รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education...

56
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2558 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค คณะ/ภาควิชา : คณะครุศาสตร หมวดที1 ขอมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อหลักสูตร รหัสหลักสูตร : ภาษาไทย : หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาษาอังกฤษ : Master of Education Program in Educational Administration 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ภาษาไทย ชื่อเต็ม : ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) ชื่อยอ : ค.ม. (การบริหารการศึกษา) ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Master of Education (Educational Administration) ชื่อยอ : M.Ed. (Educational Administration) 3. วิชาเอก : ไมมี 4. จํานวนหนวยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 45 หนวยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ เปนหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 ระดับที4 ปริญญาโท 5.2 ภาษาที่ใช ใชภาษาไทยในการสอน สวนเอกสารหรือตําราประกอบการสอนเปนภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ 5.3 การรับเขาศึกษาตอ รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาตางประเทศที่สามารถใชภาษาไทยไดเปนอยางดีโดย ผานการคัดเลือกจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 5.4 ความรวมมือกับสถาบันอื่น เปนหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรคที่จัดการเรียนการสอนเอง 5.5 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษาใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียวแกผูสําเร็จการศึกษา

Transcript of รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education...

Page 1: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2558

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค คณะ/ภาควิชา : คณะครุศาสตร

หมวดท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป 1. รหัสและชื่อหลักสูตร รหัสหลักสูตร : ภาษาไทย : หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

ภาษาอังกฤษ : Master of Education Program in Educational Administration

2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ภาษาไทย ชื่อเต็ม : ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) ชื่อยอ : ค.ม. (การบริหารการศึกษา) ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Master of Education (Educational Administration) ชื่อยอ : M.Ed. (Educational Administration)

3. วิชาเอก : ไมมี

4. จํานวนหนวยกิตท่ีเรียนตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 45 หนวยกิต

5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ เปนหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 255 2 ระดับท่ี 4 ปริญญาโท 5.2 ภาษาท่ีใช ใชภาษาไทยในการสอน สวนเอกสารหรือตําราประกอบการสอนเปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 5.3 การรับเขาศึกษาตอ รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาตางประเทศท่ีสามารถใชภาษาไทยไดเปนอยางดีโดยผานการคัดเลือกจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 5.4 ความรวมมือกับสถาบันอ่ืน เปนหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรคท่ีจัดการเรียนการสอนเอง 5.5 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษาใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียวแกผูสําเร็จการศึกษา

Page 2: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

2

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร 6.1 เปนหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 ปรับปรุงจากหลักสูตร พ.ศ. 2553 6.2 เริ่มใชในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2558 เปนตนไป 6.3 กรรมการประจําคณะครุศาสตร ในการประชุมวันท่ี 14 มกราคม พ.ศ. 2558 6.3 สภาวิชาการเห็นชอบหลักสูตรในการประชุม ครั้งท่ี 1/2558 วันท่ี 15 มกราคม พ.ศ. 2558 6.4 สภามหาวิทยาลัยเห็นชอบหลักสูตรในการประชุมครั้งท่ี /2558 วันท่ี 26 มีนาคม พ.ศ. 2558

7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน เนื่องจากหลักสูตรจะตองผานการประเมินตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรเปนประจําทุกปการศึกษา ถาหากผานเกณฑการประเมินครบ 2 ปการศึกษา หรือครึ่งหนึ่งของเวลาเรียนตลอดหลักสูตร จึงจะไดรับการรับรองและตีคาปริญญาจาก ก.พ. และถือวาสามารถเผยแพรหลักสูตรได ดังนั้นหลักสูตร ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 จึงสามารถเผยแพรหลักสูตรไดในปการศึกษา 2560

8. อาชพีท่ีสามารถประกอบอาชีพไดหลังสําเร็จการศึกษา มหาบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา สามารถประกอบอาชีพตาง ๆ ไดดังนี้ 8.1 ผูบริหารการศึกษา 8.2 ผูบริหารสถานศึกษาทุกระดับและทุกสังกัดท้ังของรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่นและเอกชน 8.3 ผูรับใบอนุญาตจัดต้ังสถานศึกษาเอกชน 8.4 นักวิชาการศึกษาในหนวยงานทางการศึกษาท้ังของรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และเอกชน 8.5 นักวิเคราะหนโยบายและแผนการศึกษาในหนวยงานทางการศึกษาท้ังของรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และเอกชน 8.6 นักวิจัยการศึกษาในหนวยงานภาครัฐ และเอกชน

Page 3: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

3

9. ชื่อ นามสกุล เลขประจําตัวบัตรประชาชน ตําแหนงและคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย

ผูรับผิดชอบหลักสูตร

ลําดับ

ท่ี ชื่อ –นามสกุล

เลขท่ีบัตรประชาชน ตําแหนง คุณวุฒิการศึกษา

สถาบัน การศึกษา

ปสําเร็จการศึกษา

1 นางนันทิยา นอยจันทร 3100602874487

รองศาสตราจารย

ปร.ด. (การบริหารการศึกษา)

ค.ม. (การศึกษาปฐมวัย)

ศษ.บ. (การบริหารการศึกษา)

ค.บ. (การศึกษาปฐมวัย)

มหาวิทยาลัยศิลปากร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

2551 2532 2532 2529

2 นายทีปพิพัฒน สันตะวัน 3630600238309

อาจารย กศ.ด.(การบริหารการศึกษา) ศศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว) ศษ.บ. (การบริหารการศึกษา) กศ.บ. (การแนะแนว)

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก

2551 2533 2533 2528

3 นายสาธร ทรัพยรวงทอง 3311100365496

อาจารย

ปรด. (การบริหารการศึกษา) ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา) ค.บ.(วัดผลการศึกษา)

มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยรามคําแหง

วิทยาลัยครูบุรีรัมย

2555 2540 2534

Page 4: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

4

10. สถานท่ีจัดการเรียนการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค

11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาท่ีจําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1 สถานการณหรือการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

การพัฒนาหลักสูตรจะสอดคลองกับการเขาสูประชาคมอาเชียนและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

สังคมแหงชาติฉบับท่ี 11 (พ.ศ.2555-2559) ท่ีกลาวถึงการเตรียมความพรอม คน สังคมและระบบ

เศรษฐกิจของประเทศใหสามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงไดอยางเหมาะสม โดย

ใหความสําคัญกับการพัฒนาคนและ สังคมไทยใหมีคุณภาพ มีโอกาสเขาถึงทรัพยากรและไดรับ

ประโยชนจากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอยางเปนธรรมรวมท้ังสรางโอกาสทางเศรษฐกิจดวย

ฐานความรู เทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิดสรางสรรค บนพ้ืนฐานการผลิตและการบริโภคท่ีเปนมิตร

ตอสิ่งแวดลอม

11.2 สถานการณหรือการเปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ จากขอมูลการศึกษาภาพอนาคตของโลกจนถึงป พ.ศ.2563 ของบริษัทเชลลอินเตอรเนชั่นแนล ซ่ึงใหความสําคัญกับผูคนและความเชื่อมโยงตอกัน (People and Connection) โดยสรุปวามีพลังหลัก 3 ประการท่ีกําลังขับเคลื่อนโลกอยูในปจจุบัน ไดแก พลังโลกาภิวัตน (Globalization) การเปดเสร ี(Liberalization) และเทคโนโลยี (Technology) ดังนั้นภาพอนาคตท่ีเกิดขึ้นจากปฏิสัมพันธระหวางพลังหลักท้ังสามนี้มี 2 ภาพคือ โลกของชนชั้นธุรกิจ (Business Class) กับโลกของผลึกแกวกระจายแสง (Prism) ซ่ึงมูลนิธิสงเสริมนโยบายศึกษา ไดทําการศึกษาวิเคราะหวิจัยไดสรุป ภาพอนาคตของประเทศไวในเอกสารรายงานการพัฒนายุทธศาสตรอุดมศึกษา กลาวคือ สําหรับโลกธุรกิจลักษณะเดนคือ 1) ชนชั้นนําเชื่อมโยงขามชาติ 2) ประชาคมโลกมีการติดตอสื่อสารกันมากขึ้น 3) สังคมผันผวน 4) ตลาดนํารัฐ และในสวนของโลกผลึกแกวกระจายแสงจะพบลักษณะสังคมท่ีสําคัญคือ 1) คานิยมของศูนยกลาง 2) แวดวงของความสัมพันธท่ีทับซอนกัน 3) ความพอเพียงและ 4) ความสําคัญของภูมิปญญาทองถิ่น แมวาแตละสังคมตางมีภูมิศาสตรวิถีชีวิตและคุณคาเฉพาะของแตละสังคมแตตางก็ตองเผชิญแรงกดดันท่ีมาจากภาพอนาคตของ 2 โลกประเด็นสําคัญท่ีคนพบคือทามกลางแรงขับดันของกระแสหลักของโลก 3 กระแสคือโลกาภิวัตถ การเปดเสรีและเทคโนโลยีท่ีสงผลอยางกวางขวางลึกซ้ึงตอระบบเศรษฐกิจระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบโรงเรยีนระบบการเมืองและการบริหารจัดการและระบบสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรคในฐานะท่ีเปนสถาบันอุดมศึกษาเพ่ือการพัฒนาทองถิ่นซ่ึงมีปรัชญาวาเปนสถาบันอุดมศึกษาชั้นนําเพ่ือการพัฒนาทองถิ่น โดยมีพันธกิจสําคัญท่ีเปน อัตลักษณประการหนึ่งคือ การผลิต พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ภายใตยุทธศาสตรสําคัญ คือการสรางโอกาสทางการศึกษาเพ่ือการเรียนรูตลอดชีวิตและการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมขยายบริการและโอกาสทางการศึกษาใหท่ัวถึง การเขาถึงความรูและผลิตกําลังคนใหสอดคลองกับความตองการของทองถิ่นปลูกจิตสํานึกคานิยมและคุณคาความเปนไทยพัฒนาแหลงเรียนรูองคความรูและการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมประเพณีท่ีดีงามพัฒนาตอยอดภูมิปญญาท่ีสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันและใชประโยชนทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีสามารถเพ่ิมผลิตผลการผลิตการสรางสรรคคุณคาพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมท้ังสงเสริมสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริท่ีมีอยูในทองถิ่นดังนั้นมหาวิทยาลัยราชภัฏ

Page 5: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

5

นครสวรรคจึงจําเปนตองพัฒนาหลักสูตรเพ่ือสรางนักบริหารการศึกษาท่ีมีความรอบรู รูลึกโดยใชองคความรูทางการบริหารการศึกษาและการวิจัยเปนฐานเพ่ือเปนกําลังหลักในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในทองถิ่นท่ีมีความสามารถในการแขงขันอันจะนําไปสูการพัฒนาสังคมและประเทศชาติตอไป 11.3 ผลกระทบจากโลกาภิวัตน สถาบันอุดมศึกษาในปจจุบันกําลังประสบกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวการณโลกท้ังในดาน

สังคม เศรษฐกิจ การเมืองเปนผลทําใหสถาบันอุดมศึกษาตองปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน บทบาท พันธกิจ และหนาท่ี ในการจัดการเรียนการสอนใหกาวทันตอสถานการณโลกท่ีเปลี่ยนแปลง อีกท้ังโลกในศตวรรษท่ี 21 เปนสังคมท่ีไรพรมแดนและขับเคลื่อนดวยความกาวหนาของเทคโนโลยีและการสื่อสาร ความรูมีวงจรชีวิตท่ีสั้นลง เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ดังนั้น มนุษยในสังคมโลกยุคปจจุบันและอนาคตจึงตองแสวงหาความรูใหมใหอยูตลอดเวลา เนื่องจากความรูก็คือสินทรัพยประการหนึ่ง ดวยเหตุนี้สถาบันอุดมศึกษาจึงตองมีหนาท่ีหลักในการผลิตบัณฑิตท่ีมีความรูทันสมัย และผลิตงานวิจัยสําหรับการพัฒนาประเทศท่ีสอดคลองกับความตองการของสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไปอีกท้ังรองศาสตราจารยเท้ือน ทองแกวไดนําเสนอเก่ียวกับสมรรถนะผูบริหารในศตวรรษท่ี 21 นั้นสมรรถนะหลัก (Competency) ของผูบริหาร มีขอเสนอแนะสําหรับการพัฒนาผูบริหารระดับสูงในดานสมรรถนะหลัก 3 ดาน คือ ศักยภาพในการเปลี่ยนแปลง (Leading Change) ศักยภาพในการเปนผูนํา (Leading

People Driven) การมุงผลสัมฤทธ์ิ (Results Driven) ปจจัยสําคัญท่ีจะกอใหเกิดศักยภาพในการเปลี่ยนแปลงมีดังนี้ คือ 1) การเรียนรูอยางตอเนื่อง (Continual Learning) 2) มีความคิดสรางสรรคและใชนวัตกรรม (Creativity and Innovation) 3) ตระหนักถึงผลกระทบจากภายนอก (External Awareness) 4) ความยืดหยุน (Flexibility) 5) ปรับเปลี่ยนได (Resilience) 6) จูงใจใฝบริหาร (Service Maturation) 7) การคิดเชิงกลยุทธ (Strategic Thinking) 8) วิสัยทัศน (Vision)

จากความหมายและปจจัยสําคัญท่ีนําไปสูการเปลี่ยนแปลงนั้นมีลักษณะสําคัญ (Key Characteristics) ดังนี้ 1) ความสามารถในการเปนผูบริหารท่ีมีภาวะผูนํา และการจูงใจใหมีวิสัยทัศนในองคองคกร การวางแผนกลยุทธ และปจจัยตาง ๆ ในการจัดการท่ีมีคุณภาพนําไปสูกิจกรรมขององคกรท่ีสมบูรณแบบ สนับสนุนความคิดสรางสรรคและนวัตกรรมใหม ๆ ชักจูงใหคนอ่ืนมีน้ําใจบริการกําหนดใหมีและใชโปรแกรม/กระบวนการใหม ๆ หรือปรับปรุงขึ้นใหม 2) การกําหนดและการผสมผสานลักษณะสําคัญท่ีมีผลกระทบตอองคกร รวมถึงองคประกอบทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และการจัดการ 3) มีความเขาใจในบทบาท และความสัมพันธของปจจัยท่ีเปนองคประกอบของการกําหนดนโยบายของชาติ และกระบวนการนําไปสูการปฏิบัติ รวมถึงผูบริหารระดับสูง ต้ังแต

นายกรัฐมนตรี วุฒิสภา ผูพิพากษา องคการของรัฐในสวนกลาง สวนทองถิ่น และความสนใจของกลุม มากําหนดยุทธศาสตรท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือสรางความสมดุลในสิ่งดังกลาวขางตน 4) เปดกวางในการยอมรับการเปลี่ยนแปลงและเทคโนโลยีใหม ๆ สามารถปรับพฤติกรรมและวิธีการทํางานตามขอมูลใหม หรือสถานการณท่ีเปลี่ยนแปลง หรืออุปสรรคท่ีไมไดคาดหวัง และปรับตัวไดอยางรวดเร็วในสถานการณใหมท่ีเกิดขึ้น และสามารถแกไขปญหาท่ีเกิดขึ้น 5) แสดงถึงการมีความคิดริเริ่มสูง มีความพยายามและมีขอผูกพันในการใหบริการสาธารณะ อยูในแนวหนาและมุงม่ันไปสูความสําเร็จ ตรวจสอบผลสะทอนกลับจากคนอ่ืน และแสวงหาโอกาสเพ่ือใหไดรับความรูใหม ๆ ศักยภาพในการเปนผูนํา ปจจัยสําคัญท่ีจะกอใหเกิดศักยภาพในการเปนผูนํามีดังนี้ 1) การบริหารความขัดแยง (Conflict Management) 2) ตระหนักในคุณคาทางวัฒนธรรม (Cultural Awareness) 3) ความจงรักภักดี /

Page 6: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

6

ความซ่ือสัตย (Integrity/ Honesty) 4) สรางทีมงาน (Team Building) และการมุงไปสูผลลัพธ หมายถึง ความสามารถท่ีมุงม่ันในความรับผิดชอบและการปรับปรุงอยางตอเนื่อง เพ่ือชวยใหมีการตัดสินใจไดตามเวลาและมีประสิทธิภาพใหไดผลลัพธผานทางการวางแผนเชิงกลยุทธ และการนําไปใช รวมท้ังการประเมินผลโครงการและนโยบาย ปจจัยสําคัญท่ีทําใหมุงไปสูผลลัพธมีดังนี้

1) ความรับผิดชอบ (Accountability) 2) การใหบริการลูกคา (Customer Service) 3) การตัดสินใจ (Decisiveness) 4) ความเปนผูประกอบการ (Entrepreneurship) 5) การแกไขปญหา (Problem Solving) 6) มีเทคนิคท่ีเชื่อถือได (Technical Credibility)

11.4 ผลกระทบจากนโยบายการศึกษา รัฐบาลไดมีนโยบายปฏิรูปการศึกษานับต้ังแตป พ.ศ. 2542 เปนตนมา โดยในสวนของการปฏิรูปโครงสรางการบริหารและการจัดการศึกษาไดมุงเนนใหสถานศึกษามีความเปนนิติบุคคลเพ่ือใหสามารถบริหารและจัดการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพคลองตัว นอกจากนั้นยังใหความสําคัญกับการปฏิรูประบบการบริหารงานบุคลากร โดยใหครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีหนาท่ีเก่ียวของโดยตรงกับการจัดการศึกษาตองมีใบประกอบวิชาชีพ อาทิเชน ครู ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก ตอมาคุรุสภาซ่ึงเปนองคกรวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดกําหนดมาตรฐานวิชาชีพดานความรูของผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา และศึกษานิเทศกไวดังนี้ 1) ผูบริหารสถานศึกษาตองมีมาตรฐานความรูในเรื่อง หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา นโยบายและการวางแผนการศึกษา การบริหารดานวิชาการ การบริหารดานธุรการการเงิน พัสดุและอาคารสถานท่ี การบริหารงานบุคคล การบริหารกิจการนักเรียน การประกันคุณภาพการศึกษา การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารการประชาสัมพันธและความสัมพันธชุมชน และคุณธรรมและจริยธรรมสําหรับผูบริหารสถานศึกษา 2) ผูบริหารการศึกษาตองมีมาตรฐานความรูในเรื่อง หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา นโยบายและการวางแผนการศึกษา การบริหารจัดการการศึกษา การบริหารทรัพยากร การประกันคุณภาพการศึกษา การนิเทศการศึกษา การพัฒนาหลักสูตร การบริหารจดัการเทคโนโลยีสารสนเทศ การวิจัยทางการศึกษา และคุณธรรมและจริยธรรมสําหรับผูบริหารการศึกษา นโยบายรัฐบาลในปจจุบันในดานท่ี 4 ดานการศึกษาและเรียนรูการทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม รัฐบาลจะนําการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ความภาคภูมิใจในประวัติศาสตรและความเปนไทย มาใชสรางสังคม ใหเขมแข็งอยางมีคุณภาพและคุณธรรมควบคูกัน ดังนี้ 4.1) จัดใหมีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูโดยใหความสําคัญท้ังการศึกษาในระบบ และการศึกษา ทางเลือกไปพรอมกัน เพ่ือสรางคุณภาพของคนไทยใหสามารถเรียนรูพัฒนาตนไดเต็มตามศักยภาพ ประกอบอาชีพ และดํารงชีวิตไดโดยมีความใฝรูและทักษะท่ีเหมาะสม เปนคนดีมีคุณธรรม สรางเสริมคุณภาพการเรียนรูโดยเนน การเรียนรูเพ่ือสรางสัมมาชีพในพ้ืนท่ี ลดความเหลื่อมล้ํา และพัฒนากําลังคนใหเปนท่ีตองการ

