คู่มือปฐมพยาบาล ส...

22
คู่มือปฐมพยาบาล ส�าหรับประชาชน ฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

Transcript of คู่มือปฐมพยาบาล ส...

Page 1: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชน

ฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

Page 2: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ
Yuthana
Typewritten Text
ชื่อหนังสือคู่มือปฐมพยาบาลสำหรับประชาชน ฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์ ิพิมพ์ครั้งที่ 1 ...........เล่ม บรรณาธิการแพทย์หญิงนฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ พลอากาศตรีเอกอุ เอี่ยมอรุณ พันเอกเอนกพงษ์ หิรัญญลาวัลย์ ผู้ช่วยบรรณาธิการนางเพียงพิมพ์ ตันติลีปิกร นายยุทธนา สมานมิตร จัดพิมพ์โดยกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พิมพ์ที่บริษัท โอ-วิทย์ (ประเทศไทย) จำกัด
Page 3: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

3

ค�าน�า

การปฐมพยาบาลเป็นกิจกรรมที่คาดหวังให้จิตอาสาเฉพะกิจ

ด้านการแพทย์ มีความรู้ในเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและสามารถ

ช่วยเหลือผู ้ป่วยเพื่อหลีกเล่ียงและลดผลความรุนแรงจากภาวะฉุกเฉิน

ทั้งนี้การปฐมพยาบาลเป็นแนวทางที่ง่ายและสามารถป้องกันได้

คู ่มือปฐมพยาบาลนี้ได ้รวบรวมความรู ้และข้อแนะน�าในการ

ปฐมพยาบาลเบื้องต้นส�าหรับใช้ประโยชน์ในการดูแลรักษาผู้ป่วยที่เจ็บป่วย

ฉับพลัน ผู ้จัดท�าหวังว่าคู ่มือนี้จะเป็นประโยชน์และสามารถน�าไปใช้ได้

ตามสมควรหากมีข้อคิดเห็นขอน้อมรับด้วยความขอบคุณ

Page 4: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ
Page 5: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

5

สารบัญ

หน้า

การปฐมพยาบาลเบื้องต้น 1

หลักการปฐมพยาบาล 1

การช่วยเหลือเมื่อพบผู้ป่วย 1

การช่วยเหลือเมื่อพบผู้ป่วยไม่หายใจและไม่มีชีพจร 1

การเป็นลม 1

การเป็นลมจากการเสียเหงื่อ 2

การเป็นลมจากความร้อน 2

สิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกายผงฝุ่นเข้าตา 2

เลือดก�าเดาไหล 2

หกล้มแผลถลอก 3

ข้อเคล็ดข้อเท้าแพลง 3

ปฏิบัติการช่วยชีวิต 4

Page 6: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

6

Page 7: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

7

การปฐมพยาบาลเบื้องต้น

การให้การช่วยเหลือเบ้ืองต้นเมื่อพบอุบัติเหตุแก่ผู้บาดเจ็บก่อนน�าส่ง

โรงพยาบาลเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการบาดเจ็บเพิ่มขึ้นพิการหรือเสียชีวิต

