โคลงหริภุญไชย ภาษาในวรรณกรรม...

15
โคลงหริภุญไชย: ภาษาในวรรณกรรมโบราณ ที่มาและความสําคัญ วรรณกรรมโบราณเรื่อง โคลงหริภุญไชย เปนโคลงเกาแกของลานนา และกวีอยุธยาได นํามาคัดลอกดัดแปลงเปนคําอยุธยาในสมัยตอมา แตก็ยังมีคําที่เปนภาษาลานนาปะปนอยูเปน จํานวนมาก ผูแปลงนิราศหริภุญไชยฉบับนี้นาจะเปนกวีทางเหนือที่เขาใจภาษาทางใตดี เพราะยังแล เห็นภาษาและสําเนียงทางภาคเหนือปนอยูในคําโคลงนั้นมาก (เปลื้อง นคร, ๒๕๑๐: ๑๖๐) การทีมีการนําเอาโคลงหริภุญไชยมาดัดแปลงเปนโคลงอยุธยา แมวาจะยังไมมีขอยุติในเรื่องของสาเหตุทีแทจริงในการดัดแปลง แตจากที่มีการคัดลอกตอ กันมาจึงเชื่อไดวา โคลงหริภุญไชยนี้คงจะเปนที่ ยอมรับ และเปนที่นิยมกันอยางแพรหลายในลานนาและอยุธยา เนื้อความในโคลงนิราศหริภุญไชย เปนการกลาวเลาถึงผูแตงที่เดินทางดวยกองเกวียนจาก เชียงใหมไปนมัสการพระธาตุหริภุญไชยที่นครลําพูนในเทศกาลไหวพระธาตุ ซึ่งตรงกับ วันเพ็ญเดือน (เดือน เหนือ) (อุดม รุงเรืองศรี, ๒๕๔๓: ๓๗๓) เนื้อเรื่องเริ่มตนดวยการกลาวถึง นางอันเปนที่รัก เหตุที่ตองจากไป พรรณนาการเดินทางจากเชียงใหมไปลําพูน ผานสถานที่สําคัญ ตาง ของเมืองเชียงใหม แลวพักนอน คืน รุงเชาออกเดินทางตอ ถึงลําพูน ไปไหวพระธาตุ ตกกลางคืน เที่ยวชมดูฟอนรํา ดนตรี และการละเลนตาง จากนั้นไปไหวพระยืน แลวกลับมาวัด พระธาตุหลวง ไดพบพระราชโอรสที่ทรงเสด็จมาบูชาพระธาตุ แลวคางพักอยู คืนแลวจึงเดินทาง กลับเชียงใหม

Transcript of โคลงหริภุญไชย ภาษาในวรรณกรรม...

Page 1: โคลงหริภุญไชย ภาษาในวรรณกรรม ...elanna/elanna51/lit/lit1.pdfวรรณกรรมโบราณเร อง โคลงหร

โคลงหริภุญไชย: ภาษาในวรรณกรรมโบราณ

ท่ีมาและความสําคัญ วรรณกรรมโบราณเร่ือง โคลงหริภุญไชย เปนโคลงเกาแกของลานนา และกวีอยุธยาไดนํามาคัดลอกดัดแปลงเปนคําอยุธยาในสมัยตอมา แตก็ยังมีคําท่ีเปนภาษาลานนาปะปนอยูเปนจํานวนมาก ผูแปลงนิราศหริภุญไชยฉบับนี้นาจะเปนกวีทางเหนือท่ีเขาใจภาษาทางใตดี เพราะยังแลเห็นภาษาและสําเนียงทางภาคเหนือปนอยูในคําโคลงนั้นมาก (เปล้ือง ณ นคร, ๒๕๑๐: ๑๖๐) การที่มีการนําเอาโคลงหริภุญไชยมาดัดแปลงเปนโคลงอยุธยา แมวาจะยังไมมีขอยุติในเร่ืองของสาเหตุท่ีแทจริงในการดัดแปลง แตจากท่ีมีการคัดลอกตอ ๆ กันมาจึงเช่ือไดวา โคลงหริภุญไชยนี้คงจะเปนที่ยอมรับ และเปนท่ีนิยมกันอยางแพรหลายในลานนาและอยุธยา

เนื้อความในโคลงนิราศหริภุญไชย เปนการกลาวเลาถึงผูแตงท่ีเดินทางดวยกองเกวียนจากเชียงใหมไปนมัสการพระธาตุหริภุญไชยท่ีนครลําพูนในเทศกาลไหวพระธาตุ ซ่ึงตรงกับ วันเพ็ญเดือน ๖ (เดือน ๘ เหนือ) (อุดม รุงเรืองศรี, ๒๕๔๓: ๓๗๓) เนื้อเร่ืองเร่ิมตนดวยการกลาวถึงนางอันเปนท่ีรัก เหตุท่ีตองจากไป พรรณนาการเดินทางจากเชียงใหมไปลําพูน ผานสถานท่ีสําคัญตาง ๆ ของเมืองเชียงใหม แลวพักนอน ๑ คืน รุงเชาออกเดินทางตอ ถึงลําพูน ไปไหวพระธาตุ ตกกลางคืน เที่ยวชมดูฟอนรํา ดนตรี และการละเลนตาง ๆ จากนั้นไปไหวพระยืน แลวกลับมาวัดพระธาตุหลวง ไดพบพระราชโอรสท่ีทรงเสด็จมาบูชาพระธาตุ แลวคางพักอยู ๑ คืนแลวจึงเดินทางกลับเชียงใหม

Page 2: โคลงหริภุญไชย ภาษาในวรรณกรรม ...elanna/elanna51/lit/lit1.pdfวรรณกรรมโบราณเร อง โคลงหร

