การพัฒนารูปแบบการเร ยนรีู...

340
การพัฒนารูปแบบการเรียนรูแบบบูรณาการโดยใชแหลงเรียนรู เรื่อง ถลกบาตร สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที2 โดย นางสาวหทัยกาญจน สํารวลหันต วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2549 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Transcript of การพัฒนารูปแบบการเร ยนรีู...

  • การพัฒนารปูแบบการเรยีนรูแบบบูรณาการโดยใชแหลงเรียนรู เรื่อง ถลกบาตร สําหรบันักเรยีนชั้นมธัยมศึกษาปที่ 2

    โดย

    นางสาวหทัยกาญจน สํารวลหันต

    วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศกึษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาการสอนสงัคมศึกษา ภาควิชาหลกัสูตรและวิธสีอน

    บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัศลิปากร ปการศึกษา 2549

    ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัศลิปากร

  • THE DEVELOPMENT OF THE INTEGRATED LEARNING MODEL USING LEARNING RESOURCES ON “TALOKBAT”

    FOR MATTAYOMSUKSA ΙΙ STUDENTS

    By Hataikarn Samruanhunt

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF EDUCATION

    Department of Curriculum and Instruction Graduate School

    SILPAKORN UNIVERSITY 2006

  • บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเร่ือง”การพัฒนารูปแบบการเรียนรูแบบบูรณาการโดยใชแหลงเรียนรูเร่ือง ถลกบาตร สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2” เสนอโดย นางสาวหทัยกาญจน สํารวลหันต เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา

    .…………………………………………….. (รองศาสตราจารย ดร.ศิริชยั ชนิะตงักูร)

    คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย วนัที.่.........เดือน......................พ.ศ............

    ผูควบคุมวิทยานิพนธ

    1. อาจารย ดร .อรพิณ ศิริสัมพนัธ 2. ผูชวยศาสตราจารย ดร. มาเรียม นิลพนัธุ 3. รองศาสตราจารยสมประสงค นวมบุญลอื

    คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานพินธ .....................................................ประธานกรรมการ (อาจารยจีรวรรณ ไตรโสรัส) ............../............./............. ...................................................กรรมการ ....................................................กรรมการ (อาจารย ดร.อรพิณ ศิริสัมพันธ) (ผูชวยศาสตราจารย ดร.มาเรยีม นิลพนัธุ) ............../............./............. ............../............./............. ...................................................กรรมการ ....................................................กรรมการ (รองศาสตราจารยสมประสงค นวมบุญลอื) (ผูชวยศาสตราจารย ดร.คีรีบูน จงวุฒิเวศย ) ............../............./............. ............../............./.............

  • 47262306 : สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา คําสําคัญ : การเรียนรูแบบบูรณาการ/ แหลงเรียนรู/ถลกบาตร หทัยกาญจน สํารวลหันต : การพัฒนารูปแบบการเรียนรูแบบบูรณาการโดยใชแหลงเรียนรูเร่ือง ถลกบาตร สําหรบันักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. อาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ : อ. ดร. อรพิณ ศิริสัมพันธ, ผศ. ดร. มาเรียม นลิพันธุ และ รศ. สมประสงค นวมบุญลือ. 326 หนา.

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคการวิจัยเพื่อ 1. พัฒนาแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการโดยใช

    แหลงเรียนรู เร่ือง ถลกบาตร ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80 / 80 2. ประเมินความสามารถในการทําผลงานของนักเรียนที่เกิดจากรูปแบบการเรียนรูแบบบูรณาการ 3. เปรียบเทียบผลการเรียนรู เร่ือง ถลกบาตรกอน และหลัง การเรียนรูแบบบูรณาการ 4. ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอรูปแบบการเรียนรูแบบบูรณาการโดยใช แหลงเรียนรู เร่ือง ถลกบาตร กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนมัธยมฐานบินกําแพงแสน อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม ปการศึกษา 2549 จํานวน 30 คน เครื่องมือที่ใชใน การวิจัย ไดแก 1) แผนการจัดการเรียนรู 2) แบบประเมินผลงานนักเรียน 3) แบบทดสอบเรื่อง ถลกบาตร กอนและหลังการเรียนรู และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนรูแบบบูรณาการ การวิเคราะหขอมูลใชคาสถิติ รอยละ(%) คาเฉลี่ย (Χ ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) คา t – test แบบ dependent และการวิเคราะหเนื้อหา

    ผลการวิจัยพบวา 1) แผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการโดยใชแหลงเรียนรูเร่ือง ถลกบาตร ประกอบ ดวย 5 แผน แตละแผนมีขั้นตอนการบูรณาการ 5 ขั้น ดังนี้ สรางความสนใจ วางแผน สํารวจและสืบคน อภิปรายและสรุป และประเมินผล ไดแผนการจัดการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ 82.11/85.66 2) นักเรียนใชรูปแบบการเรยีนรูแบบบูรณาการทําผลงาน ไดแก แผนพับ ปายนิเทศ กระดานถามตอบ โมบาย สมุดเลมเล็ก ฉากความรูและรายงาน ความสามารถในการทําผลงานของนักเรียนอยูในระดับพอใช โดยระดับคุณภาพผลงานของนักเรียนดานที่สูงที่สุดคือการสืบคนความรูหลายวิธี มีการบันทึกเปนขั้นตอน ดานที่ไดคะแนนลําดับสุดทายมี 2 ดานเทากัน คือ การใชทักษะทางสังคมในการทําผลงานและผลงานมีความนาสนใจ สวยงามและสรางสรรค 3) ผลการเรียนรูเร่ือง ถลกบาตร กอนและหลังการเรียนรูแบบบูรณาการโดยใชแหลงเรียนรู เร่ือง ถลกบาตร แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยผลการเรียนรูหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 4) นักเรียนมีความคิดเห็นตอรูปแบบการเรียนรูแบบบูรณาการโดยใชแหลงเรียนรูเร่ือง ถลกบาตร อยูในระดับมาก ดานที่เห็นดวยมากที่สุดคือดานบรรยากาศในการเรียนรู ชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรูจากการทํางานรวมกับผูอื่นและนักเรียนมีโอกาสแลกเปลี่ยนความรูและความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ลําดับที่สองคือดานกิจกรรมการเรียนรู ชวยใหนักเรียนสืบคนความรูไดหลายวิธีและมีการวางแผนในการทํางาน ลําดับที่สามคือดานการนําการบูรณาการไปประยุกตใช ชวยใหนักเรียนรูและเขาใจขั้นตอนการบูรณาการและลําดับสุดทายคือดานประโยชนของแหลงเรียนรู ชวยพัฒนาความสามารถการคิดวิเคราะห

    ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2549 ลายมือชือ่นักศึกษา……………………………………. ลายมือชือ่อาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ 1................................2.................................3.............................

