พระสุตตันตป ฎก อังคุตรนิกาย ติ ......ท...

602
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ภาค - หนาที1 พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต เลมทีภาคทีขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจาอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนั้น ปฐมปณณาสก พาลวรรคที. ภยสูตร วาดวยผูเปนภัยและไมเปนภัย [๔๔๐] ขาพเจาไดสดับมาอยางนี:- สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจา ประทับอยู พระเชตวัน อาราม ของอนาถบิณฑิกะ คฤหบดี พระนครสาวัตถี พระผูมีพระภาคเจาตรัสเรียก ภิกษุทั้งหลายในที่นั้นแล ดวยพระพุทธพจนวา ภิกฺขโว (แนะภิกษุทั้งหลาย) ภิกษุเหลานั้น กราบทูลขานรับตอพระผูมีพระภาคเจา ดวยคําวา ภทนฺเต (พระพุทธเจาขา) แลว พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสพระธรรมเทศนานี้วา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภัยอยางใดอยางหนึ่งเกิดขึ้น ภัยทั้งปวงนั้น ยอมเกิดแตคนพาล หาเกิดแตบัณฑิตไม อุปทวะอยางใดอยางหนึ่งเกิดขึ้น อุปทวะทั้งปวงนั้น ยอมเกิดแตคนพาล หาเกิดแตบัณฑิตไม อุปสรรคอยางใด อยางหนึ่งเกิดขึ้น อุปสรรคทั้งปวงนั้น ยอมเกิดแตคนพาล หาเกิดแตบัณฑิตไม.

Transcript of พระสุตตันตป ฎก อังคุตรนิกาย ติ ......ท...

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 1 พระสุตตันตปฎก

    อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต

    เลมท่ี ๑ ภาคที่ ๓ ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจาอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนั้น

    ปฐมปณณาสก

    พาลวรรคที่ ๑

    ๑. ภยสูตร

    วาดวยผูเปนภัยและไมเปนภัย

    [๔๔๐] ขาพเจาไดสดับมาอยางนี้ :- สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจา ประทับอยู ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกะ คฤหบดี พระนครสาวัตถี พระผูมีพระภาคเจาตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายในที่นั้นแล ดวยพระพุทธพจนวา ภิกฺขโว (แนะภิกษุทั้งหลาย)ภิกษุเหลานั้น กราบทูลขานรับตอพระผูมีพระภาคเจา ดวยคําวา ภทนฺเต(พระพุทธเจาขา) แลว พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสพระธรรมเทศนานี้วา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภัยอยางใดอยางหนึ่งเกิดขึ้น ภัยทั้งปวงนั้นยอมเกิดแตคนพาล หาเกิดแตบัณฑิตไม อุปทวะอยางใดอยางหนึ่งเกิดขึ้นอุปทวะทั้งปวงนั้น ยอมเกิดแตคนพาล หาเกิดแตบัณฑิตไม อุปสรรคอยางใดอยางหนึ่งเกิดขึ้น อุปสรรคทั้งปวงนั้น ยอมเกิดแตคนพาล หาเกิดแตบัณฑิตไม.

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 2 ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนไฟลุกจากเรือนที่มุงบังดวยตนออ หรือจากเรือนที่มุงบังดวยหญาแลว ยอมไหมกระทั่งเรือนยอดที่ฉาบปูนทั้งภายในทั้งภายนอกจนลมลอดไมได มีประตูอันลงกลอนสนิท มีหนาตางปดไดฉันใด ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภัย. . .อุปทวะ. . .อุปสรรคอยางใดอยางหนึ่งเกิดขึ้น ยอมเกิดแตคนพาล หาเกิดแตบัณฑิตไม ฉันนั้น ดังนี้แล ภิกษุทั้งหลาย คนพาลมีภัย บัณฑิตไมมีภัย คนพาลมีอุปทวะ บัณฑิตไมมีอุปทวะ คนพาลมีอุปสรรค บัณฑิตไมมีอุปสรรคภิกษุทั้งหลาย ภัย. . .อุปทวะ. . .อุปสรรคแตบัณฑิตหามีไม. เพราะเหตุนั้น ทานทั้งหลายพึงสําเหนียกในขอนี้อยางนี้วา บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการ เหลาใด พึงรูวาเปนพาล เราทั้งหลายจักละเสียซ่ึงธรรม ๓ ประการนั้น บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการ เหลาใด พึงรูวาเปนบัณฑิต เราทั้งหลายจักถือธรรมนั้นประพฤติ ภิกษุทั้งหลาย ทานทั้งหลายพึงสําเหนียกอยางนี้แล. จบภยสูตรที่ ๑

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 3 อรรถกถาอังคุตตรนิกาย ชื่อ มโนรถปูรณี

    ติกนิปาตวรรณนา

    พาลวรรควรรณนาที่ ๑

    อรรถกถาภยสูตร

    พึงทราบวินิจฉัยในภยสูตรที่ ๑ แหงติกนิบาต ดังตอไปนี้ :- ในบทวา ภยานิ เปนตน ความที่จิตสะดุงกลัว ช่ือวา ภัย. อาการที่จิตไมเปนสมาธิ ช่ือวา อุปทวะ. อาการที่จิตติดขัด คืออาการที่จิตของอยูในอารมณนั้น ๆ ช่ือวา อุปสรรค. พึงทราบความแตกตางกันแหงภัย อุปทวะ และอุปสรรคเหลานั้นดังตอไปนี้ พวกโจรอาศัยอยูตามภูเขา และถ่ินทุรกันดาร สงขาวไปถึงชาวชนบทวา พวกเราจักเขาปลนหมูบานของพวกทานในวันโนน ตั้งแตเวลาที่ไดสดับขาวนั้น ชาวชนบทเหลานั้นก็พากันหวาดกลัว. อาการอยางนี้ ช่ือวา อาการที่จิตสะดุงกลัว. ชาวชนบทก็พากันคิดวา ทําอยางไรดีเลา พวกโจรโกรธพวกเราแลวจะพึงนําความฉิบหายมาใหเราเปนแน ดังนี้แลว ฉวยควาทรัพยสมบัติที่พอหยิบฉวยติดมือไปได เขาปาพรอมกับฝูงสัตวทวิบทจตุบาท นอนตามพื้นดินอยูในปานั้น ๆ ถูกแมลงมีเหลือบและยุงเปนตนกัด ก็พากันหลบเขาไปยังระหวางพุมไม เหยียบตอไมและหนาม. ความฟุงซานของชาวชนบทเหลานั้นผูทองเที่ยวไปอยูอยางนั้น ช่ือวา อาการที่จิตไมเปนสมาธิ.

