หลักสูตรฝกอบรม...

20
หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ป%พุทธศักราช 2559 กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

Transcript of หลักสูตรฝกอบรม...

Page 1: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

หลักสูตรฝกอบรม

อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพ่ือส�งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

ป%พุทธศักราช 2559

กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

Page 2: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

คํานํา กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ได�ให�ความสําคัญต อการพัฒนากลไก การขับเคลื่อนตําบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ เพ่ือให�การดําเนินงานการพัฒนาสุขภาพชุมชนสอดคล�องตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ด�านงานพัฒนาการเด็กท่ีเชื่อมโยงนโยบายและกลไกขับเคลื่อนทุกระดับ สอดคล�องกับนโยบาย พัฒนาการมีส วนร วมส งเสริมสุขภาพและป.องกันโรคให�ประชาชนทุกกลุ มวัย เพ่ือป.องกันความเสี่ยงต อสุขภาพและคุ�มครองผู�บริโภค ด�วยความร วมมือของทุกภาคส วน โดยให�คนไทยมีโอกาสได�ร วมคิด ร วมนํา ร วมทําและร วมรับประโยชน0ด�วย เป1นการอภิบาลเครือข าย เอ้ืออํานวยระบบสุขภาพแห งชาติ เชื่อมประสานทุกภาคส วนเข�าด�วยกัน หลักสูตรฝ4กอบรม อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชนเพ่ือส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ป7พุทธศักราช 2559 ได�มีการพัฒนา ให�เหมาะสมเพ่ือพัฒนาศักยภาพ และบทบาท อสม. ในการขับเคลื่อนการดําเนินงานส งเสริมพัฒนาการเด็กต อยอดในป7งบประมาณ พ.ศ. 2559 โดยความร วมมือจากกรมวิชาการต างๆ โดยอาศัยความรู�ท่ีจําเป1นต อการแก�ไขป=ญหาสุขภาพของประชาชนกลุ มแม และเด็ก 0-5 ป7 มาประยุกต0จัดเป1นกิจกรรมการการสอนท่ีเหมาะสม โดยมีหน วยการเรียนรู� 4 หน วย รวม 6 ชั่วโมง ระยะเวลาฝ4กอบรม 1 วัน ดังนี้ หน วยเรียนรู� : พัฒนาการเด็กปฐมวัย ลําดับข้ันของพัฒนาการตามวัย เวลา 1 ชั่วโมง 30 นาที หน วยเรียนรู� : หลักการส งเสริมพัฒนาการตามวัย เวลา 1 ชั่วโมง 30 นาที

หน วยเรียนรู� : การจัดการส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในชุมชนแบบมีส วนร วม เวลา 2 ชั่วโมง หน วยเรียนรู� : บทบาท อสม.ในการทํางานด�านการส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย 1 ชั่วโมง

ลักษณะการฝ4กอบรม เป1นการเรียนรู�แบบผู�ใหญ และผู�เรียนเป1นศูนย0กลาง เน�นการเรียนรู�และฝ4กปฏิบัติ ไปพร�อม ๆ กัน การจัดทําหลักสูตรฝ4กอบรม อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชนเพ่ือส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ป7พุทธศักราช 2559 สําเร็จได�ด�วยความอนุเคราะห0จากกรมวิชาการต างๆ ผู�จัดทําจึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ และหวังเป1นอย างยิ่งว า หน วยงานต างๆท่ีเก่ียวข�อง จะได�นําหลักสูตรฝ4กอบรม อสม. นักจัดการชุมชนเพ่ือส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ป7พุทธศักราช 2559 ไปใช�ประโยชน0ในการพัฒนาศักยภาพและบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู บ�าน (อสม.) เม่ือดําเนินการไประยะหนึ่ง และมีการประเมินผลการดําเนินงาน คงมีการปรับปรุงหลักสูตรนี้ให�ดีข้ึน เพ่ือเป1นมาตรฐานในการฝ4กอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชน เพ่ือส งเสริมพัฒนาการเด็กอย างมีประสิทธิภาพต อไป

Page 3: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

สารบัญ หน1า

ส วนท่ี 1 บทนํา สภาพป=ญหาและความจําเป1น 1

ส วนท่ี 2 ข�อแนะนําในการใช�หลักสูตร 3

ส วนท่ี 3 - หลักสูตรฝ4กอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพ่ือส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย 6

