อาสนะเดียวบรรล ุธรรม · ผล ๔...

40
อาสนะเดียวบรรลุธรรม ราตรีของผูตื่นอยู...นาน โยชนของคนลาแลว...ไกล วัฏฏะสงสารของผูไมรูซึ่งพระสัทธรรม.....ยอมยาว ทานอาจารย อิทธิ

Transcript of อาสนะเดียวบรรล ุธรรม · ผล ๔...

อาสนะเดียวบรรลุธรรม

ราตรีของผูต่ืนอยู...นาน โยชนของคนลาแลว...ไกล วัฏฏะสงสารของผูไมรูซึ่งพระสัทธรรม.....ยอมยาว

ทานอาจารย อทิธิ

สําหรับแจกเพ่ือเปนธรรมทาน หามจําหนาย

อาสนะเดียวบรรลุธรรม (ที่น่ังเดียวบรรลุธรรม)

ความโศกทั้งหลาย ยอมไมมีแกผูมีจิตม่ันคง ไมประมาท

เปนมุนีผูศึกษาในทางแหงมโนปฏิบัติ ผูคงที่ สงบระงับแลวมีสติในกาลทกุเม่ือ

โดย ทานอาจารย อิทธิ

๓๘๐/๑๔ หมู ๑๐ ต.หนองปรือ อ.บางละมุง จ.ชลบุร ี

โทรศัพท 089-766-2373

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

2

เมตตากรุณาและสัจจะอธิษฐาน

พระพุทธเจามีคุณไมมีที่สุดไมมีประมาณ พระธรรมรสมีคุณไมมีที่สุดไมมีประมาณ พระอริยะสงฆมีคุณไมมีที่สุดไมมีประมาณ

ดวยสัจจะนี้ ขอจงเปนปจจัยใหทานผูอานทุกทานจงบรรลุธรรมเร็วพลันในท่ีน่ังครั้งเดียว (อาสนะเดียวบรรลุธรรม) ขอใหมีปญญาเฉียบคม สามารถประหารเคร่ืองกั้นปญญาในจิต (นิวรณ ๕) สามารถประหารกิเลสเคร่ืองรอยรัดจิตทั้ง ๑๐ ประการ (สังโยชน ๑๐) ไดเร็วพลันในที่น่ังครั้งเดียว สามารถบรรลุอาสาวกขยญาณคือ มัคค ๔ ผล ๔ และนิพพาน (ปญญาในการรูจักความชํานาญในอินทรีย ๓ โดยอาการ ๖๔) ไดเร็วพลันในที่น่ังครั้งเดียว ทุกทานเทอญ.

ดวยเมตตากรุณาและสจัจะบารมีอนัแนวแนมั่นคงอยางแรงกลาขอใหทาน จงสําเร็จประโยชนและความสุขดังประสงคโดยเร็ว

ทานอาจารย อทิธิ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๒

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

3

คํานํา ดวยความต้ังใจจริงผมก็มุงหวังใหทุกคนไดบรรลุโลกุตตระธรรมระดับสูงๆ กันทุกคน จึงพยายามเอาส่ิงยากๆ มาสอน เพราะเห็นวาผูที่มาน่ังปฏิบัติลวนแตจบปริญญาสูงๆ กันท้ังนั้น นาจะฟงภาษาธรรมะเขาใจไดดี แตพอเอาเขาจริง เขาเกงภาษาโลก เขาเกงภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาตางประเทศ ไมใชเกงภาษาธรรมะ เนื่องดวยหลายๆ คนบนวาฟงภาษาธรรมะไมรูเรื่อง ไมเขาใจความหมายวาผมพูดเรื่องอะไร มาปฏิบัติธรรมท่ีไรก็ไดแตทําบุญแลวกลับบานไป ระลึกนึกถึงการไปสอนปฏิบัติธรรมเมื่อป ๒๕๓๗ ที่ อ.อรัญประเทศ จ.สระแกว (เดิม จ.ปราจีนบุรี) ครั้งนั้นผมไดสอนปฏิบัติธรรมใหกับคุณโยมยายวัย ๖๐ – ๘๐ และเปนคนไมรูหนังสือ ๒๐ กวาคน ครั้งน้ันสอนแตอารมณพระโสดาบันใหเทาน้ัน สอนวนเวียนเพียงวา กายไมงามๆๆๆ, พุทโธๆๆๆ และไมกอเวรๆๆๆ ถามคุณโยมยายท้ังหลายวา คุณยายตองการฝกอยางอ่ืนอีกไหมครับ ? คุณยายท้ังหลายยิ้มตอบวา “ไมละเจาคะทานอาจารย ไดแคนี้ก็บุญหลายแลวเจาคะ พอใจแคนี้ละเจาคะ” ผมประทับใจมากท่ีคุณโยมยายท้ังหลายเปนคนตรงและเปนคนซ่ือ นารักมากๆ นั่งขัดสมาธิมีปติในธรรมตามที่สอนไปสักชั่วโมงหรือชั่วโมงคร่ึง หิวหมากก็คลายมือลืมตา ขยับไปหาเชี่ยนหมาก ตะบันหมากเค้ียวพออ่ิมหนําสําราญแลวก็บวนท้ิง ลางปากลางหนาแลวก็มาน่ังขัดสมาธิมีปติในธรรมกันตอ นารักนาประทับใจมากครับ หนังสือเลมน้ีจึงนาจะเหมาะกับทุกคนท่ีฟงภาษาธรรมะที่เปนบาลีปนไทยไมรูเรื่อง หรือมีเวลานอย แตตองการบรรลุธรรมเร็วๆ ดวย จึงต้ังใจสอนโดยใชภาษาไทยใหมากท่ีสุด อาจมีบาลีสําคัญๆ บาง แตก็มีคําแปลให เพ่ือประโยชนและความสุขในมัคคผลนิพพานของทุกๆ คนครับ

ผูมีปติในธรรม มีใจผองใสแลวยอมอยูเปนสุข

บัณฑิตยอมยินดีในธรรม

ที่พระอริยะเจาประกาศแลวทุกเมื่อ เจริญในธรรมครับ

ทานอาจารย อิทธิ ๒๘ มิถนุายน ๒๕๕๒

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

4

สารบัญ บทที่ หนา อรหัตตมัคค 5๑ นึกถึงรางกายตนเอง 7๒ พิจารณารางกายน้ีโดยความเปนของไมงาม 11๓ ทําสัทธาใหมั่นคงในคุณของพระพุทธเจา คณุของพระธรรม

คุณของพระสงฆ และบทอรหัตตมัคค 14

๔ ย่ิงอบรม จิตย่ิงบริสุทธิ์หลุดพนจากบาปเวร 18๕ สรุปขั้นตอนการปฏิบัติธรรมต้ังแตตนจนบรรลุอริยะธรรม 23๖ รูไดอยางไรวาเราบรรลุธรรม ? 25๗ อนุโมทนาสวนกุศลของทานทั้งหลาย 28๘ สาระดีๆ ทายบท 31

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

5

อรหัตตมัคค

“เรายังมองไมเห็นความสวัสดี จักมีแกสัตวทั้งหลาย นอกจากปญญาและความเพียร นอกจากความสํารวมอินทรีย และความสละวางทุกสิ่งทุกอยาง”

“ความโศกท้ังหลาย ยอมไมมีแกผูมีจิตม่ันคง ไมประมาท เปนมุนีผูศึกษาในทางแหงมโนปฏิบัติ ผูคงที่ สงบระงับแลวมีสติในกาลทุกเม่ือ”

“ภิกษุพึงเปนผูสํารวมจักษุ ไมพึงเปนผูโลเลเพราะเทา พึงเปนผูขวนขวายในฌาน พึงเปนผูต่ืนอยูมาก พึงเปนผูปรารภอุเบกขา มีจิตต้ังม่ัน พึงเขาไปตัดความตรึกและตัดธรรม ที่อาศัยอยูแหงความตรึกและความรําคาญ”

“ปญญาของผูมีจิตไมต้ังมั่น ไมรูสัทธรรม มีความเลื่อมใสเลื่อนลอยยอมไมบริบูรณ อนึ่ง ภัยยอมไมมีแกผูต่ืนอยู ผูมีกัมมัฏฐานม่ันคงเปนสหาย มีจิตไมขวนขวาย มีจิตไมถูกกําจัด ละบุญและบาปไดแลว ยอมอยูเปนสุขทุกเม่ือ”

“มารดาก็ทําให ไมได บิดาก็ทําให ไมได ญาติพ่ีนองก็ทําให ไมได แตจิตท่ีฝกฝนไวชอบ ยอมทําส่ิงน้ันใหได และทําใหได อยางประเสริฐดวย”

“บุรุษน้ันเปนบัณฑิตในท่ีทุกสถานก็หาไม แมสตรีผูมีปญญาเห็นประจักษ ก็เปนบัณฑิตไดในสถานท่ีนั้น ๆ วิมุติญาณทัสนะมีในบุรุษไดอยางไร สตรีก็ยังวิมุติญาณทัสนะใหสําเร็จอยางน้ันแล”

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

6

“จิตท่ีต้ังม่ันไมหว่ันไหวดั่งภูเขาศิลา ไมกําหนัดในอารมณ อันเปนที่ต้ังแหงความกําหนัด ไมโกรธในอารมณ อันเปนที่ต้ังแหงความโกรธ จิตของบุคคลใด อบรมไดดั่งน้ี ความทุกขจะมีมาแตที่ใดเลา?”