วัตถุประสงค์1. เพื่อให้ผู้บาดเจ็บมีชีวิตรอด

2. เพื่อไม่ให้ผู้บาดเจ็บได้รับอันตรายเพิ่มขึ้น

3. เพื่อให้ผู้บาดเจ็บฟื้นกลับคืนสู่สภาพเดิมโดยเร็ว

หลักการปฐมพยาบาล1. อย่าตื่นเต้นตกใจ

2. สังเกตอาการผู้บาดเจ็บ

3. ให้การปฐมพยาบาลตามล�าดับความส�าคัญ

4. น�าส่งโรงพยาบาล

Page 8: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

8

การช่วยเหลือเมื่อพบผู้ป่วย1. เรียกผู้ป่วย

2. ขอความช่วยเหลือ

3. พลิกตัวผู้ป่วย

4. ตรวจการหายใจ

5. ผู้ป่วยหายใจเองได้ให้นอนท่าที่ปลอดภัยคือนอนตะแคงกึ่งคว�า่

6. น�าส่งโรงพยาบาล

Page 9: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

9

การช่วยเหลือเมื่อพบผู้ป่วยไม่หายใจและไม่มีชีพจร1. เปิดทางเดินหายใจกดหน้าผากยกคาง

2. ถ้ามีสิ่งแปลกปลอมในปากให้ล้วงออก

3. เป่าปาก2ครั้ง

4. ตรวจพบไม่มีชีพจรให้นวดหัวใจและเป่าปาก

5. เป่าปาก2ครั้งสลับการนวดหัวใจ15ครั้งตรวจชีพจรและการ

หายใจเป็นระยะๆ

Page 10: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

10

การเป็นลม

หมายถึง การหมดความรู้สึกในช่วงสั้นๆ เนื่องจากเลือดไปเลี้ยง

สมองไม่เพียงพอ

อาการอ่อนเพลียวิงเวียนศีรษะหน้าซีดตัวเย็นชีพจรเบา

การปฐมพยาบาล

1. จัดให้นอนราบยกเท้าสูงกว่าล�าตัวเล็กน้อย

2. คลายเสื้อผ้าให้หลวม

3. ให้อยู่ในที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก

Page 11: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

11

การเป็นลมจากการเสียเหงื่อ หมายถึง เป็นลมจากการเสียเหงื่อ เป็นภาวการณ์สูญเสียน�้าและ

เกลือแร่ ในร่างกายทางเหง่ือหลังจากการท�างานหนักหรือออกก�าลังกาย

อย่างหักโหมในวันที่อากาศร้อนจัด

อาการ ปวดศีรษะ ผิวหนังเย็นซีดและชื้นอาจเป็นตะคริว มีเหงื่อ

ออกมาก

การปฐมพยาบาล

1. ให้ผู้ป่วยนอนราบพักในที่ร่มและเย็นหรือที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี

2. ให้ดื่มน�้ามากๆ(ค่อยๆจิบ)หรือให้ดื่มน�้าผสมเกลือแร่

3. ถ้าอาการไม่ดีขึ้นควรรีบน�าส่งโรงพยาบาล

Page 12: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

12

การเป็นลมจากความร้อน สาเหตุ เกิดจากร่างกายไม่สามารถระบายความร้อนออกได้

เนื่องจากอยู ่กลางแจ้งหรือในที่ร้อนจัดท�าให้กลไกขับเหงื่อของร่างกาย

ไม่ท�างาน

การปฐมพยาบาล

1. ให้ผู้ป่วยนอนราบในที่ร่มและเย็น

2. เช็ดตัวผู้ป่วยด้วยน�้าเย็นเพื่อให้ความร้อนลดลงให้เร็วที่สุด

3. ถ้าอาการไม่ดีขึ้นควรรีบน�าส่งโรงพยาบาล

Page 13: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

13

สิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกายผงฝุ่นเข้าตา การปฐมพยาบาล

1. เปิดลูกตาเพื่อหาสิ่งแปลกปลอม

2. ให้ล้างตาด้วยน�้าสะอาด

3. ถ้าฝุ่น ผง ติดที่ตาขาว ใช้ปลายผ้าสะอาดหรือปลายไม้พันส�าลี

เขี่ยเศษผงออก

4. ถ้าฝุ่นผงติดแน่นหรือติดตมด�าให้ปิดตาด้วยผ้าสะอาด

5. รีบน�าส่งโรงพยาบาล

ข้อห้าม

1.ห้ามขยี้ตาเพราะจะท�าให้ตาระคายเคืองเพิ่มมากขึ้น

2.ห้ามใช้ของมีคมหรือไม้เขี่ยเศษผงที่เข้าตา

Page 14: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

14

เลือดก�าเดาไหล สาเหตุ มาจากการกระทบกระแทก การเป็นหวัด การสั่งน�้ามูก

การติดเชื้อในช่องจมูกหรือความหนาวเย็นของอากาศ

การปฐมพยาบาล

1. ให้ผู้ป่วยนั่งโน้มตัวไปด้านหน้า (ถ้าแหงนหน้าจะท�าให้เลือดไหล

ลงคอและอาเจียนได้)

