การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 ·...

35
การวัดทางระบาดวิทยา การวัดทางระบาดวิทยา การวัดทางระบาดวิทยา การวัดทางระบาดวิทยา ( Measurement in Epidemiology) Measurement in Epidemiology) อาจารย รังสิมา อาจารย รังสิมา พัส พัสระ ระ วท วท.ม. . (สาธารณสุขศาสตร สาธารณสุขศาสตร)

Transcript of การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 ·...

Page 1: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

การวัดทางระบาดวิทยา การวัดทางระบาดวิทยา การวัดทางระบาดวิทยา การวัดทางระบาดวิทยา (( Measurement in Epidemiology)Measurement in Epidemiology)

อาจารย รังสิมา อาจารย รังสิมา พัสพัสระ ระ วทวท..มม. . ((สาธารณสุขศาสตรสาธารณสุขศาสตร))

Page 2: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

วัตถุประสงค วัตถุประสงค เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนนักศึกษาสามารถ• คํานวณและแปลความหมายการวัดทางระบาด

วิทยา (Epidemiologic Measures) ดังตอไปนี้ :�อัตรา (Rates)�อัตราสวน (Ratio)�อัตราสวน (Ratio)�สัดสวน (Proportion)

• เลือกและประยุกตใชการวัดความสัมพันธ (Measures of Association) และการวัดผลกระทบทางดานสาธารณสุข (Measures of Public Health Impact) ที่เหมาะสม

Page 3: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

หัวเรื่องหัวเรื่อง

• การวัดความถี่ (Frequency Measures)• การวัดความถี่ของการปวย (Morbidity Frequency

Measures)• การวัดความถี่ของการตาย (Mortality Frequency

Measures)• การวัดความถี่ของการตาย (Mortality Frequency

Measures)• การวัดการเกิด (Natality/Birth Measures)• การวัดความสัมพันธ (Measures of Association)• การวัดผลกระทบทางดานสาธารณสุข (Measures

of Public Health Impact)

Page 4: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in
Page 5: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

ความหมาย

����������

������� �� ����������������������������� �����ก ���!�"��!##�$��%�� �&�����������������������"��'��(���) ��*�ก+%�#,�-�'.����!#��(�� ��(������ &*�"��'��(���) ��*�ก+%�#,�-�'.����!#��(�� ��(������ &*��������

Page 6: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

ประโยชน์ของดัชนีอนามัย

1.ช่วยในการวัดการกระจายของโรค และแสดงแนวโน้มของการเกิดโรคในชุมชน

2.ใช้วเิคราะห์สถานการณ์ทางด้านอนามัยและปัญหาสุขภาพอนามัยของ2.ใช้วเิคราะห์สถานการณ์ทางด้านอนามัยและปัญหาสุขภาพอนามัยของชุมชน การมีดัชนีอนามัยเพื่อสรุปเกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการตายของชุมชน ทําให้สามารถเปรียบเทียบสถิติอนามัยในปัจจุบันและอดีต เปรียบเทียบสถิติอนามัยภายในประเทศหรือระหวา่งประเทศเพื่อประเมินสถานการณ์ทางด้านอนามัย

Page 7: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

ประโยชน์ของดัชนีอนามัย

3.ใช้เป็นแนวทางในการวางแผนงานสาธารณสุข โดยเฉพาะการกําหนดเป้าหมายวัตถุประสงค์ และการประเมินผลของแผน

4. ใช้ในการประเมินการจัดบริการสาธารณสุข และวัดผลการ4. ใช้ในการประเมินการจัดบริการสาธารณสุข และวัดผลการดําเนินงานตามโครงการต่างๆว่าได้ผลมากน้อยเพียงใด

5. ใช้เป็นประโยชน์ในงานวิจัยและการศึกษาทางด้านวิทยาการระบาดต่างๆ

Page 8: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

ดัชนีอนามัยเกี่ยวกับการเจ็บปวยดัชนีอนามัยเกี่ยวกับการเจ็บปวย�อุบัติการณของโรค (Incidence) หมายถึง