เหมาะสมกับพ้ืนท่ี ท้ัง ในดานการเกษตร อุตสาหกรรม และธุรกิจบริการ 4.2) ในระยะเฉพาะหนา จะปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการศึกษาใหสอดคลองกับ ความจําเปนของผูเรียนและลักษณะพ้ืนท่ีของสถานศึกษา และปรับปรุง และบูรณาการระบบการกูยืมเงินเพ่ือ การศึกษาใหมีประสิทธิภาพ เพ่ือเพ่ิมโอกาสแกผูยากจนหรือดอยโอกาส จัดระบบการสนับสนุนใหเยาวชนและ ประชาชนท่ัวไปมีสิทธิเลือกรับบริการการศึกษาท้ังในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน โดยจะพิจารณา

Page 7: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

7

จัดใหมีคูปอง การศึกษาเปนแนวทางหนึ่ง 4.3) ใหองคกรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และประชาชนท่ัวไป มีโอกาส รวมจัดการการศึกษาท่ีมีคุณภาพและท่ัวถึง และรวมในการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูกระจายอํานาจการ บริหารจัดการศึกษาสูสถานศึกษา เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และองคกรปกครองสวนทองถิ่นตามศักยภาพและความพรอม โดยใหสถานศึกษาสามารถเปนนิติบุคคลและบริหารจัดการไดอยางอิสระและคลองตัวขึ้น 4.4) พัฒนาคนทุกชวงวัยโดยสงเสริมการ

เรียนรูตลอดชีวิต เพ่ือใหสามารถมีความรูและทักษะใหมท่ี สามารถประกอบอาชีพไดหลากหลายตามแนวโนมการจางงานในอนาคต ปรับกระบวนการเรียนรูและหลักสูตรให เชื่อมโยงกับภูมิสังคม โดยบูรณาการความรูและคุณธรรมเขาดวยกันเพ่ือใหเอ้ือตอการพัฒนาผูเรียนท้ังในดานความรู ทักษะ การใฝเรียนรูการแกปญหา การรับฟงความเห็นผูอ่ืน การมีคุณธรรม จริยธรรม และความเปนพลเมืองดีโดย เนนความรวมมือระหวางผูเก่ียวของท้ังในและนอกโรงเรียน 4.5) สงเสริมอาชีวศึกษาและการศึกษาระดับวิทยาลัยชุมชน เพ่ือสรางแรงงานท่ีมีทักษะ โดยเฉพาะใน ทองถิ่นท่ีมีความตองการแรงงาน และพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาใหเชื่อมโยงกับมาตรฐานวิชาชีพ 4.6) พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูท่ีมีคุณภาพและมีจิตวิญญาณของความเปนครูเนนครูผูสอนให มีวุฒิตรงตามวิชาท่ีสอน นําเทคโนโลยีสารสนเทศและเครื่องมือท่ีเหมาะสมมาใชในการเรียนการสอน เพ่ือเปน เครื่องมือชวยครูหรือเพ่ือการเรียนรูดวยตนเอง เชน การเรียนทางไกล การเรียนโดยระบบอิเล็กทรอนิกสเปนตน รวมท้ังปรับ

ระบบการประเมินสมรรถนะท่ีสะทอนประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพ ผูเรียนเปนสําคัญ 4.7) ทะนุบํารุงและอุปถัมภพระพุทธศาสนาและศาสนาอ่ืนๆ สนับสนุนใหองคกรทางศาสนามีบทบาท สําคัญในการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิต สรางสันติสุขและความปรองดองสมานฉันทใน สังคมไทยอยางยั่งยืน และมีสวนรวมในการพัฒนาสังคมตามความพรอม 4.8) อนุรักษฟนฟูและเผยแพรมรดกทางวัฒนธรรม ภาษาไทยและภาษาถิ่น ภูมิปญญาทองถิ่น รวมท้ังความหลากหลายของศิลปวัฒนธรรมไทย เพ่ือการเรียนรูสรางความภาคภูมิใจในประวัติศาสตรและความ เปนไทย นําไปสูการสรางความสัมพันธอันดีในระดับประชาชน ระดับชาติระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ ตลอดจนเพ่ิมมูลคาทางเศรษฐกิจใหแกประเทศ 4.9) สนับสนุนการเรียนรูภาษาตางประเทศ วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบานและวัฒนธรรมสากล และการสรางสรรคงานศิลปะ

และวัฒนธรรมท่ีเปนสากล เพ่ือเตรียมเขาสูเสาหลักวัฒนธรรมของประชาคมอาเซียน และเพ่ือการเปนสวนหนึ่งของประชาคมโลก 4.10) ปลูกฝงคานิยมและจิตสํานึกท่ีดีรวมท้ังสนับสนุนการผลิตสื่อคุณภาพ เพ่ือเปดพ้ืนท่ีสาธารณะให เยาวชนและประชาชนไดมีโอกาสแสดงออกอยางสรางสรรค นโยบายการศึกษาดังท่ีกลาวมานี้จึงสงผลใหตองมีการพัฒนาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558

12. ผลกระทบจากขอ 11 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเก่ียวของกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย

12.1 ผลกระทบตอการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรการบริหารการศึกษา จําเปนตองพัฒนาหลักสูตรในเชิงรุกท่ีมีศักยภาพและ

สามารถปรับเปลี่ยนไดตามวิวัฒนาการของการบริหารการศึกษายุคใหม โครงการผลิตบุคลากรทางการ

บริห ารการศึกษา ท่ีมีควา มเพียบพรอมดวยความรู คู คุณธร รมพรอม ท่ีจะปฏิ บัติง านไดอย าง มี

ประสิทธิภาพในทองถิ่นของตน

Page 8: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

8

12.2 ความเก่ียวของกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย

การพัฒนาหลักสูตรการบริหารการศึกษา เพ่ือมุงเนนการผลิตบุคลากรทางการบริหาร

การศึกษาสอดคลองกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย ท่ีมุงเนนดานวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงควบคูความรู

ดานคุณธรรม มุงผลิตและพัฒนาครูประจําการ มุงเนนการบริการสังคม มุงสรางงานวิจัยและมุงทํานุ

บํารุงศาสนาและวัฒนธรรม

13. ความสัมพันธกับหลักสูตรอ่ืนท่ีเปดสอนในคณะ/ภาควิชาอ่ืนของมหาวิทยาลัย

(รายวิชาท่ีเปดสอนเพ่ือใหบริการคณะ/สาขาวิชาอ่ืน หรือตองเรียนจากคณะ/สาขาวิชาอ่ืน)

13.1 กลุมวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้เปดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอ่ืน

หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษาหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 เปนหลักสูตรท่ีมีโครงสรางหลักสูตรประกอบดวยหมวดวิชาสัมพันธ หมวดวิชาบังคับ และหมวดวิชาเสริม โดยหมวดวิชาสัมพันธประกอบดวยวิชาวิทยาการวิจัยทางการศึกษา และวิชาการจัดการหลักสูตรและการเรียนรู ซ่ึงมีความ เชื่อมโยงกับหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการหลักสูตรและการเรียนรู และมีเชื่อมโยงกับหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรคสวนหมวดวิชาเสริมประกอบดวยวิชาภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษา มีความสัมพันธกับภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ดังนั้นจึ งมีความจํา เปนท่ีต องรวมมือกับหลัก สูตร และภา ควิชา ตาง ๆ ดังท่ี กลาวมาแล ว โดยความสัมพันธจะเปน ไปในลักษณะของกา รรวมกันออกแบบการสอนกา รวิจั ยและการ พัฒนาโครงการวิจัยของนักศึกษา การบริหารโครงการการสัมมนา และการศึกษาคนควาอิสระของนักศึกษาภายใตคําแนะนําของอาจารยท่ีปรึกษา 13.2 กลุมวิชา/รายวิชาในหลักสูตรท่ีเปดสอนใหภาควิชา/หลักสูตรอ่ืนตองมาเรียน

- ไมมี – 13.3 การบริหารจัดการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรรวมกันพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูสําหรับนักศึกษาเพ่ือจัดใหนักศึกษาไดลงทะเบียนเรียนรายวิชาวิทยาการวิจัย รายวิชาการจัดการหลักสูตรและการเรียนรู รายวิชาภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา อยางเหมาะสม สอดคลองกับแผนการเรียนรวมตลอด 2 ปการศึกษา นอกจากนี้ยังไดพิจารณาอนุมัติแตงต้ังคณะกรรมการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู และการมอบหมายงานนักศึกษาเปนรายบุคคลในลักษณะท่ีเนนการเรียนรู โดยใชการวิจัยเปนฐา น (Research Based Learning) เพ่ือเสริมทักษะดานการศึกษาคนควา และการวิจัยท่ีจํา เปนในระหวางเรียนตามหลักสูตรและการนําไปใชในการพัฒนาอาชีพในฐานะนักบริหารการศึกษาท่ีไดรับการยอมรับจากสังคม

Page 9: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

9

หมวดท่ี 2 ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร 1.1 ปรัชญา มุงเนนการผลิตและพัฒนาผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอ่ืนทุกระดับใหมีความรอบรูและรูลึก มีขีดสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพมีคุณธรรมจริยธรรมยึดม่ันในจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 ความสําคัญ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 เปนหลักสูตรท่ีมีความสําคัญในการจัดการศึกษาอยางยิ่งเพราะเปนหลักสูตรท่ีพัฒนาผูบริหารการศึกษาใหมีความรู ทักษะ เจตคติท่ีดีในการบริหารการศึกษาสอดคลองกับการเปล่ียนแปลงของโลกและการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 สงผลใหการศึกษาไทยมีความเจริญกาวหนาตอไป 1.3 วัตถุประสงคของหลักสูตร เพ่ือผลิตมหาบัณฑิตท่ีมีคุณลักษณะดังนี้

1.3.1 มีคุณธรรมและจริยธรรมยึดม่ันในจรรยาบรรณวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา 1.3.2 มีความรูและสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษาใหสอดคลองกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจสังคมการเมืองและเทคโนโลยี 1.3.3 มีวิสัยทัศนท่ีกวางไกล มีความสามารถแกปญหา และมีความพรอมท่ีจะเปนผูบริหารสถานศึกษาผูบริหารการศึกษาและผูสนับสนุนการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ 1.3.4 นําหลักการและระเบียบวิธีการวิจัยทางการบริหารการศึกษาไปใชในการพัฒนาการศึกษาและงานดานตางๆท่ีเก่ียวของไดอยางมีประสิทธิผล

Page 10: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

10

2. แผนพัฒนาปรับปรุง :

2.1 แผนการพัฒนาการเปล่ียนแปลง

2.2 แนวทางการพัฒนา 2.3 หลักฐาน/ ตัวบงชี้

1. ปรับปรุงหลักสูตรใหมีมาตรฐานสอดคลองกับ มา ตร ฐา นวิชา ชีพ ท่ีคุ รุสภ า กํ า หนด เกณ ฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 กรอบมาตรฐานคุณวุ ฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ . 2552 และความตองการดานกําลังคนในทองถิ่น

1. ติดตามความเปลี่ยนแปลงและความตองการกําลังคนในภาคกา รศึกษาเ พ่ือ เป นขอมูลในการพัฒนาหลักสูตร 2. เชิญผูเชี่ยวชาญท้ังภาครัฐและเอกชนมามีสวนรวมในการพัฒนาหลักสูตร 3. ประสานความรวมมือกับ

ชุมชนและหนวยงานทางการศึกษาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการศึกษาดูงาน 4. ติดตามประเมินหลักสูตรอยางตอเนื่อง

- มีรายงานขอมูลความตองการกําลังคนทางดานผูบริหารการศึกษา ผูบริหารสถานศึกษา และผูสนับสนุนทางการศึกษาท่ีเปนปจจุบัน - จํานวนผูเชี่ยวชาญท่ีมีสวนรวมในการพัฒนาหลักสูตรครบถวนจากทุกภาคสวนท่ีเก่ียวของ - มีรายงานผลการนํานักศึกษาไปศึกษาและฝกปฏิบัติการ ณ แหลงเรียนรู - มีรายงานการประเมินผลหลักสูตรทุกปการศึกษา

2.กร ะบวนการจั ดกา รเรียนการสอน

1.จัดการเรียนการสอนเชิงรุก (Active Learning) โดยมุงเนนกระบวนการเรียนรูท่ีผูเรียนสามารถปฏิบัติไดจริง 2.ประเมินผลการจัดกระบวนการเรียนรูของคณาจารยผูสอน

- คณาจารยทุกคนมีแผนการบริหารการสอนท่ีมุงเนนกระบวนการเรียน รู เชิ งรุกตามกรอบมาตร ฐาน คุณวุ ฒิระดับอุดมศึกษา (มคอ.3 , มคอ.5) - ระดับคุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรูของอาจารยผูสอน

3. การทบทวนและปรับปรุงหลักสูตรใหสอดคลองกับผลงานการวิจัยใหมในศาสตรของตนเองและศาสตรอ่ืนท่ีเก่ียวของรวมท้ังแนวโนมการเปลี่ยนแปลงขององคความรูใหมขององคกรวิชาชีพดานการบริหารการศึกษา

1. เขารวมประชุมสัมมนาทางวิชาการของสมาคมวิชาชีพบริหารการศึกษาและของกลุมเครือขายมหาวิทยาลัยอยางตอเนื่อง 2. วิเคราะห คาดการณแนวโนมการเปลี่ยนแปลงขององคความรูทางดานการบริหารการศึกษาท้ังในระดับทองถิ่น ระดับชาติและระดับสากล

- มีเอกสารรายงานผลการประชุม สัมมนาทางวิชาการวาดวยคุณภาพและมาตรฐานหลักสูตรสาขาวิชาการบริหารการศึกษา - มีรายงานผลการวิเคราะหแนวโนมการเปลี่ยนแปลงขององคความรูทางดานการบริหารการศึกษา

Page 11: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

11

2.1 แผนการพัฒนาการเปล่ียนแปลง

2.2 แนวทางการพัฒนา 2.3 หลักฐาน/ ตัวบงชี้

4. การบริหารทรพัยากรการเรียนการสอน

1. สงเสริมใหคณาจารยผลิตเอกสาร ตํารา และสื่อการเรียนรูท่ีสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง 2. จัดหาวัสดุ อุปกรณ ครุภัณฑ หองเรียนท่ีมีมาตรฐาน

- จํานวนเอกสาร ตํารา และสื่อการเรียนรูทางดานการบริหารการศึกษาท่ีเพ่ิมขึ้น - มีสื่อวัสดุ อุปกรณ ครุภัณฑ หองเรียนหองปฏิบัติการท่ีมีมาตรฐานและพอเพียง

5. การบริหารบุคลากร 1. สงเสริม พัฒนา องคความรูทางการบริหารการศึกษา การวิจัย และทักษะการจัดการเรียนรู 2. สงเสริมการพัฒนาทักษะดานวิชาการและวิชาชีพของ

คณาจารย

- มีโครงการพัฒนาคณาจารยประจําหลักสูตรอยางตอเนื่อง - มีรายงานผลการเขารวมฝกอบรมประชุมสัมมนาของคณาจารย

6. การสนับสนุนและพัฒนานักศึกษา

1. พัฒนาระบบการใหคําปรึกษาทางวิชาการและงานวิจัยแกนักศึกษา 2. สงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณลักษณะของนักศึกษาใหสอดคลองกับมาตรฐานผลการเรียนรูกําหนดไวในหลักสูตร

- มีระบบและโครงการใหคําปรึกษาวิชาการท่ีสอดคลองกับความตองการของนักศึกษา - มีโครงการพัฒนาคุณลักษณะของนักศึกษาอยางตอเนื่อง

7. การใหความสําคัญกับความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต

1. สํารวจความตองการของตลาดแรงงาน 2. ประเมินความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตอยางตอเนื่อง

- มีรายงานขอมูลความตองการของตลาดแรงงาน - รอยละความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต

Page 12: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

12

หมวดท่ี 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร

1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบการจัดการศึกษาในหลักสูตร การจัดการศึกษาเปนแบบทวิภาค (Semester) ในปการศึกษาหนึ่ง ๆ แบงออกเปน2 ภาค

การศึกษาปกติ โดย 1 ภาคการศึกษา มีระยะเวลาการศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห หากมีการจัด

การศึกษาในภาคฤดูรอน (Summer Session) จะตองมีระยะเวลาในการศึกษาไมนอยกวา8 สัปดาห

ขอกําหนดตาง ๆ ใหเปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสรรค

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน

อาจมีการจัดการศึกษาในภาคฤดูรอน ท้ังนี้ขึ้นอยูกับการพิจารณาของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 1.3 การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค

-ไมมี – 2. การดําเนินการหลักสูตร 2.1 วันเวลาในการดําเนินการเรียนการสอน 1. ระยะเวลาการศึกษา วัน – เวลาราชการปกติ นอกวัน – เวลาราชการ (ระบุ) วันเสาร-อาทิตย ท้ังนี้ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค วาดวยการศึกษาในระดับ บัณฑิตศึกษา 2.2 คุณสมบัติของผูเขาศึกษา ผูมีสิทธิสมัครเขาศึกษาจะตองมีคุณสมบัติดังนี้ 1. สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทุกสาขาวิชาจากสถาบันการศึกษาท้ังภายในหรือตางประเทศท่ีไดรับการรับรองจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากรณีสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตร ี 2. มีประสบการณท่ีเก่ียวของกับการเปนผูบริหาร ผูสอน หรือผูปฏิบัติงานในหนวยงานทางการศึกษาหรือหนวยงานท่ีเก่ียวของกับการศึกษาตามท่ีคณะกรรมการบริหารหลักสูตรประจําสาขาวิชาใหความเห็นชอบเปนเวลาไมนอยกวา 1 ป 3. มีคุณสมบัติอ่ืน ๆ ตามประกาศของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค ซ่ึงจะประกาศใหทราบเปนคราว ๆ ไป หรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตรประจําสาขาวิชาพิจารณาแลวเห็นควรใหสมัครเขาศึกษาได 2.3 การคัดเลือกผูเขาศึกษา

การคัดเลือกพิจารณาจากผูมีคุณสมบัติตามขอ 2.2

2.3.1. ผลการสอบวัดความรูความสามารถทางวิชาการตามขอบขายเนื้อหาซ่ึงจะ

ประกาศใหทราบเปนป ๆ ไป

2.3.2 ผลการสอบสัมภาษณเพ่ือวัดคุณลักษณะและความรูความสามารถทางวิชาการ

Page 13: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

13

และพ้ืนฐานการวิจัยท่ีจําเปนตอการศึกษาระดับมหาบัณฑิต

2.4 ปญหาของนักศึกษาแรกเขา

2.4.1 การปรับตัวจากการทํางานมาเปนการศึกษาและวิจัยในมหาวิทยาลัย

2.4.2 การใชภาษาอังกฤษในหองเรียน 2.4.3 การใชเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอน 2.5 กลยุทธในการดําเนินการเพ่ือแกไขปญหา/ขอจํากัดของนักศึกษา 2.5.1 จัดใหมีอาจารยท่ีปรึกษาต้ังแตแรกเขา 2.5.2 จัดใหมีการเรียนรูภาษาอังกฤษเพ่ิมเติม 2.5.3 จัดใหมีหองเรียนในระบบอินเทอรเน็ต สงเสริม การใชเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบการเรียน การสอนในทุกรายวิชา 2.6 แผนการรับนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ป