2. ใช้มือบีบปลายจมูก และให้หายใจทางปากโดยบีบปลายจมูกไว้

10 นาที ให้คลายมือออกถ้าเลือดยังไหลต่อให้บีบต่ออีก 10 นาที ถ้าเลือด

ไม่หยุดใน30นาทีให้รีบน�าส่งโรงพยาบาล

3. ถ้ามีเลือดออกมาก ให้เด็กบ้วนเลือดหรือน�้าลายลงในอ่าง หรือ

ภาชนะที่รองรับ

4. เมื่อเลือดหยุดแล้วใช้ผ้าอุ่นเช็ดบริเวณจมูกและปาก

ข้อห้าม

1.ห้ามสั่งน�้ามูกแคะหรือขยี้จมูก

Page 15: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

15

หกล้มแผลถลอก เมื่อหกล้มอาจมีแผลถลอกได้ เช่นที่บริเวณหัวเข่าข้อศอก เป็นต้น

แผลลักษณะนี้จะมีผิวหนังลอกหลุดมีเลือดออกเล็กน้อยอาจมีสิ่งสกปรกที่

แผลถ้าปล่อยทิ้งไว้อาจเกิดการติดเชื้อมีหนองได้

การปฐมพยาบาล

1. ล้างแผลด้วยน�้าสะอาดและสบู่ เพื่อให้สิ่งสกปรก เศษดิน หรือ

กรวดออกให้หมด

2. ใช้ผ้าสะอาดกดแผลห้ามเลือดให้หยุดไหล

3. ใส่ยาส�าหรับแผลสด

4.ปิดแผลด้วยพลาสเตอร์หรือผ้าสะอาด

ข้อห้าม

1.ห้ามสั่งน�้ามูกแคะหรือขยี้จมูก

Page 16: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

16

ข้อเท้าเคล็ด ข้อเท้าแพลง ข้อเท้าเคล็ด ข้อเท้าแพลง เกิดจากการเคลื่อนไหวผิดท่า ท�าให้เกิด

การหมุนพลิกบิดของข้อเท้าเช่นเดินพลาดตกหลุมเหยียบก้อนหินถูก

กระแทกหรือของหล่นทับมักมีอาการปวดบวมเจ็บเคลื่อนไหวไม่ถนัดใน

ผู้สูงอายุส่วนมากจะมีกระดูกบริเวณข้อเท้าหักร่วมด้วย

การปฐมพยาบาล

1. ให้ข้อเท้าที่ได้รับบาดเจ็บอยู่นิ่งๆห้ามเดิน

2. ยกเท้าให้สูงเล็กน้อยเพื่อห้ามเลือดและลดบวม

3.ประคบด้วยความเย็นทันทีนานอย่างน้อย20นาทีห้ามประคบ

ด้วยความร้อนใน24ชั่วโมงแรก

4. ยึดข้อเท้าให้นิ่งด้วยผ้ายืดถ้าสวมรองเท้าผ้าใบหรือรองเท้าที่ผูก

ด้วยเชือกให้คลายเชือกผูกรองเท้าแต่ไม่ต้องถอดรองเท้า

5. ถ้าให้การปฐมพยาบาลแล้วอาการไม่ดีขึ้นให้รีบน�าส่งโรงพยาบาล

ข้อควรระวัง

ถ้ามีอาการปวด และบวมมากขึ้น เดินไม่ได้ แสดงว่ามีกระดูกหัก

ร่วมด้วยให้ปฐมพยาบาลเหมือนข้อเท้าหักแล้วรีบน�าส่งโรงพยาบาล

Page 17: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

17

ปฏิบัติการช่วยชีวิต เวอร์ชั่น 2015 (CPR 2015)

สรุปแนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิตปี ค.ศ.2015 ตาม guidelines

