ตามแบบ มคอ.3 อยางนอยกอนเปดการสอนในแตละภาคการศึกษาใหครบทุกรายวิชา X X X X X

4. จัดทํารายงานผลการดําเนินงานของรายวิชา ตามแบบ มคอ.5 ท่ีเปดสอนภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดการสอบปลายภาคการศึกษาครบทุกรายวิชา X X X X X

5. จัดทํารายงานผลการดําเนินงานของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60วัน หลังสิ้นสดุปการศึกษา X X X X X

6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู ท่ีกําหนดในมคอ.3 อยางนอยรอยละ 25 ของรายวิชาท่ีเปดสอนในแตละปการศึกษา

X X X X X

55

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 56: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ตัวบงชี้และเปาหมาย ปการศึกษา

2560 2561 2562 2563 2564 7. มีการพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธการสอน หรือ

การประเมินผลการเรยีนรู จากรายงานผลการประเมินการดําเนินงานของหลักสตูรใน มคอ.7 ปท่ีแลว

X X X X

8. อาจารยใหม (ถาม)ี ทุกคน ไดรับการปฐมนิเทศหรือคําแนะนําดานการจัดการเรียนและการสอนใหคําปรกึษาในการทําวิทยานิพนธ X X X X X

9. อาจารยประจําหลักสูตรทุกคนไดรับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพอยางนอยปละ 1 ครั้ง X X X X X

10. บุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถามี) ไดรับการพัฒนาทางวิชาการและ/หรอื วิชาชีพอยางนอยรอยละ 50 ตอป X X X X X

11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปสุดทาย/มหาบัณฑิตใหมท่ีมีตอคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไมนอยกวา 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 X X X X

12. ระดับความพึงพอใจของผูใชมหาบัณฑิตตอมหาบัณฑิตใหมเฉลี่ยไมนอยกวา3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 X X X

รวมตัวบงช้ี (ขอ) ในแตละป 9 11 12 12 12 ตัวบงช้ีบังคับ (ขอท่ี) 1-5 1-5 1-5 1-5 1-5 ตัวบงช้ีท่ีตองผาน (ขอ) 8 9 10 10 10

หมวดที ่8 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของหลักสูตร

1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน1.1 การประเมินกลยุทธการสอน

กระบวนการท่ีจะใชในการประเมินและปรับปรุงยุทธศาสตรท่ีวางแผนไว เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนนั้น พิจารณาจากตัวผูเรียน โดยอาจารยผูสอนจะตองประเมินผูเรียนในทุกๆ หัวขอ อภิปรายโตตอบจากนักศึกษา การตอบคําถามของนักศึกษาในการทําวิจัย การทําวิทยานิพนธ ซ่ึงเม่ือรวบรวมขอมูลจากท่ีกลาวขางตนแลว ก็ควรจะสามารถประเมินเบ้ืองตนไดวา ผูเรียนมีความเขาใจหรือไม หากวิธีการท่ีใชไมสามารถทําใหผูเรียนเขาใจได ก็จะตองมีการปรับเปลี่ยนวิธีสอน

1.2 การประเมินทักษะของอาจารยในการใชแผนกลยุทธการสอน ใหนักศึกษาไดมีการประเมินผลการสอนของอาจารยในทุกดาน ท้ังดานทักษะกลยุทธการสอน การ

ตรงตอเวลา การชี้แจงเปาหมาย วัตถุประสงครายวิชา ชี้แจงเกณฑการประเมินผลรายวิชา และการใชสื่อการสอนในทุกรายวชิา

2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม2.1 ประเมินจากนักศึกษาและศิษยเกา

ดําเนินการประเมินจากนักศึกษา โดยติดตามจากผลการทําวิทยานิพนธ ซ่ึงอาจารยสามารถประเมินผลการทํางานไดต้ังแตเริ่มตนกระบวนการจนถึงข้ันตอนการนําเสนอเปนรายบุคคล และสําหรับศิษยเกานั้นจะประเมินโดยใชแบบสอบถามหรืออาจจะจัดประชุมศิษยเกาตามโอกาสท่ีเหมาะสม

56

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 57: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

2.2 ประเมินจากนายจางหรือสถานประกอบการ ดําเนินการโดยการสัมภาษณจากสถานประกอบการ หรือใชวิธีการสงแบบสอบถามไปยังผูใช

มหาบัณฑิต 2.3 ประเมินโดยผูทรงคุณวุฒิหรือท่ีปรึกษา

ดําเนินการโดยเชิญผูทรงคุณวุฒิมาใหความเห็นหรือจากขอมูลในรายงานผลการดําเนินงานหลักสูตร หรือจากรายงานของการประเมินผลการประกันคุณภาพภายใน

3. การประเมินผลการดําเนินงานตามท่ีกําหนดในรายละเอียดหลักสูตร ใหประเมินตามตัวบงชี้ผลการดําเนินงานท่ีระบุไวในหมวด 7 ขอ 7 โดยคณะกรรมการประเมินอยางนอย

3 คน ซ่ึงตองประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาเดียวกันอยางนอย 1 คน (ควรเปนคณะกรรมการประเมินชุดเดียวกับการประกันคุณภาพภายใน)

4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง จากการรวบรวมขอมูลการประเมินท้ังหมด จะทําใหทราบปญหาของการบริหารหลักสูตรท้ังใน

ภาพรวม และในแตละรายวิชา กรณีท่ีพบปญหาของรายวิชาก็สามารถท่ีจะดําเนินการปรับปรุงรายวิชานั้นๆ ไดทันที ซ่ึงก็จะเปนการปรับปรุงยอย ในการปรับปรุงยอยนั้นควรทําใหตลอดเวลาท่ีพบปญหา สําหรับการปรับปรุงหลักสูตรท้ังฉบับนั้นจะปรับปรุงอยูเสมอ ท้ังนี้เพ่ือใหหลักสูตรมีความทันสมัยและสอดคลองกับความตองการของผูใชมหาบัณฑิตอยูเสมอ

เอกสารแนบ 1. ภาคผนวก ก การเปรียบเทียบหลักสูตร พ.ศ. 2554 และ พ.ศ 25602. ภาคผนวก ข ขอบังคับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณวาดวยการศึกษาข้ันบัณฑิตศึกษา พ.ศ.25603. ภาคผนวก ค คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร4. ภาคผนวก ง ประวัติของอาจารยประจําหลักสูตร

57

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 58: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ภาคผนวก ก ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2560

58

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 59: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ตารางเปรียบเทียบ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขา บริหารธุรกิจ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554)

และหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขา บริหารธุรกิจ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)

1. เปรียบเทียบช่ือหลักสูตร และช่ือปริญญา

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2554 หลักสูตรปรับปรุงใหม พ.ศ. 2560

1. ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ (ภาษาอังกฤษ) Master of Business Administration Program in Business Administration

2. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) (ภาษาอังกฤษ) Master of Business Administration (Business Administration)

1. ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ (ภาษาอังกฤษ) Master of Business Administration Program in Business Administration

2. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) (ภาษาอังกฤษ) Master of Business Administration (Business Administration)

2. เปรียบเทียบโครงสรางหลักสูตร หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2554 (15 หนวยวิชา/หนวยกิต)

หลักสูตรปรับปรุงใหม พ.ศ. 2560 (55 หนวยกิต)

แผน ก แบบ ก 2 1) หมวดวิชาเสริมพ้ืนฐาน - ACT-611 การบัญชีการเงิน - BUS-621 สถิติธุรกิจและการจัดการ - BUS-622 จริยธรรมทางธุรกิจ 2) หมวดวิชาบังคับ (10 หนวยวิชา) - ACT-612 การบัญชีเพื่อการจัดการ (1 หนวยวิชา) - BUS-623 การจัดการและพฤติกรรมองคการ (1 หนวยวิชา) - BUS-721 การวิจัยทางธุรกิจและการจัดการ (1 หนวยวิชา) - BUS-723 การจัดการกลยุทธ (1 หนวยวิชา) - BUS-921 สัมมนาทางบริหารธุรกิจ (1 หนวยวิชา) - ECN-671 เศรษฐศาสตรเพื่อการจัดการ (1 หนวยวิชา) - FNC-651 การจัดการการเงิน (1 หนวยวิชา) - HRM-631 การจัดการทรัพยากรมนุษย (1 หนวยวิชา) - MAR-641 การจัดการการตลาด (1 หนวยวิชา) - LGT-761 การจัดการการดําเนินงานและโซอุปทาน (1 หนวยวิชา) 3) หมวดวิทยานิพนธ (5 หนวยวิชา)

แผน ก แบบ ก 2 1) หมวดวิชาเสริมพ้ืนฐาน - ACT60-611 การบัญชีการเงิน - BUS60-621 สถิตเิพื่อการจัดการธุรกิจ - BUS60-622 พันธกิจสังคม - HRM60-631 ภาวะผูนําและการสื่อสาร 2) หมวดวิชาบังคับ (40 หนวยกิต) - ACT60-612 การบัญชีเพื่อการจัดการ (4 หนวยกิต) - BUS60-723 การวิจัยทางธุรกิจและการจัดการ (4 หนวยกิต) - BUS60-724 นวัตกรรมและการประกอบธุรกิจ (4 หนวยกิต) - BUS60-929 สัมมนาทางการบริหารธุรกิจ (4 หนวยกิต) - ECN60-671 การวิเคราะหทางเศรษฐกิจเพื่อการตัดสินใจ ทางธุรกิจ (4 หนวยกิต) - FNC60-651 การจัดการการเงิน (4 หนวยกิต) - HRM60-632 พฤติกรรมองคการและการจัดการทรัพยากร มนุษย (4 หนวยกิต) - MAR60-641 การจัดการการตลาด (4 หนวยกิต) - MGT60-781 การบริหารโครงการ (4 หนวยกิต) - MGT60-782 การจัดการกลยุทธ (4 หนวยกิต) 3) หมวดวิทยานิพนธ (15 หนวยกิต)

59

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 60: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2554 (15 หนวยวิชา/หนวยกิต)

หลักสูตรปรับปรุงใหม พ.ศ. 2560 (55 หนวยกิต)

แผน ข 1) หมวดวิชาเสริมพ้ืนฐาน - ACT-611 การบัญชีการเงิน - BUS-621 สถิติธุรกิจและการจัดการ - BUS-622 จริยธรรมทางธุรกิจ

2) หมวดวิชาบังคับ (10 หนวยวิชา)- ACT-612 การบัญชีเพ่ือการจัดการ (1 หนวยวิชา)- BUS-623 การจัดการและพฤติกรรมองคการ

(1 หนวยวิชา) - BUS-721 การวิจัยทางธุรกิจและการจัดการ

(1 หนวยวิชา) - BUS-723 การจัดการกลยุทธ (1 หนวยวิชา) - BUS-921 สัมมนาทางบริหารธุรกิจ (1 หนวยวิชา) - ECN-671 เศรษฐศาสตรเพ่ือการจัดการ (1 หนวยวิชา) - FNC-651 การจัดการการเงิน (1 หนวยวิชา) - HRM-631 การจัดการทรัพยากรมนุษย (1 หนวยวิชา) - MAR-641 การจัดการการตลาด (1 หนวยวิชา) - LGT-761 การจัดการการดําเนินงานและโซอุปทาน

(1 หนวยวิชา)

3) หมวดวิชาเลือก (3 หนวยวิชา) - ACT-711 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร

(1 หนวยวิชา) - ACT-712 รายงานการเงินและการวิเคราะหงบการเงิน (1 หนวยวิชา) - BUS-624 ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ (1 หนวยวิชา) - BUS-626 การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองคการ

(1 หนวยวิชา) - BUS-724 การวิเคราะหเชิงปริมาณเพ่ือการจัดการทาง

ธุรกิจ (1 หนวยวิชา) - BUS-726 การจัดการธุรกิจระหวางประเทศ

(1 หนวยวิชา) - BUS-727 นวัตกรรมและการประกอบธุรกิจ

(1 หนวยวิชา)

แผน ข 1) หมวดวิชาเสริมพ้ืนฐาน - ACT60-611 การบัญชีการเงิน - BUS60-621 สถิติเพ่ือการจัดการธุรกิจ - BUS60-622 พันธกิจเพ่ือสังคม - HRM60-631 ภาวะผูนําและการสื่อสาร 2) หมวดวิชาบังคับ (40 หนวยกิต)

- ACT60-612 การบัญชีเพ่ือการจัดการ (4 หนวยกิต) - BUS60-723 การวจิัยทางธุรกิจและการจัดการ (4 หนวยกิต)

- BUS60-724 นวัตกรรมและการประกอบธุรกิจ (4 หนวยกิต) - BUS60-929 สัมมนาทางการบริหารธุรกิจ (4 หนวยกิต) - ECN60-671 การวิเคราะหทางเศรษฐกิจเพ่ือการตัดสินใจ ทางธุรกิจ(4หนวยกิต) - FNC60-651 การจัดการการเงิน (4 หนวยกิต)

- HRM60-632 พฤติกรรมองคการและการจัดการทรัพยากร มนุษย (4 หนวยกิต) - MAR60-641 การจัดการการตลาด (4 หนวยกิต)

- MGT60-781 การบริหารโครงการ (4 หนวยกิต) - MGT60-782 การจัดการกลยุทธ (4 หนวยกิต)

3) หมวดวิชาเลือก (8 หนวยกิต) - ACT60-713 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร (4 หนวยกิต) - ACT60-714 รายงานการเงินและการวิเคราะหงบการเงิน (4 หนวยกิต)

- BUS60-625 ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ (4 หนวยกิต) - BUS60-726 การจัดการธุรกิจระหวางประเทศ (4 หนวยกิต)

- BUS60-727 การวิเคราะหเชิงปริมาณเพ่ือการจัดการทาง (4 หนวยกิต) - BUS60-728 การจัดการธุรกิจอยางยั่งยืน (4 หนวยกิต) - LGT60-761 การจัดการการดําเนินงาน (4 หนวยกิต) - LGT60-762 การจัดการโลจิสติกสและโซอุปทาน (4 หนวยกิต)

- MAR60-742 การวางแผนและกลยุทธทางการตลาด (4 หนวยกิต)

60

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 61: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2554 (15 หนวยวิชา/หนวยกิต)

หลักสูตรปรับปรุงใหม พ.ศ. 2560 (55 หนวยกิต)

- BUS-728 การจัดการการสื่อสารและการเจรจาตอรอง (1 หนวยวิชา) - MAR-741 พฤติกรรมผูบริโภค (1 หนวยวิชา) - MAR-742 การวางแผนและกลยุทธทางการตลาด

(1 หนวยวิชา) - TOI-781 การจัดการธุรกิจทองเท่ียว (1 หนวยวิชา)

4) หมวดการคนควาอิสระ (2 หนวยวิชา)

- MGT60-783 การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองคการ (4 หนวยกิต)