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 4 หลังจากนั้น เมื่อพวกโจรไมมาตามวันที่ไดบอกไว ชาวชนบทก็คิด กันวา ชะรอยจักเปนขาวลวง พวกเราจักกลับเขาหมูบาน ดังนี้แลว พากันขนขาวของกลับเขาหมูบาน. คร้ังนั้น พวกโจรทราบวา ชาวชนบทเหลานั้นพากันกลับเขาหมูบานแลว จึงพากันมาลอมหมูบานไว จุดไฟเผาที่ประตูสังหารผูคนจํานวนมาก ปลนเอาทรัพยสมบัติทั้งหมดไป. บรรดาชาวชนบทเหลานั้น พวกที่เหลือจากถูกโจรสังหาร ก็พากันดับไฟ แลวนั่งจับเจาอยูในที่นั้น ๆ มีรมเงาซุมประตู และเงาฝาเรือนเปนตน หวนโศกเศราถึงสิ่งที่สูญเสียไป. อาการที่จิตของอยูอยางนี้ ช่ือวา อาการที่จิตเกี่ยวของอยูในอารมณนั้น. บทวา นฬาคารา ไดแก เรือนที่มุงและบังดวยไมออ สวนเครื่องเรือนที่เหลือในเรือนไมออนี้ ทําจากไม. แมในเรือนหญาก็มีนัย นี้แล. บทวากูฏาคารานิ ไดแก เรือนที่ยกยอด. บทวา อุลฺลิตฺตาวลิตฺตานิ ไดแกฉาบทั้งขางในและขางนอก. บทวา นิวาตานิ ไดแก ลมเขาไปไมได. บทวาผุสิตคฺคฬานิ ไดแก บานประตูที่ติดเขาสนิทที่กรอบเช็ดหนา เพราะเปนของที่นายชางผูฉลาดทําไว. บทวา ปหิตกวาฏานิ ไดแก ติดบานประตูแลว.ดวยสองบทนี้ พระผูมีพระภาคเจา มิไดตรัสหมายถึงบานประตูและหนาตางที่ปดไวประจํา แตตรัสคุณสมบัติเทานั้น. ก็บานประตูและหนาตางเหลานั้นยอมปดและเปดไดทุกขณะที่ตองการ. บทวา พาลโต อุปฺปชฺชนฺติ ความวา อุปสรรคทั้งหลายยอมเกิดขึ้นเพราะอาศัยคนพาลทั้งนั้น. เปนความจริง คนที่ไมเปนบัณฑิตเปนพาล เมื่อปรารถนาความเปนพระราชา ความเปนอุปราช หรือปรารถนาตําแหนงใหญอยางอื่น ก็จะชักชวนเอาลูกกําพราพอ ผูโงเงาเหมือนตน จํานวนเล็กนอยแลวเกลี้ยกลอมวา มาเถิดเธอทั้งหลาย ฉันจักทําพวกเธอใหเปนใหญ ซองสุม

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 5อยูตามภูเขาและปาทึบเปนตน แลวบุกเขาที่หมูบานแถวชายแดน ทําหมูบานใหเสียหายแลว ตีทั้งนิคม ทั้งชนบทตามลําดับ. ผูคนปรารถนาสถานที่ ๆ ปลอดภัย จึงพากันทิ้งบานเรือนหลีกหนีไป.ทั้งภิกษุ ภิกษุณี ที่อาศัยคนเหลานั้นอยู ก็พากันละทิ้งสถานที่อยูของตน ๆหลีกไป. ในสถานที่ที่ทานเหลานั้นไปแลว ทั้งภิกษา ทั้งเสนาสนะก็หาไดยาก.ภัยยอมมาถึงบริษัททั้ง ๔ อยางนี้แล. แมในบรรพชิตทั้งหลาย ภิกษุผูเปนพาล ๒ รูป วิวาทกันแลวตางเริ่มโจทกันและกัน จึงเกิดความวุนวายใหญหลวงขึ้น เหมือนพวกภิกษุชาวเมืองโกสัมพี ฉะนั้น. ภัยยอมมาถึงบริษัท ๔ เหมือนกัน ก็ภัยเหลาใดเกิดขึ้นดังวามานี้ ภัยเหลานั้นทั้งหมด ยอมเกิดขึ้นมาจากคนพาล พระผูมีพระภาคเจาทรงยังเทศนาใหจบลงตามอนุสนธิ ดังวามานี้แล. จบอรรถกถาภยสูตรที่ ๑

    ๒. ลักขณสูตร

    วาดวยลักษณะของพาลและบัณฑิต

    [๔๔๑] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย คนพาลมีกรรมเปนลักษณะ บัณฑิตก็มีกรรมเปนลักษณะ ปญญาปรากฏในอปทาน (ความประพฤติ) ภิกษุทั้งหลาย บุคคลผูประกอบดวยธรรม ๓ ประการ พึงทราบไดวาเปนคนพาล ธรรม ๓ ประการคืออะไรบาง คือ กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ผูประกอบดวยธรรม ๓ ประการนี้แล พึงทราบเถิดวา เปนพาล

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 6 ภิกษุทั้งหลาย บุคคลผูประกอบดวยธรรม ๓ ประการ พึงทราบไดวา เปนบัณฑิต ธรรม ๓ ประการคืออะไรบาง คือ กายสุจริต วจีสุจริต มโน-สุจริต ผูประกอบดวยธรรม ๓ ประการนี้แล พึงทราบเถิดวา เปนบัณฑิต เพราะเหตุนั้น ทานทั้งหลายพึงสําเหนียกในขอนี้อยางนี้วา บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการเหลาใด พึงทราบไดวาเปนคนพาล เราทั้งหลายจักละเสียซ่ึงธรรม ๓ ประการนั้น บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการเหลาใดพึงทราบไดวาเปนบัณฑิต เราทั้งหลายจักถือธรรม ๓ ประการนั้นประพฤติภิกษุทั้งหลาย ทานทั้งหลายพึงสําเหนียกอยางนี้แล. จบลักขณสูตรที่ ๒

    อรรถกถาลักขณสูตร

    พึงทราบวินิจฉัย ในลักขณสูตรที่ ๒ ดังตอไปนี้:- กรรมที่เปนไปทางกายทวารเปนตน เปนลักษณะ คือเปนเหตุใหหมายรูบุคคลนั้น เหตุนั้น บุคคลนั้น จึงชื่อวา มีกรรมเปนลักษณะ. ปญญาที่งามดวยความประพฤติ (จริต) ช่ือวา อปทานโสภนีปญญา.อธิบายวา พาลและบัณฑิตยอมปรากฏดวยกรรมที่ตนประพฤติมาแลวนั่นแล. จริงอยู ทางที่คนพาลไปแลว ยอมเปนเหมือนทางไปของไฟปาซึ่งลามไปเผาไหมตนไม กอไม คามนิคมเปนตนฉะนั้น. ปรากฏเหลือก็แตเพียงสถานที่ที่ปลูกบานเทานั้น ซ่ึงเต็มไปดวย ถาน เขมา และเถา. สวน ทางที่บัณฑิตไป เหมือนทางที่เมฆฝน ซ่ึงตั้งเคาขึ้นทั้ง ๔ ทิศ แลวตกลงมา เต็มหลุมและบอเปนตน นําความงอกงามของรวงขาวกลาชนิดตาง ๆ มาใหฉะนั้น. สถาน

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 7ที่ที่มีน้ําเต็ม และมีผลาผลของขาวกลาชนิดตาง ๆ งอกงาม ปรากฏอยูในทางที่เมฆฝน ซ่ึงตั้งเคาขึ้นฉันใด ในทางที่บัณฑิตดําเนินไป ก็มีสมบัติอยาง เดียวเทานั้น ไมมีวิบัติเลยฉันนั้น. บทที่เหลือในสูตรนี้ มีความหมายงายทั้งนั้น. จบอรรถกถาลักขณสูตร