AmericanHeartAssociation,TheHeartAssociationofThailand

และThaiResuscitationCouncil

แนวทางการช่วยฟื้นคืนชีพปี2015ได้มีการปรับปรุงระบบการดูแล

ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น โดยแบ่งเป็น ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นใน

โรงพยาบาล (In-hospital cardiac arrest ; IHCAs) และผู้ป่วยที่มีภาวะ

หัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล (Out-of-hospital cardiac arrests ;

OHCAs)โดยแบ่งห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิตเป็น2ห่วงโซ่ดังนี้

Page 18: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

18

เป็นห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิตในโรงพยาบาลโดยจะเน้นที่การเฝ้าระวัง

ของบุคลากรทางการแพทย์ก่อนที่ผู้ป่วยจะเกิดภาวะวิกฤต ระบบการดูแล

จะขึ้นอยู่กับการประสานงานของหน่วยงานของหน่วยงานในโรงพยาบาล

เป็นห่วงโซ่แห่งรอดชีวิตนอกโรงพยาบาล เน้นการพึ่งพาชุมชนและ

ผู้เห็นเหตุการณ์ขณะนั้น ให้เร่ิมท�าการช่วยชีวิต รวมถึงการใช้เครื่องช็อก

ไฟฟ้าที่มีในสถานที่สาธารณะ

Page 19: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

19

ในบทความนี้ขอกล่าวเฉพาะห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิตนอกโรงพยาบาล

ที่เน้นให้ผู้เห็นเหตุการณ์เริ่มปฏิบัติการฟื้นคืนชีพให้เร็วที่สุด ก่อนอ่ืนอยากให้

ผู้อ่านรู้จักค�าศัพท์เหล่านี้ก่อน

Untrained Lay Rescuer คือประชาชนทั่วไปที่ไม่ได้รับการฝึก

อบรมCPR

TrainedLayRescuerคือประชาชนที่ได้รับการฝึกอบรมCPR

Emergency Dispatcher คือหน่วยงานท่ีรับเรื่อง หรือรับแจ้งเหตุ

ในประเทศไทยคือสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน1669

ท�าไมผู้อ่านต้องรู้จักค�าเหล่านี้ เพราะบุคลากรเหล่านี้คือหัวใจส�าคัญ

ในการช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บที่เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาลท่านจะ

เห็นว่า3ห่วงโซ่แรกเป็นหน้าที่หลักของlayrescuerโดยมีdispatcher

เป็นผู้ให้ค�าแนะน�าทางโทรศัพท์รวมทั้งเป็นผู้ประสานงานกับศูนย์EMSและ

แจ้งสถานที่เก็บเครื่องAEDรวมถึงการใช้เครื่องช็อกไฟฟ้าการเข้าถึงการใช้

เครื่องช็อกไฟฟ้าของlayrescuerต้องเร็วที่สุดเพราะนั่นหมายถึงการรอด

ชีวิตของผู้บาดเจ็บจะมีสูงขึ้นทันที

เวอร์ช่ัน 2015 เน้นเรื่องคุณภาพการช่วยชีวิตเป็นอย่างมาก

(QualityCPR)ด้วย4ค�านี้คือ

Rate : อัตราการปั๊มหัวใจ เปลี่ยนจากอย่างน้อย 100 ครั้งต่อนาที่

เปลี่ยนเป็นปั๊มอย่างน้อย100แต่ไม่ควรเกิน120ครั้งต่อนาที

Depth:การปั๊มในแต่ละครั้งเปลี่ยนจากการปั๊มให้ลึกอย่างน้อย5

ซม.(2นิ้ว)เป็นปั๊มให้ลึกอย่างน้อย5ซม.แต่ไม่ควรลึกเกิน6ซม.(2.4นิ้ว)

Page 20: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

20

Recoil : ต้องไม่พักมือหรือปล่อยน�้าหนักไว้บนหน้าอกผู้บาดเจ็บ

ก่อนการปั๊มในครั้งต่อไปต้องปล่อยให้หน้าอกยกตัวขึ้นสุดก่อนกดในครั้งต่อ

ไปนั้นเอง

Position : ต�าแหน่งในการวางมือของการปั๊มต้องวางมือตรงส่วน

ล่างของกระดูกหน้าอก(lowerhalfofsternumbone)