ระดับชั้นป จํานวนนักศึกษาในแตละปการศึกษา

2558 2559 2560 2561 2562

ชั้นปท่ี 1 60 60 60 60 60 ชั้นปท่ี 2 - 60 60 60 60 รวมจํานวนนักศึกษา 60 120 120 120 120

จํานวนบัณฑิตท่ีคาดวาจะสําเร็จการศึกษา

- 60 60 60 60

2.7 งบประมาณตามแผน รายละเอียดการประมาณการคาใชจายในหลักสูตรเปนรายป (หนวย : บาท)

รายการ ปงบประมาณ (พ.ศ.) รอยละ 2558 2559 2560 2561 2562

1.เ งินเ ดือนและคาจ างประจํ า

(เดิม) และอัตราท่ีตองการใหม

35.71 500,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000

2. คาจางชั่วคราว 7.14 100,000 200,000 200,000 200,000 200,000

3. คาตอบแทนใชสอยและวัสดุ 21.43 300,000 600,000 600,000 600,000 600,000

4. คาหนังสือ วารสาร และตํารา 14.29 200,000 400,000 400,000 400,000 400,000

5. คาเงินอุดหนุน 14.29 200,000 400,000 400,000 400,000 400,000

6. คาใชจายอ่ืนๆ 7.14 100,000 200,000 200,000 200,000 200,000

รวมท้ังสิ้น 100.00 1,400,000 2,800,000 2,800,000 2,800,000 2,800,000

ประมาณการคาใชจายตอหัวในการผลิตนักศึกษาตามหลักสูตร 47,000 บาท/คน/ป 2.8 ระบบการศึกษา ระบบการศึกษาแบบชั้นเรียนเปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรควาดวยการวัดและประเมินผลการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2550

Page 14: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

14

2.9 อาจารยท่ีปรึกษา การกําหนดอาจารยท่ีปรึกษา แบงอาจารยท่ีปรึกษาออกเปน 2 กลุม ดังนี้ 2.9.1 อาจารยท่ีปรึกษาวิชาการคืออาจารยท่ีมหาวิทยาลัยแตงต้ังใหทําหนาท่ีให

คําปรึกษาทางวิชาการ และใหคําแนะนําในเรื่องการจัดแผนการศึกษา คุณสมบัติตองเปนผูท่ีจบ

การศึกษาระดับปริญญาเอกหรือเทียบเทาในสาขาวิชาการบริหารการศึกษาหรือสาขาท่ีสัมพันธกัน

หรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไมตํ่ากวารองศาสตราจารย มีประสบการณดานการสอนและมี

ผลงานวิจัยในศาสตรท่ีเก่ียวของกับการบริหารการศึกษา

2.9.2 อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธคืออาจารยท่ีมหาวิทยาลัยแตงต้ังใหทําหนาท่ี

พิจารณาโครงรางวิทยานิพนธและใหคําปรึกษาเก่ียวกับการคนควาวิจัยเพ่ือทําวิทยานิพนธจาํนวนไม

นอยกวา 2 คน คุณสมบัติตองเปนผูท่ีจบการศึกษาระดับปริญญาเอกหรือเทียบเทาสาขาวิชาการบริหาร

การศึกษาหรือสาขาท่ีสัมพันธกัน หรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไมตํ่ากวา รองศาสตราจารยและ

มีผลงานวิจัย

3.หลักสูตรและอาจารยผูสอน

3.1 หลักสูตร

หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา 3.1.1 จํานวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 45 หนวยกิต 3.1.2 โครงสรางหลักสูตรมีดังนี้

รายการ จํานวนหนวยกิต

แผน ก (2) แผน ข

1. รายวิชา 1.1 หมวดวิชาสัมพันธ 1.2 หมวดวิชาเฉพาะดาน 1.2.1 บังคับ 1.2.2 เลือกไมนอยกวา 2. วิทยานิพนธและการศึกษาคนควาอิสระ 2.1 วิทยานิพนธ 2.2 การศึกษาคนควาอิสระ 3. วิชาเสรมิ

6 27 (21) (6)

12 -

ไมนับหนวยกิต

6 33 (21) (12)

- 6

ไมนับหนวยกิต

รวมไมนอยกวา 45 45

Page 15: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

15

3.1.3 รายวิชาในหลักสูตร 1) ความหมายของเลขประจําวิชา รายวิชาตามหลักสูตรกําหนดดวยรหัสวิชาโดยใชระบบอักษรผสมตัวเลข รวม 7 หลัก โดยมีความหมายดังนี้

หลักแรก หลักท่ี 2 หลักท่ี 3 หลักท่ี 4 หลักท่ี 5 หลักท่ี 6 หลักท่ี 7

แทนคณะ แทนหมูวิชา ชั้นป ลักษณะเนื้อหาวิชา

ลําดับกอนหลังของรายวิชา

ตัวเลขหลักแรก 1 หมายถึง รายวิชาของคณะครุศาสตรท่ีรับผิดชอบ ตัวเลขหลักท่ี 2 และ 3 11 หมายถึง หมูวิชาหลักการศึกษา 12 หมายถึง หมูวิชาหลักสูตรและการสอน 13 หมายถึง หมูวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา 14 หมายถึง หมูวิชาการประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา 15 หมายถึง หมูวิชาจิตวิทยาและการแนะแนว 16 หมายถึง หมูวิชาการบริหารการศึกษา ตัวเลขหลักท่ีสี่ หมายถึง ชั้นปท่ีเปดสอน ตัวเลขหลักท่ีหา หมายถึง หมวดวิชา ซ่ึงกําหนดไวดังนี้ 1 หมายถึง หลัก และทฤษฎี 2 หมายถึง ระเบียบ ขอบังคับและกฎหมาย 3 หมายถึง บุคลากร และการเปนผูนํา 4 หมายถึง สังคมและสิ่งแวดลอม 5 หมายถึง สัจธรรมและการแสวงหา 6 หมายถึง โครงสรางและการพัฒนาโครงสรางองคการ 7 หมายถึง การนิเทศ 8 หมายถึง การสัมมนา 9 หมายถึง การศึกษาอิสระหรือการวิจัย ตัวเลขหลักท่ี 6-7 หมายถึง ลําดับรายวิชาในหมวดวิชาของเลขรหัสตัวท่ีหา

ตัวเลขแสดงหลังชื่อรายวิชา หมายถึง จํานวนหนวยกิต(บรรยาย – ปฏิบัติ – ศึกษาดวยตนเอง) โดยขอความในวงเล็บมีความหมายดังนี้ บรรยาย หมายถึง จํานวนชั่วโมงบรรยาย = จํานวนหนวยกิตบรรยาย ปฏิบัติ หมายถึง จํานวนชั่วโมงปฏิบัติ = จํานวนหนวยกิตปฏิบัติ x 2 จํานวนชั่วโมง (บรรยาย + ปฏิบัติ + ศึกษาดวยตนเอง) = จํานวนหนวยกิต x 3

Page 16: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

16

2) รายวิชาตามโครงสรางของหลักสูตร หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 มีรายวิชาตามโครงสรางหลักสูตร ดังนี้ (1) หมวดวิชาสัมพันธสําหรับแผน ก (2) และแผน ข ใหเรียน 6 หนวยกิต ตามรายวิชาดังตอไปนี้ 1125212 การจัดการหลักสูตรและการเรียนรู 3 (2-2-5) Curriculum and Learning Management 1145204 วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา 3 (2-2-5) Educational Research Methodology (2) หมวดวิชาเฉพาะดาน 1.วิชาบังคับ สําหรับแผน ก (2) และแผน ข ใหเรียน 21 หนวยกิต ตามรายวิชาดังตอไปนี้ 1165101 หลัก และทฤษฎีการบริหารการศึกษา 3 (2-2-5) Principles and Theories of Educational Administration 1165102 นโยบายและการวางแผนพัฒนาการศึกษา 3 (2-2-5) Policy and Planning for Educational Development 1165103 การบริหารกิจกรรมนักเรียน 3 (2-2-5) Student Activities Administration 1165104 การบริหารทรพัยากรและสารสนเทศทางการศึกษา 3 (2-2-5) Administration of Educational Resources and Information 1165301 นักบริหารมืออาชีพ 3 (2-2-5) Professional Administrators 1165601 การจัดการคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา 3 (2-2-5) Quality Management and Educational Quality Assurance 116658 การฝกปฏิบัติงานบริหารการศึกษา 3 (2-2-5) Internship in Educational Administration

2. วิชาเลือก สําหรับแผน ก (2) เรียนไมนอยกวา 6 หนวยกิต และสําหรับแผน ข

เรียนไมนอยกวา 12 หนวยกิต

การเปดสอนวิชาเลือกนั้นตองจัดใหสอดคลองกับความตองการของผู เรียนและตอบสนองตอลักษณะของมหาบัณฑิ ตท่ี ตอ งการ ผลิตหรือ พัฒนา ให มา กท่ีสุด ท้ั งนี้ โดยควา มเห็น ชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรโดยเลือกจากรายวิชาตอไปนี้ 1165105 การบริหารการศึกษาเปรียบเทียบ 3 (2-2-5) Comparative Education Administration 1165106 เศรษฐศาสตรการศึกษา 3 (2-2-5) Economics of Education

Page 17: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

17

1165107 การบริหารแผนงานและโครงการ 3 (2-2-5) Program and Project Administration 1165201 กฎหมายการศึกษา 3 (2-2-5) Education Laws 1165202 การบริหารงบประมาณ การเงินและพัสดุ 3 (2-2-5) Administration of School Budget Finance and Materials 1165302 ภาวะผูนําทางการศึกษายุคใหม 3 (2-2-5) Contemporary Leadership in Education 1165303 การจัดการทรัพยากรมนุษย 3 (2-2-5) Human Resource Management 1165401 สถาบันการศึกษากับชุมชน 3 (2-2-5) School and Community 1165602 การวิเคราะหระบบงานและพัฒนาองคการทางการศึกษา 3 (2-2-5) Systems Analysis and Educational Organization Development 1165701 การนิเทศการศึกษาสมัยใหม 3 (2-2-5) Modern Supervision in Education 1165702 การจัดการความรูและการจัดการผลงานวิชาการ 3 (2-2-5) Management of Knowledge and Academic affairs 1165801 สัมมนาปญหาและแนวโนมการศึกษาไทย 3 (2-2-5) Seminar in Problems and Trends of Thai Education 1165802 สัมมนาการบริหารการศึกษา 3 (2-2-5) Seminar in Educational Administration 1165901 การวิจัยทางการบริหารการศึกษา 3 (2-2-5) Educational Administration Research 1165105 การบริหารการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3 (2-2-5) Educational Administration on Philosophy of Sufficiency Economy (3) วิทยานิพนธและการศึกษาคนควาอิสระ 1165902 การศึกษาคนควาอิสระ 6 หนวยกิต Independent Study 1165903 วิทยานิพนธ 12 หนวยกิต Thesis

(4) รายวิชาเสริม (1) นักศึกษาท้ังแผน ก (2) และแผน ข จะตองผานการทดสอบความรูความสามารถดานภาษาอังกฤษตามเกณฑมาตรฐานท่ีคณะกรรมการบริหารหลักสูตรกําหนด ผูท่ีมีคะแนนตํ่ากวาเกณฑจะตองเรียนรายวิชาตอไปนี้โดยไมนับหนวยกิต

Page 18: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

18

1555101 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษา 2 (1-2-3) English for Graduate Students

3.1.4 แผนการศึกษา 3.1.4.1 หลักสูตรแผน ก แบบ ก (2)

ปท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 1

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต หมายเหตุ

1125212 การจัดการหลักสูตรและการเรียนรู 3 (2-2-5) สัมพันธ

1165101 หลัก และทฤษฎีการบริหารการศึกษา 3 (2-2-5) บังคับ 1555101 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษา 2 (2-1-3) เสริม

1145204 วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา 3 (2-2-5) สัมพันธ

รวม 11 รายวิชาสําหรับนักศึกษาท่ีไมผานการทดสอบความสามารถดานภาษาอังกฤษ

ปท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต หมายเหตุ

1165601 การจัดการคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา 3 (2-2-5) บังคับ

1165102 นโยบายและการวางแผนพัฒนาการศึกษา 3 (2-2-5) บังคับ 1165301 นักบริหารมืออาชีพ 3 (2-2-5) บังคับ

xxxxxxx วิชาเฉพาะดานเลือก 3 (2-2-5) เลือก

รวม 12

ปท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 1

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต หมายเหตุ

1165103 การบริหารกิจกรรมนักเรียน 3(2-2-5) บังคับ

1165104 การบริหารทรพัยากรและสารสนเทศทางการศึกษา 3 (2-2-5) บังคับ

1166658 การฝกปฏิบัติงานบริหารการศึกษา 3(2-2-5) บังคับ xxxxxxx วิชาเฉพาะดานเลือก 3(2-2-5) เลือก

รวม 12

ปท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 2 รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต หมายเหตุ

1166903 วิทยานิพนธ 12 วิทยานิพนธ

รวม 12

Page 19: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

19

3.1.4.2 หลักสูตร แผน ข

ปท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 1

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต หมายเหตุ 1125212 การจัดการหลักสูตรและการเรียนรู 3 (2-2-5) สัมพันธ

1165101 หลัก และทฤษฎีการบริหารการศึกษา 3 (2-2-5) บังคับ

1555101 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษา 2 (2-1-3) เสริม

1145204 วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา 3 (2-2-5) สัมพันธ

รวม 11

ปท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต หมายเหตุ

1165601 การจัดการคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา 3 (2-2-5) บังคับ 1165102 นโยบายและการวางแผนพัฒนาการศึกษา 3 (2-2-5) บังคับ

1165301 นักบริหารมืออาชีพ 3 (2-2-5) บังคับ

xxxxxxx วิชาเฉพาะดานเลือก 3 (2-2-5) เลือก

รวม 12

ปท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 1

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต หมายเหตุ

1165103 การบริหารกิจการนักเรียน 3 (2-2-5) บังคับ

1165104 การบริหารทรพัยากรและสารสนเทศทางการศึกษา 3 (2-2-5) บังคับ 1166658 การฝกปฏิบัติงานบริหารการศึกษา 3 (2-2-5) บังคับ

xxxxxxx วิชาเฉพาะดานเลือก 3 (2-2-5) เลือก

รวม 12

ปท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต หมายเหตุ

xxxxxxx วิชาเฉพาะดานเลือก 3 (2-2-5) เลือก

Xxxxxxx วิชาเฉพาะดานเลือก 3 (2-2-5) เลือก

1166902 การศึกษาคนควาอิสระ 6 วิทยานิพนธ การสอบประมวลความรู - -

รวม 12

Page 20: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

20

3.1.5 คําอธิบายรายวิชา Course Descriptions (1) หมวดวิชาสัมพันธ Correlation or Correlated Curriculum รายวิชา 1125212 การจัดการหลักสูตรและการเรียนรู 3 (2-2-5) Curriculum and Learning Management หลักการและรูปแบบพัฒนาหลักสูตรการบริหารและการพัฒนาหลักสูตร ปญหาและแนวโนมในการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนาศักยภาพผูเรียน หลักสูตรทองถิ่นและ การประเมินหลักสูตร การบริหารงานวิชาการเพ่ือคุณภาพและความเปนเลิศ ภาวะผูนําทางวิชาการและการพัฒนาหลักสูตร การบริหารจัดการเรียนรูท่ียึดผูเรียนเปนสําคัญ จิตวิทยาการศึกษาการจัดการศึกษาพิเศษ การจัดการเรียนการสอนและการสอนเสริม การวัดและประเมินผลการเรียนรู หลักและแนวคิดเก่ียวกับการนิเทศ การนิเทศการศึกษาเพ่ือพัฒนาครูใหจัดการการเรียนรูของผูเรียนใหเติบโตเต็มตามศักยภาพ Principles and Models of administration, curriculum development matters, trends in curriculum development, school curriculum development, development of learners ability, local programs and curriculum evaluation. Academic administration for quality and excellence, leadership of academic and curriculum development based on the learners knowledge, educational psychology for special education. Management of instruction and tutoring, measurement and evaluation of learning, principles and concepts of supervision. Supervision of education for teachers’ development to manage the progress of the student's potential.

รายวิชา 1145204 วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา 3 (2-2-5) Educational Research Methodology เทคนิคการวิจัยแบบตาง ๆ กระบวนการและการออกแบบการวิจัย การสรางเครื่องมือวิจัย สถิติและคอมพิวเตอรเพ่ือการวิจัยทางการศึกษา การเขียนเคาโครงและรายงานการวิจัย การนําผลการวิจัยไปใช จรรยาบรรณนักวิจัยและการวิจัยเพ่ือพัฒนาวิชาชีพ Educational research methodology, Diverse research techniques and research design processes as well as ongoing developments in research measurement. Statistics and computers for educational research methodology, writing proposals, and research reports. The application of researching results. Ethics for researchers and research for professional development.

Page 21: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

21

(2) หมวดวิชาเฉพาะดาน Specialized Core Courses 1. วิชาเฉพาะดานบังคับ Required core courses รายวิชา 1165101 หลัก และทฤษฎีการบริหารการศึกษา 3 (2-2-5) Principles and Theories of Educational Administration หลักและทฤษฎีทางการบริหารและการบริหารการศึกษา บริหารสถานศึกษา หลักและระบบขอบขายการจัดการศึกษา การจัดองคกรและโครงสรางการบริหารและการจัดการศึกษา ภาวะผูนํา ผูนําการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมผูนํา บริบทและแนวโนม กระบวนการบริหารและการจัดการการศึกษายคุใหม การบริหารความเสี่ยงและการบริหารความขัดแยง เทคนิคการบริหารจัดการการศึกษาสมัยใหม หลักการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน หลักและแนวคิดเก่ียวกับการนิเทศการศึกษาเทคนิคการนิเทศการศึกษา ความสัมพันธของการนิเทศการศึกษากับการบริหารการศึกษา บทบาทของผูบริหารในการสงเสริมการมีสวนรวมของชุมชนและทองถิ่นในการจัดการศึกษา กฎหมายและระเบียบท่ีเก่ียวของกับการจัดการศึกษา Principles and theories of administration and school management. Principles and scope of educational management, organization management, administrative structure and educational management. Leadership, transformational leadership, leadership behavior, context and trends. The administration process and management of education in a new era. Risk management and conflict management. The techniques of management for education in a new era. Principles of school-based management standards, concepts of educational supervision and technical supervision. The relationship between educational supervision and educational administration. Role of administrators in promoting the participation of local communities in educational management. Laws and regulations related to education.

รายวิชา 1165102 นโยบายและการวางแผนพัฒนาการศึกษา 3(2-2-5) Policy and Planning for Educational Development ขอมูลพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจสังคมการเมืองและเทคโนโลยีท่ีมีผลตอการจัดการศึกษา หลักการ แนวคิดและกระบวนการพัฒนานโยบาย การวิเคราะหนโยบายการศึกษา การนํานโยบายสูการปฏิบัติ และการประเมินผลนโยบาย วิเคราะหระบบและทฤษฎีการวางแผน การวางแผนกลยุทธ การวางแผนปฏิบัติการ และการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาการนําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาไปสูการปฏิบัติ การติดตามประเมินและรายงานผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา Basic Information of economic, social, political and technology relating to educational concepts and processes of policy development. Educational policy analysis, steer policies into practice and policy evaluation. Systems analysis and planning theory, strategic planning, action plans; planning for educational

Page 22: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

22

improvement; directing the educational quality improvement plan into action. Monitoring and reporting the quality of the education.

