มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... ·...

18
รายงานการประเมินตนเอง สานักทะเบียนและประมวลผล ปีการศึกษา 2557 1 บทที3 การดาเนินงานตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายในปีการศึกษา 2556 จากผลการประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2556 สานักทะเบียนฯ ได้คะแนน 4.65 คะแนน จาก คะแนนเต็ม 5 คะแนน พบว่า มีตัวบ่งชี้ที่คะแนนประเมินน้อยที่สุด คือ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการ ประกันคุณภาพ และองค์ประกอบที่ 97 องค์ประกอบอัตลักษณ์ ได้คะแนนเฉลี่ย ที่เท่ากัน คือ 4.00 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน หากพิจารณาในมุมมองชนิดตัวบ่งชี้ภาพรวม พบว่า ด้านกระบวนการอยู่ในระดับดีมาก ที่ค่าเฉลี่ย 4.80 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน และด้านผลผลิตอยู่ในระดับดี ที่ค่าเฉลี่ย 4.27 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ดังนั้น สานักทะเบียนฯ ได้จัดทาแผนปรับปรุงคุณภาพตามข้อเสนอแนะจากผลการประเมินตนเองและ รายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2556 ในประเด็นอื่นๆ โดยให้ความสาคัญในการพัฒนาด้าน การบริการเป็นหลัก เพราะถือเป็นภารกิจหลักของสานักทะเบียนฯ พร้อมกับพัฒนาในด้านอื่นๆ เพื่อให้ ครอบคลุมทุกองค์ประกอบของการประกันคุณภาพ ดังตารางแผนปรับปรุงคุณภาพตามข้อเสนอแนะจากผลการ ประเมินตนเอง และรายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2556

Transcript of มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... ·...

Page 1: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง ส านกัทะเบียนและประมวลผล ปีการศึกษา 2557

1

บทท่ี 3

การด าเนินงานตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายในปีการศึกษา 2556

จากผลการประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2556 ส านักทะเบียนฯ ได้คะแนน 4.65 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน พบว่า มีตัวบ่งชี้ที่คะแนนประเมินน้อยที่สุด คือ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ และองค์ประกอบที่ 97 องค์ประกอบอัตลักษณ์ ได้คะแนนเฉลี่ย ที่เท่ากัน คือ 4.00 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน

หากพิจารณาในมุมมองชนิดตัวบ่งชี้ภาพรวม พบว่า ด้านกระบวนการอยู่ในระดับดีมาก ที่ค่าเฉลี่ย 4.80 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน และด้านผลผลิตอยู่ในระดับดี ที่ค่าเฉลี่ย 4.27 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน

ดังนั้น ส านักทะเบียนฯ ได้จัดท าแผนปรับปรุงคุณภาพตามข้อเสนอแนะจากผลการประเมินตนเองและรายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2556 ในประเด็นอื่นๆ โดยให้ความส าคัญในการพัฒนาด้านการบริการเป็นหลัก เพราะถือเป็นภารกิจหลักของส านักทะเบียนฯ พร้อมกับพัฒนาในด้านอื่นๆ เพื่อให้ครอบคลุมทุกองค์ประกอบของการประกันคุณภาพ ดังตารางแผนปรับปรุงคุณภาพตามข้อเสนอแนะจากผลการประเมินตนเอง และรายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2556

Page 2: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2557

2

แผนภาพที่ 3 แผนปรับปรุงคุณภาพตามข้อเสนอแนะจากผลการประเมินตนเองและรายงานผลการประเมิน

คุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2556

Page 3: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง ส านกัทะเบียนและประมวลผล ปีการศึกษา 2557

3

แผนภาพที่ 3 (ต่อ)

Page 4: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2557

4

แผนภาพที่ 3 (ต่อ)

Page 5: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง ส านกัทะเบียนและประมวลผล ปีการศึกษา 2557

5

แผนภาพที่ 3 (ต่อ)

Page 6: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2557

6

จากแผนปรับปรุงขา้งต้น ส านักทะเบียนฯ ได้ด าเนินการในรอบปีการศึกษา 2556 สรุปผลการ ด าเนินงาน ได้ ดังนี ้