“กิเลสเครื่องกังวลใดมีอยูในกาลกอน เธอจงยังกิเลสเครื่องกังวลนั้น ใหเหือดแหงหายไป กิเลสเครื่องกังวลใด จงอยามีแกเธอในภายหลัง ถาเธอจักไมยึดถือขันธในทามกลาง ก็จักเปนมุนีผูสงบระงับแลวเท่ียวไป....ดังน้ี”

“ภิกษุพึงเปนผูสํารวมจักษุ ไมพึงเปนผูโลเลเพราะเทา พึงเปนผูขวนขวายในฌาน พึงเปนผูต่ืนอยูมาก พึงเปนผูปรารภอุเบกขา มีจิตต้ังม่ัน พึงเขาไปตัดความตรึก และตัดธรรมท่ีอาศัยอยูแหงความตรึก และความรําคาญ”

“เพราะฉันประมาท ทุกขอันไมนายินดี ยอมครอบงําคนผูประมาท โดยความเปนของนายินดี เพราะฉันประมาท ทุกขอันไมนารัก ยอมครอบงําคนผูประมาท โดยความเปนของนารัก เพราะฉันประมาท ทุกขอันเรารอน ยอมครอบงําคนผูประมาท โดยความเปนสุข”

ธมฺมปติ สุขํ เสติ วิปฺปสนฺเนน เจตสา อริยปฺปเวทิเต ธมฺเม สทา รมติ ปณฺฑิโต

ผูมีปติในธรรมมีใจผองใสแลวยอมอยูเปนสุข

บัณฑิตยอมยินดีในธรรมที่พระอริยะเจาประกาศแลวทุกเมื่อ

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

7

บทท่ี ๑ นึกถึงรางกายตนเอง

กอนอ่ืนใหผูปฏิบัติธรรมทั้งหลายเลือกอรหัตตมัคค บทใดบทหน่ึงที่ตนเองชอบใจมาสัก ๑ บท แลวทองจําใหได ในที่น้ีขอใชบทอรหัตตมัคคตามหนาปกไปกอน ใครชอบบทอ่ืนนอกจากบทน้ี ก็ใชบทที่ชอบใจน้ันแทนทีหลังนะครับ... เมื่อรับประทานอาหาร อาบนํ้าอาบทาเปนที่เรียบรอยแลว ใหหาที่เหมาะๆ ในหองสวนตัวภายในบานปดประตูใหเรียบรอย หรือในสวน หรือในท่ีสงัดจากผูคน ไมมีคนมารบกวนรองเรียกใหตองลุกขึ้นจากท่ีน่ังไดสัก ๒ ชั่วโมง ในกรณีที่กังวลกลัวการบรรลุธรรม ตองการจะมีเพื่อนก็ได แตตองเปนเพื่อนที่มีเปาหมายเดียวกัน ตองการปฏิบัติเพื่อบรรลุธรรมเชนเดียวกับเรา ไมใชใหมาน่ังเปนเพื่อนเราเฉย ๆ ตัวเขาไมปฏิบัติดวย เขาอาจเห็นเพียงอาการภายนอกของเราอาจเขาใจผิดไปตาง ๆ นานาได และอาจรบกวนขัดขวางการบรรลุธรรมของเราได

เมื่อหาสถานที่เหมาะสมแกการปฏิบัติธรรมไดแลว ใหน่ังขัดสมาธิ หรือน่ังพับเพียบ หรือน่ังหอยเทาก็ได คือจัดทาน่ังใหสบาย ๆ พอเหมาะพอดีแกสุขภาพรางกาย

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

8

ของผูปฏิบัติดวย อยาน่ังทนทุกข อยาฝนทนความเจ็บปวด เพราะเรากําลังสรางกองกุศล ใหจําไววา กุศลผลบุญใหผลเปนสุขเทาน้ัน ถาทุกขเดือดรอนกายใจเม่ือไหร น่ันแสดงวาบาปอกุศลใหผลแลว เปนการปฏิบัติที่ผิดทางแลวใหเลิกปฏิบัติทันที อยาฝนปฏิบัติไปนะครับ ควรเปลี่ยนทาน่ังเปลี่ยนอิริยาบทเสียใหมไมอยางน้ันจะเปนการ สั่งสมมิจฉาทิฏฐิ และอกุศลจิตไปโดยรูเทาไมถึงกาลครับ

เมื่อไดทาน่ังที่สบายแกตนเองแลว ใหน่ังตัวตรง หลับตา หายใจลึกๆ เต็มปอดใหสม่ําเสมอไปเรื่อยๆ แลวนอมความคิด ( หรือจิตใจ ) มารับรูรางกายของตัวเราเอง ทองในใจวา รางกาย ๆๆๆๆๆ หรือกาย ๆๆๆๆๆ ก็ได ตัดความยินดียินราย หรือตัดความสนใจตอรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธัมมารมณอันเปนสิ่งแวดลอมภายนอก เรื่องราวในอดีตอนาคตทิ้งไป ไมตองใสใจ สนใจแตภายในรางกาย ต้ังใจวาภายนอกฟาจะถลม แผนดินจะทลายก็จะไมสนใจหว่ันไหว สนใจต้ังใจวาจะน่ังหายใจลึก ๆ เต็มปอด เพื่อทําใหจิตใจมีกําลังเขมแข็ง และทองแตเพียงวารางกาย ๆๆๆๆๆ หรือกาย ๆๆๆๆๆ เทาน้ัน การหายใจลึก ๆ เต็มปอดเต็มทอง แลวทองวารางกาย ๆๆๆๆๆ หรือกาย ๆๆๆๆๆ อยางน้ีเรียกวา มีการนึก (วิตก) มีการพิจารณา (วิจาร) เกิดขึ้น น่ังหายใจลึก ๆ เต็มปอดเพื่อทําใหจิตใจมีกําลังเขมแข็ง และทองแตเพียงวารางกาย ๆๆๆๆๆ หรือกาย ๆๆๆๆๆ ตอไป ใหแรงลมกระทบเย็นที่ชองจมูก เย็นถึงกลางระหวางคิ้ว และเย็นถึงลําคอ จนรูสึกจิตใจแชมชื่นกระปร้ีกระเปรา เย็นซาบซานต้ังแตทายทอยจนถึงกระหมอม เย็นซาบซานต้ังแตทายทอยจนถึงแผนหลัง จนเย็นซาบซานไปทั่วตัวตลอดแขนขา หรือเกิดอาการขนลุก หรือนํ้าตาไหล หรือตัวสูง หรือตัวพอง หรือตัวใหญ หรือตัวโยก หรือตัวโคลง หรือตัวสั่น หรือตัวแนนตัวคับเหมือนใครจับมัด หรือตัวหมุน หรือตัวลอยขึ้นจากพื้น อยางใดอยางหน่ึงปรากฏ หรือหลาย ๆ อยางปรากฏพรอมกันก็ได เชนเย็นซาบซาน ขนลุกดวย นํ้าตาไหลดวย ตัวโยกตัวโคลงสั่นดวยก็ได ทําไดอยางน้ีเรียกวา มีปติ คือดีใจ ปลาบปลื้มใจ สนุก

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

9

เพลิดเพลินสดชื่น อยางไมเคยเปนมากอน มีสุข คือเบาสบายในรางกาย อ่ิมใจแชมชื่นใจ สุขกายสุขใจ ไมเจ็บไมปวดไมเมื่อยอยางไมเคยเปนมากอน สภาวะธรรม ๔ อยางน้ีคือ การนึก (วิตก), การพิจารณา (วิจาร), ปติ คือดีใจ ปลาบปลื้มใจ และ สุข คือเบาสบายในรางกาย สุขกายสุขใจ เหลาน้ีเกิดขึ้นอยางตอเน่ืองเหมือนเครื่องยนตที่สตารทติดแลวไมดับ เหมือนสายน้ําที่ไหลไมขาดตอน เรียกวามีอารมณเปนนํ้าหน่ึงเดียวกัน (เอกคตารมณ) หมายถึงสภาวะธรรมที่เปนบุญกุศลตาง ๆ สามัคคีกันมาเกิดรวมเกิดพรอมกันในกายในจิตของเรา ความเปลี่ยนแปลงน้ีเปนของดี เปนบุญเปนกุศลไมตองตกใจกลัว เพราะเปนสภาวะธรรมใหม ๆ ที่เราไมเคยสัมผัสมากอน ตัวอยางมิสไทยแลนด หรือนางงามจักรวาลไดมงกุฎเพชรมาครอง แลวนํ้าตาไหล สะอ้ืนตัวโยกสั่นเทิ้ม ไมใชเพราะญาติเสียแลวโศกเศรา แตเปนอาการปลาบปล้ืมปติอยางย่ิง ดีใจอยางย่ิงที่ควาชัยชนะมาครองสําเร็จ ผูปฏิบัติธรรมมีปติสุขนํ้าตาไหล น่ันก็เปนชัยชนะที่สามารถเอาชนะเคร่ืองกั้นความดีของจิตใจ คือนิวรณ๑ ๕ ไดน่ันเอง

