เอกสารสุโขทัย (เพ่มเติม)...

7
เอกสารสุโขทัย (เพ ่มเต ม) ชุมชนโบราณในลุมแมน้ําตางๆ กอนสมัยสุโขทัย สภาพทางภูม ศาสตร ของราชอาณาจักรสุโขทัย แสดงให เห็นความอุดมสมบูรณของท ่ราบ ลุมแมําซ ่งเหมาะกับการตังถ ่นฐานของมนุษย ในการขุดคนทางโบราณคดเราพบโบราณวัตถุ สมัยก อนประวัต ศาสตร โบราณวัตถุสมัยประวัต ศาสตร เคร ่องประดับ สนคาตางประเทศ ศาสน วัตถุ และหลักฐานขอเขยนในชุมชนโบราณตางๆ ของลุมแมําปง ยม นานตอนลาง และปาสัก ตอนบน โบราณวัตถุท ่ขุดพบ ได แก เคร ่องม อเคร ่องใช่ทําจากดน หน เหล็กและสํารด เชน หมไห ทัพพ พวยกา กระปุก จาน ชาม ดาบ เคยว ใบมดหอก ขวาน กระสุน เบาหลอม ตุมถวงแห ตะคัน พาน ท อน ํา ตะขอ ตะเก ยง ตะปู กระเบ อง พาน ป นปกผม กระพรวน เคร ่องสังคโลก สวน เคร ่องประดับท ่ขุดพบ ไดแก แหวน กําไล ตุมหู ลูกปด ป นปกผม แผนโลหะรูปลง ตราประทับ ตุกตาเส ยกบาล อ กทั งศาสนวัตถุท ่ขุดพบม โบราณวัตถุของศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ ไดแก พระพุทธรูป พระแผง พระพ มพ ใบเสมา รูปเคารพพระนารายณ พระอาทตย พระกฤษณะ สุรย เทพ โคนนท รูปศวลงค และทับหลังนารายณบรรทมสนธ ์ นอกจากน เรายังขุดพบสนคา ตางประเทศอยาง ลูกปดอารเกต ลูกปดคารเนเลยน ตะเกยงโรมัน หวงาชาง กลองมโหระทก เคร ่องถ วยจ น ญ ่ปุ เราอาจกล าวได า การขุดค นทางโบราณคด แสดงให เห็นความเจร ญของชุมชนโบราณซ ่งม พัฒนาการอย างต อเน ่อง จากชุมชนโบราณสมัยก อนประวัตศาสตรมาสูชุมชนสมัยประวัตศาสตร ดังเห็นไดจาก การพบเคร ่องมอหนหลายยุคหลายสมัยในชุมชนโบราณตางๆ การพัฒนาน จะ เก ดข นม ได หากปราศจากทรัพยากรท ่เหมาะสมกับความกาวหนาทางเทคโนโลย ความกาวหนา ทางเทคโนโลยการถลุงเหล็ก ทําใหเราพบเคร ่องมอเคร ่องใช่ทําจากเหล็ก สํารด และทองคํา ในขณะท ่ทรัพยากรด นท ่ม คุณภาพและความสามารถของคนในท องถ ่น ทําให เราพบเคร ่องถวยชาม ่ม เอกลักษณ บร เวณแหล งเตาบ านเกาะน อยเหน อเม องศร สัชนาลัย เรยกวา “ภาชนะเคลอบแบบ มอญ” 1 ตอมาไดพัฒนาเปนเคร ่องถวยชามท ่ม ่อเสยงวา “เคร ่องสังคโลก” เราอาจกลาวไดวา ความเจรญทางวัตถุแสดงใหเห็นระดับความเจรญของชุมชนโบราณ ทําใหชุมชนโบราณพัฒนา อย างต อเน ่องและกลายเปนเม องโบราณได กําเน ดและพัฒนาการของเม องโบราณในราชอาณาจักรสุโขทัย การขุดค นทางโบราณคด ทําใหเราพบโบราณวัตถุหลากหลายชนดบรเวณชุมชนโบราณ ของราชอาณาจักรสุโขทัย ส ่งของเหลาน เองแสดงใหเห็นระดับความเจรญของชุมชน แมแหลง 1 ภาชนะเคล อบแบบมอญ เปนภาชนะเคล อบภายใน ในขณะท ่เคร ่องสังคโลกจะเคล อบภาชนะภายนอก

Transcript of เอกสารสุโขทัย (เพ่มเติม)...