1. การบริการ

1.1 มีการพัฒนาบริการที่ผู้ใช้บริการสามารถใช้งานได้ทุกที่ ทุกเวลา ผ่านแนวคิด “Anywhere Anytime” โดยเป็นการบริการที่เน้นผู้ใช้บริการสามารถท ารายการได้ด้วยตนเอง (Self Service) ซึ่งพัฒนามาจากปัญหา และข้อจ ากัดที่เกิดจากการให้บริการหน้าเคาน์เตอร์ที่ในแต่ละวันมีผู้ใช้บริการเข้ามาขอหลักฐานทางการศึกษา ขอค าปรึกษา ค าแนะน า และสอบถามปัญหาต่างๆ กับเจ้าหน้าที่ทั้งการบริการหน้าเคาน์เตอร์ และทางโทรศัพท์เป็นจ านวนมาก จึงมีการพัฒนาบริการรูปแบบใหม่ที่นักศึกษาสามารถท ารายการ หรือใช้บริการได้ด้วยตนเอง (Self Service) เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของนักศึกษา และลดข้อจ ากัดในการให้บริการที่ส านักทะเบียนฯ ไม่สามารถให้บริการได้อย่างทั่วถึง เช่น บริการผลิตใบรับรองอัตโนมัติ (Automatic Document Machine) บริการส่งข้อมูลข่าวสารทางการศึกษาผ่าน SMS ของระบบ AIS (TU-NEWS) บริการกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ ช าระค่าบริการต่างๆ ผ่านบัตรนักศึกษา (e-Purse) และบริการวีดีโอทางการศึกษาจากสถานี YouTube : NuREG Thammasat

1.2 มีช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารแก่ผู้ใช้บริการที่หลากหลาย มีการพัฒนาช่องทางการส่งต่อข้อมูลที่หลากหลายเพื่อให้ผู้ใช้บริการกลุ่มต่างๆ สามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวก อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการสื่อสารทั้งภายใน และภายนอกองค์กรอีกด้วย ท าให้ผู้ใช้บริการได้ทราบข้อมูลข่าวสารบริการทางการศึกษาที่มีความถูกต้อง สมบูรณ์ ได้แก่ เว็บไซต์เครือข่ายงานชุมชนงานทะเบียนทางการศึกษา www.registrarnetwork.net สถานี YouTube : NuREG Thammasat บริการข้อมูลข่าวสารทางการศึกษาส าหรับนักศึกษา Facebook : Registrar.TU และ จดหมายข่าว ซึ่งเป็นทางเลือกในการเข้าถึงบริการที่ผู้ใช้บริการได้รับความสะดวกรวดเร็วมากข้ึน

2. การบริหารและการจัดการ

1.1 แผนบริหาร มีการก ากับติดตามผลการด าเนินงานตามแผนกลยุทธ์ “MASS Strategy” และผลการด าเนินงานตัวบ่งชี้ตามเกณฑ์ของ สกอ. สมศ. และตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการประจ าปี (Action Plan)

1.1.1 ระบบติดตามผลการด าเนินงานของส านักทะเบียนฯ โดยมีคณะกรรมการด าเนินงานประกันคุณภาพ (QA ชุดที่ 1) ของแต่ละฝ่าย ท าหน้าที่รายงานผลการด าเนินงานผ่านระบบฯ ตามปฏิทินการด าเนินงานที่ก าหนดไว้เป็นรายเดือนหรือรายไตรมาส และมีการก ากับติดตามผลการด าเนินงาน โดยคณะกรรมการติดตามและประเมินผลฯ (QA ชุดที่ 2) ก ากับและตรวจสอบผลการด าเนินงานในภาพรวมทุก ๆ 6 เดือน

1.1.2 ระบบรายงานผลตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการ (Action Plan) ของ มธ. โดยผู้แทนของส านักทะเบียนฯ ที่เป็นคณะท างานเครือข่ายด้านการวางแผนและติดตามประเมนิผลแผนมหาวิทยาลัย

Page 7: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง ส านกัทะเบียนและประมวลผล ปีการศึกษา 2557

7

เป็นผู้รายงานผลการด าเนินงานผ่านระบบเป็นประจ าทุกเดือน และมีการก ากับติดตามผลโดยหัวหน้าฝ่าย เลขานุการและผู้อ านวยการ รายงานสถานะผลการด าเนินงานตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการ

1.1.3 การพัฒนา TU REG-e-Journal เพื่อรายงานสถิติเชิงวิเคราะห์ส าหรับผู้บริหารในการตัดสินใจ โดยเฉพาะการส่งคะแนนว่าเป็นไปตามปฏิทินการส่งผลสอบไล่หรือไม่ เพื่อการบริหารจัดการประกาศผลการสอบเป็นไปอย่างโปร่งใสและตรวจสอบได้ และเป็นไปตามเวลามาตรฐานของส านักทะเบียนฯ (ประกาศผลภายใน 7 วันท าการหลังจากได้รับเอกสารสมบูรณ์จากคณะ) เป็นต้น

1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการอบรมขึ้นใหม่ โดยการจัดอบรมแบบ In-house Training ที่เป็นหลักสูตรต่อเนื่อง ระยะเวลาอบรมประมาณ 30 – 40 ชั่วโมง โดยน าประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นจริงมาเป็นหลักในการพิจารณาจัดหลักสูตร รวมถึงหลักสูตรนั้นต้องสอดคล้องกับนโยบายหรือทิศทางการพัฒนาของหน่วยงานในภาพรวมด้วย

1.2.1 ก ากับติดตามผลการด าเนินงานหลังเสร็จสิ้นการพัฒนา เพื่อเป็นข้อมูลในการบริหารพัฒนาบุคลากรแต่ละคนได้อย่างเหมาะสม รวมถึงรายงานที่ได้เป็นหลักฐานส าหรับการบันทึกจ านวนชั่วโมงอบรม

1.2.2 ก ากับติดตามผลระหว่างปี เพื่อเป็นข้อมูลประกอบส าหรั บการปรับแผนพัฒนาเป็นรายเดือน – รายงานผลการพัฒนาความรู้เข้าระบบการรายงานผลการปฏิบัติราชการของกองแผนงานเป็นประจ าทุกเดือน รอบไตรมาส – สรุปจ านวนชั่วโมงสะสมแจ้งให้บุคลากรทราบโดยผ่านหัวหน้าฝ่าย เพื่อติดตามกรณีผู้ที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก าหนด รอบ 6 เดือน – มีผลการประเมินสมรรถนะ (Competency) ให้บุคลากรเพื่อให้รับทราบผลและได้พูดคุย แลกเปลี่ยนกับผู้บังคับบัญชาถึงทิศทางการพัฒนาตนเอง

1.2.3 ก ากับติดตามผลหลังสิ้นปีงบประมาณ ด าเนินการประมวลผล ตัวชี้วัด “บุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะที่ตรงกับหน้าที่ ตามรายงานผลเข้าระบบเป็นประจ าทุกเดือน

Page 8: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2557

8

บทท่ี 4

สรุปผลการประเมินคุณภาพและแนวทางพัฒนา

จากผลการด าเนินงานปีการศึกษา 2557 ส านักทะเบียนและประมวลผล รับผิดชอบทั้งหมด 7 ตัวบ่งชี้ ตามที่แจ้งไว้ในบทที่ 2 สามารถสรุปผลการประเมินและทิศทางการพัฒนาตามมุมมองต่างๆ ดังต่อไปนี้

1. ผลการประเมินตนเองรายตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ (ตาราง ป.1)

2. ผลการประเมินตนเองรายตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ (ตาราง ป.2)

3. สรุปทิศทางการพัฒนาในภาพรวม

3.1. ปัจจัยแห่งความส าเร็จ

3.2. แนวทางการพัฒนา

Page 9: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง ส านกัทะเบียนและประมวลผล ปีการศึกษา 2557

9

1. ผลการประเมินตนเองรายตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ (ป.1)

ตาราง ป.1 ผลการประเมินตนเองรายตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ

Page 10: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2557

10

Page 11: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง ส านกัทะเบียนและประมวลผล ปีการศึกษา 2557