- แบบประเมินความรู�ก อน-หลังการฝ4กอบรม 11

ส วนท่ี 4 แผนการสอน 13

เอกสารอ�างอิง 15

คณะผู�จัดทํา 16

Page 4: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

1

ส�วนท่ี 1

บทนํา

สภาพป4ญหาและความจําเป6น

เด็กแรกเกิดถึง ๕ ป7 เป1นทรัพยากรบุคคลท่ีสําคัญและมีคุณค ายิ่งต อการพัฒนาประเทศในอนาคต และเป1นช วงวัยท่ีสําคัญท่ีสุดของการเจริญเติบโต ท้ังด�านร างกายและจิตใจ อารมณ0 สังคมและสติป=ญญา โดยเฉพาะสมอง ซ่ึงเติบโต ร�อยละ ๘๐ ของผู�ใหญ เป1นวัยท่ีสําคัญและเหมาะสมท่ีสุดในการปูพ้ืนฐานเพ่ือยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต นอกเหนือจากการอยู รอดปลอดภัย การอบรมเลี้ยงดูและส งเสริมพัฒนาการเด็กในช วงวัยนี้อย างถูกต�องและเหมาะสมย อมนําไปสู คุณภาพ ของผู�ใหญ ท่ีจะเป1นทรัพยากรบุคคลท่ีมีคุณค าของประเทศชาติ ในอนาคต พัฒนาการของเด็กเล็กประกอบด�วย ๑) พัฒนาการทางร างกาย ๒) พัฒนาการทางภาษา ๓) พัฒนาการทางสติป=ญญา ๔) พัฒนาการทางสังคมและ และ ๕) พัฒนาการทางอารมณ0และจิตใจ สถานการณ0พัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย (0-5 ป7) ในรอบ 15 ป7ท่ีผ านมา พบว าเด็กปฐมวัยประมาณ 30% หรือ 1 ใน 3 ของเด็กเล็กในประเทศไทยมีพัฒนาการล าช�า ซ่ึงถือว ามีจํานวนท่ีสูงมาก โดยพบว ามีพัฒนาการทางภาษาล าช�าถึง 20% ตามด�วยพัฒนาการทางปฏิภาณไหวพริบและการเข�ากับสังคม อีก 5% ซ่ึงพัฒนาการท้ัง 2 ด�าน จะมีผลต อระดับสติป=ญญาทําให�เด็กกลุ มนี้ส งผลต อการเรียนรู�ท้ังด�านทักษะการอ าน เขียน คิดคํานวณ และไอคิว จึงมีความจําเป1นท่ีเด็กจะต�องได�รับการพัฒนาต้ังแต ยังอยู ในครรภ0มารดาและต อเนื่องไปจนถึงวัยรุ น โดยการจะพัฒนาเด็กปฐมวัยให�เติบโตอย างมีคุณภาพได�นั้น ต�องเริ่มต้ังแต การพัฒนาท่ีสมบูรณ0ของเด็กต้ังแต ในครรภ0จนกระท่ังหลังคลอด พ อแม จําเป1นต�องมีความพร�อมต้ังแต ก อนต้ังครรภ0 ต อเนื่องในระยะต้ังครรภ0จนถึงหลังคลอด อสม.ถือเป1นกลุ มบุคคลท่ีมีความใกล�ชิดกับประชาชนในชุมชนมากท่ีสุดกลุ มหนึ่ง ดังนั้น อสม. มีบทบาทสําคัญในการ ดูแล ให�คําแนะนํา และเฝ.าระวังป=ญหาท่ีอาจจะเกิดกับแม และเด็กในชุมชน โดยเฉพาะพัฒนาการเด็กปฐมวัย เพ่ือจะได�สร�างการมีส วนร วมของคนในชุมชนในการส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย เฝ.าระวังและส งต อแม และเด็กเข�ารับบริการสุขภาพหรือการรักษาท่ีจําเป1นจากบุคลากรทางการแพทย0ได�ทันท วงที

สาเหตุท่ีทําให1เด็กเล็กมีพัฒนาการล�าช1า มาจาก 3 สาเหตุ คือ 1) ขาดภาวะโภชนาการท่ีดีและมีคุณค า โดยเฉพาะการไม เห็นความสําคัญของอาหารเช�าและเกลือแร ท่ีมีผล

ต อสมอง ได�แก ไอโอดีน ธาตุเหล็ก และโฟเลตซ่ึงเป1นสิ่งจําเป1นสําหรับแม ท่ีต้ังครรภ0แต เด็กท่ีขาดสารอาหารเหล านี้ส วนใหญ พบในครอบครัวท่ียากจน หรือแม วัยรุ นท่ีมีภาวะบกพร องทางโฟเลตสูง ทําให�ลูกเสี่ยงต อพิการแต กําเนิด

2) ป=จจัยการเลี้ยงดู หรือคนเลี้ยงมีป=ญหา โดยเฉพาะในครอบครัวเด่ียวท่ีมีถึง 30% ซ่ึงโอกาสการเลี้ยงดูลูกมีน�อย เด็กจึงอยู ในความดูแลของพ่ีเลี้ยงเด็กสถานรับเลี้ยงเด็ก และศูนย0เด็กเล็ก ป=ญหา คือ จุดรับฝากเด็ก มีกระบวนการการพัฒนาเด็กอย างมีคุณภาพหรือไม หากไม มีการเล านิทานหรือการเล น พัฒนาการก็จะไม เกิดข้ึน

3) การใช�สื่อโทรทัศน0หรือสมาร0ทโฟนกับเด็กอายุต่ํากว า 3 ป7 ซ่ึงใน 3 ป7แรกควรหยุดการใช�สื่อเทคโนโลยีแต ควรใช�วิธีเล านิทานหรือการเล นเพ่ือกระตุ�นประสาทสัมผัสท้ังหมด

การดูแลเด็กปฐมวัยท่ีมีคุณภาพ ต�องเริ่มจาก 3 ส วนท่ีต�องทํางานร วมกัน คือ 1) เสริมพลังครอบครัว ซ่ึงถือเป1นหัวใจของการพัฒนาการเรียนรู�เด็กวัยนี้ ควรเน�นการมีปฏิสัมพันธ0กับลูก และจํากัดการใช�เทคโนโลยี 2) พัฒนาระบบบริหารจัดการคลินิกเด็กเล็ก การคัดกรองเด็ก และจัดการในกรณีท่ีพบภาวะบกพร องอย างรวดเร็วท่ีสุดเท าท่ีจะทําได� (early detection & early intervention) และ 3) ระบบส งเสริมการพัฒนาศักยภาพของศูนย0เด็กเล็ก

Page 5: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

2

และโรงเรียนอนุบาลในสังกัดองค0กรปกครองส วนท�องถ่ิน และสังกัดกระทรวงศึกษาธิการให�มีคุณภาพ จึงเป1นแนวทางท่ีมีความสําคัญมาก

อสม.ในฐานะแกนนําสุขภาพของชุมชน และเพ่ือนบ�าน จึงควรร วมมือกับเจ�าหน�าท่ีสาธารณสุข องค0กรปกครองส วนท�องถ่ิน ศูนย0เด็กเล็ก ผู�ปกครอง และการมีส วนร วมของชุมชน เพ่ือเฝ.าระวัง ค�นหาเด็กเสี่ยง และส งเสริมพัฒนาการเด็กอย างถูกต�องสมวัย ท้ังนี้ เพ่ืออนาคตเด็กไทย ความผาสุกของชุมชนและประเทศชาติของเรา

Page 6: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

3

ส�วนท่ี 2

ข1อแนะนําในการใช1หลกัสูตร 1. งบประมาณสําหรับฝกอบรม งบประมาณสําหรับฝ4กอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพ่ือส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จากกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ท่ีจัดสรรให�พ้ืนท่ี หรือหน วยงานท่ีดําเนินการฝ4กอบรมอาจจัดหางบประมาณการฝ4กอบรมเพ่ิมเติม โดยพิจารณาจากแหล งงบประมาณต อไปนี้

- เงินอุดหนุนท่ัวไปสํารับสนับสนุนการบริการสาธารณสุข (ชุมชน/หมู บ�านละ 7,500 บาท) จากองค0กรปกครองส วนท�องถ่ิน

- งบกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตําบล - งบประมาณอ่ืนๆในพ้ืนท่ี

2. ส่ิงสนับสนุนการฝกอบรม หลักสูตรฝ4กอบรม คู มือสําหรับ อสม.