  • 47262306 : MAJOR : TEACHING SOCIAL STUDIES KEY WORD : THE INTEGRATED LEARNING MODEL / LEARNING RESOURCES / TALOKBAT HATAIKARN SAMRUANHUNT : THE DEVELOPMENT OF THE INTEGRATED LEARNING MODEL USING LEARNING RESOURCES ON “TALOKBAT” FOR MATTAYOMSUKSA ΙΙ STUDENTS. THESIS ADVISORS: ORAPIN SIRISAMPHAN, Ph.D., ASST. PROF. MAREAM NILLAPUN, Ed.D., AND ASSOC. PROF. SOMPRASONG NUAMBUNLUE. 326 pp. The purposes of this research were: 1. to develop lesson plan managed with the integrated learning model using learning resources on “Talokbat” to have efficient standard criterion of 80/80 2. to evaluate students’ ability by using the integrated learning model 3. to study learning ability on “Talokbat” before and after studying according to the integrated learning model 4. to study the students’ opinions toward the integrated learning model using learning resources on “Talokbat”. The samples of this research were 30 Mattayomsuksa ΙΙ students studying at Mattayomtanbin kamphaengsaen School, Kamphaeng Saen, Nakhon Pathom in academic year 2006. The research instruments were: 1) lesson plan 2) evaluation form 3) pretest and posttest on “Talokbat” 4) questionnaire on opinions toward the integrated learning model. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, t-test dependent and content analysis. The results of the research were: 1) Five lesson plans managed with the five-step integrated model - to engage, to plan, to explore and search, to discuss and conclude, and to evaluate - by using learning resources on “Talokbat” met the efficient standard criterion at 81.00/84.66. 2) Using the integrated learning model, the students were able to have their assignments – brochure, information board, question bag, mobile, pamphlet, and report - at fair level. The highest quality level was using several techniques to search information and taking note in order. The two lowest ones were having social skills for group working; and the outcomes of the students’ assignments 3) Students’ learning abilities on “Talokbat” before and after studying according to the integrated learning model were significantly different at the 0.05 level – the ability after studying was higher. 4) The students’ opinions revealed that integrated learning model using learning resources on “Talokbat” was at high level in every aspect. The respondents agreed mostty on the learning atmosphere that enhance learning, collaboration, and exchanging opinions. Secondly, they agreed about learning activities that helped students inquired knowledge and planned their work. Thirdly, they agreed that they could apply the integration. Finally, the usefullness of learning resources could help students critical thinking. Department of Curriculum and Instruction Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2006 Student’s signature ……………………………………….. Thesis Advisors’ signature 1……..………….… 2.………………..… 3. ………………………

  • กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธเลมนี้สําเร็จลงไดเนื่องจากไดรับความอนุเคราะหจากอาจารย ดร. อรพิณ ศิริสัมพันธ ผูชวยศาสตราจารย ดร. มาเรียม นิลพันธุ รองศาสตราจารยสมประสงค นวมบุญลือ ซึ่งเปนผูควบคุมวิทยานิพนธและใหคําปรึกษา ตลอดจนใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนอยางยิ่งในการทําวิทยานิพนธ อาจารยจีรวรรณ ไตรโสรัส ประธานกรรมการ ผูชวยศาสตราจารย ดร. คีรีบูน จงวุฒิเวศย ผูทรงคุณวุฒิ ที่ใหคําแนะนําทําใหวิทยานิพนธเลมนี้สมบูรณยิ่งขึ้น ผูวิจัยกราบขอบพระคุณในความเมตตากรุณาของคณาจารยทุกทานไวดวย ความเคารพอยางสูง ขอขอบพระคุณอาจารยจําเนียร แกวขาว ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนกําแพงแสนวิทยา อาจารยประเจิด อยูสงค รองผูอํานวยการโรงเรียนมัธยมฐานบินกําแพงแสนและอาจารยดุสิต หังเสวก ศึกษานิเทศกหัวหนากลุมงานวัดผล สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1 ที่กรุณาเปนผูเชี่ยวชาญในการตรวจสอบเครื่องมือและใหขอแนะนําที่เปนประโยชนตอการทําวิทยานิพนธ ขอขอบพระคุณอาจารยอนงค สุวรรณคดี อาจารย สุธิดา กุยออน ที่ ให ความชวยเหลือและแนะนําในการทําวิทยานิพนธ นายสมเกียรติ ทองมูลและคณะวิทยากรปราชญชาวบานหมูบานหนองโพธิ์ที่ถายทอดความรู เรื่อง ถลกบาตร ขอบคุณนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนมัธยมฐานบินกําแพงแสน ที่เรียนรายวิชาเมืองนครปฐม ปการศึกษา 2549 ที่ใหความรวมมือในการวิจัยในครั้งนี้ดวยดี ขอขอบพระคุณอาจารยสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษาและคณาจารยผูประสิทธิประสาทวิชาความรูทุกทาน ขอบคุณเพื่อนรวมสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษารุน 1 และเพื่อนรวมงานทุกคนที่ใหกําลังใจและใหความชวยเหลือเสมอมา ขอบคุณนักวิชาการและผูวิจัยทุกทานที่ทําใหผูวิจัยไดความรูกระจางยิ่งขึ้น ขอกราบขอบพระคุณคุณพอ คุณแม ซึ่งเปนผูวางรากฐานการศึกษาใหแกลูก ขอบคุณพี่และนองทุกคน ที่เปนผูคอยใหกําลังใจและใหการสนับสนุน จนไดรับความสําเร็จและความภาคภูมิใจในครั้งนี้

  • สารบัญ หนาบทคัดยอภาษาไทย.............................................................................................................ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ........................................................................................................จ กิตติกรรมประกาศ..............................................................................................................ฉ สารบัญตาราง....................................................................................................................ฎ สารบัญแผนภูมิ..................................................................................................................ฐ บทที ่ 1 บทนํา……………………………………………………………………………..……….1 ความสาํคัญและความเปนมาของปญหา…………………….……………..……..1