2

การศึกษาวรรณกรรมโบราณเร่ืองโคลงหริภุญไชยฉบับท่ีมีการแตงและคัดลอกเปนภาษาไทยลานนา และฉบับท่ีมีการแกไขดัดแปลงเปนภาษากลาง (อยุธยา) เทาท่ีมีการสํารวจในปจจุบัน ปรากฏตนฉบับโคลงนิราศหริภุญไชยแลวกวา ๕ สํานวน คือ ฉบับเชียงใหม ฉบับ หอสมุดแหงชาติ กรุงเทพฯ ฉบับลําพูน ฉบับวัดกิ่วพราว เชียงราย และฉบับวัดเจดียหลวง เชียงใหม จากการคัดลอกตอ ๆ กันมา พบวา มีคําและขอความท่ีผิดพลาดคลาดเคล่ือนไปจากตนฉบับเดิมมาก จึงเปนเร่ืองยากท่ีจะกลาววาฉบับใดถูกตอง และถาเอาโคลงนิราศหริภุญไชยฉบับเขียนท่ีมีอยูบัดนี้มาเทียบกัน ก็จะเห็นไดวาเกือบจะหาโคลงท่ีอักษรตรงกันไมไดเลย (เปล้ือง ณ นคร, ๒๕๑๐: ๑๖๑) ในการอธิบายความหมายก็เปนเร่ืองยุงยากเนื่องจากคําหลายคําท่ีพบนั้น ปจจุบันคําเหลานั้นไมพบการใช และไมไดบัญญัติคําศัพทเหลานั้นในพจนานุกรม ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่งท่ีจะไดมีการศึกษาในแงมุมตาง ๆ เชน ท่ีมา การอธิบายความหมาย การศึกษาเปรียบเทียบ เพื่อใหรูถึงความงามของบทกวี สภาพทางธรรมชาติ ศาสนวัตถุและศาสนสถานท่ีสําคัญ คติความเชื่อ ประเพณีและวัฒนธรรม และชีวิตความเปนอยูของชาวลานนาในสมัยนั้น

โคลงนิราศหริภุญไชย หรือ โคลงหริภุญไชย ๑) ความหมายของ “โคลง” พจนานกุรมฉบับราชบัณฑติยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ไดอธิบายความหมายของคําวา “โคลง” ไววา โคลง ๑ [โคฺลง] น. คําประพันธประเภทหน่ึง มีสัมผัสและบังคับเอกโทตามตําราฉันทลักษณ. (ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๓๐: ๒๐๐)

พจนานุกรมลานนา – ไทย ฉบับแมฟาหลวง ไดอธิบายความหมายของคําวา “โคลง” ไววา ก่ันโลง น. โคลง, คําประพันธชนิดหนึ่ง. กะโลง, คะโลง ก็วา. (อุดม รุงเรืองศรี, ผูรวบรวม, ๒๕๔๗: ๓๑)

เปล้ือง ณ นคร อธิบายความหมายของคําวา “โคลง” วา “…โคลงเปนแบบคําประพันธท่ีแพรหลายอีกแบบหนึ่ง เขาใจกันวาเปนของไทยแท คําโคลงอยางเกาท่ีสุดปรากฏในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๑ (พ.ศ.๑๘๙๓ - ๑๙๑๒) คือ ประกาศแชงน้ําโคลงหา แบบคําโคลง มีอยูมากแบบ คือ โคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ โคลงส่ีสุภาพ โคลงส่ีตรีพิธพรรณ โคลง ส่ีจัตวาทัณฑี โคลงสองด้ัน โคลงสามดั้น โคลงดั้นวิวิธมาลี โคลงดั้นบาทกุญชร โคลงหา…” (เปล้ือง ณ นคร, ๒๕๑๐: ๘)

Page 3: โคลงหริภุญไชย ภาษาในวรรณกรรม ...elanna/elanna51/lit/lit1.pdfวรรณกรรมโบราณเร อง โคลงหร

3

จากการศึกษาของลมูล จันทนหอม ไดกลาวถึงฉันทลักษณโคลงลานนาวา “…โคลง เปนฉันทลักษณของคําประพันธท่ีเกาแกของลานนา ซ่ึงเรียกตามภาษาทองถ่ินวา กลอนโคลง คะโลง กะโลง หรือกั่นโลง เทาท่ีปรากฏหลักฐานจากวรรณกรรมท่ีแตงดวยโคลง อาจแบงโคลงออกเปน ๕ ประเภท คือ โคลงดั้น โคลงส่ีสุภาพ โคลงสาม โคลงสอง และโคลงกลบท…” (ลมูล จันทนหอม, ๒๕๓๒: ๓๐ - ๓๑)

๒) ความหมายของ “นิราศ” พจนานกุรมฉบับราชบัณฑติยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ไดอธิบายความหมายของคําวา “นิราศ” ไววา นิราศ ๑ [- ราด] ก. ไปจาก, ระเหระหน, ปราศจาก. น. เร่ืองราวที่พรรณนาถึงการจากกนัหรือจากท่ีอยูไปในท่ีตาง ๆ เปนตน มักแตงเปนกลอน โคลง เชน นิราศนรินทร นิราศเมืองแกลง. (ส.). นิราศ ๒ [- ราด] ก. ปราศจากความหวัง, ไมมีความตองการ, หมดอยาก, เฉยอยู.(ส.; ป. นิราสา). (ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๒๕: ๔๔๓)

พจนานกุรม บาลี – ไทย รวบรวมโดย พระอุดรคณาธิการ (ชวินทร สระคํา) และ รศ.ดร. จําลอง สารพัดนึก อธิบายความหมายของคําวา นริชฺชต ิและ นริาส วา นิรชชฺติ ก. อัน… ไลออก, ถูกทําใหสูญหาย, ถูกคลาย. นิราส ค. ไมมีความปรารถนา, ไมมีความอยาก, หมดหวงั. (พระอุดรคณาธิการ (ชวินทร สระคํา) และ จําลอง สารพัดนึก, ๒๕๓๘: ๒๙๖)

พจนานุกรม Pali – English Dictionary อธิบายความหมายของคํา นิราส วา Nirāsa (adj.) [nis + āsā] not hungry, not longing for anything, desireless. (Rhys Davids and William Stede, 975: 370)

พจนานุกรม The Pali Text Society’s Pali – English Dictionary อธิบายความหมายของคํา นิราส วา Nirāsa: Nirāsa (adj.) [nis + āsā] not hungry, not looking for any – thing, desireless.