จํานวนผูปวยใหมที่เกิดขึ้นในชวงระยะเวลาที่กําหนด

�อัตราอุบัติการณของโรค (Incidence rate) �อัตราอุบัติการณของโรค (Incidence rate) หมายถึง จํานวนผูปวยใหมที่เกิดขึ้นตอหนวยประชากรที่เฝาสังเกตในชวงเวลาที่กาํหนด

Page 9: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

อัตราอุบัติการณของโรค อัตราอุบัติการณของโรค (Incidence rate)(Incidence rate)

อัตราอุบัติการณของโรค = จํานวนผูปวยใหมที่เกิดขึ้นในระหวางป x 1,000 ประชากรที่เสี่ยงตอการเปนโรคหรอืประชากรกลางป

� ดัชนีนี้เปนตัวบงชี้ถึงโอกาสของการเกิดโรคในชุมชนวามีมากนอย� ดัชนีนี้เปนตัวบงชี้ถึงโอกาสของการเกิดโรคในชุมชนวามีมากนอยเพียงใด ถาคาที่ไดสูงแสดงวาความเสี่ยงหรือโอกาสของการเกิดโรคในชุมชนมีสูง ซึ่งยังแสดงถึงวามาตรการในการควบคุมและปองกันโรคในชุมชนแหงนั้นไมดีพอ

Page 10: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

�ความชกุของโรค (Prevalence) หมายถึง จํานวนผูปวยทั้งหมดที่มอียูทั้งเกาและใหมในประชากรที่จุดเวลาที่กําหนด หรือชวงระยะเวลาที่กําหนด

ดัชนีอนามัยเกี่ยวกับการเจ็บปวยดัชนีอนามัยเกี่ยวกับการเจ็บปวย

ที่กําหนด

�อัตราความชุกของโรค (Prevalence rate) หมายถึง จํานวนผูปวยทั้งหมดที่มอียูทั้งเกาและใหมตอหนวยประชากรที่จุดเวลาที่กําหนดหรือชวงระยะเวลาที่กําหนด

Page 11: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

อัตราความชุกของโรคแบงอัตราความชุกของโรคแบงออกเปน ออกเปน 2 2 ชนิดชนิด

1) อัตราความชุกของโรคที่จุดเวลาที่กําหนด (Point prevalence rate) หมายถึง จํานวนผูปวยทั้งเกาและใหมตอหนวยประชากรที่จุดเวลาที่กําหนดเวลาที่กําหนด

2) อัตราความชุกของโรคในชวงระยะเวลาที่กําหนด (Period prevalence rate) หมายถึงจํานวนผูปวยทั้งเกาและใหมตอหนวยประชากรในชวงระยะเวลาที่กําหนด

Page 12: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

อัตราความชุกของโรคที่จุดเวลาอัตราความชุกของโรคที่จุดเวลาที่กาํหนดที่กาํหนด

= จํานวนผูปวยทั้งหมดที่มอียูที่จุดเวลาที่กําหนด จํานวนประชากรทั้งหมดที่จุดเวลานั้น

� ดัชนีนี้ชวยบอกใหทราบถึงสถานการณการใหบริการ� ดัชนีนี้ชวยบอกใหทราบถึงสถานการณการใหบริการทางดานสาธารณสุข เพราะหากมีการใหบริการดีจํานวนผูปวยทั้งเกาและใหมก็จะลดนอยลง คาอัตราความชุกของโรคก็มีคานอย นอกจากนีย้ังเปนแนวทางในการพิจารณาจัดกําลังคนและขนาดของบริการใหแกชุมชน

Page 13: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

อัตราความชุกของโรคในชวงอัตราความชุกของโรคในชวงระยะเวลาที่กําหนดระยะเวลาที่กําหนด

= จํานวนผูปวยทั้งหมดที่มีอยูที่ในชวงระยะเวลาที่กําหนด จํานวนประชากรเฉลี่ยในชวงระยะเวลาที่กําหนด