    ๓. จินตสูตร

    วาดวยลักษณะแตกตางระหวางบัณฑิตกับคนพาล

    [๔๔๒] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย นี่ลักษณะ นิมิต อปทานของคนพาลมี ๓ อยาง ๓ อยางคืออะไรบาง คือ คนพาลในโลกนี้ ยอมเปนผูคิดอารมณช่ัวโดยปกติ พูดคําชั่วโดยปกติ และทําการชั่วโดยปกติ ก็ถาคนพาลจักไมเปนผูคิดอารมณช่ัวโดยปกติ พูดคําชั่วโดยปกติ และทําการชั่วโดยปกติแลวไซรคนฉลาดทั้งหลายจะพึงรูจักเขาไดอยางไรวา อสัตบุรุษผูนี้เปนคนพาล ก็เพราะเหตุที่คนพาลยอมเปนผูคิดอารมณช่ัวโดยปกติ คําชั่วโดยปกติ และทําการช่ัวโดยปกตินั่นแล คนฉลาดทั้งหลายจึงรูจักเขาไดวา อสัตบุรุษผูนี้เปนคนพาลนี่แล ภิกษุทั้งหลาย ลักษณะ นิมิต อปทาน ๓ อยางของคนพาล ดูกอนภิกษุทั้งหลาย นี่ลักษณะ นิมิต อปทาน ของบัณฑิตมี ๓ อยาง๓ อยาง คืออะไรบาง คือ บัณฑิตในโลกนี้ ยอมเปนผูคิดอารมณดีโดยปกติพูดคําดีโดยปกติ และทําการดีโดยปกติ ก็ถาบัณฑิตจักไมเปนผูคิดอารมณดีโดยปกติพูดคําดีโดยปกติ และทําการดีโดยปกติแลวไซร คนฉลาดทั้งหลายจะพึงรูจัก

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 8เขาไดอยางไรวา สัตบุรุษผูนี้เปนบัณฑิต ก็เพราะเหตุที่บัณฑิตยอมเปนผูคิด อารมณดีโดยปกติ พูดคําดีโดยปกติ และทําการดีโดยปกตินั่นแล คนฉลาดทั้งหลายจึงรูจักเขาไดวา สัตบุรุษผูนี้เปนบัณฑิต นี่แล ภิกษุทั้งหลาย ลักษณะนิมิต อปทาน ๓ อยางของบัณฑิต เพราะเหตุนั้น ทานทั้งหลายพึงสําเหนียกในขอนี้อยางนี้วา บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการเหลาใด พึงทราบไดวาเปนคนพาล เราทั้งหลายจักละเสียซ่ึงธรรม ๓ ประการนั้น บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการเหลาใดพึงทราบไดวาเปนบัณฑิต เราทั้งหลายจักถือธรรม ๓ ประการนั้น ประพฤติภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายพึงสําเหนียกอยางนี้แล. จบจินตสูตรที่ ๓

    อรรถกถาจินตสูตร

    พึงทราบวินิจฉัยในจินตสูตรที่ ๓ ดังตอไปนี้:- บทวา พาลลกฺขณานิ ไดแก ที่ช่ือวา พาลลักษณะ (ลักษณะของคนพาล) เพราะเปนเครื่องใหคนทั้งหลายกําหนด คือรูไดวาผูนี้เปนพาล.ลักษณะเหลานั้นแล เปนเหตุใหหมายรูคนพาลนั้น เพราะเหตุนั้น จึงชื่อวาเครื่องหมายของคนพาล. บทวา พาลาปทานนิ ไดแก ความประพฤติของคนพาล. บทวา ทฺจฺจินฺติตจินฺตี ความวา คนพาลเมื่อคิด ยอมคิดแตเร่ืองที่

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 9ไมดี ดวยอํานาจ อภิชฌา พยาบาท และมิจฉาทิฏฐิ. บทวา ทุพฺภาสิ-ตภาสี ความวา แมเมื่อจะพูด ก็ยอมพูดแตคําพูดที่ไมดี แยกประเภทเปนมุสาวาทเปนตน. บทวา ทุกฺกฏกมฺมารี ความวา แมเมื่อทํายอมทําแตส่ิงที่ไมดี ดวยอํานาจปาณาติบาตเปนตน. บทมีอาทิวา ปณฺฑิตลกฺขณานิพึงทราบตามทํานองลักษณะที่กลาวแลวนั่นแล. สวนบททั้งหลายมีบทวา สุจินฺติตจินฺตี เปนตน ในสูตรนี้ พึงประกอบดวยอํานาจแหงสุจริตทั้งหลาย มีมโนสุจริตเปนตน. จบอรรถกถาจินตสูตรที่ ๓

    ๔. อัจจยสูตร

    วาดวยธรรมท่ีบงบอกวาเปนพาลหรือบัณฑิต

    [๔๔๓] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการพึงทราบไดวาเปนคนพาล ธรรม ๓ ประการคืออะไรบาง คือ ไมเห็นความลวงเกินโดยเปนความลวงเกิน เห็นความลวงเกินแลว ไมทําคืนตามวิธีที่ชอบอนึ่ง เมื่อคนอื่นแสดงโทษที่ลวงเกิน ก็ไมรับตามวิธีที่ชอบ บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการนี้แล พึงทราบเถิดวาเปนคนพาล ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการ พึงทราบไดวาเปนบัณฑิต ธรรม ๓ ประการคืออะไรบาง คือ เห็นความลวงเกินโดยเปนความลวงเกิน เห็นความลวงเกินโดยเปนความลวงเกินแลวทําคืนตามวิธี

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 10ที่ชอบ อนึ่ง เมื่อคนอื่นแสดงโทษที่ลวงเกินก็รับตามวิธีที่ชอบ บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการนี้แล พึงทราบเถิดวา เปนบัณฑิต. จบอัจจยสูตรที่ ๔

    อรรถกถาอัจจยสูตร

    พึงทราบวินิจฉัย ในอัจจยสูตรที่ ๔ ดังตอไปนี้:- บทวา อจฺจย อจฺจยโต น ปสฺสติ ความวา คนพาลยอมไมเห็นความผิดของตนวา เปนความผิด. บทวา อจฺจยโต ทิสฺวา ยถาธมฺมน ปฏิกโรติ ความวา คนพาลแมทราบแลววา เราทําผิด ก็ไมยอมทําตามธรรมคือรับทัณฑกรรมมาแลว ก็ไมยอมแสดงโทษ คือไมยอมขอโทษคนอื่น.* บทวา อจฺจย เทเสนฺตสฺส ยถาธมฺม ปฏิคฺคณฺหาติ ความวา เมื่อคนอ่ืนทราบวา เราทําผิด รับทัณฑกรรมมาแลวใหขอขมา คนพาลก็จะไมยอมยกโทษให. ธรรมฝายขาว ( ของบัณฑิต ) พึงทราบโดยนัยที่ตรงกันขามกับที่กลาวแลว. จบอรรถกถาอัจจยสูตรที่* ปาฐะวา อจฺจย น เทเสติ ฉบับพมาเปน อจฺจย น เทเสติ นกฺขมาเปติ แปลตามฉบับพมา

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 11 ๕. อโยนิโสสูตร

    วาดวยธรรมท่ีบงบอกวาเปนพาลหรือบัณฑิต

    [๔๔๔] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการพึงทราบไดวาเปนพาล ธรรม ๓ ประการคืออะไรบาง คือ ตั้งปญหาโดยไมแยบคาย แกปญหาโดยไมแยบคาย อนึ่ง คนอื่นแกปญหาไดแยบคาย ดวยถอยคําอันกลมกลอมสละสลวยไดเหตุผลแลว ไมอนุโมทนา บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการนี้แล พึงทราบเถิดวาเปนคนพาล ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการ พึงทราบไดวาเปนบัณฑิต ธรรม ๓ ประการคืออะไรบาง คือ ตั้งปญหาโดยแยบคายแกปญหาโดยแยบคาย อนึ่ง คนอื่นแกปญหาไดแยบคาย ดวยถอยคําอันกลมกลอมสละสลวยไดเหตุผลแลวอนุโมทนา บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ประการนี้แล ภิกษุทั้งหลาย พึงทราบเถิดวาเปนบัณฑิต. จบอโยนิโสสูตรที่ ๕

