การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 ·...

20
การจัดการลูกหนี้การค้า

Transcript of การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 ·...

Page 1: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

การจัดการลูกหนี้การค้า

Page 2: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

ลูกหนี้การค้า (accounts receivable) หมายถึง เงินที่ลูกค้าค้างช าระค่าสินค้าหรือค่าบริการ ที่กิจการได้ขายไปตามปกติธุระ

Page 3: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management) หมายถึง การที่ธุรกิจก าหนดวิธีหรือนโยบายเกี่ยวกับการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าอย่างมีประสิทธิภาพ

Page 4: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

1. เพื่อให้ธรุกจิมีก าไรเพิ่มขึ้น 2. เพื่อให้ธรุกจิมีสภาพคล่องเพิ่มขึ้น

Page 5: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

1. ระดับของยอดขาย 2. ร้อยละของการขายเชื่อ 3. นโยบายการใหส้ินเชื่อและการจัดเกบ็หนี ้4. ระดับของเงินทนุหมุนเวียน 5. การก าหนดมาตรฐานของลูกหนี ้6. ระยะเวลาในการจัดเก็บหนี ้7. ภาวะเศรษฐกจิ 8. นโยบายของรัฐบาล

Page 6: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

1. ผลประโยชน์ส่วนเพิ่ม ผลประโยชน์ส่วนเพิ่ม (marginal benefit หรือย่อว่า MB) หมายถึง

รายได้ที่ธรุกิจได้รับเพิ่มขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนโยบาย

หรือ

ก ำไรที่เพิ่มขึ้น (บำท) = ยอดขำยท่ีเพิ่มขึ้น x อัตรำก ำไรขั้นต้น

ก ำไรที่เพิ่มขึ้น (บำท) = จ ำนวนหน่วยขำยท่ีเพิ่มขึ้น x (รำคำขำย – ต้นทุนผันแปร)

Page 7: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

ต้นทุนส่วนเพิ่ม (marginal cost หรือย่อว่า MC) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ธุรกิจต้องจ่ายเพิ่มขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนโยบาย

2.1 ต้นทุนของเงินทุนที่ลงทุนในลูกหนี้ หมายถึง ค่าใช้จ่ายของเงินทุนที่ต้องลงทุนในลูกหนี้เพิ่มขึ้นหรือผลตอบแทนที่ต้องการจากการลงทุน

Page 8: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

เงินลงทุนในลูกหนี้ที่เพิ่มขึ้น (บำท) = ยอดลูกหนี้ใหม่ – ยอดลูกหนี้เดิม

ยอดลูกหนี้เฉลี่ย (บำท) = ยอดขำยเชื่อ x ระยะเวลำจัดเก็บหนี้

360 หรือ 365 วัน

เงินลงทุนที่ลงในลูกหนี้ (บำท) = ยอดลูกหนี้เฉลี่ย x อัตรำต้นทุนสินค้ำที่ขำย

ผลตอบแทนที่ต้องกำรจำกกำรลงทุน = เงินทุนที่ลงในลูกหนี้ x อัตรำผลตอบแทนที่ต้องกำร (บำท)

Page 9: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

2.3 ค่าใช้จ่ายในการจัดเกบ็หนี้ หมายถึง คา่ใช้จ่ายทีเ่กิดขึ้นจากการเรียกเก็บหนี้จากลูกหนี้ และติดตามหนี ้

2.4 ส่วนลดเงินสด หมายถึง ส่วนลดจ่ายที่มอบให้แก่ลกูหนีท้ี่มาช าระหนี้ภายในระยะเวลาที่ก าหนดให้ได้รับส่วนลด