    กรอบแนวคิดการวิจยั…………………………………………………….............10 วัตถุประสงคของการวจิัย…….……………………………..…………………….11 คาํถามการวิจัย…………………………………………………………………....11 สมมุติฐานการวิจยั………………………………………………………………..11 ขอบเขตการวิจยั…………………………………………………………………..12 นิยามศัพทเฉพาะ……………………………………. ………………………….13

    2 วรรณกรรมที่เกีย่วของ…………………………..………………………………............15 หลกัสูตรสถานศกึษาโรงเรียนมัธยมฐานบนิกาํแพงแสน สาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม……..………………………...………..15 รายวิชาเพิ่มเติม ส 30202 เมืองนครปฐม.………………………..……….. 21 ทกัษะที่ใชในวิชาสังคมศึกษา……………………………………….…….. .22 การบูรณาการ……………………………………………………………………..26

    ประวัติความเปนมาและแนวคิดของการบรูณาการ………………………..26 ความหมายการบูรณาการ……………………………………………….…28 ทฤษฎทีี่ใชในการบูรณาการ………………………………………………..29

    จุดมุงหมายของการบูรณาการ……………………………………………..33 ลักษณะของการบูรณาการ…………………………………………………34 ประเภทของการบูรณาการ…… ……………………………………….….37

  • บทที ่ หนา ระดับการบูรณาการ………………………………………………………...40 รูปแบบของการบูรณาการ…………………………………………… …… 40 รูปแบบวิธีการบูรณาการที่เลอืกใชในการวจิัย………….…………………..42

    ลักษณะการเรียนการสอนแบบบูรณาการ……………………………….…45 วิธีการผสมผสานเนื้อหาวิชาเพื่อใหเกิดบูรณาการ…………………………48

    ข้ันตอนในการจัดการเรียนการสอนเพื่อใหผูเรียนเกิดการบูรณาการ.……...50 ประโยชนของการบูรณาการ…………………………………………….….52 ขอจาํกัดของการบูรณาการ………………………………………….…..…53 รูปแบบการเรียนรูแบบบูรณาการ………………………………………………….54

    การสอนแบบสืบสวนสอบสวน……………………………………………..54 วิธีสอนโดยใชการไปทัศนศกึษา……………………………………………59 วิธีสอนโดยใชการสาธิต…………………………………………………….62 วิธีสอนโดยใชการอภิปรายกลุมยอย……………………………………….68

    การวัดและประเมินผลการสอนแบบบูรณาการ……………………….………….73 การวัดผล.............................................................................................73 การประเมนิตามสภาพจริง....................................................................75 เทคนิค วิธีการวัดและประเมนิผลการเรียนรูแบบบูรณาการ…………….…79 แผนการจัดการเรียนรู.....................................................................................85 การวางแผนการจัดการเรียนรู.................................................................87 การทาํแผนการจัดการเรียนรู……………………………………………….89

    การใชแหลงเรียนรูในชมุชนในการเรียนการสอน………………………………….92 ความหมายของแหลงเรียนรู.............………………………………………92

    ความสาํคัญของแหลงเรียนรู.............……………………………………..94 ประเภทของแหลงเรียนรู.............…………………………………...……..95 หลักการของการใชแหลงเรียนรูในการจัดกจิกรรมการเรียนรู.....................97 แนวทาการใชแหลงเรียนรูในการจัดกิจกรรมการเรยีนรู.............................98 ประโยชนของการใชแหลงเรียนรูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู.......………100 การวางแผนการจัดกิจกรรมใหนักเรียนแสวงหาความรูจากแหลงเรียนรู....101

  • บทที ่ หนา แหลงเรียนรูในอําเภอกาํแพงแสน………………………………………………..102

    ถลกบาตร………………………………………………………………………...107 งานวิจยัที่เกี่ยวของ…………………………………………….…………………112

    3 วิธีดําเนนิการวิจัย……………...………………………………………………………..117 วิธีการและขั้นตอนการวจิัย............................................................................118 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย………………………………………………………….119 การสรางเครื่องมือในการวิจยั…………………………………………….……...120 การเก็บรวบรวมขอมูล…………………………………………………………...139 การวิเคราะหขอมูล……………………………………………………………… 139 สรุปวิธีดําเนินการวิจยั……………………………………………………….… ..140

    4 ผลการวิเคราะหขอมูล............................................................................................143 ผลการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู...............................................................143 ผลการประเมนิความสามารถในการทําผลงานของนกัเรยีน..............................151

    ผลการเรียนรูจากการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ...........................................153 ผลการศึกษาความคิดเหน็ของนักเรียน...........................................................154 5 สรุปผลการวิจยั อภิปรายและขอเสนอแนะ..............................................................162 สรุปผลการวิจยั............................................................................................163 อภิปรายผลการวิจัย..................................................................................... 164 ขอเสนอแนะ................................................................................................ 169 ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลการวจิัยไปใช............................................169 ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป....................................................170 บรรณานุกรม..................................................................................................................171

  • หนา ภาคผนวก......................................................................................................................181 ภาคผนวก ก รายชื่อผูเชีย่วชาญ...................................................................182

    ภาคผนวก ข เครื่องมือที่ใชในการวิจัย..........................................................184 ภาคผนวก ค แผนการจัดการเรียนรู............................................................. 204 ภาคผนวก ง การประเมนิผลงานนกัเรียน………………………………….......212 ภาคผนวก จ แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู……………………………………..214 ภาคผนวก ฉ แบบสอบถามความคิดเหน็…………………………………........221 ภาคผนวก ช เอกสารประกอบแผนการจดัการเรียนรู…………………………..224 ภาคผนวก ซ รูปภาพแสดงกิจกรรมการเรยีนการสอน.....................................306