และหนังสือ สํสกฤต - ไท - อังกฤษ อภิธาน ของกระทรวงศึกษาธิการ ไดอธิบายความหมายของคําวา นิรฺ และ อาศา วา นิรฺ นิ. นิบาตและอุปสรรคบอกอสังศยะ หรือความเช่ือแน; ความประติเษธ; ความปราศจาก; a particle and prefix implying certainty or assurance; negation or privation;- อาศา น. มโนรถ; ความใคร, ความปรารถนา; ความยาว; ทิศ; ประเทศ; hope; desire; wish; length; quarter; a region. (นายรอยเอก หลวงบวรบรรณรักษ [นิยม รักไทย]), ๒๔๖๙: ๑๑๕, ๖๕๑)

Page 4: โคลงหริภุญไชย ภาษาในวรรณกรรม ...elanna/elanna51/lit/lit1.pdfวรรณกรรมโบราณเร อง โคลงหร

4

นอกจากศัพทบัญญัติแลว ในวรรณกรรมพุทธศาสนา พบวา มีการกลาวถึงคําวา นิราส และไดใหความหมายวา หมายถึง หมดความหวัง เชน ในชาดกกถา มหานิบาตวรรณนา เ ร่ือง วิธุรชาดก จากคาถาตอนหน่ึง ความวา

ปริคฺคหํ โลภธมฺม ฺจ สพฺพํ เย เว ปริ ฺาย ปริจฺจชนฺติ ทนฺตํ ตตฺตํ รมนํ นิราสํ

ตํ เว นรํ สมณมาหุ โลเกติ ฯ

นรชนใดแล กําหนดรูวัตถุกามและกิเลสกามดวยปริญญาแลว สละวัตถุกาม และกิเลสกามท้ังปวงไดเด็ดขาด นักปราชญท้ังหลายเรียกนรชนนั้นแล ผูฝกตนแลวมีตนอันม่ันคง ปราศจากตัณหาเปนเหตุยึดถือวาของเรา หมดความหวังวาเปนผูสงบในโลก ฯ (ฉบับสยามรัฐ ชาตกฏกถา ๑๐ มหานิปาตวณณนา (๒) วิธุรชาตกํ: ๒๔๙)

และยังไดอธิบายขยายความในพระคาถา ของคําวา “นิราศ” วา “…บทวา นิราสํ ไดแกมีจิตหมดหวงใยดวยบุตรและภรรยาเปนตน…” (ฉบับสยามรัฐ พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก เลม ๔ ภาค ๓: ๓๕๗)

เปล้ือง ณ นคร ใหความหมายของคําวา “นิราศ” วา

“นิราศ คือ การแสดงความอาลัยความผูกพันตอคนรักท่ีถูกทอดท้ิงไวเบ้ืองหลัง กวี แสดงออกซ่ึงความรักความอาลัยนี้เปนถอยคํา และบันทึกไวเปนตัวอักษร” (เปล้ือง ณ นคร, ๒๕๒๐: ๑๐)

นิรันตร นวมารค ใหความหมายของคําวา “นิราศ” ไวในการบรรยายภาษาไทยช้ันสูง ของชุมนุมภาษาไทย ของคุรุสภาหัวขอ ประพันธศาสตร (ก. ฉันทศาสตร ข. รอยแกว) วา

“เม่ือกวีตองจากท่ีอยูและละคนรักไวขางหลัง ก็มักเขียนกาพยกลอนรําพันความรักความอาลัย คลุกเคลาไปกับระยะยานทางท่ีผานไป สมัยกรุงศรีอยุธยา กาพยกลอนประเภทนี้ยังไมเรียกวา นิราศ เชน โคลงหริภุญไชย กําศรวลศรีปราชญ และโคลงทวาทศมาส ท้ังสามเร่ืองนี้กวีเขียนครํ่าครวญท่ีตองจากนางท่ีรักแตไมไดเรียกวา นิราศ สมัยปลายกรุงศรีอยุธยามีวรรณกรรมของเจาฟาธรรมธิเบศรเร่ืองหน่ึง ช่ือ กาพยหอโคลงนิราศพระบาท คําวา “นิราศ” เขาใจวาปรากฏในวรรณกรรมเร่ืองนี้เปนคร้ังแรก และมานิยมกันแพรหลาย” (นิรันตร นวมารค, ๒๕๐๙: ๕๙)

Page 5: โคลงหริภุญไชย ภาษาในวรรณกรรม ...elanna/elanna51/lit/lit1.pdfวรรณกรรมโบราณเร อง โคลงหร

5

เทือก กุสุมา ณ อยุธยา อธิบายความหมายของคําวา “นิราศ” ไว ๒ นัย คือ ๑) มาจากศัพท นิ หรือ นิร ซ่ึงเปนอุปสรรคนําหนาคําอ่ืน แปลวา “ ไมมี” เม่ือใชเปนคํานามวา “นิราศ” หมายความวา “การพลัดพรากจากไป ไมมีท่ีอยูประจํา” ๒) มาจากศัพท นิร แปลวา “ไมมี” บวกกับ อาสา แปลวา “ความหวัง” ศัพท “นิราส” (สันสกฤตใช นิราศ) แปลวา “หมดหวัง ปราศจากความตองการ หรือหมดอยาก” (นิร + อาสยํ). (เทือก กุสุมา ณ อยุธยา, ๒๕๑๔: ๔๙)

นอกจากการใหความหมายคํากําจัดความน้ีแลว พบวาวรรณกรรมในสมัยอยุธยา คําวา “นิราศ” ท่ีปรากฏในการประพันธกาพยหอโคลงนิราศพระบาท ตามเนื้อเร่ืองนั้นวา เจาฟาธรรมา ธิ เบศรได เสด็จไปพระพุทธบาทและนิพนธ เ ร่ืองนี้ เพื่ อแสดงถึงความรัก ความอาลัย พระชายาของพระองคท่ีจากนางอันเปนท่ีรัก และกวียังไดกลาวอีกวา การแตงบทประพันธเพื่อแสดงถึงการพลัดพรากจากนางอันเปนท่ีรักนี้ เปนธรรมดาของนักปราชญยอมท่ีจะตองแตงข้ึนตามประเพณี ดังความตอนทายเร่ืองวา

ชมโฉมโลมสมพาศ จบเสร็จครํ่าครวญกาพย บทนิราศจากชายา บทพิลาปถึงสาวศรี นักปราชญยอมแตงมา แตงตามประเวณี เลหทาทางอยางเรียมทํา ใชเมียรักจะจากจริง มโฉมสมพาศแกว ไนยนา โคลงครวญกลอนกลาวอาง นารี พลัดพรากจากชายา ช่ืนช้ี โศกสรอยถึงสาวศรี เษกหวา นักปราชญยอมแตงมา ในโลก แตงตามประเพณี ธิรภาคย เลหทาทางอยางนี้ ชอบดวยเรียมทํา เมียม่ิงพร่ังพรอมหนา หอนไดจากกัน ฯ (เปล้ือง ณ นคร, ๒๕๑๐: ๑๗๔, ๑๙๐)