จ ำนวนหนี้สูญ(บำท) = ยอดขำยเชื่อที่เพิ่มขึ้น x อัตรำหนี้สูญ

จ ำนวนส่วนลดจ่ำย = อัตรำส่วนลด x ยอดขำย x ร้อยละของลูกหนี้ที่มำช ำระ

Page 10: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

3. การเปรียบเทียบผลประโยชน์ส่วนเพิ่มกับต้นทุนส่วนเพิ่ม

4. การตัดสินใจ

Page 11: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

1. นโยบายเกี่ยวกับการให้สินเชื่อ นโยบายเกี่ยวกับการให้สินเชื่อ (credit policies) หมายถึง การ

ก าหนดนโยบาย ของผู้บริหารของธุรกิจเกี่ยวกับเงื่อนไขในการให้สินเชื่อ 1.1 มาตรฐานการให้สินเชื่อ (credit standards) หมายถึง การ

ก าหนดมาตรฐานการให้สินเชื่อที่เกี่ยวข้องกับระยะเวลาการให้สินเชื่อ โดยการยืดระยะเวลาการช าระหนี้ออกไป

Page 12: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

1.2 เงื่อนไขการให้สินเชื่อ (credit terms) หมายถึง การก าหนดนโยบายเกี่ยวกับเงื่อนไขการให้สินเชื่อซึ่งประกอบด้วยระยะเวลาการให้สินเชื่อ และส่วนลดของเงินสดเพื่อเป็นแรงจูงใจให้ลูกหนี้มาช าระหนี้เร็ว

Page 13: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

1.3 การก าหนดวันช าระเงินตามฤดูกาล (seasonal dating) หมายถึง การก าหนดเงื่อนไขในการช าระหนี้ให้แก่ธุรกิจที่มียอดขายลดลงในช่วงระยะเวลาหนึ่ง

1.4 ความเสี่ยงในหนี้สูญ (default risk) หมายถึง ผลกระทบที่ได้รับจากการให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ตามนโยบายต่าง ๆ

Page 14: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

1. การส่งจดหมาย 2. การโทรศัพท ์ 3. การส่งพนักงานไปเกบ็เงิน 4. การใชห้น่วยงานอื่น 5. การด าเนนิการตามกฎหมาย

Page 15: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

6%

4%

2%

0 10,000 20,000 30,000 40,000

อัตรำหนี้สูญ (%)

ค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดเก็บหนี้

จุดอิ่มตัว

Page 16: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

1. การรวบรวมข้อมูล 2. การวิเคราะห์ข้อมูล 3. การตัดสินใจ 4. การจัดเก็บหนี้แต่ละราย

Page 17: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

1.1 งบการเงิน 1.2 ประสบการณ์ของธุรกิจ 1.3 ธนาคารหรือสถาบันการเงนิ 1.4 หน่วยงานที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสนิเชือ่ 1.5 การแลกเปลี่ยนข้อมูลกับบริษทัอื่น 1.6 ผู้ประกอบการรายอืน่

Page 18: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

2.1 ลักษณะนิสัยของลูกค้า (character) 2.2 เงินทนุ (capital) 2.3 ความสามารถในการช าระหนี้ (capacity) 2.4 หลักประกัน (collateral) 2.5 สภาวการณ์ (condition) 2.6 ประเทศ (country)

3. การตัดสินใจ

4. การจัดเก็บหนี้แต่ละราย

Page 19: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

1. การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงนิ 2. การแยกอายุลูกหนี ้

Page 20: การจัดการลูกหนี้การค้า · 2014-05-16 · การจัดการลูกหนี้การค้า ( accounts receivable management)

ในกระบวนการหนึ่งของการด าเนินธุรกิจสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้คือการให้สินเชื่อ ซึ่งท าให้เกิดลูกหนี้ขึ้น ลูกหนี้จะมากน้อยเพียงใด และสามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้ช้าหรือเร็วเพียงใด ขึ้นอยู่กบัการก าหนดนโยบายการให้สินเชื่อ การใช้วิธีพิจารณาการให้สินเชื่อ ตลอดจนวิธีการจัดเก็บหนี้จากลูกหนี้แต่ละหลายอย่างมีประสิทธิภาพ