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 12 อรรถกถาอโยนิโสสูตร

    พึงทราบวินิจฉัยในอโยนิโสสูตรท่ี ๕ ดังตอไปนี้:- บทวา อโยนิโส ปฺห กตฺตา โหติ ความวา คนพาลยอมทําส่ิงที่ไมเปนปญหานั่นแลใหเปนปญหา เพราะคิดไมถูกวิธี เหมือนพระโลฬุ-ทายีเถระ เมื่อถูกถามวา อุทายี ที่ตั้งของอนุสติมีเทาไรหนอแล ก็คิดวาขันธที่เคยอาศัยอยูในภพกอน จักเปนที่ตั้งของอนุสติ ดังนี้แลว ทําสิ่งที่ไมเปนปญหาใหเปนปญหาฉะนั้น. บทวา อโยนิโส ปฺห วิสชฺเชตา โหติ ความวา ก็คนพาลแมเมื่อจะวิสัชนาปญหาที่คิดไดอยางนี้* ก็กลับวิสัชนาโดยไมแยบคาย คลายพระเถระนั้นนั่นแล โดยนัยมีอาทิวา ขาแตพระองคผูเจริญ ภิกษุในธรรม-วินัยนี้ ยอมระลึกถึงขันธที่อาศัยอยูในภพกอนไดมากมาย คือ ระลึกไดชาติหนึ่งบาง คือยอมกลาวสิ่งที่ไมเปนปญหานั่นแล วาเปนปญหา. ในบทวา ปริมณฺฑเลหิ ปทพฺยฺชเนหิ นี้ พึงทราบวินิจฉัยดังตอไปนี้ บทนั่นแล ช่ือวา บทพยัญชนะ เพราะทําความหมายใหปรากฏ บทพยัญชนะนั้นที่กลาวทําอักษรใหบริบูรณ ไมใหเสียความหมายของพยัญชนะ๑๐ อยาง ช่ือวา เปนปริมณฑล (กลมกลืน). อธิบายวา ดวยบทพยัญชนะเห็นปานนี้. บทวา สิลิฏเหิ ไดแก ที่ช่ือวา สละสลวย เพราะมีบทอันสละสลวย. บทวา อุปคเตหิ ไดแก เขาถึงผลและเหตุ. * ปาฐะวา จินฺติต ปุน ฉบับพมาเปน เอว จินฺติต ปน แปลตามฉบับพมา

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 13 บทวา นาพฺภนุโมทิตา* ความวา คนพาลยอมไมอนุโมทนา คือ ไมยินดีปญหาของบุคคลอื่นที่วิสัชนาโดยแยบคายอยางนี้ คือ ที่วิสัชนาทําใหสมบูรณ ดวยอาการทุกอยาง. เหมือนพระโลฬุทายีเถระ ไมอนุโมทนาปญหาของพระสารีบุตร ฉะนั้น. เหมือนอยางที่ทานกลาวไววา อาวุโสสารีบุตร ไมใชฐานะ ไมใชโอกาสเลยที่พระอนาคามีนั้นลวงเลยความเปนสหายของเหลาเทพผูมีกวฬิงการาหารเปนภักษา เขาถึงหมูเทพที่เปนมโนมยะหมูใดหมูหนึ่งแลว จะพึงเขาสัญญาเวทยิตนิโรธก็ได จะพึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธก็ได ฐานะนี้ไมมีเลย. ในคําวา โยนิโส ปฺห กตฺตา เปนตน พึงทราบวินิจฉัยดังตอไปนี้ บัณฑิตคิดปญหาโดยแยบคายแลว ยอมวิสัชนาปญหาโดยแยบคายเหมือนพระอานนทเถระฉะนั้น. เปนความจริง พระเถระถูกพระศาสดาตรัสถามวา ดูกอนอานนท ที่ตั้งของอนุสติมีเทาไรหนอแล ก็คิดโดยแยบคายกอนวา นี้จักเปนปญหา เมื่อจะวิสัชนาโดยแยบคาย จึงทูลวา ขาแตพระองคผูเจริญ ภิกษุในศาสนานี้ สงัดแลวเทียวจากกามทั้งหลาย ฯลฯ แลวเขาจตุตถฌานอยู ขาแตพระองคผูเจริญ ที่ตั้งของอนุสตินี้ที่เจริญแลวอยางนี้ ทําใหมากแลวอยางนี้ ยอมเปนไปเพื่อความอยูเปนสุขในปจจุบัน. บทวา อพฺภานุโมทิตา โหติ ความวา บัณฑิตยอมอนุโมทนาโดยแยบคาย เหมือนพระตถาคตอนุโมทนาฉะนั้น. เปนความจริง พระตถาคต เมื่อพระอานนทเถระวิสัชนาปญหาแลว ก็ตรัสพระดํารัสมีอาทิวา ดีแลว* ปาฐะวา นาพฺภนุโมทิตา เปนบาลีเดิม แตในอรรถกถาเปน นาภินุโมทติ.

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 14ดีแลว อานนท ถาอยางนั้น อานนท เธอจงทรงจําที่ตั้งแหงอนุสติที่ ๖ นี้ไวเถิด อานนท ภิกษุในธรรมวินัยนี้ มีสติกาวไปขางหนา มีสติถอยหลังกลับ. จบอรรถกถาอโยนิโสสูตรที่ ๕

    ๖. อกุสลสูตร

    วาดวยธรรมท่ีบงบอกวาพาลหรือบัณฑิต

    [๔๔๕] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการพึงทราบไดวาเปนพาล ธรรม ๓ ประการ คืออะไรบาง คือกายกรรมเปนอกุศล วจีกรรมเปนอกุศล มโนกรรมเปนอกุศล บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการนี้แล พึงทราบเถิดวาเปนคนพาล. จบอกุสลสูตรที่ ๖ สูตรที่ ๖-๗-๘ ความหมายงายทั้งนั้น.

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 15 ๗. สาวัชชสูตร

    วาดวยธรรมท่ีบงบอกวาเปนพาลหรือบัณฑิต

    [๔๔๖] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผูประกอบดวยธรรม ๓ ประการพึงทราบวาเปนคนพาล ธรรม ๓ ประการเปนไฉน คือ กายกรรมที่เปนโทษ ๑ วจีกรรมที่เปนโทษ ๑ มโนกรรมที่เปนโทษ ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลายบุคคลผูประกอบดวยธรรม ๓ ประการนี้แล พึงทราบวาเปนคนพาล ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผูประกอบดวยธรรม ๓ ประการ พึงทราบวาเปนบัณฑิตธรรม ๓ ประการเปนไฉน คือ กายกรรมที่ไมเปนโทษ ๑ วจีกรรมที่ไมเปนโทษ ๑ มโนกรรมที่ไมเปนโทษ ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผูประกอบดวยธรรม ๓ ประการนี้แล พึงทราบวาเปนบัณฑิต. จบสาวัชชสูตรที่ ๗

    ๘. สัพยาปชชสูตร

    วาดวยธรรมท่ีบงบอกวาเปนพาลหรือบัณฑิต

    [๔๔๗] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผูประกอบดวยธรรม ๓ ประการพึงทราบวาเปนคนพาล ธรรม ๓ ประการเปนไฉน คือ กายกรรมที่เปนการเบียดเบียน ๑ วจีกรรมที่เปนการเบียดเบียน ๑ มโนกรรมที่เปนการเบียดเบียน ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผูประกอบดวยธรรม ๓ ประการนี้แล พึงทราบวาเปนคนพาล ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผูประกอบดวยธรรม

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 16๓ ประการ พึงทราบวาเปนบัณฑิต ธรรม ๓ ประการเปนไฉน คือ กายกรรม ที่ไมเปนการเบียดเบียน ๑ วจีกรรมที่ไมเปนการเบียดเบียน ๑ มโนกรรมที่ไมเปนการเบียดเบียน ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผูประกอบดวยธรรม๓ ประการนี้แล พึงทราบวาเปนบัณฑิต ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เพราะฉะนั้นแหละ เธอทั้งหลายพึงศึกษาอยางนี้วา บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการเหลาใด อันเราพึงรูวาเปนคนพาล เราจักประพฤติเวนธรรม ๓ ประการนั้นบุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการเหลาใด อันเขาพึงรูวาเปนบัณฑิต เราจักประพฤติสมาทานธรรม ๓ ประการนั้น ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายพึงศึกษาอยางนี้แล. จบสัพยาปชชสูตรที่ ๘

    ๙. ขตสูตร

    วาดวยการบริหารตนแบบพาลและบัณฑิต

    [๔๔๘] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการเปนคนพาล ไมฉลาด เปนอสัตบุรุษ ครองตนอันขาด (แกนสาร) ถูกประหาร (เสียจากคุณธรรม) แลวอยู เปนคนประกอบดวยโทษ ผูรูติเตียนและไดประสบสิ่งอันไมเปนบุญมากดวย ธรรม ๓ ประการคืออะไรบาง คือกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการนี้แลเปนคนพาล ฯลฯ

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 17 ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการ เปน บัณฑิต ฉลาด เปนสัตบุรุษ ครองตนอันไมขาด (แกนสาร) ไมถูกประหาร(จากคุณธรรม) อยู เปนผูไมมีโทษ ผูรูไมติเตียน และไดบุญมากดวยธรรม ๓ ประการคืออะไรบาง คือ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการนี้แล เปนบัณฑิต ฯลฯ จบขตสูตรที่ ๙

    อรรถกถาขตสูตร พึงทราบวินิจฉัย ในสูตรที่ ๙ ดังตอไปนี้:- ธรรมฝายขาว ในสวนเบื้องตน กําหนดดวยกุศลกรรมบถ ๑๐ ในสวนเบื้องสูงยอมได จนถึงอรหัตมรรค. ในบทวา พหฺุจ ปฺุ ปสวติ นี้ พระผูมีพระภาคเจาตรัสถึงบุญที่คละกันไป ทั้งโลกิยะ และโลกุตระ. จบอรรถกถาขตสูตรที่ ๙

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 18 ๑๐. มลสูตร

    วาดวยมลทิน ๓ ประการ

    [๔๔๙] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ไมละมล-ทิน ๓ ยอมเปนผูอุบัติในนรก เหมือนถูกนําตัวไปเก็บไวฉะนั้น ธรรม ๓ประการคืออะไรบาง คือ เปนผูทุศีลและไมละมลทินคือความทุศีลดวย เปนผูริษยาและไมละมลทินคือความริษยาดวย เปนผูตระหนี่และไมละมลทินคือความตระหนี่ดวย บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ นี้ไมละมลทิน ๓ นี้แล ยอมอุบัติในนรก เหมือนถูกนําตัวไปเก็บไว ฉะนั้น ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ละมลทิน ๓ ยอมอุบัติในสวรรค เหมือนเขาเชิญตัวไปประดิษฐานไวฉะนั้น ธรรม ๓ ประการ คืออะไรบาง คือ เปนผูมีศีลและมลทินคือความทุศีลก็ละไดแลวดวย เปนผูไมริษยาและมลทินคือความริษยาก็ละไดแลวดวย เปนผูไมตระหนี่และมลทินคือความตระหนี่ก็ละไดแลวดวย บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ นี้ ละมลทิน๓ นี้แล ยอมอุบัติในสวรรค เหมือนเขาเชิญตัวไปประดิษฐานไวฉะนั้น. จบมลสูตรที่ ๑๐ จบพาลวรรคที่ ๑

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 19 อรรถกถามลสูตร

    พึงทราบวินิจฉัย ในมลสูตรที่ ๑๐ ดังตอไปนี้:- ภาวะของบุคคลทุศีล ช่ือวา ทุสสียะ. ทุสสีลยะนั้นแหละเปนมลทิน จึงชื่อวา ทุสสีลยมละ.

    ความหมายของมลทิน

    ถามวา ที่ช่ือวามลทิน เพราะหมายความวาอยางไร. ตอบวา เพราะหมายความวาตามเผาไหม ๑ เพราะหมายความวา มีกล่ินเหม็น ๑ เพราะหมายความวา ทําใหเศราหมอง ๑. อธิบายวา มลทินนั้น ยอมตามเผาไหมสัตว ในอบายทั้งหลายมีนรกเปนตน เพราะเหตุนั้น จึงชื่อวาเปนมลทิน เพราะหมายความวา ตามเผาไหมบาง. บุคคลเกลือกกล้ัวดวยมลทินนั้น เปนที่นารังเกียจ ทั้งในสํานักมารดาบิดา ทั้งภายในภิกษุสงฆ ทั้งในโพธิสถาน และเจดียสถาน และกลิ่นอันเกิดจากความไมดีของเขา ยอมฟุงไปในทุกทิศวา ผูนั้นทําบาปกรรมเห็นปานนี้ เหตุนั้น จึงชื่อวาเปนมลทิน เพราะหมายความวา มีกล่ินเหม็นบาง. บุคคลผูเกลือกกล้ัวดวยมลทินนั้น ยอมไดรับความเดือดรอนในที่ที่ไปถึง และกายกรรมเปนตนของเขาก็ไมสะอาด ไมผองใส เพราะเหตุนั้น จึงชื่อวาเปนมลทิน เพราะหมายความวา ทําใหเศราหมองบาง. อีกอยางหนึ่ง มลทินนั้น ยอมทําเทวสมบัติ มนุษยสมบัติ และนิพพานสมบัติใหเหี่ยวแหงไป เพราะเหตุนั้น พึงทราบวาเปนมลทิน เพราะหมายความวา ทําใหเหี่ยวแหงบาง.

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 20 แมในมลทิน คือริษยา และมลทินคือความตระหนี่ ก็มีนัย อยางนี้ เหมือนกัน. จบอรรถกถามลสูตรที่ ๑๐ จบพาลวรรควรรณนาที่ ๑ รวมพระสูตรท่ีมีในพาลวรรคนี้ คือ ๑. ภยสูตร ๒. ลักขณสูตร ๓. จินตสูตร ๔. อัจจยสูตร ๕.อโยนิโสสูตร ๖. อกุสลสูตร ๗. สาวัชชสูตร ๘. สัพยาปชชสูตร ๙.ขตสูตร ๑๐. มลสูตร และอรรถกถา.