    ประวัติผูวิจัย……………………………………………………………….…………………..326

  • สารบัญตาราง

    ตารางที ่ หนา 1 การแบงหนวยการเรียนรูรายวชิา ส30202 เมืองนครปฐม.....…………………………21 2 การแบงเนื้อหาและผลการเรียนรูที่คาดหวังรายวิชา ส 30202 เมืองนครปฐม…………22 3 การบูรณาการระหวางกลุมสาระการเรียนรู…………………………………………….39 4 รูปแบบการบูรณาการ............................................................................................41 5 ลักษณะสําคัญที่ผูวิจัยวเิคราะหจากวธิีสอนทั้ง 4 วิธ…ี…………………..………….72 6 แสดงการใหคะแนนแยกตามรายละเอียดของผลงาน................................................82 7 แบบแผนการวิจัย.................................................................................................119 8 วิเคราะหเนื้อหาที่ใชในการบูรณาการเรื่อง ถลกบาตร..............................................120 9 การบูรณาการในแผนการจัดการเรยีนรูเร่ือง ถลกบาตร............................................122 10 สรุปข้ันตอนการพฒันาแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ.....................................128 11 วิเคราะหขอสอบปรนยั เร่ือง ถลกบาตร...................................................................133 12 สรุปวิธดีําเนนิการวิจยัแบบ One Group Pre test – Post test Design…………….119 13 ผลการหาคาประสทิธิภาพแผนการจัดการเรียนรูแบบรายบุคคล................................147 14 ผลการหาคาประสทิธิภาพแผนการจัดการเรียนรูแบบกลุมเล็ก…………….………….148 15 ผลการหาคาประสทิธิภาพแผนการจัดการเรียนรูแบบภาคสนาม…………….….…….149 16 ผลการหาคาประสทิธิภาพแผนการจัดการเรียนรูองกลุมตัวอยาง...............................150 17 สรุปผลการหาคาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู…………………………… .151 18 แสดงผลงานของนกัเรียน.......................................................................................151 19 แสดงระดับคุณภาพของผลงานนกัเรียน..................................................................152 20 แสดงการเปรียบเทยีบผลการเรียนรู เร่ือง ถลกบาตร กอนเรียนและหลงัเรียน............153 21 จาํนวนรอยละของแบบสอบถามความคิดเหน็..........................................................154 22 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากแบบสอบถามความคดิเห็น..........................157 23 แสดงคารอยละของขอเสนอแนะเพิม่เติม.................................................................160 24 แสดงคาดัชนีความสอดคลองของแผนการจัดการเรียนรู...........................................205 25 คาประสิทธิภาพ 1Ε / 2Ε ของแผนการจัดการเรียนรูแบบรายบุคคล..........................207 26 คาประสิทธิภาพ 1Ε / 2Ε ของแผนการจดัการเรียนรูแบบกลุมเล็ก...........................207 27 คาประสิทธิภาพ 1Ε / 2Ε ของแผนการจดัการเรียนรูแบบภาคสนาม………………..208

  • ตารางที ่ หนา 28 คาประสิทธิภาพ 1Ε / 2Ε ของแผนการจดัการเรียนรูของกลุมตัวอยาง.....................210 29 แสดงคาดัชนีความสอดคลองแบบประเมินความสามารถในการทํางาน...................213 30 แสดงคาดัชนีความสอดคลองของแบบทดสอบ……………………………………....215 31 แสดงการปรับปรุงแบบทดสอบตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ................................217 32 แสดงผลการวิเคราะหคาความยากงาย (P) คาอํานาจจําแนก(r) ของแบบทดสอบวัดผลการเรยีนรูเร่ือง ถลกบาตร............................................218 33 แสดงคะแนนกอนเรยีนและคะแนนหลงัเรียนของนักเรียน……………………… …..219 34 แสดงคาดัชนีความสอดคลองแบบสอบถามแสดงความคิดเหน็ของนกัเรียน ตอนที ่2.......................................................................................................222

  • สารบัญแผนภูมิ

    แผนภูมิที ่ หนา 1. กรอบแนวคิด……………………………………………………………………...….10 2 รูปแบบเชื่อมสวน……………………………………………………………….…….43 3 รูปแบบทักษะ………………………………………………………………….……..44 4 สรุปข้ันตอนการสรางรูปแบบการเรียนรูโดยใชแหลงเรียน.....................................126 5 สรุปข้ันตอนการสรางแบบประเมนิทักษะและผลงานนกัเรียน................................131 6 สรุปการสรางแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู..........................................................134 7 สรุปข้ันตอนการสรางแบบสอบถามความคิดเหน็ของนกัเรียน..…………………….137

  • บทที่ 1

    บทนํา

    ความสําคัญและความเปนมาของปญหา การศึกษาเปนเครื่องมือที่สําคัญในการพัฒนาคนใหกับสังคม ทั้งนี้สังคมจะกาวหนาและอยูรอดไดเปนผลมาจากการจัดการศึกษา ดังพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราชวา

    “การศึกษาเปนเครื่องมืออันสําคัญในการพัฒนาความรู ความคิด ความประพฤติ ทัศนคติ คานิยมและคุณธรรมของบุคคล เพือ่เปนพลเมืองดี มีคุณภาพและประสิทธิภาพ การพัฒนาประเทศก็ยอมทําไดสะดวกราบรื่น ไดผลแนนอนและรวดเร็ว” (สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, สํานักนิเทศและมาตรฐานการศึกษา 2540 ข : 3)

    การจัดการศึกษาที่จะเปนประโยชนตอผู เรียนอยางแทจริงจะตองเปนการจัดการศึกษาที่สอดคลองเกื้อกูลตอชีวิตจริงและสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคมของแตละชุมชน ทั้งนี้เพื่อใหผูเรียนไดเรียนรูชีวิตจริงของตนเองและชุมชนในดานตาง ๆ มุงใหผูเรียนไดรับประสบการณ ไดลงมือปฏิบัติจริง เพื่อใหผูเรียนสามารถพัฒนาตนเองและเกิดความรัก ความภาคภูมิใจในชุมชนของตนเอง การเรียนรูของผูเรียนเปนหัวใจสําคัญที่สุดของการจัดการศึกษา ครูและผูที่เกี่ยวของกับการศึกษาทุกฝายไดพยายามหายุทธวิธีในการจัดการศึกษา เพื่อใหผูเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการเรียนรู ทั้งนี้มุงหวังใหการศึกษาพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิตและสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางเปนสุข ตามมาตราที่ 6 ในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 (สํานักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแหงชาติ 2542 : 8) และใหอยูรวมกับธรรมชาติไดอยางกลมกลืน มีความกาวหนาทางวิทยาการสมัยใหม สามารถปรับตัวไดอยางรูเทาทันการเปลี่ยนแปลงในสภาวะโลกที่มีการเปลี่ยนดานตาง ๆ อยางรวดเร็วตลอดเวลาและเปนโลกแหงการเรียนรูไมมีวันสิ้นสุด การศึกษาจําเปนตองพัฒนาคนใหเขมแข็งทางปญญา มีการเรียนรูตอเนื่องตลอดชีวิตและสรางองคความรูใหมได