ในอาณาจักรลานนา คําวา “นิราศ” พบวามีการใชคํา ๆ นี้ท่ัวไปในวรรณกรรม พุทธศาสนาของลานนาแตเดิมอยูแลวอยางนอยราวตนพุทธศตวรรษที่ ๒๓ ท่ีพระภิกษุผูรจนาแตงแปลไดใชคํานี้ในความหมายวา จาก คลาด หรือพลัดพรากจากบานเมืองของตน และคลาดจากชีวิต คือ ตาย เชน

เต พฺราหฺมณา เย จ สมณา อฺเ จาป วณิพฺพกา พาหา ปคฺคยหฺ ปกฺกนฺทุ อธมฺโม กิร โภ อิติ ยถา เวสฺสนฺตโร ราชา ยชมาโน สเก ปุเร สีวีนํ วจนตฺเถน สฺมหา รฏา นิรชฺชติ ฯ

Page 6: โคลงหริภุญไชย ภาษาในวรรณกรรม ...elanna/elanna51/lit/lit1.pdfวรรณกรรมโบราณเร อง โคลงหร

6

พราหมณทังหลายฝูงใดแลสรมณนักบวช แลคนขอทังหลายแมนฝูงอ่ืนกวาสมณะน้ัน สมณพราหมณแลคนขอทังหลายฝูงนั้นเลิกตนแขนทัง ๒ ข้ึนแลวก็ไหดวยคําวา อธมฺโม กิร โภ ดูกราชาวเรา ดั่งไดยินมา พระเวสสันตรราชเจาหื้อทานในเมืองตนแลว ก็ไดนิราศคลาดจากเมืองตน เหตุกถาถอยคําชาวสีพีทังหลาย ดวยเหตุอันใด อธมฺโม สภาวะอันใชธรรมก็เปนในโลกเหตุดั่งอ้ันแล ฯ (เวสสันดรชาดก ฉบับวัดไหลหิน ทานกัณฑ)

อชฺช เจ เม อิมํ รตฺตึ ราชปุตฺต น สํสสิ มฺเ โอกฺกนตฺสนฺตํ ปาโต ทุกฺขสิ โน มตํ ฯ

ขาแดพระราชบุตรเปนเจา มหาราชเจาผิแลบปากจากับดวยขาในกาลบัดนี้ เส้ียงราตรีคืนนี้รุงแจงแท ดั่งขาจักใสใจดู มหาราชเจากจ็ักหันยังขาอันนริาศคลาดจากชีวิตตายไปในยามเชาวนัพรุกชะแล ฯ (เวสสันดรชาดก ฉบับวัดไหลหิน กัณฑมัทรี)

คราวนี้นิราศราง ระมิงไป เลาแล ทุกขตํ่างนเหงาใจ เจตหอย องคอวนทุราไกล แสนโยชน ก็ดีเอ ดุจดั่งองคชูชอย จิ่มใกลกับเรียม ฯ (นิราศดอยเกิ้ง)

ดังท่ีกลาวมาแลวขางตนนั้น คําวา “นิราศ” นี้ นาจะไดมาจากคําศัพทเดิมภาษา บาลี – สันสกฤต ซ่ึงหมายถึง การจาก การพลัดพราก โดยท่ีกวีอาจกลาวถึงการจากนางผูเปนท่ีรัก หรือจากถ่ินฐานท่ีอยูเดิมดวยความอาลัยอาวรณ แตในการเรียกประเภทของวรรณกรรมท่ีแตงเปนโคลงส่ีสุภาพของลานนานั้น แตเดิมไมพบวามีการเรียกรูปแบบการประพันธชนิดนี้วา “นิราศ” คงเรียกกันแตเพียงวา โคลง คะโลง กั่นโลง และกาพยกลอน เชน โคลงมังทรารบเชียงใหม จากการศึกษาของลมูล จันทนหอม เร่ือง “โคลงนิราศหริภุญชัย: การวินิจฉัยตนฉบับ” จากเอกสารใบลานตนฉบับ ๖ ฉบับ คือ ฉบับวัดศรีโคมคํา จ.ศ. ๑๑๒๐ (พ.ศ. ๒๓๐๑) ฉบับวัดกิ่วพราว จ.ศ. ๑๒๑๘ (พ.ศ. ๒๓๙๙) ฉบับวัดเจดียหลวง ๑ (ไมระบุปท่ีจาร) ฉบับวัดเจดียหลวง ๒ (ไมระบุปท่ีจาร) และฉบับสงวน โชติสุขรัตน (ไมระบุปท่ีจาร) พบวา ท้ัง ๖ ฉบับนั้น ใชคําวา กลอน, โคลง, กันโลง, และกาพยโคลง ไมมีฉบับใดท่ีเรียกวา นิราศ (ลมูล จันทนหอม, ๒๕๓๒: ๓๐) สวนฉบับหอสมุดแหงชาติใชคําวา คะโลง และฉบับสิงฆะ วรรณสัย จ.ศ. ๑๒๓๙ (พ.ศ. ๒๔๒๐) ใชคําวา กาพยกลอน

Page 7: โคลงหริภุญไชย ภาษาในวรรณกรรม ...elanna/elanna51/lit/lit1.pdfวรรณกรรมโบราณเร อง โคลงหร

7

การเรียกช่ือวรรณกรรมเร่ืองนี้วา “โคลงนิราศหริภุญไชย” นาจะไดรับอิทธิพลดานการศึกษาสมัยใหมหลังจากท่ีมีการรวมลานนาเขาเปนสวนหน่ึงของอาณาจักรสยาม ดังนั้น ในการศึกษาวรรณกรรมเร่ืองนี้จึงควรท่ีแยกการศึกษาออกเปน ๒ ฉบับ คือ ฉบับท่ีแตงและคัดลอกดวยอักษรธรรมลานนาและอักษรไทยนิ เทศ ภาษาไทยยวนหรือภาษาถ่ินเหนือ เ รียกวา “โคลงหริภุญไชย” และฉบับภาคกลาง เรียกวา “โคลงนิราศหริภุญไชย” ตามแบบแผนของ คําประพันธในแตละทองถ่ิน

