ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ...

217
ศึกษาการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ของโรงเรียนสังกัด สํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ปริญญานิพนธ ของ บรรจงจิต เรืองณรงค เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา ตุลาคม 2551

Transcript of ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ...

Page 1: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

ศึกษาการจดัการเรียนรู กลุมสาระการเรยีนรูศิลปะ(ทศันศิลป) ของโรงเรยีนสังกัด สํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร

ปรญิญานิพนธ ของ

บรรจงจิต เรืองณรงค

เสนอตอบัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนีครินทรวโิรฒ เพ่ือเปนสวนหนึ่งของการศกึษา

ตามหลักสูตรปรญิญาการศกึษามหาบัณฑติ สาขาวิชาศิลปศึกษา ตุลาคม 2551

Page 2: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

ศึกษาการจดัการเรียนรู กลุมสาระการเรยีนรูศิลปะ(ทศันศิลป) ของโรงเรยีนสังกัด สํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร

ปรญิญานิพนธ

ของ บรรจงจิต เรืองณรงค

เสนอตอบัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนีครินทรวโิรฒ เพ่ือเปนสวนหนึ่งของการศกึษา ตามหลักสูตรปรญิญาการศกึษามหาบัณฑติ สาขาวิชาศิลปศึกษา

ตุลาคม 2551 ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลยัศรนีครนิทรวิโรฒ

Page 3: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

ศึกษาการจดัการเรียนรู กลุมสาระการเรยีนรูศิลปะ(ทศันศิลป) ของโรงเรยีนสังกัด สํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร

บทคัดยอ ของ

บรรจงจิต เรืองณรงค

เสนอตอบัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนีครินทรวโิรฒ เพ่ือเปนสวนหนึ่งของการศกึษา ตามหลักสูตรปรญิญาการศกึษามหาบัณฑติ สาขาวิชาศิลปศึกษา

ตุลาคม 2551

Page 4: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

บรรจงจิต เรอืงณรงค. (2551). ศึกษาการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศลิปะ(ทัศนศิลป) ของโรงเรยีนสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร . ปรญิญานพินธ กศ.ม. (ศิลปศกึษา).กรุงเทพฯ:บัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนีครินทรวโิรฒ.คณะกรรมการควบคุม:

ผูชวยศาสตราจารยอํานาจ เย็นสบาย , ผูชวยศาสตราจารยจักรพงษ แพทยหลักฟา. การศึกษาครั้งนี้มีความมุงหมาย เพื่อศึกษาการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศลิป) ของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร กลุมตัวอยางเปนครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ (ทัศนศิลป) จํานวน 5 ทาน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1-6 จํานวน 120 คน เครื่องมือท่ีใชเปนแบบสัมภาษณ เมื่อไดขอมูลจะนําไปแยกประเภท จัดหมวดหมู นํามาวิเคราะห และนําเสนอขอมูลดวยตารางประกอบการวิเคราะหขอมูลโดยการหาคารอยละ และวิเคราะหเนื้อหา สรุปผลการวิจัยไดดังนี้ 1. แนวคิดของครูในการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) พบวา สวนใหญครมีูแนวคิดวาควรแทรกเนื้อหาระหวางการเรียนภาคปฏิบัติ ควรใหนักเรียนสังเกต สํารวจ และแนะนําทัศนธาตุจากสิ่งแวดลอม ควรเรียนทัศนธาตุจากเรื่องงายไปหาเรื่องยาก ตามความเหมาะสมกับวัยของนักเรียน ควรใหนักเรียนวาดภาพตามจินตนาการอยางอิสระ การวาดภาพธรรมชาติควรใหนักเรียนศึกษาจากธรรมชาติ ดานเทคนิค วิธีการควรใหนักเรียนเลือกอยางอิสระ และทดลองใชดวยตนเอง หลักการสุนทรียศาสตร และหลักการวิจารณงานศิลปะยังไมควรเรียน เนื่องจากเด็กยังเล็กเกินไป ศิลปะในทองถิ่น ควรใหนักเรียนซึมซับจากชุมชน ศิลปะในประเทศไทย ควรใหนักเรียน เรียนรูจากครูและสื่อตางๆ การตระหนักถึงคุณคาของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญา ควรปลูกฝงขณะสรางสรรคผลงาน การสืบทอด การทํางานศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาควรเรียนรูจากครู 2. แนวทางในการกําหนดจุดประสงคการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ (ทัศนศิลป) พบวา

ครูสวนใหญ กําหนดเปนดานพุทธิพิสัย ดานจิตพิสัย ดานทักษะพิสัย 3. เนื้อหาในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) พบวา สวนใหญ เกี่ยวกับ ทัศนธาตุ ศิลปะตามจินตนาการ ศิลปะเกี่ยวกับธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เทคนิค วิธีการ การเลือก การใช การเก็บรักษาวัสดุอุปกรณ และการนําความรู เทคนิค วิธีการทางทัศนศิลปไปใชกับกลุมสาระการเรียนรู อ่ืน ๆ และศิลปะในทองถิ่น 4. การจัดกิจกรรมการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) พบวา สวนใหญ จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการสาธิต ใชกระบวนการกลุม การชี้แนะ สงเสริมความคิดสรางสรรค เนนการปฏิบัติบูรณาการสูพหุปญญาจากแหลงการเรียนรูและใชกระบวนการ 7 ส.

Page 5: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

5. การวัดและประเมินผลของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) พบวา สวนใหญใชแบบทดสอบ สังเกตจากการปฏิบัติสังเกตจากการเขารวมกิจกรรมและจากผลงานนักเรียน 6. สื่อการเรียนรูท่ีใชในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) พบวา สวนใหญครูใช ภาพวาดตัวอยาง ภาพการตูน ช้ินงานจริง และของจริง สื่อที่นักเรียนใชถายทอดผลงานสวนใหญ เปนคน นักเรยีนใชกระดาษ 80 แกรมในการสรางผลงาน ใชสีไม ใชดินน้ํามันในการปน ใชใบไมทํางานภาพพิมพ ใชกระดาษทําสื่อผสม ใชผัก ผลไม แกะสลัก ใชถุงขนม และลังทํางานประดิษฐ ใชไมและลังทําสถาปตยกรรมจําลอง ใชดินสอ ส ีกระดาษในการออกแบบ 7. บรรยากาศในการจัดการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) พบวา สวนใหญบรรยากาศดี อากาศถายเทดี มีแสงสวางเหมาะสม แตมีเสียงรบกวน หองเรียนสะอาด ปฏิสัมพันธระหวางครูกับนักเรียน และนักเรียนกับนักเรียนมีความสัมพันธท่ีดี การสรางบรรยากาศใหเกิดสุนทรียภาพสวนใหญ สรางบรรยากาศดวยผลงานทางศิลปะ 8.การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของ

นักเรียนซ่ึงพบวา สวนใหญทําใหนักเรียนผอนคลายความเครียด มีความสุขมากขึ้น นักเรียนรับรูความงามจากการสรางผลงานศิลปะและชื่นชมผลงานศิลปะทําใหนักเรียนตระหนัก รัก หวงแหนธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทําใหนักเรียนรักและหวงแหนภูมิปญญา ประเพณี วัฒนธรรมที่ดีงามมากขึ้น

Page 6: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

A STUDY OF TEACHING AND LEARNING MANAGEMENT IN THE SUBSTANCE OF VISUAL ART OF SCHOOLS UNDER THE OFFICE OF RATCHATHEWI

DISTRICT, BANGKOK

AN ABSTRACT

BY BUNJONGJIT RUANGNARONG

Presented in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master of Education degree in The Art Education

at Srinakharinwirot University October 2551

Page 7: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

Bunjongjit Ruangnarong. (2008). A study of teaching and learning management in the substance of visual art of schools under the office of Ratchathewi District, Bangkok. Master thesis. M.Ed. (Art Education). Bangkok : Graduate School. Srinakharinwirot University. Advisor Committee : Associate Professor. Amnard Yensabye., Associate Professor. Chakapong Phaetlakfa.

The purposes of this study were to study learning administration of education principle of arts in

a school under Rachatewee Office of Bangkok. The subject consisted of teachers who have been taught in

the group of this education principle of arts of 5 persons and grade 1-6 students of 120. The instrument of

this study was questionnaire. When it was collected data, the data would be classified, categorized,

analyzed and presented itself in form of tabular with data analysis. Finding percentage and content

analysis, it could be summary as follows:

1. Teacher’s concept of learning administration of education principle of arts was found that: the

majority of teachers recommended on content intervention during practical learning. Students should

notice, survey and suggest what environmental elements consist of. Through, they should learning priors

from difficulty to ease thing depending on age of students. Students should draw as own imagine

independently. For drawing as image naturally, students should study it from surrounding. Technically,

students independently should choose own way and test it by themselves as the principle of entertainment.

For the principle of arts review, students should not learn, due to they were too children. Local arts, they

absorb from their communities and for Thai’s arts, they should learn from teacher and medias. For

recognition of arts, traditional, cultural and intellectual, all of those should establish in these students

while creating results. For succeeding arts, traditional, cultural and intellectual, students should learn

these from teachers.

2. Concepts of objective appointment in learning of the group of learning principle of arts were

found that: the majority of these teachers appointed by mental, skill and ethics.

3. Contents of learning administration of the group of learning principle of arts were found that

the majority of them have been related to elements, arts on imagine, environmental and natural arts,

Page 8: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

techniques, method, selection, usage, equipment storage and adapting knowledge, method and way of arts

to other groups of learning principle of arts and also local arts.

4. Establishment of the group of learning principle of arts was found that the majority of them

have been established by demonstration, group processing, suggestion, encouraging a creative, practical

focus, developing into multi-intelligences from resources of learning and 7s processes.

5. Measurement and evaluation of the group of learning principle of arts was found that the

majority of them have been used a test, noticed from practical, activity joins and student’s results.

6. Medias used in the group of learning principle of arts was found that the majority of teachers

have been used sample images, cartoon, real-work and real-things. For medias, which the majority of

students had used through was human’s image. They used 80-gram paper to work, pencil color, wax clay

to mold, leaf for painting, paper for multi-medias, sculpturing from vegetables and fruits, bags and crates

for making invention works, making timbers and crates for artificial architecture model, pencil, color and

paper for designing.

7. Context of learning administration of the group of learning principle of arts was found that the

majority consisted of fresh air, good ventilation, appropriate light but noisy. Additionally, it consisted of

cleaned-classroom, interaction between teachers and students and students and students were good level.

Finally, to create surrounding of entertainment was generated by results of arts.

8. Learning administration of the group of learning principle of arts effective to mental of

students was found that the majority of students felt better, more happiness. They also perceived beauty

from results of arts and proud of them. Those were effective to them to love, jealously guarded in both

natural and environment, through loving and jealously guarded more cultural, traditional and intellectual.

Page 9: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

ประกาศคุณูปการ

ปริญญานิพนธนี้สําเร็จไดดวยดี เปนเพราะผูวิจัยไดรับความกรุณาอยางยิ่งจาก ผูชวยศาสตราจารยอํานาจ เย็นสบาย ประธานกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ ผูชวยศาสตราจารยจักรพงษ แพทยหลักฟา กรรมการควบคุมปริญญานิพนธ ที่กรุณาใหคําปรึกษาในการทําปริญญานิพนธครั้งนี้ ผูวิจัยขอขอบพระคุณเปนอยางสูง

นอกจากนี้ขอขอบพระคุณผูชวยศาสตราจารย ดร.สุรวุฒิ ปดไธสง ที่ชวยใหคําแนะ ผูชวยศาสตราจารยสาธิต ทิมวัฒนบรรเทิง ผูชวยศาสตราจารย ดร.เลิศศิริร บวรกิตติ ผูชวยศาสตราจารยสุรชาติ ทินานนท ผูชวยศาสตราจารย ดร.อําไพ ตีรณสาร รองศาสตราจารยลลิตพรรณ ทองงาม ตลอดจนผูบริหาร ครูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) และนักเรียนของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี ที่เอ้ือเฟอใหขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ และเพื่อนครูโรงเรียนวัดพระยายังที่คอยเปนกําลังใจใหในการทําปริญญานิพนธ

ขอขอบคุณเพื่อน ๆ นิสิตปริญญาโท ศิลปศึกษา และ ศิลปะสมัยใหม ที่คอยเปนกําลังใจซึ่งกันและกัน คอยชวยเหลือเกื้อกูลกันจนฝาฟนอุปสรรคมาได

สุดทายขอขอบพระคุณอยางสูงตอบิดา มารดา ของผูวิจัย ที่ลวงลับไปแลว ที่ปลูกฝงใหผูวิจัยรักการศึกษา ใฝหาความรูอยูเสมอ ถึงแมทานจะไมมีชีวิตอยูแลวแตก็ยังทําใหผูวิจัยมีกําลังใจในการฝาฟนอุปสรรคตางๆ ไปได บรรจงจิต เรืองณรงค

Page 10: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

สารบัญ

บทที่ หนา 1 บทนํา ................................................................................................................................... 1 ภูมิหลัง…………………………………………………………………………………. 1 ความมุงหมายของการวิจยั……………………………………………………………... 3 ความสําคัญของการวิจยั……………………………………………………………….. 3 ขอบเขตของการวิจัย…………………………………………………………………… 4 ขอตกลงเบื้องตน............................................................................................................. 4 นิยามศัพทเฉพาะ……………………………………………………………................. 5

2 เอกสารและงานวจิัยท่ีเกี่ยวของ…………………………………………………................. 6 ความเปนมาของการจัดการเรยีนรูในระบบโรงเรียนของไทย.....………........................ 7 ทัศนศิลป......................................................................................................................... 11 บรบิทของศิลปะสมัยใหมและทัศศิลป............................................................................ 13 ประเภทศลิปะตามการรับรู.............................................................................................. 23 การศึกษาในปจจบุัน........................................................................................................ 25 การจัดการเรยีนรู...................................................................................................... 26 แนวคดิในการจัดการเรียนรู..................................................................................... 28 จุดประสงคการเรียนรู.............................................................................................. 28 เนื้อหาในการจัดการเรียนรู...................................................................................... 30 การจัดกจิกรรมการเรยีนรู........................................................................................ 30 การวัดและประเมินผล.............................................................................................. 33 สื่อการเรียนรู............................................................................................................ 35 บรรยากาศในการจัดการเรยีนรู................................................................................ 36 การพฒันาในดานจิตใจ............................................................................................ 36 ศิลปศึกษา....................................................................................................................... 37 การสอนศลิปะนักเรยีนระดบัประถม....................................................................... 37

Page 11: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

สารบัญ (ตอ)

บทที่ หนา 2 (ตอ) วิธีสอนศิลปะ............................................................................................................ 38 ลําดับขั้นการเรียนรูศลิปะ......................................................................................... 39 พัฒนาการทางดานศิลปะ.......................................................................................... 40 ผลงานศิลปะของนกัเรียนระดับประถม................................................................... 43 คุณคาของการเรียนศิลปะ........................................................................................ 44 แนวคิดและทฤษฎีทางศิลปศกึษา................................................................................. 46 แนวคิดพหุศิลปศึกษา.............................................................................................. 46 แนวคดิพหุศิลปศึกษาเชงิแบบแผน Discipline – based Art Education.......... 46

แนวคดิพหุศิลปศึกษาเชงิภูมิปญญาไทย Thia Wisdom Arts Education......... 47 แนวคดิพหุศิลปศึกษาเชงิพหุปญญา Multiple Intelligences ArtsEducation…. 48 แนวคดิพหุศิลปศึกษาเชงิศิลปะหลังสมัยใหมPost–Modern Arts Education..... 49 แนวคดิพหุศิลปศึกษาเชงิความสามารถพิเศษ Gifted Child Arts Education...... 51 ทฤษฎีทางศลิปศึกษา................................................................................................ 52 ทฤษฎีการสอนดานสนุทรียศาสตรและศิลปวิจารณ.......................................... 52 การวิจารณศิลปะเชิงประจักษ............................................................................ 52 ขอมูลท่ัวไปของเขตราชเทวี......................................................................................... 56

ขอมูลท่ัวไปของโรงเรียน............................................................................................. 58 งานวิจยัที่เกีย่วของ........................................................................................................ 60

3 วธิีดําเนินการวิจยั………………………………………………………………………….. 62 ข้ันตอนการดําเนินการวจิัย……...……………………………………………………. 62 การเลือกกลุมตัวอยาง......…………………………………………………………….. 62 แหลงขอมูลท่ีใชในการศึกษาคนควา…………………………………………………. 62

Page 12: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

สารบัญ (ตอ)

บทท่ี หนา 3 (ตอ) วิธกีารเก็บขอมูล................................................................................................................. 63 เครื่องมือที่ใชในการศกึษาคนควา..................................................................................... 63

การวิเคราะหขอมูล………………………………………………………….................... 64

4 ผลการวิเคราะหขอมลู………………………………………………………………………... 65 แนวคิดของครูในการจัดการเรยีนรูกลุมสาระการเรยีนรูศลิปะ (ทัศนศลิป) ..................... 65 แนวทางในการกําหนดจุดประสงคการเรยีนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ (ทัศนศลิป) 86 เนื้อหาในการจัดการเรยีนรูของกลุมสาระการเรียนรูศลิปะ (ทัศนศิลป) .......................... 87 การจัดกิจกรรมการเรียนรูของกลุมสาระการเรยีนรูสาระการเรียนรูศลิปะ (ทัศนศิลป)…. 95 การวดัและประเมินผลของกลุมสาระการเรยีนรูศลิปะ (ทัศนศิลป) .................................. 102 สื่อการเรยีนรูที่ใชในกลุมสาระการเรยีนรูศลิปะ (ทัศนศลิป) ............................................ 103 บรรยากาศในการจัดการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ (ทัศนศลิป)........................ 123 การพัฒนาทางดานจิตใจจากการจัดการเรียนรู ของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศลิป) .......................................................................................................