  • 2

    ดังนั้นจึงเกิดการปฏิรูปการศึกษาขึ้นเพื่อปรับเปลี่ยนการจัดการศึกษาใหดีมีคุณภาพ พัฒนาคนใหมีคุณภาพ เปนการจัดการศึกษาที่สอดคลองเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ข : คํานํา) การปฏิรูปการศึกษาเปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่ทุกคนในสังคมตระหนักวาเปนเสนทางนําไปสูการแกไขวิกฤตการณดานตาง ๆ ที่ เกิดขึ้นและหวังวาการศึกษาจะเปนกระบวนการนําไปสูการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน (กระทรวงศึกษาธิการ, สํานักงานปลัดกระทรวง 2544 : 1) จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (2540 - 2544) และฉบับที่ 9 (2545 - 2549) มีแนวคิดยึดคนเปนศูนยกลาง การพัฒนาในทุกมิติเปนองครวม มุงใหเกิด การพัฒนาที่ยั่งยืนและความอยูดีมีสุขในสังคมไทย สรางคานิยมใหคนไทยตระหนักถึง ความจําเปน การปรับเปลี่ยนกระบวนการคิด ทัศนคติและกระบวนการทํางานโดยยึดหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและสรางคุณคาที่ดีในสังคมไทยบนพื้นฐานของการอนุรักษวัฒนธรรมและเอกลักษณของความเปนไทย มุงพัฒนาสังคมที่เขมแข็งและมีคุณภาพในสามดานคือสังคมคุณภาพ สังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู สังคมสมานฉันทและเอื้ออาทรตอกัน (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิ2544 : 4) ซึ่งวิชัย วงษใหญ (2543 : 1 - 2) ไดกลาวไวเชนกันวา การปฏิรูปการศึกษาเปนส่ิงจําเปนเนื่องจากการจัดการศึกษาของไทยเนนความรู ความจําเปนสวนมาก สวนความสามารถในการปฏิบัติและการพัฒนาทักษะความคิดของผูเรียนมีคอนขางนอย ซึ่งแสดงถึงการจัดการเรียนการสอนที่เนนครูเปนศูนยกลาง ดังนั้นจึงควรเปลี่ยนแนวทางใหผูเรียนเปนศูนยกลางแทน จึงจะนับวาสนองตอบตอการจัดการศึกษาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 และฉบับที่ 9 และสอดคลองกับการปฏิรูปการเรียนรูตามเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ในหมวดที่ 4 มาตราที่ 22 ไดกลาวถึงการจัดการศึกษาโดยยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดและถือวาผูเรียนสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติเต็มตามกระบวนการการจัดการศึกษาและเต็มตามศักยภาพ (สํานักงานคณะกรรมการ การประถมศึกษาแหงชาติ 2542 : 17) โดยครูตองออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหใกลเคียงกับสภาพจริงในวิถีชีวิตของผูเรียนในชุมชนและสังคมมุงสรางบรรยากาศที่สอดคลองกับการดํารงชีวิต โดยใชส่ือที่หลากหลายในลักษณะองครวมที่เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรูและความสนใจของผูเรียน คํานึงถึงการใชสมองทุกสวน (Whole Brain Approach) โดยใหผูเรียนมีสวนรวมในการเสนอกิจกรรมและลงมือปฏิบัติจริงทุกขั้นตอน (วิชัย วงษใหญ 2543 : 3)

  • 3

    วิธีการจัดการเรียนรูแนวทางใหมหรือการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู ซึ่งเนนผูเรียนเปนศูนยกลางและสอดคลองกับสภาพชีวิตจริงของนักเรียน ในการจัดการเรียนรูนั้นมีหลายวิธี เชน การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ การจัดการเรียนรูโดยกรณีศึกษา การจัดการเรียนรูโดยใชกระบวนการกลุม การจัดการเรียนรูแบบรวมมือ เปนตน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของชัยพฤกษ เสรีรักษ (2543 : 54–55) กลาววา “การปฏิรูปกระบวนการเรียนรูที่ผูเรียนสําคัญที่สุดเปน ความพยายามในการจัดการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนไดรับประโยชนสูงสุดคือการเปนคนเกง ดี และมีความสุข โดยการดําเนินการทุกวิถีทางที่สอดคลองกับความสนใจ ความถนัด ความตองการและสภาพชีวิตจริงของผูเรียนเปนการใหความสําคัญกับการเรียนรูของผูเรียน ทั้งในลักษณะของ ผลการเรียนรูและกระบวนการเรียนรูที่ผูเรียนจะตองเปนผูลงมือเรียนรูดวยตนเอง” พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ในมาตราที่ 23 กลาวถึงการจัดการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตองเนนความสําคัญทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรูและบูรณาการตามความเหมาะสมของแตละระดับการศึกษา (สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ 2542 : 17) ซึ่งการจัดการเรียนรูแบบ บูรณาการเปนการจัดการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งที่เนนผูเรียนเปนสําคัญซึ่งสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และแนวคิดของนักการศึกษาอีกหลายทาน ดังเชน ธีระชัย บูรณะโชติ (2542 : 14-19) กลาววาการสอนแบบบูรณาการเปนวิธีหนึ่งที่สงเสริม การเรียนรูของสมอง สมองจะเชื่อมโยงการเรียนรูทุกสาขาวิชา ความคิดตาง ๆ ทักษะ เจตคติหรือความเชื่อ ไดดีเมื่อไดจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนําเสนอแกผูเรียนในลักษณะบูรณาการ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2544 : 3) เสนอเชนกันวาการบูรณาการจะทําใหผูเรียนมองเห็นความสัมพันธของสิ่งที่เรียนรู บรรยากาศจะผอนคลาย ไมกดดันและเอื้อตอการเรียนรูของสมองทั้งสองซีกไดดี ชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่สมบูรณทั้งพุทธิพิสัย ทักษะพิสัยและ จิตพิสัย สามารถนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตจริงไดและชวยสงเสริมพัฒนาความสามารถทางสติปญญาที่หลากหลาย สนองตอบตอรูปแบบการเรียนรูที่แตกตางกันของผูเรียนแตละคนไดเปนอยางดีสอดคลองกับบังอร พุฒคง (2546 : 2) ไดกลาววาการสอนที่สัมพันธเชื่อมโยงความคิดรวบยอดจากหลาย ๆ สาขาวิชาเขาดวยกันมีประโยชนหลายอยางที่สําคัญคือ ชวยใหเกิดการถายโอนความรูระหวางวิชา ดังนั้น การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการจะชวยใหผูเรียนเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนเขากับชีวิตจริงไดและในทางกลับกันก็สามารถเชื่อมโยงเรื่องของชีวิตจริงภายนอกหองเรียนเขากับเรื่องที่เรียนได ทําใหผูเรียนเขาถึงสิ่งที่ตนเรียกวามีประโยชนและนําไปใชไดจริง ซึ่งสิ่งนี้จะกอใหเกิดแรงจูงใจในการเรียนมากขึ้น

