จดหมายข่าว - Mahidol University...- National Geographic Virtual Read Magazine...

4
จดหมายข่าว งานสารสนเทศและห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข Stang Mongkolsuk Library & Information Division Newsletter ปีท่ 4 ฉบับที่ 62 เดือนพฤษภาคม 2558 | http://stang.sc.mahidol.ac.th/newsletter

Transcript of จดหมายข่าว - Mahidol University...- National Geographic Virtual Read Magazine...

Page 1: จดหมายข่าว - Mahidol University...- National Geographic Virtual Read Magazine archive 1888 - Present (now-15 June 2015) - Academic OnFile the premier source of

จดหมายข่าวงานสารสนเทศและห้องสมุดสตางค์ มงคลสุขStang Mongkolsuk Library & Information Division Newsletterปีที่ 4 ฉบับที่ 62 เดือนพฤษภาคม 2558 | http://stang.sc.mahidol.ac.th/newsletter

Page 2: จดหมายข่าว - Mahidol University...- National Geographic Virtual Read Magazine archive 1888 - Present (now-15 June 2015) - Academic OnFile the premier source of

TextBooks น่าอ่าน วารสารน่าหยิบติดตามรายการหนังสือวิชาการ/วารสารออกใหม่ประจำาเดือนได้ที่http://stang.sc.mahidol.ac.th/text/introduce_th.htm

บรรณารักษ์ชวนรู้ “วันฉัตรมงคล” วันฉัตรมงคล คือ พระราชพิธีฉลองพระเศวตฉัตรสิริราชกกุธภัณฑ์ พระแสงประจำารัชกาล ทำาในวันซึ่งตรงกับวันบรมราชาภิเษกเสวยราชสมบัติตามราชประเพณี(ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.๒๕๒๕)และเป็นวันระลึกในการครบรอบปีที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงรับพระราชพิธีพระบรมราชาภิเษกขึ้นครองราชสมบัติ เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๙ แห่งราชวงศ์จักรี กล่าวคือ พระองค์ได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ ต่อจากสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เมื่อวันที่ ๙มิถุนายนพ.ศ.๒๔๘๙ แล้วเสด็จพระราชดำาเนินไปทรงศึกษาอยู่ณทวีปยุโรปจนกระทั่งทรงบรรลุนิติภาวะแล้วจึงได้เสด็จนิวัติประเทศไทยและรัฐบาลไทยได้น้อมเกล้าฯจัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกถวายเมื่อวันที่๕พฤษภาคมพ.ศ.๒๔๙๓ การจัดพิธีบรมราชาภิเษก เป็นพิธีที่จัดต้อนรับหรือรับรองฐานะความเป็นประมุขของสังคมอย่างเป็นกิจจะลักษณะซึ่งมีมาแต่ครั้งพ่อขุนผาเมืองได้อภิเษกพ่อขุนบางกลางหาวให้เป็นผู้ปกครองเมืองสุโขทัยดังปรากฏในหลักฐานในศิลาจารึกวัดศรีชุมของพญาลิไท ในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานีพระองค์ได้ทรงฟื้นฟูวัฒนธรรมของชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่งการฟื้นฟูพระราชพิธีบรมราชาภิเษกให้ถูกต้องสมบูรณ์ พระมหากษัตริย์ที่ยังมิได้ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก จะไม่ใช้คำาว่า “พระบาท” นำาหน้า“สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” และคำาสั่งของพระองค์ก็ไม่เรียกว่า “พระบรมราชโองการ” และที่สำาคัญประการหนึ่งคือจะยังไม่มีการใช้นพปฎลเศวตฉัตรหรือฉัตร๙ชั้น ส่วนประกอบสำาคัญของพระราชพิธีคือ เครื่องมงคลสิริเบญจราชกกุธภัณฑ์์เป็นเครื่องแสดงพระราชอิสริยศักดิ์แห่งความเป็นสมเด็จพระมหากษัตริยาธิราช พระมหาราชครูผู้ใหญ่จะนำาข้ึนทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายขณะประทับพระที่น่ังภัทรบิฐในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกประกอบด้วยพระมหาพิชัยมงกุฎ,พระแสงขรรค์ชัยศรี,ธานพระกรชัยพฤกษ์,วาลวิชนี(พัดวาลวิชนี,พระแส้จามจุรี),ฉลองพระบาทเชิงงอน ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ได้ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณ ในวันที่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๓ เป็นวันจุดเทียนชัยและวันที่๕พฤษภาคมพ.ศ.๒๔๙๓ เป็นวันประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

ข้อมูลจากเว็บไซต์กรมการศาสนา(www.dra.go.th)

Page 3: จดหมายข่าว - Mahidol University...- National Geographic Virtual Read Magazine archive 1888 - Present (now-15 June 2015) - Academic OnFile the premier source of

บรรณารักษ์ชวนอ่าน โดยเฉลิมพันธุ์ตาทิพย์

งานสารสนเทศและห้องสมุดสตางค์มงคลสุขคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล272ถนนพระรามที่6เขตราชเทวีกรุงเทพ10400

โทรศัพท์022015710โทรสาร023547144อีเมล[email protected]

http://stang.sc.mahidol.ac.thhttp://stanglibrary.wordpress.comwww.facebook.com/StangMongkolsukLibrary

เคยสงสัยกันไหม?ทั้งๆที่ทุ่มเทให้กับการทำางานอย่างหนักสร้างผลงานไว้ก็มากทำาหลายสิ่งหลายอย่างในเวลาเดียวกันพยายามพัฒนาตัวเองในทุกๆด้านแต่ก็ไม่เป็นไปตามที่คาดหวังไหนจะต้องคอยห่วงเรื่องความสัมพันธ์กับครอบครัวและคนรอบข้างการดูแลสุขภาพร่างกายและการหาความสุขให้กับตัวเองซึ่งนอกจากจะทำาให้รู้สึกยุ่งกับงานตลอดทั้งวันอยู่แล้วยังเสียทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตอีกด้วย