130

ขอคิดเห็นเพิ่มเติมในการจดัการเรียนรูของกลุมสาระศิลปะ (ทัศนศิลป ) ........................ 134

5 สรุปผลการวจิัย อภปิรายผล และขอเสนอแนะ...................................................................... 136 ความมุงหมายของการวจิัย ............................................................................................... 136 ขอบเขตของการวจิัย ......................................................................................................... 136 เครื่องมือที่ใชในการศกึษาคนควา .................................................................................... 136 การวเิคราะหขอมูล ……………………………………………………………………... 137 สรุปผลการวิจยั ................................................................................................................. 137 อภิปรายผล ....................................................................................................................... 150 ขอเสนอแนะ .................................................................................................................... 154

Page 13: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

สารบัญ (ตอ)

บทที่ หนา บรรณานกุรม........................................................................................................................................ 155

ภาคผนวก............................................................................................................................................ 161 ประวติัยอผูวจิัย.................................................................................................................................... 197

Page 14: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

บัญชีตาราง

ตาราง หนา 1 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครเูกี่ยวกับความเหมาะสมในการจัดการเรีนรู ในสวนที่เปนเนื้อหา และสวนที่เปนการปฏบิัติของนักเรียนชั้น ป.1-ป.6.......................

66

2 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครใูนการจดัการเรียนรูเกีย่วกับหลักการทัศนธาต…ุ….. 67 3 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครใูนการจดัการเรียนรูเกีย่วกับการสรางสรรคผลงาน ศิลปะเรื่องทัศนธาตุ.........................................................................................................

68

4 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครใูนการจดัการเรียนรูเกีย่วกับการสรางสรรคผลงาน ศิลปะตามจินตนาการ......................................................................................................

69

5 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครใูนการจดัการเรียนรู ในการสรางสรรค ผลงานศิลปะเกีย่วกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอม.............................................................

70

6 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครใูนการจดัการเรียนรู เกีย่วกบัเทคนิค วธิีการใน การสรางผลงานศลิปะ....................................................................................................

71

7 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครใูนการจดัการเรียนรู เกีย่วกับการเลือกวัสดุ อุปกรณ... 72 8 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครใูนการจดัการเรียนรู เกีย่วกบัการใชวัสดุ อุปกรณ…. 73 9 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครใูนการจดัการเรียนรู เกีย่วกบัการเก็บรักษาวัสด อุปกรณ...........................................................................................................................

74

10 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครใูนการจดัการเรียนรู เกีย่วกบัการเรยีนรู ในเรื่องหลักการของสุนทรียศาสตร................................................................................

75

11 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครใูนการจดัการเรียนรู เกีย่วกบัการเรยีนรู ในเรื่องหลักการของการวิจารณงานศิลปะ......................................................................

76

12 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครใูนการจดัการเรียนรู เกีย่วกบัการนําความรูเทคนิค วิธกีารทางทัศนศลิปไปใชกับกลุมสาระการเรยีนรูอ่ืนๆ.................................................

77

Page 15: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

บัญชีตาราง (ตอ)

ตาราง หนา 13 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูเกีย่วกับความเหมาะสมในการจัดการเรยีนรูในสวน ที่เปนเนื้อหาและสวนท่ีเปนการปฏิบัติ ของนกัเรยีนชัน้ ป.1-ป.6……........................

78

14 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจัดการเรียนรู เกีย่วกับเนื้อหาในเรื่อง ลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในทองถิ่น.....................................................

79

15 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจัดการเรียนรู เกีย่วกบัการตระหนกัถึงคณุคา ของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณ ีภูมิปญญาทองถิ่น.......................................................

80

16 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจัดการเรียนรู เกีย่วกับการสืบทอด การทํางานศลิปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น...........

80

17 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจัดการเรียนรู เกีย่วกับลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในประเทศไทย.........................................................................

81

18 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจัดการเรียนรู เกีย่วกบัการตระหนกัถึงคณุคา ของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณ ีภูมิปญญาไทย……………………………………….

82

19 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจัดการเรียนรู เกีย่วกับการสืบทอด

การทํางานศลิปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย..................

83

20 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจัดการเรียนรู เกีย่วกับลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะสากล.........................................................................................

84

21 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจัดการเรียนรู เกีย่วกับการตระหนักถึง คุณคาของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล.................................................

85

22 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจัดการเรียนรู เกีย่วกับการสืบทอด การ ทํางานศิลปะท่ีเกีย่วของกับศลิปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมปิญญาสากล…………….

86

23 จํานวนและรอยละของแนวทางในการกําหนดจุดประสงคการเรยีนรูของกลุมสาระการ เรยีนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2……………………..

87

24 จํานวนและรอยละของเนื้อหาของกลุมสาระการเรยีนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป)

จากคํากลาวของครู.......................................................................................................

88

Page 16: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

บัญชีตาราง (ตอ)

ตาราง หนา 25 จํานวนและรอยละของเนื้อหาของกลุมสาระการเรยีนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) จากคํากลาวของ นักเรยีน............................................................................................................................

89

26 จํานวนและรอยละของเทคนิค วธิีการในการสรางผลงานศิลปะ จากคํากลาวของคร…ู…… 90 27 จํานวนและรอยละของเทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะ จากคํากลาวของนักเรียน… 90 28 จํานวนและรอยละของเนื้อหาของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) จากคํากลาว ของครู................................................................................................................

91

29 จํานวนและรอยละของเนื้อหาของกลุมสาระการเรยีนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) จากคํากลาวของ นักเรียน.............................................................................................................................

92

30 จํานวนและรอยละของเทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะ จากคํากลาวของคร…ู…… 94 31 จํานวนและรอยละของเทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะ จากคํากลาวของนักเรียน... 95 32 จํานวนและรอยละของการจัดกจิกรรมการเรียนรู จากคํากลาวของคร.ู................................. 96 33 จํานวนและรอยละของการจัดกจิกรรมการเรยีนรู จากคํากลาวของนักเรียน.......................... 97 34 จํานวนและรอยละของการจัดกจิกรรมการเรียนรู จากคํากลาวของครู................................... 99 35 จํานวนและรอยละของการจัดกจิกรรมการเรยีนรู จากคํากลาวของนักเรียน.......................... 101 36 จํานวนและรอยละของการวัดและประเมินผลของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2....................................................................

103

37 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทวัสด ุ จากคํากลาวของครู................................ 104 38 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทวัสด ุ จากคํากลาวของนักเรียน……………. 104 39 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทอุปกรณ จากคํากลาวของครู.......................... 105 40 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทอุปกรณ จากคํากลาวของนักเรยีน.................. 106 41 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทเทคนิค วธิีการ จากคํากลาวของครู................. 107 42 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทเทคนิค วิธีการ จากคํากลาวของนักเรียน…… 107

Page 17: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

บัญชีตาราง (ตอ)

ตาราง หนา 43 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรูท่ีนักเรียนใชในการถายทอดผลงาน.............................. 108 44 จํานวนและรอยละของวัสดุท่ีใชเปนระนาบหรือพืน้ในการสรางผลงานของนักเรยีน............. 109 45 จํานวนและรอยละของสีที่ใชในการสรางผลงานของนักเรียน................................................ 110 46 จํานวนและรอยละของวัสดุท่ีนักเรยีนใชปน………………………………………………... 110 47 จํานวนและรอยละของวัสดุท่ีนักเรยีนที่ใชทําภาพพิมพ.......................................................... 111 48 จํานวนและรอยละของวัสดุท่ีนักเรยีนที่ใชทําสื่อผสม…………………………..................... 112 49 จํานวนและรอยละของวัสดุท่ีนักเรยีนใชทําแกะสลัก.............................................................. 112 50 จํานวนและรอยละของวัสดุท่ีนักเรยีนใชทํางานประดิษฐ…………………………………… 113 51 จํานวนและรอยละของวัสดุท่ีนักเรยีนใชทําแบบจําลองสถาปตยกรรม.................................. 113 52 จํานวนและรอยละของวัสดุและอุปกรณท่ีนกัเรียนใชออกแบบ............................................. 114 53 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทวัสด ุ จากคํากลาวของครู................................ 114 54 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทวัสด ุ จากคํากลาวของนักเรียน……………… 115 55 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทอุปกรณ จากคํากลาวของครู........................... 116 56 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทอุปกรณ จากคํากลาวของนักเรยีน………….. 117 57 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทเทคนิควธิีการ จากคํากลาวของคร…ู………... 118 58 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทเทคนิค วิธีการ จากคํากลาวของนักเรียน….... 118 59 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรูท่ีนักเรียนใชในการถายทอดผลงาน............................... 119 60 จํานวนและรอยละของวัสดุท่ีใชเปนระนาบหรือพืน้ในการสรางผลงานของ นักเรยีน…........ 120 61 จํานวนและรอยละของสีที่ใชในการสรางผลงานของนักเรียน................................................ 120 62 จํานวนและรอยละของวัสดุท่ีนักเรยีนใชปน........................................................................... 121 63 จํานวนและรอยละของวัสดุท่ีนักเรยีนใชทําแกะสลัก.............................................................. 121 64 จํานวนและรอยละของวัสดุท่ีนักเรยีนใชทํางานประดิษฐ....................................................... 122 65 จํานวนและรอยละของวัสดุท่ีนักเรยีนใชทําแบบจําลองสถาปตยกรรม................................... 122

Page 18: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

บัญชีตาราง (ตอ)

ตาราง หนา 66 จํานวนและรอยละของสภาพการจัดหองเรียนเกี่ยวกับการถายเทของอากาศ จากคํากลาว ของครู.............................................................................................................................

123

67 จํานวนและรอยละของสภาพการจัดหองเรียนเกี่ยวกับการถายเทของอากาศ จากคํากลาว ของนักเรียน ......................................................................................................

124

68 จํานวนและรอยละของสภาพการจัดหองเรียน เกี่ยวกับแสงสวาง จากคํากลาวของคร…ู….... 124 69 จํานวนและรอยละของสภาพการจัดหองเรียน เกี่ยวกับแสงสวาง จากคํากลาวของนักเรียน.... 124 70 จํานวนและรอยละของสภาพการจัดหองเรียน เกี่ยวกับเสียงรบกวน จากคํากลาวของครู........ 125 71 จํานวนและรอยละของสภาพการจัดหองเรียน เกี่ยวกับเสียงรบกวน จากคํากลาว ของนักเรียน....................................................................................................................

125

72 จํานวนและรอยละของสภาพการจัดหองเรียน เกี่ยวกับความสะอาด จากคํากลาวของครู..... 126 73 จํานวนและรอยละของสภาพการจัดหองเรียน เกี่ยวกับความสะอาด จากคํากลาวของ นักเรยีน............................................................................................................................

126

74 จํานวนและรอยละของปฏิสัมพันธระหวางครกูับนกัเรยีน จากคํากลาวของครู..................... 127 75 จํานวนและรอยละของปฏิสัมพันธระหวางครกูับนกัเรยีน จากคํากลาวของนักเรียน………. 127 76 จํานวนและรอยละของปฏิสัมพันธระหวางนักเรยีนกับนกัเรียน จากคํากลาวของคร…ู……. 128 77 จํานวนและรอยละของปฏิสัมพันธระหวางนักเรยีนกับนกัเรียน จากคํากลาวของนักเรียน… 129 78 จํานวนและรอยละของการสรางบรรยากาศใหเกดิสุนทรียภาพ จากคํากลาวของคร…ู……. 129 79 จํานวนและรอยละของการสรางบรรยากาศใหเกดิสุนทรียภาพ จากคํากลาวของนักเรียน…... 130 80 จํานวนและรอยละของการจัดการเรยีนรูท่ีสงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดานอารมณ จากคํากลาวของนกัเรยีน..............................................................................

131

81 จํานวนและรอยละของการจัดการเรยีนรูท่ีสงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดานการรับรูความงาม จากคํากลาวของนักเรียน.............................................................

131

82 จํานวนและรอยละของการจัดการเรยีนรูท่ีสงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดานการตระหนกั รกั หวงแหนธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จากคํากลาวของนักเรียน…..

132

Page 19: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

บัญชีตาราง (ตอ)

ตาราง หนา 83 จํานวนและรอยละของการจัดการเรยีนรูท่ีสงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดานอารมณ จากคํากลาวของนกัเรยีน...............................................................................

133

84 จํานวนและรอยละของการจัดการเรยีนรูท่ีสงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดานการรับรูความงาม จากคํากลาวของนักเรียน...............................................................

133

85 จํานวนและรอยละของการจัดการเรยีนรูท่ีสงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดานการตระหนกั รกัและหวงแหน ภูมิปญญา ประเพณวีฒันธรรมที่ดีงาม จากคํากลาว ของนักเรียน.......................................................................................................................

134

Page 20: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

บทที่ 1 บทนํา

ภูมิหลัง ในภาวะที่สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว อันเนื่องมาจากความเจริญทางดานตางๆ การติดตอส่ือสารที่ไรพรมแดนที่มีความสะดวกสบาย โดยใชมือถือและอินเตอรเน็ตที่สามารถเขาถึงเด็กและผูใหญ กรุงเทพมหานคร ซ่ึงเปนเมืองหลวงของประเทศ เปนเมืองที่มีความเจริญทางดานวัตถุมากที่สุดในประเทศไทย เปนเมืองที่เปนศูนยรวมของสิ่งตางๆมากมาย เปนศูนยกลางทางการเมืองการปกครอง การศึกษา มีศูนยการคา สถานบันเทิง หางราน บริษัท ฯลฯ เปนแรงดึงดูดใหประชาชนในสวนอื่น ๆของประเทศ ตางหล่ังไหลเขามาสูกรุงเทพมหานครเพื่อหางานทํา การเขามาอาศัยและประกอบอาชีพเปนจํานวนมากทําใหสภาพของกรุงเทพมหานครเปนนครแหงความแออัดที่ใหญโตเกินขนาด ไมวาจะพิจารณาในดานผูคนอาคารบานเรือน และยานพาหนะตาง ๆ มีปริมาณรถยนต จักรยานยนตมากมาย จนทําใหถนนในกรุงเทพมหานครมีรถติดกันทุกวัน อากาศเต็มไปดวยหมอกควันและฝุนละออง ที่เปนอันตรายตอสุขภาพ แตผูคนก็ตองทนเพราะเปนแหลงประกอบชีพที่ทํารายไดดีกวาที่บานเกิด ไมวาจะเปนการประกอบอาชีพที่สุจริตหรืออาชีพผิดกฎหมายก็ตาม และจากปญหาการอพยพเขามาทํางานในกรุงเทพมหานคร ทําใหผูคนที่เขามาอยูในกรุงเทพฯ หางเหินกับญาติคนอื่น ๆ มากขึ้น เมื่อมีครอบครัวก็ตองดิ้นรนตอสูชวยตนเอง ทําใหไมมีเวลาเลี้ยงดูลูก เพราะตองทํางาน บางครอบครัวมีการหยาราง และวัยรุนที่เขามาทํางาน หรือเขามาศึกษาในกรุงเทพมหานคร เกิดความเหงา วาเหว และมีส่ือยั่วยุ ทําใหวัยรุนชายและหญิงมีคูกอนวัยอันควรในขณะที่อายุยังนอยยังไมพรอมที่จะมีบุตร ทําใหเกิดปญหาการทําแทง การทิ้งลูก จากปญหาตางๆ ขางตน ทําใหเด็กที่เติบโตขึ้นมาเปนเด็กมีปญหาขาดความรักความอบอุน เมื่อมีปญหาตางๆ เกิดขึ้น เร่ืองที่จะตองถูกจับตามองเปนอันดับตน ๆ คือเร่ืองการศึกษา จากปญหาสังคมเหลานี้ ส่ิงที่สังคมคาดหวัง คือการศึกษาที่ทําใหเด็กรูเทาทันปญหาปรับตัวได เติบโต มาเปนผูใหญที่ดีมีคุณธรรม มีจิตใจงดงาม จากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 สงผลให มีหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรแกนกลางของประเทศ ที่ไดปรับใหสอดคลองกับสภาพของเศรษฐกิจ สังคม และความเจริญกาวหนาทางวิทยาการตางๆในปจจุบันและจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ที่ใหจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข ( กระทรวงศึกษาธิการ .2545 : 5) และแนวการจัดการศึกษาที่สอดคลองกับยุคปจจุบัน ที่ใหเนนผูเรียนเปนสําคัญ ตามมาตรา 22 ที่กลาวไววา การจัดการศึกษาตอง

Page 21: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

2

ยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา ตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ( กระทรวงศึกษาธิการ .2545 : 11) ประเวศ วะสี ไดกลาวถึงความจําเปนในการจัดการศึกษาโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญไววา สังคมทุกวันนี้เช่ือมโยง ซับซอน เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว มนุษยไมสามารถเผชิญกับความซับซอน และความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วได จึงเกิดสภาวะวิกฤต ...การเรียนโดยการทองหนังสือหรือเอา วิชาเปนตัวต้ัง ไมสามารถทําใหมนุษยเผชิญและแกปญหาเหลานี้ได เพราะโลกแหงวิชากับโลกแหงความจริง ตางกัน การเรียนโดยเอาวิชาเปนตัวต้ังทําใหแยกตัวออกจากความเปนจริงของชีวิตและสังคมที่ซับซอน และ เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ...การเรียนรูที่ผูเรียนเปนตัวต้ังหรือยึดผูเรียนสําคัญที่สุด หมายถึง การ เรียนรูในสถานการณจริง สถานการณจริงของแตละคนไมเหมือนกันจึงตองเอาผูเรียนแตละคนเปนตัวต้ัง ครูจัด ใหนักเรียนไดเรียนรูจากประสบการณ กิจกรรม และการทํางาน อันนําไปสูการพัฒนาผูเรียนครบทุกดาน ทั้งทางกาย ทางจิตหรืออารมณ ทางสังคม และทางสติปญญา ซึ่งรวมถึงพัฒนาการทางจิตวิญญาณดวย ( ประเวศ วะสี.2543 : 5-6 )