ผูแตง และวันเดือนปท่ีแตง กวีผูแตงเร่ืองโคลงนิราศหริภุญไชยไมทราบแนชัดวาใครเปนผูแตง เนื่องจากวาในสมัยโบราณน้ัน ผูแตงไมนิยมบอกช่ือของตน สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงประทาน ขอวินิจฉัยไววา “นิราศหริภุญไชยนี้ แตงข้ึนเม่ือปฉลู พ.ศ. ๒๑๘๐ ตรงกับรัชการพระเจาปราสาททอง (พ.ศ. ๒๑๗๓ - ๒๑๙๗) ครอบครองกรุงศรีอยุธยา หรือกอนหนานั้นข้ึนไป” (กรมศิลปากร, คํานํา, วรรณคดีสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร, ๒๕๐๔: ๘) สําหรับปท่ีแตงนี้ ประเสริฐ ณ นคร ไดสันนิษฐานวา เปนเร่ืองท่ีแตงข้ึนในป พ.ศ.๒๐๖๐ ตรงกับรัชสมัยพระรามาธิบดีท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๐๓๔ - ๒๐๗๒) ทรงเปนพระราชโอรสของสมเด็จพระบรมไตร-โลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑ - ๒๐๓๑) โดยอางถึงโคลงบทหนึ่งซ่ึงกลาวถึงพระแกวมรกตวายังคงประดิษฐานอยูในเมืองเชียงใหม ความวา

มหาอาวาสสอย สรีสถาน ชินรูปองคอุฬาร เลิศหลา อมรกตคาควรปาน บุรีนึ่ง นุชเอ ถวายประหนมเบ้ืองหนา เพื่อไธนารีรมย

กลาวคือ ระหวางป ท่ีพระแกวมรกตประดิษฐานอยู ท่ี เมืองเชียงใหม ในระหวางป พ.ศ. ๒๐๑๑ - ๒๐๙๑ เปนเวลา ๘๐ ป นั้น ปเมิงเปาท่ีระบุไวในโคลงนิราศหริภุญไชยมีเพียงปเดียว คือ ป จ.ศ. ๘๗๙ ตรงกับป พ.ศ. ๒๐๖๐ นอกจากท่ีมีการกลาวถึงพระแกวมรกตแลว ยังไดกลาวถึง พระพุทธสิหิงคประดิษฐานท่ีเมืองเชียงใหม ความวา

นบพระวรเชษฐชอย สิหิงค สาเทพเบงจาจริง จิ่งผาย วานดลเจตใจตริง กระหมอม บารา เทาตํ่าเนินเยื้อนยาย พรํ่าพรอมเดินเดียว

Page 8: โคลงหริภุญไชย ภาษาในวรรณกรรม ...elanna/elanna51/lit/lit1.pdfวรรณกรรมโบราณเร อง โคลงหร

8

พระพุทธสิหิงคตกไปอยูเมืองเชียงใหมต้ังแต พ.ศ. ๑๙๕๑ (ปหนไทย เมิงไค ตรงกับ ปกุน จ.ศ. ๗๖๙) ถึงป พ.ศ. ๒๒๐๕ (ปหนไทย เตายี ตรงกับ ปขาล จ.ศ. ๑๐๒๔) ปท่ี พระพุทธสิหิงค และพระแกวมรกตประดิษฐานอยูเมืองเชียงใหมพรอมกันมีปฉลูเพียงปเดียว คือ ป พ.ศ. ๒๐๖๐ (ปหนไทย เมิงเปา ตรงกับ ปฉลู นพศก จุลศักราช ๘๗๙) (ประเสริฐ ณ นคร, ๒๕๐๓: ฉ) ตรงกับขอสันนิษฐานของนิรันตร นวมารค ท่ีบรรยายในวิชาประพันธศาสตรวาดวย ฉันทศาสตร (ฉบับท่ี ๑ - ๒) ถึงปท่ีแตงวา “คําโคลงท่ีเปนตนตอของนิราศในสมัยตอมา เห็นจะเปนโคลงหริภุญไชย ซ่ึงกวีชาวลานนาแตงเม่ือราว พ.ศ. ๒๐๖๐ (ป พ.ศ. ท่ีแตงนี้เปนการสันนิษฐาน) เม่ือตนเองจากบานท่ีเชียงใหมไปนมัสการพระธาตุหริภุญไชย ตอมากวีราวสมัยสมเด็จพระนารายณไดดัดแปลงโคลงนี้ ใชคําภาคกลาง เดิมมีช่ือวา โคลงหริภุญไชย ยังไมเรียกเปนนิราศ” (นิรันตร นวมารค, ๒๕๑๘: ๖๓) และลมูล จันทนหอม กลาวไวในวิทยานิพนธ เร่ือง โคลงนิราศหริภุญชัย; การวินิจฉัยตนฉบับ วา “สมัยท่ีแตงโคลงนิราศหริภุญชัย คือ ปเมิงเปา จ.ศ. ๘๗๙ (พ.ศ. ๒๐๖๐) ตามท่ีกวีไดกลาวไวในโคลงบทแรกของเร่ืองนี้” (ลมูล จันทนหอม, ๒๕๓๒: ๒๕)

จากหลักฐานดังท่ีกลาวมาแลวขางตนนั้นจึงพอที่จะสันนิษฐานไดวา โคลงนิราศ หริภุญไชยคงจะแตงข้ึนในปเมิงเปา จุลศักราช ๘๗๙ ซ่ึงตรงกับพุทธศักราช ๒๐๖๐ โดยอาศัยหลักฐาน คือ สมัยท่ีพระแกวมรกตและพระพุทธสิหิงคยังคงประดิษฐานอยูพรอมกันท่ีเมืองเชียงใหม และตรงกับปหนไทย คือ ปเมิงเปาในระยะเวลาดังกลาวมีเพียงปเดียวเทานั้น

วัดพระยืน: การพรรณนาในโคลงหริภุญไชย ๑) พระยืน เนื้อความในโคลงหริภุญไชย กวีไดพรรณนาถึง พระพุทธรูป ๔ องคท่ีประดิษฐานใน

พุทธมหาวิหารวัดพระยืน ต้ังอยูบนฝงแมน้ําไปดานทิศตะวันออกของพระธาตุหริภุญชัย ความวา