“ทุกคนต่างมีเวลาและพลังงานจำากัด จึงควรทุ่ม

เวลาให้กับสิ่งที่คิดว่าสำาคัญจริงๆ เท่านั้น”

หนังสือเล่มนี้เปิดเผยความลัพธ์ที่ว่ามนุษย์ต่างก็มีข้อจำากัดเป็นของตัวเองจริงอยู่ที่สามารถทำาได้หลายอย่างแต่ไม่สามารถทำาทุกอย่างออกมาได้ดีเสมอไปแม้ว่าจะสร้างผลงานออกมากมายแต่หากสิ่งที่ทำาไปนั้นไร้ทิศทางมุ่งหวังปริมาณมากกว่าคุณภาพและไม่ได้คำานึงถึงสิ่งสำาคัญที่ควรจะทำาผลงานที่ได้มาจึงไร้คุณค่าไปในที่สุด ทั้งนี้LeoBabautaได้นำาหลักการที่คิดค้นขึ้นเพื่อใช้แก้ปัญหาในข้างต้นจนประสบความสำาเร็จทั้งด้านชีวิตส่วนตัวหน้าที่การงานครอบครัวและสุขภาพโดยนำาเสนอ“หลักการ๖ข้อในการทำาน้อยให้ได้มาก”คือ ๑.สร้างข้อจำากัดเรียนรู้ที่จะสร้างข้อจำากัดในทุกเรื่องที่ทำา เพราะจะทำาให้เลือกแต่สิ่งที่สำาคัญ ๒.เลือกแต่สิ่งสำาคัญเลือกอยู่กับสิ่งที่จำาเป็นเพื่อให้ได้ใช้พลัง และเวลาอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ๓.ทำาให้เรียบง่ายขึ้นกำาจัดสิ่งที่ไม่สำาคัญออกไปจากชีวิต ๔.จดจ่อมีสติอยู่กับเป้าหมายเดียวเพื่อทำาให้สำาเร็จ ๕.สร้างนิสัยสร้างนิสัยใหม่ด้วยการพิชิตคำาท้า เพื่อการเปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืน

ทำาน้อย ให้ไดม้าก

๖.เริ่มต้นจากสิ่งเล็กๆเริ่มต้นอย่างค่อยเป็นค่อย ไปทีละเล็กทีละน้อย

คำาแนะนำาในหนังสือได้อธิบายถึงหลักการ๖ข้อและวิธีการนำาไปใช้จริงที่ทำาให้ผู้นำาไปใช้เกิดผลลัพธ์ที่ดีในทุกๆด้านทั้งการทำางานที่มีประสิทธิภาพการบริหารเวลาอย่างคุ้มค่าการจัดเก็บเอกสารอย่างเป็นระเบียบการมีสุขภาพที่ดีและปิดท้ายด้วยการสร้างแรงจูงใจในการทำาสิ่งต่างๆที่จะทำาให้มีชีวิตเรียบง่ายมีปริมาณงานที่ลดลงและสามารถสร้างผลงานที่มีคุณค่าได้มากขึ้นอันจะนำาไปสู่สภาวะแวดล้อมที่สุขสงบอย่างแท้จริง

หนังสือ“ทำ�น้อยให้ได้ม�ก” (The Power of LESS)ผู้แต่ง LeoBabautaผู้แปล วิกันดาพินทุวชิราภรณ์มีให้บริการที่ห้องสมุดสตางค์มงคลสุข:HD69.T54บ293ท2557

Page 4: จดหมายข่าว - Mahidol University...- National Geographic Virtual Read Magazine archive 1888 - Present (now-15 June 2015) - Academic OnFile the premier source of

- National GeographicVirtualReadMagazinearchive1888-Present(now-15June2015)- Academic OnFilethepremiersourceofmillionsofpeer-reviewedarticlesscholarlycontentacrosstheacademicdisciplinesinbothPDFandHTMLfull-text(now-15June2015)

availableathttp://stang.sc.mahidol.ac.th

Free Trial Databases

ดร.ณัฐพลอ่อนปานตัวแทนคณะผู้แปลได้มอบหนังสือTheOriginofSpeciesฉบับภาษาไทยหรือในชื่อไทย“กำาเนิดสปีชีส์”ให้กับห้องสมุดสตางค์มงคลสุขซึ่งหนังสือเล่มนี้มีอาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดลร่วมแปลด้วยสองท่านคือดร.ณัฐพลอ่อนปานจากภาควิชาชีววิทยาและผศ.ดร.ศศิวิมลแสวงผลจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ (๙เมษายน๒๕๕๘)

จากเหตุแผ่นดินไหวรุนแรงระดับ๗.๙ในประเทศเนปาลใกล้เมืองกาฐมัณฑุเมื่อวันเสาร์ที่๒๕เมษายนที่ผ่านมาทำาให้มีผู้เสียชีวิตจำานวนมากและมีผู้ได้รับบาดเจ็บอีกทั้งยังต้องสูญเสียบ้านพักอาศัยและปัจจัยการดำารงชีวิตอีกมากมายหลายองค์กรในประเทศไทยได้เปิดรับบริจาคเพื่อให้การช่วยเหลือซึ่งงานสารสนเทศฯได้รวบรวมรายชื่อองค์กรเหล่านี้ไว้ท่านที่มีความประสงค์จะร่วมบริจาคสามารถติดต่อได้ตามรายการที่ปรากฎในweblogเข้าถึงได้ที่นี่>>http://wp.me/p9hq6-17M