- MGT60-784 การจัดการการสื่อสารและการเจรจาตอรอง (4 หนวยกิต) - MGT60-785 ความคิดสรางสรรคและการออกแบบ ผลิตภัณฑ (4 หนวยกิต)

4) หมวดการคนควาอิสระ (7 หนวยกิต)

61

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 62: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

3. เปรียบเทียบรายวิชาในหลักสูตรหลักสูตรเดิม พ.ศ. 2554

(15 หนวยวิชา) หนวยวิชา หลักสูตรปรับปรุงใหม พ.ศ. 2560

(55 หนวยกิต) หนวยกิต หมายเหตุ

แผน ก แบบ ก 2 แผน ก แบบ ก 2 1) หมวดวิชาเสริมพ้ืนฐาน 1) หมวดวิชาเสริมพ้ืนฐานACT-611 การบัญชีการเงิน 1 (4-0-8) ACT60-611 การบัญชีการเงิน 4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา BUS-621 สถิติธุรกิจและการจัดการ 1 (4-0-8) BUS60-621 สถิตเิพ่ือการจัดการธุรกิจ 4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา ชื่อและคําอธิบาย

รายวิชา BUS-622 จริยธรรมทางธุรกิจ 1 (4-0-8) ยกเลิก

BUS60-622 พันธกิจเพ่ือสังคม 2 (2-0-4) รายวิชาใหม HRM60-631 ภาวะผูนําและการสื่อสาร 2 (1-2-3) รายวิชาใหม

2) หมวดวิชาบังคับ (10 หนวยวิชา) 2) หมวดวิชาบังคับ (40 หนวยกิต)ACT-612การบัญชีเพ่ือการจัดการ 1 (4-0-8) ACT60-612 การบัญชีเพ่ือการจัดการ 4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา BUS-623 การจัดการและพฤติกรรมองคการ 1 (4-0-8) ยกเลิกรายวิชาและยายเนื้อหาบางสวนไปรวม

กับวิชา HRM60-632 พฤติกรรมองคการและการจดัการทรัพยากรมนุษย

BUS-721 การวิจัยทางธุรกิจและการจัดการ 1 (4-0-8) BUS60-723 การวิจัยทางธุรกิจและการจัดการ 4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา BUS60-724 นวัตกรรมและการประกอบธุรกิจ 4 (4-0-8) ยายมาจากหมวดวิชาเลือก และเปลี่ยนแปลง

รหัสวิชา BUS-921 สัมมนาทางบริหารธุรกิจ

ECN-671 เศรษฐศาสตรเพ่ือการจัดการ

FNC-651 การจัดการการเงิน

1 (4-0-8)

1 (4-0-8)

1 (4-0-8)

BUS60-929 สัมมนาทางการบริหารธุรกิจ

ECN60-671 การวิเคราะหทางเศรษฐกิจเพ่ือการตัดสินใจทางธุรกิจ FNC60-651 การจัดการการเงิน

4 (4-0-8)

4 (3-2-7)

4 (4-0-8)

เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา ชื่อวิชา และคําอธิบายรายวิชา เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวิชา เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา

62

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 63: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2554 (15 หนวยวิชา)

หนวยวิชา หลักสูตรปรับปรุงใหม พ.ศ. 2560 (55 หนวยกิต)

หนวยกิต หมายเหตุ

HRM60-632 พฤติกรรมองคการและการจัดการทรัพยากรมนุษย

4 (4-0-8) รายวิชาใหม

MAR-641 การจัดการการตลาด 1 (4-0-8) MAR60-641 การจัดการการตลาด 4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา MGT60-781 การบริหารโครงการ 4 (4-0-8) ยายมาจากหมวดวิชาเลือก และเปลี่ยนแปลง

รหัสวิชา BUS-723 การจัดการกลยุทธ 1 (4-0-8) MGT60-782 การจัดการกลยุทธ 4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา HRM-631 การจดัการทรัพยากรมนุษย 1 (4-0-8) ยกเลิกรายวิชาและยายเนื้อหาบางสวนไปรวม

กับวิชา HRM60-632 พฤติกรรมองคการและการจดัการทรัพยากรมนุษย

LGT-761 การจัดการการดําเนินงานและโซอุปทาน

1 (4-0-8) ยกเลิก

3) หมวดวิทยานิพนธ (5 หนวยวิชา) 3) หมวดวิทยานิพนธ (15 หนวยกิต)MBA-921 วิทยานิพนธ 5 (0-60-0) MBA60-910 วิทยานิพนธ 15 หนวยกิต

แผน ข แผน ข 1) หมวดวิชาเสริมพ้ืนฐาน 1) หมวดวิชาเสริมพ้ืนฐานACT-611 การบัญชีการเงิน 1 (4-0-8) ACT60-611 การบัญชีการเงิน 4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา BUS-621 สถิติธุรกิจและการจัดการ 1 (4-0-8) BUS60-621 สถิติเพ่ือการจัดการธุรกิจ 4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา ชื่อและคําอธิบาย

รายวิชา BUS-622 จริยธรรมทางธุรกิจ 1 (4-0-8) ยกเลิก

63

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 64: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2554 (15 หนวยวิชา)

หนวยวิชา หลักสูตรปรับปรุงใหม พ.ศ. 2560 (55 หนวยกิต)

หนวยกิต หมายเหตุ

BUS60-622 พันธกิจเพ่ือสังคม 2 (2-0-4) รายวิชาใหม HRM60-631 ภาวะผูนําและการสื่อสาร 2 (1-2-3) รายวิชาใหม

2) หมวดวิชาบังคับ (10 หนวยวิชา) 2) หมวดวิชาบังคับ (40 หนวยกิต)ACT-612การบัญชีเพ่ือการจัดการ 1 (4-0-8) ACT60-612 การบัญชีเพ่ือการจัดการ 4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา BUS-623 การจัดการและพฤติกรรมองคการ 1 (4-0-8) ยกเลิกรายวิชาและยายเนื้อหาบางสวนไปรวม

กับวิชา HRM60-632 พฤติกรรมองคการและการจดัการทรัพยากรมนุษย

BUS-721 การวิจัยทางธุรกิจและการจัดการ 1 (4-0-8) BUS60-723 การวิจัยทางธุรกิจและการจัดการ 4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา BUS60-724 นวัตกรรมและการประกอบธุรกิจ 4 (4-0-8) ยายมาจากหมวดวิชาเลือก และเปลี่ยนแปลง

รหัสวิชา BUS-921 สัมมนาทางบริหารธุรกิจ 1 (4-0-8) BUS60-929 สัมมนาทางการบริหารธุรกิจ 4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา ชื่อวิชา และคําอธิบาย

รายวิชา

ECN-671 เศรษฐศาสตรเพ่ือการจัดการ 1 (4-0-8) ECN60-671 การวิเคราะหทางเศรษฐกิจเพ่ือการตัดสินใจทางธุรกิจ

4 (3-2-7) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวิชา

FNC-651 การจัดการการเงิน 1 (4-0-8) FNC60-651 การจัดการการเงิน 4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา HRM60-632 พฤติกรรมองคการและการจัดการทรัพยากรมนุษย

4 (4-0-8) รายวิชาใหม

MAR-641 การจัดการการตลาด 1 (4-0-8) MAR60-641 การจัดการการตลาด 4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา MGT60-781 การบริหารโครงการ 4 (4-0-8) ยายมาจากหมวดวิชาเลือก และเปลี่ยนแปลง

รหัสวิชา BUS-723 การจัดการกลยุทธ 1 (4-0-8) MGT60-782 การจัดการกลยุทธ 4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา

64

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 65: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2554 (15 หนวยวิชา)

หนวยวิชา หลักสูตรปรับปรุงใหม พ.ศ. 2560 (55 หนวยกิต)

หนวยกิต หมายเหตุ

HRM-631 การจดัการทรัพยากรมนุษย 1 (4-0-8) ยกเลิกรายวิชาและยายเนื้อหาบางสวนไปรวมกับวิชา HRM60-632 พฤติกรรมองคการและการจดัการทรัพยากรมนุษย

LGT-761 การจัดการการดําเนินงานและโซอุปทาน

1 (4-0-8) ยกเลิก

3) หมวดวิชาเลือก (3 หนวยวิชา) 3) หมวดวิชาเลือก (8 หนวยกิต)ACT-711 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร 1 (4-0-8) ACT60-713 กฎหมายธุรกิจและการภาษีอากร 4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา ACT-712 รายงานการเงินและการวิเคราะหงบการเงิน

1 (4-0-8) ACT60-714 รายงานการเงินและการวิเคราะหงบการเงิน

4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา

BUS-624 ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ 1 (4-0-8) BUS60-625 การวิเคราะหธุรกิจ 4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวิชา

BUS-726 การจัดการธุรกิจระหวางประเทศ 1 (4-0-8) BUS60-726 การจัดการธุรกิจระหวางประเทศ 4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา และคําอธิบายรายวิชา BUS-724 การวิเคราะหเชิงปริมาณเพ่ือการจัดการทางธุรกิจ

1 (4-0-8) BUS60-727 การวิเคราะหเชิงปริมาณเพ่ือการตัดสินใจทางธุรกิจ

4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา และคําอธิบายรายวิชา

BUS60-728 การจัดการธุรกิจอยางยั่งยืน 4 (4-0-8) รายวิชาใหม BUS-727 นวัตกรรมและการประกอบธุรกิจ 1 (4-0-8) ยายไปหมวดวิชาบังคับ

LGT60-761 การจัดการการดําเนินงาน 4 (4-0-8) รายวิชาใหม LGT60-762 การจัดการโลจิสติกสและโซอุปทาน

4 (4-0-8) ยายมาจากหมวดวิชาบังคับ

MAR-742 การวางแผนและกลยุทธทางการตลาด

1 (4-0-8) MAR60-742 การวางแผนและกลยุทธทางการตลาด

4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา

65

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 66: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2554 (15 หนวยวิชา)

หนวยวิชา หลักสูตรปรับปรุงใหม พ.ศ. 2560 (55 หนวยกิต)

หนวยกิต หมายเหตุ

BUS-626 การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองคการ 1 (4-0-8) MGT60-783 การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองคการ

4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา และคําอธิบายรายวิชา

BUS-728 การจัดการการสื่อสารและการเจรจาตอรอง

1 (4-0-8) MGT60-784 การจัดการการสื่อสารและการเจรจาตอรอง

4 (4-0-8) เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา

MGT60-785 ความคิดสรางสรรคและการออกแบบ

4 (4-0-8) รายวิชาใหม

MAR-741 พฤติกรรมผูบริโภค 1 (4-0-8) ยกเลิก TOI-781 การจัดการธุรกิจทองเท่ียว 1 (4-0-8) ยกเลิก 4) หมวดการวิทยานิพนธ (2 หนวยวิชา) 4) หมวดวิทยานิพนธ (7 หนวยกิต)MBA-910 การคนควาอิสระ 2 (0-24-0) MBA60-921 การคนควาอิสระ 7 หนวยกิต

66

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 67: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ภาคผนวก ข ขอบังคับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณวาดวยการศึกษาขั้นบัณฑิตศึกษา

พ.ศ.2560

67

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 68: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ภาคผนวก ค คําสั่งแตงตัง้คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร

68

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 69: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

69

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 70: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ภาคผนวก ง ประวัติและผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําหลักสูตร

70

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 71: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

แบบฟอรมประวัติและผลงานของอาจารย (Curriculum Vitae)

นายสมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชา การจัดการ 222 ต.ไทยบุรี อ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทรศัพทโทรสาร Email

66-7567-2278 66-7567-2202 [email protected]

1. การศึกษา (เรียงลําดับจากปลาสุด)คุณวุฒิ สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา ป พ.ศ. Ph.D. Technopreneurship and Innovation Management/จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลยั พ.ศ. 2550 -2553

บช.ม. การบัญชีตนทุน/จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2530 -2533

บธ.บ. การบัญชี/วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา พ.ศ. 2528 -2530

บธ.บ. การจัดการท่ัวไป/มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2528 -2530

บธ.บ. การเงินการธนาคาร/มหาวิทยาลัยรามคําแหง พ.ศ. 2525 -2530

2. ประสบการณการทํางาน (เรียงลําดับจากปลาสุด)ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ.

คณบดสีํานักวิชาการจดัการ มหาวิทยาลัยวลยัลักษณ พ.ศ. 2554 - ปจจุบัน รองศาสตราจารยประจําสาขาวิชาการบัญชี สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2542 - ปจจุบัน รองอธิการบดีฝายบริหาร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2548 - 2549 - ผูอํานวยการหลักสูตรบัณฑิตศึกษาทางการจัดการ สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ - ผูกํากับดูแลศูนยวิทยบริการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดสรุาษฎรธานี

พ.ศ. 2545 - ปจจุบัน

ประธานหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการจัดการ สาขาวิชาการบัญชีและการภาษีอากร สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

พ.ศ. 2545- 2548

ประธานหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต (M.M.) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2544 – 2548 ประธานหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A.) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2543 – 2548 ประธานกรรมการบริหารโครงการ Walailak Hospitality Center พ.ศ. 2543 – 2548 คณบดีสํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2542 - 2547 ผูประสานงานหลักสูตรการบัญชี สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2540 – 2548 ผูประสานงานหลักสูตรบริหารธุรกิจ สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2541 - 2542 ผูชวยศาสตราจารยประจําสาขาวิชาการบัญชี สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2540 - 2542 ผูชวยศาสตราจารยประจําสาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2539 - 2540 หัวหนาสาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2538 - 2540

71

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 72: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ. อาจารยประจําสาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2533 - 2539 อาจารยประจําคณะบัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ พ.ศ. 2532 - 2533

3. ความเช่ียวชาญ

การวางระบบบัญชีตนทุน, การวิเคราะหงบการเงิน, การบัญชีเพ่ือการจัดการ การบริหารตนทุนเชิงกลยุทธ หลักการบัญชีตนทุนและการประยุกต, การบัญชีการเงิน, การพัฒนาองคกร, การจัดการธุรกิจเชิงกลยุทธ, การจัดการความรู, การบริหารการศึกษา, การจัดการธุรกิจเทคโนโลยี และการจัดการนวัตกรรม

4. ประสบการณการสอน

มี ไมมี ชื่อสถาบันการศึกษา สํานักวิชา สาขาวิชา/หลักสูตร ชื่อรายวิชา ป พ.ศ.

มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ การจัดการ 1. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

2. Ph.D. (บริหารธุรกิจ)

บัญชีการเงิน/บัญชีบรหิาร/บัญชีเพ่ือการจัดการ

ปรัชญาทางสังคมศาสตรในการวิจัยธุรกิจ/ประเด็นเฉพาะทางการบัญชี

2543-ปจจุบัน

2555-ปจจุบัน

มหาวทิยาลยัศลิปากร/มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร/ มหาวิทยาลยัแมโจ/มหาวิทยาลยัเกษมบัณฑิต/มหาวิทยาลยัเกริก/ มหาวิทยาลยัเซนตจอห/ มหาวิทยาลยัราชภฎัพระนคร/ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต/ มหาวิทยาลยัราชภฎัสงขลาและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีศรีวิชัย

-

-

การบัญชีข้ันตน/ บัญชีการเงิน/ ทฤษฎีบัญชี/ บัญชีตนทุน/ บัญชีบริหาร/ การจัดการตนทุนเชิงกลยุทธ และการจัดการนวัตกรรมกับการพัฒนาผูประกอบการ

2542-ปจจุบัน

5. ผลงานทางวิชาการยอนหลัง 5 ป (ท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา)

5.1 บทความวิจัย สมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ และปรรณ เกาเอ้ียน. (2558). ปจจัยท่ีมีผลตอการจัดการการเงินสวนบุคคลของ

ขาราชการตํารวจภูธรจังหวัดชุมพร. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, 32 (2), 29-57.

สุพิศ ฤทธิแกว, สมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ และจาตุรนต ชุติธรพงษ. (2558). ความสามารถในการจัดการความรูของโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตภาคใตตอนบนของประเทศไทย .วารสารการจัดการ, 4 (3), 64-82.

72

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 73: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

อาษาฒ สุวรรณพฤกษ, สมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ และนีรนาท แกวประเสริฐ ระฆังทอง. (2557). อิทธิผลของกระแสเงินสดอิสระ มูลคาเพ่ิมเชิงเศรษฐศาสตร และมูลคาเพ่ิมทางการตลาดท่ีสงผลตอราคาของหลักทรัพย การศึกษาเชิงประจักษของบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยในกลุม SET100. วารสารการจัดการ, 3 (2), 57-62.

สมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ, อรรจน บัณฑิตย และจาตุรนต ชุติธรพงษ. (2556). การจัดการความรูเพ่ือสรางสรรคนวัตกรรมของบุคลากรสายปฏิบัติการ. วิชาชีพของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ. วารสารพัฒนบริหารศาสตร, 55 (1), 1-30.

จีระนันท ทองสมัคร, รุงรวี จติภักดี และสมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ. (2556). การทองเท่ียวเชิงสรางสรรค: ทิศทางการพัฒนาการทองเท่ียวอยางยั่งยืน. วารสารการบริการและการทองเท่ียวไทย. 8 (2), 91-104.

สมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ, สมหมาย ทองมี และจาตุรนต ชุติธรพงษ. (2555). ความเปนองคกรนวัตกรรมและความสามารถทางนวัตกรรม กรณีศึกษาโรงพยาบาลเกาะสมุย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, 29 (2), 1-20.

สมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ, มนตรี อธิรัตนชัย และพงษพันธุ คําพรรณ. (2555). ความตองการแรงงานของอุตสาหกรรมอาหารแชเยือกแข็งในจังหวัดสงขลา. วารสารการจัดการ. 1 (2), 1-18.

5.2 บทความวิจัย/วิชาการท่ีเสนอในท่ีประชุมวิชาการ วิทยา ปอมแดง และสมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ. (2556). คุณภาพชีวิตของแรงงานพมาในอุตสาหกรรม

อาหารทะเลแชเยือกแข็งในจังหวัดระนอง: การประชุมระดับชาติ วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 2: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ประเทศไทย: 9 พฤษภาคม 2556. 131-144.

จิราพร พรหมเล็ก และสมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ. (2556). ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจใชสินเชื่อเอนกประสงค ธนาคารกรงุไทย จํากัด (มหาชน) ของขาราชการสวนทองถ่ิน ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธาน ี: การประชุมระดับชาติ วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 2: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ประเทศไทย: 9 พฤษภาคม 2556. 255-268.

ธีรเดช รักไทย และสมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ. (2557). นวัตกรรมแบบเปด: ปจจัยสูความสําเร็จในการใชระบบนวัตกรรม แบบเปด: การประชุมระดับชาติ วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 3: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ประเทศไทย: 2 พฤษภาคม 2557. 234-247.

เฟองฟา หิรัญกาญจน และสมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ. (2558). พฤติกรรมการใชสื่อสงัคมออนไลนของ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัด สพม11 เขตพ้ืนท่ี จังหวัดสุราษฎรธาน ี: การประชุมระดับชาติ

วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 4: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ประเทศไทย: 8 พฤษภาคม 2558. 198-220.

เคมีพนธ แสงแกว และสมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ. (2558). ความสัมพันธระหวางการรับรูสภาพแวดลอมในการทํางาน กับความเครียดในการทํางานของพนักงานเทศบาลเมืองทาขาม : การประชุมระดับชาติ วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 4: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ประเทศไทย: 8 พฤษภาคม 2558. 264-279.

เอกฐิติ ขวัญชู และสมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ. (2558). ความตองการสวัสดิการสังคมของคนพิการตําบลปาเว อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธาน ี: การประชุมระดับชาติ วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 4: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ประเทศไทย: 8 พฤษภาคม 2558. 647-661.

73

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 74: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ปทิตตา ไทยเจริญ และสมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ. (2558). สมรรถนะของตํารวจชุดรักษาความปลอดภัยและใหบริการนักทองเท่ียว สถานีตํารวจ สังกัดตํารวจภูธรภาค 8 : การประชุมระดับชาติ วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 4: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ประเทศไทย: 8 พฤษภาคม 2558. 376-391.

ทัศนีย นิภัสตรา และสมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ. (2558). พฤติกรรมการใชบริการเงินกูของสมาชิกสหกรณออมทรัพยครูสุราษฎรธานี จํากัด : การประชุมระดับชาติ วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 4: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ประเทศไทย: 8 พฤษภาคม 2558. 1168-1185.

ศุภกร สกลวิรัตน และสมนึก เอ้ือจริะพงษพันธ. (2558). รูปแบบการดํารงชีวิตและพฤติกรรมการใชสินเชื่อของลูกคาเชาซ้ือรถยนตกับธนาคารธนชาต จํากัด (มหาชน) ในจังหวัดสุราษฎรธาน ี: การประชุมระดับชาติ วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 4: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ประเทศไทย: 8 พฤษภาคม 2558. 1237-1251.

เบญจมาศ หอมกระแจะ และสมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ. (2558). ประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตของสํานักงานสรรพสามิต พ้ืนท่ีสาขาในเขตภาคใต: การประชุมระดับชาติ วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 4: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ประเทศไทย: 8 พฤษภาคม 2558. 1186-1201.

หนอมสิน เรืองเพชร และสมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ. (2558). การยอมรับระบบบัญชีคอมพิวเตอรขององคกรปกครองสวนทองถ่ินของพนักงานเทศบาลในจังหวัดสุราษฎรธานี: การประชุมระดับชาติ วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 4: มหาวิทยาลัยวลยัลักษณ ประเทศไทย: 8 พฤษภาคม 2558. 1278-1294.

ยุทธชัย ฮารีบิน และสมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ. (2559). การศึกษาความสัมพันธของความสามารถเชิงพลวัตรกับความสามารถ ในการจัดการความรู เพ่ือการพัฒนาการทองเท่ียวเชิงนิเวศของชุมชนคีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช: การประชุมระดับชาติ วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 5: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ประเทศไทย: 27 พฤษภาคม 2559. 193-211.

ธารทิพย อุบลสถิตย และสมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ. (2559). พฤติกรรมการบริโภคอาหารไทยของนักทองเท่ียวชาวตางชาติในอําเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธาน:ี การประชุมระดับชาติ วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 5: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ประเทศไทย: 27 พฤษภาคม 2559. 25-43.

5.3 หนังสือ/ตํารา/เอกสารการสอน (เขียนรูปแบบบรรณานุกรมของมหาวิทยาลัยตามระบบ American

Psychological Association APA 6th edition โดยเรียงจากปลาสุด) 1) ตํารา “การบัญชีข้ันตน” (ปรับปรุงใหม) พิมพโดย สํานักพิมพแมคกรอฮิล (ประเทศไทย) ตํารา “การ

บัญชีบริหาร” 4th (ปรับปรุงใหม) พิมพโดย สํานักพิมพแมคกรอฮิล (ประเทศไทย) พ.ศ. 2552 -2558 2) หนังสือ “การจัดการความรูกับนวัตกรรม: รูปแบบการพัฒนาความสามารถในการจัดการความรูของ

ผูประกอบการในประเทศไทย” พิมพโดย ศูนยหนังสือมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2553 3) ตํารา “หลักการบัญชีบริหาร” 1st พิมพโดย สํานักพิมพแมคกรอฮิล (ประเทศไทย) พ.ศ. 2551 4) ตํารา “การบัญชีตนทุน”1st (ปรับปรุงใหม) พิมพโดย สํานักพิมพแมคกรอฮิล (ประเทศไทย) พ.ศ. 2551 5) ตํารา “การบัญชีบริหาร” 3rd (ปรับปรุง) พิมพโดย สํานักพิมพแมคกรอฮิล (ประเทศไทย) พ.ศ. 2550 6) ตํารา “การบัญชีบริหาร” 1st และ2nd พิมพโดย สํานักพิมพแมคกรอฮิล (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549 7) หนังสือ “การบัญชีเพ่ือการจัดการและการบริหารตนทุน”4th (ปรับปรุง) พิมพโดย สํานักพิมพ

ธรรมนิติ พ.ศ. 2549 8) ตํารา “การบัญชีตนทุน 1” 3rd (ปรับปรุงใหม) พิมพโดย สาํนักพิมพแมคกรอฮิล (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549

74

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 75: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

9) หนังสือ “การบัญชีเพ่ือการจัดการและการบริหารตนทุน” 3rd (ปรับปรุง) พิมพโดยสํานักพิมพธรรมนิติพ.ศ. 2547

10) ตํารา “การบัญชีตนทุน 2” 3rd (ปรับปรุงใหม) พิมพโดย สํานักพิมพแมคกรอฮิล (ประเทศไทย) พ.ศ. 254711) หนังสือ “การบัญชีเพ่ือการจัดการและการบริหารตนทุน” 2nd (ปรับปรุง) พิมพโดย สํานักพิมพ

ธรรมนิติ พ.ศ. 254612) ตํารา “การบัญชีตนทุน 2” 2nd (ปรับปรุง) พิมพโดย สํานักพิมพแมคกรอฮิล (ประเทศไทย) พ.ศ. 254513) ตํารา “การบัญชีตนทุน 1” 2nd (ปรับปรุง) พิมพโดย สํานักพิมพแมคกรอฮิล (ประเทศไทย) พ.ศ. 254514) หนงัสือ “การบัญชีเพ่ือการจัดการและการบริหารตนทุน” 1st พิมพโดย สํานักพิมพธรรมนิติ พ.ศ. 254415) ตํารา “การบัญชีข้ันตน 2” พิมพโดย ศูนยบรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ.

2543 16) ตํารา “การบัญชีข้ันตน 1” พิมพโดย ศูนยบรรณสารและสือ่การศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลกัษณ พ.ศ. 254217) ตํารา “หลักการบัญชีข้ันตน” รวมกับ อ. สมเดช โรจนคุรีเสถียร พิมพโดย แมคกรอฮิล

(ประเทศไทย) พ.ศ. 254018) ตํารา “การบัญชีตนทุน 1” 1st” พิมพโดย สํานักพิมพแมคกรอฮิล (ประเทศไทย) พ.ศ. 253919) ตํารา “การบัญชีตนทุน 2” 1st รวมกับ รศ. ดวงมณี โกมารทัต พิมพโดยสํานักพิมพแมคกรอฮิล

(ประเทศไทย) พ.ศ. 253920) ตํารา “การบัญชีบริหาร” (งานแปล) เขียนโดย Jae K. Shim and Joel G. Siegal

พิมพโดย สํานักพิมพแมคกรอฮิล (ประเทศไทย) พ.ศ. 2538

6. เกียรติคุณและรางวัลเกียรติคุณ/รางวัลท่ีไดรับ ป พ.ศ.

ตริตาภรณชางเผือก (ต.ช.), ตริตาภรณมงกุฎไทย (ต.ม.), จตุรถาภรณชางเผือก (จ.ช.) - คุณเอ้ือยอดเยี่ยม (รางวัลจตุรพลัง) สถาบันสงเสริมการจัดการความรูเพ่ือสังคม (สคส)

2549

ครูดีเดน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ 2547 ท่ีปรึกษาดีเดน โครงการชุปชีวิตธุรกิจไทย ระยะท่ี 2 กรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

2547

ศิษยเกาดีเดน สาขาวิชาการบัญช ีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล-กรุงเทพ 2543

75

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 76: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

แบบฟอรมประวัติและผลงานของอาจารย (Curriculum Vitae)

นางสาววิภาวรรณ กล่ินหอม

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชา การจัดการ 222 ต.ไทยบุรี อ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทรศัพทโทรสาร Email

66-7567-2236 66-7567-2202 [email protected]

1. การศึกษา (เรียงลําดับจากปลาสุด)

คุณวุฒิ สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา ป พ.ศ. Ph.D. Human Resource Development/ มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2551 - 2555 ศศ.ม. การบริหารองคการ/ มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ. 2539 - 2541 พณ.บ. การตลาด/ มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร พ.ศ. 2532 - 2536

2. ประสบการณการทํางาน (เรียงลําดับจากปลาสุด)

ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ. อาจารย - มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2548 - ปจจุบัน

3. ความเช่ียวชาญ

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย, การบริหารองคการ

4. ประสบการณการสอน

มี ไมมี ชื่อสถาบันการศึกษา สํานักวิชา สาขาวิชา/หลักสูตร ชื่อรายวิชา ป พ.ศ.

มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ การจัดการ - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต /การจัดการมหาบัณฑิต - บริหารธุรกิจ

จริยธรรมทางธุรกิจ การจัดการกลยุทธ/ภาวะผูนํา/ หลักการจัดการ

2555 - ปจจุบนั

2548 – ปจจุบนั

76

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 77: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

5. ผลงานทางวิชาการยอนหลัง 5 ป (ท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา)5.1 บทความวิจัย วิภาวรรณ กลิ่นหอม. (2558). การจัดการทรัพยากรมนุษยเชิงกลยุทธเพ่ือรองรับการเขาสูประชาคม

เศรษฐกิจอาเซียนของอุตสาหกรรมยางพาราในประเทศไทย. วารสาร HR intelligence. 10(2), 41-65.

กัลยา กังสนันท วิภาวรรณ กลิ่นหอม. (2558). คุณภาพชีวิตของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน เขตพ้ืนท่ี 1 จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารการจัดการ. 6(2), 72-82.

วิภาวรรณ กลิ่นหอม. (2555). องคประกอบของกระบวนการภาวะผูนําการบริหารเพ่ือนําไปสูความเปนเลิศของคณะหรือสํานักวิชา: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐสามแหงแรกในประเทศไทย. วารสารการจัดการ. 1(1), 58-66.