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ เปนกลุมสาระการเรียนรูหนึ่งในแปดกลุมสาระที่มีการจัดการศึกษาโดยที่กระทรวงศึกษาธิการไดมีความคาดหวัง ตอคุณภาพของผูเรียนไวดังนี้ เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐานในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะแลว ผูเรียนจะมีจิตใจงดงาม มีสุนทรียภาพ รักความ สวยงาม ความเปนระเบียบ รับรูอยางพินิจพิเคราะห เห็นคุณคาความสําคัญของศิลปะ ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม ตลอดจนศิลปะวัฒนธรรมอันเปนมรดกทางภูมิปญญาของคนในชาติ สามารถคนพบศักยภาพความสนใจของ ตนเอง อันเปนพื้นฐานในการศึกษาตอหรือประกอบอาชีพทางศิลปะ มีจินตนาการ ความคิดสรางสรรค มีความ เช่ือมั่นพัฒนาตนเองไดและแสดงออกอยางสรางสรรค มีสมาธิในการทํางาน มีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ สามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข ( กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ .2545 : 3)

เขตราชเทวี เปนเขตหนึ่งของกรุงเทพมหานคร โดยมีโรงเรียนในสังกัดของสํานักงานเขตจํานวน 4 โรงเรียน ไดแก โรงเรียนกิ่ ง เพชร โรงเรียนวัดทัศนารุณสุนทริการามโรงเรียน วัดดิสหงสาราม และโรงเรียนวัดพระยายัง เขตราชเทวีเปนเขตที่อยูทามกลางความเจริญทางดานวัตถุ มีผูคนที่อพยพมาจากตางจังหวัดมากมายเพื่อเขามาทํางาน มีชุมชนแออัด เด็กที่เขามาศึกษาในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครสวนใหญมาจากครอบครัวที่ยากจน และอาศัยอยูในชุมชนแออัดที่มีส่ิงแวดลอมที่ไมดี มีปญหายาเสพติด รานเกมคอมพิวเตอรที่มอมเมาเยาวชน และมีส่ิงยั่วยุอ่ืนๆ อีกมากมาย ที่จะชักนําใหเด็กไปสูหนทางที่ไมดี และในภาวะที่ปญหาตางๆ มากมายเชนนี้ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะจงึเปนกลุมสาระการเรียนรูที่จะชวยนักเรียนผอนคลาย ชวยใหมีจิตใจงดงาม มีสุนทรียภาพ รักความ

Page 22: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

3

สวยงาม ทําใหเด็กไมหันแหไปสูส่ิงที่ไมดี ที่อยูในสิ่งแวดลอมใกลตัวของเขาในการที่จะพัฒนาเด็กเหลานี้ใหดีขึ้นนั้น การจัดการศึกษาใหกับเด็กเหลานี้ตองบรรลุเปาหมายในการพัฒนาทางดานจิตใจ และดานตาง ๆ ตามความหวังของกระทรวงศึกษาธิการอยางจริงจัง และการที่จะทราบไดวาการจัดการศึกษาใหกับเด็กเหลานี้ บรรลุเปาหมายในการพัฒนา ดังที่กระทรวงศึกษาธิการไดคาดหวังไวหรือไมนั้น สามารถศึกษาไดจากการจัดการเรียนรูซ่ึงผลของการจัดการเรียนรูที่ดีนั้น มีผลตอการพัฒนาของนักเรียนที่จะทําใหนักเรียนมีจิตใจงดงาม มีสุนทรียภาพ รักความสวยงาม โดยในการจัดการเรียนรูนี้ สามารถศึกษาไดจาก แนวคิดในการจัดการเรียนรูของครู แนวทางในการกําหนดจุดประสงคของครู เนื้อหาในการจัดการเรียนรู การจัดกิจกรรมการเรียนรู การวัดและประเมินผล ส่ือการเรียนรู บรรยากาศใน การจัดการเรียนรู และผลของการพัฒนาทางดานจิตใจ การจัดการเรียนรูของกลุมสาระศิลปะ(ทัศนศิลป) ซ่ึงมีผลตอพัฒนาทางดานตางๆโดยเฉพาะดานจิตใจของนักเรียนใหเปนไปตามที่กระทรวงศึกษาไดคาดหวังไวนั้นจึงมีความสําคัญ กลุมสาระ การเรียนรูศิลปะ สาระที่ 1 ทัศนศิลป เปนสวนหนึ่งของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะที่มีมาตรฐานการเรียนรูเกี่ยวกับ การสรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะหวิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะ ช่ืนชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทย และสากล ( กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ . 2545 : 6 ) เปนสวนหนึ่งที่จะทําใหผูเรียนมีจิตใจงดงาม มีสุนทรียภาพ รักความสวยงาม ความเปนระเบียบ รับรูอยางพินิจพิเคราะห เห็นคุณคาความสําคัญของศิลปะ ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม ตลอดจนศิลปะวัฒนธรรมอันเปนมรดกทางภูมิปญญาของคนในชาติ และการที่นักเรียนจะเปนไดอยางที่คาดหวังเชนนี้ จะตองขึ้นอยูกับการจัดการเรียนรูของครูดวย การศึกษาการจัดการเรียนรูกลุมสาระศิลปะ( ทัศนศิลป)จึงมีความนาสนใจที่จะทําการศึกษาคนควาในครั้งนี้

ความมุงหมายของการวิจัย เพื่อศึกษาการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร

ความสําคัญของการวิจัย 1. ทําใหเขาใจถึง การจัดการเรยีนเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศลิป) ของ โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 2. เปนแนวทางในการปรับปรุง และพัฒนาการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ( ทัศนศิลป ) ของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร

Page 23: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

4

3. เปนประโยชนกับผูที่จะทํางานวิจัยเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลป ( ทัศนศิลป ) ในโอกาสตอไป

ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยนี้มุงศึกษา การจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ของโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยผูวิจัยเลือกพื้นที่ภาคสนามแบบเจาะจง ซ่ึงไดแก โรงเรียนกิ่งเพชร โรงเรียนวัดทัศนารุณสุนทริการาม โรงเรียนวัดดิสหงสาราม และโรงเรียน วัดพระยายัง แลวศึกษาการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) จากครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ( ทัศนศิลป) และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1-6

ขอตกลงเบื้องตน ในการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยจะศึกษาวิเคราะหเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวของกับ การจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ( ทัศนศิลป ) มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ช่ืนชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน และ มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทย และสากล ในประเด็นดังตอไปนี้

ขอมูลจากการสัมภาษณครูทีส่อนในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศลิป) มาตรฐาน ศ 1.1 และ มาตรฐาน ศ 1.2 ศึกษาเฉพาะประเดน็ดังตอไปนี ้

- แนวคดิในการจัดการเรียนรู - แนวทางในการกําหนดจุดประสงคการเรียนรู - เนื้อหาในการจัดการเรียนรู - การจัดกจิกรรมการเรียนรู - การวัดและประเมินผล - ส่ือการเรียนรู (เฉพาะสื่อที่ครูใชจัดการเรยีนรูใหกับนักเรยีน) - บรรยากาศในการจัดการเรยีนรู

ขอมูลจากการสัมภาษณนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1-6 มาตรฐาน ศ 1.1 และ มาตรฐาน

ศ 1.2 ศึกษาเฉพาะประเด็นดังตอไปนี้ - เนื้อหาในการจัดการเรียนรู - การจัดกจิกรรมการเรียนรู

Page 24: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

5

- ส่ือการเรียนรู (ส่ือที่ครูใชจัดการเรียนรูใหกับนักเรยีน และส่ือที่นักเรียนใช) - บรรยากาศในการจัดการเรยีนรู - การพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียนจากการจัดการเรียนรู

นิยามศัพทเฉพาะ 1. การจัดการเรียนรู หมายถึง กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ประกอบดวย จุดประสงค

สาระ/ เนื้อหา วิธีการ/ กระบวนการ/กิจกรรมการเรียนรู การวัดและประเมินผล ส่ือการเรียนรู บรรยากาศในการจัดการเรียนรู

2. แนวคิดในการจัดการเรียนรู หมายถึง ความคิดเกี่ยวกับการสอนที่พรรณนา อธิบาย ทํานาย ปรากฏการณตางๆ ทางการสอนที่นักคิด นักจิตวิทยา หรือนักการศกึษา ไดนําเสนอ

3. จุดประสงคการเรียนรู หมายถึง คุณลักษณะที่ตองการจะใหเกดิกับผูเรียน จากการจัด กิจกรรมการเรยีนรูในแตละชั่วโมง

4. เนื้อหาในการเรียนรู หมายถึง รายละเอียดของสาระที่ใชในการจัดการเรียนรู ไดแก ความรู ทักษะ เทคนิค วิธีการ ทางดานทัศนศิลป

5. การจัดกิจกรรมการเรียนรู หมายถึง กระบวนการปฏิบัติการเพื่อการเรียนรูของนักเรียน ที ่ผูสอนไดจัดใหกับผูเรียน เพื่อใหเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงค

6. การวัดและประเมินผล หมายถึง กระบวนการ วิธีการ ที่ใชวัดและประเมินผลผูเรียน ในการ จัดการเรียนรู

7. สื่อการเรียนรู หมายถึง ตัวกลางที่ชวยนําและถายทอดขอมูล ความรูจากผูสอน หรือจากแหลง การเรียนรูอ่ืนๆ ไปยังผูเรียน

8. บรรยากาศในการจัดการเรียนรู หมายถึง การจัดสภาพแวดลอมในการจัดการเรียนรู เพื่อชวย สงเสริมใหกระบวนการจัดการเรียนรูเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

Page 25: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ และไดนําเสนอตามหัวขอตอไปนี้

1. ความเปนมาของการจัดการเรียนรูศิลปะในระบบโรงเรียนของไทย 2. ทัศนศิลป 3. บริบทของศิลปะสมัยใหม และทัศนศิลป 4. ประเภทของศลิปะตามการรับรู 5. การศึกษาในปจจุบัน

- การจัดการเรียนรู - แนวคิดในการจัดการเรยีนรู - จุดประสงคการเรียนรู - เนื้อหาในการจัดการเรยีนรู - การจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู - การวดัและประเมนิผล - ส่ือการเรียนรู - บรรยากาศในการจดัการเรียนรู - การพัฒนาในดานจิตใจ 6. ศิลปศึกษา - การสอนศิลปะนักเรียนระดับประถม - วิธีสอนศิลปะ - ลําดับขั้นการเรียนรูศิลปะ - พัฒนาการทางดานศิลปะ - ผลงานศิลปะของนักเรียนระดับประถม - คุณคาของการเรียนศิลปะ 7. แนวคดิและทฤษฎีทางศลิปศึกษา - แนวคดิพหุศิลปศึกษา - แนวคดิพหุศิลปศึกษาเชิงแบบแผน Discipline – based Art Education - แนวคดิพหุศิลปศึกษาเชิงภูมิปญญาไทย Thai Wisdom Arts Education

Page 26: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

7

- แนวคิดพหุศลิปศึกษาเชิงพหุปญญา Multiple Intelligences Arts Education - แนวคิดพหุศลิปศึกษาเชิงศลิปะหลังสมัยใหม Post–Modern Arts Education - แนวคิดพหุศลิปศึกษาเชิงความสามารถพิเศษ Gifted Child Arts Education - ทฤษฎีทางศลิปศึกษา - ทฤษฎีการสอนดานสุนทรยีศาสตรและศลิปวิจารณ - การวจิารณศลิปะเชิงประจกัษ

8. ขอมูลทั่วไปของเขตราชเทว ี 9. ขอมูลทั่วไปของโรงเรียน

- โรงเรียนกิ่งเพชร - โรงเรียนวัดดิสหงสาราม - โรงเรียนทัศนารุณสุนทริการาม - โรงเรียนวัดพระยายัง

10. งานวิจยัที่เกี่ยวของ

ความเปนมาของการจัดการเรียนรูศิลปะในระบบโรงเรียนของไทย ศิลปะในยุคตางๆ ของไทยในอดีต เปนศิลปะที่มีลักษณะเปนประเพณีนิยม ถายทอดกันมาจาก

รุนหนึ่งสูอีกรุนหนึ่ง เปนศิลปะที่ทําเพื่อศาสนา เชน งานเกี่ยวกับวัดวาอาราม ปฏิมากรรม พระพุทธรูป และนอกจากนั้นก็มีศิลปะที่ทําไวเพื่อประโยชนใชสอย สวนสถาปตยกรรมที่ทําดวยไมก็ไมทนทาน ทําใหผุพังไปบาง

ในยุคสุโขทัย อยุธยา ศิลปะเกี่ยวของกับศานา ความเชื่อ งานศิลปะจะเปนรูปเคารพใน ทางศาสนา รูปแบบของงานศิลปะก็จะมีการสืบทอดตอๆกันมา อาจจะมีแปลงรูปทรงบางโดยการนํามาผสมผสานกัน แตรูปแบบของศิลปะก็ไมเปลี่ยนไปมาก ศิลปะสมัยรัตนโกสินทรตอนตนยังรักษาแบบประเพณี อยางอยุธยาในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนยังไมมีการจัดระบบโรงเรียน คงศึกษาเลาเรียนกันตามวัดวาอารามและตามสํานักตามแบบโบราณ ( วิบูลย ล้ีสุวรรณ . 2534: 43) ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ถือวาเปนยุคทองของจิตกรรมไทย ถึงแมจะมีชนชาติอ่ืนเขามา เชน ชาวจีนซึ่งเขามาทํางานและทําการคาขาย ในสมัยนั้นการคาเจริญมาก ศิลปะจีนมีอิทธิพลกับศิลปะของไทยดวยเชนกัน แตอยางไรก็ตาม ศิลปะของไทยก็ยังคงรักษารูปแบบเอาไว อาจเปนเพราะวารัชกาลที่ 3 ทรงสนับสนุนควบคูไปกับศิลปะที่ไดรับอิทธิพลมาจากจีนเมื่อถึงปลายรัชกาลที่ 3 ก็มีมิชชันนารีชาวอเมริกันเขามาเริ่มเผยแพรศาสนาลัทธิโปรเตสแตนต รักษาพยาบาล มีส่ิงพิมพหนังสือสินคาตางๆ เขามา รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว เปนยุคที่ประเทศไทยเผชิญกับการลาอาณานิคม

Page 27: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

8

ของยุโรป เปนยุคที่มีวัฒนธรรมตะวันตกเขามามากขึ้น ทําใหขรัวอินโขง ไดรับอิทธิพลในการสรางงานศิลปะตามแนวตะวันตก วิรุณ ตั้งเจริญ กลาวไววา

เมื่อกลาวถึงศิลปกรรมในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว นักวิชาการหรือนักประวัติศาสตร ศิลปทุกคนจะตองกลาวถึงขรัวอินโขง กลาวถึงอยางยกยองสรรเสริญถึงความยิ่งใหญและความกลาหาญในการ สรางสรรคจิตรกรรมกระบวนแบบใหมใหปรากฏขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 โดยผสานจิตรกรรมไทยประเพณีนิยม ศิลปะลัทธิประทับใจ ศิลปะจินตนิยม ศิลปะธรรมชาตินิยม และศิลปะสัญลักษณนิยมเขาไวดวยกันอยาง สงางาม เปนศิลปะกระบวนแบบขรัวอินโขงที่สงอิทธิพลไปสูศิลปนรวมสมัยในขณะนั้นอยางกวางขวาง ( วิรุณ ต้ังเจริญ . 2534: 45 )

เมื่อถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ก็รับศิลปะตะวันตกเขามาในประเทศไทยมากยิ่งขึ้น ไมวาจะเปนการสรางสถาปตยกรรมหรือประติมากรรม สาเหตุเพราะตองการใหประเทศมีความกาวหนาทัดเทียมประเทศตะวันตก ในตนคริสตศตวรรษที่ 20 สมัยนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดเสร็จประพาสยุโรป วิบูลย ล้ีสุวรรณ กลาวไววาการเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ทั้งสองครั้งมีผลกระทบตอความเปลี่ยนแปลงของศิลปะในประเทศไทยอยางมาก เพราะจากการไดทอดพระะเนตรศิลปวัฒนธรรมยุโรปทําใหพระองคทรงนําแบบอยางที่ไดพบเห็นในยุโรปกลับมาสูประเทศไทย ทรงจางสถาปนิก จิตรกร ประติมากร ชาวยุโรปหลายคนเขามาทํางานในประเทศไทย สวนมากเปนชาวอิตาเลียน ( วิบูลย ล้ีสุวรรณ.2534: 45 )

ในสมัยรัชกาลที่ 5 ไดมีระบบโรงเรียนในแบบตะวันตก วิรุณ ตั้งเจริญ กลาวไววา ระบบโรงเรียนของชาวตะวันตกไดเร่ิมปรากฏขึ้นในรัชกาลนี้ คณะมิชชันนารีเพรสไบทีเรียน (Presbyterian ) ผายโปรเตสแตนท ไดตั้งโรงเรียนซึ่งมีจุดมุงหมายเพื่อสอนคาสนาขึ้นในป 2395 และโรงเรียนสอนศาสนาก็ขยายตอไปยังจังหวัดตางๆ เชน เพชรบุรี เชียงใหม ( วิรุณ ตั้งเจริญ . 2545: 35 ) ในสมัยนั้นเกิดโรงเรียนฝกหัดขาราชการพลเรือน และภายหลังไดเปลี่ยนชื่อเปน “โรงเรียมหาดเล็ก”

การจัดการเรียนการสอนศิลปะในโรงเรียนมีคร้ังแรกในปพุทธศักราช 2438 และมีการปรับปรุงในการปรับปรุงหลักสูตรครั้งตอมา

รายละเอียดในหลักสูตรปพุทธศักราช 2438 ใหมีการสอนวิชาศิลปะในประโยค 3 โดยกําหนดใหเรียนวาด เขียนทั้ง 4 ช้ัน (การเรียนในสมัยนั้น แบงเปนประโยค 1 , 2 และ 3 ประโยค 1 มี 3 ช้ัน ประโยค 2 มี 3 ช้ัน ประโยค 3 มี 4 ช้ัน ) กลาวคือ

ช้ันที่ 1 ใหเขียนมือเปลากับเขียนมีสเกล ช้ันที่ 2 ใหเขียนมือเปลาจากรูปของจริง กับเขียนมีสเกล

ช้ันที่ 3 วาดเขียนมือเปลา เขียนดวยธรรมดาโลก ช้ันที่ 4 ใหเขียนระบายเงาจากของจริงและเขียนรูปในภูมิศาสตร