รายวิชา 1165103 การบริหารกิจกรรมนักเรียน 3(2-2-5) Student Activities Administration หลักการ แนวคิดการบริหารกิจการนักเรียน การสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและ คุณลักษณะท่ีพึงประสงคใหกับนักเรียน การบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรและกิจกรรมนักเรียนเพ่ือพัฒนาศักยภาพผูเรียน ใหรูจักการจัดการและคิดเปน การพัฒนาทักษะชีวิตของผูเรียน การบริหารจัดการระบบดูแลชวยเหลือผูเรียน Principles and concepts of Student Activities Administration. Promoting morals, ethics, values and desirable characteristics of students. Management and perception of the extra-curricular student activities to improve student learning and creative thinking. The development of life skills and management of the student care and support system.

รายวิชา 1165104 การบริหารทรัพยากรและสารสนเทศทางการศึกษา 3 (2-2-5) Administration of Educational Resources and Information การแสวงหาและใชทรัพยากรทางการศึกษาหลักการ ระบบ และกฎหมายท่ีเก่ียวของกับ การบริหารทรพัยากรบุคคล การบริหารงานธุรการ งบประมาณการเงินบัญชี พัสดุ และอาคารสถานท่ี การจัดวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากร ระบบการบริหารจัดการงบประมาณและการควบคุมภายใน การบริหารงานระบบเครือขายในการจัดการศึกษา การบริหารจัดการแหลงการเรียนรูสิ่งแวดลอมและพลังงานองคประกอบ ระบบ และกระบวนการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการเรียนรู การระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา การปฏิสัมพันธและการพัฒนาเพ่ือนรวมงาน Seek and apply concepts to educational resources, principles, systems and legal matters which involve HR management, administration, budget and finance accounting, materials and building. Deployment of resource management systems. The system of budget management and internal control and network management systems in education. Management of learning environments and energy components, systems and processes of innovation and technology, communication management for administrators. Learning and gathering resources for educational interaction and development among colleagues.

รายวิชา 1165301 นักบริหารมืออาชีพ 3 (2-2-5) Professional Administrators คุณลักษณะจิตวิญญาณ อุดมการณของผูบริหารมืออาชีพท่ีพึงประสงค องคประกอบของนักบริหารมืออาชีพ พัฒนาความเปนนักบริหารมืออาชีพ โดยเฉพาะการเปนผูใฝรูและมีวิสัยทัศน

Page 23: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

23

หลักธรรมาภิบาล และความซ่ือสัตยสุจริต การเปนผูนําการเปล่ียนแปลง วุฒิภาวะทางอารมณของผูบริหารและความสามารถในการทํางานรวมกับผูอ่ืน ความรับผิดชอบตอผลงาน การเปนผู ท่ีมีคุณธรรม จรรยาบรรณของวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก คานิยมท่ีพึงประสงค มีจิตสํานึกเพ่ือสวนรวม และจิตใจประชาธิปไตย จรรยาบรรณวิชาชีพ องคกรวิชาชีพและการมีสวนรวมในองคกรวิชาชีพ การพัฒนาสมรรถภาพและบุคลิกภาพของนักบริหารสมัยใหม Spiritual characteristics and an ideology of professional management is desirable. Elements of a professional manager, development of professional management, in particular, a thirst for knowledge and a vision. Good governance and honesty. To be a transformational leader, emotional maturity of management and the ability to work with others. Accountability for work, morals, professionalism and ethics for skilled administrators. Executive Educational officers and supervisors to display desirable values and to have a conscious mind for the commonwealth and democracy. Professional Ethics both within professional organizations and participation with professional organizations. Competency and personality development for new managers.

รายวิชา 1165601 การจัดการคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา 3(2-2-5) Quality Management and Educational Quality Assurance หลักการและกระบวนการจัดการคุณภาพ ระบบการจัดการคุณภาพสมัยใหม การวิเคราะหและประยุกตหลักการบริหารจัดการคุณภาพมาพัฒนาองคการทางการศึกษา ใหสอดคลองกับสภาวะการเปลี่ยนแปลงภายใตบริบทสังคมไทย หลักและกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา องคประกอบของการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรฐานคุณภาพการศึกษา ระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในและภายนอก บทบาทของผูบริหารในการประกันคุณภาพการศึกษาและการบริหารคุณภาพ กระบวนการประเมินคุณภาพภายในและภายนอกสถานศึกษา การจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและการรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพ่ือรองรับการประเมินภายนอก Principles and processes of quality management. Modern quality management systems, analysis and application of quality management principles to develop educational organization in accordance with the changing conditions of the Thai society. Principles, processes, standards and elements of educational quality assurance. Internal and external quality assurance systems and mechanisms. Management roles in educational quality assurance and quality management. The process of internal and external quality evaluation in schools. Implementation of the quality development plan. Evaluation and monitoring of the educational quality and standard of the school, and the school's self-assessment reports for external evaluation.

Page 24: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

24

รายวิชา 1166658 การฝกปฏิบัติงานบริหารการศึกษา 3 (2-2-5)

Internship in Educational Administration

การสั งเกตและวิ เคร าะหกระบวนกา รการบริหา รกา รศึกษา โดยวิธี การมีสวนร วมใน

กิจกรรมการบริหารสถานศึกษา เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ และความสามารถในกระบวนการ

บริหาร ท้ังในแงของ ทฤษฎีและการปฏิบัติการศึกษาดูงานและการสัมมนาเก่ียวกับความรูและ

ประสบการณท่ีไดรับจากการมีสวนรวมในกิจกรรมการบริหาร

The observation and analysis of educational administration processes by participatory methods of education administration activities. To achieve the knowledge and ability to manage the administration process both in terms of theory and study, attend educational seminars relating to the knowledge and experience gained from participation in management activities.

2. วิชาเฉพาะดานเลือก Major electives รายวิชา 1165105 การบริหารการศึกษาเปรียบเทียบ 3 (2-2-5) Comparative Education Administration ปรัชญาแนวคิด ทฤษฎี โครงสรางและภารกิจ นโยบายและจุดมุงหมายในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานการจัดการศึกษาอุดมศึกษา การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและการจัดการศึกษาอาชีวศึกษา ภารกิจ บทบาทและหนา ท่ีของเจาหนา ท่ีการศึกษาระดับตางๆปญหาและแนวโนมในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานการอุดมศึกษา การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการอาชีวศึกษาในประเทศไทย Philosophical concepts, theories, structure and mission. Policy and goals for developing basic education to higher education. Management of non-formal and informal education and vocational education. Mission, roles and responsibilities of officials at various levels of educational issues, and trends in the provision of basic education to higher education. Development of non-formal, informal and vocational education in Thailand.

รายวิชา 1165106 เศรษฐศาสตรการศึกษา 3 (2-2-5) Economics of Education หลักเศรษฐศาสตรเบื้องตนความสัมพันธระหวางการศึกษากับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศหลักการจัดสรรทรัพยากร การวางแผนกําลังคนกับการลงทุนดานการศึกษา เปรียบเทียบการลงทุนดานการศึกษา วิเคราะหการลงทุนกับผลตอบแทนทางการศึกษาและการพัฒนาประเทศ แหลงท่ีมาของการลงทุนในการจัดการศึกษาระดับทองถิ่น การจัดการศึกษาการมีงานทําและการพัฒนาเศรษฐกิจของทองถิ่น Basic Economics, the relationship between education and economic development of the country, the allocation concepts of resources, manpower

Page 25: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

25

planning to invest in education compared to educational investment. Analysis on the educational investment and educational output returns to education and the development of investment sources in the management of local education, education management for employment and social economic development.

รายวิชา 1165107 การบริหารแผนงานและโครงการ 3 (2-2-5) Program and Project Administration แนวคิด หลักการ ทฤษฎีและกระบวนการบริหารแผนงาน และโครงการ การประเมินโครงการเทคนิค วิธีการ การจัดทํา การวิเคราะห การเลือกและการพัฒนาเครื่องมือประเมินโครงการ การรายงานผลการประเมินและการใชผลการประเมินเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา Concepts, principles, theories and processes of the plan. Project evaluation, techniques for the analysis, and selection and development tools for project evaluation. Report on the evaluation results and applying the evaluation outcomes to improve the quality of education.

รายวิชา 1165201 กฎหมายการศึกษา 3 (2-2-5) Education Laws ความรูเบื้องตนเก่ียวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ กฎระเบียบและขอบังคับท่ีเก่ียวของกับการจัดและบริหารการศึกษา ศึกษาวิเคราะหกรณีตัวอยางการใชกฎหมายทางการศึกษาปญหาและแนวทางแกปญหา Basic knowledge about Constitution laws, acts, rules and regulations relating to the management and administration for education, analysis of case study examples of legal and, educational problems with possible solutions.

รายวิชา 1165202 การบริหารงบประมาณ การเงินและพัสดุ 3 (2-2-5) Administration of School Budget Finance and Materials แนวคิด ระบบ กระบวนการงบประมาณการเงินและพัสดุ แนวคิดเก่ียวกับการลงทุนทางการศึกษา กฎระเบียบและขอบังคับท่ีเก่ียวของกับงบประมาณการเงินและพัสดุ แนวปฏิบัติในการจัดทําและบริหารงบประมาณการเงินและพัสดุ การระดมทรัพยากรและทุนในการจัดการศึกษาของทองถิ่นศึกษา วิเคราะหปญหาและแนวทางพัฒนาเก่ียวกับการบริหารงบประมาณ การเงินและพัสดุโดยเนนการบริหารในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษา Concept of process, budgeting, finance and materials. Concepts of educational investment, rules and regulations related to financial budgets and materials, practices in the preparation and management of budgets, expenditure and materials, resource mobilization and funding for education management in locality. To study and analyze problems and methods to develop the budget, financial aspects and materials, with emphasis on the educational service area and school.

Page 26: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

26

รายวิชา 1165302 ภาวะผูนําทางการศึกษายุคใหม 3 (2-2-5) Contemporary Leadership in Education แนวคิด ทฤษฎีภาวะผูนํา บทบาท คุณลักษณะ ประเภท ทักษะและพฤติกรรมของผูนํายุคใหม วิเคราะหและสังเคราะหกรณีตัวอยางภาวะผูนํายุคใหม เทคนิคการจูงใจ การสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพ การสรางมนุษยสัมพันธ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การคิดเชิงกลยุทธและคิดริเริ่มสรางสรรค การเสริมสรางและพัฒนาภาวะผูนําในยุคสมัยใหม Concept, theory of leadership, role, type, skills and behaviors of contemporary leadership. Analysis and synthesis of contemporary leadership, motivation techniques, Effective Communication, building human relationships, behavior modification, strategic thinking and creativity. The strengthening and development of Contemporary Leadership.

รายวิชา 1165303 การจัดการทรัพยากรมนุษย 3 (2-2-5) Human Resource Management หลักการ แนวคิด ทฤษฎแีละกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย การจูงใจและจิตวิทยาในการบริหาร การนําแนวคิดทฤษฎีและหลักพฤติกรรมศาสตรมาใชในการบริหารงานบุคคล นโยบายระเบียบกฎหมายและองคกรท่ีเก่ียวของกับการบริหารงานบุคคล บทบาทหนา ท่ีของผูบริหารในการบริหารทรัพยากรมนุษย ปญหาแนวโนมและการพัฒนาทรัพยากรมนุษยเพ่ือความเปนเลิศทางการศึกษา Principles, concepts, theory and processes of human resource management, motivation and psychology for administration. Leading the behavioral theories and concepts into the HR management policies, laws and organizations concerned with the role of human resource management, human resource management, issues and trends of human resource development for excellence in education.

รายวิชา 1165401 สถาบันการศึกษากับชุมชน 3 (2-2-5) School and Community ทฤษฎี หลั กกา รกร ะบวนการและทักษะสํ าคัญ ในกา รสร า งควา มสัมพัน ธ ร ะหว า งสถาบันการศึกษากับชุมชนโดยเนนการประชาสัมพันธ การใหบริการทางการศึกษาและการอาชีพ การรวมมือกันระหวางสถานศึกษากับชุมชน ดานการศึกษาและการพัฒนาชุมชนโดยเฉพาะการนําศักยภาพและภูมิปญญาทองถิ่นมาใชในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สภาพปญหาความสัมพันธระหวางสถาบันการศึกษากับชุมชนและการประชาสัมพันธการใชหลักการประชาสัมพันธ และจิตวิทยา การประชาสัมพันธตลอดจนการนําผลการวิจัยมาใชในการพัฒนาชุมชนและการประชาสัมพันธสถานศึกษา

Theories, principles, processes, and skills in building relationships between schools and the community with an emphasis on publication of community outreach, education and professional services. Collaboration between schools and community regarding education and community development, especially the application of potential and traditional knowledge into the development of education, problems in

Page 27: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

27

the relationship between schools and the community, public relations and existing public relations principles and psychology, as well as the application of research results into community development and the public relations of schools.

รายวิชา 1165602 การวิเคราะหระบบงานและพัฒนาองคการทางการศึกษา 3 (2-2-5) Systems Analysis and Organizational Development ความรูพ้ืนฐานเก่ียวกับองคการ แนวคิดและทฤษฎีองคการ การบริหารงานเชิงระบบ เทคนิคและวิธีการวิเคราะหระบบ การวิเคราะหระบบงานในองคการทางการศึกษาท้ังในระดับสวนกลาง เขตพ้ืนท่ี และสถานศึกษา พัฒนาการในการจัดองคการและการจัดองคการสมัยใหม แนวคิดในการวิเคราะหองคการเทคนิคและกระบวนการในการพัฒนาองคการเพ่ือรองรับการกระจายอํานาจและการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา ศึกษาวิเคราะหแนวโนมและปญหาการปฏิบัติการพัฒนาองคการทางการศึกษาในประเทศไทยและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

Fundamentals of organizational concepts and theories of organization. Management based on technical systems and methods of analysis systems, analysis of the jobs in educational organizations in both the central areas, local areas and the schools. Advance the organizational management to the modern organization. The concept of organizational analysis, techniques and processes in organizational development to support decentralization and educational changing. Study of analysis trends, research references and concerns in the educational organization development in Thailand.

รายวิชา 1165701 การนิเทศการศึกษาสมัยใหม 3 (2-2-5) Modern Supervision in Education หลักและแนวคิดเก่ียวกับการนิเทศการศึกษา เทคนิคและกิจกรรมการนิเทศการศึกษาสมัยใหม การนิเทศการศึกษาเชิงบูรณาการ การวางโครงการและการประเมินโครงการนิเทศการศึกษาโดยยึดโรงเรียนเปนฐานการศึกษ าปรับปรุงการเรียนการสอนและการนิเทศภายในสถานศึกษา บทบาทหนา ท่ีและทักษะของผูนิเทศการศึกษา ฝกปฏิบัติการพัฒนาเครื่องมือและทักษะการนิเทศการศึกษา การประยุกตใชผลการวิจัยและการใชการนิเทศเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา ความสัมพันธของการนิเทศการศึกษากับการบริหารการศึกษา กา รพัฒนาระบบการนิเทศกา รศึกษาใหสอดคลองกับกา รเปลี่ยนแปลง

Concepts and principles of educational supervision techniques and activities in the new era. Educational Supervision integration. Project planning and evaluation of school based educational supervision projects. Study and improve teaching and supervision within school. Roles and skills of supervisor. Practicing development tools and skills in educational supervision, the application of research results and applying the supervision for development of quality education. The relationship between supervision and education administration. The development of educational supervision in accordance with the transformation.

Page 28: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

28

รายวิชา 1165702 การจัดการความรูและการจัดการผลงานวิชาการ 3 (2-2-5) Management of Knowledge and Academic affairs แนวคิด หลักการ องคประกอบ เทคนิควิธีและเครื่องมือ กระบวนการจัดการความรู เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถขององคการ แนวทางการประยุกตใชการจัดการความรูกับสถานศึกษาและหนวยงานทางการศึกษา กลวิธีการนําเสนอความรูแนวคิดทฤษฎีท่ีเหมาะสมกับการเรียนรู การเขียนรายงานบทความผลงานผลการศึกษาคนควาการวิเคราะหวิจารณผลงานวิชาการอยางสรางสรรค การเขียนเอกสารทางวิชาการประเภทตาง ๆ

Concepts, principles of the elements, techniques and tools. Process of knowledge management for increasing the capacity of the organization. The method of the application of knowledge management with schools and educational agencies. Strategies of knowledge proposals, concepts and principles which are appropriate to the learning. Writing articles and reports on the findings. Study the critical academic work constructively. Writing various types of academic documents.

รายวิชา 1165801 สัมมนาปญหาและแนวโนมการศึกษาไทย 3(2-2-5) Seminar in Problems and Trends of Thai Education ปรัชญา สังคม วัฒนธรรม การเมือง เศรษฐกิจ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่ีมีผลกระทบตอการจัดและบริหารการศึกษา บทบาทของการศึกษาท่ีมีตอผลการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง กระบวนทัศนใหมในการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา วิเคราะหการปฏิรูปการศึกษาของไทยและของประเทศตาง ๆ สัมมนาปญหาและแนวโนมของการจัดการศึกษาของทองถิ่น และของประเทศไทย พัฒนามโนทัศนและแนวทางในการแกปญหาและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาภายใตสภาวะการเปลี่ยนแปลงอยางยั่งยืน

Philosophy, social, cultural, politics, economics, science and technology concerning the organization and educational administration. The role of education on the development of society, economic and political, a new paradigm in education

change. Analysis of education reform in Thailand and other countries, seminars pertaining to the problems and prospects of education at a local level and in Thailand. To develop concepts and ways to solve problems and sustainably improve the quality of education under changing conditions.

รายวิชา 1165802 สัมมนาการบริหารการศึกษา 3 (2-2-5) Seminar in Educational Administration หลักและกระบวนการสัมมนาเพ่ือการเรียนรูและการแกปญหา เลือกหัวขอหรือปญหาทางการบริหารการศึกษาในการสัมมนา การมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและการทํางานเปนกลุมในการเรียนรูและการแกปญหา

Principles and processes of seminars for learning and solving problems on topics relating to educational administration at the seminar, participating in discussions and work group brainstorming for learning and problem solving.

Page 29: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

29

รายวิชา 1165901 การวิจัยทางการบริหารการศึกษา 3 (2-2-5) Educational Administration Research ลักษณะและธรรมชาติของการวิจัยทางการบริหารการศึกษา วิเคราะหเปรียบเทียบการวิจัยทางการบริหารการศึกษากับการวิจัยโดยท่ัวไป การสังเคราะหงานวิจัยเพ่ือนําองคความรูไปประยุกตใชในการบริหารการศึกษา ศึกษาและสืบคนเทคนิควิจัยใหม ๆ ท้ังงานวิจัยเชิงปริมาณและงานวิจัยเชิงคุณภาพ ฝกปฏิบัติการเขียนโครงการวิจัย รายงานการวิจัย และบทความวิจัยทางการบริหารการศึกษา

Characteristics and nature of research in educational administration, analytical and comparative research in educational administration and research in general. The synthetic research for transforming knowledge into practice in educational administration. Education and retrieval techniques of new research, both quantitative and qualitative research. Practice in writing a research project, research reports and research undertakings in educational administration.