  • 4

    จากผลการวิจัยของสิริพัชร เจษฎาวิโรจน (2546 ก : บทคัดยอ) ไดใชการบูรณาการแบบโยงใย (Webbed Model) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนวัดเสมียนนารี กรุงเทพมหานคร ทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยูในระดับดี 28.89 ระดับดีมาก 48.89 และนักเรียนมีเจตคติที่ดีตอการสอนแบบนี้ คณะครูและผูปกครองเห็นดวยกับการจัดกิจกรรม การสอนแบบบูรณาการสอดคลองกับบังอร พุฒคง (2546 : บทคัดยอ) ไดพัฒนารูปแบบ การสอนภาษาฝรั่งเศสแบบบูรณาการเนื้อหาและทักษะภาษา ในชวงชั้นที่ 4 สงผลใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใชการบูรณาการดีกวากอนใชการบูรณาการและแอนดริว (Andrews 1997 : 56) ไดเสนอผลการสอนแบบบูรณาการการอานและดนตรี ทําใหนักเรียนกลุมที่ใชการสอนแบบบูรณาการมีผลสัมฤทธิ์ดีกวากลุมปกติและยังใหความสนใจที่จะนํา การสอนดนตรีเขาไปบูรณาการกับวิชาอื่น ๆ เพื่อชวยใหการเรียนวิชาอื่น ๆ นาสนใจขึ้น งานวิจัยของพิษณุ เดชใด (2540 : บทคัดยอ) ไดสอนแบบบูรณาการที่ใชเทคนิคการพัฒนาแบบยั่งยืนสงผลใหนักเรียนมีเจตคติตอส่ิงแวดลอมสูงกวากลุมที่สอนตามคูมือครู สอดคลองกับอรรถวรรต นิยะโต (2536 : บทคัดยอ) ที่กลาววาสอนแบบบูรณาการทําใหนักเรียนมี ความรับผิดชอบตอตนเองและสังคมสูงกวากลุมที่สอนตามคูมือครู สวนอมรรัตน สูนยกลาง (2544 : บทคัดยอ) ไดวิจัยพบวาครูยังไมเขาใจการสอนแบบบูรณาการจึงตองการไดคูมือ การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการและหลังจากไดศึกษาคูมือการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ทําใหครูมีความเขาใจการสอนแบบบูรณาการเพิ่มขึ้นสามารถนําไปใชในการจัด การเรียนการสอนดีข้ึนกวากอนศึกษาคูมือ จากรายละเอียดดังกลาวแสดงใหเห็นวาการจัด การเรียนการสอนแบบบูรณาการเปนนวัตกรรมหนึ่งที่ชวยใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีพัฒนาการดานตาง ๆ ดีข้ึนและยังชวยใหบทเรียนมีความนาสนใจยิ่งขึ้น จากขอมูลดังกลาวผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะนําการบูรณาการมาจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมัธยมฐานบินกําแพงแสน ในรายวิชา ส 30202 เมืองนครปฐม หนวยที่ 6 แหลงสรางสมภูมิปญญา เร่ือง ถลกบาตร เพื่อนักเรียนจะไดศึกษาเรื่องราวในชุมชนของตน เกิดความรักในชุมชนและนําไปใชสัมพันธกับชีวิตจริง ทั้งยังเปนการปรับเปลี่ยนแนวคิดเกิดการสรางคุณคาที่ดีในชุมชนและสังคมไทย ตลอดจนเปนการเชื่อมโยงบทเรียนที่นักเรียนเรียนในวิชาตาง ๆ ใหเปนรูปธรรมและสามารถนําไปใชในชีวิตจริงได แตในปจจุบันสังคมไทยตกอยูในภาวะทุนนิยม นิยมวัตถุและขาดความภาคภูมิใจในความเปนไทย ขาดความรักและความผูกพันกับทองถิ่น ดังที่รุง แกวแดง (2538 : 25) กลาววาการศึกษาสมัยใหมไดแยกนักเรียนออกจากชุมชนหรือทองถิ่นของตน ซึ่งความแปลกแยกนี้มีลักษณะรุนแรงถึงกับทําใหนักเรียนดูถูกวิถีชีวิตของชุมชนไมยอมรับ ไมอยากศึกษา ไมมีความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมและทองถิ่นของตนและไมรูจะนํา