3. พ้ืนท่ีเป:าหมาย พ้ืนท่ีเป.าหมาย 76 จังหวัด

4. กลุ�มเป:าหมายและจํานวนเป:าหมาย เจ�าหน�าท่ีสาธารณสุขระดับตําบล ร วมกับประธานชมรม อสม.ระดับตําบล หรือเครือข ายสุขภาพประจําตําบล คัดเลือกผู�เข�ารับการฝ4กอบรม โดยพิจารณาจากคุณสมบัติต อไปนี้

- เป1น อสม.ผู�ผ านการอบรมหลักสูตรฝ4กอบรมมาตรฐานอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ป7พุทธศักราช 2550 - เป1นประธาน อสม.ระดับหมู บ�าน/ชุมชน หรือ อสม.ดีเด น หรือ อสม.อ่ืนๆ ท่ีได�รับการยอมรับจาก

เครือข ายสุขภาพ - อสม.กฟผ. และ อสม.อ่ืนๆ ท่ีระบุไว�ในระเบียบ กระทรวงสาธารณสุขว าด�วย อสม.ป7 ๒๕๕๔ - มีความสมัครใจและสามารถฝ4กอบรมครบตามหลักสูตร

5. การจัดการฝกอบรม การจัดการฝ4กอบรมตามหน วยเรียนรู�ท่ีกําหนด ระยะเวลา 6 ชั่วโมง ดังนี้ หน วยเรียนรู� : ป=ญหา ท่ีมา สภาพครอบครัวไทย และความสําคัญของพัฒนาการเด็กปฐมวัย เวลา 1 ชั่วโมง

หน วยเรียนรู� : พัฒนาการเด็กปฐมวัย ลําดับข้ันของพัฒนาการตามวัย เวลา 1 ชั่วโมง หน วยเรียนรู� : หลักการส งเสริมพัฒนาการตามวัย เวลา 1 ชั่วโมง

หน วยเรียนรู� : การจัดการส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในชุมชนแบบมีส วนร วม เวลา 2 ชั่วโมง หน วยเรียนรู� : บทบาท อสม.ในการทํางานด�านการส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย 1 ชั่วโมง

ท้ังนี้ การฝ4กอบรมมีลักษณะเป1นการฝ4กอบรมการเรียนรู�แบบผู�ใหญ และผู�เรียนเป1นศูนย0กลาง เน�นการเรียนรู�และฝ4กปฏิบัติไปพร�อมๆกัน

Page 7: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

4

6. ระยะเวลาการฝกอบรม สามารถฝ4กอบรมติดต อกัน 1 วัน หรืออาจแบ งเป1นช วง ๆ ก็ได� ตามความเหมาะสมของพ้ืนท่ี หรือความพร�อมของผู�จัดการหลักสูตร 7. สถานท่ีฝกอบรม ในพ้ืนท่ีของ อสม. 8. การเตรียมความพร1อมผู1เก่ียวข1อง 8.1 การนําหลักสูตรไปใช1 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยสํานักงานสนับสนุนบริการสุขภาพเขต ดําเนินการ 1) สร�างความเข�าใจในหลักสูตรให�นายแพทย0สาธารณสุขจังหวัดหรือผู�ได�รับมอบหมาย 2) ชี้แจงให�ผู�เก่ียวข�องทราบเก่ียวกับหลักสูตร อสม. 3) จัดอบรมครูฝ4กอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู บ�าน หรือ วิทยาการพ่ีเลี้ยง ซ่ึงจะเป1นผู�มีหน�าท่ีให�ความรู�ให�คําแนะนํา ประสานงาน ติดตามประเมินผลการนําหลักสูตรไปใช�ของจังหวัด 4) ติดตามประเมินผล/วิจัยประเมินผล 8.2 การกําหนดและมอบหมายบทบาทหน1าท่ี 1) เจ�าของหลักสูตร กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 2) ผู�จัดการหลักสูตร คณะกรรมการส งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสาธารณสุข ประจําหมู บ�านระดับจังหวัด หรือผู�ท่ีได�รับมอบหมาย 3) ผู�ใช�หลักสูตร 1. หน วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 2. หน วยงานอ่ืนต�องได�รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลาง ให�ดําเนินการจัดการฝ4กอบรมและพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู บ�าน (อสม.) 4) ผู�เชี่ยวชาญหลักสูตร ครูฝ4กอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู บ�าน หรือวิทยากรพ่ีเลี้ยง

9. การประเมินผลสําเร็จของผู1เรียน เม่ือ อสม.ผ านการฝ4กอบรมครบตามจํานวนชั่วโมงท่ีกําหนดแล�ว และมีผลการทดสอบ ผ านเกณฑ0 ไม น�อยกว าร�อยละ 80 มีสิทธิได�รับใบประกาศนียบัตร โดยสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด เป1นผู�ออกให�ตามแบบท่ีกระทรวงสาธารณสุขกําหนด

10. การประเมินผลการฝกอบรม การประเมินผลมี 3 ด�าน คือ 10.1 การประเมินวิทยากร เช น บุคลิกภาพ วิธีการถ ายทอดความรู�และประสบการณ0 การจัดกิจกรรมการเรียนรู� เนื้อหาสาระ สื่อการสอน และการประเมิน 10.2 การประเมินการบริหารจัดการ เช น สถานท่ีจัดอบรม โสตทัศนูปกรณ0อาหาร และ อาหารว าง เอกสารประกอบการสอน และระยะเวลาท่ีใช�ในการฝ4กอบรม 10.3 การประเมินผู�เข�ารับการฝ4กอบรม ประเมินตามเนื้อหาทุกวิชาท้ังภาคทฤษฎีและ ปฏิบัติ

11. การประเมินคุณภาพ อสม. การประเมินคุณภาพ อสม. โดยครูฝ4กอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู บ�าน หรือวิทยากรพ่ีเลี้ยง