รายวิชา1165103 การบริหารการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3 (2-2-5) Educational Administration on Philosophy of Sufficiency Economy ความเปนมาและความสําคัญ องคประกอบและเง่ือนไขของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูสถานศึกษา การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับตาง ๆ วิเคราะหกรณีศึกษาองคการท่ีบริหารงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในหนวยงานทางการศึกษาและเผยแพรสูชุมชน ศึกษาทฤษฎ ีหลักการ กระบวนการและทักษะสําคัญในการสรางความสัมพันธระหวางหนวยงานทางการศึกษากับชุมชน หลักการประชาสัมพันธกลยุทธการสรางความสัมพันธกับชุมชน บริหารจัดการขอมูลขาวสารไปสูผูเรียนครูและบุคลากรในหนวยงานทางการศึกษา เผยแพรขอมูลขาวสารและกิจกรรมของสถานศึกษาไปสูชุมชน ยทุธศาสตร ท่ีเหมาะสมในการประชาสัมพันธสรางกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความสัมพันธอันดีกับชุมชนโดยมีเปาหมายในการเขาไปชวยเหลือชุมชนและเปดโอกาสใหชุมชนเขามามีสวนรวมระดมทรัพยากรและภูมิปญญาทองถิ่นเพ่ือสงเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือการพ่ึงพาตนเองบนพ้ืนฐานความพอเพียง

Background and importance. Composition and terms of philosophy of sufficiency economy. The mobilization of philosophy of sufficiency economy to education. The application of the philosophy of sufficiency in various levels. Analyze case study of an organizational management which successfully apply the philosophy of sufficiency economy. Adopting the philosophy of sufficiency economy applied in educational agencies and disseminate to the community. Study of theories, principles, processes, and skills in building relationships between educational agencies and community. Public relations principles, strategies to build relationships with the community. Management information to the students, teachers and staff in the educational agencies. Information dissemination activities of the school to community. Appropriate strategies for building the public relations activities to develop good

Page 30: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

30

relationships with the community with the objective of helping the community and providing opportunities for the community to engage and mobilize local resources to promote education for self-reliance based on self-sufficiency.

(3) วิทยานิพนธและการศึกษาคนควาอิสระ Thesis and independent study. รายวิชา 1165902 การศึกษาคนควาอิสระ 6 หนวยกิต Independent Study ศึกษา คนควาตามความสนใจอยางลึกซ้ึงในประเด็นปญหาเก่ียวกับการบริหารการศึกษาภายใตการกํากับดูแลของอาจารย

Studies as a profound interest in issues relating to the administration in education under the teacher or advisor.

รายวิชา 1165903 วิทยานิพนธ 12 หนวยกิต Thesis ศึกษา และวิจัยปญหาทางดานการบริหารการศึกษาอยางลุมลึกท่ีเนนความคิดริเริ่มสรางสรรคทางวิชาการการนําทฤษฎีและหลักการมาใชในการแกปญหาการบริหารการศึกษาโดยอาศัยเทคนิควิธีวิจัยและการคนหาองคความรูใหม ๆ เพ่ือใชในการพัฒนาการศึกษา

Education and research problems in educational administration with emphasis on initiative of academics and the ability to apply theories and principles to solve educational management problems by using research techniques and searching for new knowledge for utilization in educational development.

(4) หมวดวิชาเสริม Additional course รายวิชา 1555101 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษา 2 (1-2-3) English for Graduate Students การพูด การฟง การอานและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ โดยเนนการอานและสรุปใจความสําคัญของบทคัดยองานวิจัย บทความและเอกสารทางวิชาการ ฝกการเขียนชื่องานวิจัยและบทคัดยองานวิจัยเปนภาษาอังกฤษ

Learning the basic skills of speaking, listening, reading and writing academic English with emphasis on the importance of reading and summarizing research abstracts. Articles and academic papers and practice to label the research and abstracts in English.

Page 31: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

31

3.4 ชื่อสกุล เลขบัตรประจําตัวประชาชน ตําแหนง และคุณวุฒิของอาจารย 3.4.1 อาจารยประจําหลักสูตร ลําดับ

ท่ี ช่ือ – สกุล

ตําแหนงทางวิชาการ

เลขบัตรประจําตัวประชาชน

คุณวุฒิ และสาขาวิชา

สถาบัน การศึกษา

ปท่ีสําเร็จการศึก

ษา

ภาระการสอน (ช่ัวโมง/สัปดาห/ภาคการศึกษา)

2558 2559 2560 2561 2562

1 นางนันทิยา นอยจันทร รองศาสตราจารย 3100602874487

ปร.ด. (การบริหารการศึกษา) ค.ม.(การศึกษาปฐมวัย) ศษ.บ.(การบริหารการศึกษา) ค.บ. (การศึกษาปฐมวัย)

มหาวิทยาลัยศิลปากร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

2551 2532 2532 2529

4 4 4 4 4

2 นา ย ที ปพิ พั ฒ น สันตะวัน อาจารย 3630600238309

กศ.ด.(การบริหารการศึกษา) ศศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว) ศษ.บ. (การบริหารการศึกษา) กศ.บ. (การแนะแนว)

มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก

2551 2533 2533 2528

4 4 4 4 4

3 นายสาธร ทรัพยรวงทอง อาจารย 3311100365496

ปรด. (การบริหารการศึกษา) ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา) ค.บ.(วัดผลการศึกษา)

มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยรามคําแหง วิทยาลัยครูบุรีรัมย

2555 2540 2534

4 4 4 4 4

4 นายปพนสรรค โพธิพิทักษ อาจารย 3619900142623

ปรด. (การบริหารการศึกษา) ศษ.ม. (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย) ป.บัณฑิต (การบริหารการศึกษา) ป.วิชาชีพครู วท.บ. (วิทยาศาสตร)

มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยรามคําแหง มหาวิทยาราชภัฏ.นครสวรรค สถาบันราชภัฏพระนคร

2556 2551 2550 2544 2543

4 4 4 4 4

5 นางฐิตินันท ดวงสุวรรณ ผูชวยศาสตราจารย 3620600211851

ค.ด.(การจัดการศึกษาและการเรียนรู) กศ.ม. (จิตวิทยาการแนะแนว) กศ.บ. (การประถมศึกษา)

มหาวิทยาราชภัฏ.นครสวรรค มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก

2555 2538 2529

4 4 4 4 4

Page 32: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

32

3.4.2 อาจารยประจํา

ลําดับท่ี ชื่อ – สกุล ตําแหนงทางวิชาการ

เลขบัตรประจําตัวประชาชน

คุณวุฒิและสาขาวิชา

สถาบัน การศึกษา

ภาระการสอน (ชั่วโมง/สัปดาห/ ภาคการศึกษา)

2558 2559 2560 2561 2562 1 นางนันทิยา นอยจันทร

รองศาสตราจารย3100602874487

ปร.ด. (การบริหารการศึกษา)

มหาวิทยาลัยศิลปากร

4 4 4 4 4

2 นายทีปพิพัฒน สันตะวัน อาจารย 3630600238309

กศ.ด. (การบริหารการศึกษา)

มหาวิทยาลัยนเรศวร

4 4 4 4 4

3 นายสาธร ทรัพยรวงทอง อาจารย 3311100365496

ปร.ด. (การบริหารการศึกษา)

มหาวิทยาลัยศิลปากร

4 4 4 4 4

4 นางฐิตินันท ดวงสุวรรณ ผูชวยศาสตราจารย

3620600211851

ค.ด. (การจัดการศึกษาและการเรียนรู)

มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค

4 4 4 4 4

5 นายปพนสรรค โพธิพิทักษ อาจารย 3619900142623

ปร.ด. (การบริหารการศึกษา)

มหาวิทยาลัยศิลปากร

4 4 4 4 4

6 นายธานี เกสทอง รองศาสตราจารย4610300003151

Ph.D. (Development Education)

Central Luzon State University

4 4 4 4 4

10 นางสาวสุธาทิพย งามนิล อาจารย 3669700010047

ศษ.ด. (หลักสูตรและการสอน)

มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร

- 4 - 4 -

12 นายประจักร รอดอาวุธ อาจารย 3110102364358

Ph.D. (Education)

University of Queensland

3 3 3 3 3

13 นางดาเรศ นฤมล ผูชวยศาสตราจารย

Ph.D. (Education and Applied Linguistics)

University of England

3 3 3 3 3

14 นางสาวสุพัฒนา หอมบุปผา อาจารย 3640900136463

ปร.ด. (วิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา)

มหาวิทยาลัยบูรพา

- 4 - 4 -

15 นายสายทิตย ยะฟู อาจารย

กศ.ด. (วิจัย และประเมินผลการศึกษา)

มหาวิทยาลัยนเรศวร

- 4 - 4 -

Page 33: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

33

ลําดับท่ี ชื่อ – สกุล ตําแหนงทางวิชาการ

เลขบัตรประจําตัวประชาชน

คุณวุฒิและสาขาวิชา

สถาบัน การศึกษา

ภาระการสอน (ชั่วโมง/สัปดาห/ ภาคการศึกษา)

2558 2559 2560 2561 2562

16 วาที่ร.ท. สําราญ จันทรทอง อาจารย

M.A. English Naresuan University

3 3 3 3 3

17 นางสาวธิดากุล บุญรักษา อาจารย

M.A. English Naresuan University

3 3 3 3 3

18 นางสาวพรรณราย เทียมทัน อาจารย

ค.ด.เทคโนโลยีและการส่ือสารการศึกษา

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

3 3 3 3 3

19 นายไกรวิช ดีเอม อาจารย

กศ.ด.เทคโนโลยีการศึกษา

มหาวิทยาลัยนเรศวร

3 3 3 3 3

20 นางนงเยาว ในอรุณ ผูชวยศาสตราจารย

วท.ม.เทคโนโลยีการจัดการระบบสารสนเทศ

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

3 3 3 3 3

3.4.3อาจารยพิเศษ/ วิทยากร

ลําดับท่ี ชื่อ – นามสกุล คุณวุฒิ วิชาเอก ตําแหนงวิชาการ

หนวยงานท่ีสังกัด

รายวิชาท่ีสอน

1 นายบัญญัติ ชํานาญกิจ ค.ด. หลักสูตรและการสอน

ผูชวย ศาสตราจารย

อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค

สัมมนาทางการบริหารการศึกษา

2 นายประเทือง ภูมิภัทราคม

ค.ด. จิตวิทยาการศึกษา รอง ศาสตราจารย

ขาราชการบํานาญ

ภาวะผูนําในยุคโลกาภิวัตน

3 วาที่พันตรีนพดล เจนอักษร

ค.ด. การบริหารการศึกษา

ผูชวย ศาสตราจารย

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

การวิจัยทางการบริหารการศึกษา

4 นายดิเรก พรสีมา Ph.D. Higher Education

อาจารย สํานักงานเลขาธิการ คุรุสภา

สัมมนาทางการบริหารการศึกษา

5 นายอนุรักษ ปญญานุวัฒน

Ph.D. Continuing education Focusing on need assessment

ศาสตราจารย กรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค

การวิจัยทางการบริหารการศึกษา

6 นายสุรศักด์ิ อมรรัตนศักด์ิ

ค.ด. การวัดและประเมินผลการศึกษา

รองศาสตราจารย

มหาวิทยาลัยรามคําแหง

วิทยาการวิจัย

7 นายไพรัตน วงษนาม ค.ด. การวัดและประเมินผลการศึกษา

รองศาสตราจารย

มหาวิทยาลัยบูรพา

วิทยาการวิจัย

Page 34: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

34

ลําดับท่ี ชื่อ – นามสกุล คุณวุฒิ วิชาเอก ตํ า แ ห น งวิชาการ

หนวยงานท่ีสังกัด รายวิชาท่ีสอน

8 นายวสันต นาวเหนียว

กศ.ด. การบริหารการศึกษา

ผูอํานวยการเขตพ้ืนที่การศึกษาเช่ียวชาญ

สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต1

สัมมนาทางการบริหารการศึกษา

9 นายเชน หม่ันเขตรกิจ

ศษ.ด. การบริหารการศึกษา

ผูอํานวยการสถานศึกษา ชํานาญการพิเศษ

สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานี เขต1

สัมมนาทางการบริหารการศึกษา

10 นายสยาม สุมงาม ค.ด. การบริหารการศึกษา

ผูอํานวยการสถานศึกษา ชํานาญการพิเศษ

สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท

สัมมนาทางการบริหารการศึกษา

11 นายอภิเชษฐ

ฉิมพลีสวรรค

ค.ด. การบริหารการศึกษา

ผูอํานวยการสถานศึกษา ชํานาญการพิเศษ

สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค เขต1

สัมมนาทางการบริหารการศึกษา

4. องคประกอบเก่ียวกับการฝกภาคสนาม การฝกงานหรือ สหกิจศึกษา ไมมี 5. ขอกําหนดเก่ียวกับการทําโครงงานหรือวิทยานิพนธ 5.1 คําอธิบายโดยยอ วัตถุประสงคสําคัญประการหนึ่งของหลักสูตรนี้คือ เพ่ือผลิตมหาบัณฑิตท่ีสามารถนําหลักการและระเบียบวิธีการวิจัยทางการบริหารการศึกษาไปใชในการพัฒนาการศึกษา และงานดานตาง ๆ ท่ีเก่ียวของไดอยางมีประสิทธิผล รวมท้ังเปนผูนําการเปลี่ยนแปลงในการจัดการศึกษาของทองถิ่นและของประเทศท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม สามารถสรางองคความรูและสามารถประยุกตองคความรูดานการบริหารจัดการศึกษาไปสูการสรางยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาและของทองถิ่นไดเปนอยางดี ดังนั้นนักศึกษาจึงตองศึกษารายวิชาสัมพันธ และวิชาเฉพาะดานท่ีชวยใหมีความรูและทักษะระดับสูงท่ีเก่ียวของกับบริบทของการศึกษาและการใชการวิจัยเปนเครื่องมือเพ่ิมพูนองคความรูในวิชาชีพและเพ่ือการแกปญหาทางการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ โดยกําหนดใหนักศึกษาทําวิจัยในรูปแบบวิทยานิพนธจํานวน 12 หนวยกิตหรือ การศึกษาคนความอิสระจํานวน 6 หนวยกิต โดยมีจุดเนนการวิจัยในขอบเขตของปญหาดานการบริหารการศึกษาและบริบทท่ีเก่ียวของกับการบริหารการศึกษาเชิงปฏิบัติ มุงเนนผลการวิจัยท่ีสามารถนําไปประยุกตในการพัฒนาหรือแกปญหาทางการบริหารการศึกษาในระดับตาง ๆ ในทองถิ่นท่ีสงผลใหเกิดประโยชนตอสถานศึกษา ผูเรียน คร ูบุคลากรทางการศึกษา ผูปกครองและชุมชนไดจริง ในการวิจัยนักศึกษาสามารถเลือกกระบวนวิธีดําเนินการวิจัยท่ีเปนอิสระเฉพาะโครงการวิจัยของแตละบุคคลหรืออาจจะเลือกใชรูปแบบการวิจัยชุดโครงการวิจัยท่ีพิจารณาประเด็นปญหาการวิจัยเปนองครวมสามารถนํามาบูรณาการเขาดวยกันในชุดโครงการวิจัยและนําผลการวิจัยไปสูการแกไขปญหาดานการจัดการศึกษาของทองถิ่นหรือเพ่ือการพัฒนาการศึกษาของทองถิ่นและประเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ ท้ังนี้นักศึกษาท่ีเลือกทําโครงการวิจัยในรูปแบบใดตอง

Page 35: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

35

ปรึกษาหารือและขอรับคําแนะนําจากอาจารยท่ีปรึกษาอยางใกลชิดตลอดระยะเวลาการดําเนินการวิจัยจนกระท่ังบรรลุผลสําเร็จ 5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู มาตรฐานผลการเรียนรูจากงานวิจัย ไดแก 1) มีองคความรูจากการวิจัย 2) สามารถแกไขปญหาอยางเปนระบบโดยวิธีวิจัย 3) สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล 4) สามารถใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในการวิเคราะหขอมูล สรุป และอภิปรายผล 5) สามารถปรับตัวในการทํางานรวมกับผูอ่ืน 6) สามารถนําเสนอและสื่อสารดวยภาษาพูด และภาษาเขียน 5.3 ชวงเวลา ภาคการศึกษาท่ี 2 ชั้นปท่ี 2 5.4 จํานวนหนวยกิต 1) วิทยานิพนธ 12 หนวยกิต 2) การศึกษาคนควาอิสระ 6 หนวยกิต 5.5 การเตรียมการ 1) อาจารยท่ีปรึกษาใหคําแนะนํานักศึกษาโดยใหนักศึกษาเปนผูเลือกอาจารยท่ีปรึกษาและหัวของานวิจัยท่ีนักศึกษาสนใจ 2) อาจารยท่ีปรึกษาจัดตารางเวลาการใหคําปรึกษาและการติดตามการทํางานของนักศึกษา 3) จัดเตรียมวัสดุอุปกรณสิ่งอํานวยความสะดวกในการทํางานโครงงานวิจัย เชน คอมพิวเตอร เครื่องมือและอุปกรณตาง ๆ 5.6 กระบวนการประเมินผล กระบวนการประเมินผลและกลไกการทวนสอบมาตรฐานงานวิจัย ประกอบดวย 1) ประเมินคุณภาพโครงการวิจัยโดยอาจารยท่ีปรึกษาและคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 2) ประเมินคุณภาพการวิจัยหรือการศึกษาคนควาอิสระโดยอาจารยท่ีปรึกษา อาจารยประจําอยางนอย 2 คน และผูทรงคุณวุฒิภายนอก 1 คน โดยใชวิธีการสังเกต การรายงานดวยวาจา และเอกสารโปสเตอร 3) ประเมินผลการทํางานของนักศึกษาในภาพรวม จากการติดตามการทํางาน ผลงานท่ีเกิดในแตละขั้นตอนและรายงานโดยอาจารยท่ีปรึกษา

Page 36: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

36

หมวดท่ี 4 ผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและการประเมินผล

1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา

คุณลักษณะพิเศษ/คุณสมบัติท่ีพึงประสงค กลยุทธหรือกิจกรรมของนักศึกษา

ดานบุคลิกภาพ การเขาสังคม เทคนิคการสื่อสาร

การมีมนุษยสัมพันธท่ีดี

ดานภาวะผูนํา การ ทํางานเปนทีม การ เปนหัวหนา ท่ี ดี

การมีวินัย และรับผิดชอบในงาน

ดานจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ เรียนรูจริยธรรมและจรรยาบรรณของผูบริหารและปฏิบัติได

2. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน 2.1 ดานคุณธรรมจริยธรรม 2.1.1 ผลการเรียนรูดานคุณธรรมจริยธรรม นักศึกษาตองมีคุณธรรม จริยธรรม เพ่ือใหสามารถดําเนินชีวิตรวมกับผูอ่ืนในสังคมได