Page 1: เอกสารสุโขทัย (เพ่มเติม) ชุมชนโบราณในลุ มแม น้ําต างๆ ก อน ...social.obec.go.th/library/document/curriculum/2/1/1.10.pdf ·

เอกสารสุโขทัย (เพ่ิมเตมิ)

ชุมชนโบราณในลุมแมน้ําตางๆ กอนสมัยสุโขทัย

สภาพทางภูมิศาสตรของราชอาณาจักรสุโขทัย แสดงใหเห็นความอุดมสมบูรณของที่ราบ

ลุมแมน้ําซ่ึงเหมาะกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย ในการขุดคนทางโบราณคดีเราพบโบราณวัตถุ

สมัยกอนประวัตศิาสตร โบราณวัตถุสมัยประวัตศิาสตร เครื่องประดับ สินคาตางประเทศ ศาสน

วัตถุ และหลักฐานขอเขียนในชุมชนโบราณตางๆ ของลุมแมน้ําปง ยม นานตอนลาง และปาสัก

ตอนบน

โบราณวัตถุที่ขุดพบ ไดแก เครื่องมือเครื่องใชที่ทําจากดิน หิน เหล็กและสําริด เชน หมอ

ไห ทัพพี พวยกา กระปุก จาน ชาม ดาบ เคียว ใบมีดหอก ขวาน กระสุน เบาหลอม ตุมถวงแห

ตะคัน พาน ทอน้ํา ตะขอ ตะเกยีง ตะปู กระเบื้อง พาน ปนปกผม กระพรวน เครื่องสังคโลก สวน

เครื่องประดับที่ขุดพบ ไดแก แหวน กําไล ตุมหู ลูกปด ปนปกผม แผนโลหะรูปลิง ตราประทับ

ตุกตาเสยีกบาล อีกทัง้ศาสนวัตถุที่ขุดพบมีโบราณวัตถุของศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ ไดแก

พระพุทธรูป พระแผง พระพิมพ ใบเสมา รูปเคารพพระนารายณ พระอาทิตย พระกฤษณะ สุริย

เทพ โคนนทิ รูปศิวลึงค และทับหลังนารายณบรรทมสินธิ์ นอกจากนี้เรายังขุดพบสินคา

ตางประเทศอยาง ลูกปดอารเกต ลูกปดคารเนเลียน ตะเกียงโรมัน หวีงาชาง กลองมโหระทึก

เครื่องถวยจนี ญ่ีปุน

เราอาจกลาวไดวา การขุดคนทางโบราณคดแีสดงใหเห็นความเจรญิของชุมชนโบราณซ่ึงมี

พัฒนาการอยางตอเนื่อง จากชุมชนโบราณสมัยกอนประวัติศาสตรมาสูชุมชนสมัยประวัติศาสตร

ดังเห็นไดจาก การพบเครื่องมือหินหลายยุคหลายสมัยในชุมชนโบราณตางๆ การพัฒนานี้จะ

เกดิข้ึนมิไดหากปราศจากทรัพยากรที่เหมาะสมกับความกาวหนาทางเทคโนโลยี ความกาวหนา

ทางเทคโนโลยีการถลุงเหล็ก ทําใหเราพบเครื่องมือเครื่องใชที่ทําจากเหล็ก สําริด และทองคํา

ในขณะที่ทรัพยากรดนิที่มีคุณภาพและความสามารถของคนในทองถิ่น ทําใหเราพบเครื่องถวยชาม

ที่มีเอกลักษณบรเิวณแหลงเตาบานเกาะนอยเหนอืเมืองศรสีัชนาลัย เรียกวา “ภาชนะเคลือบแบบ