Page 8: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

5

11.1 เกณฑDและเป:าหมายการประเมิน 1) อสม.ท่ีผ านการอบรมทุกคน มีความรู�ผ านเกณฑ0ไม น�อยกว าร�อยละ 80 2) อย างน�อยร�อยละ 60 ของ อสม.ท่ีผ านการอบรม สามารถปฏิบัติงานได�ตาม เกณฑ0ท่ีกําหนด 11.2 เครื่องมือท่ีใช1ในการประเมิน 1) แบบทดสอบความรู�หลังการฝ4กอบรม จํานวน 10 ข�อ 2) แบบประเมินทักษะในการปฏิบัติงานของ อสม. 11.3 วิธีการประเมิน ครูฝ4กทดสอบความรู�ของ อสม. ก อน-หลังการฝ4กอบรม ครูฝ4กฯ หรือวิทยากรพ่ีเลี้ยง ดําเนินการประเมินการปฏิบัติงานของ อสม.หลังการฝ4กอบรม

12. การรายงานผล 1) ผู�ใช�หลักสูตร จัดทําทะเบียนข�อมูลและผลการดําเนินงานฝ4กอบรม อสม.ท่ีผ านการฝ4กอบรม ส งให�ผู�จัดการหลักสูตร 2) ผู�ใช�หลักสูตร รายงานผลการฝ4กอบรมภาพรวมแต ละจังหวัด ผ านเว็บไซต0กองสนับสนุน สุขภาพภาคประชาชน (www.thaiphc.net) 3) สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดรายงานผลการฝ4กอบรมให�เจ�าของหลักสูตร ผ าน สบส. เขต

Page 9: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

6

ส�วนท่ี 3

หลักสูตรฝกอบรม อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชน

เพ่ือส�งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย 1. ช่ือหลักสูตร

หลักสูตรฝ4กอบรม อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชนเพ่ือส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

2. หน�วยงานรับผิดชอบ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

3. วัตถุประสงคDเชิงพฤติกรรม เพ่ือให�ผู�เข�ารับการอบรมสามารถ 1) อธิบายพัฒนาการ และความสําคัญของพัฒนาการเด็กปฐมวัยได� 2) บอกลําดับข้ันตอนของพัฒนาการเด็กปฐมวัยได�ถูกต�อง 3) อธิบายบทบาทของ อสม. และแนวทางในการพัฒนาการเด็กปฐมวัยได�ถูกต�อง 4) จัดการร วมกับผู�ปกครอง เจ�าหน�าท่ีสาธารณสุข องค0กรปกครองส วนท�องถ่ิน และศูนย0พัฒนาเด็กเล็ก ในการส งเสริมพัฒนาการเด็กเล็กของชุมชน 5) ช วยเหลือและสนับสนุนเจ�าหน�าท่ีสาธารณสุขในคลินิกเด็กดีได�ถูกต�องตามหลักวิชาการ 4. บทบาท อสม.

1) ติดตามเยี่ยมเด็กเกิดใหม ทุกคน (รวมท้ัง การค�นหาหญิงต้ังครรภ0ใหม แนะนําครอบครัวใหม ) และจัดทําฐานข�อมูล

2) แนะนําให�เลี้ยงลูกด�วยนมแม อย างเดียวในเด็กแรกเกิด ถึง 6 เดือน 3) แนะนําพ อแม ชั่งน้ําหนัก วัดส วนสูง และบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพแม และเด็ก 4) แนะนําพ อแม อ านและปฏิบัติตามคําแนะนําในสมุดบันทึกสุขภาพแม และเด็ก 5) กระตุ�นเตือนพ อแม พาลูกไปรับวัคซีนตามนัด 6) ถ ายทอดความรู�ด�านพัฒนาการเด็กปฐมวัย ให�แก พ อแม ผู�เลี้ยงดูเด็กในครอบครัว และผู�ดูแลเด็ก

ในศูนย0เด็กเล็ก 7) เฝ.าระวัง (รวบรวม เรียบเรียง วิเคราะห0ข�อมูล และกระจายข�อมูลข าวสารสู ผู�ใช�ประโยชน0 เพ่ือการ

วางแผน การปฏิบัติงาน และการประเมินผล) และร วมวางแผนชุมชนด�านการส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย 8) ช วยเหลือเจ�าหน�าท่ีสาธารณสุขในคลินิกสุขภาพเด็กดี

5. คุณสมบัติผู1ท่ีจะเข1ารับการฝกอบรม 1) เป1น อสม.ผู�ผ านการอบรมหลักสูตรฝ4กอบรมมาตรฐานอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) ป7พุทธศักราช 2550 2) เป1นประธาน อสม.ระดับหมู บ�าน/ชุมชน หรือ อสม.ดีเด น หรือ อสม.อ่ืนๆ ท่ีได�รับการยอมรับจาก

เครือข ายสุขภาพ 3) อสม.กฟผ. และ อสม.อ่ืนๆ ท่ีระบุไว�ในระเบียบ กระทรวงสาธารณสุขว าด�วย อสม.ป7 ๒๕๕๔ 4) มีความสมัครใจและสามารถฝ4กอบรมครบตามหลักสูตร

Page 10: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

7

6. สรรถนะ อสม. ท่ีคาดหวัง 6.1 ติดตามเยี่ยมเด็กเกิดใหม ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ สามารถประเมินพัฒนาการเด็กเบ้ืองต�นและจัดทําฐานข�อมูลในพ้ืนท่ีรับผิดชอบและส งต อได�ถูกต�อง ครบถ�วน 6.2 สามารถถ ายทอดความรู�ด�านพัฒนาการเด็กปฐมวัยให�แก พ อแม ผู�เลี้ยงดูเด็กในครอบครัว และผู�ดูแลเด็กในศูนย0เด็กเล็กได�ถูกต�อง 6.3 สามารถแนะนําพ อแม อ านและปฏิบัติตามคําแนะนําในสมุดบันทึกสุขภาพแม และเด็กได�ถูกต�อง 6.4 สามารถเฝ.าระวังและร วมวางแผนชุมชนด�านการส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยได� 6.5 สามารถช วยเหลือเจ�าหน�าท่ีสาธารณสุขในสุขภาพเด็กดีได�

7. ขอบข�ายเนื้อหาสาระ ประกอบด1วยวิชา 7.1 วิชา พัฒนาการเด็กปฐมวัย ลําดับข้ันของพัฒนาการตามวัย เวลา 1 ชั่วโมง