๑ นิวรณ, นิวรณธรรม ธรรมท่ีกั้นจิตไมใหบรรลุความดี, ส่ิงท่ีขัดขวางจิตไมใหกาวหนาในคุณธรรม มี ๕ อยาง คือ ๑. กามฉันท พอใจในกามคุณ ๒. พยาบาท คิดรายผูอ่ืน ๓. ถีนมิทธะ ความหดหูซึมเซา ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ความฟุงซานและรําคาญ ๕. วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

10

ใครท่ีปฏิบัติมาถึงขั้นน้ีแลว มีวิตก วิจาร ปติ สุข มีอารมณสามัคคีเปนหน่ึงแลวอยางน้ีเรียกวา ทานบรรลุธรรมแลว คือ บรรลุปฐมฌานท่ีเปนโลกียะธรรม๒ อยางน้ีก็ถือวา เปนอุตริมนุษยธรรม อันย่ิงของมนุษยแลว แตไดเพียงครึ่งเดียว ถาใหไดเต็มสมบูรณตองเห็นรูปกายตนเองในมโนภาพ หรือความคิดชัดเจนแจมใสดวย จึงจะบรรลุปฐมฌานที่เปนรูปฌานที่สมบูรณ ถึงแมจะไดครึ่งเดียว แตจิตก็สงัดจากกามสงัดจากอกุศล เปนจิตพรหมจรรย ตายตอนน้ีตายขณะน้ีก็สามารถไปเกิดเปนเทวดาได ยังไมถึงขั้นพรหม จะเปนพรหมตองเจริญพรหมวิหาร๓ ๔ เพิ่มเติมใหเปนอุปนิสัยกอนจึงจะไปเกิดในพรหมโลกได ชาวพรหมโลกเขาจึงจะตอนรับเขาหมูเขาพวกเขาบานเขา แตในการเจริญวิปสสนาน้ัน ไดปฐมฌานคร่ึงหน่ึงดีกวาไดเต็ม เพราะเปนปฐมฌานที่ไมมีนิมิตเคร่ืองหมายในตัวอยูแลว ดีอยูแลว ไมตองเจริญไตรลักษณเพื่อละรูปนิมิตออกจากใจมากมายเทาผูที่ไดรูปฌานเต็มสมบูรณ เพราะไดอยางน้ีแลว เพียงแตเอาปญญาเคร่ืองทําลายกิเลสใสเขาไปในจิต ก็สามารถบรรลุธรรมเบื้องสูงไดย่ิงๆ ขึ้นไปอยางรวดเร็วกวาดวยครับ

จิตที่ต้ังมั่นไมหวั่นไหวดั่งภูเขาศิลา

ไมกําหนัดในอารมณ อันเปนที่ต้ังแหงความกาํหนัด ไมโกรธในอารมณ อันเปนที่ต้ังแหงความโกรธ

จิตของบุคคลใด อบรมไดดั่งน้ี ความทุกขจะมีมาแตที่ใดเลา ?

๒ โลกียธรรม ธรรมอันเปนวิสัยของโลก, สภาวะเนื่องในโลก ไดแกขันธ ๕ ท่ียังมี อาสาวะท้ังหมด; คูกับ โลกุตตระธรรม ๓ พรหมวิหาร ธรรมเคร่ืองอยูของพรหม, ธรรมประจําใจอันประเสริฐ, ธรรมประจําใจของทานผูมีคุณความดียิ่งใหญมี ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

11

บทท่ี ๒ พิจารณารางกายน้ีโดยความเปนของไมงาม

เมื่อบรรลุปฐมฌานอันเปนโลกียะแลว อยาเพิ่งลุกขึ้นจากอาสนะ ใหใชสมถะและวิปสสนาเปนอุปการะแกการบรรลุธรรมสืบตอไปครับ ใหผูปฏิบัติพึงรักษาปติสุขในปฐมฌานไวใหดี อยาใหเสื่อมไป เพราะปติสุขเปนเคร่ืองหมายบงบอกวาขณะน้ันจิตเราเปนกุศล เปนจิตที่ดี แลวนอมจิตนอมใจขณะต้ังอยูในปฐมฌานน้ัน มาพิจารณารางกายนี้โดยความเปนของไมงามวา เราน้ันจะตองตาย รางกายน้ีจะตองเนาเปอยผุพังไป ไมมีอะไรเปนเราเปนของเรา ใหสอนตนเองอยูอยางน้ี อบรมตนเองอยูอยางน้ีใหสลดสังเวชในการเวียนตายเวียนเกิดในวัฏฏะสงสาร

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

12

หายใจลึก ๆ รักษาปติสุขในปฐมฌานอยาใหเสื่อมตอไป แลวเปลี่ยนคําทองเสียใหม ทองในใจใหมวา กายไมงาม ๆๆๆๆๆๆๆ และพิจารณากายเราน้ีโดยความเปนของไมงามตามความเปนจริง การหายใจลึกๆ แลวทองวา กายไมงาม ๆๆๆๆๆๆๆ อยางน้ีก็เรียกวา มีวิตก วิจาร เหมือนเดิม มีอาการเย็นซาบซานไปทั่วตัวตลอดแขนขา หรือเกิดอาการขนลุก หรือนํ้าตาไหล หรือตัวสูง หรือตัวพอง หรือตัวใหญ หรือตัวโยก หรือตัวโคลง หรือตัวสั่น หรือตัวแนนตัวคับเหมือนใครจับมัด หรือตัวหมุน หรือตัวลอยขึ้นจากพื้น อยางใดอยางหน่ึงปรากฏ หรือหลายๆ อยางปรากฏพรอมกันก็ได เรียกวามีปติ อยูเหมือนเดิม มีสุข คือเบาสบายในรางกาย อ่ิมใจแชมชื่นใจ สุขกายสุขใจ ไมเจ็บไมปวด ไมเมื่อย อยูเหมือนเดิม

สภาวะธรรม ๔ อยางน้ีคือการนึก (วิตก), การพิจารณา (วิจาร), ปติ คือดีใจ ปลาบปลื้มใจ และ สุข คือเบาสบายในรางกาย สภาวะธรรมเหลาน้ีเกิดขึ้นอยางตอเน่ืองเหมือนเครื่องยนตที่สตารทติดแลวไมดับ เหมือนสายน้ําที่ไหลไมขาดตอน เรียกวามีอารมณเปนนํ้าหน่ึงเดียวกัน (เอกคตารมณ) หมายถึงสภาวะธรรมที่เปนบุญกุศลตางๆ สามัคคีกันมาเกิดรวมเกิดพรอมกันในกายในจิตของเรา เหมือนเดิม แตตางกันตรงปญญาเคร่ืองทําลายกิเลสน้ันตางกัน จิตใจจะเร่ิมถอนออกจากความยึดมั่นถือมั่นในกายน้ีวาตัววาตน วาเราวาของเราไดมากขึ้นๆ จนไมอาลัยในกาย

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

13

น้ีไดเด็ดขาด ไมกลัวตาย ไมอาลัยอาวรณในมนุษยสมบัติ สวรรคสมบัติ และพรหมสมบัติ มีแตจะเบ่ือและหนายในรายกายและภพชาติ เรียกวาละ สักกายทิฏฐิ คือความยึดมั่นถือมั่นในกายน้ีวาตัวตน วาเราวาของเราออกจากจิตใจได

อยางน้ีเรียกวาทานบรรลุธรรมแลวเหมือนกัน คือบรรลุปฐมฌานที่เปนโลกียะธรรม แตมีกิเลสบางเบาลงกวาเดิม เปนปฐมฌานท่ีประกอบดวยปญญาเคร่ืองทําลายกิเลสคือราคะ โลภะ โทสะ โมหะอยางหยาบลงไปได อยางน้ีก็ถือวา เปนอุตริมนุษยธรรมอันย่ิงของมนุษยแลวเชนกัน

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

14

บทท่ี ๓ ทําสัทธาใหม่ันคงในคุณของพระพุทธเจา คุณของพระธรรม

คุณของพระสงฆ และบทอรหัตตมัคค

ขั้นตอนน้ีเปนขั้นตอนสําคัญของการปฏิบัติ นักปฏิบัติสวนใหญพลาดในธรรม พลาดในศาสนาของพระสมณะโคดม ประมาทในศาสนาของพระสมณะโคดม มักเกิดในขั้นตอนน้ีครับ สภาวะธรรมที่ชื่อวา วิตก วิจาร ปติ สุขและเอกคตารมณ ในปฐมฌาน เกิดขึ้นในผูปฏิบัติธรรมไดในบทที่ ๑ – ๒ เพราะมีสัทธาเปนแรงผลักดัน เพราะมีสัทธาเปนแรงชักจูงใจ ใหองคธรรมที่เปนบุญกุศลตาง ๆ เกิดรวมเกิดพรอมในตัวผูปฏิบัติน่ันเอง

เมื่อจิตคอย ๆ ถอนความยึดมั่นถือมั่นในกายน้ีวาตัวตน วาเราวาของเราไดมาก ไดหางพอสมควรแลว ผูปฏิบัติพึงอยาประมาท ใหหายใจลึก ๆ ทําจิตใจใหเขมแข็ง มีกําลังแกกลาสืบไป นอมจิตนอมใจมาทําสัทธาใหมั่นคงในคุณของพระพุทธเจา คุณของพระธรรม คุณของพระสงฆ