  • 5

    ความรู ความภาคภูมิใจในทองถิ่นของตนมาใชประโยชนไดอยางไร ผูวิจัยจึงไดศึกษาและคิดนําชุมชนและแหลงเรียนรูในชุมชนมาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเรียนใหสมบูรณทุกดาน อีกทั้งยังสนองตอบพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ที่กําหนดจุดมุงหมายและหลักการจัดการศึกษาไวในหมวด 1 มาตราที่ 6, 7 และ 8 สรุปความวากระบวนการจัดการศึกษาเนนที่การพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณ มุงปลูกฝงจิตสํานึกที่ถูกตอง รักความเปนไทยและเปดโอกาสใหชุมชนระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ มาใชใน การจัดการศึกษา มาตราที่ 25 รัฐตองดําเนินการจัดตั้งแหลงเรียนรูตลอดชีวิตทุกรูปแบบและในมาตราที่ 29 ใหสถานศึกษารวมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่น ๆ สงเสริมความเขมแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรียนรูภายในชุมชน เพื่อใหชุมชนมีการจัดการศึกษา อบรม มีการแสวงหาความรู ขอมูลขาวสาร รูจักเลือกสรรภูมิปญญาและวิทยาการตาง ๆ เพื่อพัฒนาชุมชนใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการ รวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนใหมี การแลกเปลี่ยนประสบการณ การพัฒนาระหวางชุมชนและการจัดการศึกษามุงสงเสริมใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง เรียนจากสื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรูตาง ๆ ที่มีอยูในทองถิ่นมาประยุกตใช (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมสามัญศึกษา 2542 ข : 12-16) จากแนวทางการจัดการศึกษาดังกลาวสรุปไดวา การปฏิรูปการศึกษาจะสําเร็จไดตองมี การเปลี่ยนแปลงแนวการสอนของครูโดยเนนที่นักเรียนเปนสําคัญและตองไดรับความรวมมือจากทุกฝายทั้งภาครัฐและเอกชนในการสนับสนุนการจัดการศึกษา จากความสําคัญและความเปนมาของปญหาดังกลาว ผูวิจัยเห็นวาการปรับ แนวทางการจัดการเรียนรูจากเดิมซ่ึงครูผูสอนเปนศูนยกลางในการเรียนเนนการสอนโดย การปอนเนื้อหาใหผูเรียนมาก ๆ การเรียนการสอนจํากัดอยูเฉพาะในหองเรียน นักเรียนขาด การกระตุนความคิด นักเรียนเรียนโดยการทองจําความรู คิดไมเปน นําไปใชแกปญหาไมไดและนักเรียนไมมีความสุขในการเรียน ถาใชการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการที่สงเสริมใหนักเรียนรูจักการใชกระบวนการ ใชทักษะหลาย ๆ อยางเพื่อศึกษาคนควาความรูซึ่งสามารถนํามาเชื่อมโยงกันไดจะทําใหการเรียนนาสนใจ เนื้อหาการเรียนไมซ้ําซอนกันและนาํไปใชรวมกนัในหลายวิชาและไมจําเปนวาการเรียนตองอยูในหองเรียนเทานั้น การเรียนสามารถเรียนไดทุกที่โดยเฉพาะอยางยิ่งการเรียนจากแหลงเรียนรูในชุมชน ซึ่งนอกจากจะสนองตอบเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แลวยังชวยแกปญหานักเรียนขาดความรู ความรักและความผูกพันกับชุมชนไดอีกทางหนึ่ง ทั้งนี้นักเรียนจะไดเรียนรูเร่ืองราวในชุมชนของตนมากขึ้น ซึ่งจะเปนพื้นฐานสรางความรู ความเขาใจและทําใหนักเรียนเกิดความรัก

  • 6

    ความภาคภูมิใจในชุมชนของตน จากการศึกษางานวิจัยที่ผานมาผูวิจัยไมพบวามีผูวิจัยทานใดวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรูแบบบูรณาการโดยใชแหลงเรียนรูในชุมชน สวนใหญผูวิจัยจะวิจัยเชิงสํารวจเกี่ยวกับการใชแหลงเรียนรูในทองถิ่นหรือชุมชน ดังเชนงานวิจัยของนวลศรี ธิราช (2545 : บทคัดยอ) สํารวจพบวาที่ตําบลมหาดง จังหวัดเชียงราย มีแหลงเรียนรูที่หลากหลายทั้งดานปริมาณและคุณภาพ สามารถนํามาใชประโยชนในการจัดการศึกษาไดระดับหนึ่ง แตมีขอจํากัดในเรื่องเวลา การถายทอดความรูของวิทยากรที่เปนปราชญชาวบานและขาดงบประมาณสนับสนุนในการเขาไปศึกษาและพัฒนาแหลงเรียนรูดังกลาว ซึ่งสอดคลองกับสาวิตรี ซาตา (2542 : บทคัดยอ) พบวาครูและนักเรียนในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ในอําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน มีการใชประโยชนจากแหลงเรียนรูระดับปานกลาง สวนอุปสรรคและปญหาการใชแหลงเรียนรูมีเชนเดียวกับงานวิจัยของนวลศรี ธิราช (2545 : บทคัดยอ) และภาษิต สุโพธิ์ (2547 : บทคัดยอ) ก็พบปญหามีขอจํากัดในเรื่องเวลา การถายทอดความรูของวิทยากรที่เปนปราชญชาวบานและขาดงบประมาณสนับสนุนเชนเดียวกันและยังพบวาโรงเรียนในเขตอําเภอเมือง จังหวัดลําพูน และโรงเรียนนอกเขตอําเภอเมืองจังหวัดลําพูน มีระดับการใชแหลงเรยีนรูไมแตกตางกัน จากที่ผูวิจัยศึกษาจากงานวิจัยของหลาย ๆ ทานจะพบปญหาและอุปสรรคคลาย ๆ กันและมีขอเสนอแนะวาในการจัดการเรียนการสอนทุกวิชาควรนําแหลงเรียนรูมาใชใน การจัดการเรียนการสอนใหมากขึ้น จากความสําคัญดังกลาวผูวิจัยเห็นพองกบันกัการศกึษาและผูวิจัยทานอื่น ๆ ที่กลาววาควรนําแหลงการเรียนรูในชุมชนมาใชในการจัดการเรียนการสอนใหมากขึ้น ในสภาพปจจุบันโรงเรียนมัธยมฐานบินกําแพงแสน อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม เปนโรงเรียนขนาดใหญพิเศษ จัดสอนระดับชวงชั้นที่ 3 และชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนอยูในเขตพื้นที่รับผิดชอบของกองทัพอากาศ ในสวนกองยุทธศึกษาฐานบินกําแพงแสน บริบทโดยรอบโรงเรียนมีแหลงเรียนรูในชุมชนอําเภอกําแพงแสนที่สําคัญหลายแหง เชน การอบสมุนไพรที่วัดไผร่ืนรมย สวนสมุนไพรที่วัดปลักไมลาย วิถีชีวิตชาวไทยทรงดําที่บานสระพัฒนา สนามกอลฟทองใหญ ระบบนิเวศและแหลงดูนกที่สวนน้ําจิตรการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน แหลงเรียนรูทางการเกษตรและทางวัฒนธรรมอีกหลากแหงซึ่งสามารถนํามาบูรณาการในการจัดการเรียนรูไดทุกกลุมสาระการเรียนรู โรงเรียนไดวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 3 ในทุกกลุมสาระการเรียนรูพบวาการนําแหลงเรียนรูในชุมชนมาใชใน การเรียนการสอนนอย อีกทั้งนักเรียนขาดการคนควาความรูจากแหลงเรียนรูในชุมชนสอดคลองกับการประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรียนมัธยมฐานบินกําแพงแสน ครั้งที่ 1 พ.ศ.2547 ประเมินโดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในมาตรฐานที่ 6