มอญ”1 ตอมาไดพัฒนาเปนเครื่องถวยชามที่มีช่ือเสียงวา “เครื่องสังคโลก” เราอาจกลาวไดวา

ความเจริญทางวัตถุแสดงใหเห็นระดับความเจริญของชุมชนโบราณ ทําใหชุมชนโบราณพัฒนา

อยางตอเนื่องและกลายเปนเมืองโบราณได

กําเนดิและพัฒนาการของเมอืงโบราณในราชอาณาจักรสุโขทัย

การขุดคนทางโบราณคดี ทําใหเราพบโบราณวัตถุหลากหลายชนิดบริเวณชุมชนโบราณ

ของราชอาณาจักรสุโขทัย สิ่งของเหลานี้เองแสดงใหเห็นระดับความเจริญของชุมชน แมแหลง

1 ภาชนะเคลอืบแบบมอญ เปนภาชนะเคลอืบภายใน ในขณะท่ีเคร่ืองสังคโลกจะเคลอืบภาชนะภายนอก

Page 2: เอกสารสุโขทัย (เพ่มเติม) ชุมชนโบราณในลุ มแม น้ําต างๆ ก อน ...social.obec.go.th/library/document/curriculum/2/1/1.10.pdf ·

โบราณคดีหลายแหงจะอยูบนลุมแมน้ําเดียวกันแตก็พบโบราณวัตถุตางกัน ดังนั้น กําเนิดและ

พัฒนาการของเมืองโบราณในราชอาณาจักรสุโขทัยมีพื้นฐานจากองคประกอบหลายอยาง ทั้ง

ปจจัยดานภูมิสถาน ทรัพยากรธรรมชาต ิทรัพยากรวัตถุ และทรัพยากรมนุษย

\

ภาพที่ 1 แผนที่แสดงตําแหนงชุมชนโบราณในรัฐสุโขทัย

ที่มา : ศรศีักดิ์ วัลลโิภดม, เมืองโบราณในราชอาณาจักรสุโขทัย

แผนที่นี้แสดงใหเห็นความหนาแนนของชุมชนโบราณตามลุมแมน้ําตางๆ รูปแบบของการ

ตัง้ถิ่นฐานประกอบดวยชุมชนหลักและชุมชนบริวารซ่ึงเปนโครงสรางพื้นฐานกอนการพัฒนาเปน

เมืองโบราณ หลักฐานแสดงการตัง้ถิ่นฐานถาวรของชุมชนโบราณเหลานี้ คอื การสรางคูน้ําคันดิน

ซ่ึงมีลักษณะเปนรูปวงกลมแบบวัฒนธรรมทวารวดแีละรูปสี่เหลี่ยมแบบวัฒนธรรมเขมร เปนการ

ลอมรัว้ที่แสดงถึงอาณาเขตของชุมชนโบราณนั้นๆ ประโยชนของคูน้ําคันดินอีกประการหนึ่ง คือ

การกักเก็บและการผันน้ําสูพื้นที่ทางการเกษตร เนื่องจากเราพบเมล็ดขาวและเครื่องมือทางการ

Page 3: เอกสารสุโขทัย (เพ่มเติม) ชุมชนโบราณในลุ มแม น้ําต างๆ ก อน ...social.obec.go.th/library/document/curriculum/2/1/1.10.pdf ·

เกษตรในชุมชนโบราณตางๆ นอกจากนี้ ไดพบสุสานฝงศพที่แหลงโบราณคดวัีดชมช่ืน ซ่ึงแสดงให

เห็นการอยูตดิกับที่และสามารถประกอบพิธกีรรมรวมกันของคนในชุมชน2 ปจจัยที่ทําใหเกิดเมือง

โบราณมีดังตอไปนี้

1 ปจจัยท่ีทําใหเกดิเมอืงโบราณ

ทําเลท่ีตั้ง

แผนที่ภาพถายทางอากาศขางตนแสดงใหเห็นรองรอยการตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณ

บรเิวณที่ราบชายฝงแมน้ําซ่ึงเอ้ือตอการดํารงชีวิตและการคมนาคม ทําใหเกิดการตั้งหลักแหลง