11

Page 12: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2557

12

สรุปผลการประเมินตนเองรายตัวบ่งชี้องค์ประกอบคุณภาพ รายละเอียดตามตาราง ป.1

การประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพ 2 องค์ประกอบ 7 ตัวบ่งชี้ ผลการด าเนินงานในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ที่ค่าเฉลี่ย 4.51 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน พบว่า มีตัวบ่งชี้ที่คะแนนประเมินน้อยที่สุด คือ สนท.4 ระดับความส าเร็จในการป้องกันความผิดพลาดของการจัดท าฐานข้อมูลนักศึกษา และในประเด็น ข้อ 4 ที่เป็นตัวบ่งชี้ใหม่ของส านักทะเบียนฯ น าข้อมูล ข้อเท็จจริงที่ได้จากการประชุม สถิติต่างๆ รวมถึงการมองภาพอนาคต มารวบรวมและวิเคราะห์จัดท า QC Tools เป็นการวางแผนกลยุทธ์หรือแผนปฏิบัติการเชิงป้องกันหรือเชิงรุก เพื่อป้องกันหรือแก้ไขปัญหา ได้คะแนนประเมิน 3 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน

Page 13: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง ส านกัทะเบียนและประมวลผล ปีการศึกษา 2557

13

2. ผลการประเมินตนเองรายตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ (ป.2)

ตาราง ป.2 ผลการประเมินตนเองรายตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ

Page 14: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2557

14

ผลการประเมินตนเองรายตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ (ส.2)

การประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพ 2 องค์ประกอบ 7 ตัวบ่งชี้ ผลการด าเนินงานในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ที่ค่าเฉลี่ย 4.51 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน หากมองแยกรายองค์ประกอบ พบว่าองค์ประกอบที่ 5 อยู่ในระดับดีมาก ที่ค่าเฉลี่ย 5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ยกเว้นองค์ประกอบที่ 6 ที่ค่าเฉลี่ย 4.32 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน

หากพิจารณาในมุมมองชนิดตัวบ่งชี้ พบว่า สนท.4 ระดับความส าเร็จในการป้องกันความผิดพลาดของการจัดท าฐานข้อมูล ในประเด็น ข้อ 4 น าข้อมูล ข้อเท็จจริงที่ได้จากการประชุม สถิติต่างๆ รวมถึงการมองภาพอนาคต มารวบรวมและวิเคราะห์จัดท า QC Tools เป็นการวางแผนกลยุทธ์หรือแผนปฏิบัติการเชิงป้องกันหรือ เชิงรุก เพื่อป้องกันหรือแก้ไขปัญหา ได้คะแนนประเมิน 3 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน รายละเอียดตามตาราง ป.2

Page 15: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง ส านกัทะเบียนและประมวลผล ปีการศึกษา 2557

15

3. สรุปทิศทางการพัฒนาในภาพรวม

จากผลการด าเนินงานในปีการศึกษา 2557 ตามตัวบ่งชี้ที่ส านักทะเบียนฯ รับผิดชอบมีผลการด าเนินงานเฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ที่คะแนน 4.51 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน เมื่อเทียบตามเกณฑ์มาตรฐานอยู่ในระดับดีมาก สรุปผลการประเมินในแต่ละองค์ประกอบ ดังนี้

องค์ประกอบ คะแนนเฉลี่ย

องค์ประกอบที่ 5 5.00

องค์ประกอบที่ 6 4.32

คะแนนเฉลี่ยรวม 4.51

3.1 ปัจจัยแห่งความส าเร็จ (Key Success Factor) ที่ท าให้ส านักทะเบียนฯ ด าเนินงานตามแนวทางประกันคุณภาพอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานระดับดีมาก คือ

1. ส านักทะเบียนฯ จัดท าแผนกลยุทธ์ ที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของส านัก เพื่อมุ่งสู่การเป็นส านักทะเบียนต้นแบบด้วย “MASS Strategy” โดยผ่านกระบวนการ “ร่วมคิด...ร่วมสร้าง” จากประชาคมส านักทะเบียนฯ และมีคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในเป็นผู้รับผิดชอบในการร่วมกันก าหนดประเด็นยุทธศาสตร์ ซึ่งมีความสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกับมหาวิทยาลัยรวมทั้งมีการด าเนินงานตามแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการประจ าปี มีการปรับปรุงแผนปฏิบัติการประจ าปีส่งผลให้การด าเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมายของแผนกลยุทธ์และวิสัยทัศน์ของส านักอย่างครบถ้วน