Page 14: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

ตัวอยางตัวอยาง� ในชุมชน ก. มีประชากรกลางป 2553 จํานวน 3,000 คน มีผูติดเชื้อ

วัณโรคปอด เพิ่มจากป 2552 จํานวน 5 ราย จากเดิมมี 30 รายอัตราอุบัติการณของโรค =จํานวนผูปวยใหมที่เกิดขึ้นในระหวางป x 1,000 ประชากรที่เสี่ยงตอการเปนโรคหรือประชากรกลางป

= 5 x 1,000= 5 x 1,000

3,000

= 1.66 ตอประชากรกลางป 1,000 คนอัตราความชุกของโรคที่จุดเวลาที่กําหนด= จํานวนผูปวยทั้งหมดที่มีอยูที่จุดเวลาที่กําหนด x1,000 จํานวนประชากรทั้งหมดที่จุดเวลานั้น

= 35x1,0003,000

= 11.66 ตอประชากรกลางป 1,000 คน

Page 15: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

จํานวนประชากรที่สํารวจไดในวันที่ จํานวนประชากรที่สํารวจไดในวันที่ 31 31 ธันวาคม ธันวาคม 2552 2552 มีจํานวน มีจํานวน 6565,,000000,,000 000 คน คน

ประชากรกลางปประชากรกลางป

คน คน ในวันที่ ในวันที่ 31 31 ธันวาคม ธันวาคม 2553 2553 มีจํานวน มีจํานวน 7070,,000000,,000000 คน จงหาจํานวนประชากรคน จงหาจํานวนประชากรกลางป กลางป 255225526565,,000000,,000 000 + + 7070,,000000,,000 000 = = 6767,,500500,,000 000 คนคน

22

Page 16: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

อัตราปวย อัตราปวย (Morbidity rate) (Morbidity rate) � อัตราปวย (Morbidity rate) อัตราปวยเปนดัชนีที่บง

ถึงปญหาสุขภาพของประชากร อัตราปวยที่สําคัญ ไดแก

1. อัตราปวยระลอกแรก (Primary attack rate) 1. อัตราปวยระลอกแรก (Primary attack rate) หมายถึง อัตรารอยละหรืออัตราตอพันของประชากรที่มีภูมิไวรับเกิดปวยเปนโรค

2. อัตราปวยระลอกสอง (Secondary attack rate) หมายถึง อัตรารอยละหรืออัตราตอพันของผูสัมผัสโรคที่มีภูมิไวรับเกิดปวยเปนโรคขึ้นภายหลังไปสัมผัสผูปวยกลุมแรก

Page 17: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

อัตราปวยระลอกแรกอัตราปวยระลอกแรก (Primary attack rate)(Primary attack rate)

อัตราปวยระลอกแรก = จํานวนผูปวยระลอกแรก X100 หรือ 1,000 จํานวนประชากรที่มีภูมิไวรับ

� หนวยคือ จํานวนตอ 100 หรือ 1,000 ของประชากรที่มีภูมิไวรบั เนื่องจากผูปวยระลอกแรกอาจมีเพียงรายเดียว (Primary case) เนื่องจากผูปวยระลอกแรกอาจมีเพียงรายเดียว (Primary case) หรือบางครั้งอาจมีหลายรายเกิดขึ้นพรอมกัน สาํหรบัจํานวนผูมีภูมิไวรับ หมายถึง ผูที่มีโอกาสสัมผัสหรือรับเชื้อ

� จํานวนผูมีภูมิไวรับในบางโรคก็หาไดในบางโรคก็หาไมได ดัชนีมักมีคานอยจึงมักรายงานเปนจํานวนแทนอ�ั��

Page 18: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

อัตราปวยระลอกสองอัตราปวยระลอกสอง(Secondary attack rate)(Secondary attack rate)

= จํานวนผูปวยใหมทั้งหมด-จํานวนผูปวยระลอกแรก x 100หรือ1,000 จํานวนประชากรที่มภีูมไิวรับ- จํานวนผูปวยระลอกแรก���� = ���� ����������ก��� X 1000