ชุมชนโบราณอยางถาวรซ่ึงสงผลตอพัฒนาการอยางตอเนื่องจนกลายเปนเมืองโบราณได ตัวอยาง

ของเมืองโบราณที่มีทําเลที่ตั้งดีที่สุดเมืองหนึ่ง คือ “เมืองศรีสัชนาลัย” ผูชวยศาสตราจารยทิวา

ศุภ-จรรยา ผูเช่ียวชาญทางดานการอานแผนที่ ภาพถายทางอากาศและการตั้งถิ่นฐานชุมชน

โบราณไดใหความเห็นวา

...ลักษณะการตัง้ถิ่นฐานของมนุษยในบริเวณนี้เปนธรรมดาอยูเองที่จะตองหนาแนน

อยูรมิแมน้ํายมเปนแนวยาว จากบริเวณคุงน้ําที่เปนหวงลอมวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ

ข้ึนไปถงึเนนิเขาทางตะวันตกเฉยีงเหนอื ซ่ึงเปนบริเวณที่มีวัดกระจัดกระจายอยูมาก

และแสดงใหเห็นวา มีประชากรอยูหนาแนน การเลือกหวงคุงน้ํายมเปนที่ตั้งถิ่นฐาน

นับวาเหมาะสมมากเนื่องจากมีศูนยกลางของชุมชนที่สําคัญที่สุดโดยมีศาสนสถาน

เปนสัญลักษณแหงความเปนศูนยกลางเมืองนัน้...3

นอกจากนี้ เมืองศรีสัช

นาลัยมีเขาพนมเพลงิโอบลอมตัว

เ มื อ ง ด า น ทิ ศ ต ะ วั น อ อ ก -

ตะวันตก และเขาพระศรีโอบ

ลอมดานทศิเหนือ เมืองศรีสัชนา

ลัยมีปราการธรรมชาตทิี่สามารถ

ปองกันเมืองในขณะเดียวกันเปน

แหลงอาหารในการดํารงชีวิต ทํา

ใหเมืองศรีสัชนาลัยพัฒนาเปน

เมืองโบราณได

2 ชูศักดิ์ เสถียรพัฒโนดม, “พัฒนาการเมืองศรีสัชนาลัยตั้งแตกางพุทธศตวรรษท่ี 17 ถึงกลางพุทธ

ศตวรรษท่ี 22”, 31. 3 วินัย พงศศรีเพียร, “ศรีสัชนาลัย : ปญหาในประวัติศาสตรไทย,” แถลงงานประวัติศาสตร เอกสาร

โบราณคด ีฉบับพิเศษ ปท่ี 22 (มกราคม-ธันวาคม 2532), 96.

Page 4: เอกสารสุโขทัย (เพ่มเติม) ชุมชนโบราณในลุ มแม น้ําต างๆ ก อน ...social.obec.go.th/library/document/curriculum/2/1/1.10.pdf ·

การเกดิชุมชนเกษตรกรรม

เดมิชุมชนโบราณเปนสังคมแบบลาสัตว-หาของปา ซ่ึงตระเวนหาพืชพันธุธัญญาหารตาม

ปาเขาเพื่อการยังชีพ การขุดคนทางโบราณคดีทําใหเราพบชุมชนโบราณบางแหงอยูในบริเวณถ้ํา

และหนาผา การตัง้ถิ่นฐานบรเิวณดังกลาวจงึอํานวยความสะดวกการดํารงชีพแบบขางตน แตการ

ดํารงชีพดังกลาวมีความไมแนนอนเพราะพ่ึงพาธรรมชาติมากเกินไป ตอมาชุมชนโบราณพัฒนา

เปนชุมชนเกษตรกรรมอันเนื่องมาจากการตัง้ถิ่นฐานอยางถาวรบริเวณที่ราบลุมแมน้ํา ซ่ึงอํานวย