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 21 รถการวรรคที่ ๒

    ๑. ญาตกสูตร

    วาดวยปฏิบัติเพื่อประโยชนและมิใชประโยชน

    [๔๕๐] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูมีช่ือเสียง ประกอบดวยธรรม๓ ประการ ช่ือวาปฏิบัติเพื่อส่ิงอันไมเกื้อกูลแกชนมาก เพื่อส่ิงอันมิใชความสุขแกชนมาก เพื่อความเสื่อม เพื่อไมเปนประโยชน เพื่อทุกขแกชนมากทั้งเทวดาทั้งมนุษย ธรรม ๓ ประการเปนไฉน คือ ชักชวนในกายกรรมอันไมสมควร ชักชวนในวจีกรรมอันไมสมควร ชักชวนในธรรมทั้งหลายอันไมสมควรภิกษุผูมีช่ือเสียง ประกอบดวยธรรม ๓ ประการนี้แล ช่ือวาปฏิบัติเพื่อส่ิงอันไมเกื้อกูลแกชนมาก ฯลฯ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูมีช่ือเสียง ประกอบดวยธรรม ๓ ประการช่ือวาปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแกชนมาก เพื่อความสุขแกชนมาก เพื่อความเจริญเพื่อประโยชน เพื่อสุขแกชนมากทั้งเทวดาทั้งมนุษย ธรรม ๓ ประการเปนไฉน คือ ชักชวนในกายกรรมอันสมควร ชักชวนในวจีกรรมอันสมควรชักชวนในธรรมอันสมควร ภิกษุผูมีช่ือเสียงประกอบดวยธรรม ๓ประการนี้แลช่ือวาปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแกชนมาก ฯลฯ จบญาตกสูตรที่ ๑

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 22 รถการวรรควรรณนาที่ ๒

    อรรถกถาญาตกสูตร

    พึงทราบวินิจฉัยในญาตกสูตร แหงรถการวรรคที่ ๒ ดังตอไปนี้:- กายกรรม-วจีกรรม-มโนกรรม บทวา าตโก ไดแก ภิกษุผูมีช่ือเสียง คือ ประชาชนรูจักกันทั่วแลว ไดแก ปรากฏแลว. บทวา อนนุโลมิเก ความวา กายกรรม ช่ือวา อนนุโลมิกะ เพราะหมายความวา ไมเหมาะสมแกศาสนา. ในกายกรรมอันไมเหมาะสมนั้น. บทวา กายกมฺเม ไดแก ในกายทุจริต มีปาณาติบาต เปนตน. อีกอยางหนึ่ง กายทุจริตนั้นเปนของหยาบ แกภิกษุสามารถจะชักชวนใหสมาทาน ในกายทุจริตเปนตนนี้ได คือชักชวนใหสมาทานคือใหยึดถือในกรรมเห็นปานนี้วา การนอบนอมทิศทั้งหลายสมควร การทําพลีกรรมใหภูต ยอมควร แมในวจีกรรม มุสาวาทเปนตน เปนของหยาบ แตภิกษุนั้น จะชักชวนใหสมาทานในวจีกรรมเห็นปานนี้ วา ขึ้นชื่อวา การพูดเท็จแกคนโงนี้วาไมมี เพราะไมประสงคจะให* ของ ๆ ตนแกผูอ่ืน ก็ควรพูดได. แมในมโนกรรม อภิชฌาเปนตนก็เปนของหยาบ แตภิกษุเมื่อบอกกัมมัฏฐานผิดพลาดไป ก็ไมช่ือวาชักชวนใหสมาทานในมโนกรรมอันสมควร เหมือนพระ-เถระชาวทักษิณวิหาร ฉะนั้น.* ปาฐะวา อทาตุกาโม ฉบับพมาเปน อทาตุกาเมน แปลตามฉบับพมา

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 23 พระเถระชาวทักษิณวิหาร เลากันมาวา บุตรขุนนางคนหนึ่งเขาไปหาพระเถระนั้นแลวถามวาบุคคลเมื่อจะเจริญเมตตา ควรเจริญเมตตาในบุคคลเชนไรกอน. พระเถระไมยอมบอกถึงบุคคลผูเปนสภาคและวิสภาคกัน แตกลับบอกวาในบุคคลผูเปนที่รัก. บุตรขุนนางนั้น มีภรรยาเปนที่รักใคร. เขาจึงแผเมตตาไปหานางพลางถึงความคลุมคลั่ง. ถามวา ก็ภิกษุ ผูบอกกัมมัฏฐาน นี้ เปนผูปฏิบัติเพื่อมิใชประโยชนเกื้อกูลแกชนเปนอันมากอยางไร. ตอบวา ก็เพราะ บริวารชนของภิกษุเห็นปานนี้มีสัทธิวิหาริกเปนตน และมีอุปฏฐากเปนตน รวมทั้งเทวดาที่เหลือ ผูเปนมิตรของเทวดาเหลานั้น ๆ เร่ิมตนตั้งแตอารักขเทวดาของบริวารชนเหลานั้นจนกระทั่งถึงพรหมโลกตางจะพากันทําตามที่ภิกษุนั้นทําแลวเทียว ดวยคิดวา ภิกษุนี้ไมรูแลวจักไมทํา ภิกษุนี้ช่ือวาเปนผูปฏิบัติเพื่อมิใชประโยชนเกื้อกูลแกชนเปนอันมาก ดวยประการดังพรรณนามาฉะนี้. ในธรรมฝายขาว พึงทราบกายกรรมและวจีกรรม ดวยสามารถแหงเจตนาทั้งหลาย มีเจตนาเปนเครื่องงดเวน จากปาณาติบาตเปนตนนั่นแล. ฝายภิกษุผูบอกกัมมัฏฐานมิใหคลาดเคลื่อน ช่ือวาสมาทานใหดํารงอยูในธรรมที่เหมาะสม เหมือนพระติสสเถระผูชํานาญใน ๔ นิกาย ชาวโกลิตวิหารฉะนั้น.

    พระติสสเถระ

    เลากันวา พระทัตตาภยเถระ ผูเปนพี่ชายคนโตของพระติสสเถระนั้นอยูในเจติยวิหาร เมื่อโรคชนิดหนึ่งเกิดขึ้น ใหเรียกพระนองชายมาแลวบอกวา คุณ คุณชวยบอกกัมมัฏฐานสักขอหนึ่งที่เบา ๆ แกผมทีเถิด.

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 24 พระนองชายเรียนวา หลวงพี่ขอรับ ประโยชนอะไรดวยกัมมัฏฐานขออ่ืน หลวงพี่ควรกําหนดกวฬิงการาหาร. พระพี่ชายถามวา คุณ กวฬิงการาหารนี้มีประโยชนอยางไร. พระนองชายตอบวา หลวงพี่ขอรับ กวฬิงการาหารเปนอุปาทายรูปและเมื่อเห็นอุปาทายรูปอยางหนึ่งแลว อุปาทายรูป ๒๓ ก็ยอมปรากฏชัดดวย. พระพี่ชายนั้น ไดฟงดังนี้นั้นแลว ตอบวา คุณ กัมมัฏฐานเทานี้ก็เห็นจะพอเหมาะแหละนะ ดังนี้แลว สงพระนองชายนั้นกลับไป กําหนดกวฬิง-การาหาร แลวกําหนดอุปาทายรูป กลับไปกลับมา ก็ไดสําเร็จเปนพระอรหันต. ทันใดนั้น พระพี่ชายก็เรียกพระเถระ นองชายนั้น ผูซ่ึงยังไมทันออกไปพนนอกวิหารเลย มาบอกวา คุณ คุณเปนที่พึ่งอยางใหญหลวงของผมแลวนะ ดังนี้แลว บอกคุณที่ตนไดแลวแกพระเถระนองชาย. บทวา พหุชนหิตาย ความวา ก็บริวารชนของภิกษุแมนี้ มีสัทธิ-วิหาริกเปนตน ตางพากันทําตามสิ่งที่ภิกษุนั้นทําแลวเทียวดวยคิดวา ภิกษุนี้ ไมรูแลวจักไมทํา อุปฏฐากเปนตนก็เหมือนกัน เทวดาทั้งหลาย คือ อารักข-เทวดาของบริวารชนเหลานั้น ภุมมเทวดาผูเปนมิตรของอารักขเทวดาเหลานั้นและอากาศเทวดาผูเปนมิตรของภุมมเทวดาเหลานั้น รวมถึงเทวดาที่บังเกิดในพรหมโลก ก็พากันทําตามสิ่งที่ภิกษุนั้นทําแลวเหมือนกัน ภิกษุช่ือวาเปนผูปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแกชนเปนอันมาก ดวยประการฉะนี้. จบอรรถกถาญาตกสูตรที่ ๑