อยางเปนสุขและใหตระหนักในคุณสมบัติดังนี้

1) มีความเสียสละและ ซ่ือสัตยสุจริต

2) มีวินัย มีความรับผิดชอบตอตนเอง ตอวิชาชีพและสังคม

3) มีความเปนผูนําและ ผูตาม สามารถทํางานเปนทีมและแกไขขอขัดแยงได

4) เคารพสิทธิของผูอ่ืน เคารพในคุณคาและศักด์ิศรีของความเปนมนุษย

5) ยึดม่ันในกฎระเบียบ จรรยาบรรณทางวิชาชีพและขอบังคับตาง ๆ ขององคกร

และสังคม

2.1.2 กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม

กําหนดใหนักศึกษาทุกคนไดเขาเปนสมาชิกขององคกรวิชาชีพ จัดใหมีการพัฒนาการสอนในรูปของการวิเคราะห อภิปราย ศึกษาองคความรูในกรอบแนวคิดในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณผูนํา ผูบริหารท้ังดานการมีวินัยในหนา ท่ีการงาน การมีวินัยในตนเองมีแนวทางประพฤติปฏิบติัตามจรรยาบรรณวิชาชีพสอนสอดแทรกในรายวิชาดานความรักและความศรัทธาในวิชาชีพความรับผิดชอบในวิชาชีพ การประพฤติตนเปนแบบอยางท่ีดีและการดํารงชีวิตท่ีเหมาะสมและมีการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรอยางเปนระบบตอเนื่อง 2.1.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรมจริยธรรม การประเมินองครวมท้ังตัวบุคคลท้ังในเชิงพฤติกรรมปกติท่ีแสดงออกในชั้นเรียนในกลุมและกิจกรรมทางวิชาการและกิจกรรมทางสังคมท่ีหลากหลายสังเกตพฤติกรรมการเปนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีสามารถควบคุมกํากับและนําตัวเองใหสามารถบรรลุเปาหมายการศึกษาเปน ระยะ ๆ ตลอดหลักสูตร ประเด็นผลงานทางวิชาการและใหคําแนะนําในลักษณะของการเปนศิษยและ

Page 37: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

37

อาจารย (Mentor) รวมท้ังการเปนตนแบบดานภาวะผูนําและการนําตัวเองไดอยางม่ันคงตลอดเวลาการใหเพ่ือนรวมวิพากษและประเมินพฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรมท้ังท่ีเปนรายบุคคลและกลุมและนําผลสรุปไปพิจารณาปรับปรุงอยางตอเนื่อง 2.2 ดานความรู 2.2.1 ผลการเรียนรูดานความรู นักศึกษาในหลักสูตร ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาตองมีความลุมลึกในเนื้อหาของศาสตรทางการบริหารการศึกษา สามารถวิเคราะหสังเคราะหประเมินและการประยุกตความรูเก่ียวกับระบบการศึกษา ระบบโรงเรียน ภาวะผูนําองคกรการศึกษาอยางเชี่ยวชาญ โดยคาดหวังใหนักศึกษามีมาตรฐานความรูดังตอไปนี้ 1) มีความรูอยางลึกซ้ึงในองคความรูทางดานการบริหารการศึกษา มีความเปนมืออาชีพท้ังในดานการทําการวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาและสถานศึกษาโดยท่ีมีผู เรียนเปนหัวใจหลักติดตามพัฒนาการและความกาวหนาในวิชาชีพอยางตอเนื่องสมํ่าเสมอโดยเฉพาะงานวิจัยใหม ๆ ในวิชาชีพ 2) มีความสามารถในการบริหารจัดการการเปล่ียนแปลงการคาดการณการเปลี่ยนแปลงและแนวโนมใหมท่ีจะปรากฏและการเตรียมการเพ่ือการเผชิญการเปลี่ยนแปลงอยางชาญฉลาด 3) มีขีดความสามารถสูงในการบริหารจัดการความขัดแยงและการเปลี่ยนแปลงโดยการสรางและรักษาความสัมพันธท่ีดีของสมาชิกในองคกรเชิงสรางสรรค 4) มีความสามารถในการตัดสินใจท่ีเสี่ยงตอผลกระทบเชิงลบมีขีดความสามารถสูงในการตัดสินใจท่ีอยูในภาวะยากลําบากและมีความรับผิดชอบตอการตัดสินใจนั้นๆ 5) มีความสามารถในการเชื่อมโยงศาสตรทางการบริหารการศึกษากับศาสตรอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของได 2.2.2 กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรูดานความรู คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณาจารยผูสอนจัดใหมีการประชุมเพ่ือการประเมินรปูแบบและวิธีการสอนเพ่ือพัฒนาการเรียนรูของนักศึกษาในดานความรูโดยวิธีการและกระบวนการท่ีหลากหลายโดยมีจุดเนนหลัก 3 ดานคือ 1) ดานองคความรูหลักการทางทฤษฎีโดยจัดประสบการณการเรียนรู ท่ีนักศึกษาสามารถเรียนรูหลักการตางๆทางทฤษฎีในแนวลึกและมีความเขาใจอยางเปนระบบในตัวเนื้อหาของศาสตรนักศึกษาสามารถแสดงศักยภาพของนักศึกษาในการประยุกตใชทฤษฎีองคความรูใหมจากงานวิจัยและสามารถผลิตผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติจากสถานการณจริงทางการศึกษาและการเรียนรูโดยมีการยอมรับการวิพากษจากนักวิชาการอ่ืนตามมาตรฐานวิชาการมีผลงานท่ีมีคุณภาพรูปแบบตางๆและไดรับการตีพิมพในวารสารเชิงวิชาการท่ีเปนท่ียอมรับ 2) ดานจริยธรรมทางวิชาการและวิชาชีพนักศึกษาสามารถวิเคราะหและสามารถจัดการกับปญหาวิกฤตหรืออยูในสภาวะยากลําบากทางจริยธรรมรวมท้ังมีขีดความสามารถสูงในการทํางานรวมกับผูอ่ืนไดเปนอยางดีในการแสวงหาแนวทางการแกปญหา 3) ดานระเบียบวิธีการวิจัยในศาสตรดานการบริหารการศึกษานักศึกษาไดรับการถายทอดความรูและทักษะดานการวิจัยและสามารถนําไปประยุกตใชในการแสวงหาและบุกเบิกองค

Page 38: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

38

ความรูใหมในสาขาการบริหารการศึกษาไดดว ยตนเองสามารถบริหาร โครงการวิจัยไดอยาง มีประสิทธิภาพ นักศึกษาจะไดรับการถายทอดความรูและทักษะดวยวิธีการสอนท่ีหลากหลายดานการสอนในชั้นเรียนและการสอนเชิงสรางสรรคดวยส่ือการเรียนรูและเทคโนโลยีท่ีหลากหลายเพ่ือใหนักศึกษาสามารถเขาถึงเนื้อหาในศาสตรการบริหารการศึกษาและศาสตร อ่ืนท่ีเก่ียวของอยางสะดวกรวดเร็ว ตระหนักในความแตกตางในการเรียนรูของนักศึกษาแตละบุคคลตามภูมิหลังของแตละคนสรางสถานการณการเรียนรูท่ีเปนชุมชนแหงพลวัตรของการสืบสวนสอบสวนจัดสภาพการเรียนการสอนท่ีเปนสภาพของโลกแหงความจริงโดยการสรางสถานการณจําลองเพ่ือการเรียนรูระหวางหองเรียนกับสถานศึกษาหรือหนวยงาน องคกรการศึกษาจริงในสังคมและสรางบรรยากาศแวดลอมการเรียนรูใหนักศึกษาตระหนักถึงความเปนสากลท้ังในการสอนเฉพาะรายวิชาและการสรางเสริมประสบการณนอกสถานท่ีและนอกประเทศ 2.2.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานความรู นักศึกษาจะไดรับการประเมินผลการเรียนรูหลากหลายรูปแบบ โดยใชวิธีการประเมินไดแก 1) การอภิปรายแสดงความคิดเห็นเชิงหลักการและการประยุกตความรูทางทฤษฎีในชั้นเรียน 2) พฤติกรรมภาวะผูนําและผูตามในกิจกรรมวิชาการท่ีมอบหมาย 3) การสอบวัดความรูความเขาใจในเนื้อหาวิชา 4) การนําเสนองานวิชาการในรูปแบบของการวิจัยโดยใชสื่อผสมท่ีหลากหลายในการนําเสนอท้ังในชั้นเรียนและการประชุมสัมมนาทางวิชาการ 5) บุคลิกภาพองครวมของนักศึกษาท้ังเปนรายบุคคลและกลุม 6) ผลงานการศึกษาวิจัยและบทความวิชาการท่ีไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการหรือวิชาชีพทางการศึกษา

2.3 ดานทักษะทางปญญา 2.3.1 ผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา วัตถุประสงคสําคัญของหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คือ การผ ลิตนักวิชา การและวิชาชีพทางดานการบริหารการ ศึกษาท่ีมีคุณธรรมจริ ยธรรมมีขี ดความสามารถในการริเริ่มแสวงหาและสรางองคความรูใหม ท่ีนําไปใชในการบริหารจัดการศึกษาของทองถิ่นและของประเทศ ผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญาจึงมีความสําคัญตอวิชาชีพและอาชีพในอนาคตของนักศึกษา เม่ือเขาสูตลาดแรงงานระดับวิชาชีพชั้นสูงการพัฒนาทักษะทางปญญาควบคูกับความสํานึกในจริยธรรมวิชาชีพและความรูในหลักการทฤษฎีท่ีเปนตัวเนื้อหาองคความรูของศาสตรทางครุศาสตรรวมกับความรูและทักษะดานการวิจัยจึงเปนจุดเนนสําคัญท่ีนักศึกษาในฐานะผูนําทางการศึกษาแหงอนาคตจําเปนตองใชความรูอยางเขมขนกระบวนการสอนการจัดประสบการณการเรียนรูของคณาจารยจึงตองมีการออกแบบการจัดการเรียนรู ท่ีสอดคลองและเติมเต็มแกนักศึกษาเปนรายบุคคลเนนกระบวนการเรียนรูท่ีตัวนักศึกษาเปนศูนยกลางการเรียนรูโดยมีคณาจารยผูสอนเปนผูคอยแนะนําใหคําปรึกษาและเปนผูถายทอดและเรียนรูเพ่ือเพ่ิมพูนศักยภาพในการสืบคนการแสวงหาและสรางความรูใหม ฉะนั้น ผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญาดังกลาวจึงประกอบดวย

Page 39: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

39

1) มีทักษะในการคิดอยางมีวิจารณญาณสามารถวิเคราะหและจัดการกับปญหาท่ีมีความซับซอนหรือมีขอมูลท่ีจํากัดหรือประเด็นการโตแยงทางวิชาการ 2) มีทักษะในการคิดสังเคราะหดวยวิธีการใหม ๆ ท่ีชวยทําใหเกิดการพัฒนาวิธีการใหมในทางวิชาการหรือกอใหเกิดความเขาใจในศาสตรการบริหารการศึกษาและการนําไปสูการปฏิบัติไดจริง 3) มีทักษะในการประเมินคุณคาของความรูรูปแบบตาง ๆ และมีขีดความสามารถสูงในการวิพากษวิจารณเชิงวิชาการท่ีจะเปนเครื่องมือสําคัญใหสามารถประเมินผลงานวิจัยงานวิชาการ ใหมๆท่ีกาวหนารวมท้ังระเบียบวิธีวิจัยตาง ๆ ไดอยางมีอิสระแตอยูในกรอบของวัฒนธรรมวิชาการกับท้ังสามารถถกเถียงเพ่ือเสนอทางเลือกเพ่ือการศึกษาวิจัยใหม ๆ ไดอยางมืออาชีพ 4) มีทักษะในการประยุกตความรูโดยดําเนินการอยางเปนอิสระเพ่ือพัฒนาแนวทางการแกปญหาใหม ๆ 5) มีทักษะการคิดเชิงกลยุทธ และการคิดแกปญหาเชิงระบบ เพ่ือมุงสูการเปนผูนําในการจัดทําแผนกลยุทธและการนําแผนไปปฏิบัติในระดับตาง ๆ 2.3.2 กลยุทธการสอนท่ีใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะทางปญญา 1) การศึกษาวิเคราะหรายกรณีจากสถานการณทางการศึกษาจริงท่ีเกิดขึ้น 2) การเขียนบรรยายแนวทางการแกปญหาและขอเสนอแนะเชิงวิเคราะห 3) การนําเสนอผลงานในการเรียนตอเพ่ือนนักศึกษาและคณาจารยผูสอนและรับฟงขอวิพากษ 4) การสอบวัดผลปลายภาคเรียนดวยขอสอบท่ีเนนการวิเคราะห 2.3.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา ประเมินจากการพัฒนาการทางสติปญญาของนักศึกษาเปนรายบุคคลโดยการสังเกตพฤติกรรมท่ีแสดงออกท้ังในดานวิชาการและพฤติกรรมสวนตัวเชนภาวะผูนําความเปนนักวิชาการการเคารพในหลักเหตุผลการมีตรรกะในกระบวนการคิดและการพูดหรือการอภิปรายการเขียนตอบปญหาและขอเสนอแนะกรณีศึกษาท่ีกําหนดใหรวมท้ังการนําเสนอผลงานวิชาการในรูปบทความบทวิจารณการประเมินผลหรือรูปแบบอ่ืนในสื่อสิ่งพิมพทางวิชาการหรือสื่อผสมท่ีนําเสนอในชั้นเรียนหรืองานประชุมวิชาการท่ีจัดโดยหนวยงานตางๆและของมหาวิทยาลัย

2.4 ทักษะดานความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 2.4.1 ผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางตัวบุคคลและความรับผิดชอบ นักศึกษาท่ีสําเร็จการศึกษาจะตองทํางานรวมกับผูคนท่ีหลากหลายท้ังในสังคมวิชาชีพวิชาการและสังคมท่ัวไปเปนท่ีคาดหวังวาผูจบการศึกษาระดับสูงทางการศึกษาจะเปนผูนํา ท่ีมีความคิดสรางสรรค มีบุคลิกภาพของความเปนผูมีความรู สามารถใหความชวยเหลือและใหคําชี้แนะแกบุคคลและกลุมบุคคลตางๆไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถเผชิญกับปญหาทางจริยธรรมในวิชาชีพไดอยางสุขุมลุมลึก มีขีดความสามารถระดับสูงในการแสวงหาทางเลือกท่ีหลากหลายและมีประสิทธิภาพในการเผชิญกับวิกฤตหรือปญหาตาง ๆ ในองคกรหรือหนวยงานท่ีปฏิบัติงานและในชีวิตสวนตัวมีความรับผิดชอบสูงตอการตัดสินใจและการกระทําของตนเองสามารถสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพท้ังในทาง

Page 40: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

40

วิชาการและในทางสังคมคุณสมบัติสําคัญ ๆ ดังตอไปนี้จะไดรับการถายทอดพัฒนาตลอดเวลาในการศึกษาตามหลักสูตรไดแก 1) เปนนักสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพและเปนสมาชิกกลุมท่ีดี 2) มีขีดความสามารถขั้นสูงในการสื่อสารดวยภาษาพูดและภาษาเขียน 3) มีขีดความสามารถขั้นสูงในการสื่อสารกับผูอ่ืนโดยใชเครื่องมือสารสนเทศสื่อผสมสื่อดิจิตอลหรือสื่ออ่ืน ๆ ท่ีเหมาะสมกับศาสตรทางการบริหารการศึกษา 4) มีขีดความสามารถขั้นสูงในการติดตอสัมพันธกับผูอ่ืนท้ังในรูปแบบทีมงานสถานท่ีทํางานท้ังในวัฒนธรรมและภาษาท่ีหลากหลายในสังคมระดับชาติและระดับนานาชาติ 5) มีความตระหนักในจริยธรรมวิชาชีพและความประพฤติสวนตัวตลอดเวลาเม่ือดํารงสถานะเปนสมาชิกในสังคมและในท่ีทํางานดวยความรับผิดชอบสูง 2.4.2 กลยุทธการสอนท่ีใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวาง บุคคลและความรับผิดชอบ กลยุทธกา รจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือใหนักศึกษาไดรับกา รพัฒนาขี ดความสามารถระดับสูงทางดานความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ จะใชกระบวนการเรียนรูเชิงรุก (Active Learning) โดยมุงเนนใหนักศึกษาแสดงความรับผิดชอบในการศึกษาคนควาองคความรูดวยตนเอง สงเสริมกระบวนการเรียนแบบกระบวนการกลุมสัมพันธ (Group Process) การเรียนรูแบบโครงงาน (Project-Based Learning) การเรียนรูโดยใชการวิจัยเปนฐาน (Research-Based Learning) และการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) 2.4.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและ ความรับผิดชอบ เนนการประเมินผลจากสภาพจริงของพฤติกรรมท่ีนักศึกษาแสดงออกในกิจกรรมการเรียนการปฏิบัติงานกลุมพฤติกรรมบุคคลวินัยและความรับผิดชอบประเมินพฤติกรรมการเรียนรู ทุกภาคเรียนรวมท้ังการใชเทคนิคการประเมินตนเอง (Self-Assessment) ทุกภาคเรียน 2.5 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลขการสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.1 ผลการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลขการสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศมีดังนี้ 1) มีความสามารถในการใชโปรแกรมการวิเคราะหทางสถิติรูปแบบตาง ๆ เพ่ือกระทํากับขอมูลท่ีสลับซับซอน 2) มีความสามารถในการออกแบบวิจัยและบริหารจัดการโครงการวิจัยโดยใชสารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ 3) มีความสามารถในการสื่อสารท่ีชัดเจนมีประสิทธิภาพ เชน การเขยีนงานวิชาการท่ีเหมาะสมอธิบายนําเสนอหรือถกเถียงประเด็นปญหาเชิงวิชาการตอผูฟงท่ีหลากหลาย 4) สามารถพัฒนาเครือขายและปฏิบัติงานเปนทีมไดเหมาะสมกับสภาพแวดลอมขององคกรสมัยใหม 5) สามารถพัฒนาทักษะการจัดการในวิชาชีพของตนเองไดเปนอยางดี รวมท้ังการแสวงหาลูทางอาชีพท่ีเหมาะสม โดยการพัฒนาทักษะหลัก เชน การต้ังเปาหมายอาชีพหรือการพัฒนา

Page 41: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

41

ทักษะเพ่ือการสมัครงานระดับประเทศและระดับนานาชาติโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ การวัดมาตรฐานผลการเรียนรูนี้อาจทําไดในระหวางการเรียนการสอนตลอดหลักสูตรการสรางตัวแบบระบบอาจารยท่ีปรึกษาการมอบหมายโครงงานเปนกลุมหรือรายบุคคลการนําเสนอผลงานวิชาการตอท่ีประชุมการวิพากษเชิงวิชาการการนําเสนอบทความวิชาการเพ่ือการตีพิมพการเปนทีมงานในโครงการวิจัยหลักท่ีปฏิบัติงานในภาคสนาม 2.5.2 กลยุทธการสอนท่ีใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะ การวิเคราะหเชิงตัวเลขการสื่อสารและ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดใหมีการผสมผสานการเรียนรูในรายวิชาบังคับและวิชาเฉพาะสาขาโดยการจัดการเรียนการสอนหลากหลายวิธีเชนการเรียนรูแบบโครงงาน (Project-Based Learning) การเรียนรูโดยใชการวิจัยเปนฐาน (Research-Based Learning) และการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) เพ่ือใหนักศึกษาไดมีโอกาสคนหาความตองการและความถนัดในทักษะการเรียนรูของตนเองเปนการเปดโอกาสการพัฒนาทักษะท่ีสําคัญไดแก 1) ความรูและทักษะในศาสตรดานครุศาสตรและศาสตรท่ีเก่ียวของ 2) เปนนักสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพและเปนสมาชิกของกลุมท่ีดี 3) เปนนักนวัตกรรมและนักสรางสรรคเชิงวิพากษ 4) มีความรับผิดชอบตอสังคมและมีสวนรวมในการพัฒนาทองถิ่นและสังคมอยางยั่งยืน 5) มีความสามารถในการปรับตัวกับผูคนท่ีแตกตางทางดานวัฒนธรรมท่ีหลากหลายในสภาพแวดลอมของการเปนชุมชนนานาชาติ 2.5.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะ การวิเคราะหเชิงตัวเลขการสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เนนการประเมินผลจากสภาพจริงของพฤติกรรมท่ีนักศึกษาแสดงออกในกิจกรรมการเรียนการปฏิบัติงานกลุมพฤติกรรมบุคคลวินัยและความรับผิดชอบประเมินพฤติกรรมการเรียนรู ทุกภาคเรียนรวมท้ังการใชเทคนิคการประเมินตนเอง (Self-Assessment) ทุกภาคเรียน