ยังมีคูพรอม จตุตน (จตุตน, ๔ องค) ยืนเหยยีบปาจนีะหน แหงโนน (ปราจีน, ทิศตะวันออก) เพราะรสทุกขฉงาย ฉงนเชน รักเอ ปรายโปรดขอหื้อพน เพื่อแก กรรมเรียม ฯ

ขอพระพุทธส่ีองคผายผอเยี่ยม ขอบุญทันแทเทอะ พระพุทธ ๔ เหล่ียมองคใหญ ฯ

(ฉบับลําพูน)

Page 9: โคลงหริภุญไชย ภาษาในวรรณกรรม ...elanna/elanna51/lit/lit1.pdfวรรณกรรมโบราณเร อง โคลงหร

9

หนังสือชินกาลมาลีปกรณกลาวถึงพระพุทธรูป ๔ องค วา พระเจากือนาทรงโปรดใหสรางพระพุทธรูป ๔ องค ประดิษฐานไวในพุทธมหาวิหาร ซ่ึง ต้ังอยูทางทิศตะวันออกของ นครหริปุญชัย เม่ือจุลศักราช ๗๓๑ ตรงกับป พ.ศ. ๑๙๑๓ ความวา “…พระสุมนเถรไดปฏิบัติบํารุง (บูชา) โดยความเคารพ พระเจากือนาโปรดใหสรางพระพุทธรูป ๔ องค ประดิษฐาน ในพุทธมหาวิหาร ซ่ึงต้ังอยูดานทิศตะวันออกนครหริปุญชัย เม่ือ จ.ศ. ๗๓๑ (พ.ศ. ๑๙๑๓)…” (แสง มนวิทูร, แปล, ๒๕๑๐: ๑๑๑) ซ่ึงตางไปจากเนื้อความในศิลาจารึกวัดพระยืน (ล.พ. ๓๘) ท่ีกลาวถึงการปฏิสังขรณพระพุทธรูปยืน ๓ องค คือ องคท่ีประดิษฐานยืนอยูในซุมคูหาดานใต ดานเหนือ และดานตะวันตกของพระเจดีย ในป พ.ศ. ๑๙๑๓

จากขอสันนิษฐานของ ประเสริฐ ณ นคร ท่ีวา โคลงหริภุญไชยประพันธ ข้ึนในป พ.ศ. ๒๐๖๐ ดังนั้น พระพุทธรูปยืน ๔ องคท่ีกวีไดกลาวถึง นาจะภายหลังจากท่ีไดรับ การบูรณะปฏิสังขรณแลวต้ังแตป พ.ศ. ๑๙๑๓ ในรัชสมัยของพระเจากือนา (พ.ศ. ๑๘๙๘ - ๑๙๒๘) และคงอยูในสภาพท่ีสมบูรณ

๒) ประเพณีไหวพระธาตุ ประเพณีไหวพระธาตุ (สรงน้ําพระธาตุ) ในวันเพ็ญเดือน ๘ เหนือ ตรงกับวันวิสาขบูชา

อันเปนวันประสูติ ตรัสรู และนิพพานของพระพุทธเจา ชาวลานนานิยมเดินทางแสวงบุญดวยการไปไหวพระธาตุ ท่ี สําคัญ เชน พระธาตุหริภุญไชย ลําพูนพระธาตุดอยสุเทพ เ ชียงใหม พระธาตุลําปางหลวง ลําปาง และพระธาตุชอแฮ แพร เปนตน การเดินทางไปไหวพระธาตุ หริภุญไชย กวีไดพรรณนาถึงวันท่ีออกเดินทางจากเมืองเชียงใหม ไววา

บุณณมีมาสเม้ือ ผลคุณ ขงเขตรในนพบุร ยกยาย เดินถวิลแหงหริภุญ ชัยเชษฐ ชิดแฮ นบธาตุพระเจาผาย แผนคอมคุงชเล

(ฉบับหอสมุดแหงชาติ) ปุณณมีวรมาสมื้อ ผลคุน ออกเอ ขงเขตนพบุญ โยดยาย เดินถวิลแหงหริภุญ เชยยะเชษฐ ชิดเอ นบพระธาตุเจาผาย แผนคอมคลุงทเล (ฉบับลําพูน)

Page 10: โคลงหริภุญไชย ภาษาในวรรณกรรม ...elanna/elanna51/lit/lit1.pdfวรรณกรรมโบราณเร อง โคลงหร

10

ความท่ีบรรยายวันออกเดินทางวา เปนวันเพ็ญ ข้ึน ๑๕ คํ่าเดือน ๖ เหนือ (ปุณฺณมี อิต. ดิถีเพ็ญ, วันพระจันทรเต็มดวง. มาส ป. เดือน. ผลคุน น. เดือนผาลคุน คือ เดือน ๔ ตกในราวเดือนมีนาคม [เดือน ๖ เหนือ]) คือ กอนหนาวันประเพณีไหวพระธาตุ ๒ เดือน คือเดือน ๘ เหนือ ตรงกับเดือน วิสาข (เดือน ๖ กลาง) ซ่ึงเปนไปไดวา อาจจะเดินทางในไปเดือนผลคุนซ่ึงไมตรงกับวันประเพณีไหวพระธาตุ ยังตองมีการศึกษาตอไปในเร่ืองนี้

ภาคกลาง ภาคเหนือ เดือน เดือน ๕ ๗ จิตร

๖ ๘ วิสาข ๗ ๙ เชษฐ ๘ ๑๐ อาสาฬห ๙ ๑๑ ศราวณ ๑๐ ๑๒ ภัทรบท ๑๑ เจียง อัศวยุช ๑๒ ๒ กัตติก ๑ ๓ มิคสิร ๒ ๔ บุษย ๓ ๕ มาฆ ๔ ๖ ผลคุน

Page 11: โคลงหริภุญไชย ภาษาในวรรณกรรม ...elanna/elanna51/lit/lit1.pdfวรรณกรรมโบราณเร อง โคลงหร

11

ภาษาในวรรณกรรมโบราณ การอานวรรณคดีโบราณจําเปนจะตองมีความรูทางดานภาษาโบราณเปนเคร่ืองชวยในการ