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

15

ที่สําคัญคือทําสัทธาใหมั่นคงในสภาวะธรรมที่เกิดขึ้นคือปติ สุข อุเบกขา และทําสัทธาใหมั่นคงในบทอรหัตตมัคคที่เราชอบและเลือกไวแลว ซึ่งจะตองมีความพอใจในบทอรหัตตมัคค (ฉันทะ) มีความเพียรเจริญบทอรหัตตมัคค (วิริยะ) มีความต้ังใจจดจอแนวแนในบทอรหัตตมัคค (จิตตะ) มีความใครครวญปฏิบัติตอเน่ืองในบทอรหัตต-มัคค (วิมังสา) เชน

ความโศกทั้งหลาย ยอมไมมีแกผูมีจิตมัน่คง ไมประมาท

เปนมนุีผูศึกษาในทางแหงมโนปฏิบัติ ผูคงที่ สงบระงับแลวมสีติในกาลทุกเมื่อ

ใหเชื่อมั่น เชื่อใจ ไววางใจวาคุณของพระพุทธเจา คุณของพระธรรม คุณของพระสงฆ ตลอดจนการอบรมจิตดวยบทอรหัตตมัคค และสภาวะธรรมท่ีเกิดขึ้นในกายจิตผูปฏิบัติ คือปติสุขในปฐมฌานขณะน้ีน่ีดีจริงๆ ใหคุณประโยชนแกเราจริงๆพรอมกับหายใจลึกๆ เต็มปอด แลวทองอรหัตตมัคคในใจ แทนคําวา กายไมงามๆๆ ทองวา

ความโศกทั้งหลาย ยอมไมมีแกผูมีจิตมัน่คง ไมประมาท

เปนมนุีผูศึกษาในทางแหงมโนปฏิบัติ ผูคงที่ สงบระงับแลวมสีติในกาลทุกเมื่อ

อาจยาวสักหนอย แตวัฏฏะน้ันยาวกวาครับ ใหทองซ้ําๆ เปนรอยเท่ียวพันเที่ยว และนอมจิตนอมใจใหสัทธาในการปฏิบัติตามบทอรหัตตมัคคน้ีอยางจริงจัง ไมถอยกลับ เมื่อมีสัทธาม่ันคงในบทอรหัตตมัคคที่ปฏิบัติตาม มีสัทธามั่นคงในคุณของพระพุทธเจา คุณของพระธรรม คุณของพระสงฆ และสภาวะธรรมที่เกิดขึ้นในตัว

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

16

ผูปฏิบัติแลว ยอมละความลังเลสงสัยในใจไปได ยอมละความประมาทในธรรมที่เกิดขึ้นได ของดีมีแลวตองรักษาไวใหดีฉันใด กุศลธรรมท่ีบรรลุแลวเกิดขึ้นบัณฑิตยอมตองรักษาไวใหเต็มเปยมบริบูรณเชนกัน เมื่ออินทรียคือสัทธาแกกลา อินทรียอ่ืน ๆ ยอมเกิดรวมเกิดพรอมแกกลาตามมาดวย เชนมีความเพียร มีสติ มีสมาธิ มีปญญา มีจิตใจที่เขมแข็ง มีโสมนัส ( คือปติสุขน่ันเอง ) เหมือนมีชีวิตใหมเปนคนใหมในกุศลธรรม กุศลธรรมเหลาน้ีเกิดรวมเกิดพรอมในกายจิต สังเกตงาย ๆ ย่ิงสัทธาในอรหัตตมัคคมากเทาใด ก็ย่ิงมีโสมนัส คือมีปติสุขในกายจิตจะไมเสื่อมนานเทาน้ัน ปฐมฌานหรือฌานเบื้องสูงกวาน้ีก็จะไมเสื่อมไปจากตัวผูปฏิบัติธรรม เมื่อผูปฏิบัติธรรมมีสัทธามั่นคงในคุณของพระพุทธเจา คุณของพระธรรม คุณของพระสงฆ ที่สําคัญคือทําสัทธาใหมั่นคงในสภาวะธรรมท่ีเกิดขึ้นและอรหัตต-มัคค วาคุณของพระพุทธเจา คุณของพระธรรม คุณของพระสงฆ และสภาวะธรรมท่ีเกิดขึ้นในตัวผูปฏิบัติ คือปติสุขในปฐมฌานน้ีดีจริง ๆ ใหคุณประโยชนแกเราจริง ๆ กิเลสเคร่ืองรอยรัดในจิต คือความลังเลสงสัย (วิจิกิจฉา) ยอมถูกกําจัดทําลายไปเรื่อย ๆ การที่มีผูปฏิบัติจํานวนมากไดปติสุขแลวละทิ้งเสียบาง สัทธาในการปฏิบัติยอหยอนไปบาง มีภารกิจอ่ืนมาชักจูงใหฟุงซานตามไปเสียบาง ระลึกถึงคุณพระรัตนตรัยยอหยอนไปบาง ลุกไปทํากิจอยางอ่ืนเสียกอนบาง โสมนัสคือปติสุขยอมเกิดไมได หรือเกิดแตไมมีกําลังพอจะไปประหารกิเลส คือความลังเลสงสัยในธรรมออกจากใจไปได จึงนาเสียดายการปฏิบัติที่ผาน ๆ มา ที่ไดไมเทาเสีย แลวสัทธาตอพระรัตนตรัยและสภาวะธรรมที่เกิดขึ้นระดับไหนจึงจะทําลายกิเลสเคร่ืองรอยรัดไดกันเลา ? ก็สัทธาที่จดจอต้ังมั่นในบทอรหัตตมัคค จนเกิดปติสุขไดมั่นคงน่ันเอง ความลังเลสงสัยคือวิจิกิจฉา จึงจะถูกทําลายถูกกําจัดไปไดราบคาบ สัทธาจริงแตกําลังสัทธานอย ปติสุขอุเบกขายังเกิดขึ้นไมได การบรรลุธรรมยอมเกิดขึ้นไมไดเชนกัน

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

17

เมื่อปฏิบัติอบรมจิตใหสัทธาในอรหัตตมัคคมาถึงขั้นน้ี สภาวะธรรม ๔ อยางน้ีคือการนึก (วิตก), การพิจารณา (วิจาร), ปติ คือดีใจ ปลาบปลื้มใจ และสุข คือเบาสบายในรางกาย เหลาน้ีเกิดขึ้นอยางตอเน่ืองเหมือนเครื่องยนตที่สตารทติดแลวไมดับ เหมือนสายน้ําที่ไหลไมขาดตอน เรียกวามีอารมณเปนหน่ึงเดียว (เอกคตารมณ) หมายถึงสภาวะธรรมที่เปนบุญกุศลตาง ๆ สามัคคีกันมาเกิดรวมเกิดพรอมกันในกายในจิตของเรา เหมือนเดิม แตปญญาเคร่ืองทําลายกิเลสเฉียบคมขึ้น จิตเปนสมาธิต้ังมั่นมากขึ้น ไมซัดสายไปตามรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และ ธัมมารมณภายนอก น่ันแสดงถึงสัทธาที่คงมั่นตอคนดีและความดีที่เรากําลังประพฤติปฏิบัติกันอยู ใครทําไดอยางน้ีความลังเลสงสัยในสภาวะธรรมที่เกิดขึ้นของตนและความลังเลสงสัยใน คุณของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ และบทอรหัตตมัคค ยอมถูกกําจัดไป

ธรรมท้ังปวงเกิดแตเหตุ เมือ่จะดับก็ดับท่ีเหตุนั้น พระตถาคตเจาตรัสเหตุแหงธรรมเหลานัน้

และความดับแหงธรรมเหลานัน้ดวย พระมหาสมณะเจามีปกติตรัสอยางนี ้

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

18

บทท่ี ๔ ย่ิงอบรม จิตย่ิงบริสุทธิ์หลุดพนจากบาปเวร

เมื่อสัทธามั่นคงในสภาวะธรรมท่ีเกิดขึ้นของตนและสัทธามั่นคงในคุณของ

พระพุทธ พระธรรม พระสงฆแลว จิตเปนสมาธิต้ังมั่นดีแลว ปญญาเฉียบคมดีแลว ใหนอมจิตนอมใจพิจารณาวาเราน้ันไดเวียนตายเวียนเกิดมาแลวนับชาติไมถวน นับวันเวลาไมถวน ชาติใดที่เรากอเวรดวยการฆาสัตวตัดชีวิต เอาของที่ผูอ่ืนไมไดให ประพฤติผิดในกาม กลาวมุสาวาท และเสพสิ่งเสพติดมึนเมา เวร ๕ ประการนี้น่ีแหละที่เปนเหตุเปนปจจัยใหเราตองเวียนตายเวียนเกิดเปนสัตวนรกบาง เปนเปรตบาง เปนอสุรกายบาง เปนสัตวเดรฉานบาง เปนมนุษยก็เปนมนุษยที่ขัดสนจนยาก มีอายุขัยสั้น มีโรคภัยไขเจ็บเบียดเบียน ตองเวียนตายเวียนเกิดอยูแตในโลกแหงความทุกขอันยาวนาน