Page 28: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

9

จะเห็นไดวาหลักสูตรในสมัยนั้นเนนใหการวาดภาพเปนวิชาศิลปศึกษาเพียงพออยางเดียว และใหเรียนกันเฉพาะในชั้นสูง ๆ ซึ่งเทียบไดกับระดับมัธยมในปจจุบัน

ปพุทธศักราช 2445 ไดมีการเปลี่ยนแปลงการจัดช้ันการศึกษาสามัญผิดแปลกไปจากเดิม คือ เปลี่ยนเปน 4 ประโยค และไมเรียกวาประโยค 1 ประโยค 2 เชนที่เคยเรียก แตเรียกเปน

ประโยคมูลศึกษา มี 3 ช้ัน (ประโยค 1 เดิม) ประโยคประถมศึกษา มี 3 ช้ัน (ประโยค 2 เดิม) ประโยคมัธยมศึกษา มี 3 ช้ัน (ประโยค 2 เดิม)

ประโยคมัธยมศึกษา มี 2 ช้ัน (ประโยค 3 เดิม ) ตอมาเมื่อปพุทธศักราช 2448 ไดกําหนดใหประโยคประถมศึกษามี 4 ช้ัน

การปรับปรุงหลักสูตรในปพุทธศักราช 2445 นั้น ประโยคประถมศึกษายังไมมีวิชาศิลปะอยูเลย แตในหลักสูตรประโยคมัธยมศึกษากําหนดใหสอนวิชาศิลปะ ซึ่งเนื้อหาการเรียนการสอนไมไดเปนศิลปะตามที่เขาใจในปจจุบัน เปนการสอนเรขาคณิต (สมัยนั้นเรียกทับศัพทภาษาอังกฤษวา ยีออเมตรี ) สอนกันตลอดทั้ง 3 ป จึงเทากับวาในระยะนั้นยังไมใหความสําคัญกับความรูทางศิลปะเชนที่เขาใจกันในปจจุบันแตอยางไร

ปพุทธศักราช 2452 มีการประกาศแผนการศึกษาชาติฉบับใหมสวนสามัญศึกษา โดยแบงเปน ช้ันประโยคมูลศึกษา 3 ป (อายุ 7-9 ขวบ) ช้ันประโยคประถมศึกษา 3 ป (เปลี่ยนจาก 4 ป กลับมาเปน 3 ปอีก) ช้ันประโยคมัธยมศึกษา 3 ป ชันมัธยมสูง 3 ป ( เดิม 2 ป ) ในระยะนี้มีวิชาพิเศษตาง ๆ บรรจุไวในทุกระดับคือ

ช้ันประโยคมูลศึกษา กําหนดใหเรียนวิชาการฝมือ สวนวิชาศิลปะเปนเพียงวิชาที่ไมบังคับใหสอน(ซึ่งมีวิชาอื่น ๆ อีก) แตเลือกสอนไดตามความสามารถ

ช้ันประโยคประถมศึกษา กําหนดใหสอนวิชาวาดเขียน เปนวิชาบังคับ และการฝมือเปนวิชาเลือก ช้ันประโยคมัธยมศึกษา วิชาวาดเขียนเปนวิชาบังคับ ช้ันมัธยมสูง วิชาวาดเขียนยังคงเปนวิชาบังคับ ( พีระพงษ กุลพิศาล .2546 : 134-135)

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไดทรงสถาปนาโรงเรียนเพาะชางขึ้น

วิบูลย ล้ีสุวรรณ กลาววาในวันที่ 1 มกราคม 2454โรงเรียนชางไดเร่ิมสรางอาคารถาวร เพื่อเปนที่ระลึกในงานพระบรมศพ อุทิศถวาย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว . . .พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวไดพระราชทานชื่อโรงเรียนใหมวา “โรงเรียนเพาะชาง” และไดเสด็จ พระราชดําเนินมาเปดโรงเรียนเมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2456 (วิบูลย ล้ีสุวรรณ . 2542 :50-51) มีการสถาปนามหาวิทยาลัย คือจากโรงเรียนมหาดเล็ก ในสมัยรัชกาลที่ 5 เปนจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในป พ.ศ.2459 และในป พ.ศ.2466 คอรราโด เฟโรจี หรือศิลป พีระศรี ผูที่มีบทบาทดานศิลปะ

Page 29: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

10

แนวอะคามีของตะวันตกในประเทศไทย ก็เขามาเนื่องจากรัฐบาลไทยตองการชางปนหรือประติมากร โดยคอรราโด เฟโรจี ไดเขารับราชการในตําแหนงชางปน สังกัดกรมศิลปากร ราชบัณฑิตยสภา

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว มีการสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากรโดยมี คอรราโด เฟโรจี หรือ ศิลป พีระศรีเปนผูวางรากฐาน พิษณุ ศุภนิมิตร กลาววา ในป พ.ศ. 2476 โดยคําแนะนําของศาสตราจารยศิลป พีระศรี กรมศิลปากรจึงไดตั้งโรงเรียนประณีตศิลปกรรมขึ้นเพื่อฝกสอนการเขียนภาพและการปนใหกับเยาวชนไทย ศิษยรุนแรก ๆ ที่เขาศึกษาสวนใหญจบการศึกษามาจากโรงเรียนเพาะชาง อยางเชน อาจารยเฟอ หริพิทักษ อาจารยพิมาน มูลประมุข อาจารยสิทธิเดช แสงหิรัญ อาจารยแสวง สงฆมั่งมี อาจารยแชม ขาวมีช่ือ ( พิษณุ ศุภนิมิตร. 2535:27 ) การเปดโรงเรียนประณีตศิลปกรรมนี้เอง เปนการเริ่มตนการเรียนศิลปะแนวตะวันตกในระบบการศึกษา และ ไดกลายเปนมหาวิทยาลัยศิลปกร ซ่ึงเปนสถาบันที่มีช่ือเสียงทางดานศิลปะในประเทศไทยมาจนถึงปจจุบัน ในป พ.ศ. 2575 มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองมีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและการเมืองเกิดขึ้นในป พ.ศ.2496 มีการสถาปนาวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร และมีการสถาปนามหาวิทยาลัยขึ้นอีกหลายแหงตอมาเรื่อย ๆ จนถึงปจจุบัน

สําหรับการเริ่มตนของศิลปศึกษานั้นเกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา วอลเทอร สมิธ (Walter Smith )นักการศึกษาชาวอังกฤษ ไดพัฒนาหลักสูตรการศึกษาทางดานศิลปะขึ้นในสหรัฐอเมริกา วิรุณ ตั้งเจริญ ไดกลาวถึงเรื่องนี้ไววา

ในประเทศสหัฐอเมริกา ชวงทศวรรษ 1870 นักอุตสาหกรรมในแมสซาชูเสทท หลังกระแสปฏิวัติอุตสาหกรรม ไดผลักดันใหการศึกษาในโรงเรียน บรรจุวิชาวาดเขียน ( Drawing ) ไวในหลักสูตร เพื่อใหวิชาวาดเขียนชวย สรางทักษะในการรางแบบและออกแบบ ซึ่งจะมีผลตอภาคอุตสาหกรรมในชวงเวลานั้น วอลเทอร สมิธ (Walter Smith ) นักการศึกษาชาวอังกฤษ ไดพัฒนาหลักสูตรการศึกษาทางดานศิลปะขึ้นในสหรัฐอเมริกา แบบฝกหัดการวาดเขียนของ วอลเทอร สมิธ เปนแบบฝกหัดในลักษณะเขียนตามแบบโดยตรง ซึ่งการเขียน ตามแบบเชนนี้ไดสะทอนใหเห็นความเชื่อที่วาทักษะในการวาดภาพและออกแบบยอมเปนผลมาจาก การเลียนแบบ การฝกฝนและการปฏิบัติ (วิรุณ ต้ังเจริญ.2545:5 )

ในประเทศไทยหลังจากที่การศึกษาในระบบ เร่ิมเกิดขึ้น ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เมื่อถึงพุทธศักราช 2438 เรามีหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับแรก หลักสูตรฉบับดั งกล าว มีวิ ชาวาด เขี ยนอยู ด วย หลังจากนั้น เราก็มีห ลักสูตรการศึกษาอีกหลายตอ หลายฉบับ ช่ือ “วิชาศิลปะ” ปรับเปลี่ยนไปหลากหลายชื่อ ( วิรุณ ตั้งเจริญ .2549 : 130 ) ตามกระแสตะวันตก ทั้งศิลปะหลักวิชาของตะวันตกที่เขามาโดย คอรราโด เฟโรจี หรือ ศิลป พีระศรี และ ศิลปะสมัยใหมที่เขามาโดยผูที่ไปศึกษายังตางประเทศ ผสมผสานกับศิลปะของไทย

Page 30: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

11

หลังจากการเกิดขึ้นของโรงเรียนเพาะชาง และมหาวิทยาลัยศิลปากร การศึกษาทางศิลปะไดรับการสนับสนุนอยางแพรหลาย โรงเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาสนใจการศึกษาทางดานศิลปะมากขึ้น ทําใหในป พ.ศ. 2511 วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร เปดแผนกศิลปศึกษา ภายใตคณะวิชาการศึกษาโดยการผลักดันของอารี สุธิพันธุ เปดรับนักศึกษาศิลปศึกษาระดับปริญญาตรีเพื่อผลิตครูศิลปศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นโดยเฉพาะเปนแหงแรกของประเทศไทย หลักสูตรที่ใชก็ปรับปรุงจากระบบการเรียนของมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้เนื่องจากขณะนั้นสหรัฐอเมริกาจัดไดวามีช่ือเสียงทางการผลิตครูศิลปศึกษาเปนอยางมาก ( พีระพงษ กุลพิศาล .2546 .132 ) ตอมาในภาวะที่ความเจริญกาวหนาทางวิทยาการดานตางๆ มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ และขณะนั้นมีการเปลี่ยนแปลงทางดานการเมืองในประเทศไทยหลังการปฏิวัติในป พ.ศ. 2535 ทําใหเกิดรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และเกิดพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญที่เกิดขึ้น สงผลใหมีหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เปนหลักสูตรแกนกลางของประเทศ เปนทิศทางในการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กําหนดใหเรียกการศึกษาทางดานศิลปะวา “กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ” แบงเปน 3 สาระ ไดแก สาระที่ 1 : ทัศนศิลป สาระที่ 2 : ดนตรี สาระที่ 3 : นาฏศิลป ซ่ึงในสาระที่ 1 : ทัศนศิลป นั้นมีมาตรฐาน 2 ขอ คือ มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ ความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคา งานทัศนศิลป ถายทอด ความรูสึก ความคิด ตองานศิลปะอยางอิสระ ช่ืนชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตรศิลป และวัฒนธรรมเห็นคุณคางาน ทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล ( กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ .2545 : 18 )

ทัศนศิลป ตามที่ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กําหนดใหเรียกการศึกษาทางดาน

ศิลปะวา “กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ” ซ่ึงในสาระที่ 1ใชคําวา “ทัศนศิลป” คําวา “ทัศนศิลป” ( visual art ) เปนคําที่มีความสืบเนื่องมาจากศิลปะสมัยใหม วิรุณ ตั้งเจริญ กลาวถึงคําวา ทัศนศิลปวา นักวิชาการและศิลปนสมัยใหมในสหรัฐอเมริกา ใชคําวา “ visual art ” อารี สุทธิพันธุ ใชในภาษาไทยวา “ทัศนศิลป” ไมนอยกวา 30 ปที่แลว ชวงเวลานั้น วงการศิลปะบานเราถากถางคํานี้กันพอสมควร แตวันนี้ “ทัศนศิลป” ไดกลายเปนคําปกติธรรมดาไปเรียบรอยแลว (วิรุณ ตั้งเจริญ .2547 : 38 ) ทัศนศิลป ( visual art ) ...แปลความหมายมาจากภาษาอังกฤษ คําวา “visual art” จุดมุงหมายสําคัญของการกําหนดความหมาย คือตองการจะแยกลักษณะการรับรูของมนุษยทางดานศิลปะใหมีความ

Page 31: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

12

ชัดเจน (สุชาติ เถาทอง . 2545?: 19 ) อารี สุทธิพันธุ ไดกลาวถึงการเกิดของ คําวา “visual art” ไวดังนี้

คําวา “ทัศนศิลป” ( visual art ) ...เกิดจากแนวคิดของกลุมศิลปนเบาเฮาส ของเยอรมนี ต้ังสถาบันเบาเฮาสขึ้น ค.ศ.1919 และตั้งไดไมนานก็ตองแยกยายกันไปในประเทศตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งยายไปอยูประเทศอเมริกา มากที่สุด และไดต้ังสถาบันทางศิลปะใหมขึ้นที่นครชิคาโก ช่ือวา institute of design โดยโมโฮลี นาจ ( Moholy Nagy) และโมโฮลี นาจ ผูนี้เอง ไดพยายามทบทวนจุดยืนทางศิลปะใหม ตามแนวทางของศิลปะที่มี พ้ืนฐานจากความเขาใจของการมองเห็น การสัมผัส การไดยิน และการไดกลิ่น ( Sight , Touch , Sound and Smell ) ซึ่งทําใหศิลปะมีลักษณะเปนเหตุผล และเปนวิทยาศาสตรมากยิ่งขึ้น เมื่อผูสําเร็จการศึกษาจากสถาบันนี้มีจํานวนมากขึ้น จึงไดคิดกันวาควรจะใชคําใหมที่เหมาะสมรัดกุม จึงไดต้ังวา ทัศนศิลป ( visual art ) โดยไดมีการวิจัยทางศิลปะตามวิธีการวิทยาศาสตรเกิดขึ้น โดย รูดอลฟ อารนฮาม และ พวกมีหนังสือเปนหลักฐานรายงานการวิจัยนี้ คือ Art and Visual Perception พิมพเผยแพรครั้งแรกในป ค.ศ. 1954 ดังนั้นคํานี้จึง ไดวิวัฒนาการมานานพอสมควร โดยมีพ้ืนฐานทางจิตวิทยาการรับรู แขนงเกสตอลท ทางชีววิทยา และทางปรัชญา สายกลางระหวางวัตถุและจิต ( อารี สุทธิพันธุ .2532 : 45-46)

ทัศนศิลป ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ไดใหความหมายไววา ทัศนศิลป น. ศิลปกรรมประเภทหนึ่ง ซ่ึงแสดงออกดวยลักษณะที่เปนรูปภาพหรือรูปทรง รับรูไดดวยการเห็น และสัมผัสไดดวยการจับตอง เชน ภาพจิตรกรรม ภาพพิมพ งานประติมากรรม งานสถาปตยกรรม (ราชบัณฑิตยสถาน .2546 : 521) อารี สุทธิพันธุ กลาวถึงความหมายของทัศนศิลปไววา ทัศนศิลป หมายถึง ผลงานที่มนุษยสรางขึ้นใหเห็นเปนรูปทรงสองมิติ และสามมิติ มีเนื้อที่บริเวณวางตามปริมาณของการรับรู มีลักษณะเปนสองมิติและสามมิติ และที่สําคัญคือ มองเห็นได ( อารี สุทธิพันธุ .2532 : 47-48) และนอกจากนี้อารี สุทธิพันธุ ยังไดกลาวไววา ศิลปะที่เกี่ยวของกับการมองเห็น ศิลปะที่เกี่ยวของกับการถายทอดรูปแบบจากโลกภายนอก หรือโลกภายในดวยส่ือวัสดุตามกระบวนการรับรูบนระนาบรองรับใหมองเห็น ซ่ึงเรียกวาศิลปะที่มองเห็นหรือทัศนศิลป ( Visual art ) เปนรูปแบบที่เกิดจากการรับรูของผูสราง ( อารี สุทธิพันธุ .2543 : 96) วิรุณ ตั้งเจริญ กลาววา “ทัศนศิลป” ( visual art ) ในความหมายของงานศิลปะที่ส่ือสารดวยตา สามารถมองเห็นได หรือสัมผัสไดดวยจักษะประสาท โดยยึดถือโลก หรือวัตถุที่ประจักษไดเปนแรงกระตุนสําคัญใน การแสดงออกทางศิลปะ รวมทั้งปรากฏการณผลงานในเชิงประจักษที่รูเห็นได (วิรุณ ตั้งเจริญ.2547 : 31) พีระพงษ กุลพิศาลไดกลาวถึงความหมายของทัศนศิลปไววา หมายถึง งานศิลปะประเภทที่สัมผัสไดดวยการมองเห็น เปนศิลปะที่มีรูปรางและมีโครงสราง ศิลปะประเภทนี้มีผลงานที่สามารถมองเห็นความงามได (พีระพงษ กุลพิศาล . 2546 : 50) สุชาติ เถาทอง ไดกลาวไวดังนี้

Page 32: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

13

ทัศนศิลป หมายถึง ศิลปะที่สื่อความหมายและรับรูไดดวยการเห็น ไดแก ผลงานประเภทจิตกรรม (painting) ประติมากรรม ( sculpture) สถาปตยกรรม (architecture) ภาพพิมพ (graphic art ) เปนตน แสดงรูปดวยการ ใชความหมายหรือรองรอยที่ปรากฏเห็นได รอยเหลานี้อาจทําดวยเครื่องมือ วัสดุ และ / หรือกลวิธีใดๆ ก็ได การกินระหวางเนื้อที่ (space art) ทางกายภาพเปนคุณสมบัติเฉพาะดานทัศนศิลป ทําใหมีความตางไปจาก โสตศิลป ( audio art ) และโสตทัศนศิลป ( visual & audio art ) ซึ่งเปนศิลปะที่สื่อความหมายและรับรูได

ดวยการไดยิน หรือทั้งการไดยินและการชม (สุชาติ เถาทอง . 2545?: 19 )

บริบทของศิลปะสมัยใหม และทัศนศิลป ทัศนศิลปเกิดขึ้นโดยมีรากฐานมาจากศิลปะยุคสมัยใหม การเกิดขึ้นของยุคสังคมเมืองสมัยใหม

มีวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกระตุนความคิดในเชิงเหตุผล หรือความคิดในเชิงวิทยาศาสตร (scientific thinking) ใหเกิดขึ้น และเมื่อความคิดอยางใหมเชนนี้เกิดขึ้น ก็ยอมสงผลไปสูการเปลี่ยนแปลงสังคม การเมือง การดํารงชีวิต การแสวงหาความรู ความพึงพอใจในชีวิต ฯลฯ กอใหเกิดสังคมเมืองสมัยใหมและศิลปะสมัยใหมไปพรอมกัน( วิรุณ ตั้งเจริญ .2536 : 57)

การเกิดขึ้นของยุคสมัยใหม มีปจจัยหลายประการที่มีอิทธิพลตอการเกิดขึ้นของยุคนี้ ไดแก การปฏิวัติอุตสาหกรรมในอังกฤษ ซ่ึงเปนการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี ในชวงนี้มีการใชเครื่องจักรไอน้ํา เรือกําปน มีรถไฟเครื่องจักรไอน้ําและทางรถไฟ มีการปนดาย การทอผาดวยเครื่องจักรไอน้ํา ฯลฯ การปฏิวัติในฝรั่งเศษ ใน ค.ศ. 1789 ที่มีการเปลี่ยนแปลงหลายอยาง การปฏิวัติในฝรั่งเศษเกิดขึ้นหลายครั้ง มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองหลายครั้ง ส่ิงที่เปนสาเหตุของการปฏิวัติในป ค.ศ. 1798 เปนผลมาจากความไมพอใจของชนชั้นกลางที่ไมพอใจราชสํานักซ่ึงฟุมเฟอยในขณะที่เศรษฐกิจของประเทศในขณะนั้นกําลังย่ําแย และหลังจากการปฏิวิติหลาย ๆ คร้ัง ในที่สุดประชาชนจึงประกาศใหฝร่ังเศษ เปนสาธารณรัฐ เปาหมายสําคัญของการปฏิวัติฝร่ังเศษ คือเสรีภาพ ความเสมอภาค ยุติการปกครองแบบอัตตาธิปไตย แลวจัดการปกครองโดยประชาชนเพื่อประชาชน ในยุคสมัยใหมมนุษยมีความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตร มีการประดิษฐส่ิงตางๆ ทางดานวิทยาศาสตรและอุตสาหกรรมฟทเทอรสโตนไดใหนิยามกระบวนการกาวเขาสูยุคสมัยใหมไวดังนี้

กระบวนการกาวเขาสูยุคสมัยใหม หมายถึง ผลกระทบของการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่มีตอคานิยมและโครงสราง ทางสังคมแบบดั้งเดิม ในทางทฤษฎี กระบวนการดังกลาวประกอบดวยกระบวนการยอยหลาย ๆ กระบวนการ คือ กระบวนการกลายเปนอุตสาหกรรม กระบวนการกลายเปนเมือง กระบวนการเติบโตทางดานสังคมและ เทคโนโลยี ทุนนิยมการตลาดแบบกลไก และการเกิดของรัฐชาติ ซึ่งสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงทาง วัฒนธรรม (จันทนี เจริญศรี . 2544 : 1; อางอิงจาก Featherestone, 1988 : 201 )

Page 33: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

14

ยุคสมัยใหม ( Modern )เปนยุคที่ความรูทางวิทยาศาสตรถูกมองวาเปนความรูสูงสุด ศรัทธาวิธีการทางวิทยาศาสตร ความรูเชิงประจักษ ความมีเหตุผล แนวคิดสมัยใหมเชื่อในกระบวนการ พุทธิปญญา โดยเชื่อวาธรรมชาติมนุษยเปนผูมีเหตุผลและมีอิสระ มุษยมีความสามารถในการใชเหตุผล ความรู ความจริงตองมีฐานความรูเชิงประจักษรองรับ ความเจริญกาวหนาทางศีลธรรมและสังคมจะเกิดขึ้นไดถานําเอาทฤษฎีทางวิทยาศาสตรสังคมมาใช เปนยุคที่ถูกครอบงําโดยการผลิต ทุนนิยมอุตสาหกรรม มีผูกลาวถึงคตินิยมแนวสมัยใหมไวดังนี้

คําวา “คตินิยมแนวสมัยใหม” ไมไดเจาะจงหมายถึงแนวคิดหรือทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่งโดยเฉพาะ แตเปนคําที่ใช หมายถึ งบรรดาแนวคิ ดทฤษฎีทั้ งหลายอัน เปนผลผลิตของยุ คสว า งหรื อขบวนการพุทธิปญญา (The Enlightenment ) ในยุโรปโดยเฉพาะบรรดาอภิทฤษฎี ( Grand Theories ) และวาทกรรมเกี่ยวกับมนุษย สังคมและวัฒนธรรม ซึ่งมีอิทธิพลตอความคิดและการกระทําของมนุษยสืบมาจนถึงปจจุบัน แกนแกนของคติ นิยมแนวสมัยใหมอยูที่ การมีศรัทธามั่นคงในวิทยาศาสตร และวิธีการทางวิทยาศาสตร ( scientism) รวมทั้ง ความมีเหตุมีผล ( rationality ) แบบวิทยาศาสตรดวย คตินิยมแนวสมัยใหมเช่ือวา ความจริง / ความรูที่ถูกตอง และมีประโยชนจะตองมีลักษณะเปนความจริง / ความรูเชิงประจักษและเปนวิทยาศาสตร ในทัศนะของคตินิยม แนวสมัยใหมการมีศรัทธาในวิทยาศาสตรและวิธีการที่เปนวิทยาศาสตรจะนํามนุษยชาติไปสูความหลุดพนจาก สภาพที่ไมพึงปรารถนาทั้งหลาย ไมวาจะเปนความไมรู ความไมยุติธรรม หรือความไมเสมอภาคกันของมนุษย ก็ตาม สําหรับนักคิด คตินิยมแนวสมัยใหม ความเปลี่ยนแปลงหรือความกาวหนาจะเกิดขึ้นไดดวยการ ควบคุมธรรมชาติ และควบคุมสังคมที่เหมาะสม ( Creswell, 1998 ; Bloland, 1995 ) สถาบันตางๆ ที่ มนุษยสรางขึ้นมาในยุคปจจุบัน ไมวาจะเปนสถาบันทางการเมือง สังคม การศึกษา ฯลฯ ลวนแตเปนผลผลิตที่ ไดรับอิทธิพลจากแนวคิดและวิธีการของคตินิยมแนวสมัยใหมทั้งสิ้น (ชาย โพธิสิตา.2549 : 95)

การเกิดขึ้นของยุคสมัยใหม ที่มีการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ มากมายนี้เปนแรงผลักดันในใหมีการถายทอดออกมาในรูปแบบงานศิลปะในแขนงตางๆ ทั้งวรรณกรรม ละคร ดนตรี ทัศนศิลป ซ่ึงศิลปนเหลานั้นตองการใหทราบถึงความรูสึกความคิดเห็นของตนเอง โดยศิลปะแตละแขนงก็จะถายทอดแนวคิดซึ่งกันและกัน เชน กลุมโรแมนติกเกิดจาก เวิรดสวอรธ เขียน LYRICAL BALLADS แลวแพรหลายไปยังศิลปะแขนงอื่นๆ บีโธเฟนไดสรางผลงานเกี่ยวโยงกับบทกวีและวรรณกรรมของของกอแต และโรแมนติกก็มีในงานทัศนศิลปดวย นอกจากนี้ศิลปนยุคหลังบางก็นําแนวความคิดของศิลปนยุคกอนมาพัฒนาเพิ่มเติม หรือไมก็ไดรับอิทธิพลจาแนวคิดและเทคนิคของศิลปนรุนกอน และบางลัทธิก็เปนแนวคิดใหมๆ งานศิลปะในชวงนี้ไมใชงานศิลปะที่รับใชศาสนา แตเปนงานที่พยายาม คิดหาความแปลกใหม

Page 34: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

15

ศิลปะสมัยใหม ( Modern Art ) เปนศิลปะที่เกิดขึ้นจากเปลี่ยนแปลงของยุโรป ในหลายๆ ดาน เชน การปฏิวัติทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจในฝรั่งเศษ ความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตร ทฤษฎีทางวิทยาศาตรที่เปนแรงบันดาลใจใหศิลปนสรางสรรคผลงาน อารี สุทธิพันธุ กลาวถึงศิลปะสมัยใหมไววา ศิลปะสมัยใหมหมายถึงอะไร : ในที่นี้หมายถึง รูปทรงในบริเวณวางที่มีลักษณะตางไป จากรูปทรงที่มีมากอน แปลกกวา ใหมกวา ส่ือรูเ ร่ืองกันไดเร็วกวา เปนมิติใหมนาตื่นเตนกวา (อารี สุทธิพันธุ .2543 : 97)

ศิลปะสมัยใหมเกิดขึ้นเมื่อไหรนั้นระบุยาก เนื่องจากนักวิชาการ นักประวัติศาสตร มีความเห็นแตกตางกัน วิรุณ ตั้งเจริญ ไดกลาวถึงเรื่องนี้ไววา

การที่จะขีดเสนกําหนดวาศิลปะสมัยใหมในยุโรปเกิดขึ้นเมื่อใดอยางแนชัดตายตัวนั้นเปนเรื่องยุงยากที่จะกําหนด ลงไปได นักวิชาการหรือนักประวัติศาสตรศิลปตะวันตกก็มีเหตุผลแตกตางขัดแยงกันออกไป ซึ่งตางก็มีเหตุผล สนับสนุนความเชื่ออันเปนขอกําหนดที่แตกตางกันไปนั้น และถาพิจารณาในแงที่ศิลปะคือสวนหนึ่งของ สุนทรียศาสตร ซึ่งเปนเรื่องของเหตุผลบนพื้นฐานความเชื่อที่แตกตางกัน ความแตกตางนั้นยอมสมเหตุสมผล ดวย ถึงอยางไรก็ตาม ก็พอสรุปการถือกําเนิดของศิลปะสมัยใหม ๆ ไดอยางกวางขวางและครอบคลุมคือ ศิลปะสมัยใหมเกิดขึ้นในยุโรปโดยมีประเทศฝรั่งเศสเปนศูนยกลาง และเกิดขึ้นในชวงคริสตศตวรรษที่ 19 แต มีนักวิชาการหรือนักประวัติศาสตรบางคน ที่มองการถือกําเนิดของศิลปะสมัยใหมในยุโรป เริ่มตนมาตั้งแต กลางคริสตศตวรรษที่ 18 (วิรุณ ต้ังเจริญ .2534 : 3)

รูปแบบทางศิลปะสมัยใหม จะใหความสําคัญกับความกาวหนา ( Avant - garde) และแปลก

ใหม ( novelty ) พรอมกับมีเนื้อหาที่เนนถึงการตรวจสอบตัวเอง และตรวจสอบความเปนจริง (จันทนี เจริญศรี . 2544 : 14) สวนปรัชญาของศิลปะสมัยใหมเปนอยางไรนั้น อารี สุทธิพันธุ ไดกลาวถึงปรัชญาแนวคิด ศิลปะสมัยใหม ไวดังนี้

ปรัชญาศิลปะสมัยใหมเปนเรื่องเกี่ยวกับความรูที่แสวงหาไดจากการปฏิบัติจริง ดวยความรักและความผูกพันของผูสรางโดยตรง เปนความรูเกี่ยวกับการถายทอดรูปทรงในบริเวณวาง จากการเห็นขอบกพรองของความรูที่พบกอน แลวจึงนําเสนอหลักแหงความรูและความจริงที่แสวงหาไดนั้น (อารี สุทธิพันธุ .2543 : 93)

ในปลายศตวรรษที่ 19 ซ่ึงมีความกาวหนาทางวิทยาศาตร มีการประดิษฐส่ิงตางๆ ทางดานวิทยาศาสตรและอุตสาหกรรม งานสถาปตยกรรมมีความกาวหนา มีการเริ่มใชเหล็กและกระจกเปนสวนประกอบสําคัญทางสถาปตยกรรม มีการสรางหอไอเฟลที่ทําดวยเหล็กลวนๆ เร่ิมมีการนําคอนกรีตเสริมเหล็กมาใชกันอยางกวางขวาง มีการคิดกลองถายรูปไดทําใหการเขียนภาพเหมือนลดสําคัญลง

Page 35: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

16

ความเจริญกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรทําใหศิลปนมีส่ิงที่นํามาเปนเทคนิคในการสรางสรรคงานมากขึ้น หรือไม ทฤษฎีทางวิทยาศาตรก็เปนแรงบันดาลใจในการสรางงาน

กําจร สุนพงษศรี ไดกลาวถึงความเคลื่อนไหวทางดานศิลปะวัฒนธรรมในปลายครสิตศตวรรษที่ 19 ไวดังนี ้

ศิลปกรรมทุก ๆ สาขา มีความเคลื่อนไหวในทางกาวหนาอยางมาก พอจะสรุปไดกวางๆ ดังนี้ คือ วรรณกรรม กวีและนักประพันธที่สําคัญมาก คือ ชารลส ปแอร โบเดอแลร ,ออโนเร เดอ บัลซัค , กุสตาฟ โฟลแบรต ,อีมิล โซลา ฯลฯ พวกเขาทําใหวงการวรรณกรรมพัฒนากาวไปขางหนาทั้งรูปแบบและ เนื้อหา ซึ่งมีอิทธิพลตอความคิดของประชาชนและผูปกครองรัฐ ดนตร ี นักดนตรีที่นับวามีความสําคัญมาก คือ เบลิอ็อซ เขานําเอาความคิดเทคนิคและการแสดงใหม ๆ ออกมาสูวงการดนตรี นอกจากนี้ บิเซต ไดสรางคีตนิพนธเรื่องคารเมน โดยเปดแสดงที่โรงละครโอเปรา โค มิค เมื่อวันที่ 3 มีนาคม ค.ศ. 1875 และประสบความสําเร็จอยางสูง เปนการเปดยุคใหมใหแกการดนตรี และการละครของฝรั่งเศส นักดนตรีและคีตกรคนสําคัญในยุคนี้ยังมีอีกหลายทาน เชน อาชีลล โคลด เดอบุส ซี ,โมรีซ ราเวล ,เฟรดเดอริค ดีลิอัส ฯลฯ สถาปตยกรรม เนื่องจากความกาวหนาทางดานการประดิษฐรวมทั้งความกาวหนาทางวิชาการดาน วิทยาศาสตรและอุตสาหกรรมนี่เอง ทําใหเกิดอาชีพใหมพิเศษโดยเฉพาะขึ้น คือ อาชีพวิศวกรรม ซึ่งแตเดิมอยู ในศาสตรเดียวกับสถาปตยกรรม ทวาปจจุบันแยกไปจากงานของสถาปนิกโดยเด็ดขาด สวนความเคลื่อนไหว ทางดานสถาปตยกรรมในปลายคริสตศตวรรษที่ 19 ในฝรั่งเศส ที่เดนก็มีสถาปนิก เฮาสมันน ไดดําเนินการ ปรับปรุงปารีสขึ้นใหม โดยใชรูปแบบการกอสรางอาคารของพระเจาหลุยส นโปเลียนที่ 3 ที่ทรงกําหนดขึ้น เฮาสมันนใหความสนใจในการวางผังถนนหนทางมากกวาการกอสรางอาคาร ซึ่งยังคงมีรูปแบบสวนใหญไม กาวหนา ยังคงยึดหลักการแบบเกาอยู ถึงกระนั้นมีสิ่งที่นาสนใจในการกอสรางหลายอยางเกิดขึ้น พอจะกลาว ใหเห็นได เชน เริ่มใชเหล็กและกระจกเปนสวนประกอบสําคัญทางสถาปตยกรรม กลาวคือ : ในป ค.ศ. 1833 เดอ เฟลอรี สรางอาคารแกวสําหรับเพาะปลูกเลี้ยงตนไมที่สวนพฤกชาติ ชาแดง เดส ปลองตส ,ฮิททรอฟฟ ไดออกแบบ ปาเลส เดอ แลงดุสตรี ขึ้น และอเล็กซอง กุลตาฟ ไอเฟล วิศวกรและสถาปนิกชาวฝรั่งเศส ซึ่ง เคยสรางสะพานไวหลายแหง เกิดความสนใจวาวิศวกรรมและสถาปตยกรรมควรนํามาใชรวมกัน ( ตอมา ความคิดนี้กลายเปนพื้นฐานสําคัญในการกอสรางของยุคปจจุบัน ) ดังนั้น ในงานแสดงนิทรรศการนานาชาติ ที่กรุงปารีสเมื่อป ค.ศ.1889 ไอเฟลไดออกแบบและกอสรางหอคอยสูงไอเฟลทําดวยเหล็กลวนขึ้นเพื่อเปน สัญลักษณของงาน ถือกันวาเปนสิ่งกอสรางสมัยใหมช้ินแรกของโลกชิ้นหนึ่ง การปฏิวัติทางสถาปตยกรรมที่ สําคัญมากถัดมาอีกอยางหนึ่งก็คือ เริ่มมีการนําระบบคอนกรีตเสริมเหล็กมาใชกันอยางกวางขวาง แมวาเมื่อราว ป ค.ศ. 1849 โจเซฟ มองนิแอร ชางจัดสวนชาวฝรั่งเศส ไดทดลองเอาคอนกรีตเสริมเหล็กมาทําเปนโครงของ ตนไมกอนแลวก็ตาม ความคิดนี้เปนแรงดลใจแกสถาปนิกหลายคน ถัดจากนั้นมาในป ค.ศ. 1852 เดอ กัวเนต ไดนําวิธีการคอนกรีตเสริมเหล็กสรางบานหลังหนึ่งที่แซงต เดอนีส ค.ศ. 1897 สถาปนิกเฮ็นบิค และ เดอ โบโด ไดนํากรรมวิธีนี้มาสรางโบสถที่แซง จอง เดอ มองมาตร เปนผลสําเร็จอยางงดงาม ทําใหคอนกรีตเสริม เหล็กเปนที่ยอมรับกันอยางแพรหลายวาเปนหัวใจของการกอสรางมาจนถึงทุกวันนี้

ประติมากรรม เปนประเพณีที่ทางราชการของฝรั่งเศสจะตองจางประติมากรตกแตงอาคารสําคัญของทา