พิจารณาวาถอยคําภาษานั้นผูแตงหรือกวีตองการที่จะส่ือสารอะไร วรรณคดีโบราณมักประกอบดวยคําศัพทท่ีมาจากภาษาโบราณ ภาษาถ่ิน บาลี สันสกฤต เขมร มอญ ฯลฯ ปญหาท่ีพบในวรรณคดีโบราณพบวามีการเปล่ียนแปลงท้ังทางดานเสียงและความหมาย ประเสริฐ ณ นคร กลาวคํานําในโคลงนิราศหริภุญชัยไววา “นอกจากอุปสรรคในการศึกษาคําศัพทโบราณแลว ช่ือโบราณสถาน เชน วัดไดรางไป บางวัดเปล่ียนช่ือไป มีศัพทท้ัง บาลี สันสกฤต และเขมรปะปนกัน ซ่ึงสะกดการันตไมตรงกับแบบแผน” (ประเสริฐ ณ นคร, ๒๕๑๖: [๘]) ภาษาท่ีพบในวรรณกรรมโบราณเร่ือง โคลงนิราศหริภุญไชย แสดงใหเห็นถึงภาษาท่ีใชกันในสมัยนั้นเปนอยางไร เพราะวาในแตละยุคสมัยยอมมีความนิยมในการใชสํานวนภาษาถอยคําท่ีเปนแบบฉบับของตนเอง โดยเฉพาะคนไทยกลุมตาง ๆ เม่ืออยูหางไกลกัน การเปล่ียนแปลงทางดานภาษายอมแตกตางไปจากกันดวย ซ่ึงวิไลวรรณ ขนิษฐานันท กลาวไวในภาษาศาสตรเชิงประวัติและเปรียบเทียบกับการศึกษาภาษาโบราณวา “โดยท่ัวไปแลว ภาษายอมเปล่ียนไปตามกาลเวลา สภาพแวดลอม และผูใชภาษา ตราบใดท่ียังมีผูใชภาษาอยูในสังคมหนึ่ง” (วิไลวรรณ ขนิษฐานันท, ๒๕๓๒: ๑๖๐) ดังนั้น การอานวรรณคดีโบราณท่ีมีการคัดลอก แกไขดัดแปลงสืบเนื่องติดตอกันมา จึงตองใชความระมัดระวังอยางยิ่งในการตีความ ดังตัวอยางจากโคลงนิราศหริภุญไชย บทท่ี ๑ ดังตอไปนี้

กชกรตางแตต้ัง ศิรษา นบพระพุทธธรรมสาวกา แผนเผา

สนําสลูเบิกนามมา ขอมเรียก รักแฮ ไทด่ําบลเมิงเปา ผานไววิวรณ

(ฉบับหอสมุดแหงชาติ)

กัชชกรตางแตงต้ัง สิรสา นบพระธัมมสังฆา ผานเผา ฉนาํฉลูเบิกนามมา ขอมเรียก รักเอ ไทยตํ่าบลเมิงเปลา ปลานไววิวรณอัตถ (ฉบับสถาปนาของ ลมูล จันทนหอม)

Page 12: โคลงหริภุญไชย ภาษาในวรรณกรรม ...elanna/elanna51/lit/lit1.pdfวรรณกรรมโบราณเร อง โคลงหร

12

กัชชังกรมาแตงต้ัง สิระสา นบพระธรรมสาวกา ผานเผา สลูสนําเบิกนามมา ขอมเรียก รักเอ ไทยตํ่าบลเมิงเปลา ปลานไววิวรณอัฏ

จักปฏิบัติกาพยกลอนสรอยแสรง จักรํ่าริรํ่าพรองแตง (ฉบับลําพูน)

สรุป การอานวรรณกรรมโบราณใหไดความหมายที่ถูกตองเปนเร่ืองท่ีจะตองมีการศึกษาอยางลึกซ้ึง จริงจัง และตอเนื่อง ผู ศึกษาจะตองใชความรูทางดานภาษาศาสตร นิรุกติศาสตร ภาษาบาลี -สันสกฤต ภาษาขอม ฯลฯ นอกจากความรูทางดานภาษาแลว จําเปนท่ีจะตองอาศัยความรูทางดานประวัติศาสตร โบราณคดี เพื่อชวยอธิบายท่ีมา และความหมายของวรรณกรรม บางคร้ัง คําบางคําท่ีพบไมสามารถสืบหาความหมายเดิมไดเนื่องจากการเปล่ียนแปลงความหมายกลายไปจากเดิม ศัพทตาง ๆ ไมปรากฏในพจนานุกรม ดังนั้นการตีความอาจคลาดเคล่ือนไปจากความหมายเดิม และไมตรงตามวัตถุประสงคของกวีท่ีไดประพันธข้ึน

ในการศึกษาวรรณกรรมโบราณท่ีมีการคัดลอกและแกไขดัดแปลงซ่ึงแพรหลายในกลุม คนไทยตาง ๆ นั้น ไมควรที่จะศึกษาแตเพียงเฉพาะฉบับใดฉบับหนึ่งเทานั้น ควรมีการศึกษา เปรียบเทียบฉบับอ่ืน ๆ ดวย ท้ังนี้เพื่อเปนการศึกษาเปรียบเทียบการใชคําศัพท ถอยคําท้ังท่ีใชตรงกันและตางกัน รายละเอียดเหลานี้จะทําใหรูถึงพัฒนาการทางดานภาษา เสียงและความหมาย และฉันทลักษณของโคลงส่ีสุภาพท่ีแตกตางกัน ดังนั้น การศึกษาวรรณกรรมโบราณจะชวยทําใหคนไทยในปจจุบันรูถึงคําศัพทโบราณ และชวยใหเขาใจคําศัพทท่ีมีใชในปจจุบันไดดียิ่งข้ึน

วรรณกรรมโบราณลานนา เร่ือง โคลงหริภุญไชย ชวยทําใหผูอานเขาถึงประเพณี และ วัฒนธรรมท่ีไดปฏิบัติสืบเนื่องติดตอกันมา ความเล่ือมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา เสนทาง การเดินทางจากเชียงใหมถึงลําพูน ศาสนวัตถุและศาสนสถานท่ีสําคัญ พืชพรรณไมตาง ๆ ท่ีพบเห็นระหวางทาง การขับโคลง ประเภทของเคร่ืองดนตรี ฟอนรํา การละเลนตาง ๆ การประดับชอทุง การเลนไฟ และการทํานุบํารุงพระศาสนา เชน การปฏิสังขรณพระอัฏฐารสยืน เปนตน