ความสะดวกตอการปลูกขาว และการทําไรทําสวน ทําใหผูปกครองสรางระบบรับประกันผลผลิต

คอื การจัดสรรที่ดนิและการสรางคูน้ําคันดิน ซ่ึงแบงเปนสองประเภท คือ ระบบเหมืองฝาย เปน

ระบบการกักเก็บน้ําซ่ึงเปนพื้นฐานของการเกษตรกรรมที่ทําใหชุมชนขยายพื้นที่ได และระบบ

ชลประทาน เปนระบบการจัดการน้ําซ่ึงมีคลองชลประทานผันน้ํามาสูชุมชนได ผลตอบแทนของ

การสรางระบบประกันผลผลติทําใหชุมชนสามารถผลติขาวไดมากพอสําหรับการรองรับประชากร

ที่มีจํานวนมากข้ึน การเปนชุมชนเกษตรกรรมไมใชแคการการันตีความกินดีอยูดีของชุมชน แตยัง

เปนพื้นฐานการพัฒนาไปสูความเปนเมืองโบราณอีกดวย

ภาพที่ 3 ภาพถนนพระรวงจากเมืองสุโขทัยถงึเมืองศรสีัชชาลัย

เทคโนโลยีการถลุงแร

การคนพบตระกรันข้ีแร ลูกกระพรวนโลหะ มีดเหล็ก กําไลสําริด แหวนเงิน สรอยคอ

ทองคํา ในชุมชนโบราณตางๆ แสดงใหเห็นพื้นฐานของการพัฒนาเปนเมืองโบราณ คือ เทคโนโลยี

การถลุงแร เทคโนโลยีการถลุงแรนี้มีองคประกอบที่สอดประสานกันอยางลงตัว คือ ทรัพยากร

ธรรมชาตปิระเภทแรและความรูดานโลหะวิทยาของคนในชุมชน การศกึษาทางโบราณคดทีําใหเรา

พบวาแหลงโบราณคดีบานวังหาดมีการใชเทคโนโลยีการถลุงแรดั่งที่ปรากฎหลักฐานการพบ

เครื่องมือเหล็ก กําไลสําริด เหรียญเงินรูปพระอาทิตย-รูปศรีวัตสะ แผนโลหะรูปหนาลิง แหวน

ทองคํา ฯลฯ โบราณวัตถุเหลานี้ยังสะทอนใหเห็นความแตกตางของบุคคลและสภาพสังคมที่

Page 5: เอกสารสุโขทัย (เพ่มเติม) ชุมชนโบราณในลุ มแม น้ําต างๆ ก อน ...social.obec.go.th/library/document/curriculum/2/1/1.10.pdf ·

ซับซอน ดังเห็นไดจาก เหรียญเงินรูปพระอาทิตย-รูปศรีวัตสะ แสดงใหเห็นเหรียญสําหรับการ

ประกอบพิธีกรรม สวนแหวนทองคําเปนเครื่องประดับสําหรับชนช้ันสูง เราอาจกลาวไดวา

เทคโนโลยกีารถลุงแรเปนพื้นฐานของการพัฒนาไปสูการเปนเมืองโบราณในราชอาณาจักรสุโขทัย

2 พัฒนาการทางดานเศรษฐกจิ

เม่ือชุมชนโบราณพัฒนาเปนชุมชน

เกษตรกรรม ทําให ชุมชนมีขาวมากพอ

สําหรับการรองรับประชากร ในขณะเดียวกัน

ประชากรบางกลุมประกอบอาชีพที่ไมใชการ

ทํานา การทําไรหรือการทําสวน คือ งานวิชาชาง ซ่ึงเปน

ผูชํานาญการในงานฝมือเฉพาะอยาง อาชีพเหลานี้เกิดจาก

ทรัพยากรทางธรรมชาติกับความเจริญทางเทคโนโลยีของ

แตละชุมชน เชน ชางปนหมอของเกาะนอยเมืองศรสีัชนาลัย

ชองหลอโลหะของแหลงโบราณคดีบานวังหาด ชางหลอ

พระพุทธรูปของเมืองพิษณุโลก (เมืองสระหลวงสองแคว)