Vipawan Klinhom, Chalong Tubsree. (2555). Middle-Level Administrative Leadership to Lead Thai Original Public Autonomous Universities toward Excellence. HRD Journal. 3(1), 50-62.

5.2 บทความวิจัย/วิชาการท่ีเสนอในท่ีประชุมวิชาการ วิภาวรรณ กลิ่นหอม. (2560). สมรรถนะผูนําเพ่ือความยั่งยืนขององคกร ทามกลางกระแสความ

เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอม กรณีชุมชนทุงหยีเพ็ง อําเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่: การประชุมวิชาการทรัพยากรมนุษยระดับชาติ ครั้งท่ี 1: หองกรุงเทพ 1-2 โรงแรมเซ็นทารา แกรนด แอท เซ็นทรัล พลาซาลาดพราว: ประเทศไทย: 13 กรกฎาคม 2560. 158-174.

วิภาวรรณ กลิ่นหอม. (2555). องคประกอบของกระบวนการภาวะผูนําการบริหารเพ่ือนําไปสูความเปนเลิศของคณะหรือสํานักวิชา: กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐสามแหงแรกในประเทศไทย: การประชุมระดับชาติ วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 1: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ประเทศไทย: 8 พฤษภาคม 2555. 310-320.

6. เกียรติคุณและรางวัล

เกียรติคุณ/รางวัลท่ีไดรับ ป พ.ศ. ดุษฎีนิพนธดีเดน สาขาวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ชื่อผลงาน : A CASE STUDY OF MIDDEL-LEVEL ADINISTRATIVE LEADERSHIP TO LEAD THE UNIVERSITY TO EXCELLENCE IN THAI ORIGINAL PUBLIC AUTONOMOUS UNIVERSITIES คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา

2555

77

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 78: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

แบบฟอรมประวัติและผลงานของอาจารย (Curriculum Vitae)

นางสาวจรรยา ชาญชัยชูจิต

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชา การจัดการ 222 ต.ไทยบุรี อ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทรศัพทโทรสาร Email

66-7567-2226 66-7567-2202 [email protected]

1. การศึกษา (เรียงลําดับจากปลาสุด)คุณวุฒิ สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา ป พ.ศ.

Ph.D. Logistics and Supply Chain Management/Curtin University (Australia)

พ.ศ. 2554 - 2558

M.Sc. Operational Research / University of Hertfordshire (U.K.)

พ.ศ. 2541- 2543

วท.บ. คณิตศาสตร/มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2536 - 2540

2. ประสบการณการทํางาน (เรียงลําดับจากปลาสุด)ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ.

อาจารย - มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2551 - ปจจุบัน

3. ความเช่ียวชาญการจัดการโลจิสติกสและโซอุปทาน

4. ประสบการณการสอน มี ไมมี

สถาบันการศึกษา คณะ/ภาควิชา วิชาท่ีสอน ป พ.ศ. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ ระบบสารสนเทศทางโลจิสติกส 2558 –ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การวิจัยทางธุรกิจ 2558 –ปจจุบัน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวชิาการจัดการ การจัดการการดําเนินงาน 2560

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การจัดการโลจิสติกสและโซอุปทาน

2557 –ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การบริหารการจัดซ้ือ 2558 –ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การวิจัยการดําเนินงาน 2557

78

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 79: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

สถาบันการศึกษา คณะ/ภาควิชา วิชาท่ีสอน ป พ.ศ. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การจําลองธุรกิจ 2557

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ ระเบียบวิธีวิจัยทางการจัดการ 2557

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ สัมมนาการดําเนินงาน 2557

5. ผลงานทางวิชาการยอนหลัง 5 ป (ท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา)5.1 บทความวิจัย

Albert Tan and Janya Chanchaichujit. (2016). A Decision Making Framework for Reverse Logistics Network Design.MIT Global Scale Network (Online), 16(05), 1-14. Janya Chanchaichujit, Jose Saavedra-Rosas, Mohammed Quaddus and Martin West. (2016).

The use of an optimisation model to design a green supply chain : a case study the Thai Rubber industry.The international journal of Logistics Management, 27(2), 595-

618. Chanchaichujit, J., J. Saavedra-Rosas, and A. Kaur. (2017). Analyzing impact of restructuring transportation, production and distribution on costs and environment- A case from the Thai Rubber industry. International Journal of Logistics Research and Applications. 20(3), 237-253.

5.3 หนังสือ/ตํารา/เอกสารการสอน Chanchaichujit ,J., J.Saavedra-Rosas. 2017. “Using Simulation Tools to Model Renewable Resources: The case of the Thai Rubber Industry.” Springer International, Switzerland (Tentative publishing date : June 2017).

79

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 80: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

แบบฟอรมประวัติและผลงานของอาจารย (Curriculum Vitae)

นางนีรนาท แกวประเสริฐ ระฆังทอง

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชา การจัดการ 222 ต.ไทยบุรี อ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทรศัพทโทรสาร Email

66-7567-3178 66-7567-3135 [email protected]

1. การศึกษา (เรียงลําดับจากปลาสุด)คุณวุฒิ สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา ป พ.ศ. ปร.ด. เศรษฐศาสตร/ มหาวิทยาลัยรามคําแหง พ.ศ. 2549 พบ.ม. การเงิน/อุตสาหกรรม/แรงงาน/ สถาบนับัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร พ.ศ. 2535 -2537 ศ.บ. เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ/ มหาวิทยาลยัรามคําแหง พ.ศ. 2531 -2534

2. ประสบการณการทํางาน (เรียงลําดับจากปลาสุด)ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ.

อาจารย - มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2540 - ปจจบุัน ผูอํานวยการศูนยบริการการศึกษา- มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2559 - ปจจบุัน รองผูอํานวยการศูนยบริการการศึกษา- มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2551

3. ความเช่ียวชาญพฤติกรรมผูบริโภค, โครงสรางตลาดของผลิตภัณฑตางๆ (เชน ตลาดแขงขันสมบูรณ) ในมุมมองทาง

เศรษฐศาสตร อุปสงค (ความตองการซ้ือ) ในภาคธุรกิจ, อุปทาน (ความตองการขาย ท่ีมีอยู) ในภาคธุรกิจ, การวิเคราะหอุตสาหกรรม

4. ประสบการณการสอน มี ไมมี

ชื่อสถาบันการศึกษา สํานักวิชา สาขาวิชา/หลักสูตร ชื่อรายวิชา ป พ.ศ. มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ การจัดการ - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

- เศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตรเพื่อการจัดการ เศรษฐศาสตรมหภาค 2/เศรษฐศาสตรอุตสาหกรรม/ เศรษฐศาสตรสายกลาง/ทฤษฎีและนโยบายการเงิน/สัมมนาทางเศรษฐศาสตร

2549 - ปจจุบนั 2540 - ปจจุบนั

80

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 81: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

5. ผลงานทางวิชาการยอนหลัง 5 ป (ท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา)5.1 บทความวิจัย อาษาฒ สุวรรณพฤกษ, สมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ และนีรนาท แกวประเสริฐ ระฆังทอง. (2557). อิทธิผล

ของกระแสเงินสดอิสระ มูลคาเพ่ิมเชิงเศรษฐศาสตร และมูลคาเพ่ิมทางการตลาดท่ีสงผลตอราคาของหลักทรัพย การศึกษาเชิงประจักษของบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยในกลุม SET100. วารสารการจัดการ, 3 (2), 57-62.

5.2 บทความวิจัย/วิชาการท่ีเสนอในท่ีประชุมวิชาการ อนุรักษ ถุงทอง, โองการ กุลสมบัติ, รัตนาวดี ศรีสุข โกฆะรัตน, นีรนาท แกวประเสริฐ ระฆังทอง, และ สุ

พิศ ฤทธิ์แกว. (2559). การวิเคราะหขอมูลโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายของนักศึกษาท่ีเขาเรียนท่ีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จากฐานขอมูลของศูนยบริการการศึกษาโดยใชโปรแกรม Python: การประชุมระดับชาติ วลัยลักษณวิจัย ครั้งท่ี 8: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ประเทศไทย: 7 กรกฏาคม 2559. 299-304.

Anurak Thungtonga, Ohnggahn Kulsombutb, Rattanawadee Srisuk Gokaratb, Neeranat Kaewprasert Rakangtongb, Supit Ritkaewb .(2558). The exploration of graduation rate at Walailak University using modern data analysis and visualization software: 2015 Association of Southeast Asian Institutions of Higher Learning (ASAIHL) Conference: Sokha Angkor Resort, Siem Reap, Cambodia ประเทศกัมพูชา: 2 ธันวาคม 2558. 113-118.

81

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 82: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

แบบฟอรมประวัติและผลงานของอาจารย (Curriculum Vitae)

นางรุงรวี จิตภักดี

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชา การจัดการ 222 ต.ไทยบุรี อ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทรศัพทโทรสาร Email

66-7567-2246 66-7567-2202 [email protected]

1. การศึกษา (เรียงลําดับจากปลาสุด)คุณวุฒิ สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา ป พ.ศ. Ph.D. Rural and Regional Planning and Development/ Asian

Institute of Technology (Australia) พ.ศ. 2552 - 2554

M.B.A. International Tourism & Hospitality Management/ Griffith University

พ.ศ. 2546 - 2548

รป.ม. รัฐประศาสนศาสตร/ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ. 2541 - 2543 ศ.บ. ภาษาอังกฤษ/ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พ.ศ. 2532 - 2536

2. ประสบการณการทํางาน (เรียงลําดับจากปลาสุด)ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ.

อาจารย - มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2548 - ปจจุบัน หัวหนากลุมวิจัยนวัตกรรมการจัดการและพันธกิจเพ่ือสังคม พ.ศ. 2558 - ปจจุบัน ผูจัดการศูนย WMS พันธกิจสัมพันธเพ่ือสังคม สานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

พ.ศ. 2557 - ปจจุบัน

รองคณบดี - สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2554 - ปจจุบัน

3. ความเช่ียวชาญพฤติกรรมนักทองเท่ียว, การทองเท่ียวโดยชุมชน

4. ประสบการณการสอน

มี ไมมี

ชื่อสถาบันการศึกษา สํานักวิชา สาขาวิชา/หลักสูตร ชื่อรายวิชา ป พ.ศ. มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ การจัดการ - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขา

บริหารธุรกิจ

ประเด็นเฉพาะทางการทองเท่ียว Project Management/ Community Based Tourism

2555 - ปจจุบัน

2548 – ปจจุบัน

82

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 83: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ชื่อสถาบันการศึกษา สํานักวิชา สาขาวิชา/หลักสูตร ชื่อรายวิชา ป พ.ศ. - อุตสาหกรรมทองเท่ียวและการบริการ

Management / Ecotourism Activities/ Ecotourism Impact Assessment/ Principals of Conducting Outbound Tours/ Tourist Behaviors/ Independent Study in Tourism and Hospitality Management / Tour Operation / Tourism and Hospitality Marketing/ Sustainable Tourism/ Ecotourism Management/ Human Resources Management for Tourism/ Strategic Management for Tourism/ Inter-cultural Business

Management

5. ผลงานทางวิชาการยอนหลัง 5 ป (ท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา)5.1 บทความวิจัย รุงรวี จิตภักดี และศันสนีย วงศสวัสดิ.์ (2559). การมีสวนรวมของชาวนาลุมน้ําปากพนังในการธํารงอัต

ลักษณขาวพันธุพ้ืนเมือง. วารสารวิจัยเพ่ือการพัฒนาเชิงพ้ืนท่ี, 8 (2)., 56-75. Jitpakdee, R.. (2014). The Potential Management in Community Based Ecotourism of Liled

Community, Surathani Province, Thailand, Rethink Asian Tourism: Culture, Encounters and Local Response. Cambridge Scholars Publising,UK, 1 (1), 233-246.

จีระนันท ทองสมัคร, รุงรวี จติภักด ีและสมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ. (2556). การทองเท่ียวเชิงสรางสรรค : ทิศทางสําหรับพัฒนาการทองเท่ียวอยางยั่งยืน. วารสารการบริการและการทองเทียวไทย. 8 (2), 91-104.

Jitpakdee, R. and Thapa, G.. (2012). Sustainability Analysis of Ecotourism on the Yao Noi Island, Thailand. the Asia Pacific Journal of Tourism Research, 25 (2), 153-158.

5.3 หนังสือ/ตํารา/เอกสารการสอน (เขียนรูปแบบบรรณานุกรมของมหาวิทยาลัยตามระบบ American Psychological Association APA 6th edition โดยเรียงจากปลาสุด)

รุงรวี จิตภักดี. (2558). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การจัดการทองเท่ียวชุมชน พิมพโดย ศูนยหนังสือ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ.

83

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 84: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

6. เกียรติคุณและรางวัล

เกียรติคุณ/รางวัลท่ีไดรับ ป พ.ศ. โครงการบริการวิชาการโดดเดน ชี่อผลงาน “ยกระดับการจัดการทองเท่ียวโดยชุมชนในภาคใตตอนบน” มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

2559

84

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 85: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

แบบฟอรมประวัติและผลงานของอาจารย (Curriculum Vitae)

นางจินตนีย รูซ่ือ

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชา การจัดการ 222 ต.ไทยบุรี อ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทรศัพทโทรสาร Email

66-7567-2210 66-7567-2202 [email protected]

1. การศึกษา (เรียงลําดับจากปลาสุด)

คุณวุฒิ สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา ป พ.ศ. Ph.D. Economics/ มหาวิทยาลัยเชียงใหม

พ.ศ. 2550 - 2556

ศ.ม. เศรษฐศาสตร/ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

พ.ศ. 2545 - 2548

ศ.บ. เศรษฐศาสตรเกษตร อุตสาหกรรม และระหวางประเทศ/มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

พ.ศ. 2541 - 2545

2. ประสบการณการทํางาน (เรียงลําดับจากปลาสุด)

ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ. อาจารย - มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2548 - ปจจุบัน ผูจัดการหลักสูตรบัณฑิตศึกษาทางการจัดการ – สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

พ.ศ. 2558 - ปจจุบัน

3. ความเช่ียวชาญ

เศรษฐศาสตรการจัดการ: พฤติกรรมผูบริโภค, โครงสรางตลาดม โครงสรางอุตสาหกรรมกลยุทธการตลาด, เทคนิคการจัดการและวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ, การใช Software ทางสถิติ ; SPSS, Eviews, Stata

4. ประสบการณการสอน

มี ไมมี ชื่อสถาบันการศึกษา สํานักวิชา สาขาวิชา/หลักสูตร ชื่อรายวิชา ป พ.ศ.

มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ การจัดการ - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

เศรษฐศาสตรเพื่อการจัดการ/ การวิจัยทางธุรกิจและการจดัการ

2557 - ปจจุบนั

85

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 86: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ชื่อสถาบันการศึกษา สํานักวิชา สาขาวิชา/หลักสูตร ชื่อรายวิชา ป พ.ศ. - เศรษฐศาสตร การพยากรณทางเศรษฐศาสตร

ธุรกิจ/การวิเคราะหอนุกรมเวลา/คณิตศาสตรสาํหรับเศรษฐสาสตรและการจัดการ/เศรษฐศาสตรเบื้องตน/เศรษฐศาสตรจลุภาค/เศรษฐกิจอาเซียน/วิจัยทางเศรษฐศาสตร/

2548 - ปจจุบนั

5. ผลงานทางวิชาการยอนหลัง 5 ป (ท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา)

5.1 บทความวิจยั/วิชาการท่ีเสนอในท่ีประชุมวิชาการ รุงกมล สุวรรณนิมิตร และจินตนีย รูซ่ือ. (2558). ปจจัยท่ีมีผลตอประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีขององคการ

บริหาร สวนตําบลในจังหวัดสรุาษฎรธาน ีขาราชการกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัยในพ้ืนท่ีภาคใต: การประชุมระดับชาติ วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 4: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ประเทศไทย: 8 พฤษภาคม 2558. 472-485.

จุฑารัตน สุทธิวิริยาภรณ และจินตนีย รูซ่ือ. (2558). ความรูความเขํ้าใจและปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับความรูความเขํ้าใจ ระเบียบเงินทดรองราชการชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติของ ขาราชการกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัยในพ้ืนท่ีภาคใต: การประชุมระดับชาติ วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 4: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ประเทศไทย: 8 พฤษภาคม 2558. 311-329.

บุญญิสา พัฒนวิริยะพิศาล และจินตนีย รูซ่ือ. (2558). ทัศนคติตอการเรียนภาษาจีนกลางของนักเรียนมัธยมศึกษาตอน ปลาย อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธาน:ี การประชุมระดับชาติ วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 4: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ประเทศไทย: 8 พฤษภาคม 2558. 556-568.

Jintanee Ruzhue Komkrit Wongkhae Siwaporn Fongthing Kantaporn Chuangchid (2016). Can Star Ranking on the Website Reflect Hotel’s Quality? An Comparison Analysis of Demand and Supply Side Information: The 4st Tourism and Hospitality International Conference.Prince of Songkla University, Thailand: 17th November 2016. 192-196.

6. เกียรติคุณและรางวัล

เกียรติคุณ/รางวัลท่ีไดรับ ป พ.ศ. รางวัลเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง เหรียญทอง 2545 รางวัลศึกษิตแหงปท่ีวลัยลักษณ ป 2545 2545

86

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 87: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

แบบฟอรมประวัติและผลงานของอาจารย (Curriculum Vitae)

นางพิมพลภัส พงศกรรังศิลป

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ 222 ต.ไทยบุรี อ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทรศัพทโทรสาร Email

075-672251 075-672202 [email protected]

1. การศึกษา (เรียงลําดับจากปลาสุด)

คุณวุฒิ สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา ป พ.ศ. Ph.D. (Sustainable Tourism Management),

University of Exeter (UK) Dissertation: Energy Consumption and the Ecological Footprint of Tourism in an Island Destination: the Case of KohSamui, Thailand.

พ.ศ. 2550 - 2554

วท.ม. (อุทยานและนันทนาการ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร Thesis: Psychological Impacts and Determination of Psychological Carrying Capacity of Waterfall Recreation Areas

พ.ศ. 2542 - 2545

วท.บ. (วนศาสตร) มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร พ.ศ. 2536 - 2540

2. ประสบการณการทํางาน (เรียงลําดับจากปลาสุด)

ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ. อาจารย สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ 2545 - ปจจุบัน ผูประสานงานหลักสตูร การจดัการการทองเท่ียวและ อุตสาหกรรมบริการ สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ

2546 – 2548

ผูชวยนักวิจัย ภาควิชาอนุรักษวิทยา คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2540 – 2545

3. ความเช่ียวชาญ

1) อุตสาหกรรมทองเท่ียวและการบริการ (Tourism and Hospitality Industry) 2) การจัดการการทองเท่ียวอยางยั่งยืน (Sustainable Tourism Management) 3) จิตวิทยาบริการ (service psychology) 4) ผลกระทบจากการทองเท่ียว (Tourism Impacts)

4. ประสบการณการสอน มี ไมมี ชื่อสถาบันการศึกษา คณะ/สํานักวิชา/ภาควิชา สาขาวิชา/หลักสูตร ชื่อรายวิชา ป พ.ศ.

มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การทองเท่ียวและการบริการ

1. ผลกระทบทางการทองเท่ียว

2. หัวขอเฉพาะในการจัดการทรัพยากรทองเท่ียว

3. อุตสาหกรรมทองเท่ียว

2555-ปจจุบัน

87

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 88: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

4. พฤติกรรมนักทองเท่ียวและการสื่อสารขามวัฒนธรรม

5. การวิจัยการทองเท่ียวและการบริการ 6. การจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ

7. ธุรกิจจัดประชุมและสัมมนา 8. การจัดการการทองเท่ียวและการบริการ 9. ระเบียบวิธีวิจัยทางการจัดการ

มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การทองเท่ียวและการบริการ

1. การสื่อความหมายสิ่งแวดลอม

2. การประเมินผลกระทบทางการทองเท่ียว

3. การทองเท่ียวแบบยั่งยืน

4. สถิติเศรษฐศาสตรและธุรกิจ

5. การจัดการทรัพยากรการทองเท่ียว

2545-2554

มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การทองเท่ียวและการบริการ

1. ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติการทองเท่ียว 2. กรณีศึกษาทางการทองเท่ียว 3. การวางแผนและการจัดการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ 4. กิจกรรมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ 5. นิเวศวิทยาบก 6 .พฤติกรรมผูบริโภค 7. การอนุรักษและการพัฒนาแหลงทองเท่ียว 8. อุตสาหกรรมการทองเท่ียว 2

2545-2554

5. ผลงานทางวิชาการยอนหลัง 5 ป

5.1 บทความวิจัย/วิชาการท่ีเสนอในท่ีประชุมวิชาการ พัชฐญา แซโงว ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป และพิมพลภัส พงศกรรังศิลป (2559). การวิเคราะหองคประกอบของ

รูปแบบการดํารงชีวิตของผูบริโภค Generation Y ในภาคใตฝงอาวไทยดวยโมเดล AIO. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎรธาน,ี 3(2), 43 – 69.

พิมพลภัส พงศกรรังศิลป และศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป (2559). พฤติกรรมการรับประทานอาหารนอกบานของผูบริโภคชาวนครศรีธรรมราช.วารสารสงขลานครินทร ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 22 (2), 1 - 18.

พิมพลภัส พงศกรรังศิลป (2557). การจัดการการทองเท่ียวชุมชนอยางยั่งยืน กรณีศึกษาบานโคกไคร. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal กลุมมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร, 7(3), 650 - 665.

Pusaksrikit, T., Pongsakornrungsilp, S. &Pongsakornrungsilp, P. (2014). The Development of the Mindful Consumption Process through the Sufficiency Economy, Advances in Consumer Research, 41(1), 332-336.

88

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 89: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

พัฐชญา แซโงว ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป และพิมพลภัส พงศกรรังศิลป. (2559). รูปแบบการดําเนินชีวิตของผูบริโภคและพฤติกรรมการบริโภค Generation Y ในภาคใตฝงอาวไทย. การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภันครสวรรค ครั้งท่ี 1 “ทองถ่ินภิวัตน” ความรูความเขาใจเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงของทองถ่ินในศตวรรษท่ี 21. มหาวิทยาลยัราชภัฏนครสวรรคประเทศไทย: 10 สิงหาคม 2559. 271 -279.

6. เกียรติคุณและรางวัล

เกียรติคุณ/รางวัลท่ีไดรับ ป พ.ศ. ผลงานวิจัยเดน สกว. ป พ.ศ. 2558 แผนงานวิจัย แนวทางการพัฒนาพุนํ้ารอนเค็มคลองทอม จังหวัดกระบ่ี อยางยั่งยืน

จาก: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

2559

รางวัลบุคลากรดเีดนดานการวิจัยประจําป พ.ศ. 2559

จาก: มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ 2559

ผลงานวิจัยเดน สกว. ป พ.ศ. 2557 แผนงานวิจัย การพัฒนาธุรกิจทองเท่ียวเพ่ือรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมทองเท่ียวจังหวัดกระบ่ี จาก: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

2558

89

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 90: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

แบบฟอรมประวัติและผลงานของอาจารย (Curriculum Vitae)

นายปยะ ปานผูมีทรัพย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ 222 ต.ไทยบุร ีอ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทรศัพทโทรสาร Email

075 672 290 075 672 202 [email protected]

1. การศึกษา (เรียงลําดับจากปลาสุด) คุณวุฒิ สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา ป พ.ศ.

Ph.D. Energy Economics and Finance/Heriot-Watt University (U.K.) พ.ศ. 2550 - 2555

พบ.ม. เศรษฐศาสตรธุรกิจ/สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร พ.ศ. 2536 - 2538

พณ.บ. การเงินและการธนาคาร/มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. 2532 - 2535

2. ประสบการณการทํางาน (เรียงลําดับจากปลาสุด) ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ.

ผูกํากับดูแล/สวนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ 27/07/2559 - ปจจุบัน อาจารย-มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ 03/07/2543 - ปจจุบัน

3. ความเช่ียวชาญ การเงินและแผนธุรกิจ

4. ประสบการณการสอน มี ไมมี

สถาบันการศึกษา คณะ/ภาควิชา วิชาท่ีสอน ป พ.ศ. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การเงินธุรกิจ 2555-ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ ระเบียบวิธีวิจัยทางการจัดการ 2557- ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การวิจัยทางธุรกิจ 2558- ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การเงินระหวางประเทศ 2555- ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การจัดการความม่ันค่ัง 2556- ปจจุบัน

5. ผลงานทางวิชาการยอนหลัง 5 ป (ท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา)

5.1 บทความวิจัย -ไมมี-

90

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 91: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

5.2 บทความวิจัย/วิชาการท่ีเสนอในท่ีประชุมวิชาการ เสาวณีย บุญละเอียด, พลอยไพลิน เองฉวน, การะเกตุ บุญสวัสดิ,์ รัชนีกร แซลิ่ม, สุจารี จิตรพินิตรุงเรือง, สุดารัตน สมดิษฐ และปยะ ปานผูมีทรัพย. (2560). ความตั้งใจใชบริการระบบชําระเงินออนไลนผาน เทคโนโลยีทางการเงินของประชาชนในประเทศไทย: การประชุมวิชาการระดับชาติ คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งท่ี 5, ณ โรงแรมโนโวเทล หัวหิน แอนด สปา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี: 29 มิถุนายน 2560. 819-831. ปยะ ปานผูมีทรัพย, ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลปและอาจารยวิลาวัณย ดึงไตรยภพ. (2559). พฤติกรรมการบริโภค

น้ําตาลกับเครื่องด่ืมกาแฟของผูบริโภคชาวไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติ“วลัยลักษณวิจัย”ครั้งท่ี 8, วันท่ี 8 กรกฎาคม 2559, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช. 184-185.

Piya Parnphumeesup Sandy A. Kerr. (2015). Energy Sources, Part B: Economics, Planning, and Policy, 10(4), 412-417.

ปยะ ปานผูมีทรัพย, ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป, จรรยา ชาญชัยชูจิต และวิลาวัณย ดึงไตรยภพ. (2558). การศึกษาความเปนไปไดทางการตลาดในการลงทุนผลิตยางพาราไรสี ไรกลิ่น. การประชุมวิชาการระดับชาต“ิวลัยลักษณวิจัย”ครั้งท่ี 7, วันท่ี 3 กรกฎาคม 2558, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช. 43-44.

6. เกียรติคุณและรางวัล

เกียรติคุณ/รางวัลท่ีไดรับ ป พ.ศ. ชื่อผลงาน : แหลงเงินทุนและศักยภาพในการเขาถึงแหลงเงินทุนของผูประกอบอาชีพหาบเร แผงลอย ในเขตอําเภอเมืองจังหวัดนครศรีธรรมราช. ชื่อรางวัล : รางวัลนําเสนอบทความดีเดน Best Presentation จาก : การประชุมวิชาการระดับชาติ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งท่ี 4 เม่ือ : 13/05/2559 ผูไดรับรางวัล : พิชยา เคลาคลิ้ง, มนตศิริ คงยิ้ม, สิราวรรณ บัวขนาบ, สุประวีณ ศรีคง, เสาวคนธ ชวยนุกูล, อรัญญา เลขาลักษณ และ ดร. ปยะ ปานผูมีทรัพย.

2559

91

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 92: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

แบบฟอรมประวัติและผลงานของอาจารย (Curriculum Vitae)

นางสาวพรเพ็ญ ทิพยนา

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ 222 ต.ไทยบุร ีอ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทรศัพทโทรสาร Email

075 672 248 075 672 202 [email protected]

1. การศึกษา (เรียงลําดับจากปลาสุด) คุณวุฒิ สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา ป พ.ศ.

Ph.D. การเงิน/สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร พ.ศ. 2551 - 2558 บธ.ม. บริหารธุรกิจ/มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ พ.ศ. 2539 - 2542 บธ.บ. บริหารธุรกิจ/มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พ.ศ. 2532 - 2535

2. ประสบการณการทํางาน (เรียงลําดับจากปลาสุด) ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ.

อาจารย-มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ 26/05/2547 - ปจจุบัน

3. ความเช่ียวชาญ Corporate Finance

4. ประสบการณการสอน มี ไมมี

สถาบันการศึกษา คณะ/ภาควิชา วิชาท่ีสอน ป พ.ศ. มหาวิทยาลัยวลยัลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การเงินธุรกิจ 2555-ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การจัดการการเงิน 2557- ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การวิจัยทางธุรกิจ 2557- ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ ความรูเบื้องตนเก่ียวกับตราสารอนุพันธ

2555- ปจจุบัน

5. ผลงานทางวิชาการยอนหลัง 5 ป (ท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา)

5.1 บทความวิจัย Pornpen Thippayana. (2014). Determinants of Capital Structure in Thailand. Procedia –

Social and Behavioral Sciences. 3rd Cyprus International Conference on Educational Research, CYICER 2014, 30 Jan - 1 Feb 2014, Lefkosa, North Cyprus. 2014 (143), 1074–1077.

92

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 93: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

5.2 บทความวิจัย/วิชาการท่ีเสนอในท่ีประชุมวิชาการ พรเพ็ญ ทิพยนา, นิษฐิดา สุดใหม และไพโรจน นวลนุม. (2560). ถอดบทเรียนการจัดการความรู: 10 ป

ของการจัดการกองทุนการเงินชุมชน ตําบลกะหรอ. การประชุมวิชาการระดับชาติวลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 6, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ, 499-511.