7.2 วิชา หลักการส งเสริมพัฒนาการตามวัย เวลา 1 ชั่วโมง 30 นาที 1) อาหารถูกหลักโภชนาการ 2) การให�ความรัก ความผูกพัน 3) การเล นเพ่ือส งเสริมพัฒนาการด�านการเคลื่อนไหว 4) การกระตุ�นความคิด จินตนาการ การฝ4กระเบียบวินัย (การดูทีวี การใช�สื่อเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม)

7.3 วิชา การจัดการส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในชุมชนแบบมีส วนร วม เวลา 2 ชั่วโมง 7.4 วิชา บทบาท อสม.ในการทํางานด�านการส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย 1 ชั่วโมง 30นาที

8. เนื้อหาและมาตรฐานรายวิชา ได1แก� 8.1 วิชา พัฒนาการเด็กปฐมวัย ลําดับข้ันของพัฒนาการตามวัย เวลา 1 ช่ัวโมง วัตถุประสงคDเชิงพฤติกรรม 1) อธิบายป=ญหา ท่ีมา สภาพครอบครัวไทยได�ถูกต�อง 2) อธิบายพัฒนาการและความสําคัญของพัฒนาการเด็กปฐมวัยได�ถูกต�อง 3) บอกลําดับข้ันตอนของพัฒนาการเด็กปฐมวัยได�ถูกต�อง 4) อธิบายแนวทางการส งเสริมพัฒนาการเด็กได�เหมาะสมตามวัย

มาตรฐานรายวิชา อสม. แสดงความรู� ความเข�าใจป=ญหา ท่ีมา สภาพครอบครัวไทย ความสําคัญของพัฒนาการเด็กปฐมวัย และลําดับข้ันตอนของพัฒนาการเด็กปฐมวัย

คําอธิบายรายวิชา ศึกษาเก่ียวกับป=ญหา ท่ีมา สภาพครอบครัวไทย ความสําคัญของพัฒนาการเด็กปฐมวัย และลําดับข้ันตอนของพัฒนาการเด็กปฐมวัย 8.2 วิชา หลักการส�งเสริมพัฒนาการตามวัย เวลา 1 ชั่วโมง 30 นาที วัตถุประสงคDเชิงพฤติกรรม 1) อธิบายประโยชน0และแนวทางการประเมินคัดกรองกลุ มเสี่ยง (พัฒนาการล าช�า) เบ้ืองต�นได�ถูกต�อง

2) อธิบายหลักการส งเสริมพัฒนาการเด็กได�ถูกต�องเหมาะสมตามวัย

Page 11: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

8

มาตรฐานรายวิชา อสม. แสดงความรู� ความเข�าใจเก่ียวกับการประเมิน วิเคราะห0และคัดกรองพัฒนาการเด็ก (ล าช�า) เบ้ืองต�น และหลักการส งเสริมพัฒนาการเด็ก (ปฐมวัย) ตามวัย

คําอธิบายรายวิชา ศึกษาเก่ียวกับการประเมิน วิเคราะห0และคัดกรองพัฒนาการเด็ก (ล าช�า) เบ้ืองต�น (ใช�สมุดเล มสีชมพู) และหลักการส งเสริมพัฒนาการตามวัย (กิน กอด เล น เล า) ได�แก

1) อาหารถูกหลักโภชนาการ 2) การให�ความรัก ความผูกพัน

3) การเล นเพ่ือส งเสริมพัฒนาการด�านการเคลื่อนไหว 4) การกระตุ�นความคิด จินตนาการ การฝ4กระเบียบวินัย (การดูทีวี การใช�สื่อเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม) 8.3 วิชา การจัดการส�งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในชุมชนแบบมีส�วนร�วม เวลา 2 ชั่วโมง 30 นาที วัตถุประสงคDเชิงพฤติกรรม 1) อธิบายแนวทางการจัดการส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (เด็กปกติ และ เด็กพัฒนาการช�า) ในชุมชนแบบมีส วนร วมได� 2) สามารถจัดทําแผนปฏิบัติการส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยของชุมชนแบบมีส วนร วมได� 3) สามารถช วยเหลือและสนับสนุนเจ�าหน�าท่ีสาธารณสุขในคลินิกเด็กดี

มาตรฐานรายวิชา อสม. แสดงความรู� ความเข�าใจเก่ียวกับแนวทางการจัดการส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (เด็กปกติ และ เด็กพัฒนาการช�า) ในชุมชน จัดทําแผนปฏิบัติการส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยของชุมชนแบบมีส วนร วมได�

คําอธิบายรายวิชา ศึกษาเก่ียวกับแนวทางการจัดการส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (เด็กปกติ และเด็กพัฒนาการช�า) และฝ4กทักษะจัดทําแผนปฏิบัติการส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยของชุมชนแบบมีส วนร วม

8.4 วิชา บทบาท อสม.ในการทํางานด1านการส�งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย เวลา 1 ชั่วโมง วัตถุประสงคDเชิงพฤติกรรม อธิบายบทบาท อสม.ในการทํางานด�านส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยได�

มาตรฐานรายวิชา อสม. แสดงความรู� ความเข�าใจเก่ียวกับบทบาทบทบาท อสม.ในการทํางานด�านส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

คําอธิบายรายวิชา ศึกษาเก่ียวกับ บทบาท อสม.ในการทํางานด�านส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