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

19

แตชาติใดที่เราหมั่นใหทาน หมั่นรักษาศีล ไมประมาทในศีล

หมั่นคบบัณฑิต คบกัลยาณมิตร หมั่นฟงธรรมของพระพุทธเจา

กุศลผลบุญที่ไดสั่งสมไวแลวในชาติน้ัน ๆ ยอมเปนเหตุเปนปจจัยใหถึงพรอมดวยมนุษยสมบัติ นับแตตายเมื่อกายแตกยอมทองเที่ยวอยูแตในโลกของความสุข คือโลกมนุษย โลกสวรรค และพรหมโลก มีความสุขอันยาวนาน น่ีเปนอานิสงสของความไมประมาทในทาน ศีล และเมตตาธรรม เมื่อปฏิบัติมาถึงขั้นตอนน้ีใหผูปฏิบัติ หายใจลึก ๆ พรอมกับทองในใจวาจิตมั่นคง ๆๆๆ ตามบทอรหัตตมัคคน้ัน หรือจะทองเต็ม ๆ วา

ความโศกท้ังหลาย ยอมไมมีแกผูมีจิตมั่นคง ไมประมาท

เปนมุนีผูศึกษาในทางแหงมโนปฏิบัติ ผูคงที่ สงบระงับแลวมีสติในกาลทุกเมือ่

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

20

ตามน้ีสืบไปก็ได การทุมเทแรงกายแรงใจอบรมจิตดวยปญญาอยางน้ี จิตยอมบริสุทธิ์ขาวรอบ เปนจิตที่ต้ังมั่น เปนจิตที่มีอํานาจ ออน ควรแกการงาน ยอมปดประตูอบายเพราะในปจจุบันขณะน้ีผูปฏิบัติไมมีเจตนาแมแตนอยที่จะไปกอเวรใด ๆ ศีลของ ผูปฏิบัติยอมบริสุทธิ์ดวยการอบรมจิตตนอยูอยางน้ี เปนการละความประมาทในศีลออกไปได

การหายใจลึก ๆ แลวทองในใจ อบรมในใจดวยบทอรหัตตมัคค ไมงอนแงน ไมคลอนแคลน ผูปฏิบัติยอมประหารกิเลสสังโยชนไดตามลําดับ เพราะจิตใจนอมไปเพื่อการประพฤติปฏิบัติตามบทอรหัตตมัคคอยางน้ันจริง ๆ อยางน้ีเรียกวา มีวิตก มีวิจาร การหายใจลึกๆ เมื่ออบรมจิตใหเปนไปเพื่อการประพฤติปฏิบัติตามบท อรหัตตมัคคอยางน้ันจริงๆ แลวเกิด เย็นซาบซานต้ังแตทายทอยจนถึงกระหมอม จนถึงแผนหลัง จนซาบซานไปทั่วตัวตลอดแขนขา หรือเกิดอาการขนลุก หรือนํ้าตาไหล หรือตัวสูง หรือตัวพอง หรือตัวใหญ หรือตัวโยก หรือตัวโคลง หรือตัวสั่น หรือตัวแนนตัวคับเหมือนใครจับมัด หรือตัวหมุน หรือตัวลอยขึ้นจากพื้น อยางใดอยางหน่ึงปรากฏ หรือหลาย ๆ อยางปรากฏพรอมกันก็ได อยางน้ีเรียกวา มีปติ เหมือนเดิม มีสุข คือเบาสบายในรางกาย อ่ิมใจแชมชื่นใจ สุขกายสุขใจ ไมเจ็บไมปวดไมเมื่อยอยางเดิม สภาวะธรรม ๔ อยางน้ีคือการนึก (วิตก), การพิจารณา (วิจาร), ปติ คือดีใจ ปลาบปลื้มใจ และสุข คือเบาสบายในรางกาย เหลาน้ีเกิดขึ้นอยางตอเน่ืองเหมือนเครื่องยนตที่สตารทติดแลวไมดับ เหมือนสายน้ําที่ไหลไมขาดตอน เรียกวามีอารมณเปนหน่ึงเดียว (เอกคตารมณ) หมายถึงสภาวะธรรมที่เปนบุญกุศลตาง ๆ สามัคคีกันมาเกิดรวมเกิดพรอมกันในกายในจิตของเราเหมือนเดิม ใครทําไดอยางน้ีเรียกวา บรรลุปฐมฌานที่เปนโลกุตตระ เพื่อพนจากโลกพนไปจากวัฏฏะ เปนฌานที่นําออกไปจากโลก นําไปสูพระนิพพาน เพื่อบรรลุภูมิพระโสดาบัน เพื่อละความยึดมั่นถือมั่นในกายน้ีวาตัววาตน วาเราวาของเรา เพื่อละความลังเลสงสัยในธรรมท่ีเกิดขึ้นละความลังเลสงสัยในคุณของพระรัตนตรัย และเพื่อละ

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

21

ความประมาทในศีลใหหมดสิ้น จิตน้ันเปนกุศลจิตที่สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายแลว บรรลุปฐมฌาน มีวิตก วิจาร ปติ สุข และเอกคตารมณ ใครทําไดอยางน้ีเรียกวา บรรลุโสดาปตติมัคค แตบรรลุโสดาปตติมัคคน้ันบรรลุเพียง ๑ ขณะจิตเทาน้ัน ตอจากน้ันจะเปนโสดาปตติผลตามมาทันที บางคนอาจสงสัยวา เอะ ฉันก็ปฏิบัติตามอาจารยสอนเหมือนกันน่ีนา ทํามาก็หลายรอบ ไมเห็นเปนพระโสดาบันกับเขาสักที บทอรหัตตมัคคก็ทอง ปติสุขก็เกิดแบบปฐมฌานตามน้ันเปะเลย ทําไมยังไมใชพระโสดาบันสักที อบรมน้ันอบรมจิตจริง จิตจดจอกับอารมณน้ันไดจริง แตถาสักกายะทิฏฐิยังละไดไมจริง ยังกลัวตาย กลัวอด ยังอาลัยอาวรณในรางกาย ในบุตรในธิดา อาลัยอาวรณในสามีในภรรยาและทรัพยสมบัติอยูอีก สัทธาในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆจริงมีปติจริง แตสัทธาในสภาวะธรรมของตนเองน่ีสิยังไมจริง ฌานยังเสื่อมไดอยู ยังติด ๆ ดับ ๆ อยู เพราะในเมื่อตนเองก็เปนพระอริยะดวย ผูปฏิบัติจึงตองสัทธาในตนเองดวย ศีลก็รักษาไดไมกอเวรตามนั้นจริง แตถาเปนศีลที่ไมกอใหเกิดปติสุขโสมนัส อยางน้ีก็ยังไมใชพระโสดาบันครับ เขาเรียกวา อนุโลมจิตหรือโคตรภูจิต คือขั้นเตรียมความพรอมครับ เตรียมความพรอมเก็บขาวของจากบานเกา กอนยายบานจากบานเกาไปอยูบานใหมคือดับขันธปรินิพพาน ยังอยูในฝงวัฏฏะ ยังอยูในฝงโลกียะ ยังไมไดขึ้นยานพาหนะเดินทางไปสูภูมิโลกุตตระครับ คนบรรลุพระโสดาบันน้ัน จริงๆแลวคลายกับผูบรรลุโลกียะฌานมาก แตตางกันตรงปญญาเคร่ืองทําลายกิเลสท่ีตางกัน ใหพิจารณาวา โสดาปตติมัคค (คือเหตุ) เริ่มตนที่ปฐมฌาน มีปฐมฌานเปนบาท มีปติสุขเปนเหตุใหจิตสงัดจากกามสงัดจากอกุศลเปนเหตุเริ่ม จิตพระโสดาปตติผล (ผลลัพธ) จิตจึงตองสงัดจากกามสงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายเปนผลดวย จิตพระโสดาปตติผลจึงตองมีปติสุขอุเบกขาเปนผลรองรับ (คือมีปฐมฌาน หรือทุติยฌาน หรือตติยฌาน หรือจตุตถฌาน เปนบาทรองรับ) คือไมเสื่อมจากฌาน มีฌานไมเหินหาง หรือมีปติสุขอุเบกขาเกิดสืบเน่ืองไปตลอดชีวิตน่ันเอง หมายถึงวา ไมวาจะนั่ง นอน ยืน เดิน พูดคุย หรือทําการงาน

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

22

หรือทํากิจกรรมใด ปติสุขอุเบกขาจะเกิดเปนบาทรองรับสืบเน่ืองไปไดเอง โดยไมตองเพียรเพงจดจอหายใจลึก ๆ แบบเกา ๆ เดิม ๆ เชนปุถุชนกันอีกตอไป เพราะมาถึงขั้นน้ี หายใจลึก ๆ หรือเบา ๆ หรือหยุดไมไดสนใจลมหายใจเขาออก ปติสุขอุเบกขาก็เกิดไดเสมอทุกเวลาทุกสถานที่ ดีอยางน้ีน่ีเอง ไมตองหาบานใหม รถใหม อัตราเงินเดือนใหม สามีภรรยาใหม ไมตองเส่ียง ลุนเสาะหาสิ่งใหมๆ ใดๆ ใหเหน่ือยแรง ก็มีความสุขในชีวิตไมรูจักจบสิ้นแลวครับ เมื่อทุมเทแรงกายแรงใจอบรมจิตดวยปญญาเจริญอรหัตตมัคคอบรมจิตเปนปจจุบันขณะ ไมงอนแงน ไมคลอนแคลน อยางน้ี จิตยอมบริสุทธิ์ขาวรอบ เปนจิตที่ต้ังมั่น เปนจิตที่มีอํานาจ ออน ควรแกการงาน ก็อยาเพิ่งลุกขึ้นจากอาสนะ พึงเจริญบทอรหัตตมัคคตอไป จนกวาจะบรรลุโสดาปตติมัคคจิต โสดาปตติผลจิต สกทาคามีมัคคจิต สกทาคามีผลจิต อนาคามีมัคคจิต อนาคามีผลจิต อรหัตตมัคคจิต และอรหัตตผลจิต ตามลําดับครับ