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 25 ๒. สรณียสูตร

    วาดวยสถานที่ท่ีกษัตริยและภิกษุพึงระลึกถึงตลอดชีวิต

    [๔๕๑] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สถานที่ ๓ ตําบลนี้ยอมเปนที่ระลึกตลอดชีพแหงพระราชาผูเปนกษัตริยมุรธาภิเษก สถานที่ ๓ ตําบลไหนบาง ? พระราชาผูเปนกษัตริยมุรธาภิเษกประสูติ ณ ตําบลใด ตําบลนี้เปนที่ระลึกตลอดชีพแหงพระราชาผูเปนกษัตริยมุรธาภิเษก เปนตําบลที่ ๑ อีกขอหนึ่ง พระราชาไดเปนกษัตริยมุรธาภิเษก ณ ตําบลใด ตําบลนี้เปนที่ระลึกตลอดชีพแหงพระราชาผูเปนกษัตริยมุรธาภิเษก เปนตําบลที่ ๒ อีกขอหนึ่ง พระราชาผูเปนกษัตริยมุรธาภิเษก ทรงผจญสงครามไดชัยชนะแลวยึดสนามรบนั้นไวได ณ ตําบลใด ตําบลนี้เปนที่ระลึกตลอดชีพแหงพระราชาผูเปนกษัตริยมุรธาภิเษก เปนตําบลที่ ๓ นี้แล ภิกษุทั้งหลายสถานที่ ๓ ตําบล เปนที่ระลึกตลอดชีพแหงพระราชาผูเปนกษัตริยมุรธาภิเษก ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สถานที่ ๓ ตําบลนี้ก็เปนที่ระลึกตลอดชีพแหงภิกษุฉันนั้นเหมือนกัน สถานที่ ๓ ตําบลไหนบาง ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุปลงผมและหนวด ครองผากาสายะ ออกจากเรือน บวชเปนอนคาริยะ ณตําบลใด ตําบลนี้เปนที่ระลึกตลอดชีพแหงภิกษุ เปนตําบลที่ ๑ อีกขอหนึ่ง ภิกษุรูตามจริงวา นี่ทุกข ... นี่เหตุเกิดทุกข ... นี่ความดับทุกข ... นี่ขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข ณ ตําบลใด ตําบลนี้เปนที่ระลึกตลอดชีพแหงภิกษุ เปนตําบลที่ ๒

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 26 อีกขอหนึ่ง ภิกษุกระทําใหแจงเขาถึงพรอมซึ่งเจโตวิมุตติ ปญญา-วิมุตติ อันหาอาสวะมิได เพราะสิ้นอาสวะทั้งหลาย ดวยความรูยิ่งดวยตนเองอยูในปจจุบันนี้ ณ ตําบลใด ตําบลนี้เปนที่ระลึกตลอดชีพแหงภิกษุ เปนตําบลที่ ๓ นี้แล ภิกษุทั้งหลาย สถานที่ ๓ ตําบลเปนที่ระลึกตลอดชีพแหงภิกษุ. จบสรณียสูตรที่ ๒

    อรรถกถาสรณียสูตร พึงทราบวินิจฉัยในสารณียสูตรท่ี ๒ ดังตอไปนี้ :-

    สิ่งประทับใจ ๓ ประการ

    บทวา ขตฺติยสฺส ไดแก เปนกษัตริยโดยกําเนิด. บทวา มุทฺธาภิสิตฺตสฺส ไดแก ผูไดรับมุรธาภิเษกแลว ดวยการอภิเษกเปนพระราชา.บทวา สรณียานิ โหนฺติ ความวา ไมถูกลืม. บทวา ชาโต แปลวาบังเกิดแลว. บทวา ยาวชีว สรณีย ความวา ในเวลาที่ยังทรงพระเยาวอยูพระมหากษัตริยไมสามารถจะทรงทราบอะไร ๆ ที่เกี่ยวกับพระองคไดเลย(ก็จริง) แตวาในเวลาตอมา ทรงสดับเรื่องราวที่เหลาพระประยูรญาติ มีพระชนกชนนีเปนตน หรือผูที่อยูดวยกันทูลวา พระองคทรงพระราชสมภพในชนบทโนน ในนครโนน ในวันโนน ในนักษัตรโนน ตั้งแตวันนั้นมา(เร่ืองราวที่พระประยูรญาติตรัสเลาใหฟง) เปนเรื่องราวที่พระองคจะตองระลึกไว คือไมทรงลืมตลอดพระชนมชีพทีเดียว.

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 27 ความจริง พระเจาปากิตนันทะ ไมมีกิจที่จะตองกระทําดวย ชาติ และฐานะเปนตนเลย. แตวาพระผูมีพระภาคเจา ทรงนําเหตุการณนี้มาก็เพื่อทรงแสดงบุคคล ๓ จําพวก ซ่ึงเปรียบดวยพระราชานั้น เพราะฉะนั้นพระผูมีพระภาคเจา เมื่อจะทรงแสดงบุคคลเหลานั้น จึงตรัสคําวา เอวเมวโข ภิกขเว เปนตน. บรรดาบทเหลานั้น ในบทวา อนคาริย ปพฺพชิโต โหติ นี้พึงทราบวา จตุปาริสุทธิศีล อาศัยบรรพชานั่นแล. บทวา สรณีย โหติความวา (สถานที่ที่ภิกษุปลงผมและหนวดแลว ครองผากาสาวพัสตร ออกจากเรือนบวชเปนผูไมมีเรือนนี้) เปนสถานที่ที่ภิกษุจะตองระลึกไว คือไมลืมตลอดชีวิตเลยทีเดียว อยางนี้วา เราบวชแลวที่โคนตนไมโนน ในที่จงกรมโนน ในโรงอุปสมบทโนน ในวิหารโนน ในชนบทโนน ในรัฐโนน. บทวา อิท ทุกข ความวา ทุกขมีเพียงเทานี้ ไมมีทุกขนอกเหนือไปจากนี้. บทวา อย ทุกฺขสมุทโย ความวา เหตุเกิดทุกขมีเพียงเทานี้ไมมีเหตุเกิดทุกขนอกเหนือไปจากนี้. แมในสองบทที่เหลือ ก็มีนัยนี้แล. พระผูมีพระภาคเจา ตรัสโสดาปตติมรรคไวดวยสัจจะ ๔ ในสูตรนี้ ดังพรรณนามาฉะนี้. สวนกสิณบริกรรม และวิปสสนาญาณ อาศัยมรรคทั้งนั้น. บทวา สรณีย โหติ ความวา (สถานที่ที่ภิกษุไดสําเร็จเปนพระ-โสดาบัน) เปนสถานที่ที่ภิกษุจะตองระลึกไว คือ ไมลืมตลอดชีวิตวา เราสําเร็จเปนพระโสดาบัน ที่ควงตนไมโนน ฯลฯ ในรัฐโนน. บทวา อาสวานขยา แปลวา เพราะความสิ้นไปแหงอาสวะทั้งหลาย. บทวา อนาสว เจโตวิมุตฺตึ ไดแก ผลสมาธิ. บทวา ปฺาวิมุตฺตึ ไดแกผลปญญา. บทวาสย อภิฺา สจฺฉิกตฺวา ความวา การทําใหประจักษดวยปญญาอัน