9. ระยะเวลาในการฝกอบรม ระยะเวลาในการฝ4กอบรม จํานวน 6 ชั่วโมง

Page 12: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

9

10. การจัดกระบวนการการฝกอบรมและการเรียนรู1 ข้ันทบทวนและระบุประสบการณD 1) นําเข�าสู บทเรียนโดยถามผู�เรียน 1.1 สถานการณ0เด็กไทยและความสําคัญของพัฒนาการเด็กปฐมวัย 1.2 ประสบการณ0การเลี้ยงลูกของผู�อบรมเรื่องพัฒนาการเด็กและการเจริญเติบโต “ใครมีลูกหลานในวัยนี้บ�าง” “แล�วคิดว า ลูกหลานเจริญเติบโตปกติไหม” 2) กิจกรรมจิ๊กซอว0ลําดับข้ันพัฒนาการตามวัย (รายละเอียดตามคําแนะนําในกิจกรรม) 3) วิทยากรบรรยาย สลับกับการนําเสนอวีดีทัศน0 3.1 ความหมายของพัฒนาการเด็กและการเจริญเติบโต 3.2 ลําดับข้ันของพัฒนาการตามวัย และการประเมินคัดกรองเบ้ืองต�น 3.3 หลักการส งเสริมพัฒนาการเด็กตามวัย 4) การฝ4กสาธิต/ฝ4กปฏิบัติทําวัสดุของเล น/คิดเกมส0/ปริศนาคําทาย เพ่ือส งเสริมพัฒนาการเคลื่อนไหว และสติป=ญญา ข้ันวิเคราะหDประสบการณDและข้ันวางแผนปฏิบัติ 5) วิทยากรแบ งกลุ มผู�เข�ารับการอบรม ร วมกันระดมความคิดในประเด็นดังนี้ 5.1 ระดมความคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู�เรื่องประโยชน0ของการส งเสริมพัฒนาการด�านการเคลื่อนไหว 5.2 ระดมความคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู�เรื่องการประเมินคัดกรองเด็กกลุ มเสี่ยงเบ้ืองต�น และการจัดการส งเสริมพัฒนาการเด็กในชุมชน แล�วส งตัวแทนออกมานําเสนอและสรุปบทเรียนเป1นภาพรวม ข้ันสรุปประสบการณD 6) วิทยากรซักถามความเข�าใจ และสรุปเนื้อหาสาระ พร�อมท้ังให�ผู�เข�ารับการฝ4กอบรมทําแบบวัดความรู�หลังการอบรม

11. ส่ือประกอบการฝกอบรม 1. คู มือเฝ.าระวังและส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM และสมุดบันทึกสุขภาพแม และเด็ก) 2. แบบคัดกรองพัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง 5 ป7 (กรมสุขภาพจิต) 3. ของเล นตามภูมิป=ญญาพ้ืนบ�านส งเสริมพัฒนาการ (ตามบริบทพ้ืนท่ี) “กระตุ�นต อมความคิด สะกิดต อมอยาก” 4. วัสดุเหลือใช�สําหรับประดิษฐ0ของเล น 5. ตุuกตาหรือสื่อบุคคล 6. จิ๊กซอว0ลําดับข้ันพัฒนาการตามวัย 7. วีดีทัศน0จากเว็บไซต0 พัฒนาการเด็กในระยะต าง ๆ

12. การวัดและประเมินผล 1) วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 ประเมินความรู�ก อน-หลังการฝ4กอบรม 1.2 สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู� 1.3 สุ มถาม

Page 13: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

10

1.4 ทดสอบการปฏิบัติในเรื่องการส งเสริมพัฒนาการเด็ก 2) เครื่องมือวัดและประเมินผล 1. แบบประเมินความรู�การดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย 2. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู�และการมีส วนร วม 3) เกณฑ0การวัดและประเมินผล ความรู�เก่ียวกับการส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ใช�เกณฑ0ผ านร�อยละ 60

Page 14: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

11

แบบประเมินความรู1 ก�อน – หลัง การฝกอบรม

คําช้ีแจง ให�ผู�เรียนใช�เครื่องหมาย X หรือ �กาลงในตัวเลือกท่ีเห็นว าถูกต�องท่ีสุดเพียงข�อเดียว

1. อสม. ควรค�นหาหญิงต้ังครรภ0ให�เร็วท่ีสุดโดยมีอายุครรภ0น�อยกว าก่ีเดือน เพ่ือแนะนําให�ไปหาเจ�าหน�าท่ีสาธารณสุข

ก. ๓ เดือน ข. ๔ เดือน ค. ๕ เดือน ง. ไม มี

2. หญิงต้ังครรภ0ควรได�รับประทานสารชนิดใด เพ่ือช วยในการพัฒนาการของเด็ก ก. โฟเลท ข. เหล็ก ค. ไอโอดีน ง. ถูกทุกข�อ

3. อสม. ควรส งเสริมให�แม เลี้ยงลูกด�วยนมตนเองเป1นระยะเวลาติดต อกันไม น�อยกว าก่ีเดือน ก. ๔ เดือน ข. ๖ เดือน ค. ๘ เดือน ง. ๑๐ เดือน

4. การเล นลากของของเด็กเล็ก จะช วยส งเสริมพัฒนาการของเด็กเล็กในด�านใด ก. กล�ามเนื้อมัดเล็ก ข. กล�ามเนื้อมัดใหญ ค. กล�ามเนื้อมือ ง. ไม มีข�อใดถูกต�อง

5. การเล นปริศนาคําทาย จะช วยส งเสริมพัฒนาการของเด็กเล็กในด�านใด ก. ด�านสมอง ข. ระบบประสาท ค. ไหวพริบ สติป=ญญา ง. ไม มีข�อใดถูก

6. แนวทางสร�างทักษะการเข�าสังคม ให�เด็ก ควรทําอย างไร ก. พาลูกไปเยี่ยมญาติมิตร

ข. สอนลูกให�มีโอกาสเรียนรู�และสร�างความสัมพันธ0กับคนอ่ืน ด�วยเริ่มจากญาติพ่ีน�องใกล�ตัว และท่ีอยู ห างไกล

ค. ให�ลูกได�เล นกับญาติพ่ีน�องท่ีเป1นเด็กด�วยกันหรือผู�ใหญ ก็ตาม ง. ถูกต�องทุกข�อ

Page 15: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

12

7. เด็กอายุ 2 ป7 (บวก ลบ ไม เกิน 1 เดือน) ควรจะมีความสามารถอย างน�อยในข�อใด จึงจะพัฒนาสมวัย ก. เด็กสามารถถอดชิ้นใดชิ้นหนึ่งต อไปนี้ได� รองเท�าหุ�มส�น กางเกง เสื้อยืด ข. เด็กสามารถใส เสื้อยืดสวมศีรษะ และใส แขนเสื้อได�เอง แต อาจกลับหน�ากลับหลัง หรือ กลับตะเข็บ

ค. เด็กสามารถใส เสื้อผ�าเองได�อย างสมบูรณ0และถูกต�อง โดยไม ต�องให�ใครช วย ง. ไม มีข�อใดถูก