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

23

บทท่ี ๕ สรุปขั้นตอนการปฏิบัติธรรมตั้งแตตนจนบรรลุอริยะธรรม

๑. เมื่อไดสถานที่และไดทาน่ังที่สบายแกตนเองแลว ใหน่ังตัวตรง หลับตา

หายใจลึกๆ เต็มปอดใหสม่ําเสมอไปเรื่อยๆ แลวนอมความคิด ( หรือจิต ) มารับรูรางกายของตัวเราเอง ทองในใจวารางกาย ๆๆๆๆๆ หรือกาย ๆๆๆๆๆ ก็ได ตัดความยินดียินราย หรือตัดความสนใจตอรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธัมมารมณอันเปนสิ่งแวดลอมภายนอก สนใจแตภายในรางกาย ต้ังใจวาภายนอกฟาจะถลม แผนดินจะทลายก็จะไมสนใจหว่ันไหว ต้ังใจวาจะน่ังหายใจลึกๆ เต็มปอดเพื่อทําใหจิตใจมีกําลังเขมแข็ง และทองแตเพียงวารางกาย ๆๆๆ หรือกาย ๆๆๆ เทาน้ัน จนบรรลุปฐมฌาน มีวิตก วิจาร ปติ สุขและเอกคตารมณ ๒. หายใจลึก ๆ เต็มปอดใหสม่ําเสมอไปเรื่อย ๆ แลวนอมความคิด ( หรือจิต ) มารับรูรางกายของตัวเราเองโดยความเปนของไมงาม ทองในใจวา กายไมงาม ๆๆๆ บรรลุปฐมฌาน มีวิตก วิจาร ปติ สุขและเอกคตารมณ จิตมีปญญาเคร่ืองทําลายกิเลสสามารถละความยึดมั่นถือมั่นในกายน้ีวาตัววาตน วาเราวาของเราออกไปจากใจ ๓. เจริญอรหัตตมัคค ทําสัทธาใหมั่นคงในบทอรหัตตมัคค เชน

ความโศกทั้งหลาย ยอมไมมีแกผูมีจิตมัน่คง ไมประมาท

เปนมนุีผูศึกษาในทางแหงมโนปฏิบัติ ผูคงที่ สงบระงับแลวมสีติในกาลทุกเมื่อ

และมีสัทธามั่นคงในคุณของพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ และสัทธามั่นคงในสภาวะธรรมท่ีเกิดขึ้นไมถอยไมคลาย บรรลุปฐมฌาน มีวิตก วิจาร ปติ สุขและ

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

24

เอกคตารมณ จิตมีปญญาเคร่ืองทําลายกิเลส สามารถละความลังเลสงสัยในคุณพระรัตนตรัย ละความลังเลสงสัยในบทอรหัตตมัคค และสภาวะธรรมท่ีเกิดขึ้น ออกไปจากใจ ๔. เจริญบทอรหัตตมัคค ทําจิตใหมั่นคงตอไป ทุมเทแรงกายแรงใจอบรมจิตดวยปญญาเจริญอรหัตตมัคคอบรมจิตเปนปจจุบันขณะ ทองในใจวา จิตมั่นคง ๆๆๆ ไมงอนแงน ไมคลอนแคลน อยางน้ี จิตยอมบริสุทธิ์ขาวรอบ เปนจิตที่ต้ังมั่น เปนจิตที่มีอํานาจ ออน ควรแกการงาน บรรลุปฐมฌาน มีวิตก วิจาร ปติ สุขและเอกคตารมณ จิตมีปญญาเครื่องทําลายกิเลส สามารถละความประมาทในศีล และความประมาทในสภาวะธรรมท่ีเกิดขึ้น ออกไปจากใจ เปนการปดประตูอบาย ๕. ทุมเทแรงกายแรงใจอบรมจิตดวยปญญาเจริญอรหัตตมัคคอบรมจิตเปนปจจุบันขณะ ทองในใจวา จิตมั่นคง ๆๆๆ ไมงอนแงน ไมคลอนแคลน อยางน้ีตอไป จนจิตยอมบริสุทธิ์ขาวรอบ เปนจิตที่ต้ังมั่น เปนจิตที่มีอํานาจ ออน ควรแกการงาน อยาเพิ่งลุกขึ้นจากอาสนะ ย่ิงทําใหจิตบรรลุกําลังแหงอภิญญา คือจิตที่มีปญญารูย่ิงรูพิเศษไดย่ิงดี และพึงเจริญบทอรหัตตมัคคตอไป จนกวาจะบรรลุโสดาปตติมัคคจิต โสดาปตติผลจิต สกทาคามีมัคคจิต สกทาคามีผลจิต อนาคามีมัคคจิต อนาคามีผลจิต อรหัตตมัคคจิต และอรหัตตผลจิต ตามลําดับครับ

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

25

บทท่ี ๖

รูไดอยางไรวาเราบรรลุธรรม ?

เหตุแรกเริ่มของการบรรลุธรรม เริ่มจากจิตที่สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายในปฐมฌาน มีวิตก วิจาร ปติ สุขและเอกคตารมณ

เมื่อบรรลุผลธรรมจิตยอมสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมเปนผลเชนกัน มีวิตก วิจาร ปติ สุขและเอกคตารมณ ในปฐมฌานมาเปนบาทรองรับผล

หรือมี ปติ สุขและเอกคตารมณ ในทุติยฌานมาเปนบาทรองรับผล หรือมี สุข และเอกคตารมณ ในตติยฌานมาเปนบาทรองรับผล หรือมีเอกคตารมณและอุเบกขา ในจตุตถฌานมาเปนบาทรองรับผล

คือมีฌาน หรือปติ สุข อเุบกขา ไมเส่ือมไปนัน่เอง สรุปการตรวจสอบวาเราบรรลุธรรมแลวเปนอยางไร ?

น่ันคือเราเปนคนใหมแตกตางจากคนเดิม มีปติสุขและอุเบกขาในธรรม ชื่นชมยินดีในธรรม ดับทุกขไดสิ้นเชิง และมีปญญาญาณพิเศษเกิดรวมดวยเปนของแถม ๑. บรรลุโลกียะปฐมฌาน จิตเปนจิตที่สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายในปฐมฌาน มีวิตก วิจาร ปติ สุขและเอกคตารมณ หรือฌานที่ ๑ มีคําทอง มีลมหายใจชัดเจนอยู ๒. บรรลุโลกียะทุติยฌาน จิตเปนจิตที่สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายในทุติยฌาน มี ปติ สุขและเอกคตารมณ คือแมจะเลิกทองเลิกบริกรรมในใจ เพียงหายใจลึก ๆ อยางเดียวตอไป ปติสุข ก็เกิดตอเน่ืองสืบไป อยางน้ีเรียกบรรลุทุติยฌานหรือฌานที่ ๒ ๓. บรรลุโลกียะตติยฌาน จิตเปนจิตที่สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายในตติยฌาน มีสุขและเอกคตารมณ คือแมจะเลิกทองเลิกบริกรรมในใจ

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

26

เพียงหายใจลึก ๆ เบา ๆ อยางเดียวตอไป ความสุข ก็เกิดตอสืบตอไป แตอาการปติโยกโคลง นํ้าตาไหลน้ันหายไปสงบระงับไป รูสึกตัวแนนตัวคับขึ้นเหมือนใครจับมัด อยางน้ีเรียกบรรลุตติยฌานหรือฌานที่ ๓ ๔. บรรลุโลกียะจตุตถฌาน จิตเปนจิตที่สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายในจตุตถฌาน มี เอกคตารมณ และอุเบกขา เลิกทองเลิกบริกรรมในใจ จิตใจวางเฉยตอสิ่งที่มากระทบ รูสึกตัวแนนตัวคับมากเหมือนใครจับมัด ลมหายใจหยุด วางเฉยอยูไดนานสืบไป ไมหวั่นไหว จิตมีกําลังเขมแข็ง อยางน้ีเรียกวาบรรลุจตุตถฌาน หรือฌานที่ ๔ ๕. บรรลุพระโสดาปตติผล จิตประกอบดวยปญญาทําลายความยึดมั่นถือมั่นในกายน้ีวาตัววาตน วาเราวาของเราได ๑ ทําลายความลังเลสงสัยไดอีก ๑ ทําลายความประมาทในศีลและในการอบรมจิตดวยอรหัตตมัคคอีก ๑ มีปติ สุข อุเบกขาในฌาน ๑-๒-๓-๔ แบบขอ ๑-๔ มาเปนบาทรองรับปญญาน้ี มีฌานไมเสื่อมเพราะมีฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา เกิดขึ้นดวย และอาจมีปญญาญาณพิเศษท่ีเรียกวา โลกียะปฏิสัมภิทาเกิดรวมดวย เชน มีอิทธิฤทธิ์ มีหูทิพย ตาทิพย รูจักจิตใจผูอ่ืน และระลึกชาติไดเปนของแถมดวย เปนตน ๖. บรรลุพระสกทาคามีผล นอกจากมีปญญาทําลายเคร่ืองรอยรัดจิตแบบ พระโสดาบันหมดสิ้นแลว ยังมีปญญารักษาสมาธิเพื่อทําลายราคะและพยาบาทยัง บางเบาลงไดอยางย่ิงเพิ่มอีกดวย จิตมีสมาธิมั่นคงมาก เสื่อมไดยาก หวั่นไหวไดยาก มีปติ สุข อุเบกขาในฌาน ๑-๒-๓-๔ มาเปนบาทรองรับปญญาน้ี มีฌานไมเสื่อมเพราะมีฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา เกิดขึ้นดวย และอาจมีปญญาญาณพิเศษท่ีเรียกวาโลกียะปฏิสัมภิทาเกิดรวมดวย เชน มีอิทธิฤทธิ์ มีหูทิพย ตาทิพย รูจักจิตใจผูอ่ืน และระลึกชาติไดเปนของแถมดวย เปนตนเหมือนกัน ๗. บรรลุพระอนาคามีผล มีปญญาทําลายเครื่องรอยรัดจิตไดเพิ่มอีก ๒ อยาง คือ ละกามราคะ และความโกรธไดหมดสิ้น ไมกําเริบกันอีก จิตเปนสมาธิมีตบะมั่นคงดีแลว สมาธิบริบูรณดีแลว ไมเสื่อมจากฌานแลวเพราะมีฉันทะ วิริยะ จิตตะ