ชางทําเครื่องประดับที่เมืองโบราณดงแมนางเมือง แตละลุม

แมน้ําในราชอาณาจักรสุโขทัยสรางเครอืขายการคารวมกัน

เพื่อสะดวกตอการแลกเปลี่ยนสินคากับชุมชนตางๆ

หลักฐานที่ยืนยัน คือ การพบเครื่องสังคโลกของเกาะนอย

เมืองศรสีัชนาลัย แหงลุมแมน้ํายม ที่แหลงโบราณคดีเมือง

ฝางของลุมแมน้ํานานและที่เมืองโบราณบางพานของลุมแมน้ําปง

นอกจากนี้ชุมชนโบราณยังทําการคากับอาณาจักรภายนอก ดังที่ปรากฏหลักฐานการพบ

สินคาที่มิใชของพื้นเมือง เชน ลูกปดหินอาเกต (Agate) และลูกปดคารเนเลียน (Canelian)

สันนษิฐานวามาจากประเทศอินเดยี4 กลองมโหระทกึ มีแหลงผลิตอยูที่มณฑลกวางสีของจีนและ

ภาคเหนอืของเวยีดนาม5 กลองมโหระทกึนี้เปนกลองพิธศีักดิ์สทิธิ์เกี่ยวกับความอุดมสมบูรณและ

ยังเปนเครื่องแสดงสถานภาพของหัวหนาชนเผา6 สวนหวีงาชางซ่ึงสลักรูปหงส มาและเครื่องราช

มงคล เปนหวศีักดิ์สทิธิ์ของผูมีอํานาจทางการเมือง รวมทัง้การคนพบเครื่องถวยที่มาจากจีน ญ่ีปุน

และเวยีดนาม เราอาจกลาวไดวา ชุมชนโบราณมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจจากแบบพอยังชีพเปน

4 พรชัย สุจิตต, ลูกปดในอดตี-ปจจุบัน (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเมอืงโบราณ, 2546), 71. 5 สุจิตต วงษเทศ, กรุงสุโขทัย มาจากไหน (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมตชิน, 2548), 27. 6 สุจิตต วงษเทศ, สุวรรณภูมิ ตนกําเนิดกระแสประวัติศาสตรไทย (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมติชน,

2549), 46.

Page 6: เอกสารสุโขทัย (เพ่มเติม) ชุมชนโบราณในลุ มแม น้ําต างๆ ก อน ...social.obec.go.th/library/document/curriculum/2/1/1.10.pdf ·

เพื่อการคา ทําใหชุมชนมีความม่ังค่ังทางเศรษฐกจิและเปนปจจัยหนึ่งทําใหพัฒนาเปนเมืองโบราณ

ได

3 กําเนดิของชนช้ันทางสังคม

ลักษณะสังคมของชุมชนโบราณเปนสังคมลาสัตว หาของปา ดังที่ปรากฏกระดูกสัตว

เปลอืกหอย และเมล็ดพชืในแหลงโบราณคดตีางๆ คนในชุมชนตางประกอบอาชีพเหมือนกัน ทําให

ไมมีความแตกตางทางสถานภาพและบทบาท อยางไรก็ตาม สังคมดั้งเดิมมีหัวหนาชนเผาเปน

ตัวแทนของชุมชนในการปฏิบัตหินาที่พิเศษ เชน ผูนําในการรบกับชนเผาอ่ืน ผูตัดสินขอพิพาทของ

คนในชุมชน อีกทั้งสังคมดั้งเดิมมีผูนําทางวิญญาณ หรือหมอผีเปนผูประกอบพิธีกรรมและเปน

ผูรักษาโรคภัยไขเจ็บแกคนในชุมชน

เนื่องจากความไดเปรยีบดานทําเลที่ตัง้ ความพรอมดานเสบยีง ความเจรญิทางเทคโนโลย ี

ความม่ันคงทางเศรษฐกิจ ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอคน สังคม ชุมชนโบราณ ผูนําชุมชนนํา