Page 42: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

42

3. แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping) ( = ความรับผิดชอบหลัก = ความรับผิดชอบรอง )

หมวดวิชา รหัสและช่ือรายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทางปญญา

4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความ

รับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลขการส่ือสารและการ

ใชเทคโนโลยี

1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5

1. หมวดวิชาสัมพันธ 1125212 การจัดการหลักสูตรและการเรียนรู

1145204 วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา 2.หมวดวิชาเฉพาะดาน 2.1 หมวดวิชาเฉพาะดานบังคับ 1165101 หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา

1165102 นโยบายและการวางแผนพัฒนาการศึกษา

1165103 การบริหารกิจกรรมนักเรียน 1165104 การบริหารทรัพยากรและสารสนเทศทางการศึกษา

1165301 คุณธรรม จริยธรรมสําหรับนักบริหารมืออาชีพ

1165601 การจัดการคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา

Page 43: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

43

หมวดวิชา รหัสและช่ือรายวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู 3.ทักษะทางปญญา

4.ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความ

รับผิดชอบ

5.ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลขการส่ือสารและการ

ใชเทคโนโลยี

1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1166658 การฝกปฏิบัติงานบริหารการศึกษา

2.2 หมวดวิชาเฉพาะดานเลือก 1165105 การบริหารการศึกษาเปรียบเทียบ 1165106 เศรษฐศาสตรการศึกษา 1165107 การบริหารแผนงานและโครงการ

1165201 กฎหมายการศึกษา

1165202 การบริหารงบประมาณ การเงินและพัสดุ

1165302 ภาวะผูนําทางการศึกษายุคใหม

1165303 การจัดการทรัพยากรมนุษย 1165401 สถาบันการศึกษากับชุมชน

1165602 การวิเคราะหระบบงานและพัฒนาองคการทางการศึกษา

1165701 การนิเทศการศึกษาสมัยใหม

1165702 การจัดการความรูและการจัดการผลงานวิชาการ

1165801 สั ม ม น าปญ หาและ แนวโ น มการศึกษาไทย

1165802 สัมมนาการบริหารการศึกษา

Page 44: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

44

หมวดวิชา รหัสและช่ือรายวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู 3.ทักษะทางปญญา

4.ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความ

รับผิดชอบ

5.ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลขการส่ือสารและการ

ใชเทคโนโลยี

1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5

1165901 การวิจัยทางการบริหารการศึกษา

1165105 การบริหารการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3. วิทยานิพนธและการศึกษาคนควาอิสระ

1165902 การศึกษาคนควาอิสระ

1165903 วิทยานิพนธ

4. หมวดวิชาเสริม

1555101 ภาษาอัง กฤษ สําหรับนัก ศึกษาบัณฑิตศึกษา

Page 45: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

45

หมวดท่ี 5 หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา 1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน ใหเปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรควาดวยการวัดและประเมินผลการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ก) 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิของนักศึกษา 2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูขณะนักศึกษายังไมสําเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค กําหนดใหมีคณะกรรมการเพ่ือกําหนดระบบและแนวปฏิบัติในการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิการเรียนรูของนักศึกษารวมกับคณะวิชาและกรรมการบริหารหลักสูตรโดยใหถือเปนสวนหนึ่งของระบบประกันคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัยท่ีจะตองมีการประชาสัมพันธใหมีความเขาใจตรงกันท้ังมหาวิทยาลัยและสามารถนําแนวปฏิบัติไปดําเนินการจนบรรลุวัตถุประสงครวมท้ังมีหลักฐานเอกสารซ่ึงผูประเมินภายนอกสามารถพิจารณาตรวจสอบไดสวนในระดับรายวิชาใหมีระบบทวนสอบโดยใหนักศึกษามีสวนรวมในการประเมินการสอนของคณาจารยระดับบัณฑิตศึกษาสําหรับการทวนสอบในระดับหลักสูตรกระทําโดยมีระบบการประกันคุณภาพภายในมหาวิทยาลัยซ่ึงจะมีการดําเนินการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูและมีการรายงานผลอยางตอเนื่อง 2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูหลังจากนักศึกษาสําเร็จการศึกษา คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกําหนดใหมีกลยุทธการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูของนักศึกษาโดยวิธีการติดตามโดยกระบวนการศึกษาวิจัยสัมฤทธ์ิผลของการประกอบอาชีพอยางตอเนื่องและนําผลการวิจัยยอนกลับมาทบทวนวิเคราะหสังเคราะหเพ่ือนํามาปรับปรุงทบทวนการจัดการเรียนการสอนและหลักสูตรรวมท้ังการประเมินคุณภาพของหลักสูตรโดยองคกรหรือหนวยงานวิชาชีพภายนอกประเด็นการวิจัยและการประเมินคุณภาพอาจดําเนินการดังตอไปนี ้ 2.2.1 คุณภาพของหลักสูตรคุณภาพของรายวิชาและคุณภาพของกระบวนการจัดการเรียนการสอน 2.2.2 องคประกอบดานการสนับสนุนของมหาวิทยาลัยในดานตาง ๆ ท่ีมีผลกระทบโดยตรงตอคุณภาพการจัดการเรียนการสอนคุณภาพของการเรียนรูของนักศึกษาองคประกอบท่ีพิจารณา เชน สิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ ในดานการจัดการเรียนรูของมหาวิทยาลัยทรัพยากรทางการศึกษาบรรยากาศภายในมหาวิทยาลัยคุณภาพชีวิตของนักศึกษาอาจารยและบุคลากรปฏิสัมพันธและการสื่อสารระหวางนกัศึกษาอาจารยและมหาวิทยาลัย 2.2.3 สถานการณการไดงานทําตรงตามวิชาชีพของผูสําเร็จการศึกษาโดยประเมินจากผูสําเร็จการศึกษาท่ีสําเร็จการศึกษาในแตละรุนในดานความรูและทักษะในสาขาวิชาชีพประสิทธิภาพในการสื่อสารและการเปนสมาชิกองคการท่ีดีการมีความคิดสรางสรรคและความสามารถในการตัดสินใจเชิงสรางสรรคมีความรับผิดชอบตอสังคมและชุมชนท่ีอยูอาศัยประกอบอาชีพและมีการพัฒนาตนเองและวิชาชีพตลอดเวลา 2.2.4 การตรวจสอบจากหนวยงานผูใชบัณฑิตโดยการสัมภาษณสังเกตหรือสงแบบสอบถามเพ่ือศึกษาระดับความพึงพอใจในความรูทักษะและภาวะผูนําของผูสํา เร็จการศึกษารวมท้ังคุณสมบัติดานอ่ืน ๆ เม่ือเขาทํางานภายในระยะเวลาท่ีเหมาะสม 2.2.5 ความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิภายนอกผูประเมินหลักสูตรหรืออาจารยพิเศษรวมท้ังความเห็นของหนวยงานตางๆท่ีบัณฑิตปฏิบัติงานดวยในประเด็นท่ีเก่ียวกับคุณสมบัติของ

Page 46: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

46

ผูสําเร็จการศึกษาดานการเปนผูนําผูตามท่ีดีรวมท้ังสมรรถนะหลักท่ีมีอยูและการนําไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานของนักศึกษา 2.2.6 ผลงานท่ีเปนรูปธรรมรางวัลและเกียรติยศตางๆท่ีบัณฑิตไดรับเม่ือสําเร็จการศึกษาและอยูในอาชีพแลวร วมท้ังความรับผิดชอบตอสังคมและการมีสวนรวมในการพัฒนาหนวยงาน/องคกรและสังคมท่ีสังกัดใหมีความยั่งยืน 3.เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ผู ท่ีสํา เร็จ การศึกษาตามหลัก สูตร จะตองมีคุณสมบัติตามระเบียบมหาวิทยา ลัยราชภั ฏ

นครสวรรควาดวยการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 ดังนี้

1. นักศึกษาปริญญาโท แผน ก แบบ ก (2) ตองเปนผูมีความประพฤติดี ศึกษารายวิชาครบถวน

ตามท่ีกําหนดในหลักสูตร โดยจะตองไดระดับคะแนนเฉลี่ยไมตํ่ากวา 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน

พรอมท้ังเสนอวิทยานิพนธและสอบผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทาย โดยคณะกรรมการสอบท่ี

มหาวิทยาลัยแตงต้ัง และผลงานวิทยานิพนธจะตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยดําเนินการใหผลงาน

หรือสวนหนึ่งของผลงานไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารหรือสิ่งพิมพทางวิชาการ หรือเสนอตอท่ี

ประชุมวิชาการท่ีมีรายงานการประชุม (Proceeding)

2. นักศึกษาปริญญาโทแผน ข ตองเปนผูมีความประพฤติดี ศึกษารายวิชาครบถวนตามท่ีกําหนด

ในหลักสูตร โดยจะตองไดระดับคะแนนเฉลี่ยไมตํ่ากวา 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน สอบผานการ

ประมวลความรู (Comprehensive Examination) ดวยขอเขียนหรือปากเปลา รวมท้ังเสนอรายงานการ

คนควาอิสระขั้นสุดทาย ซ่ึงเปนการสอบปากเปลาโดยคณะกรรมการสอบท่ีมหาวิทยาลัยแตงต้ัง

Page 47: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

47

หมวดท่ี 6 การพัฒนาคณาจารย 1. การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม 1.1 การปฐมนิเทศอาจารยใหม เรื่องบทบาท ความรับผิดชอบตอผลการเรียนรูของนักศึกษาในรายวิชาและคุณลักษณะความเปนนักบริหาร 1.2 ชี้แจงปรัชญา วัตถุประสงค และเปาหมายของหลักสูตร มอบเอกสารท่ีเก่ียวของ เชน รายละเอียดหลักสูตร คูมือการศึกษาและหลักสูตร คูมืออาจารย กฎระเบียบตาง ๆ 1.3 อบรมเทคนิควิธีการสอน การใชสื่อ การวัดประเมินผล การวิเคราะหผูเรียน การวิจัยเพ่ือพัฒนาการสอน การจัดทํารายละเอียดรายวิชาและแผนการสอน 1.4 กําหนดใหมีอาจารยพ่ีเลี้ยงเพ่ือชวยเหลือและใหคําแนะนําปรึกษา 2. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกคณาจารย 2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล 2.1.1 จัดอบรมพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลแกคณาจารย 2.1.2 การศึกษาดูงาน ประชุม อบรม และสัมมนาเพ่ือพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล 2.1.3 จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูดานการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลอยางนอยภาคเรียนละหนึ่งครั้ง 2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพดานอ่ืน ๆ 2.2.1 สรางเครือขายเครือขายรวมพัฒนาวิชาชีพรวมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขต ภาคเหนือ 2.2.2 การจัดทําเว็บไซต เอกสารเผยแพร การพัฒนาความรู 2.2.3 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพดานอ่ืน ๆ เชน การวิจัย การทําผลงานทางวิชาการ การนําเสนอผลงานทางวิชาการ การศึกษาตอ และการอบรมระยะสั้น

Page 48: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

48

หมวดท่ี 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร 1. การบริหารหลักสูตร หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาไดกําหนดแนวทางการประกันคุณภาพหลักสูตรในดานการบริหารหลักสูตรไวดังนี้ มิติการบริหารหลักสูตร แนวทางการดําเนินการ

1. การจัดองคกร 1. แตงต้ังคณะกรรมการบริหารหลักสูตรจํานวน 5 คน ซ่ึง ประกอบดวยประธานคณะกรรมการบริหาร 1 คน กรรมการ 3 คน และกรรรมการและเลขานุการ 1 คน 2. จัดใหมีเกณฑมาตรฐานภารงานขั้นตํ่าในการบริหารหลักสูตร

2. การบริหารบุคคล 1. จัดใหมีอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร อาจารยประจําหลักสูตรและอาจารยผูสอนท่ีมีคุณสมบัติตรงตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 2. จัดผูสอนเปนคณะ และเชิญผูทรงคุณวุฒิมารวมสอนในบางรายวิชา

3. การเรียนการสอน 1. กําหนดเกณฑและระบบในการคัดเลือกนักศึกษาท่ีเหมาะสม 2. จัดกระบวนการเรียนรูโดยเนนการเรียนรูเชิงรุก (Active Learning) การเรียนรูแบบโครงงาน (Project-Based Learning) การเรียนรูโดยใชการวิจัยเปนฐาน (Research-Based Learning) และการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended Learning) 3. จัดทําแผนการบริหารการจัดการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพ 4. จัดการเรียนรูโดยใชสื่อประสมอยางหลากหลายจัดหาสื่อ การเรียนรู ตํารา เอกสารใหครบถวนตามเกณฑมาตรฐานขั้นตํ่า ของการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาใหบังเกิดประสิทธิผล 5. จัดใหมีระบบการวางแผนการจัดการเรียนการสอน โดยใหมีการ จัดทําประมวลการสอน แผนบริหารการสอน และมีการประเมิน แผนการสอนทุกภาคเรียน

4. วิทยานิพนธและการศึกษาคนควาอิสระ

1. จัดใหมีท่ีปรึกษาวิทยานิพนธท่ีคุณสมบัติตามเกณฑท่ีสํานกังาน คณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนด โดยอาจารยท่ีปรึกษา 1 คน ดูแล วิทยานิพนธการศึกษาคนควาอิสระไม เกิน 10 คน และใหอาจารยท่ี ปรึกษาเริ่มดูแลอยางใกลชิดต้ังแตนักศึกษาเริ่มเขาเรียน 2. จัดใหมีกรรมการสอบวิทยานิพนธ ซ่ึงประกอบดวย อาจารยประจํา และผูทรงคุณวุฒิภายนอก โดย อาจารยประจําตองเปนผูมีคุณวุฒิ การศึกษาระดับปริญญาเอก หรือเปนผูดํารงตําแหนงไมตํ่ากวารอง ศาสตราจารย สวนผูทรงคุณวุฒิภายนอกจะตองเปนผูท่ีมีคุณวุฒิระดับ ปริญญาเอกหรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไมตํ่ากวารอง ศาสตราจารยในสาขาท่ีเก่ียวของ

Page 49: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

49

มิติการบริหารหลักสูตร แนวทางการดําเนินการ 5. การประเมินหลักสูตร 1. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของบัณฑิตกอนสําเร็จการศึกษา

2. จัดใหมีระบบการประเมินอาจารยและแจงผลใหผูเก่ียวของทราบ 3. จัดทํารายงานผลการดําเนินงานจัดการศึกษาทุกป 4. ประเมินผลความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีตอการจัดการเรียน การสอนทุกปการศึกษา

6. การปรับปรุงหลักสูตร 1. แตงต้ังคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรท่ีมาจากผูท่ีมีคุณวุฒิตรง สาขาวิชาหรือมีประสบการณท่ีเก่ียวของ 2. สํารวจความตองการของสังคมเพ่ือนําใชปรับปรุงหลักสูตร 3. จัดเวทีวิพากษหลักสูตรโดยผูทรงคุณวุฒิ 4. จัดทําแผนงานในการปรับปรุงหลักสูตรทุก 5 ป

2. การบริหารทรพัยากรการเรียนการสอน 2.1 การบริหารงบประมาณ ไดรับจัดสรรงบประมาณประเภทงบรายไดจากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรคเพ่ือเปนเปนคาวัสดุ ครุภัณฑ ตํารา สื่อการเรียนการสอน และคาตอบแทน ทรัพยากรการเรียนการสอนท่ีมีอยูเดิม 2.2 ทรัพยากรท่ีมีอยูเดิมและท่ีตองการเพ่ิม แสดงไดดังตาราง ลําดับท่ี รายการ จํานวนท่ีมี

อยูแลว จํานวนท่ี

ตองการเพ่ิม หมายเหตุ

1 LCD Projector 3 เครื่อง 3 เครื่อง

2 Visualizer 3 เครื่อง 3 เครื่อง

3 Microcomputer 20 ชุด 30 ชุด

4 Notebook Computer 3 ชุด 3 ชุด

5 กลองดิจิตอล 1 กลอง 1กลอง

6 VCD & DVD Player 1 เครื่อง 1 เครื่อง

2.2.2 จํานวนรายชื่อหนังสือและเอกสารเฉพาะในสาขาท่ีเปดสอน/และท่ีเก่ียวของแสดงดังตาราง

ลําดับท่ี ชื่อหนังสือ/ตําราเรียน จํานวนท่ีมีอยูแลว 1 การบริหารและจัดการการศึกษา (ภาษาไทย) 1,093

2 การบริหารและจัดการการศึกษา (ภาษาอังกฤษ) 108

3 หนังสือเก่ียวกับหลักสูตร (ภาษาไทย) 237

4 หนังสือเก่ียวกับหลักสูตร (ภาษาอังกฤษ) 44 5 หนังสือเก่ียวกับการเรียนการสอน (ภาษาไทย) 423

6 หนังสือเก่ียวกับการเรียนการสอน (ภาษาอังกฤษ) 82

7 หนังสือเก่ียวกับจิตวิทยา (ภาษาไทย) 837

Page 50: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

50

ลําดับท่ี ชื่อหนังสือ/ตําราเรียน จํานวนท่ีมีอยูแลว 8 หนังสือเก่ียวกับจิตวิทยา (ภาษาอังกฤษ) 132

9 หนังสือเก่ียวกับสถิติและวิจัย (ภาษาไทย) 611

10 หนังสือเก่ียวกับสถิติและวิจัย (ภาษาอังกฤษ) 123

รวม 3,690

2.2.3 แหลงการเรียนรู/แหลงฝกงาน/ฝกปฏิบัติการ/สถานประกอบการสหกิจศึกษา

ลําดับท่ี ชื่อสถานท่ี/สถานท่ีต้ัง จํานวน 1 หองเรียนปรับอากาศ พรอมอุปกรณ 7

2 หองศึกษาคนควาสําหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษา 8

3 หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 1

4 หองประชุมสัมมนา 2 5 หองสอบวิทยานิพนธ 1

2.2.4 รายชื่อสื่ออิเล็กทรอนิคส 1. สืบคนจากเว็บไซต http://127.0.0.1:5432/HWWMDS/Main.nspของสํานักวิทยบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค สามารถสืบคนวารสาร (Journal) ได ท่ัวโลก 2. Springer Link eBooks 3. Downloadable Offline Reading eBooks ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 4. E-Book จากระบบ OCLC NetLibrary 5. ฐานขอมูลวิทยานิพนธไทย (TIAC) 6. ฐานขอมูลวารสาร (Ominifile) 7. ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จํานวน 5 ฐาน จาก 6 ฐานดังนี้ 7.1 ฐานขอมูล IEEE/IEE Electronic Library (IEL) เขาใชงานท่ี http://ieeexplore.ieee.org/Xplore/dynhome.jsp 7.2 ฐานขอมูล Proquest Dissertation & Theses เขาใชงานท่ี http://proquest.umi.com/login/ipauto 7.3 ฐานขอมูล ACM Digital Library เขาใชงานท่ี http://portal.acm.org/dl.cfm 7.4 ฐานขอมูล H.W.Wilson เขาใชงานท่ี http://vnweb.hwwilsonweb.com/hww/logout.jhtml 7.5 ฐานขอมูล Web of Science เขาใชงานท่ี http://isiknowledge.com