จํานวนประชากรที่มภีูมไิวรับ- จํานวนผูปวยระลอกแรก จํานวนประชากรที่มภีูมไิวรับ- จํานวนผูปวยระลอกแรก

� อัตราปวยระลอกสองชวยแสดงถึงความสามารถของเชื้อโรคในการทําใหเกิดการติดเชื้อในรางกายของโฮสท และการแพรกระจายของโรคมีมากนอยเพียงใด เชื้อโรคที่มีความสามารถในการติดเชื้อสงู จะมีคาดัชนีนี้สงู เชน ไขหัด ไขสุกใส เชื้อโรคที่มีความสามารถในการติดเชื้อต่ําจะมีคาของดัชนีนี้ต่ํา เชน วัณโรค โรคเรื้อน เปนตน นอกจากนี้ยังใชเปนดัชนีสําหรับการประเมินผลการปองกันโรคของยาหรือสารบางอยางก็ได

Page 19: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

����������������������� !��!"ก����#�$%��&�'��$(ก)$%*+��������($���(!,���-!)� ���� (!�.�

�)+�� $ก����#�$/#���!" ������0�+��!$ 100 '� �������"+(�1� ��������+�2��(�).!2�ก'��(!,��� �*� /3,4�'! 80 '� ���!�!" ������(/).!%*+��"ก 20 '� �����ก ������� $2�ก���!�7 2-3 ���$��9 ���������ก���� !����+�0".���:!�('�(�1���$����:$���#��';"��<��ก��&�'��$(��!"���� 200 '�:!�('�(�1���$����:$���#��';"��<��ก��&�'��$(��!"���� 200 '�

�������������ก��� = จํานวนผูปวยใหมทั้งหมด-จํานวนผูปวยระลอกแรก x 100หรือ1,000

จํานวนประชากรที่มีภูมิไวรับ- จํานวนผูปวยระลอกแรก

�������������ก��� = 100-80 x 100 = 16.7 คนตอ 100 ประชากรที่มีภูมิไวรับ

200-80

Page 20: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

�������������������&��(�"������!2�����*.� !"��ก(�"�� 200 '� ���0". 1 A����'! !"($Bก����(�1�

��$ 5 '� !����0". 16 A����'! !"����(/).! 14 '� ���0". 17 A����'! !"����(/).!1'� ���0". 30 A����'! ����1'� ��ก(�"��0�+�&��(�"��('���ก��$!�2��� 20 '�2��E"$��';"��<��ก����$2��� 40 '�

� �������������ก��� = � �������������ก��� = จํานวนผูปวยใหมทั้งหมด-จํานวนผูปวยระลอกแรก x 100หรือ1,000

จํานวนประชากรที่มีภูมิไวรับ- จํานวนผูปวยระลอกแรก

�������������ก��� = 20-5 x 100 = 11.11 คนตอ 100 ประชากรที่มีภูมิไวรับ

140-5

Page 21: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

ดัชนีอนามัยเกี่ยวกับการตายดัชนีอนามัยเกี่ยวกับการตาย1) อัตราตายอยางหยาบ (Crude death rate)2) อัตราตายจําเพาะ (Specific death rate)3) อัตราปวยตาย (Case fatality rate)4) อัตราเด็กเกิดไรชีพ (Fetal death rate)4) อัตราเด็กเกิดไรชีพ (Fetal death rate)5) อัตราตายกอนและหลังคลอด (Perinatal death

rate)6) อัตราตายของทารก (Infant mortality rate)

Page 22: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

อัตราตายอยางหยาบ อัตราตายอยางหยาบ (Crude death rate) (Crude death rate)

�จํานวนคนตายดวยสาเหตุตางๆทั้งหมดตอจํานวนประชากร 1,000 คนตอป

อัตราตายอยางหยาบ=จํานวนคนตายทั้งหมดในระหวางป x 1,000อัตราตายอยางหยาบ=จํานวนคนตายทั้งหมดในระหวางป x 1,000 จํานวนประชากรกลางปในปเดียวกัน