8. เด็กพัฒนาท่ีสมวัย สามารถเขียนรูปวงกลมได� ก. 2 ป7 ข. 3 ป7 ค. 4 ป7 ง. ไม มีข�อถูกต�อง

9. บุคคลหรือองค0กรใดในตัวเลือกต อไปนี้ มีส วนช วยในการส งเสริมพัฒนาเด็กเล็ก ก. เจ�าหน�าท่ีสาธารณสุข ข. ศูนย0เลี้ยงดูเด็กเล็ก ค. องค0กรปกครองส วนท�องถ่ิน ง. ถูกต�องทุกข�อ

10. อสม. ควรมีบทบาทอย างไรในชุมชน ก. แนะนําและให�กําลังใจผู�ปกครองท่ีมีลูกพัฒนาการล าช�า ข. ร วมมือกับเจ�าหน�าท่ีสาธารณสุข เพ่ือคัดกรองเด็กท่ีมีพัฒนาการล าช�า ค. ร วมมือกับ อบต. ในการจัดหางบประมาณ ของเล น วัสดุอุปกรณ0 เพ่ือส งเสริมพัฒนาการเด็ก ง. ถูกต�องทุกข�อ

เฉลยแบบทดสอบ ข�อ 1. ก ข�อ 2. ง ข�อ 3. ข ข�อ 4. ค ข�อ 5. ค ข�อ 6. ง ข�อ 7. ง ข�อ 8. ค ข�อ 9. ง ข�อ 10. ง

Page 16: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

13

แผนการสอนเรื่อง การส�งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

วัตถุประสงค0เชิงพฤติกรรม เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน เวลา สื่อประกอบการเรยีน

การสอน

การประเมินผล

วิธีการประเมิน เกณฑ0การประเมิน

1. บอก/อธิบายป=ญหา ที่มา สภาพครอบครัวไทย 2. สามารถบอกลําดับขั้นของพัฒนาการเด็กแต ละช วงวัย 3. อธิบายหลักการส งเสริมพัฒนาการเด็กตามวัยได�ถูกต�อง 4. วิเคราะห0 คัดกรองเบื้องต�นได�ว าเด็กมีพัฒนาการตามวัย หรือล าช�า

1.บทนําป=ญหาและความสําคัญของพัฒนาการเด็กปฐมวัย ที่มา สภาพครอบครัวไทย

2. พัฒนาการเด็กปฐมวัย ลําดับขั้นของพัฒนาการตามวัย

3. หลักการส งเสรมิพัฒนาการเด็กตามวัย(กิน กอด เล น เล า) 3.1 อาหารถูกหลักโภชนาการ 3.2 การให�ความรัก ความผูกพัน 3.3 การเล นเพื่อส งเสรมิพัฒนาการด�านการเคลื่อนไหว 3.4 การกระตุ�นความคิด จินตนาการ การฝ4กระเบียบวินัย (การดูทีวี การใช�สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสม) 4. การคัดกรองและวิเคราะห0พัฒนาการเด็กปฐมวัย 4.1 ประโยชน0และแนวทางการคัดกรองกลุ มเสี่ยงเบื้องต�น

1. นําเข�าสู บทเรยีนโดยถาม หรือดวูิดิทัศน0 หรือข าวที่เกิดขึ้นรอบตัว - ซักถามกรณีใกล�ตัวในชุมชน สถานการณ0เด็กไทย ครอบครัวไทย - เปxดโอกาสให�ซักถาม แลกเปลีย่นเรียนรู� 2. วิทยากรให�ผู�เรียนจินตนาการพัฒนาการเด็ก (โดย

เขียนหรือวาดภาพ) วิทยากรเติมเต็มความรู�พัฒนาการเด็ก (เปxดประเด็น เน�นการมสี วนร วม) 3. วิทยากรสรุปสาระสําคัญ

4. วิทยากรเกริ่นนําบทบาทหน วยงานที่เกี่ยวข�อง

4.2 การแบ งกลุ มระดมความคิด การจัดการส งเสรมิพัฒนาการเด็กในชุมชน 2 ประเดน็ ดังนี้ 4.2.1 ระดมความคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู�เรื่องประโยชน0ของการส งเสริมพัฒนาการด�านการเคลื่อนไหว 4.2.2 ระดมความคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู�เรื่องการ คัดกรองเด็กกลุ มเสีย่งเบื้องต�น(ใช�สมดุเล มสีชมพู มีฉบับ

20 นาที

1 ชม. 30 นาที

2 ชม. 30 นาที

1. วิดิโอ “พัฒนาการเด็กเล็ก”จากเวปไซด0 2. คู มือเฝ.าระวังและส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (กรมสุขภาพจิต) 3. ของเล นตามภมูิป=ญญาพื้นบ�านส งเสริมพัฒนาการ (ตามบริบทพื้นที่) 4. ตุuกตาหรือสื่อบุคคล 5. ใบความรู� 6. แบบคัดกรอง(เบื้องต�น)พัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง 5 ป7 (ใช�สมุดเล มสีชมพู ฉบับปรับปรุง) 7. สมุดบันทึกสุขภาพแม และเด็ก(กรมอนามัย)

1. แบบประเมินความรู�ก อน-หลังอบรม 2. สังเกตพฤติกรรมเรียนรู� 3. สุ มถาม 4. ทดสอบการปฏิบัติในเรื่องการส งเสริมพัฒนาการเด็ก

ร�อยละ 60

Page 17: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

14

วัตถุประสงค0เชิงพฤติกรรม เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน เวลา สื่อประกอบการเรยีน

การสอน

การประเมินผล

วิธีการประเมิน เกณฑ0การประเมิน

5. บอกแนวทาง และบทบาทของ อสม. ในการคัดกรองเด็กเสี่ยงเบื้องต�นและการจัดการร วมกับผู�ปกครอง เจ�าหน�าที่สาธารณสุข องค0กรปกครองส วนท�องถิ่น ศูนย0พัฒนาเด็กเล็ก ในการส งเสรมิพัฒนาการเด็กปฐมวัยของชุมชนได�ถูกต�อง