พัชริดา รอดเกิด, อริญา เนียมสงค, เกษร เหมรังษี , พัชริดา รอดเกิด, อรวรรณ ขุนดํา, มนตคนธ ณ พัทลุง, สุพัตรา วัฒนะชัย และ พรเพ็ญ ทิพยนา. (2559). การเขาถึงแหลงเงินทุนของชาวสวนยางพาราในจังหวัดนครศรีธรรมราช (Access to Finance for Rubber Plantation Workers in Nakhon Si Thammarat). การประชุมวิชาการระดับชาติ (MSSU Conference) (2559),ครั้งท่ี 4 วันท่ี 13 พฤษภาคม 2559, เพชรบุร:ี มหาวิทยาลัยศิลปากร. 899-910.

6. เกียรติคุณและรางวัล

เกียรติคุณ/รางวัลท่ีไดรับ ป พ.ศ. ชื่อผลงาน : การเขาถึงแหลงเงินของชาวสวนยางพาราในจังหวัดนครศรีธรรมราช (Access to Finance for Rubber Plantation Workers in Nakhon Si Thammarat) ชื่อรางวัล : รางวัลนําเสนอบทความดีเดน Best Presentation จาก : การประชุมวิชาการระดับชาติ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งท่ี 4 เม่ือ : 13/05/2559 ผูไดรับรางวัล : พัชริดา รอดเกิด, อริญา เนียมสงค, เกษร เหมรังษี , พัชริดา รอดเกิด, อรวรรณ ขุนดํา, มนตคนธ ณ พัทลุง, สุพัตรา วัฒนะชัย และ ดร.พรเพ็ญ ทิพยนา

2559

93

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 94: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

แบบฟอรมประวัติและผลงานของอาจารย (Curriculum Vitae)

นางสาวสมจินตนา คุมภัย

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ 222 ต.ไทยบุร ีอ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทรศัพทโทรสาร Email

075 672 220 075 672 202 [email protected]

1. การศึกษา (เรียงลําดับจากปลาสุด) คุณวุฒิ สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา ป พ.ศ.

รป.ด. การบริหารทรัพยากรมนุษย/สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร พ.ศ. 2547 - 2553 รป.ม. รัฐประศาสนศาสตร/จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2535 - 2537 ร.บ. บริหารรัฐกิจ/มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. 2528 - 2532

2. ประสบการณการทํางาน (เรียงลําดับจากปลาสุด)

ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ. อาจารย/สํานักวิชาการจัดการ 04/01/2543 - ปจจุบัน

3. ความเช่ียวชาญ การจัดการทรัพยากรมนุษย

4. ประสบการณการสอน มี ไมมี

สถาบันการศึกษา คณะ/ภาควิชา วิชาท่ีสอน ป พ.ศ. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การจดัการทรัพยากรมนษุย 2555-ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ ภาวะผูนําในการบริหาร 2555-ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การจัดการคาตอบแทน 2555-ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การวิจัยทางธุรกิจ 2557-ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชารัฐศาสตรและนิติศาสตร

การจดัการทรัพยากรมนษุยภาครัฐ

2557-ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การจัดการผลการปฏิบัติงาน 2557-ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร

การจดัการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมแบบบูรณาการ

2556-ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การวิจัยทรัพยากรมนุษยและองคการ

2555 - 2557

94

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 95: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

สถาบันการศึกษา คณะ/ภาควิชา วิชาท่ีสอน ป พ.ศ. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การประเมินการปฏิบัติงาน 2555 - 2557

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การจัดการความรู 2557

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การบริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ

2556

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การบริหารคุณภาพ 2556

5. ผลงานทางวิชาการยอนหลัง 5 ป (ท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา)

5.1 บทความวิจัย สมจินตนา คุมภัย. (2559). ปจจัยท่ีมีผลตอการมีสวนรวมของชาวชุมชนในองคการบริหารสวนตําบลตนแบบท่ี บูรณาการแผนชุมชนสูแผนพัฒนาทองถ่ิน จังหวัดนครศรีธรรมราช. Veridian E-Journal, Silpakorn

University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร สังคมศาสตรและศิลปะ, 2(9), 733-748.

5.2 บทความวิจัย/วิชาการท่ีเสนอในท่ีประชุมวิชาการ พิมพลภัส พงศกรรังศิลป และสมจินตนา คุมภัย. (2559). การรับรูของพลเมืองในจังหวัดกระบี่ตอการเปนเมือง

นาอยู. การประชุมวิชาการระดับชาต“ิวลัยลักษณวิจัย”ครั้งท่ี 8., มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช ประเทศไทย: 7 กรกฎาคม 2559. 188.

สมจินตนา คุมภัย, ปยะ ปานผูมีทรัพย, สุชาติ ฉันสําราญ, วิลาวัณย ดึงไตรยภพ และศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป. (2558). การมีสวนรวมและความพรอมของชุมชนในการพัฒนาการทองเท่ียวพุน้ํารอนเค็มคลองทอมจังหวัดกระบี.่ การประชุมวิชาการระดับชาต“ิวลัยลักษณวิจัย”ครั้งท่ี 7, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช ประเทศไทย: 3 กรกฎาคม 2558. 40-41.

สมจินตนา คุมภัย. (2558). เปรียบเทียบการสรางการมีสวนรวมแกชาวชุมชนขององคการบริหารสวนตําบล ใน จังหวัดนครศรีธรรมราช: กรณีศึกษาอบต. ตนแบบ กับ อบต. ไมใชตนแบบท่ีบูรณาการแผนชุมชนสู แผนพัฒนาทองถ่ิน. ประชุมวิชาการรัฐศาศตรและรัฐประศาสนศาสตรแหงชาติ ครั้งท่ี 15, มหาวิทยาลัย บูรพา ประเทศไทย: 5 พฤศจิกายน 2558. 121-122.

95

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 96: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

แบบฟอรมประวัติและผลงานของอาจารย (Curriculum Vitae)

นายศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ 222 ต.ไทยบุร ีอ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทรศัพทโทรสาร Email

075 672 292 075 672 202 [email protected]

1. การศึกษา (เรียงลําดับจากปลาสุด) คุณวุฒิ สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา ป พ.ศ.

Ph.D. Doctor of Philosophy, Management Studies in Marketing – the University of Exeter, Exeter, (U.K.)

พ.ศ. 2550 - 2553

บธ.ม. บริหารธุรกิจ/มหาวิทยาลัยแมโจ พ.ศ. 2540 - 2542 บธ.บ. การตลาด/มหาวิทยาลัยแมโจ พ.ศ. 2536 - 2539

2. ประสบการณการทํางาน (เรียงลําดับจากปลาสุด) ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ.

ผูชวยอธิการบดีฝายพัฒนาทรัพยสิน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ 2559-ปจจุบัน ผูอํานวยการฝายบริหารทรัพยสิน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ 2560-ปจจุบัน ผูชวยศาสตราจารย/สํานักวิชาการจัดการ 2548-ปจจุบัน อาจารยดานการตลาด สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ 2543-2548 ผูจัดการโครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

2543–2545

3. ความเช่ียวชาญ 1) Consumption Studies, Consumer Culture Theory, Value Creation Process in Social

Network, Consumer Experience, Brand Culture, Brand Community, 2) การวางแผนกลยุทธการตลาด การพัฒนาระบบบริการ การสรางตราสินคา 3) การสรางแบรนดและกลยุทธการตลาด (Branding and Maketing Strategy)

4. ประสบการณการสอน

มี ไมมี สถาบันการศึกษา คณะ/ภาควิชา วิชาท่ีสอน ป พ.ศ. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ หลักการตลาด 2556 -ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การวิจัยทางธุรกิจ 2558 -ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ กลยุทธตราสินคาและการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ

2555 -ปจจุบัน

96

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 97: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

สถาบันการศึกษา คณะ/ภาควิชา วิชาท่ีสอน ป พ.ศ. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การตลาดบนอินเตอรเน็ต 2555 -ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ สัมมนาการตลาด 2556-2558

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ พฤติกรรมผูบริโภค 2558

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบ

การจัดการธุรกิจการออกแบบ 2556-2557

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ

2555

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ หัวขอเฉพาะดาน: การตลาด 2555

5. ผลงานทางวิชาการยอนหลัง 5 ป (ท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา)

5.1 บทความวิจัย Sydney Chinchanachokchai, Theeranuch Pusaksrikit, and Siwarit Pongsakornrungsilp. (2016).

Exploring Different Types of Superstitious Beliefs in Risk-Taking Behaviors: What We Can Learn From Thai Consumers. (2016). Social Marketing Quarterly. 22(3), 1 – 17.

Siwarit Pongsakornrungsilp and Jonathan Schroeder. (2016). Consumers and Brands: How Consumers Co-Create Value (2016) In Routledge Handbooks of Consumption, Keller, M., Halkier, B., and Wilska, T.A. (eds.). Book Chapter. New York: Routledge. 92 – 102.

พิมพลภัส พงศกรรังศิลป และศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป. (2559) พฤติกรรมการรับประทานอาหารนอกบานของ ผูบริโภคชาวนครศรีธรรมราช. วารสารสงขลานครินทร ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร. 22 (2), 1 – 18.

พัชฐญา แซโงว, ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป และพิมพลภัส พงศกรรังศิลป. (2559). การวิเคราะหองคประกอบของรูปแบบการดํารงชีวิตของผูบริโภค Generation Y ในภาคใตฝงอาวไทยดวยโมเดล AIO. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎรธาน.ี 3(2), 43-69.

ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป และสุชาติ ฉันสําราญ. (2558) ศักยภาพทางการตลาดของอุตสาหกรรมการทองเท่ียวในภาคใตในมุมมองของนักทองเท่ียวชาวตางชาติ. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal กลุมมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร. 8(2), 556 – 570.

มัลลิกา คงแกว ประกอบ ใจม่ัน และศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป. (2558). กลยุทธเศรษฐกิจสรางสรรคงานฝมือและหัตถกรรม ผลิตภัณฑชุมชน. วารสารราชพฤกษ, 13(2), 41-50.

ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป. (2557). กระบวนการสรางคุณคารวมกัน: กระบวนทัศนการตลาดใหมในยุคสังคมออนไลน. วารสารสงขลานครินทร ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 20(3), 161 – 185.

ธีรนุช พูศักด์ิศรีกิจ และศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป (2557) บทบาทความเชื่อดานโชคลางตอพฤติกรรมการซ้ือสลากกินแบงรัฐบาลและหวยใตดินของผูบริโภคชาวไทย. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal กลุมมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร. 7(2), 1348-1361.

97

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 98: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป และสุรัตน ฐานะกาญจน. (2556). ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับการตัดสินใจซ้ือปุยเคมีของผูบริโภคในประเทศเวียดนาม. วารสารวิชาการVeridian E-Journal กลุมมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร, 6(3), 305-320.

Pusaksrikit, T., Pongsakornrungsilp, S. &Pongsakornrungsilp, P. (2014). The Development of the Mindful Consumption Process through the Sufficiency Economy, Advances in Consumer Research, 41(1), 332-336.

ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป และ ธีรนุช พูศักดิ์ศรีกิจ. (2555). ความเชื่อและพฤติกรรมการบริโภคเครื่องรางของขลังและวัตถุมงคลของชาวไทย. วารสารสงขลานครินทร ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 18 (3), 57 – 93.

5.2 บทความวิจัย/วิชาการท่ีเสนอในท่ีประชุมวิชาการ พัฐชญา แซโงว ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป และพิมพลภัส พงศกรรังศิลป. (2559). รูปแบบการดําเนินชีวิตของ

ผูบริโภคและพฤติกรรมการบริโภค Generation Y ในภาคใตฝงอาวไทย. การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภันครสวรรค ครั้งท่ี 1 “ทองถ่ินภิวัตน” ความรูความเขาใจเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงของทองถ่ินในศตวรรษท่ี 21. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรคประเทศไทย: 10 สิงหาคม 2559. 271 -279.

5.2 หนังสือ/ตํารา/เอกสารการสอน ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป. (2555). หลักการตลาด พิมพครั้งท่ี 2 กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ ทอป จํากัด. ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป. (2548). การโฆษณาและสงเสริมการตลาด: มุมมองของการสื่อสารการตลาดแบบ

บูรณาการ (แปลจาก George E. Belch and Michael A. Belch by the Right of McGraw-Hill) กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ ทอป จํากัด.

ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป. (2547). หลักการตลาด กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ ทอป จํากัด ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป. (2547). สถิติธุรกิจ กรุงเทพฯ: เพียรสัน อินโดไชนา จํากัด (ประเทศไทย). 6. เกียรติคุณและรางวัล

เกียรติคุณ/รางวัลท่ีไดรับ ป พ.ศ. รางวัลผลงานวิจัยดีเดน สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยจากแผนงานวิจัย แนวทางการพัฒนาแหลงทองเท่ียวพุน้ํารอนเค็มคลองทอม จังหวัดกระบี่อยางยั่งยืน.

2558

รางวัลผลงานวิจัยดีเดน สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยจากแผนงานวิจัย การพัฒนาธุรกิจทองเท่ียวเพ่ือรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมทองเท่ียว จังหวัดกระบี่

2557

รางวัล Bronze Award ในงาน Research Expo 2014 จัดโดยสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)

2557

รางวัลการบริการวิชาการดีเดน ป พ.ศ. 2557 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณจากผลงานทอฟฟสมโอแสงวิมาณ

2557

รางวัลโปสเตอรยอดเยี่ยม การประชุมวิชาการวลัยลักษณวิจัย ครั้งท่ี 3 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พ.ศ. 2556

2556

รางวัลการบริการวิชาการดีเดน ป พ.ศ. 2556 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณจากผลงานเยลลี่สมโอแสงวิมาน

2556

98

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 99: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

แบบฟอรมประวัติและผลงานของอาจารย (Curriculum Vitae)

นางภัทรวรรณ แทนทอง

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ 222 ต.ไทยบุร ีอ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทรศัพทโทรสาร Email

075 672 238 075 672 202 [email protected]

1. การศึกษา (เรียงลําดับจากปลาสุด) คุณวุฒิ สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา ป พ.ศ.