รูปแบบวัฒนธรรมอินเดียซ่ึงรับผานอาณาจักรเขมร ปรับใหเขากับรูปแบบเดิมของชุมชนโบราณ

เพื่อเปลี่ยนโครงสรางทางสังคม ผลของการปรับเปลี่ยนนี้คือ การเกิดชนช้ันนําทางสังคม แบง

ออกเปน ชนช้ันนําทางการเมืองและชนช้ันนําทางวัฒนธรรม

4 ความสําคัญเมอืง

เมอืงในฐานะศูนยกลางอารยธรรม: ผลกระทบของการตั้งถิ่นฐานถาวร

เมอืงในฐานะศูนยกลางการเมอืงกับชนช้ันนําทางการเมอืง

เมอืงในฐานะศูนยกลางพิธกีรรมกับชนช้ันนําทางวัฒนธรรมและภูมปิญญา

เมืองท่ีเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจ เนื่องจากชุมชนสามารถใชทรัพยากรธรรมชาต ิ

ความรูทางเทคโนโลย ีและความคิดสรางสรรคของคนในชุมชน ผลิต “สินคาที่มีเอกลักษณ” เพื่อ

ใชแลกเปลี่ยนกับชุมชนอ่ืน เชน กอนพุทธศตวรรษที่ 18 เมืองเชลียงสามารถใชทรัพยากรดินและ

ความรูทางเทคโนโลยีในการทําน้ําเคลือบ ทําใหเมืองผลิตเครื่องปนดินเผาที่มีเอกลักษณพิเศษ

เรียกวา “เครื่องเคลือบแบบมอญ”7 ประมาณพุทธศตวรรษที่ 18 เมืองศรีสัชนาลัยผลิต

เครื่องปนดินเผาซ่ึงไดรับอิทธิพลจากเครื่องถวยขอม ทําใหเครื่องปนดินเผานี้มีลักษณะเนื้อดิน

แกรง มีหลากสีและมีการเคลือบสีน้ําตาลและดํา เรียกวา ไหขอม พุทธศตวรรษที่ 19-20 เมือง

ศรสีัชนาลัยผลติเครื่องปนดนิเผาเลยีนแบบเครื่องลายครามจนีสมัยราชวงศหยวนและหมิง เรียกวา

เครื่องสังคโลก ลักษณะเดน คือ การเคลือบสีเขียวแบบเซลาดอน ตกแตงลายปลา ลายกลีบบัว

ลายดอกเบญจมาศ ฯลฯ8

7 เคร่ืองเคลอืบแบบมอญ เปนภาชนะเคลอืบสเีขยีวเฉพาะดานใน 8 ธิดา สาระยา, เมอืงศรีสัชนาลัย (กรุงเทพฯ : เมอืงโบราณ, 2537), 129-133.

Page 7: เอกสารสุโขทัย (เพ่มเติม) ชุมชนโบราณในลุ มแม น้ําต างๆ ก อน ...social.obec.go.th/library/document/curriculum/2/1/1.10.pdf ·

สนิคาเหลานี้ปรากฏในชุมชนโบราณตางๆ เชน เมืองโบราณบางพาน แหลงโบราณคดีบาน

ปากหวยฉลอง แหลงโบราณคดวัีงแพวน แหลงโบราณคดบีานเมืองฝาง แหลงโบราณคดบีานชมพู

เมืองโบราณทุงยัง้ เมืองพิชัย เมืองพิษณุโลก เมืองโบราณนครไทย ชุมชนโบราณวัดพระยายมราช

ชุมชนโบราณบานวังทอง ชุมชนโบราณบานวังสาร ชุมชนโบราณทับคลอ เมืองโบราณบานทุงโพธิ์

เมืองชัยบวร เราจะเห็นไดวาเมืองศรสีัชนาลัยผลติสนิคาประเภทเครื่องปนดนิเผานี้เพื่อแลกเปลี่ยน

กับชุมชนภายนอก ประกอบดวยเมืองตัง้ถิ่นฐานใกลกับแมน้ํา ทําใหเกดิความสะดวกในการติดตอ

การคาและมีพัฒนาการทางเศรษฐกจิจนนําไปสูความเปน “เมืองการคา” ได