Page 36: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

17

ราชการ ประติมากรผูมีช่ือเสียงมากในยุคนี้ก็คือ คารโปส ถือกันวาเปนประติมากรคนสําคัญที่สุดของจักรวรรดิ ครั้งที่สอง ทานผูนี้เปนศิษยของฟรังซัว รูด ลักษณะงานประติมากรรมโดยทั่วไปยังคงเปนแนวแบบเหมือน จริงอยู

จิตรกรรม การเปลี่ยนแปลงในวงการจิตรกรรมเกิดขึ้นดวยสาเหตุหลายประการ คือ ในป ค.ศ. 1839 ไดมี การคิดคนประดิษฐกลองถายรูปขึ้นโดยชาวฝรั่งเศสชื่อ ดาแกร ตอมาชาวอังกฤษอีกคนหนึ่งช่ือ ฟอกซ แท ลบอต นํามาปรับปรุงใหดีขึ้น จากสิ่งประดิษฐช้ินนี้ ทําใหการวาดรูปเหมือนเริ่มเสื่อมความนิยมลง พรอมกัน นั้นจิตรกรหันเหความนิยมจากการวาดภาพตามคติแบบเกาที่ชอบยึดเรื่องราวเปนหัวใจของงาน อาทิ เชน ถือกัน วาถาวาดภาพเกี่ยวกับทางดานประวัติศาสตร จะถูกยกยองใหเกียรติวามีคุณคาทางศิลปะเหนือกวาการวาดภาพ ทิวทัศนหรือภาพหุนนิ่ง เปนตน จิตรกรหันเหจากทัศนคติเดิมที่เคยยึดถือดังกลาว ไปสนใจสภาพความจริงจาก ธรรมชาติและสังคมมากขึ้น พวกเขาตองการสรางงานจากสิ่งซึ่งปรากฎขึ้นในจักษุประสาทจริง ๆ มากกวาความ ฝนเอาเอง ( กําจร สุนพงษศรี . 2523 : 11-13 )

ปลายศตวรรษที่ 19 ก็ไดเกิดลัทธอิมเพรสชันนิสม ซ่ึงเปนผลมาจากการพัฒนาของศิลปะในยุคกอนคือ นีโอคลาสสิก โรแมนติก สัจนิยม และลัทธิอิมเพรสชันนิสมก็เปนลัทธิที่ไดรับอิทธิพลจากวิทยาศาสตร มีการนําทฤษฎีของเซฟเริลและเรื่องบรรยากาศของโคลด เบอรนารด มาสรางผลงาน โดยพยายามจับแสงสีในอากาศใหไดสภาพของกาลเวลา บรรยากาศในขณะนั้น มีการระบายสีอยางรวดเร็วฉับพลัน นอกจากนี้ศิลปะลัทธินี้ยังไดรับอิทธิพลจากศิลปนกลุมบารบิซงซึ่งออกไปวาดภาพจากของจริงที่ตองการโดยตรง ลัทธินีโอ – อิมเพรสชันนิสม เปนลัทธิที่ไดรับอิทธิพลจากลัทธิอิมเพรสชันนิสม โดยที่ศิลปนกลุมนี้คิดวางานของอิมเพรสชันนิสมยังไมสมบูรณ ในเรื่องรูปทรงปญหาระยะสามมิติ จึงไดคิดพัฒนาเทคนิคขึ้นโดยแตมสีสะอาดบริสุทธิ์เปนจุดลงบนภาพ สวนลัทธิโพสต – อิมเพรสชันนิสมนั้นแตละคนสรางงานอยางอิสระ สาเหตุที่เรียกวาโพสต – อิมเพรสชันนิสม เพราะเกิดหลังอิมเพรสชันนิสม ศิลปนลัทธิโพสตอิมเพรสชันนิสมมีความสนใจที่คลายคลึงกัน เชน การคนหาและเนนความสําคัญของรูปทรง

ชวงปลายศตวรรษที่ 19 ผูคนในยุโรปนิยมศิลปะตกแตง อารต นูโวมาก โดยจะพบเห็นในงานตกแตงภายใน สถาปตยกรรม เครื่องใชไมสอย มีการออกแบบใหโคง ดูออนหวานสะพัดพล้ิว งานประติมากรรมในชวงนี้ไมกาวหนานัก แตก็มีบางที่ศิลปนบางคนไดพัฒนางานประติมากรรม เชนงานของโดมิแอรที่เปนการลอเลียนสังคม งานของออกุสต โรแดง ที่เชื่อมโยงลัทธิเรียลริสมกับอิมเพรสชันนิสมเขาดวยกัน ในชวงปลายศตวรรษที่ 19 นอกจากศิลปนจะสรางสรรคงานใหเกิดสิ่งใหมๆ หรือไดรับอิทธิพลจากศิลปะในยุโรปดวยกันเองแลว ยังมีการรับอิทธิพลจากภาพพิมพของญี่ปุนดวย เชนงานของลัทธินะบีสม ซ่ึงนะบีสมก็ไดรับอิทธิพลมาจากฟานโกะ และโกแก็ง ที่มีความสนใจภาพพิมพญ่ีปุน

Page 37: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

18

ตนศตวรรษที่ 20 ซ่ึงขณะนั้นวิทยาศาสตรก็เจริญขึ้นเรื่อยๆ การสรางงานของศิลปนก็พยายามจะใหแปลกออกไปจากแนวเดิม ไดเกิดลัทธิใหมขึ้นมาหลายๆลัทธิในชวงเวลาที่พรอมๆกัน หรือใกลเคียงกัน เชนลัทธิโฟวิสม ในฝรั่งเศษ ลัทธิเอ็กซเพรสชันนิสมในเยอรมนี ลัทธิคิวบีสมที่เกิดขึ้นครั้งแรกที่ปารีส ลัทธิฟวเจอรริสในอิตาลี ลัทธิวอรติคซีสมในอังกฤษ ลัทธินามธรรม ลัทธิซุพรีมาตีส ลัทธิคอนสตรัคติวิสม ลัทธิรายองนิสมซ่ึงเกิดในรัสเซีย

ลัทธิบางลัทธิเมื่อเกิดขึ้นแลวก็เผยแพรไปยังประเทศอื่น มีอิทธิพลตอลัทธิอ่ืนมาก เชน ลัทธิคิวบีสมซ่ึงกอใหเกิดพัฒนาการและวิวัฒนาการที่สําคัญของศิลปะในศตวรรษที่ 20 ไมวาจะเปนดาน สถาปตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม และถือเปนจุดเริ่มตนของศิลปะลัทธินามธรรม และศิลปะที่มีวิธีการนําเสนเรขาคณิตมาใชในการสรางสรรคงาน

ลัทธิฟวเจอร ซ่ึงเกิดในอิตาลี เปนลัทธิหนึ่งที่มีความนาสนใจ เพราะอิตาลี มีความรุงเรื่องทางดานศิลปะมากนาน โดยเฉพาะศิลปะหลักวิชา ที่นําความรูจากสมัยกรีกมาใช ในชวงยุคสมัย Renaissance จึงทําใหประเทศอิตาลี มีการพัฒนาเกี่ยวศิลปะในสมัยใหมชากวาประเทศอื่นๆ อาจเปนเพราะวาประชาชนในประเทศอิตาลียังมีความภาคภูมิใจกับศิลปะในยุค Renaissance อยู ทําใหไมมีการพัฒนาศิลปะสมัยใหม จนเมื่อกวีชาวอิตาเลียน ไดเสนอแนวคิดใหมที่ ความงามอยูที่ความเร็ว วิทยาศาสตร และเทคนิคตางๆ แนวคิดนี้ตอตานศิลปะตามแบบฉบับของพวกคลาสสิกโบราณอยางรุนแรง ถึงขนาดเสนอใหเผาพิพิธภัณฑ

ลัทธินามธรรมซึ่งเกิดในรุสเซียก็เปนลัทธิที่มีความนาสนใจ เพราะเปนการตอตานการเขียนภาพที่เลียนแบบธรรมชาติที่มีมานาน มีศิลปนหลายคนที่พยายามคนหาสิ่งที่เรามองไมเห็น เชนเสียงดนตรี ส่ิงตางๆที่เราไมสามารถมองเห็นดวยตาเปลาซึ่งสามารถมองไดจากกลองจุลทรรศน ซ่ึงลัทธินี้ก็ไดมีอิทธิพลตอลัทธิอ่ืนที่ไมสรางงานตามแบบรูปทรงธรรมชาติ

แนวคิดของกลุมเกสตัลท ที่เปนแนวหนึ่งที่นําไปสูคําวา “ Visual art” หรือ ทัศนศิลปในภาษาไทย กลุมเกสตัลทนี้เร่ิมกอตั้งในประเทศเยอรมัน ราวป ค.ศ. 1912 ( กมลรัตน หลาสุวงษ . 2528 : 31) วิรุณ ตั้งเจริญกลาวไวดังนี้

ความเปนมาของทฤษฎี เกสตอลท เริ่ มขึ้นตอนทศวรรษ 1890 เมื่อคริส เตียน ฟอนเอียแรนเฟลส ( Christian von Ehrenfels ) กลาววา การซาบซึ้งลีลาดนตรีมิใชดวยเสียงอยางโดดเดี่ยว แตเกิดจากการผสาน เสียงเหลานั้นในแนวทางใดทางหนึ่ง ถาโนตในระดับเสียงเดียวกันแสดงออกมาดวยจังหวะที่แตกตางกันยอมมี ผลตางกัน ซึ่งก็เชนกัน ดวยลีลาเดียวกัน เมื่อแสดงในคียที่ตางกัน เรายอมรูไดวาโนตแตกตางกันในระดบัเสียง พ้ืนฐาน แวรไธเมอร โคเลอร คอฟฟคา ไดพัฒนาแนวคิดของเกสตอลทออกไปอยางกวางขวาง ( วิรุณ ต้ังเจริญ . 2547 : 132-133 )

Page 38: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

19

เกสตัลท เปนคําศัพทในภาษาเยอรมันมีความหมายวา “แบบแผน หรือรูปราง” (form or pattern ) ซ่ึงในความหมายของทฤษฎี หมายถึง “สวนรวม” ( wholeness) แนวความคิดหลักของทฤษฎีนี้ก็คือ สวนรวมมิใชเปนเพียงผลรวมของสวนยอย สวนรวมเปนสิ่งที่มากกวาผลรวมของสวนยอย ( the whole is more then the sum of the parts) ( ทิศนา แขมมณี . 2550 : 60 )

การเกิดขึ้นของ “เบาเฮาส” ซ่ึงมีความหมายวา “การสรางบาน” ...สถาบันเบาเฮาสกอตั้งขึ้นที่เมืองไวมาร ( Weimar ) ในประเทศเยอรมนี ค.ศ.1919 โดยวอลเทอร โกรปอุส ( Walter Gropius ) ( วิรุณ ตั้งเจริญ .2545 : 117) กําจร สุนพงษศรี กลาวไววา กอนเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 สถาปนิกชาวเบลเยียมชื่อ อังรี ฟาน เดอ เวลเด เปนผูอํานวยการสถาบันศิลปะแหงเมืองไวมาร กอนที่จะลาออกจากตําแหนงนี้เขาไดทําหนังสือรับรองเสนอชื่อ วัลเธอร โกรปอุส สถาปนิกคนสําคัญของเยอรมันใหเปนผูรับตําแหนงสืบแทนตอจากเขา ในป ค.ศ. 1919 ...โกรปอุสนําโรงเรียนเกาซึ่งมีอยูสองแหงผนวกเขาดวยกัน ใชช่ือใหมวา ดาส สตัทสิเช เบาเฮาส ไวมาร ( Das Staatliche Bauhaus Weimar ) (กําจร สุนพงษศรี . 2523 ; 210) สถาบันเฮาสสอนเกี่ยวกับ สถาปตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม มัณฑนศิลป การออกแบบ การแสดงละครหรือภาพยนตร เครื่องปนดินเผา โลหะ ผา ภาพพิมพ โดยยึดหลักเรื่องผลประโยชนหนาที่ใชสอย ควบคูไปกับการสรางสรรคความงาม การออกแบบที่สอนในสถาบันเฮาสนาจะเกิดขึ้นเพราะความรุงเรื่องทางดานอุตสาหกรรม ซ่ึงตองการนําชิ้นงานมาใชประโยชนและผลิตในจํานวนมากการออกแบบจึงมีความจําเปนเพื่อความเหมาะสมในการเลือกใชวัสดุและความสวยงามของชิ้นงาน กําจร สุนพงษศรี ไดกลาวถึงสถาบันเบาเฮาส ( The Bauhaus ) ไววา ถาจะกลาวถึงสถาบันที่ผลิตศิลปนอยางมีหลักสูตรการสอน และนโยบายกาวหนามากที่สุดในยุคแรกแหงการบุกเบิกของศิลปะสมัยใหมแลว สถาบันเบาเฮาสนับวาเดนมากที่สุด (กําจร สุนพงษศรี . 2523 ; 210) สถาบันเบาเฮาส ยายไปสูเมืองเดสสเซา ( Dessau ) ในป ค.ศ. 1925 ดําเนินการสอนทางดานการออกแบบอยูจนถึง ค.ศ. 1933 หลังจากนั้น สถาบันก็ถูกปดโดยรัฐบาลนาซี ( วิรุณ ตั้งเจริญ .2545 : 117) กําจร สุนพงษศรี ไดกลาวถึงวิธีสอน แนวการสอน และหลักสูตร ของสถาบันเบาเฮาสไวดังนี้คือ

วิธีสอนนั้น โกรปอุสมีความเห็นคลอยตามหลักของวิลเลียม มอรริส ที่แนะใหนําเครื่องจักรกลมาใชในการผลิตจากแบบซึ่งไดรับการออกแบบมาอยางดี แตเครื่องจักรจะตองเปนเพียงเครื่องมือสนองตอบเจตจํานงของผูออกแบบ ...นักศึกษาทุกคนจะตองเปนนักออกแบบกับชางฝมือผสมกันไมใชเปนเพียงนักออกแบบบนโตะเขียนแบบ

ทางดานแนวการสอน เบาเฮาสไมพยายามสรางกฎเกณฑหรือตีวงจํากัดขอบเขตนักศึกษา เปาหมายสําคัญ คือ พยายามสงเสริมใหนักศึกษาบังเกิดความเขาใจถึงความตองการของสังคมปจจุบัน, พัฒนาจินตนาการในทาง สรางสรรค และความมีประสิทธิภาพในการทํางานพรอมทั้งมีเทคนิคและความรูทางชางอยางดี ดังนั้นหลักสูตร การสอนจึงเปนการผสมผสานกันระหวางการฝกฝนฝมือ , การรูจักใชเครื่องจักรและเพิ่มพูนพุทธิปญญาควบคู กันไป ทั้งหมดอยูบนหลักปรัชญาการศึกษาที่วา “ การเรียนรูโดยการปฏิบัติ”

Page 39: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

20

หลักสูตรกลาวโดยกวาง ๆ หลักสูตรในการศึกษาของเบาเฮาสมีสองแนว แนวหนึ่งอุทิศใหแกการศึกษาวัตถุ และการชาง แนวที่สองเปนเรื่องการศึกษาในทฤษฎีตาง ๆ ของรูปทรง การออกแบบ และดานความรูที่ใช ทั่วไปในสังคม นักศึกษาใหมจะไดรับการสั่งสอนโดยอาจารยสองคน คนหนึ่งเปนศิลปนและอีกคนหนึ่งเปน ชางฝมือ เหตุที่ทําเชนนี้เพราะวา เปนการยากลําบากในระยะแรกที่จะหาอาจารยผูมีคุณสมบัติครบถวนทั้งสอง ประการอยูในตัวคนเดียวกัน อาจารยทั้งสองทําการสอนรวมกันอยางใกลชิดมีการสอนวิชาการเบื้องตนใชเวลา 6 เดือน นักศึกษาจะตองเรียนรูและคุนเคยกับวัตถุนานาชนิด เชน หิน ไม โลหะ ดินเหนียว แกว สีและผา เปนตน พรอมกันนี้นักศึกษาจะไดรับการสอนทฤษฎีเบื้องตนของรูปทรง จุดประสงคของการทํางานและการ คนควาในวัสดุตางๆ เพื่อใหมีทัศนคติที่ถูกตองตอการสรางสรรคงานใหตรงตอคุณสมบัติของวัตถุ

หลังจากที่สถาบันปด สมาชิกสวนใหญก็อพยพไปอยูสหรัฐอเมริกา และที่นั่น พวกเขาไดมี

โอกาสขยายปรัชญา ความเชื่อทางดานการออกแบบอยางกวางขวาง ที่สถาบันการออกแบบแหงชิกาโก ( Institute of Design) ซ่ึงปจจุบันคือ สถาบันเทคโนโลยีแหงอิลลินอยส ( Illinois Institute of Technology )( วิรุณ ตั้งเจริญ .2545 : 117)

สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้นในป ค.ศ. 1914-1918 มาจากสาเหตุความขัดแยงของประเทศในยุโรปที่ขัดแยงกันมานาน การปฏิวัติอุตสาหกรรมในอักฤษ การคิดประดิษฐทางวิทยาศาสตรที่มีความเจริญมากขึ้นทําใหประเทศตางๆมีความเจริญดานอุสาหกรรมมากขึ้น การปฏิวัติอุตสาหกรรมในประเทศตางๆก็ตามมา เมื่ออุตสาหกรรมเจริญประเทศเหลานี้ก็ตองการทรัพยากรที่จะนํามาเปนวัตถุดิบในอุตาหกรรม ทําใหมีการลาอาณานิคมไปทั่วโลก ประเทศตางๆในยุโรปตางก็ตองการดินแดนที่เปนอาณานิคม การแยงชิงความเปนมหาอํานาจทางทะเลระหวางอังกฤษและเยอรมัน ซ่ึงเดิมอังกฤษเปนมหาอํานาจทางทะเลในสมัยของนโปเลียนของฝรั่งเศษเมื่อตนศตวรรษที่ 19 ก็แพกองทัพเรือของอังกฤษ แตเมื่อเยอรมันมีความเจริญขึ้นทําใหมีแสนยานุภาพทางทะเล จึงแยงความเปนใหญกัน จากปญหาตางๆเหลานี้ทําใหเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1

หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ส้ินสุดซึ่งฝายเยอรมันเปนฝายแพ หลังสงครามสังคมยุโรปเต็มไปดวยคนไมมีบานที่จะอยู ไมมีขาวจะกิน บานแตกสาแหรกขาด ความเสื่อมโทรมทางดานวัตถุและจิตใจ ที่เมื่องซูริค ประเทศสวิสเซอรแลนดเปนที่รวมของปญญาชน กวี ศิลปนก็ไดแสดงออกในทางแดกดัน เยาะเยอ ถากถาง คอนขางมองโลกในแงราย ทําใหเกิดลัทธิ ดา ดา ลัทธินี้ไดรับอิทธิพลมาจากฟวเจอรริสม ในเรื่องความรวดเร็วและเครื่องจักรกล แตการแสดงออกของ ดา ดา ชอบการประชดประชันถากถาง และดูถูกเหยียดหยามเรื่องของศิลธรรม

ลัทธิเซอเรียลลิสม ซ่ึงไดรับอิทธิพลจากทฤษฎีของซิมันฟรอยด มีหลักการวา “จินตนาการเปนสวนสําคัญของการแสดงออก และจินตนาการนี้คือจิตไรสํานึกนั้นเอง จิตไรสํานึกเปนความฝนที่มีขบวนการตอเนื่องกัน ซ่ึงชวยนําไปสูการสรางสรรคทางศิลปะได ส่ิงที่เราฝนเห็นจากโลกภายนอกทุกวันขณะตื่น เปนเพียงปรากฏการณที่แทรกแซงเทานั้น “ เซอเรียลลิสม มีความฝนและอารมณ

Page 40: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

21

จินตนาการคอนขางโนมเอียงไปทางกามวิสัย ผูนําของกลุมคือ อังเดร เบรตอง เคยศึกษาแพทยมากอนจึงนําเอาทฤษฎีของซิกมัน ฟรอยด จิตแพทยชาวเวียนนา ประเทศออสเตรีย มาใชในงานศิลปะ ฟรอยไดแบงจิตใจของมนุษยออกเปน 3 สวน คือ จิตสํานึก ( Conscious) หมายถึงสวนจิตใจที่แสดงออกโดยการรูตัวตลอดเวลา จิตใตสํานึก ( Subconscious) หมายถึงสวนของจิตใจที่มิไดแสดงออกเปนพฤติกรรมในขณะนั้น แตเปนสวนที่รูตว สามารถดึงออกมาใชไดทุกเมี่อที่ตองการ จิตไรสํานึก ( Unconscious ) หมายถึง สวนของจิตใจที่มิไดจงใจที่จะแสดงพฤติกรรมออกมา แตเปนพฤติกรรมที่ออกมาโดยเราไมสามารถบังคับได หรือไมรูวามันจะออกมาเมื่อใด อยางไรก็ตามการนํานําเอาทฤฎีของฟรอยมาใชในงานศิลปะ เกิดขึ้นหลังจากเกิดทฤษฎีของฟรอยแลวหลายป

หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ไดมีนิตรสารศิลปะชื่อ เดอ สไตส ซ่ึงเปนกระบอกเสียงใหลัทธิ นีโอ – พลาสติซิสม โดยมีมงเดรียงและดุยสเบิรกเปนผูนํา ลัทธินีโอ – พลาสติซิสม เปนศิลปะแบบนามธรรมที่ใชเสนเรขาคณิตเปนหลัก ซ่ึงไดรับอิทธิพลจากลัทธิคิวบิสม

ในชวงศตวรรษที่ 20 สัทธิหนึ่งที่นาสนใจคีอลัทธิ สัจธรรมสังคมนิยม หรือ ลัทธิโซเชียลลิสต เรียลลิสม ที่ไดรับอิทธิพลจากทฤษฎีของคารล มารกซ และ เฟรดริก เองเกล คารล มารกซ เปนนักทฤษฎีความขัดแยงชาวเยอรมัน สาระสําคัญของทฤษฎีเขาก็คือ เขาปฏิเสธศาสนาที่ปลูกฝงในเรื่องพระเจา เพราะทําใหมนุษยหางไกลความเปนตนเอง โดยกลาววา “ศาสนา คือ ยาเสพติดของประชาชน” “รัฐเกิดจากมนุษยไมใชรัฐสรางมนุษย” “มนุษยเปนผูสรางศาสนาไมใชศาสนาเปนผูสรางมนุษย” จิตรกรคนสําคัญของลัทธิโซเชียลลิสต เรียลลิสม คือ กุตตูโซ ชาวอิตาเลียน เขามีความคิดทางการเมืองคือตอตานคัดคานคตินิยมของพวกฟสซิสต ซ่ึงใหการสนับสนุนอยางมากแกพวกศิลปนในอุดมคติ นีโอ – คลาสสิก กุตตูโซตอตานวงการศาสนาคริสตอยางรุนแรง และเปนผูนําในการสรางงานศิลปะคัดคานการสังหารหมูของพวกฟสซิสต

ตั้งแตการปฏิวัติในอเมริกา ค.ศ. 1776 จนถึงชวงปลายศตวรรษที่ 19 สหรัฐอเมริกายังไมไดพัฒนาศิลปะมากนัก ในขณะที่ ปลายศตวรรษที่ 19 ศิลปะในยุโรปก็พัฒนามาก ในชวงตนศตวรรษที่ 20 ในอเมริกาและยุโรป ก็มีลัทธิแอ็บสแตรกท เอ็กซเพรสชันนิสม ซ่ึงเกิดจากการผสมผสานระหวาง คิลปะนามธรรม กับลัทธิเอ็กซเพรสชันนิสม ลัทธิแอ็บสแตรกท เอ็กซเพรสชันนิสม พัฒนามาจากผลงานของแคนดินสกี้ และเพิ่มเติมจากสิ่งที่ แคนดินสกี้ไมไดกลาวถึง เชน หลัก “อัตโนมัติ” ของพวกเซอเรียลลิสม ซ่ึงกลาวถึงการเกิดขึ้นโดยฉับพลันของจิตไรสํานึก, การนึกฝน, การสังเกต จากเหตุการที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญ พวกเขาปฏิเสธการสรางงานที่มีการไตรตรองไวลวงหนา การทํางานของพวกเขาเปนการบันทึกโดยอัตโนมัติของวิญญาณตอมิติตางๆ จากวิธีการ เท ราด สลัด ขวาง หรือ หยดสีลงบนผาใบ เมื่ออยูในยุโรปผูทํางานตามอุดมการณนี้มีช่ือเรียกวา ทาชีสม

หลังมีงานศิลปะลัทธิแอ็บสแตรกท เอ็กซเพรสชันนิสม ก็มีแนวคิดที่ตอตานศิลปะแนวนี้ อาจจะเนื่องมาจากการทําสิ่งใดที่มีลักษณะคลายกันนานจะทําใหเกิดการเบื่อหนาย จึงมีแนวคิดใหม ที่

Page 41: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

22

จะไมสนใจความเปนปจเจกชนทางศิลปะ และหันไปนิยมศิลปะสัจนิยมแนวใหมที่ตองการสะทอนถึงความคิดของคนในสังคม คตินิยมดาดาไดรับการฟนฟูขึ้นมา ในชวงนี้มีความสนใจเกี่ยวของกับสายตา ศิลปะบางลัทธิวาดภาพที่มีรูปทรงดูรูเร่ืองขึ้น

พ็อพ อารต เปนศิลปะที่มีการนําเทคนิคในการปะปด เสริมแตงเติม การระบายสีที่ชอบตัดเสนใหคมกริบ มีการใชสีฉูดฉาดบาดตา ใชเทคนิคทางวิทยาศาสตรสมัยใหมเขาชวย เชนใชภาพถาย นําระบบการพิมพของภาพโฆษณาหรือการตูนมาใช ซ่ึงในสหรัฐอเมริกาเปนจุดสําคัญที่มีการเคลื่อนไหว การที่ศิลปนนําวัสดุตางที่มีในชีวิตประจําวันมาสรางเปนผลงานศิลปะ ส่ิงหนึ่งที่สะทอนออกมาก็คือสังคมในขณะนั้นมีความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี และสิ่งที่นํามาสรางงานนี้ก็คือผลจากความเจริญกาวหนานั้น และชวงนั้นก็มี ลัทธิ นิว เรียลลิสม เปนศิลปะที่ตอตาน พ็อพ อารต โดยมีจุดประสงคเพื่อพิทักษรักษาศิลปะของสํานักปารีส ลัทธิแฮพเพนนิง เปนการคิดถึงปญหาความเปนเอกภาพทั้งหมดระหวางศิลปะและชีวิต กรแสดงงานของพวกแฮพเพ็นนิงอาจเกิดขึ้นไดดวยวิธีการหลายอยาง บางครั้งมีเร่ืองของเสียงและกลิ่นเขามากเกี่ยวของดวย กลุมแอซเซมเบล็จและรีลีฟส เปนศิลปะท่ีนําวิธีการนําชิ้นสวนตางๆของวัสดุหลายส่ิงหลายอยางมาผสมรวมกันสรางใหเกิดงานชิ้นใหมเปนงานชิ้นเดียว คลายเปนประติมากรรมมีการระบายสีเหมือนงานจิตรกรรม เปนการออกแบบ สามมิติคือมีการกินที่วางในอากาศ นิว ฟกยุเรชัน เปนศิลปะที่แสดงรูปทรงที่บิดเบี้ยวดูตลก และสอเสียดทางอารมณ ซ่ึงแสดงใหเห็นความขัดแยงของตัวศิลปนกับโลก นักวิจารณบางคนเรียกอารมณของศิลปนเหลานี้วา “ตลกนากลัว” อ็อพ อารต เปนศิลปะที่มีอุดมคติอยูบนพื้นฐานในงานมีผลตอดวงตา คือชักนําใหผูชมเห็นภาพที่ลวงตา กระตุนใหเกิดปฏิกริยาบนชองตาดําของดวงตา ทําใหเกิดความรูสึกเสมือนวา พรานัยนตาหรือเคลื่อนไหวได ( จีรพันธ สมประสงค .2533: 122) ไคเนติด อารต เปนการเรียกศิลปะที่มีความเกี่ยวของกับเรื่องความเคลื่อนไหวในวิชาฟสิกสและเคมีวิทยา ผลงานของอ็อพ อารต และ โมบิล อารตก็อยูในขางของไคเนติค อารต กลุมนิว เทนเดนซี เปนกลุมที่มีความเคลื่อนไหวของศิลปนที่มีอุดมการประสานระหวางศิลปะและวิทยาศาสตรนานาชาติ กลุมฮารด เอดจ เปนรูปแบบการพัฒนาของอ็อพ อารต อยางหนึ่งที่เนนรูปงายๆ ระบายสีใหเรียบ กลุมโคมาติค เพนติง เปนการสรางงานขึ้นดวยวิธีการระบายแตมเปนจุดสีเล็กๆ หรือคอยๆแตะแตมสีเปนรอยพูกันลากยาวสานสลับซับซอนกัน กลุมสคลิบบึล และกราฟฟติ เปนกลุมที่ทํางานโดยการลากเสนโดยปราศจากการระมัดระวัง มินิมอล อารต เปนกลุมที่สนใจโครงสรางดังเดิมเบื้องตน หรือตัวอักษร A B C อันเปนบอเกิดของศัพททั้งมวล

Page 42: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

23

ประเภทของศิลปะแบงตามการรับรู ทัศนศิลปเปนศิลปะที่ความหมายในตัวเองเปนศิลปะที่เกิดขึ้นในบริบทของศิลปะสมัยใหม มี

ความสัมพันธกับการรับรู ในทฤษฎีทางวิทยาศาสตร มีความสัมพันธกับปรัชญาประจักษนิยม ชลูด นิ่มเสมอ ไดแบงศิลปะตามลักษณะของการรับสัมผัสออกไดเปน 3 สาขา คือ

1. ทัศนศิลป (Visual Art) เปนศิลปะที่รับสัมผัสดวยการเห็น ไดแก จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ และ สถาปตยกรรม 2. โสตศิลป ( Aural Arts) เปนศิลปะที่รับผัสดวยการฟง ไดแก ดนตรี และ วรรณกรรม (ผานการอานหรือ รอง) 3. โสตทัศนศิลป (Audio Visual Art) เปนศิลปะที่รับสัมผัสดวยการฟงและการเห็นพรอมกัน ไดแก นาฎกรรม การแสดง ภาพยนตร ซึ่งเปนการผสมกันของวรรณกรรม ดนตรี และทัศนศิลป บางแหงเรียกศิลปะสาขานี้วา ศิลปะผสม (Mixed Art) ( ชลูด นิ่มเสมอ .2534 : 4 )

ชาญณรงค พรรุงโรจน ไดกลาวถึงประเภทของศิลปะตามการรับรูไวดงันี้ ถาแบงประเภทตามตัวอยางการรับรูของ ASEAN ที่กําหนดกลุมงานดานศิลปะเปน 3 ดาน ไดแก 1. ทัศนศิลป(Visual) ซึ่งเปนการรับรูจากภาพลักษณหรือการเห็น 2. ศิลปะการแสดง(Performing Art) ซึ่งเปนการรับรูจากการเคลื่อนไหว 3. วรรณศิลป (Literature) ซึ่งเปนการรับรูจากจินตนาการ หรือการประพันธ ( ชาญณรงค พรรุงโรจน . ม.ป.ป.: 7)

ทัศนศิลปเปนศิลปะท่ีมีความเกี่ยวของกับตา เกี่ยวของกับการมองเห็นอารี สุทธิพันธุ ไดจําแนกลักษณะของทัศนศิลปไดเปนแขนงตางๆ คือ

1. แขนงจิตรกรรม (Painting) ไดแกผลงานทางการขีดเขียนระบายดวยสีชนิดตางๆ ดวยวิธีการตางๆ กัน มี ลักษณะสองมิติ คือ กวางและยาว สําหรับมิติที่ 3 คือความตื้นลึกนั้นอยูที่ความรูสึกของผูดู ผูพบเห็น จิตรกรรมมีช่ือเรียกตามลักษณะและเรื่องราวที่ปรากฏบนระนาบดังตอไปน้ี

1.1 ภาพทิวทัศน ( Landscape Painting ) 1.2 ภาพทะแล ( Seascape Painting ) 1.3 ภาพอาคารสิ่งกอสราง ( Architectural Landscape ) 1.4 ภาพคนครึ่งตัว ( Portrait ) 1.5 ภาพผนัง ( Mural Painting ) 1.6 ภาพหุนนิ่ง ( Still-life Painting ) 1.7 ภาพประกอบ ( Illustration )

Page 43: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

24

2. แขนงประติมากรรม(Sculpture) เปนทัศนศิลปแขนงหนึ่ง เกี่ยวของกับการสรางสรรครูปทรงที่มองเห็น ( Visual Form ) มีลักษณะเปนสามมิติ คือ มีความกวาง ความยาว ความหนาหรือสูง ประติมากรรมทําดวย วัสดุที่เปลี่ยนแปลงรูปทรงได Plasticity ) ซึ่งบางที่ก็เรียกกันวาพลาสติกอารต( Plastic Art ) ประติมากรรมมี วิธีทําไดหลายวิธี เชน วิธีแกะสลัก( Carving ) วิธีปน( Modelling ) วิธีทุบ ตี เคาะ ( repousse ) วิธีหลอ ( Casting ) ลักษณะสูงต่ําของประติมากรรมแบงเปนแบบตางๆ คือ

2.1 แบบลอยตัว ( Round relief ) 2.2 แบบนูนสูง ( High relief Alto rilievo ) 2.3 แบบนูนต่ํา ( Low relief , Bas relief , Basso relief ) 2.4 แบบกลางระหวางนูนสูงและนูนต่ํา ( Mezzo relief ) 2.5 แบบต่ําสุด ( Spuashed relief , rellevo Scihacciato )

3. แขนงสถาปตยกรรม (Architecture) เปนแขนงที่มีความยุงยากสลับซับซอนมาก และมีขนาดใหญกวา ศลิปะแขนงอื่นๆ สถาปตยกรรมเปนทัศนศิลปที่เกี่ยวของกับการออกแบบสิ่งกอสราง และการสรางทุกชนิด เพื่อประโยชนของมนุษยในบางสมัยมีคนนิยามวา สถาปตยกรรมเปนวิทยาศาสตรของการกอสราง ( Architecture is the science of Building )หรือสถาปตยกรรมเปนสิ่งกําหนดขอบเขตบริเวณที่วางเพื่อให

เกิดประโยชน ( The limitation of Space ) ( อารี สุทธิพันธุ .2535 : 37- 53 )

ชาญณรงค พรรุงโรจน แบงทัศนศิลปไดดังนี้คอื

ทัศนศิลป (Visual Art) เปนผลงานสรางสรรค ศิลปะเพื่อการตอบสนองการรับรูทางประสาทตา ประกอบดวย จิตรกรรม (Painting) ประติมากรรม (Sculpture) ภาพพิมพ (Printmarking) และภาพถาย(Photography) สื่อผสม (Mixed Media) ศิลปะการจัดวาง(Installation) หัตถศิลป(Craft) จิตรกรรม หมายถึง ผลงานการสรางสรรคโดยการใชเทคนิค วาดเสน ระบายสีเพื่อใหเกิด รูปราง รูปทรง ซึ่งในอดีตมักมีลักษณะ เปนงาน 2 มิติ โดยใชกระดาษ ผาใบ พูกัน แปรง และสีเปนตน และปจจุบันไดมีการ พัฒนาโดยมีลักษณะทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ ประติมากรรม หมายถึง ผลงานศิลปกรรม 3 มิติ ที่เกิดจากการปน การหลอ การปะการเคาะเชื่อม หรือการ ผสมผสานวิธีการตางๆ เขาดวยกัน เปนตน ภาพพิมพเปนงานศิลปะอันเกิดจากการออกแบบใชเสนสาย สี แสง เงา รูปแบบ เพื่อถายทอดความรูสึกนึกคิด และอารมณลงบนแมพิมพ จากนั้นจึงถายทอดจากแมพิมมไปสูกระดาษ หรือพ้ืนรองรับอื่นๆ ผลงานภาพ พิมพจึงตางจากผลงานจิตรกรรมซึ่งไดรับการถายทอดจากการแสดงออกโดยตรง ในขณะที่ผลงานภาพพิมพ เปนการถายทอดขั้นที่ สองจากแมพิมพ ภาพถาย Photography ที่มีมาจากภาษากรีก 2 คํา คือ