  • 7

    ผูเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรูดวยตนเอง รักการเรียนรูและพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง ในตัวบงชี้ที่ 3 ผูเรียนสามารถใชหองสมุด ใชส่ือตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาอยูในระดับพอใช สอดคลองกับผูวิจัยสอบถามโดยการสัมภาษณครูผูสอนชวงชั้นที่ 3 ทั้ง 8 กลุมสาระการเรียนรูในโรงเรียนมัธยมฐานบินกําแพงแสน พบวามีการใชแหลงเรียนรูในชุมชนนอยคือมีเพียง 2 กลุมสาระที่นํานักเรียนออกไปศึกษาแหลงเรียนรูในชุมชนคือกลุมสาระวิทยาศาสตรและกลุมสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สวนอีก 6 กลุมสาระไมมีการนํานักเรียนออกไปศึกษาในชุมชน ทั้งนี้พบปญหาในการใชแหลงเรียนรูในชุมชนเชนเดียวกับงานวิจัยของนวลศรี ธิราช (2545 : บทคัดยอ) คือขอจํากัดเรื่องเวลา งบประมาณและการถายทอดความรูของวิทยากร จากการสอบถามประธานกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเร่ือง การใชแหลงเรียนรูในชุมชนในปการศึกษา 2548 ในกลุมสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีโครงการจัดศึกษาแหลงเรียนรูนอกโรงเรียน (ไมใชแหลงเรียนรูในชุมชน) ระดับช้ันละ 1 คร้ังตอปการศึกษา ผลการปฏิบัติจัดไดเพียง 3 ระดับชั้น ๆ ละ 1 คร้ังคือชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 มัธยมศึกษาปที่ 2 และมัธยมศึกษาปที่ 4 เทานั้น สวนการเชิญวิทยากรหรือพานักเรียนไปเรียนรูแหลงเรียนรูในชุมชนมีโครงการจัดระดับชั้นละ 2 ครั้งตอปการศึกษาเชนเดียวกัน แตการปฏิบัติทําไดระดับช้ันละ 2 คร้ังคือช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 สวนระดับช้ันอื่น ๆ ไมไดมีการเชิญวิทยากรหรือพานักเรียนไปศึกษาแหลงเรียนรูในชุมชน ดังนั้นสรุปไดวาการจัดศึกษาแหลงเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมจัดไดไมถึงเกณฑที่กลุมสาระกําหนดและเกณฑการจัดอยูในระดับนอย สวนกลุมสาระอื่น ๆ ในปการศึกษา 2549 คือ กลุมสาระวิทยาศาสตรจัดศึกษาแหลงเรียนรูนอกโรงเรียน 2 คร้ัง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยจัดศึกษาแหลงเรียนรูนอกโรงเรียน 1 คร้ังและกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศจัดศึกษาแหลงเรียนรูนอกโรงเรียน 2 คร้ัง ดังนั้นโดยภาพรวมจึงสรุปไดวามีการจัดนักเรียนไปศึกษาแหลงเรียนรูนอกโรงเรียนนอยและจากการสอบถามนักเรียนชวงชั้นที่ 3 ของโรงเรียนมัธยมฐานบินกําแพงแสนโดยการสุมตัวอยางสอบถามนักเรียนจํานวน 150 คน พบวามีการศึกษาและใชประโยชนจากแหลงเรียนรูในชุมชนนอยเชนกัน แตนักเรียนมี ความสนใจที่จะเขาไปศึกษายังแหลงเรียนรูในชุมชนมากและจากการสอบถามนักเรียนที่เคยเขาไปศึกษาในแหลงเรียนรูในชุมชนจะพบวานักเรียนยังขาดกระบวนการคนหาความรูที่ถูกตอง คือ ไดขอมูลจากแหลงเรียนรูในชุมชนมาแลวนักเรียนจะนําความรูไปทํารายงานแลวนําเสนอโดยขาดข้ันตอนการวิเคราะห การอภิปรายขอมูลที่ถูกตอง นอกจากนี้ขอมูลที่ไดไมไดนําไปสัมพันธกับวิชาอื่น ๆ ความรูที่ไดคนควาจึงสิ้นสุดเมื่อสงงานครูผูสอน ความรูที่ไดจึงขาดความคงทนติดตัวนักเรียนไปเพราะความรูที่ไดนักเรียนไมไดนําไปใชจริงในชีวิต จากการสอบถามเรื่อง

  • 8

    การบูรณาการความรูที่คนความาได ปรากฏวานักเรียนมีการบูรณาการนอย ทั้งนี้เพราะไมเขาใจวิธีการบูรณาการจึงไมสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตและเรื่องอื่น ๆ ได ผูวิจัยสรปุปญหาที่พบจากการสอบถามครูและนักเรียนชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนมัธยมฐานบินกําแพงแสนไดดังนี ้ 1. มีการใชแหลงเรียนรูในชุมชนในการจัดการเรียนการสอนนอย 2. นักเรียนขาดกระบวนการคนควาที่ถูกตอง 3. นักเรียนขาดการบูรณาการความรู 4. นักเรียนไมไดนําความรูไปใชในชีวิตจริง

    จากสภาพปญหาดังกลาวผูวิจัยจึงสนใจจะศึกษา เร่ือง รูปแบบการเรียนรูแบบ บูรณาการ ซึ่งมีการเชื่อมโยงเนื้อหาและวิธีการสอนหลาย ๆ แบบเขาดวยกัน เพื่อใหความรูที่นักเรียนไดจากการคนความีความหมายและคงทนติดตัวนักเรียนไปอีกนาน ซึ่งสอดคลองกับนักวิชาการหลายทานที่กลาวถึงการบูรณาการ ดังนี้ สุมิตร คุณานุกร (2518 : 41- 42) กลาววาการบูรณาการชวยใหเกิดการเชื่อมโยงการเรียนรู (Transfer of learning) ความรูที่เรียนไปจะถูกนํามาสัมพันธกับความรูใหมชวยใหเกิดการเรียนรูไดเร็วขึ้นและชวยใหการสอนและการศึกษามีคุณคามากขึ้น แทนที่จะเปนกระบวนการถายทอดความรูหรือสาระแตเพียงอยางเดียว กลับชวยพัฒนาทักษะที่จําเปนใหเกิดความคิดรวบยอดที่กระจางถูกตองและสามารถปลูกฝงคานิยมที่พึงปรารถนาไดอีกดวย เชนเดียวกับผกา สัตยธรรม (2523 : 45–54) วาการบูรณาการชวยเหลือและแกไขตลอดจนสงเสริมใหนักเรียนไดพัฒนาตนเองให เปนคนที่สมบูรณในทุกดาน การเชื่อมโยงวิชาทําใหนักเรียนสนุกสนานเพราะไดเรียนรูหลายดานทําใหไมลืมและสามารถนําไปปฏิบัติในชีวิ