2. การพัฒนาส านักทะเบียนฯ เน้น “การร่วมคิด...ร่วมสร้าง” ของบุคลากรภายในส านักทะเบียนฯ ส่งผลให้บุคลากรยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เกิดความรู้สึกภูมิใจเพราะเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนา ท าให้รักษาและต่อยอดสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ส านักทะเบียนฯ ยังเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ร่วมคิด...ร่วมสร้าง โดยการรับฟังข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะผ่านช่องทางต่างๆ ท าให้การพัฒนาครอบคลุม ทุกกระบวนงานสามารถตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการได้ตรงจุดและครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งในปีการศึกษา 2557 เห็นได้ว่ามีการพัฒนาการบริการที่ตอบรับกับความต้องการของนักศึกษาได้ชัดเจนเป็นรูปธรรม คือ การขอใบรับรองทางการศึกษาผ่านเครื่องผลิตใบรับรองอัตโนมัติ ส าหรับนักศึกษาปัจจุบัน ที่สามารถรับบริการได้แบบ One Stop Service

3. ส านักทะเบียนฯ พยายามปรับปรุงพัฒนาการบริหารองค์กรอย่างต่อเนื่องและครอบคลุมทุกด้าน เช่น

- ด้านทรัพยากรบุคคล มีแผนพัฒนาบุคลากร เน้นเรื่องการพัฒนาความรู้ ทักษะส าหรับใช้ในการปฏิบัติงาน โดยการน าผลการประเมินสมรรถนะมาใช้ในการวิเคราะห์จัดท าแผน เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถตรงตามสมรรถนะที่รับผิดชอบ สนับสนุนกระตุ้นให้เป็น “องค์กรแห่งความสุข” (Happy

Page 16: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2557

16

Workplace) ส านักทะเบียนฯ มองว่า “คนท างานมีความสุข ที่ท างานน่าอยู่ ชุมชนสมานฉันท์” ย่อมน าไปสู่ขวัญก าลังใจของผู้ปฏิบัติ ส่งผลให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ และเกิดการบริการน่าประทับใจ WOW! Service โดยผ่านกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมสานใจ...สร้างสุข เพื่อเสริมสร้างขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงาน และลดความเครียดจากการท างาน มีการจัดกิจกรรมทางศาสนา เช่น การอบรมหัวข้อ การใช้หลักธรรมะ คุณธรรม จริยธรรมในงานบริการ

- ด้านการพัฒนาองค์กร พยายามกระตุ้นให้เกิด “องค์กรแห่งการเรียนรู้” เพื่อน าไปสู่ความ เป็นต้นแบบ เห็นได้จาก การที่ผู้บริหารจัดสรรงบประมาณให้บุคลากร คนละ 3,000 บาท / 1 ครั้ง / ปีงบประมาณ ส าหรับให้บุคลากรเสนอหลักสูตรที่ตนเองสนใจและสามารถน ามาปรับใช้หรือต่อยอดพัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีการประเมินจากชั่วโมงที่เข้าร่วมพัฒนาความรู้ได้ตามแผนซึ่งปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 บุคลากรต้องได้รับการพัฒนาความรู้อย่างน้อย คนละ 24 ชั่วโมง / คน / ปี และเพิ่มการมีส่วนร่วมให้บุคลากรร่วมก าหนดทิศทางในการพัฒนาตนเอง โดยให้แสดงความคิดเห็นผ่าน “แบบฟอร์มจัดเก็บความต้องการการพัฒนาตนเอง” นอกจากนี้ ยังเพิ่มรูปแบบการถ่ายความรู้เพื่อให้บุคลากรเข้าใจและเข้าถึงได้ง่ายและสะดวกมากขึ้น โดยการท าคลิป Animation สรุปหลักส าคัญของความรู้ในแต่ละเร่ือง และถ่ายทอดผ่านสถานี YouTube

- ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ พยายามน าเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการฏิบัติงาน เพื่อเพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานให้ดีมากยิ่งขึ้น เช่น การต่อยอดการใช้ระบบติดตามผลการปฏิบัติงาน (KPI) ให้ เต็มศักยภาพและครอบคลุมการรายงานผลการประกันคุณภาพทุกประเภท เพื่อให้สามารถติดตามความคืบหน้าของการด าเนินงานได้ มีการจัดท าคู่มือการส่งผลสอบผ่านระบบอินเตอร์เน็ตเผยแพร่ให้อาจารย์ผู้สอนทราบรวมถึงการน าเทคโนโลยีมาใช้ในส่วนของการให้บริการเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ เช่น มีการพัฒนาเครื่องผลิตใบรับรองอัตโนมัติ (Automatic Document Machine) เฟส2 ส าหรับนักศึกษาพิการ โดยเพิ่มการท างานระบบสัมผัสและการท างานด้วยเสียงทุกขั้นตอน เป็นต้น