Page 13: โคลงหริภุญไชย ภาษาในวรรณกรรม ...elanna/elanna51/lit/lit1.pdfวรรณกรรมโบราณเร อง โคลงหร

13

สถานะของวรรณกรรมโบราณในยุคโลกาภิวัตน ในขณะท่ีวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะ วัฒนธรรมทองถ่ิน นอกจากจะตองตอสูกับวัฒนธรรมสวนกลางแลวยังตองตอสูกับการไหลบาเขามาของความเจริญทางวัตถุ และวัฒนธรรมขามชาติ มีผลทําใหส่ิงท่ีมีคุณคาในเร่ืองของภาษา และวัฒนธรรมประเพณีท่ีสอดแทรกอยูในวรรณกรรมโบราณ การอานเขียน และการศึกษาวรรณกรรมโบราณท่ีนับวันจะสูญหายไปจากวิถีชีวิตของชาวลานนา ดังนั้นจึงจําเปนท่ีจะตองใหความสําคัญ และนําเสนอเร่ืองราวตาง ๆ ในแตละแงมุมใหกวางขวางลึกซ้ึงเพื่ออนุ รักษ ภูมิปญญาและวัฒนธรรมใหดํารงอยูคูกับสังคมไทยตอไปขางหนา

ผูเขียน นายชัปนะ ปนเงิน

ภาพประกอบโดยนางสาวอารีรัตน เฟองวรธรรม

Page 14: โคลงหริภุญไชย ภาษาในวรรณกรรม ...elanna/elanna51/lit/lit1.pdfวรรณกรรมโบราณเร อง โคลงหร

14

บรรณานุกรม

เอกสารใบลานและพับสา เวสสันดรชาดก ฉบับมหาเกสรปญโญ วัดลําปางกลางตะวันออก ตําบลชมพู อําเภอเมือง จังหวัด

ลําปาง จารเม่ือ จ.ศ. ๑๑๘๑ (พ.ศ. ๒๓๖๒) หมายเลข ๘๑. ๐๕๖. ๐๑B. ๐๘๐ – ๐๙๔. สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

โคลงหริภุญไชย ฉบับลําพูน จ.ศ. ๑๒๓๙ (พ.ศ. ๒๔๒๐). สมบัติสวนตัวของลุงนอยตา บานปาย ตําบลเชิงดอย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม.

หนังสือ กรมศิลปากร. “คํานํา,” ใน วรรณคดีในสมัยอยุทธยาและรัตนโกสินทร. โครงการพัฒนาการศึกษา

กรมฝกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ. พระนคร: โรงพิมพสงเสริมอาชีพ, ๒๕๐๔. เทือก กุสุมา ณ อยุธยา. “นิราศรางหางเหเสนหา, ” ใน ส่ือภาษา. กรุงเทพฯ: คุรุสภา, ๒๕๑๔. นอมนิจ วงศสุทธิธรรม. วรรณกรรมนิราศ. พิมพคร้ังท่ี ๒. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัย

รามคําแหง, ๒๕๓๖. นิรันตร นวมารค. “วิชาประพันธศาสตรวาดวยฉันทศาสตร ฉบับท่ี ๑ - ๒,” ใน คาํบรรยายภาษาไทย

ชั้นสูง ของชุมนุมภาษาไทย ของคุรุสภา. กรุงเทพฯ: โรพิมพคุรุสภา ลาดพราว, ๒๕๑๘. ไพฑูรย ดอกบัวแกว. นิราศหริภุญชัยฉบับลําพูน (เชียงใหม: สถาบันวิจัยสังคม

มหาวิทยาลัยเชียงใหม), ๒๕๓๕. ประเสริฐ ณ นคร. โคลงนิราศหริภุญชัย. พิมพคร้ังท่ี ๒. กรุงเทพฯ: โรงพิมพพระจันทร, ๒๕๑๖. เปล้ือง ณ นคร. ประวัติวรรณคดีไทยสําหรับนักศึกษา. พิมพคร้ังท่ี ๕. พระนคร: ไทยวัฒนา

พานิช, ๒๕๑๐. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕. พิมพคร้ังท่ี ๓. กรุงเทพฯ:

อักษรเจริญทัศน, ๒๕๓๐. วิไลวรรณ ขนิษฐานันท. “ภาษาศาสตรเชิงประวัติและเปรียบเทียบกับการศึกษาภาษาโบราณ.” ใน

ภาษาจารึก ฉบับคุรุลําลึก. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาตะวันออก มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๒.

หลวงบวรบรรณรักษ, นายรอยเอก (นิยม รักไทย). สํสกฤต – ไท – อังกฤษ ของ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. พระนคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, ๒๕๑๑.

อุดม รุงเรืองศรี. พจนานุกรมลานนา – ไทย ฉบับแมฟาหลวง. ฉบับปรับปรุงคร้ังท่ี ๑. เชียงใหม : คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๔๗.

Page 15: โคลงหริภุญไชย ภาษาในวรรณกรรม ...elanna/elanna51/lit/lit1.pdfวรรณกรรมโบราณเร อง โคลงหร

15

. วรรณกรรมลานนา. พิมพคร้ังท่ี ๒. กรุงเทพฯ: ศูนยหนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๖.

. วรรณกรรมลานนา. ปรับปรุงคร้ังท่ี ๒. เชียงใหม: คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๔๓.

อุดรคณาธิการ (ชวินทร สระคํา) และจําลอง สารพัดนึก. ผูรวบรวมและเรียบเรียง. พจนานุกรม บาลี – ไทย. พิมพคร้ังท่ี ๓. กรุงเทพฯ: รานเรืองปญญา ทาพระจันทร, ๒๕๓๘.

Davids, T.W. Rhys, and Stede, William. Pali - English Dictionary. New Delhi: Oriental Books Reprint Corporation, 1975.

The Pali Text Society’s Pali. Pali - English Dictionary. Digital Dictionaries of South Asia, 2006.

วิทยานิพนธ ลมูล จันทนหอม. “โคลงนิราศหริภุญชัย: การวินิจฉัยตนฉบับ.” วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๓๒.

สัมภาษณ ศาสตราจารย ดร. อุดม รุงเรืองศรี. ณ อาคารเรือนเดิม คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

วันท่ี ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๙.