หนวย = จํานวนตอประชากร 1,000 คนตอป

Page 23: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

ตัวอยางตัวอยาง� ในชุมชน ก. มีประชากรกลางป 2553 จํานวน 3,000 คน มีผูติดเชื้อ

วัณโรคปอด และเสียชีวิต 5 รายอัตราตายอยางหยาบ = จํานวนคนตายทั้งหมดในระหวางป x 1,000 จํานวนประชากรกลางปในปเดียวกัน

= 5 x 1,000= 5 x 1,000

3,000

= 1.66 ตอประชากรกลางป 1,000 คน

Page 24: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

อัตราตายจาํเพาะอัตราตายจาํเพาะ (Specific death rate)(Specific death rate)

� จํานวนคนตายดวยสาเหตุใดสาเหตหุนึ่ง หรือจํานวนคนตายเฉพาะกลุม เชน อายุ เพศ ตอจํานวนประชากรของกลุมนั้น 1,000 คนตอป

อัตราตายจําเพาะเหตุ = จํานวนคนตายดวยสาเหตุที่กําหนดในระหวางป x 1,000(Cause specific death rate) จํานวนประชากรกลางปในปเดียวกัน

อัตราตายจําเพาะตามอายุ = จํานวนคนตายในกลุมอายุที่กําหนดในระหวางป x 1,000(Age specific death rate) จํานวนประชากรกลางปในกลุมอายุที่กําหนดในปเดียวกัน

หนวย = จํานวนตอประชากร 1,000 คนตอป

Page 25: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

อัตราปวยตาย อัตราปวยตาย (Case fatality rate) (Case fatality rate)

� รอยละของผูปวยดวยโรคหนึ่งตาย

อัตราปวยตาย = จํานวนผูปวยตายดวยโรคหนึ่งในชวงเวลาที่กําหนด x 1,000 จํานวนผูปวยดวยโรคนั้นทั้งหมดในชวงระยะเวลาเดียวกัน

หนวย = รอยละหรือเปอรเซ็นต

� อัตราปวยตายนี้จะแสดงถึงความรุนแรงของโรค และสะทอนใหเห็นถึงคุณภาพของการบริการแพทยในชุมชน ถาอัตรานี้สูงแสดงวาคณุภาพของบริการแพทยต่าํ เพราะทําใหผูปวยตายมาก

Page 26: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

อัตราเด็กเกดิไรชีพ อัตราเด็กเกดิไรชีพ (Fetal death rate) (Fetal death rate)

� จํานวนเด็กเกิดไรชีพตอจํานวนเด็กเกิดมีชีพ และเด็กเกิดไรชีพพันคนตอป

อัตราเด็กเกิดไรชีพ = จํานวนเด็กเกิดไรชีพในระหวางป x 1,000จํานวนเด็กเกิดมีชพีและเด็กเกิดไรชีพในปเดียวกันจํานวนเด็กเกิดมีชพีและเด็กเกิดไรชีพในปเดียวกัน

หนวย = จํานวนตอ 1,000 เดก็เกิดมีชีพและเด็กเกิดไรชพีตอป

Page 27: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

อัตราเด็กเกดิไรชีพ อัตราเด็กเกดิไรชีพ (Fetal death rate) (Fetal death rate)

� อัตราเด็กเกิดไรชีพประเภทที่ 1 (Fetal death rate I) ใชจํานวนเด็กเกิดไรชีพที่มีอายคุรรภได 28 สัปดาหขึ้นไป ในประเทศไทยใชอัตราเด็กเกิดไรชพีแบบที่ 1 อัตรานี้บางทีเรียกวา อัตราตายคลอด (stillbirth rate)

� อัตราเด็กเกิดไรชีพประเภทที่ 2 (Fetal death rate II) ใชจาํนวนเด็กเกิดไรชีพที่มีอายคุรรภได 20 สัปดาหขึ้นไปชีพที่มีอายคุรรภได 20 สัปดาหขึ้นไป