Ph.D. Marketing and International Business /Old Dominion University (U.S.A)

พ.ศ.2546

M.B.A. Marketing /Old Dominion University (U.S.A) พ.ศ.2540 M.B.A. Business Administration /มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ. 2536 - 2538 น.บ. นิติศาสตร/มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2529 - 2534 B.A. Economics/มหาวิทยาลัยหอการคาไทย พ.ศ. 2520 - 2523

2. ประสบการณการทํางาน (เรียงลําดับจากปลาสุด)

ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ. ผูชวยศาสตราจารย/สํานักวิชาการจัดการ 12/09/2548 - ปจจุบัน

3. ความเช่ียวชาญ 1) การวางแผนการทองเท่ียว กลยุทธการจัดการการทองเท่ียว 2) กลยุทธการตลาด การตลาดระหวางประเทศ การตลาดบริการ วิจัยการตลาด การจัดการเชิง

กลยุทธ

4. ประสบการณการสอน มี ไมมี

สถาบันการศึกษา คณะ/ภาควิชา วิชาท่ีสอน ป พ.ศ. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ กลยุทธการตลาด 2557-ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การตลาดบริการ 2557-ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ เศรษฐกิจสรางสรรค 2559

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ ระเบียบวิธีวิจัยทางการจัดการ 2557-ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ หัวขอเฉพาะดานการตลาด 2556-ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การวางแผนการตลาด 2557-ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การตลาดระหวางประเทศ 2555-ปจจุบัน

99

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 100: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

สถาบันการศึกษา คณะ/ภาควิชา วิชาท่ีสอน ป พ.ศ. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การวิจัยทางธุรกิจ 2558

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ ระบบสารสนเทศเพ่ือการตลาด 2557

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ แผนธุรกิจ 2555-2557

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การวางแผนและกลยุทธการตลาด 2555-2557

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การวิจัยการตลาด 1 2555-2557

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การวิจัยการตลาด 2 2555-2557

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การจัดการบริการ 2555-2556

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การจัดการรานคาปลีก 2555-2556

5. ผลงานทางวิชาการยอนหลัง 5 ป (ท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา) 5.1 บทความวิจัย

ธัญลักษณ ธรรมจักษ และภัทรวรรณ แทนทอง. (2560). พฤติกรรมการบริโภคอาหารเจของผูบริโภคในอําเภอเมือง จังหวัดตรัง. การประชุมวิชาการทางการจัดการระดับชาติ ครั้งท่ี 6 : Creativity’s Value and Innovation WMS Management Research National Conference # 6. วันท่ี 19 พฤษภาคม 2560, โรงแรมทวินโลตัส จังหวัดนครศรีธรรมราช. 49-66.

นิตยา รูจัก และภัทรวรรณ แทนทอง. (2560). ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับความตองการซ้ือคอนโดมิเนียม ในจังหวัดภูเก็ต. การประชุมวิชาการทางการจัดการระดับชาติ ครั้งท่ี 6 : Creativity’s Value and Innovation WMS Management Research National Conference # 6. วันท่ี 19 พฤษภาคม 2560, โรงแรมทวินโลตัส จังหวัดนครศรีธรรมราช. 30-48.

ภัทรวรรณ แทนทอง. (2556). การผลิตและจัดจําหนายขาวสังขหยดของเกษตรกรในจังหวัดพัทลุง Farmer’s Production and Distribution Channels of Sang Yod Rice in Phattalung Province. วารสารการจัดการ, 2(1), 1-6.

6. เกียรติคุณและรางวัล เกียรติคุณ/รางวัลที่ไดรับ ป พ.ศ.

ชื่อผลงาน : การประกวดแผนธรุกิจ โครงการแกะดําทําธุรกิจ พิชิตเงินลาน (ที่ปรึกษา) ชื่อรางวัล : รางวัลรองชนะเลิศ จาก : โครงการอุทยานวทิยาศาสตร ม วลัยลักษณ เมื่อ : 24/08/2559 ผูไดรับรางวัล : ผศ.ดร.ภัทรวรรณ แทนทอง

2559

ชื่อผลงาน : การประกวดแผนธรุกิจ โครงการแกะดําทําธุรกิจ พิชิตเงินลาน (ที่ปรึกษา) ชื่อรางวัล : รางวัลชนะเลิศ จาก : โครงการอุทยานวทิยาศาสตร ม วลัยลักษณ เมื่อ : 24/08/2559 ผูไดรับรางวัล : ผศ.ดร.ภัทรวรรณ แทนทอง

2559

100

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 101: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

แบบฟอรมประวัติและผลงานของอาจารย (Curriculum Vitae)

นางพนิดา แชมขาง

มหาวิทยาลัยวลัยลกัษณ สํานักวิชาการจัดการ 222 ต.ไทยบุร ีอ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทรศัพทโทรสาร Email

075 672 230 075 672 202 [email protected]

1. การศึกษา (เรียงลําดับจากปลาสุด) คุณวุฒิ สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา ป พ.ศ.

Ph.D. Operations Research/ Case Western Reserve University (U.S.A.)

พ.ศ. 2541 - 2543

M.S. Management Science/ Case Western Reserve University (U.S.A.)

พ.ศ. 2538 - 2541

M.S. Operations Research/ University of Delaware (U.S.A.) พ.ศ. 2536 - 2539

วท.บ. คณิตศาสตร/จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2532 - 2536

2. ประสบการณการทํางาน (เรียงลําดับจากปลาสุด)

ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ. อาจารย/สํานักวิชาการจัดการ 21/05/2544 - ปจจุบัน

3. ความเช่ียวชาญ Operations Research

4. ประสบการณการสอน มี ไมมี

สถาบันการศึกษา คณะ/ภาควิชา วิชาท่ีสอน ป พ.ศ. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การวิจัยดําเนินการเบื้องตน 2555 -ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ หลักเบื้องตนการวิเคราะหเชิงปริมาณ

2555- ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การจัดการสินคาคงคลัง 2556- ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ ระเบียบวิธีวิจัยทางการจัดการ 2557- ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การวิจัยทางธุรกิจ 2558 -ปจจุบัน

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาพยาบาลศาสตร

สถิติและการวิเคราะหขอมูลสําหรับวิจัยทางการพยาบาล

2556 - 2558

101

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 102: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

สถาบันการศึกษา คณะ/ภาควิชา วิชาท่ีสอน ป พ.ศ. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ หัวขอเฉพาะดาน: โลจิสติกส 2557 - 2558

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การบริหารคุณภาพและการเพ่ิมผลผลิต

2555 - 2556

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ สัมมนาการดําเนินงาน 2555 - 2556

5. ผลงานทางวิชาการยอนหลัง 5 ป (ท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา) 5.1 บทความวิจัย

ฐิติมา บูรณวงศ และ พนิดา แชมชาง. (2559). การพัฒนาระบบการจัดการสินคาคงคลัง กรณีศึกษา ตัวแทน จัดจําหนายสินคาของบริษัทกาแฟเขาชองอุตสาหกรรม 1979 จํากัด และบริษัท ฟอนเทียรา (ประเทศ ไทย) จํากัด จังหวัดสุราษฎรธาน ี(The Improvement of Inventory Management System: A Case Study of the Distributor for Khaoshong Industry 1979 Co.,Ltd. and Fonterra (Thailand) Co.,Ltd. in Surat Thani). สมาคมสงเสริมการวิจัย, 7(1), 157-166. นงครัตน แสนสมพร และ พนิดา แชมชาง. (2557). กิจกรรมและตนทุนโลจิสติกสของผูประกอบการลานเท ปาลมน้ํามันในจังหวัดกระบี่ (Logistics Activity and Cost of Entrepreneur or Cooperative (Lan Tay) Oil Palm in Krabi Province). วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร สาขาสังคมศาสตร :

KASETSART JOURNAL: SOCIAL SCIENCES, 35(2), 326-336. วริษา ขุนชํานาญ และ พนิดา แชมชาง. (2556). การวิเคราะหตําแหนงท่ีตั้งศูนยรวบรวมและกระจายปาลม น้ํามัน จังหวัดกระบี่ (A Location Analysis for Oil Palm Distribution Center in Krabi). วารสาร การจัดการ : WMS Journal of Management, 2(2),1-9.

102

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 103: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ประวัติและผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําหลักสูตร นางชูลีรัตน คงเรือง

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ 222 ต.ไทยบุรี อ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทรศัพทโทรสาร Email

075 672 291 075 672 202 [email protected]

1. การศึกษา (เรียงลําดับจากปลาสุด)

คุณวุฒิ สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา ป พ.ศ. Ph.D Economics/ Nagoya University (Japan) พ.ศ. 2544 - 2547 M.E Economics/ Wakayama University (Japan) พ.ศ. 2542 - 2544 ศ.บ. เศรษฐศาสตร/ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2535 - 2539

2. ประสบการณการทํางาน (เรียงลําดับจากปลาสุด)

ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ. ผูชวยศาสตราจารย/ สํานักวิชาการจัดการ 01/06/2554 - ปจจุบัน

3. ความเช่ียวชาญ

1) การคาและการลงทุนระหวางประเทศ 2) การวิเคราะหโครงการ 3) เศรษฐกิจการผลิต 4) Life cycle Analysis

4. ประสบการณการสอน มี ไมมี ช่ือสถาบันการศึกษา คณะ/สํานักวิชา/ภาควิชา สาขาวิชา/หลักสตูร ช่ือรายวิชา ป พ.ศ. มหาวิทยาลยัวลักษณ สํานักวิชาการจัดการ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตรจุลภาค 2

เศรษฐศาสตรเบ้ืองตน

เศรษฐกิจไทย

วิเคราะหโครงการ เศรษฐศาสตรระวางประเทศ

ทฤษฎีและนโยบายการคาระหวางประเทศ

เศรษฐศาสตรมหาภาค 1

การจัดการฟารมและธุรกิจเกษตร เศรษฐศาสตรเกษตร การตลาดสินคาเกษตร

มิ.ย.2554-ปจจุบัน

103

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 104: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ช่ือสถาบันการศึกษา คณะ/สํานักวิชา/ภาควิชา สาขาวิชา/หลักสตูร ช่ือรายวิชา ป พ.ศ. ระเบียบวิธีวิจยัทางการจัดการ สอนระดับปรญิญาโท

เศรษฐศาสตรการจดัการ มหาวิทยาลยัทักษิณ คณะเศรษฐศาสตรและ

บริหารธุรกิจ

ภาควิชาเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตรจุลภาค 2

เศรษฐศาสตรเบ้ืองตน

เศรษฐกิจไทย

วิเคราะหโครงการ เศรษฐศาสตรระวางประเทศ

ปฏิบัติการวิจัยทางเศรษฐศาสตร ทฤษฎีและนโยบายการคาระหวางประเทศ

เศรษฐศาสตรสุขภาพ

เศรษฐศาสตรมหาภาค 1

การจัดการฟารมและธุรกิจเกษตร เศรษฐศาสตรเกษตร การตลาดสินคาเกษตร ระเบียบวิธีวิจยัทางการจัดการ สอนระดับปรญิญาโท

การจัดการทุนทางสังคม

เศรษฐศาสตรการจดัการ ระเบียบวิธีวิจยัทางธุรกิจ

2539-พ.ค. 2554

5. ผลงานทางวิชาการยอนหลัง 5 ป (ท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา)

5.1 บทความวิจัย Jompob Waewsak, Chana Chancham,Somphol Chewamongkolkarn , Chuleerat Kongruang and

Yves Gagnon (2016). Technical and economic assessment of a 10 MW wind farm at Palphanang district in Nakhon si thammarat province. Applied Mechanics and Materials, 839 (6), 142-150.

พรพิมล ขําเพ็ชร และชูลีรัตน คงเรือง (2559). ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการจัดการท่ีดินอยางยั่งยืน Factors affecting towards sustainable land management. วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 35 (2), 165-175.

พรพิมล ขําเพ็ชร และชูลีรัตน คงเรือง (2559). ปจจัยท่ีกําหนดการใชัท่ีดินเพ่ือการเกษตรในภาคเหนือ กรณีพ้ืนท่ีปลุกขาว. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตรและการสื่อสาร 11 (1), 113-121.

ศุภธร ชีถนอม ชูลีรัตน คงเรือง อรจันทร ศิริโชติ (2556). พฤติกรรมการซ้ือและทัศนคติของลูกคาตอสวนประสมทางการตลาด รานคาปลีกไปรษณียพัทลุง. วารสารการจัดการมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ: WMS Journal, 2(2), 27-37.

104

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 105: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

จอมภพ แววศักดิ์ ปราณี หนูทองแกว พงษศักดิ์ จิตตบุตร ชูลีรัตน คงเรือง ยุทธนา ฎิระวณิชกุลย (2556). สมบัติทางกายภาพและตนทุนตอหนวยของแทงเชื้อเพลิงผสมแกลบกลีเซอรีน. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 4(24), 399-403.

ชูลีรัตน คงเรือง และจอมภพ แววศักดิ์ (2556). การวิเคราะหศักยภาพการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารทะเลแปรรูปพ้ืนบาน รอบลุมน้ําทะเลสาบสงขลา. 2(3) วารสารการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ : WMS Journal of management (กันยายน – ธันวาคม 2556), 56 – 60.

Bussagone Tavonprasith,Keskaew Charoanwiriyapap,Weena Leelaprasertsin and Chuleerat Kongruang (2012). European Journal of Social Sciences, 32(1), 69-76. 5.2 บทความวิจัย/วิชาการท่ีเสนอในท่ีประชุมวิชาการ

ฤชากร ผสมธาตุ และชูลีรัตน คงเรือง (2559). การศึกษาความเปนไปไดทางการเงินในการลงทุนฟารมไก พันธุพ้ืนเมืองในรูปแบบฟารมมาตรฐาน ในเขตพ้ืนท่ีจังหวัดนครศรีธรรมราช. การประชุมทางวิชาการระดับชาติดานการจัดการ ครั้งท่ี 5 (27 พฤษภาคม 2559). 738-754.

6. เกียรติคุณและรางวัล

เกียรติคุณ/รางวัลท่ีไดรับ ป พ.ศ. การพัฒนาศักยภาพการผลิตอาหารทะเลแปรรูปพ้ืนบานรอบลุมน้ําทะเลสาบสงขลา/นักวิจัยดีเดน สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ประจําป 2553

25/08/2553

Empirical Analysis of Determinants of FDI From Developed Countries/รางวัลโพสเตอรดีเดน ดานงานวิจัยดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ประจําป 2551

27/09/2551

105

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 106: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

แบบฟอรมประวัติและผลงานของอาจารย (Curriculum Vitae)

นายพงศพันธุ คําพรรณ

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ 222 ต.ไทยบุรี อ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทรศัพทโทรสาร Email

075 672 481 075 672 202 [email protected]

1. การศึกษา (เรียงลําดับจากปลาสุด) คุณวุฒิ สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา ป พ.ศ. ค.ด. พัฒนศึกษา-เศรษฐศาสตรการศึกษา / จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2558 ศ.ม เศรษฐศาสตรการศึกษา / มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2547 ศ.บ. เศรษฐศาสตรธุรกิจ (เกียรตินิยม) / มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ. 2545

2. ประสบการณการทํางาน (เรียงลําดับจากปลาสุด)

ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ. 1. รักษาการหัวหนาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

2560 - ปจจุบัน

2. ผูชวยคณบดีฝายพัฒนาระบบคุณภาพการศึกษา สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

2559 - ปจจุบัน

3. อาจารยประจําหลักสูตรเศรษฐศาสตร สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

2553 – ปจจุบัน

4. นักวิเคราะหนโยบายและแผน 6 กระทรวงมหาดไทย 2549 – 2553 5. อาจารยพิเศษ 2549 – 2553 6. นักวิเคราะหนโยบายและแผน 4 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

2547 – 2549

7. เศรษฐกร สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง 2546 – 2547

3. ความเช่ียวชาญ 1) เศรษฐศาสตรการศึกษา 2) เศรษฐศาสตรแรงงาน 3) เศรษฐศาสตรทรัพยากรมนุษย 4) เศรษฐศาสตรประชากร

4. ประสบการณการสอน มี ไมมี ชื่อสถาบันการศึกษา สํานักวิชา สาขาวิชา/หลักสูตร ชื่อรายวิชา ป พ.ศ.

มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ เศรษฐศาสตร 1. เศรษฐศาสตรการศึกษาและกําลังคน 2. เศรษฐศาสตรแรงงาน

พ.ศ 2553 – ปจจุบัน

106

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 107: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ชื่อสถาบันการศึกษา สํานักวิชา สาขาวิชา/หลักสูตร ชื่อรายวิชา ป พ.ศ. 3. เศรษฐศาสตรสุขภาพ 4. การพยากรณทางเศรษฐศาสตร 5. เศรษฐศาสตรจลุภาค 1

6. เศรษฐศาสตรเบ้ืองตน 7. การเขียนและนําเสนอบทความทางเศรษฐศาสตร 8. คณิตศาสตรเศรษฐศาสตรและธุรกิจ 9. โครงงานทางเศรษฐศาสตร

5. ผลงานทางวิชาการยอนหลัง 5 ป (ท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา)

5.1 บทความวิจัย สมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ สมหมาย ทองมี และพงศพันธุ คําพรรณ. ความตองการแรงงานของอุตสาหกรรม

อาหารแชเยือกแข็งในจังหวัดสงขลา. วารสารการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ, 1(2)(2555), 1-18.

5.2 บทความวิจัย/วิชาการท่ีเสนอในท่ีประชุมวิชาการ อรุณรัตน สุวรรณรัตน, และพงศพันธุ คําพรรณ. (2560). การรับรูเก่ียวกับการปฎิบัติราชการตามหลักธรร

มาภิบาลและผลสัมฤทธิ์ในการปฎิบัติราชการขององคกรปกครองสวนทองถ่ินในเขตอําเภอไชยา จังหวัดสุราษฏรธานี. เอกสารนําเสนอในท่ีประชุมวิชาการประจําป 2560 วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 6. (19 พฤษภาคม 2560), มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ, 584-597.

สโรชา วิริยาธิการนุสรณ, และพงศพันธุ คําพรรณ. (2560). ความสมดุลระหวางชีวิตและการทํางานของพนักงาน บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) สํานักปฎิบัติการภูมิภาค ภาคใต. เอกสารนําเสนอในท่ีประชุมวิชาการประจําป 2560 วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 6 (19 พฤษภาคม 2560). มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ, 540-553.

Compan. P. and Preededilok. F. (2015) Forecasting the manpower needed and educational planning for capacity building Thailand’s tourism profession. 2015 International symposium on education and psychology - Fall session Japan. (September 2015): 13-27.

พงศพันธุ คําพรรณ. การใชสิทธิหลักประกันสุขภาพแหงชาติของผูสูงอายุในเขตเมือง. นเรศวรวิจัย ครั้งท่ี 8. (28 กรกฎาคม 2555), 309-321.

อัญชลี พรชัยเจริญ, สมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ, และพงศพันธุ คําพรรณ (2555). การพัฒนารูปแบบการจัดเก็บรายไดขององคการบริหารสวนตําบลเหมาะ อําเภอกะปง จังหวัดพังงา. เอกสารนําเสนอในท่ีประชุมวิชาการประจําป 2555 วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี1 (8 พฤษภาคม 2555), มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ, 785-794.

107

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 108: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

อุรารัตน ทองสัมฤทธิ,์ สมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ และพงศพันธุ คําพรรณ. (2555). การรับรูแนวคิดการจัดการความรูของบุคลากรสังกัดเทศบาลตําบลในเขตจังหวัดสุราษฎรธานี. เอกสารนําเสนอในท่ีประชุมวิชาการประจําป 2555 วลัยลักษณวิจัยทางการจัดการ ครั้งท่ี 1 (8 พฤษภาคม 2555), มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ, 382-395.

5.4 หนังสือ/ตํารา/เอกสารการสอน พงศพันธุ คําพรรณ. (2559). เศรษฐศาสตรการศึกษา (เอกสารประกอบการสอน). นครศรีธรรมราช:

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ.

6. เกียรติคุณและรางวัล 1. นักวิจัยดีเดนดานการจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษา โดยสํานักงานสงเสริมสังคมแหงการเรียนรูและ

คุณภาพเยาวชน (สสค.) พ.ศ.2558 2. Ph.D. (Visiting Scholar) ณ Massey University ประเทศ New Zealand สนับสนุนทุนโดย

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ.2559 3. ไดรับทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช รุนท่ี 25 ปการศึกษา 2557 4. ประกาศนียบัตรนิสิตคณะกรรมการระดับบัณฑิตศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ.2558

108

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 109: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

แบบฟอรมประวัติและผลงานของอาจารย (Curriculum Vitae)

นางสาวอรอนงค เฉียบแหลม

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชา 222 ต.ไทยบุรี อ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทรศัพทโทรสาร Email

1. การศึกษา (เรียงลําดับจากปลาสุด)

คุณวุฒิ สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา ป พ.ศ. Ph.D. Natural Resources Management/Asian Institute ofTechnology พ.ศ. 2552 - 2557 วท.ม. อุทยานและนันทนาการ/มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พ.ศ. 2545 - 2548 วท.บ. วนศาสตร/ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พ.ศ. 2541 - 2545

2. ประสบการณการทํางาน (เรียงลําดับจากปลาสุด)

ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ. ผูชวยศาสตราจารย/สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลยัลักษณ 14/01/2559 - ปจจุบัน อาจารย สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ 2548-ปจจุบัน

3. ความเช่ียวชาญ

1) การจัดการทรัพยากรการทองเท่ียวและการทองเท่ียวอยางยั่งยืน 2) การวางแผนและพัฒนาแหลงทองเท่ียวอยางยั่งยืน 3) การสื่อความหมายทางการทองเท่ียว 4) การจัดการผลกระทบทางการทองเท่ียว (การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับการทองเท่ียว)

4. ประสบการณการสอน มี ไมมี ชื่อสถาบันการศึกษา คณะ/สํานักวิชา/ภาควิชา สาขาวิชา/หลักสูตร ชื่อรายวิชา ป พ.ศ.

มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ อุตสาหกรรมทองเท่ียว 1. การทองเท่ียวอยางยั่งยืน

2. ภูมิศาสตรโลกและทรัพยากรการทองเท่ียว

3. การสื่อความหมายทางการทองเท่ียว

4. การวางแผนและพัฒนาแหลงทองเท่ียว

5. การวิจัยทางการทองเท่ียว

2548- ปจจุบัน

มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การทองเท่ียวและการบริการ

1. .การสื่อความหมายสิ่งแวดลอม

2. การทองเท่ียวแบบยั่งยืน

2549-2555

075-672288 การจัดการ

[email protected]

075-672202

109

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 110: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ชื่อสถาบันการศึกษา คณะ/สํานักวิชา/ภาควิชา สาขาวิชา/หลักสูตร ชื่อรายวิชา ป พ.ศ. 3. ภูมิศาสตรการทองเท่ียว 4. การจัดการทรัพยากรการทองเท่ียว

5. การสื่อความหมายทางการทองเท่ียว

6. การวางแผนและพัฒนาแหลงทองเท่ียว

มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ สํานักวิชาการจัดการ การจัดการการทองเท่ียว-การทองเท่ียวเชิง

1. การวางแผนและการจดัการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ

2. ภูมิศาสตรการทองเท่ียว 3. การอนุรักษและการพัฒนาแหลง

ทองเท่ียว

4. อุตสาหกรรมการทองเท่ียว

2548-2549

5. ผลงานทางวิชาการยอนหลัง 5 ป

5.1 บทความวิจัย Cheablam,O.& Shrestha,R. P. (2014).Climate Change Trends and Its Impact on Tourism

Resources in Mu KoSurin Marine National Park, Thailand. Asia Pacific Journal of Tourism Research.20 (4,3) 435-454.

5.2 บทความวิจัย/วิชาการท่ีเสนอในท่ีประชุมวิชาการ

อรอนงค เฉียบแหลม และอุทัยเดชยศดี. (2559). ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสิ่งปกคลุมดินตอทรพัยากรการทองเท่ียวชายฝงในอําเภอทาศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช. การประชุมวิชาการดานปาชายเลน ประจําปงบประมาณ 2559 “การจัดการปาชายเลนเชิงบูรณาการ”. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง: กรุงเทพฯ ประเทศไทย: 20 กันยายน 2559. 39-55.

5.3 บทความทางวิชาการ

อรอนงค เฉียบแหลม. (2558). การเปลี่ยนแปลงพ้ืนท่ีแนวชายฝงกับทรัพยากรการทองเท่ียว: ปญหา และผลท่ีตามมา. วารสารการจัดการสิ่งแวดลอม. 11 (2), 134-145.

5.4 หนังสือ/ตํารา/เอกสารการสอน

อรอนงค เฉียบแหลม. (2558). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการสื่อความหมายธรรมชาติและวัฒนธรรม ทางการทองเท่ียว (Nature and Culture Interpretation of Tourism). สํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ, นครศรีธรรมราช 142 หนา.

6. เกียรติคุณและรางวัล

เกียรติคุณ/รางวัลท่ีไดรับ ป พ.ศ. ผลการปฏิบัติงานดานวิชาการในกลุมอาจารย ในระดับ ดีเยีย่ม จากสํานักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ

2559

110

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 111: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

ประวัติและผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําหลักสูตร

นายสุพิศ ฤทธิ์แกว

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สํานักวิชาวิทยาศาสตร 222 ต.ไทยบุรี อ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

โทรศัพทโทรสาร Email

075 672 023 075 672 004 [email protected]

1. การศึกษา (เรียงลําดับจากปลาสุด)

คุณวุฒิ สาขาวิชา/สถาบันการศึกษา ป พ.ศ. Ph.D Applied Mathematics/University of Innsbruck (Austria) พ.ศ. 2535 - 2538 M.Sc. Mathematics/ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2525 - 2528 B.Sc. Mathematics/ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2520 - 2524

2. ประสบการณการทํางาน (เรียงลําดับจากปลาสุด)

ตําแหนงงาน - องคกรหรือหนวยงาน ป พ.ศ. หัวหนาสาขาวิชาคณิตศาสตรและสถิต/ิสํานักวิชาวิทยาศาสตร 01/09/2559 - ปจจุบัน ผูชวยศาสตราจารย/สํานักวิทยาศาสตร 01/06/2554 - ปจจุบัน อาจารย/สํานักวิชาวิทยาศาสตร 01/02/2539 – ปจจุบัน

3. ความเช่ียวชาญ

1) คณิตศาสตรประยุกต 2) คณิตศาสตรบริสุทธิ์

4. ประสบการณการสอน มี ไมมี ชื่อสถาบันการศึกษา คณะ/สํานักวิชา/ภาควิชา สาขาวิชา/หลักสูตร ชื่อรายวิชา ป พ.ศ.

มหาวิทยาลยัวลัยลักษณ สํานักวิชาวิทยาศาสตร

สํานักวิชาการจัดการ

สาขาคณิตศาสตรและสถิต ิ

บริหารธุรกิจมหาบัณฑติ/การจัดการมหาบัณฑติ

สถิติ/สถิติประยุกต คณิตศาสตร หลักคณติศาสตร สมการเชิงอนุพันธและการประยุกต แคลคูลสัพ้ืนฐาน

ทฤษฎีความนาจะเปนเบ้ืองตน

สอนระดับปรญิญาโท

สถิตธุิรกิจและการจัดการ

2539 - ปจจุบัน

2543 – ปจจุบัน

111

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562

Page 112: สํานักงานคณะกรรมการการ ......มคอ.2 บทน า หล กส ตรบร หารธ รก จมหาบ ณฑ ต สาขาบร

มคอ.2

5. ผลงานทางวิชาการยอนหลัง 5 ป (ท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา) 5.1 บทความวิจัย

จิตรกมล สังขเพชร และสุพิศ ฤทธิ์แกว. (2559). ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับพฤติกรรมผูบริโภคในการใชบริการศูนยการคาเซ็นทรัลพลาซา สาขาสุราษฎรธาน.ี วารสารการจัดการ, 5 (3), 70 – 81.

สุพิศ ฤทธิ์แกว สมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ และจาตุรนต ชุติธรพงษ. (2558). ความสามารถในการจัดการความรูของโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารการจัดการ, 4 (3), 64 – 82.

สุพิศ ฤทธิ์แกว สมนึก เอ้ือจิระพงษพันธ และจาตุรนต ชุติธรพงษ. (2557). ปจจัยท่ีสงผลตอการเลือกซ้ือรถยนต เต็นทรถ และบริษัทใหสินเชื่อเชาซ้ือสําหรับรถยนตใชแลว กรณีศึกษา ผูบริโภคในจังหวัดสุราษฎรธานี และจังหวัดสงขลา. วารสารการจัดการ, 3 (3), 32 – 47.

5.2 บทความวิจัย/วิชาการท่ีเสนอในท่ีประชุมวิชาการ อนุรักษ ถุงทอง โองการ กุลสมบัติ รัตนาวดี ศรีสุข โกฆะรัตน นีรนาท แกวประเสริฐ ระฆังทอง และสุพิศ

ฤทธิ์แกว. (2559). การวิเคราะหขอมูลโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายของนักศึกษาท่ีเขาเรียนท่ีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จากฐานขอมูลของศูนยบริการการศึกษาโดยใชโปรแกรม Python. การประชุมวิชาการระดับชาติ วลัยลักษณวิจัย ครั้งท่ี 8, (7 กรกฎาคม 2559), มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ. 299-304.

Anurak Thungtonga, Ohnggahn Kulsombutb, Rattanawadee Srisuk Gokaratb, Neeranat Kaewprasert Rakangtongb, Supit Ritkaewb. (2015). The exploration of graduation rate at Walailak University using modern data analysis and visualization software. 2015 Association of Southeast Asian Institutions of Higher Learning (ASAIHL) Conference, 2 December 2015, Sokha Angkor Resort, Siem Reap, Cambodia. 113-118.

112

สาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา รบัทราบการใหค้วามเหน็ชอบหลกัสตูรน้ีแลว้

เมือ่วนัที ่23 ตุลาคม 2562