- ด้านการเงิน ผู้บริหารให้ความส าคัญการบริหารจัดการด้านการเงินก าหนดให้อยู่ใน แผนกลยุทธ์ และมีการจัดท าแผนการใช้เงินอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ น าไปสู่การวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินที่ประกอบไปด้วยต้นทุนต่อหน่วยในการด าเนินงานสนับสนุนวิชาการ สัดส่วนค่าใช้จ่ายเพื่อพัฒนา บุคลากร บริการ อย่างต่อเนื่อง เพื่อวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการสนับสนุนวิชาการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการบริการ และโอกาสในการแข่งขัน มีการจัดท ารายงานการเงินอย่างเป็นระบบและรายงานต่อผู้บริหาร กรรมการประจ าส านักทะเบียนฯ และต่อสภามหาวิทยาลัยทุกไตรมาสท าให้ผู้บริหารสามารถติดตามผลการใช้จ่ายเงินให้เป็นไปตามเป้าหมาย และสามารถใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ และวางแผนการใช้จ่ายงบประมาณได้ ในอนาคตพัฒนารายงานการเงินในรูปแบบ SMART e-VISION เพื่อให้ผู้บริหารและบุคลากรในระดับต่างๆ ทราบสถานะทางการเงินของส านักทะเบียนฯ ที่เป็นปัจจุบันมากที่สุด นอกจากนี้ ส านักทะเบียนฯ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาการลงทุนของส านักทะเบียนฯ ซึ่งมีหน้าที่ในการพิจารณาแนวทางการลงทุนเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน จึงท าให้การบริหารการใช้จ่ายเงินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

Page 17: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง ส านกัทะเบียนและประมวลผล ปีการศึกษา 2557

17

4. การบริหารงานแบบบูรณาการ ตามแนวคิด “การท างานหนึ่งชิ้นต้องสามารถรายงานผลหรือสะท้อนผลงานได้หลายกลยุทธ์หรือหลากหลายการประเมินได้ เพื่อไม่เพิ่มภาระงานของบุคลากรและได้ประโยชน์สูงสุดกับทุกฝ่าย”

3.2 แนวทางการพัฒนาของส านักทะเบียนฯ จากผลการประเมินตามองค์ประกอบ ปีการศึกษา 2557 สามารถสรุปดังต่อไปนี้

1. แนวทางการพัฒนาระยะสั้น

1.1 จัดท าแผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการแปลงแผน พร้อมทั้งมีการก าหนดรายละเอียดโครงการ / กิจกรรม ค่าเป้าหมายระดับความยาก – ง่ายของตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมินผล ฝ่ายที่รับผิดชอบหลักและฝ่ายสนับสนุน งบประมาณที่ใช้ในการด าเนินงานไว้อย่างชัดเจนเพื่อวัดความส าเร็จของการด าเนินงานตามแผนกลยุทธ์ ภายในกรอบเวลาที่ก าหนด พร้อมทั้งได้มีการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างแผนต่างๆ โดยการจัดท าตารางบูรณาการตัวแสดงผลงานของส านักทะเบียนฯ กับตัวบ่งชี้อื่นๆ ของ มธ. เพื่อให้ครอบคลุมและครบถ้วนทุกพันธกิจ

1.2 ส่งเสริมและให้ความส าคัญกับการให้ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการวางแผนกลยุทธ์ การถ่ายทอด แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติและการประเมินผลแก่บุคลากรทุกระดับอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บุคลากรเข้าใจหลักการ แนวทาง และเทคนิคการวางแผนกลยุทธ์