� อัตราเด็กเกิดไรชีพ เปนการวัดการสูญเสียของการตั้งครรภในระยะสดุทาย ดชันีนี้ชวยชี้บงการดูแลสุขภาพของหญิงมีครรภกอนคลอด ความรูและการปฏิบัตตินในการบํารุงรักษาครรภ สาเหตุของเด็กเกิดไรชพีอาจเนื่องมาจากโรคบางชนิดของมารดา เชน โรคเบาหวาน โรคซฟิลสิ โรคพิษ แหงครรภ โรคแทรกจากการตั้งครรภและการคลอดทีผ่ดิปกติ

Page 28: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

อัตราตายกอนและหลังคลอด อัตราตายกอนและหลังคลอด ((PerinatalPerinatal death rate) death rate)

� จํานวนเด็กเกิดไรชีพ ที่มีอายคุรรภ 28 สัปดาหขึ้นไป และจํานวนทารกตายกอนอายุครบ 7 วัน ตอจาํนวนเด็กเกิดทีม่ีชีพและ เด็กเกิดไรชีพ 1,000 คนตอป

จํานวนเด็กเกิดไรชีพที่มีอายุครรภ > 28 สัปดาห + จํานวนทารกตายกอนอายุครบ 7 วัน x 1,000

จํานวนเด็กเกิดมีชีพและเด็กเกิดไรชีพที่มีอายุครรภ > 28 สัปดาหของปเดียวกัน

หนวย = จํานวนตอ 1,000 เด็กเกิดมีชีพและเด็กเกิดไรชีพตอป

ดชันีอนามัยนี้ชวยชีภ้าวะสขุภาพของหญิงตั้งครรภ บริการอนามัยกอนคลอดและขณะคลอด ตลอดจนการดูแลทารกแรกเกิดในระยะ 7 วันแรกหลังคลอด

Page 29: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

อัตราตายของทารก อัตราตายของทารก (Infant mortality rate) (Infant mortality rate)

� จํานวนทารกอายุต่ํากวา 1 ปตายตอเด็กเกิดมีชีพ 1,000 คนตอป

อัตราตายของทารก = จํานวนทารกตายในอายุต่ํากวา 1 ป x 1,000 จํานวนเด็กเกิดมีชพีในปเดียวกัน

หนวย = จํานวนตอเด็กเกิดมีชพี 1,000 คนตอป

อัตราตายของทารกเปนดัชนีอนามัยที่สําคัญ ใชเปนเครื่องชีว้ัดสภาวะสุขภาพอนามัยของชุมชนไดด ีมีความสําคัญทางดานการแพทยและสาธารณสุข ชวยประเมินบริการอนามัยแมและเด็กวาดีมากนอยเพียงใด อัตรานี้มีความสัมพันธกับปจจัยตางๆ เชน ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม การสุขาภิบาลสิ่งแวดลอมที่ไมเหมาะสม ภาวะโภชนาการ การบริการอนามัยในดานสงเสริมสุขภาพและปองกันโรคในวัยทารก

Page 30: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

ดัชนีอนามัยอื่นๆที่เกี่ยวกับดัชนีอนามัยอื่นๆที่เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยสุขภาพอนามัย

1) อัตราการเกิดอยางหยาบ หรืออัตราเด็กเกิดมีชีพ (Crude birth rate)

2) อัตราเจริญพันธุทั่วไป(General fertility rate)

3) ดัชนีชีพ (Vital index, birth-death ratio)

4) อัตราเพิ่มธรรมชาติ (Natural increase)

Page 31: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

อัตราการเกิดอยางหยาบ หรืออัตราเด็กเกิดมีชีพ อัตราการเกิดอยางหยาบ หรืออัตราเด็กเกิดมีชีพ (Crude birth rate) (Crude birth rate)

� จํานวนเด็กเกิดมีชีพตอประชากรกลางป 1,000 คนตอป

อัตราเกิดอยางหยาบ = จํานวนเด็กเกิดมีชีพในระหวางป x 1,000 จํานวนประชากรกลางปในปเดียวกัน