Page 51: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

51

2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพ่ิมเติม คณะกรรมการบริหารหลักสูตรจะจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพ่ิมเติมในกรณีท่ีทรัพยากรท่ีมีอยูเกิดการชํารุดเสียหาย มีจํานวนไมเพียงพอกับนักศึกษา หรือไมทันสมัย เพ่ือใหนักศึกษาไดรับความรูและประสบการณท่ีเปนประโยชนสูงสุด 2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร ทําการสํารวจความเพียงพอของหองเรียน หองปฏิบัติการ วัสดุ ครุภัณฑ เอกสารตําราเรียน และสื่ออ่ืนๆ อยางตอเนื่อง 3. การบริหารบุคลากร 3.1 การรับอาจารยใหม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรคดําเนินการคัดเลือกอาจารยใหมดวยวิธีการตาง ๆ ตามนโยบายและระเบียบปฏิบัติท่ีกําหนด โดยอาจารยใหมจะตองมีคุณวุฒิทางการศึกษาไม ตํ่ากวาปริญญาเอกในสาขาท่ีเก่ียวของทางการบริหารการศึกษาหลักสูตรและการสอน การวิจัยทางการศึกษาการวัดและการประเมินผล การบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา การบริหารจัดการ การเปล่ียนแปลงทางการศึกษานโยบายและการวางแผนการศึกษา การบริหารจัดการการอุดมศึกษาหรือสาขาอ่ืนท่ีเก่ียวของ 3.2 การมีสวนรวมของคณาจารยในการวางแผนการติดตาม และทบทวนหลักสูตร คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ผูรับผิดชอบหลักสูตรและอาจารยผูสอนมีพันธกิจหลักในการสอนท่ียึดการวิจัยเปนฐานการเรียนรูของนักศึกษากับท้ังยังมุงม่ันในวัฒนธรรมการสรางหลักฐานขอมูลในการปฏิบัติงาน ดังจะเห็นไดจากการจัดการเรียนการสอนท่ีใชวิทยาการวิจัยและผลการวิจัยเพ่ือการเรียนรูของนักศึกษากิจกรรมการเรียนการสอนจึงผูกมัดกับการวิจัยคนควาเพ่ือใหไดองคความรูใหม ๆหรือเพ่ือพัฒนาความกาวหนาในวิชาชีพอยางม่ันคงสมํ่าเสมอ การประชุมรวมกันเพ่ือการวางแผน การจัดการเรียนการสอน การประเมินผล รวมท้ังการใหความเห็นชอบการประเมินผลรายวิชาทุกรายวิชา การเก็บรวบรวมขอมูลหลักฐานเพ่ือการวิเคราะหสังเคราะห สําหรับการปรับปรุงหลักสูตร ตลอดจนการประชุมเพ่ือแสวงหาแนวทางท่ีจะทําใหบรรลุเปาหมายของหลักสูตรท่ีมุงผลลัพธเปนสําคัญ เพ่ือทําใหมหาบัณฑิตมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงคอยางแทจริง 3.3 การแตงต้ังคณาจารยพิเศษ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรไดมีมติวาอาจารยพิเศษหรือผูทรงคุณวุฒิภายนอกท่ีมีผลงานทางวิชาการหรือตําแหนงหนาท่ีดานการบริหารเปนท่ียอมรับในศาสตร สาขาเฉพาะของทานเหลานั้นในวงการวิชาการหรือแวดวงการบริหารจัดการท้ังในภาครัฐภาคธุรกิจเอกชนหรือในระดับนานาชาติลวนเปนผูท่ีมีคุณประโยชนตอการเรียนรูของนักศึกษา รวมท้ังยังเปนผูจุดประกายแหงความปรารถนาท่ีจะเปนนักวิชาการ/นักบริหารแนวหนาในวงการวิชาชีพตองการประสบความสําเร็จในวิชาชีพท่ีศึกษาคณะกรรมการบริหารหลักสูตรจะจัดใหมีการสํารวจและจัดทําฐานขอมูลอาจารยพิเศษในดานตาง ๆ เพ่ือพิจารณาและนําเสนอขออนุมัติจากมหาวิทยาลัยในการเชิญมาสอนท้ังการสอนเปนครั้งคราวเฉพาะหัวขอ/ประเด็นท่ีเชี่ยวชาญหรือเปนอาจารยสอนรวมกับอาจารยประจําในรายวิชาตลอดภาคการศึกษาท้ังนี้โดยนักศึกษามีสวนรวมทุกขั้นตอนการสรรหาการนําเสนอชื่อและการใหจัดการเรียนการสอน

Page 52: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

52

4. การบริหารบุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอน 4.1 การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง บุคลากรทางการศึกษาสายสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรควรมีวุฒิปริญญาโทท่ีเก่ียวของกับภาระงานท่ีบุคคลรับผิดชอบมีความรูในดานการวิจัยการศึกษาคนควาขอมูลจากฐานขอมูลความรูทางดานภาษาไทยและภาษาอังกฤษในระดับดีรวมท้ังมีความรูความสามารถในการประยุกตใชเทคโนโลยีการเรียนการสอนตาง ๆ เปนอยางดีรวมท้ังมีทักษะการใหบริการท่ีดีแกผูขอรับบริการ 4.2 การเพ่ิมทักษะความรูเพ่ือการปฏิบัติงาน บุคลากรทางการศึกษาตองมีความรูความเขาใจในวัตถุประสงคโครงสรางและการบริหาร จัดการหลักสูตรความตองการในการเรียนรูของนักศึกษาสามารถใหบริการสื่อการสอนและทรัพยากรการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพแกคณาจารยไดเปนอยางดี บุคลากรจึงจําเปนตองมีการฝกอบรมทักษะการใหการบริการท่ีดี การจัดเตรียมสื่อและทรัพยากรการจัดการเรียนการสอนอยางสมํ่าเสมอปละ 1-2 ครั้ง 5. การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา 5.1 การใหคําปรึกษาวิชาการและอ่ืนๆ แกนักศึกษา คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีการแตงต้ังอาจารยท่ีปรึกษาวิชาการใหแกนักศึกษาทุกคน โดยนักศึกษาท่ีมีปญหาในการเรียน สามารถปรึกษากับอาจารย ท่ีปรึกษาวิชาการได โดยอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรทุกคนตองทําหนาท่ีอาจารย ท่ีปรึกษาวิชาการใหแกนักศึกษาและกําหนดชั่วโมงเพ่ือใหนักศึกษาเขาปรึกษาได นอกจากนี้ตองมีท่ีปรึกษากิจกรรมเพ่ือใหคําปรึกษาแนะนําในการจัดทํากิจกรรมแกนักศึกษาอีกดวย 5.2 การอุทธรณของนักศึกษา กรณีท่ีนักศึกษามีความสงสัยเก่ียวกับผลการประเมินในรายวิชาใดสามารถท่ีจะยื่นบันทึกขอความถึงอาจารยผูสอนเพ่ือขอดูกระดาษคําตอบในการสอบ ตลอดจนดูคะแนนและวิธีการประเมินของอาจารยในแตละรายวิชาได 6. ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต บัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษายังเปนท่ีตองการของตลาดแรงงานและสังคม ท้ังนี้ เพราะการจัดการศึกษาทุกระดับ มีการขยายตัวทําใหมีสถานศึกษา หนวยงานท้ังภาครัฐและเอกชนมากขึ้น ดังนั้น ความตองการผูบริหารการศึกษา และผูสนับสนุนทางการศึกษาท้ังในภาครัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคเอกชนจึงมีอยางตอเนื่อง นอกจากนี้สาขาวิชาการบริหารการศึกษายังไดสํารวจการมีงานทําของบัณฑิตทุกปการศึกษา พบวาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มีงานทําหลังจากท่ีสําเร็จการศึกษาภายใน 1 ป รอยละ 100

Page 53: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

53

7. ตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators) เกณฑการประเมินมีดังนี้ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษามีตัวบงชี้ ท่ี 1 – 5 ตองมีผลดําเนินการบรรลุตามเปาหมายติดตอกันไมนอยกวา 2 ป และมีจํานวนตัวบงชี้ (ตัวบงชี้ท่ี 6 - 12) ท่ีมีผลการดําเนินการบรรลุเปาหมายไมนอยกวา 80% ของตัวบงชี้รวม โดยพิจารณาจากจํานวนตัวบงชี้บังคับและตัวบงชี้รวมในแตละป ดังนี้ ตัวบงชี้และเปาหมาย ปการศึกษา

2558 2559 2560 2561 2562

1. อาจารยประจําหลักสูตรอยางนอยรอยละ 80 มีสวนรวมในการประชุมเพ่ือวางแผน ติดตาม และทบทวนการดําเนินงานหลักสูตร

2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ท่ีสอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแหงชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ถามี)

3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณภาคสนาม (ถามี) ตามแบบ มคอ.3 และมคอ.4 อยางนอยกอนการเปดสอนในแตละภาคการศึกษาใหครบทุกรายวิชา

4. จัดทํารายงานผลการดําเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดําเนินการของประสบการณภาคสนาม (ถามี)ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาท่ีเปดสอนใหครบทุกรายวิชา

5. จัดทํารายงานผลการดําเนินการของ หลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปการศึกษา

6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของนักศึกษาตาม มาตรฐานผลการเรียนรูท่ีกําหนดใน มคอ.3 และมคอ.4 (ถามี) อยางนอยรอยละ 25 ของรายวิชาท่ีเปด สอนในแตละปการศึกษา

7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธการสอน หรือการประเมินผลการเรียนรูจากผลการประเมินดําเนินการท่ีรายงานใน มคอ.7 ปท่ีแลว

8. อาจารยใหม (ถามี)ทุกคนไดรับการปฐมนิเทศหรือคําแนะนําดานการจัดการเรียนการสอน

9. อาจารยประจําทุกคนไดรับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อยางนอยปละหนึ่งครั้ง

Page 54: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

54

ตัวบงชี้และเปาหมาย ปการศึกษา 2558 2559 2560 2561 2562

10. จํานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถามี) ไดรับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพไมนอยกวารอยละ 50 ตอป

11.ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปสุดทาย/บัณฑิตใหมท่ีมีตอคุณภาพหลักสูตรเฉลี่ยไมนอยกวา 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

-

12.ระดับความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตท่ีมีตอบัณฑิตใหมเฉลี่ยไมนอยกวา3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

- -

13. รอยละของบัณฑิตท่ีมีงานทําภายใน 1 ป หลังสําเร็จการศึกษา ไมนอยกวารอยละ 80

- - -

รวมตัวบงชี้ (ขอ) ในแตละป 10 11 12 13

ตัวบงชี้บังคับ (ขอท่ี) 1-5 1-5 1-5 1-5 ตัวบงชี้ตองผานรวม (ขอ) 8 9 10 10

หมายเหตุ: หมายถึง มีการดําเนินการครบถวนตามตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน: หลักสูตรไดมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ตองผานเกณฑการประเมินดังนี้ คือ ตัวบงชี้บังคับ (ตัวบงชี้ท่ี 1-5 ) มีผลดําเนินการบรรลุตามเปาหมาย และมีจํานวนตัวบงชี้ท่ีมีผลดําเนินการบรรลุเปาหมายไมนอยกวา 80 % ของตัวบงชี้รวม โดยพิจารณาจากจํานวนตัวบงชี้บังคับและตัวบงชี้รวมในแตละป

Page 55: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

55

หมวดท่ี 8 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของหลักสูตร 1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 1.1 การประเมินกลยุทธการสอน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรไดยึดถือนโยบายความเปนเลิศในการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางการเรียนรูเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคดังกลาวคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณาจารยผูสอนจึงไดกําหนดกลยุทธและกระบวนการการบริหารจัดการกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลายเพ่ือใหเกิดผลลัพธการเรียนรูของนักศึกษา (Learning Outcomes) ท่ีมีความเปนเลิศตลอดเวลาดังนั้นในการประเมินกลยุทธการสอนจึงมุงเนนประเด็นประเมินดังนี้ 1.1.1 คุณภาพของหลักสูตรและการบริหารหลักสูตร 1.1.2 องคประกอบเชิงสนับสนุนของมหาวิทยาลัยในดานตาง ๆ ท่ีสงผลตอผลลัพธการเรียนรูอยางมีคุณภาพของนักศึกษาเชนสภาพแวดลอมและอุปกรณตาง ๆ ทรัพยากรการศึกษาบรรยากาศของมหาวิทยาลัยการสื่อสารและความสัมพันธระหวางนักศึกษากับนักศึกษานักศึกษากับคณาจารยและบุคลากรทางการศึกษาเปนตน 1.1.3 คณะกรรมการติดตามประเมินผลหลักสูตรรายวิชาและการสอน 1.1.4 การประเมินรายวิชาโดยนักศึกษา 1.1.5 การประเมินการสอนโดยนักศึกษา 1.1.6 แบบรายงานผลการสอนของอาจารย 1.1.7 การฝกอบรมดานการจัดการเรียนการสอนและการวัดประเมินผลแกคณาจารย ขอมูลและหลักฐานการประเมินกลยุทธการสอนตาง ๆ เหลานี้ถือเปนกรอบมาตรฐานการประเมินคุณภาพการสอนและจะตองเก็บรวบรวมเปนเอกสารหลักฐานในทุกภาคเรียนและปการศึกษาเพ่ือการทบทวนตรวจสอบและดําเนินการปรับปรุงคุณภาพตอไปตลอดเวลา 1.2 การประเมินทักษะของอาจารยในการใชแผนกลยุทธการสอน นักศึกษาทําการประเมินทักษะของอาจารยในการใชกลยุทธการสอนรายวิชาท่ีไดวางแผนไวในรายการประเมินดังตอไปนี ้ 1.2.1 เปาหมายและวัตถุประสงคการเรียนการสอน 1.2.2 ความรอบรูและความเชี่ยวชาญในเนื้อหาของรายวิชา 1.2.3 ทักษะการสอนและการถายทอดในฐานะครูมืออาชีพของผูสอน 1.2.4 บุคลิกภาพของผูสอนในการสอน 1.2.5 ความใสใจของผูสอนท่ีมีตอนักศึกษาและการเรียนรูของนักศึกษา 1.2.6 ปฏิสัมพันธของผูสอนความมุงม่ันต้ังใจในการสอนและการใชวิธีการประเมินผลท่ีเหมาะสม 1.2.7 ความสามารถของผูสอนในการสื่อสารถึงวัตถุประสงคการประเมินผลรวมท้ัง ขอจํากัดตาง ๆ และมาตรฐานคะแนน 1.2.8 จุดเนนสําคัญท่ีผูสอนใชในการกระตุนใหนักศึกษาไดบรรลุผลลัพธของการเรียนรู 1.2.9 ความสัมพันธของหลักสูตรกับเนื้อหารายวิชาท่ีตอเนื่อง 1.2.10 ความมุงม่ันของผูสอนตอการปรับปรุงการสอนแตละครั้งอยางตอเนื่อง 1.2.11 การผสมการสอนหรือการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมและทักษะชีวิตใหแก นักศึกษาเม่ือมีโอกาส 1.2.12 การสรางบรรยากาศการเรียนรูเชิงสรางสรรคเพ่ือการเรียนรูอยางมีความสุขของ

Page 56: รหัสหลักสูตร ภาษาไทย : Master of Education ...gs.nsru.ac.th/files/FileStore/course/2_2(2558).pdfภาษาไทย: หล กส ตรคร

56

นักศึกษา ขอมูลจากการประเมินทักษะของอาจารยในการใชแผนบริหารการสอนจะรวบรวมไว เปนขอมูลเพ่ือการทบทวนประเมินและการจัดทําขอเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงอยางตอเนื่องในทุก ภาคการศึกษาและปการศึกษารวมท้ังอาจารยตองรวบรวมขอมูลหลักฐานการสอนการประเมินผล การสอนไวเปนแนวปฏิบัติท่ีดี (Good Teaching Practice)

2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม การประเมินหลักสูตรในภาพรวมสามารถดําเนินการประเมินไดเม่ือนักศึกษาไดศึกษารายวิชาตามเกณฑหลักสูตรและตองสอบผานการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) แลวโดยนักศึกษาจะเริ่มลงทะเบียนรายวิชาวิทยานิพนธตามหลักสูตร 6 ขั้นตอนในการพัฒนาความกาวหนาการทําวิจัยซ่ึงคาดหมายวานักศึกษากําลังศึกษาอยูในปท่ี 2 ของหลักสูตรจึงเปนชวงเวลาของการทบทวนและประเมินหลักสูตรเพ่ือตัดสินวาหลักสูตรมีความเหมาะสมทันสมัยและสนองตอบหรือมีผลกระทบตอผู มีสวนไดสวนเสียใน 4 กลุมหลักคือ 2.1 นักศึกษา 2.2 คณาจารยผูสอนและคณะกรรมการประจําหลักสูตร 2.3 ผูทรงคุณวุฒิ / คณะผูประเมินภายนอก 2.4 ผูใชบัณฑิตในขั้นนี้เนื่องจากนักศึกษา นําผลการประเมินในแตละครั้งมาพิจารณาเพ่ือหาจุดเดนจุดดอยของหลักสูตรรายวิชาการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล ตลอดจนความพึงพอใจของบัณฑิตและผูใชบัณฑิตดวยขอมูลท้ังหมดจะนําไปใชเพ่ือการทบทวนและปรับปรุงหลักสูตรและการบริหารหลักสูตร 3. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร จัดใหมีการประเมินคุณภาพการศึกษาประจําปตามตัวบงชี้ผลการดําเนินงานหลักสูตรท่ีระบุไวในหมวดท่ี 7 ขอ 7 โดยคณะกรรมการประเมินอยางนอย 3 คนท่ีไดรับการแตงต้ังจากมหาวิทยาลัยโดยมีเกณฑประเมินดังนี้ เกณฑการประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

มีการดําเนินการครบ 5 ขอแรก มีการดําเนินการครบ 8 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรคมีนโยบายท่ีกําหนดใหหลักสูตรมีการพัฒนาใหทันสมัยโดยแสดงการปรับปรุงตัวบงชี้ดานมาตรฐานและคุณภาพการศึกษาเปนระยะ ๆ อยางนอยทุก 3 ปและมีการประเมินเพ่ือพัฒนาหลักสูตรอยางนอยตอเนื่องทุก 5 ป 4. การทบทวนผลการประเมินและการวางแผนปรับปรุงหลักสูตรและแผนกลยุทธการสอน ใหมีคณะกรรมการดําเนินการเพ่ือการพิจารณาทบทวนผลการประเมินซ่ึงไดดําเนินการมา ท้ังการประเมินรายวิชาการจัดการเรียนการสอนผลการเรียนรูของนักศึกษาการบรรลุผลลัพธการเรียนรู ท่ีกําหนดของนักศึกษาคณะกรรมการดําเนินการทบทวนผลการประเมินจะทําการศึกษาวิเคราะหและประเมินผลรวมกันกับคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณาจารยผูสอนเพ่ือพัฒนา ปรับปรุง 4.1 รายวิชาซ่ึงสามารถดําเนินการปรับปรุงยอย 4.2 หลักสูตรจะกระทําทุก 5 ป เพ่ือใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงขององคความรูและ ผลการวิจัยใหม ๆ และสอดคลองกับความตองการของผูใชบัณฑิตในทองถิ่นและสังคม