1.3 พัฒนารูปแบบและชอ่งทางการประชาสมัพันธข์้อมูลข่าวสารที่มีอยู่ให้มีความน่าสนใจมากข้ึน เช่น คลิป Animation หรือ ละครสั้น เพื่อจูงใจให้ผู้รับบริการกลุ่มต่างๆ เข้าหาแหล่งข้อมูลอย่างสม่ าเสมอ และเพิ่มรูปแบบการประชาสัมพันธใ์นเชิงรุกให้มากข้ึน ขยายกลุ่มเป้าหมายให้ครอบคลุมนักศึกษาต่างชาติมากข้ึนโดยมีการจัดท า English Subtitle ประกอบเพื่อให้นักศึกษาต่างชาติสามารถอ่านและท าความเข้าใจในเรื่องดังกล่าวได้เหมือนกับนักศึกษาไทย

1.4 เพิ่มการประชาสัมพันธ์และกระตุ้นให้บุคลากรเห็นความส าคัญในการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บุคลากรเห็นประโยชน์และความส าคัญว่า “ความรู้ที่ได้สามารถน ามาปรับใช้ในการปฏิบัติงานและเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานให้ดีขึ้นด้วย”

1.5 มีการสื่อสารกับบุคลากรภายในองค์กรอย่างสม่ าเสมอ ผ่านช่องทางที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการสัมมนา กิจกรรมสานใจ...สร้างสุข ประชาสัมพันธ์ข้อมูลผ่าน Facebook บอร์ดประชาสัมพันธ์ หรือจดหมายข่าว เพื่อให้บุคลากรเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายขึ้น

1.6 พัฒนาแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการส านักทะเบียนฯ ให้มีมุมมองที่หลากหลายครอบคลุมภารกิจของส านักทะเบียนฯ และสามารถประมวลผลใช้ตอบค าถามได้หลากหลายมุมมองจนน าไปสู่การเป็นวิจัยสถาบัน ให้ฝ่ายต่างๆ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง น าไปพัฒนาใช้ประโยชน์เพื่อเป็นการต่อยอดการพัฒนา

Page 18: มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพ ... · 2016-02-08 · 1.2 การพัฒนาบุคลากร มีการปรับปรุงรูปแบบและหลักสูตรการ

รายงานการประเมินตนเอง มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2557

18

2. แนวทางการพัฒนาระยะกลาง

2.1 ส่งเสริมให้บุคลากรส านักทะเบียนฯ สามารถน าแผนกลยุทธ์มาถ่ายทอดเป็นตัวบ่งชี้ในการปฏิบัติงานตามภารกิจของส านักทะเบียนฯ ได้ โดยผ่านการร่วมคิด...ร่วมสร้าง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนและสามารถวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงานได้จริง

2.2 เน้นย้ าและสร้างให้เกิดวัฒนธรรม “องค์กรแห่งความสุข” (Happy Workplace) เพื่อคุณภาพที่ดีของคนและงาน ท้ายสุดเมื่อมีความสุข อารมณ์แจ่มใส ยิ้มแย้ม น าไปสู่การบริการที่ดีและสร้างความประทับใจแก่ผู้รับบริการ การสื่อสารในองค์กรให้ชัดเจนและมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะปัจจุบันส านักทะเบียนฯ มีบุคลากรใหม่ในสัดส่วนค่อนข้างมาก ท าให้ต้องลดช่องว่างระหว่างช่วงวัย

2.3 ก าหนดกลยุทธ์ด้านการเงินครอบคลุมทั้งการวางแผนการใช้งบประมาณ และ การก าหนดค่าใช้จ่ายตลอดปีงบประมาณ มีการติดตามและรายงานผลทางการเงินอย่างเป็นระบบ ท าให้ผู้บริหารสามารถน าข้อมูลมาวิเคราะห์ส าหรับการวางแผนและการตัดสินใจใช้ในการใช้จ่ายงบประมาณ ส่งผลให้การใช้จ่ายงบประมาณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

2.4 ปรับ / เพิ่ม รูปแบบและเนื้อหา การให้ความรู้ให้มีความหลากหลายไม่ว่าจะเป็นการส่งเสริมให้บุคลากรได้ฝึกฝนทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศให้เพิ่มมากข้ึนและมีความต่อเนื่องเพราะเป็นเรื่องของการฝึกฝนทักษะ จ าเป็นต้องใช้เวลา รวมถึงการส่งเสริมและปรับทัศนคติให้บุคลากรเกิดความตื่นตัวในการพัฒนาตนเอง เพื่อให้ตอบสนองกับนโยบายของมหาวิทยาลัยและของหน่วยงานให้มากที่สุด