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

27

วิมังสา บริบูรณ ต้ังมั่นไมหวั่นไหวแลว มีปติ สุข อุเบกขาในฌาน ๑-๒-๓-๔ มาเปนบาทรองรับปญญาน้ีตลอดชีวิต อาจมีปญญาญาณพิเศษที่เรียกวา โลกียะปฏิสัมภิทา เกิดรวมดวย เชน มีอิทธิฤทธิ์ มีหูทิพย ตาทิพย รูจักจิตใจผูอ่ืน และระลึกชาติไดเปนของแถมดวย เปนตนเชนกัน ๘. บรรลุพระอรหัตตผล มีปญญาทําลายเครื่องรอยรัดจิตไดเพิ่มอีก ๕ อยาง คือละรูปราคะ ละอรูปราคะ ละมานะ ละความฟุงซาน และละอวิชชาคือความ ไมรูจักอรหัตตมัคคอรหัตตผลไดหมดสิ้น

ความโศกทั้งหลาย ยอมไมมีแก ผูมีจิตมัน่คง ไมประมาท

เปนมนุีผูศึกษาในทางแหงมโนปฏิบัติ ผูคงที่ สงบระงับแลวมสีติในกาลทุกเมื่อ

น่ีคือสภาวะธรรม ของความเปนพระอรหันตครับ ใครปฏิบัติตามบทอรหัตตมัคคน้ีไดสําเร็จ ยอมมีปติ สุข อุเบกขาในฌาน ๑-๒-๓-๔ มาเปนบาทรองรับปญญาน้ีตลอดชีวิต มีฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา บริบูรณ ทําใหเปนดุจยานพาหนะไดแลว แลวดับขันธปรินิพพานไมเวียนตายเวียนเกิดกันอีก และอาจมีปญญาญาณพิเศษท่ีเรียกวา ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข ๘ อภิญญา ๖ และวิชชา ๓ เกิดรวมดวย เชนรูจักอรรถปฏิสัมภิทา รูจักธรรมปฏิสัมภิทา รูจักนิรุติปฏิสัมภิทา รูจักปฏิภาณปฏิสัมภิทา สามารถเขาสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติได มีอิทธิฤทธิ์ มีหูทิพย ตาทิพย รูจักจิตใจผูอ่ืน และระลึกชาติไดเปนของแถมดวย เปนตน ซึ่งจะไมขอกลาวไวในที่น้ี ใครตองการทราบก็มาเขาชั้นเรียนเพิ่มเติมเอาภายหลังได หนาท่ีตอนน้ีคือมุงใหบรรลธุรรมในอาสนะเดียวใหสําเร็จเสียกอนกแ็ลวกัน

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

28

บทท่ี ๗ อนุโมทนาสวนกุศลของทานทั้งหลาย

บัณฑิตเหลาใดไดฟง – ไดอานอรหัตตมัคคหลาย ๆ บท ในหนังสือเลมน้ีแลว เชนบทวา

เรายังมองไมเห็นความสวัสด ีจักมีแกสัตวท้ังหลาย

นอกจากปญญาและความเพียร นอกจากความสํารวมอินทรีย

และความสละวางทุกส่ิงทุกอยาง

หรือ

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

29

ความโศกทั้งหลาย ยอมไมมีแกผูมีจิตมัน่คง ไมประมาท

เปนมนุีผูศึกษาในทางแหงมโนปฏิบัติ ผูคงที่ สงบระงับแลวมสีติในกาลทุกเมื่อ

ยอมแบงบุคคลออกได ๔ จําพวก พวกที่ ๑. ยอมแทงตลอดในธรรมไดเพียงอานหรือฟงจบพระคาถาบทใดบทหน่ึง พวกที่ ๒. ยอมแทงตลอดในธรรมได ภายหลังเมื่อไดอานคําอธิบายชี้แจงขยายความ และทําความเขาใจเพิ่มเติมใหรูละเอียดลึกซึ้งย่ิงขึ้น พวกที่ ๓. ยอมแทงตลอดในธรรมได ภายหลังเมื่อไดอานคําอธิบายชี้แจงขยายความดวย ทําความเขาใจเพิ่มเติมใหรูละเอียดลึกซึ้งย่ิงขึ้นดวย และไดลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนการฝกปฏิบัติต้ังแตโลกียะปฐมฌาน ไปจนถึงความเปนพระอรหันต ตามลําดับดวย พวกที่ ๔. จิตชื่นชมยินดีในธรรม จิตยอมต้ังอยูในกองกุศล บรรลุโลกียะปฐมฌาน – บรรลุโลกียะทุติยฌาน – บรรลุโลกียะตติยฌาน และบรรลุโลกียะจตุตถฌาน ยอมจักทองเท่ียวอยูแตในโลกมนุษย โลกสวรรค และพรหมโลก ไมรูจักทุคติเลย และจักบรรลุโลกุตตระธรรม สิ้นอาสาวะกิเลสไดในภพตอ ๆ ไปไมเกินกัปที่แสนกัปนับแตกัปน้ี

บัณฑิตเหลาใดไดฟง – ไดอานอรหัตตมัคคหลาย ๆ บทในหนังสือเลมน้ี ไดปฏิบัติตามขั้นตอนปฏิบัติในหนังสือเลมน้ีแลว ทุก ๆ ทานประสงคสิ่งหน่ึงสิ่งใด ขอใหสําเร็จสิ่งน้ันโดยเร็ว ขอใหความดําริทั้งปวงจงเต็มเปยมดุจพระจันทรวันเพ็ญ

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

30

กิเลสเครือ่งกังวลใดมีอยูในกาลกอน เธอจงยังกเิลสเครื่องกังวลนั้น

ใหเหอืดแหงหายไป กิเลสเครือ่งกังวลใด

จงอยามแีกเธอในภายหลัง ถาเธอจักไมยึดถือขันธในทามกลาง

ก็จักเปนมนุีผูสงบระงับแลวเทีย่วไป....ดงันี ้

จิตท่ีต้ังมั่นไมหว่ันไหวดั่งภเูขาศิลา ไมกําหนดัในอารมณ

อันเปนท่ีต้ังแหงความกําหนัด ไมโกรธในอารมณ

อันเปนท่ีต้ังแหงความโกรธ จิตของบุคคลใด อบรมไดดัง่นี ้ความทุกขจะมีมาแตท่ีใดเลา ?

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

31

บทท่ี ๘ สาระดีๆ ทายบท

ธัมมปทัฏฐกถา ธัมมัฏฐวรรควรรณนา ๓. เรื่องพระเอกุทานเถระ [๑๙๖]

ขอความเบ้ืองตน พระศาสดา เมื่อประทับอยูในพระเชตวัน ทรงปรารภพระขีณาสพชื่อวาเอกุทาน

เถระ ตรัสพระธรรมเทศนาน้ีวา “น ตาวตา ธมฺมธโร” เปนตน พวกเทวดาใหสาธุแกเทศนาของพระเถระ ไดยินวา พระเถระน้ัน อยูในราวไพรแหงหน่ึงแตองคเดียว อุทานที่ทานช่ําชองมีอุทานเดียวเทาน้ันวา:-

“ความโศกท้ังหลาย ยอมไมมีแกบุคคลผูมีจิตม่ันคง ไมประมาท

เปนมุนี ผูศึกษาในทางแหงมโนปฏิบัติ ผูคงท่ี สงบระงับแลว มีสติในกาลทุกเม่ือ”

ไดยินวา ในวันอุโบสถ ทานปาวรองการฟงธรรมเอง ยอมกลาวคาถาน้ี เสียงเทวดาสาธุการดุจวาเสียงแผนดินทรุด ครั้นวันอุโบสถวันหน่ึงภิกษุผูทรงพระไตรปฎก ๒ รูป มีบริวารรูปละ ๕๐๐ ไดไปสูที่อยูของทาน ทานพอเห็นภิกษุเหลาน้ัน ก็ชื่นใจ กลาววา “ทานทั้งหลายมาในท่ีน้ีเปนอันทําความดีแลว, วันน้ี พวกกระผมจักฟงธรรมในสํานักของทานทั้งหลาย” พวกภิกษุ: ทานผูมีอายุ ก็คนฟงธรรมในที่น้ี มีอยูหรือ ?