นอกจากนั้น ต้องหยุดกดหน้าอกให้น้อยท่ีสุด เพ่ือเพิ่มจ�านวนคร้ัง

ของการกดหน้าอกให้ได้สูงที่สุดการรบกวนการกดหน้าอกควรเกิดขึ้นแค่ใน

ช่วงของการวิเคราะห์ดูคลื่นไฟฟ้าหัวใจ หรือการช่วยหายใจเท่านั้น ค่า

Chest compression fractionหรือสัดส่วนช่วงเวลาการกดหน้าอกเทียบ

กับช่วงเวลาในการท�าCPRทั้งหมดควรต้องมีค่ามากกว่า60

เวอร์ชัน2015เน้นการเข้าถึงเครื่องAED(AutomatedExternal

Defibrillator)ให้เร็วที่สุด จึงมีการเปลี่ยนชื่อจาก AED เป็น PAD (Public

access Defibrillator) เพื่อสร้างความรู ้สึกให้กับประชาชนว่าเครื่อง

ดังกล่าวสามารถใช้ได้แม้ประชาชนที่ไม่เคยได้รับการฝึกการใช้เครื่องมาก่อน

Page 21: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

21

กระบวนการการช่วยชีวิตของ lay rescuer ค.ศ. 20151. ก่อนเข้าช่วยเหลือผู ้บาดเจ็บ ต้องประเมินสถานการณ์ความ

ปลอดภัยก่อนเสมอ

2. จากนั้นท�าการประเมินความรู้สึกตัวของผู้บาดเจ็บ หากพบว่า

หมดสติ ให้ร้องขอความช่วยเหลือจากบุคคลข้างเคียง หรือ โทรศัพท ์

ขอความช่วยเหลือ 1669 หากมีเครื่อง AED อยู่ใกล้ให้ว่ิงไปหยิบมาก่อน

หรือวานให้่บุคคลใกล้เคียงไปหยิบมา

3. ท�าการเช็คการหายใจและชีพจร ภายในเวลา 10 วินาที

หากพบว่าหยุดหายใจ หรือมีภาวะหายใจเฮือก (gasping) ให้เริ่มกระบวน

ช่วยฟื้นคืนชีพทันที

4. โดยเริ่มจากการปั๊มหัวใจ 30 ครั้ง สลับกับการเป่าปาก 2 ครั้ง

ต่อเนื่องจนกว่าจะมีมีทีมEMSหรือเครื่องช็อกไฟฟ้ามาถึง

5. หากมีเครื่องช็อกไฟฟ้ามาถึงให้รีบเปิดระบบใช้งานทันที

6. ปล่อยให้เครื่องช็อกไฟฟ้าวิเคราะห์คลื่นหัวใจ หากพบว่า

เป็นคล่ืนไฟฟ้าที่สามารถช็อกได้ให้ท�าการกดช็อกทันที และท�าการ CPR

ต่อจนครบ2นาทีหยุดให้เครื่องช็อกไฟฟ้าอีกครั้ง

7. กรณีที่เครื่องช็อกไฟฟ้าไม่พบคล่ืนที่สามารถช็อกได้ ให้ท�าการ

CPR ต่อจนครบ 2 นาทีเช่นกันแล้วจึงหยุดให้เครื่องวิเคราะห์คลื่นหัวใจ

อีกครั้ง

Page 22: คู่มือปฐมพยาบาล ส าหรับประชาชน3.ให้การปฐมพยาบาลตามล าดับความส าคัญ

คู่มือปฐมพยาบาลส�าหรับประชาชนฉบับจิตอาสาเฉพาะกิจด้านการแพทย์

22

8. ท�าการ CPR อย่างต่อเนื่องจนกว่าทีม EMS จะมาถึงดัง Flow

ChartCPRด้านล่าง