หนวย = จํานวนตอประชากร 1,000 คนตอป

� อัตราเกิดอยางหยาบชวยสะทอนใหเห็นเกี่ยวกับบริการดานการวางแผนครอบครัว ภาวะเจริญพันธุ และระดับสุขภาพอนามัยของชุมชน การที่มีอัตราเกิดสูงเนื่องมาจากหญิงวัยเจรญิพันธุตั้งครรภกันมาก ถาแมที่มีบุตรมากตั้งครรภอีกยอมกระทบกระเทือนตอสุขภาพอนามัยของแมและเด็กที่เกิดใหมดวย ดัชนีนี้นับวามีสวนชวยชีบ้งภาวะเจริญพันธุของประชากรและการเพิ่มของประชากรใชประโยชนทั่วไปในการวางแผนงานอนามัยแมและเด็ก

Page 32: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

อัตราเจริญพันธุทั่วไปอัตราเจริญพันธุทั่วไป(General fertility rate)(General fertility rate)

� จํานวนเด็กเกิดมีชีพตอหญิงวัยเจริญพันธุ (ปกตินับอายุ 15-49 ป) 1,000 คนตอป

อัตราเจรญิพันธุทั่วไป = จํานวนเด็กเกิดมีชีพในระหวาง ป x 1,000 จํานวนหญิงวัยเจริญพันธุอายุ 15-49 ป จํานวนหญิงวัยเจริญพันธุอายุ 15-49 ป

หนวย = จํานวนตอ 1,000 หญิงวัยเจริญพันธุตอป

� อัตราเจริญพันธุทั่วไป ทําใหเห็นอัตราหญิงวัยเจริญพันธุที่ใหกําเนิดบุตรในปหนึ่งๆ เปนประโยชนในการวางแผนงานอนามัยครอบครัว อัตราเจริญพันธุจําเพาะตามอายุระหวาง 15 ถึง 49ป ที่คดิจํานวนเด็กเกิดมีชพีเฉพาะเพศหญิง

Page 33: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

ดัชนีชีพ ดัชนีชีพ (Vital index, birth(Vital index, birth--death ratio)death ratio)� จํานวนเด็กเกิดมีชีพตอจํานวนคนตาย 100 คน บางทีเรียกวา

อัตราสวนเกิดตาย

ดัชนีชีพ = จํานวนเด็กเกิดมีชีพในระหวาง ป x 100 จํานวนคนตายทั้งหมดในปเดียวกัน จํานวนคนตายทั้งหมดในปเดียวกัน

หนวย = จํานวนตอคนตาย 100 คน

� ดัชนีชีพจะมคีาสูง เมื่อจํานวนเด็กเกิดมีชีพเพิ่มสูงขึ้น หรือจํานวนคนตายลดต่ําลง

Page 34: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

อัตราเพิ่มธรรมชาติอัตราเพิ่มธรรมชาติ (Natural increase) (Natural increase)

� ผลตางระหวางอัตราเกิดและอัตราตายของปเดียวกัน

อัตราเพิ่มธรรมชาติ = อัตราเกิด - อัตราตาย

หนวย = จํานวนตอพันตอป หรอื เปอเซ็นตตอป หนวย = จํานวนตอพันตอป หรอื เปอเซ็นตตอป

� อัตราเพิ่มธรรมชาติขึ้นอยูกับการวางแผนครอบครัวของประชากร และการพัฒนาสาธารณสขุของชุมชนดีมากนอยเพยีงใด ในขณะที่อัตราตายของประชากรลดลงเรื่อยมา อัตราเพิม่ธรรมชาติยงัคงสูงขึ้นเมื่อมีการวางแผนครอบครวัอยางกวางขวางและไดผล อัตราเกิดจะลดลงทําใหอัตราเพิ่มตามธรรมชาติลดลง

Page 35: การวัดทางระบาดวิทยา · 2015-12-04 · การวัดทางระบาดวิทยา ((Measurement in Epidemiology)Measurement in

The endThe end