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

32

พระเอกุทาน: มี ขอรับ, ราวไพรน้ี มีความบันลือลั่นเปนอันเดียวกัน เพราะเสียงเทวดาสาธุการในวันฟงธรรม

พวกเทวดาไมใหสาธุการแกเทศนาของภิกษุ ๒ รูป บรรดาภิกษุ ๒ องคน้ัน พระเถระผูทรงพระไตรปฎกองคหน่ึงสวดธรรม, องคหน่ึงกลาวธรรม เทวดาแมองคหน่ึงก็มิไดใหสาธุการ ภิกษุเหลาน้ัน จึงพูดกันวา “ทานผูมีอายุ ทานกลาววา ‘ในวันฟงธรรม พวกเทวดาในราวไพรน้ี ยอมใหสาธุการดวยเสียงดัง,’ น่ีชื่ออะไรกัน ?” พระเอกุทาน: ในวันอ่ืน ๆ เปนอยางน้ัน ขอรับ, แตวันน้ีกระผมไมทราบวา น่ีเปนเรื่องอะไร พวกภิกษุ: ผูมีอายุ ถาอยางน้ัน ทานจงกลาวธรรมดูกอน ทานจับพัดวีชนีน่ังบนอาสนะแลว กลาวคาถาน้ันน่ันแล. เทวดาท้ังหลายไดใหสาธุการดวยเสียงอันดัง พวกภิกษุติเตียนเทวดา ครั้งน้ัน ภิกษุที่เปนบริวารของพระเถระทั้งสองยกโทษวา “เทวดา ในราวไพรน้ี ใหสาธุการดวยเห็นแกหนากัน, เมื่อภิกษุผูทรงพระไตรปฎกแมกลาวอยูประมาณเทาน้ี, ก็ไมกลาวแมสักวาความสรรเสริญอะไร ๆ เมื่อพระเถระแกองคเดียวกลาวคาถาหน่ึงแลว, พากันใหสาธุการดวยเสียงอันดัง” ภิกษุเหลาน้ันแมไปถึงวิหารแลว กราบทูลความน้ันแดพระศาสดา ลักษณะผูทรงธรรมและไมทรงธรรม

พระศาสดาตรัสวา “ภิกษุทั้งหลาย เราไมเรียกผูเรียนมากหรือพูดมากวา เปนผูทรงธรรม สวนผูใดเรียนคาถาแมคาถาเดียวแลวแทงตลอดสัจจะทั้งหลาย, ผูน้ันชื่อวาเปนผูทรงธรรม” ดังน้ีแลว ตรัสพระคาถาน้ีวา:-

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

33

น ตาวตา ธมฺมธโร ยาวตา พหุ ภาสต ิโย จ อปฺปมฺป สุตฺวาน ธมฺมํ กาเยน ปสฺสติ ส เว ธมฺมธโร โหติ โย ธมฺมํ นปฺปมชฺชติ.

บุคคล ไมชื่อวาทรงธรรม เพราะเหตุท่ีพูดมาก สวนบุคคลใด ฟงแมนิดหนอย ยอมเห็นธรรมดวยนามกาย บุคคลใด ไมประมาทธรรม, บุคคลนั้นแลเปนผูทรงธรรม

แกอรรถ บรรดาบทเหลาน้ัน บทวา ยาวตา เปนตน ความวา บุคคลไมชื่อวาผูทรงธรรม

เพราะเหตุที่พูดมาก ดวยเหตุมีการเรียน และการทรงจําและบอกเปนตน แตชื่อวาตามรักษาวงศ รักษาประเพณี

บทวา อปฺปมฺป เปนตน ความวา สวนผูใดฟงธรรมแมมีประมาณนอย อาศัยธรรมะ อาศัยอรรถะ เปนผูปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมกําหนดรูสัจจะมีทุกขเปนตน ชื่อวายอมเห็นสัจธรรม ๔ ดวยนามกาย ผูน้ันแล ชื่อวาเปนผูทรงธรรม. บทพระคาถาวา โย ธมฺมํ นปฺปมชฺชติ ความวา แมผูใดเปนผูมี ความเพียรปรารภแลว หวังการแทงตลอดอยูวา “(เราจักแทงตลอด)ในวันน้ีๆ แล” ชื่อวายอมไมประมาทธรรม, แมผูน้ีก็ชื่อวาผูทรงธรรมเหมือนกัน ในกาลจบเทศนา ชนเปนอันมากบรรลุอริยผลทั้งหลาย มีโสดาปตติผลเปนตน ดังน้ีแล. เร่ืองพระเอกุทานเถระ จบ.

จิตที่ต้ังมั่นไมหวั่นไหวดั่งภูเขาศิลา ไมกําหนัดในอารมณ อันเปนที่ต้ังแหงความกําหนัด ไมโกรธในอารมณ อันเปนที่ต้ังแหงความโกรธ

จิตของบุคคลใด อบรมไดดั่งน้ี ความทุกขจะมีมาแตที่ใดเลา? ทานอาจารย อิทธิ

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

34

บัณฑิตจิตมั่นลวน ศิลา พ่ีเฮย เชิญสูรสธัมมา เถิดเจา แสงธรรมสองโลกา ใสแจม นะพ่ี เสียงพ่ีเสียงเรียกเรา สูหลานิพพาน

บัวบานยามรุงเชา แสงทอง สาดสอง กลีบคลี่รับแสงปอง สองตอง ปญญาสูครรลอง จักษุ ตนแล บัณฑิตรับธรรมปอง ใสเกลา “เบิกบาน”

พระโคดมตรัสรู ธรรมงาม อริยสัจ สาวกปฏิบัติตาม สัจจจาว เสพสมอยูโดยยาม จิตมั่น ทุกกาล สงบระงับดาว สติกลายืนยง

ความโศกชนหมดสิ้น จากใจ ไปแล จิตมั่นมิหวั่นไหว แกกลา มุนีที่ฝกใจ ใสแจม ดุจแกว มิประมาทธรรมอา กอเกื้อฝกตน

ธัมมารสเลศิลวน มาเสพ กันแฮ มนุษยและพรหมเทพ เสพแลว จิตอิงย่ิงใจเสพ มิเบ่ือ กาลใด ใจสูพระธรรมแกว สงบไดกิเลสตน

ปรินิพานดับสิ้น ขันธปวง ทุกขโศก จิตดับตัณหาลวง หมดแลว สันติสุขใหญหลวง คงมั่น นิพพาน มิเกิดมิเวียนแลว ภพสิ้นสุขนิรันดร

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

35

“จิตท่ีต้ังม่ันไมหวั่นไหวดั่งภูเขาศิลา

ไมกําหนัดในอารมณ อันเปนท่ีต้ังแหงความกําหนัด

ไมโกรธในอารมณ อันเปนท่ีต้ังแหงความโกรธ จิตของบุคคลใด อบรมไดดัง่นี ้ความทุกขจะมีมาแตท่ีใดเลา”

“กิเลสเครือ่งกังวลใดมีอยูในกาลกอน เธอจงยังกิเลสเครือ่งกังวลนั้น

ใหเหือดแหงหายไป กิเลสเครือ่งกังวลใด

จงอยามีแกเธอในภายหลัง ถาเธอจักไมยึดถอืขันธในทามกลาง

ก็จักเปนมุนีผูสงบระงับแลวเท่ียวไป....ดงันี้”

อาสนะเดียวบรรลุธรรม โดย ทานอาจารย อิทธิ

36

“ปญญาของผูมีจิตไมต้ังม่ัน ไมรูสัทธรรม มีความเล่ือมใสเล่ือนลอยยอมไมบริบูรณ

อนึง่ ภัยยอมไมมีแกผูต่ืนอยู ผูมีกัมมัฏฐานม่ันคงเปนสหาย

มีจิตไมขวนขวาย มีจิตไมถูกกําจัด

ละบุญและบาปไดแลว ยอมอยูเปนสุขทุกเม่ือ”

“เพราะฉนัประมาท ทุกขอันไมนายินด ี ยอมครอบงําคนผูประมาท โดยความเปนของนายินด ี

เพราะฉนัประมาท ทุกขอันไมนารัก ยอมครอบงําคนผูประมาท โดยความเปนของนารัก

เพราะฉนัประมาท ทุกขอันเรารอน ยอมครอบงําคนผูประมาท โดยความเปนสุข”

“เรายงัมองไมเห็นความสวสัดี จักมีแกสัตวทั้งหลาย นอกจากปญญาและความเพยีร นอกจากความสํารวมอนิทรีย

และความสละวางทุกสิ่งทุกอยาง”

ธมฺมปติ สุขํ เสติ วิปฺปสนฺเนน เจตสา อริยปฺปเวทิเต ธมฺเม สทา รมติ ปณฺฑิโต

ผูมีปติในธรรมมีใจผองใสแลวยอมอยูเปนสุข

บัณฑิตยอมยินดีในธรรมที่พระอริยะเจาประกาศแลวทุกเม่ือ