4. บทบาท อสม.ในการทํางานด�านพัฒนาการเด็กปฐมวัย 1. สํารวจ ค�นหาจัดทําฐานข�อมลูเด็กปฐมวัยในพื้นที่ 2. ถ ายทอดความรู�ด�านพัฒนาการเด็กปฐมวัย ให�แก พ อแม ผู�เลี้ยงดเูด็กในครอบครัว และผู�ดูแลเด็ก ในศูนย0เด็กเล็ก 3. เฝ.าระวัง และส งเสรมิพัฒนาการเด็กปฐมวัย(ค�นหาป=ญหาพัฒนาการเด็กปฐมวัย คัดกรองเบื้องต�น และร วมวางแผนชุมชน) 4. แนะนําพ อแม และผู�เลีย้งดูเด็ก ส งเสริมพัฒนาการเด็ก(ตามสมุดบันทึกสุขภาพแม และเด็ก) 5. ช วยเหลือเจ�าหน�าที่สาธารณสุขในคลินิกสุขภาพเด็กดี 6. ติดตามเยี่ยมเด็กเกิดใหม (รวมทั้ง การค�นหาหญิงตั้งครรภ0ใหม แนะนําครอบครัวใหม ) และส งต อ 5. การจัดการส งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในชุมชนแบบมีส วนร วม - เด็กปกติ - เด็กพัฒนาการช�า

ปรับปรุง) และการจัดการส งเสรมิพัฒนาการเด็ก ในชุมชน 4.2.3 ระดมความคิดทําแผนปฏิบัติการแบบมสี วนร วมในชุมชน(โดยบูรณาการครอบคลุมเนื้อหา) 4.3 วิทยากรซักถามความเข�าใจ และสรุปเนื้อหาสาระตามใบความรู�(ชุดความรู�ประกอบหลักสูตร เนื้อหาที่จําเป1นและสาํคัญๆ

5. มอบหมายภารกิจตามบทบาท อสม.

1 ชม. 30 นาที

Page 18: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

15

เอกสารอ1างอิง 1. สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร0 กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. คู�มือส�งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ป% สําหรับผู1ปกครอง. ไม ระบุสถานท่ีพิมพ0 และป7ท่ีพิมพ0. 2. กระทรวงสาธารณสุข, คู�มือเฝ:าระวังและส�งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM) Promotion Manual (DSPM),พิมพ0ท่ี บริษัท สยามพิมพ0นานา จํากัด, 2558 3. กลุ มอนามัยแม และเด็ก สํานักส งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, สมุดบันทึกสุขภาพแม�และเด็ก, พิมพ0ท่ี โรงพิมพ0องค0การสงเคราะห0ทหารผ านศึก, พฤษภาคม 2557. 4. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข,คู�มือ อสม.ส�งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด- อายุ 5 ป%, พิมพ0ครั้งท่ี 1 พิมพ0ท่ีสํานักพิมพ0คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, กรกฎาคม 2553. 5. กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข,หลักสูตรฝกอบรมมาตรฐานอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู�บ1าน(อสม.) นักจัดการสุขภาพตามกลุ�มวัย ป7พุทธศักราช 2557, ไม ระบุสถานท่ีพิมพ0, 2557.

Page 19: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

16

คณะผู1จัดทํา

ท่ีปรึกษา 1. นาวาอากาศตรีบุญเรือง ไตรเรืองวรวัฒน0 อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 2. นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู�อํานวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน 3. นางชุลีพร ผาตินินนาท ผู�ทรงคุณวุฒิด�านการศึกษา กศน.

คณะผู1จัดทํา กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 1. นายธงชัย สาระกูล นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ (ด�านพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน) 2. นายชาติชาย สุวรรณนิตย0 หัวหน�ากลุ มพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร0สุขภาพภาคประชาชน 3. นายไพศาล เจียนศิริจินดา นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ 4. นางสาว สุธาทิพย0 หัวหน�ากลุ มส งเสริมนวัตกรรมสุขภาพภาคประชาชน 5. ดร.วรารัตน0 กิจพจน0 หัวหน�ากลุ มส งเสริมการมีส วนร วมอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู บ�าน 6. นางศุภัคชญา ภวังคะรัต หัวหน�ากลุ มคุ�มครองสุขภาพภาคประชาชน 7. นางอมรศรี ยอดคํา หัวหน�ากลุ มพัฒนาวิชาการและจัดการความรู�สุขภาพภาคประชาชน 8. นางวิรุณศิริ อารยวงศ0 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ 9. นางช อเพ็ญ นวลขาว นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ 10. นางพาณีพันธุ0 ฉัตรอําไพวงศ0 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ 11. นายศิวะณัฐ โฮมวงค0 นักวิเคราะห0นโยบายและแผน สํานักงานสนับสนุนบริการสุขภาพเขต กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 12. นายศรันยู ป.อมขํา นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สบส. เขต 2 13. นางมณฑา กิตติวราวุฒิ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ สบส. เขต 6 14. นายจํารัส ทองคํา นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สบส. เขต 6 15. นางสาวนริศรา อารีรักษ0 นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สบส. เขต 6 16. นายสุรกิต ฉัตรเจริญพัฒน0 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ สบส. เขต 2 17. นายคมสันต0 แรงจบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สบส. เขต 8 18. นายวสุพล ฤทธิ์แก�ว นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ สบส. เขต 11 19. นายรุสลี บาเหะ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สบส. เขต 12 กรมอนามัย 20. นางบังอร สุภาเกตุ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กรมสุขภาพจิต 21. นางสาววัชรวรรณ พานชิเจริญ นักวิชาการสาธารณสุข

Page 20: หลักสูตรฝกอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อสงเสริม ...phc.moph.go.th/หลักสูตรฝกอบรม

17

สถาบันการแพทยDฉุกฉินแห�งชาติ 22. นายพงษ0พิษณุ ศรีธรรมานุสาร ผู�จัดการงานบริหารเครือข าย 23. นางสุนิสา สุวรรณรักษ0 ผู�จัดการงานพัฒนากําลังคนในระบบการแพทย0ฉุกเฉิน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา 24. นายสิทธิศักด์ิ ปาละนันทน0 นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ อาสาสมัครสาธารณสุข 25. นางภิรมณ0พร กวาวสาม ประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข จังหวัดแพร 26. นางศุภมาศ ปx{นเจริญ อาสาสมัครสาธารณสุข จังหวัดฉะเชิงเทรา