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 28วิเศษยิ่ง ดวยตนเองทีเดียว. บทวา อุปสมฺปชฺช วิหรติ ไดแก ไดอยู. บทวา สรณีย ความวา ธรรมดาวา สถานที่ที่ตนเองไดสําเร็จเปนพระอรหันตเปนสถานที่ที่ภิกษุจะตองระลึกไว คือ ไมลืมตลอดชีวิตวา เราไดสําเร็จเปนพระอรหันต ที่ควงตนไมโนน ฯลฯ ในรัฐโนน. พระผูมีพระภาคเจา ทรงจบพระธรรมเทศนาตามอนุสนธิ ดังวามานี้แล. จบอรรถกถาสรณียสูตรที่ ๒

    ๓. ภิกขุสูตร

    วาดวยบุคลล ๓ จําพวกในทางโลกและทางธรรม

    [๔๕๒] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๓ จําพวกนี้มีอยูในโลก บุคคล๓ จําพวกไหน คือ บุคคลผูไรความหวัง บุคคลผูมีสวนแหงความหวัง บุคคลผูส้ินความหวังแลว ก็บุคคลอยางไร ช่ือวาผูไรความหวัง ? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้เกิดในตระกูลต่ํา คือตระกูลจัณฑาลก็ดี ตระกูลคนดีดพิณก็ดีตระกูลพรานก็ดี ตระกูลชางทํารถก็ดี ตระกูลคนรับจางเทขยะก็ดี ทั้งยากจนขัดสนขาวน้ําโภชนะ เปนอยูอยางแรนแคน หาอาหารและเครื่องนุงหมไดโดยฝดเคือง ซํ้าเปนคนขี้ร้ิวขี้เหร เตี้ยแคระ มากไปดวยโรค คือ ตาบอดบางเปนงอยบาง กระจอกบาง เปลี้ยบาง ไมใครไดขาว น้ํา ผา ยวดยาน ระเบียบ

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 29ดอกไม ของหอม เครื่องลูบไล ที่นอน ที่อยู และเครื่องประทีป บุคคล ผูนั้นไดยินขาววา เจาผูมีพระนามอยางนี้ อันเจาทั้งหลายอภิเษกใหเปนกษัตริยแลว ความหวังอยางนี้ยอมไมมีแกบุคคลนั้นวา เมื่อไรหนา เจาทั้งหลายจักอภิเษกเราใหเปนกษัตริยบาง นี่ ภิกษุทั้งหลาย เราเรียกวา บุคคลผูไรความหวัง ก็บุคคลอยางไร ช่ือวาผูมีสวนแหงความหวัง ดูกอนภิกษุทั้งหลายพระโอรสองคใหญของพระราชาผูเปนกษัตริยมุรธาภิเษก ยังมิไดรับอภิเษกดวยน้ําอภิเษก เปนผูมั่นคงแลว พระโอรสนั้นไดสดับขาววา เจาผูมีพระนามอยางนี้ อันเจาทั้งหลายอภิเษกใหเปนกษัตริยแลว ความหวังอยางนี้ ยอมมีไดแกพระโอรสนั้นวา เมื่อไรหนา เจาทั้งหลายจักอภิเษกเราใหเปนกษัตริยบาง นี่ ภิกษุทั้งหลาย เราเรียกวา บุคคลผูมีสวนแหงความหวัง ก็บุคคลอยางไร ช่ือวาผูส้ินความหวังแลว ดูกอนภิกษุทั้งหลายพระราชาไดเปนกษัตริยมุรธาภิเษกแลว พระราชานั้นทรงสดับขาววา เจาผูมีพระนามอยางนี้ อันเจาทั้งหลายอภิเษกใหเปนกษัตริยแลว ความหวังอยางนี้ไมมีแกพระราชานั้นวา เมื่อไรหนา เจาทั้งหลายจักอภิเษกใหเราเปนกษัตริยบาง นั่นเพราะเหตุอะไร เพราะความหวังในการอภิเษกของพระองคเมื่อคร้ังยังมิไดอภิเษกนั้นรํางับไปแลว นี่ ภิกษุทั้งหลาย เราเรียกวาบุคคลผูส้ินความหวังแลว นี้แล ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๓ จําพวกมีอยูในโลก ฉันนั้นเหมือนกันแล ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๓ จําพวกก็มีอยูในหมูภิกษุ บุคคล ๓ จําพวกไหนบาง คือ บุคคลผูไรความหวัง บุคคลผูมีสวนแหงความหวัง บุคคลผูส้ินความหวังแลว

  • พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 30 ก็บุคคลอยางไร ช่ือวาผูไรความหวัง ? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ลางคนในโลกนี้ เปนผูทุศีล มีธรรมอันลามก (มีการกระทํา) ไมสะอาดมีความประพฤตินารังเกียจ มีการงานอันปกปด ไมเปนสมณะ แตปฏิญญาวาเปนสมณะ ไมเปนพรหมจารี แตปฏิญญาวาเปนพรหมจารี เปนคนเนาในเปยกชื้นรกเรื้อ (ดวยกิเลสโทษ) บุคคลนั้นไดยินขาววา ภิกษุช่ือนี้กระทําใหแจงเขาถึงพรอมซึ่งเจโตวิมุตติ ปญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได เพราะส้ินอาสวะทั้งหลาย ดวยความรูยิ่งดวยตนเองอยูในปจจุบันนี่ ความหวังอยางนี้ยอมไมมีแกบุคคลนั้นวา เมื่อไรเลา เราจักกระทําใหแจงเขาถึงพรอมซึ่งเจโตวิมุตติ ปญญาวิมุตติ ฯลฯ อยูในปจจุบันนี้บาง นี่ ภิกษุทั้งหลาย เราเรียกวา บุคคลผูไรความหวัง ก็บุคคลอยางไร ช่ือวาผูมีสวนแหงความหวัง ? ดูกอนภิกษุทั้งหลายภิกษุในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีศีล มีธรรมอันงาม ภิกษุนั้นไดยินขาววา ภิกษุช่ือนี้ กระทําใหแจงเขาถึงพรอมซึ่งเจโตวิมุตติ ปญญาวิมุตติ ฯลฯ อยูในปจจุบันนี้ ความหวังอยางนี้ยอมมีไดแกภิกษุนั้นวา เมื่อไรเลา เราจักกระทําใหแจงเขาถึงพรอมซึ่งเจโตวิมุตติ ปญญาวิมุตติ ฯลฯ อยูในปจจุบันนี้บาง นี่ภิกษุทั้งหลาย เราเรียกวา บุคคลผูมีสวนแหงความหวัง ก็บุคคลอยางไร ช่ือวาผูส้ินความหวังแลว ? ดูกอนภิกษุทั้งหลายภิกษุในธรรมวินัยนี้เปนพระอรหันตส้ินอาสวะแลว เธอไดยินขาววา ภิกษุช่ือนี้ การทําใหแจงเขาถึงพรอมซึ่งเจโตวิมุตติ ปญญาวิมุตติ ฯลฯ อยูในปจจุบันนี่ ความหวังอยางนี้ยอมไมมีแกเธอ