Photo แปลวาแสงสวาง และ Grapho แปลวาเขียน ราวความ แลวจึงหมายถึงการเขียนดวยแสงสวาง แตในความหมายของวิธีการถายภาพหมายถึง กระบวนการที่ทําใหเกิดภาพถายขึ้นบนวัตถุไวแสง ดวยการทํา ใหวัตถุไวแสงนั้นถูกกับแสงสวาง หรือถูกกับรังสีอัลตรา ไวโอเลต

Page 44: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

25

ผลงานสื่อผสม งานศิลปะแบบสื่อผสมเปนงานศิลปกรรมสมัยใหม ที่ผสมผสานระหวางศิลปะหลายๆ แขนง โดยใชวัสดุเปนสื่อรองรับ ใหเปนรูปแบบใหม ใชสื่อหลายประเภทมาผสมผสานกันตามเทคนิค วิธีการและความประสงคของศิลปน อาจะเปนการนําเอาวัสดุจริงมา ปะติดบนระนาบรองรับ เหมือนภาพปะติดแลวระบายสีเพิ่มเติม เพื่อใหเกิดรูปแบบใหม หรือเนื้อหาสาระใหมตามความประสงคของผูสรางสรรค ประยุกตศิลปกับวิจิตรศิลป คือประยุกต ศิลปมุงประโยชน ใชสอยเปนอันดับแรก ในขณะที่วิจิตรศิลปนั้น มุงเนนคุณคาดานความงามเปนสําคัญ

ลักษณะงานประยุกตศิลป มีทั้งลักษณะสองมิติและ สามมิติ แยกยอยไดดังนี้ 1. มัณฑนศิลป เปนศิลปะตกแตง เชน การออกแบบเครื่องเรือน ตกแตงอาคาร สถานที่ โดยใชวัสดุ สี รูปแบบ ใหเหมาะสมกับสถานที่ ประโยชนใชสอยและจุดประสงคที่ใช 2. อุตสาหกรรมศิลป (Industrial Art) เปนงานศิลปะที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมของเครื่องใชโดยทั่วๆ ไปในชีวิตประจําวัน เชน เครื่องตกแตงบาน ตู โตะ เกาอี้ เครื่องปนดินเผา เครื่องเคลือบ งานโลหะ งานไม จักสาน 3. พาณิชยศิลป (Commercial Art) ศิลปะการคา เชน ปายโฆษณา การจัดตูโชว จักตกแตงอาคารรานคา เปนตน 4. หัตถศิลป (Crafts) คืองานศิลปะที่นําไปใชงานหัตถกรรม โดยใชมือทําเปนสวนใหญมีมาตั้งแตยุคกอนประวัติศาสตร เชน เครื่องปนดินเผา งานแกะสลักไม งานถักทอ งานหวาย รวมถึงงานชาง 10 หมุของไทย 5. งานออกแบบ(Design) เปนการจัดสวนประกอบตาง ๆ ใหลงตัวเปนความกลมกลืนเพื่อตอบสนองความตองการเฉพาะเจาะจง การออกแบบลายผา การออกแบบบรรจุภัณฑงานออกแบบถูกนําไปใชมากในงานประยุกตศิลป เพื่อตอบสนองความตองการของสังคมและใหเกิดประโยชน ใชสอยในชีวิตประจําวัน อีกทั้งยังเปนที่มาของงานประเภทกราฟก (Graphic Art) สถาปตยกรรม หมายถึง สิ่งกอสรางซึ่งเนนความงามหรือรูปแบบเฉพาะ และสามารถจัดอยูในงานทัศนศิลปไดเชนกัน อาทิ อาคาร บานเรือน วัด โบสถ วิหาร สนามกีฬา และอนุสาวรีย (ชาญณรงค พรรุงโรจน . ม.ป.ป.: 7-16)

การศึกษาในปจจุบัน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดใหความหมายของการศึกษาไวดังนี้

“การศึกษา” หมายความวา กระบวนการเรียนรูเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรคจรรโลงความกาวหนาทางวิชาการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม สังคม การเรียนรูและปจจัยเกื้อหนุนใหบุคคลเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต ( กระทรวงศึกษาธิการ.2545 : 2 ) การศึกษาเปน การพัฒนาผูเรียนใหมีพัฒนาการในดานตาง ๆ การศึกษาเปนการพัฒนามนุษย ในยุคปจจุบันซึ่งเปนยุคที่มีความเจริญกาวหนาวิทยาการตาง ๆ มีความเจริญทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

Page 45: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

26

มีการคมนาคมที่ทําใหมนุษยเดินทางไปไดทั่วโลก การสื่อสารที่ทําใหมนุษยติดตอส่ือสารกันอยางรวดเร็ว มีการใชเครื่องมือส่ือสารตางๆ เชนโทรศัพทมือถือ อินเตอรเน็ต ในการติดตอส่ือสาร แตจากผลของความเจริญตางๆ เหลานี้ทําใหมีปญหาตามมามากมายมีการลอลวงกันทางอินเตอร เด็กๆติดเกมคอมพิวเตอร มีการสงภาพลามกอนาจารทั้งทางโทรศัพทมือถือ และอินเตอรเน็ต ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม บริโภคนิยม ใหความสําคัญกับเงิน วัตถุ มากกวาจิตใจ มีภาวะการแขงขันสูง ประชาชนมีหนี้สิน คาครองชีพสูง ปญหาความยากจน การไมมีงานทํา มีความเหลื่อมลํ้าระหวางคนรวยกับคนจน ปญหาอบายมุข การพนัน ยาเสพติด ปญหาความรุนแรง ปญหาการคามนุษย อาชญากรรม ปญหา ดานสาธารณุข ปญหาโรคเอดส มีการใชทรัพยากรอยางฟุมเฟอย การทําลายทรัพยากรอันเนื่องมาจากการสนองตอบตอระบบทุนนิยม การดํารงชีวิตที่ไมรูจักความพอเพียง การเปลี่ยนแปลงของสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การศึกษาจึงตองปรับเปลี่ยนเพื่อรองรับใหทันกับภาวะของสังคมในปจจุบันจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดกลาวไวในมาตรา 6 วา การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบรูณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข ( กระทรวงศึกษาธิการ.2545 : 5 ) การจัดการศึกษาจึงเนนไปที่ตัวผูเรียนใหควาสําคัญกับผูเรียน มุงพัฒนาคุณภาพของผูเรียนเปนหลัก โดยเนนทั้งดานรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู คุณธรรมและจริยธรรม และใหผูเรียนสามารถปรับตัวเขากับผูอ่ืนได พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดกลาวถึงการจัดการศึกษาที่ตองการเนนผูเรียนเปนสําคัญไวในมาตรา 22 ดังนี้ การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา ตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ.2545 : 1 ) การจัดการศึกษาที่ตองเนนผูเรียนเปนสําคัญ ในการจัดการเรียนรูจึงตองเนนผูเรียนเปนสําคัญดวย

การจัดการเรียนรู การเรียนรูเปนสิ่งที่มีในมนุษย เพราะมนุษยเปนสัตวสังคมชั้นสูง มีชีวิตที่ยาวนาน มีการปรับตัว

ใหเขากับสิ่งแวดลอม มนุษยมีการเรียนรูมาตั้งแตอดีตและไดสะสมสิ่งที่เรียนรูนั้นแลวมีการถายทอดจากรุนหนึ่งไปยังอีกรุนหนึ่งดวยวิธีการตาง ๆ การเรียนรูเปนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเปนผลมาจากประสบการณ มีผูใหความหมายของการเรียนรูไวดังนี้

กูด ( Good .1959 : 314) กลาววาการเรียนรู เปนการเปลี่ยนแปลงการตอบสนอง หรือ การแสดงออกของพฤติกรรม บางสวน หรือ ทั้งหมดซึ่งเปนผลมาจากประสบการณ

มอรริส ( Morris . 1990 : 178) กลาววา การเรียนรูคือกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอยางถาวร อันเนื่องมาจากประสบการณ และการปฏิบัตฝิกฝน

Page 46: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

27

ครอนบาค ( มาลินี จุฑะรพ . 2537 : 55 ; อางอิงจาก Cronbach. 1954 ) ไดใหความหมายของการเรียนรูวา การเรียนรูเปนการแสดงใหเห็นถึงพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลงอันเปนผลเนื่องมาจากประสบการณที่แตละบุคคลไดรับมา

เฮอเก็นฮาหน (วรรณี ลิมอักษร . 2543 : 52 ; อางอิงจาก Hergengahn. 1988 : 9 ) ใหความหมายวา การเรียนรูหมายถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหรือศักยภาพของการกระทําที่ถาวรอันเปนผลมาจากประสบการณ โดยไมเกี่ยวของกับภาวะทางรางกายที่เกิดจากความเจ็บไขไดปวยความเหนื่อยออน หรือฤทธ์ิของยา

ธีระพร อุวรรณโณ ( ธีระพร อุวรรณโณ .2544 : 328 ) ใหความหมายวา การเรียนรู หมายถงึ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหรือศักยภาพของพฤติกรรมของอินทรียตอสถานการณหนึ่ง ที่เกิดจากการที่อินทรียมีประสบการณตรงหรือทางออมกับสถานการณนั้น โดยไมรวมการเปลี่ยนแปลงที่เปนผลจากวุฒิภาวะหรือแนวโนมการตอบสนองของเผาพันธุ

จากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ มีแนวคิดจากปรัชญา constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในผูเรียน ผูเรียนเปนผูสรางความรูจากความสัมพันธระหวางสิ่งที่พบเห็นกับความรูความเขาใจที่มีอยูเดิม เปนปรัชญาที่มีขอสันนิษฐานวา ความรูไมสามารถแยกจากความอยากรู ความรูไดมาจากการสรางเพื่ออธิบาย ( พิมพันธ เดชะคุปต . 2544 :6 ;อางอิงจาก Martin et al., 1994 : 44 ) ในการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญนั้น ครูผูสอนจะตองเปนผูสนับสนุนใหผูเรียนแสวงหาความรูจากแหลงการเรียนรูและสื่อการเรียนรูตาง ๆ ครูผูสอนจะตองเปนผูกระตุน ใหผูเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู เปนผูเอื้ออํานวยความสะดวกในการเรียนรูใหกับผูเรียน การจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ตองใหผูเรียนเปนศูนยกลาง โดยใหผูเรียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง จากสถานการณที่หลากหลาย ผูเรียนจะตองเปนผูแสวงหาความรู เลือกวิธีการ เลือกแหลงการเรียนรู ทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับการเรียนรู สรุปความรู เลือกวิธีประเมินผลการเรียนรูดวยตนเอง ในการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ สามารถประเมินไดวาการจัดการเรียนรูนั้นเนนผูเรียนเปนสําคัญหรือไม สามารถดูไดจากการเขียนแผนการจัดการเรียนรู การนําแผนนั้นไปใชในการจัดการเรียนรูกับผูเรียน ซ่ึงสามารถสังเกตไดจากการพฤติกรรมของผูเรียนทั้งในหองเรียนและนอกหองเรียน วาผูเรียนนั้นมีสวนรวมมากนอยแคไหน

องคประกอบของการเรียนรู

ในการจดัการเรียนรูหรือการจัดการศึกษาใด ๆ ก็ตาม การเรียนรูจะเกิดขึ้นไดก็ตองประกอบดวยองคประกอบที่สําคัญ 3 ประการ คือ ตัวผูเรียน ( The Learner) กระบวนการเรียนรู (The Learning Process) สถานการณในการเรียนรู ( The Learning Situation) (Lindgren.1976 : 6-7 )

Page 47: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

28

ฟอสเตอร แบงการเรียนรูออกเปน 3 ชนิด ไดแก การเรียนรูขอเท็จจริง หรือ คําชี้แจงตาง ๆ ( We Learn Facts and Informations) การเรียนรูทักษะ ( We Learn Skills ) การเรียนรูเจตคติ ( We Learn Attitude ) ( Foster. 1951 : 69-70)

แนวคิดในการจัดการเรียนรู ในการจัดการเรียนรู มักจะมีแนวคิดในการจัดการเรียนรูที่ทําใหเกิดการเรียนรูเหลานั้น แนวคิด

ในการจัดการเรียนรู หรือ แนวคิดทางการสอน ( Teaching / Instructional Concept / Approach ) คือความคิดเกี่ยวกับการสอนที่พรรณนา/ อธิบาย / ทํานายปรากฏการตางๆ ทางการสอนที่นักคิด นักจิตวิทยา หรือนักการศึกษา ไดนําเสนอ และไดรับการยอมรับในระดับหนึ่งวาเปนแนวคิดที่นาเชื่อถือดวยเหตุผลใดเหตุผลหน่ึง ( ทิศนา แขมมณี .2550.222) นักคิด นักจิตวิทยา นักการศึกษา มักจะพยายามแสวงหาแนวคิด แนวทาง วิธีการใหมๆ อยูเสมอ เพื่อใหเหมาะสมการเรียนการสอนในปจจุบัน

จุดประสงคการเรียนรู

จุดประสงคการเรียนรู หรือจุดประสงคการสอนเปนความคาดหวังของครู หลังจากมีการจัดการเรียนรูแลว อาภรณ ใจเที่ยง ไดกลาวถึง จุดประสงคการสอนวาคือ ขอความระบุพฤติกรรมของผูเรียนตามที่ผูสอนคาดหวังใหเกิดขึ้น หลังจากที่ผูเรียนไดผานการเรียนการสอนแลว ( อาภรณ ใจเที่ยง .2546.44)

บลูม(Benjamin S.Bloom)และคณะไดจําแนกจุดประสงคทางการศึกษาไวเปน 3 ดานไดแก ดานพุทธพิสัย ดานจิตพิสัย ดานทักษะพิสัย

1. ดานพุทธพิสัย (Cognitive Domain) เปนดานสติปญญา ความรู ความเขาใจ การคิด แบงเปน 6 ระดับ

- ความรู ( Knowledge) ไดแก ความจําระลึกในสิ่งที่ผานมาได รูเฉพาะสิ่ง รูเฉพาะเจาะจงเกี่ยวกับวิธีการ ความรูเกี่ยวกับหลักการ

- ความเขาใจ ( Comprehension ) ไดแก การนําความรู และขอมูลตางๆ ไปแปลความหมาย ตีความ ขยายความคิดใหกวางขึ้น

- การนําไปใช ( Application ) ไดแก การนําความคิดรวบยอด ทฤษฎีตาง ๆ ไปใชประโยชน ไปใชในสถานการณใหม

- การวิ เคราะห (Analysis) ไดแก การแยกออกเปนสวนยอย คนหาสวนประกอบ ความสัมพันธระหวางสวนยอยนั้น

Page 48: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

29

- การสังเคราะห ( Synthesis) ไดแก การนาํองคประกอบหรือสวนยอย ๆ มารวมกันจดัระเบียบใหม จดัระบบใหเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากกวาเดิม

- การประเมนิคา ( Evaluation) ไดแก การพิจารณาตดัสินคุณคา อยางมีหลักเกณฑ 2. ดานจิตพิสัย(Affective Domain) เปนดานจิตใจ ความรูสึก อารมณ แนวคิด เจตคติ คานิยม

คุณธรรม แครธโวล ( Krathwhol ) และคณะ ไดแบงออกเปน 5 ระดับ - การรับรู ( Recieving or Attending) ไดแก การรับรูส่ิงเรา การเผชิญกับเหตุการณตางๆ อยาง

มีสติ การที่ผูเรียนไดรับประสบการณจากสภาพแวดลัอมแลวทําใหเขาใจ ถึงเรื่องราวตางๆ - การตอบสนอง ( Responding) ไดแก ปฏิกริยาตอบสนองตอส่ิงแวดลอมที่ไดรับมา การมี

สวนรวมในประสบการณจากสภาพแวดลอมที่ไดรับมา - การสรางคุณคา ( Valuing) ไดแก การสรางคานิยม การเกิดคานยิม การมีความชอบใน

คานิยม - การจัดระบบคุณคา ( Organization) ไดแก การรวบรวมคานิยมตางๆ มาหาความสัมพันธ

ระหวางคานิยมดวยกัน แลวจัดระบบดวยการพิจารณาบทบาท และความสําคัญ - การสรางลักษณะนิสัย ( Characterization by a Value or Value Complex) ไดแก

การสรางบุคลิก ความประพฤติ คุณสมบัติ ลักษณะนิสัยประจําตวั 3. ดานทักษะพิสัย(Psychomotor Domain) เปนดานพฤติกรรมที่แสดงออกทางรางกาย การ

เคลื่อนไหว การใชอวัยวะตาง ๆ ซิมปสัน (Simpson) ไดแบงความสามารถทางดานทักษะพิสัยออกเปน 5 ระดับ

- การรับรู ( Perception) ไดแก การรับรูโดยใชประสาทสมัผัสรับรูส่ิงตาง ๆ - การเตรียมพรอม ( Set ) ไดแก การเตรียมพรอมดานรางกาย ดานจิตใจ ดานอารมณ - การตอบสนองตามตัวอยาง ( Guided response) ไดแก การเลียนแบบ ลองผิดลองถูก - การตอบสนองกลไกภายใน ( Mechanism) ไดแก การปฏิบัติอยางคลองแคลว ตัดสินใจอยาง

มั่นใจ ตอบสนองโดยอัตโนมัติ - การตอบสนองภายนอกทีซั่บซอน ( Complex overt response) ไดแก การแกปญหาความไม

แนนอน และการปฏิบัติโดยอัตโนมัติ - การปรับตัว ( Adaptation ) ไดแก การดัดแปลงแกไขใหดีขึน้ เหมาะสมขึ้น นาํไปใชใน

สถานการณใหม ๆ ได - การริเร่ิม ( Origination ) ไดแก การสรางแบบแผนการปฏิบัติใหม ๆ การทําสิ่งใหมๆ

Page 49: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

30

เนื้อหาในการเรียนรู เนื้อหาเปนสิ่งที่นักเรียนจะไดเรียนรู รุจิร ภูสาระ ไดใหความหมายไว 2 ประการดงันี้ 1. รายละเอียดของสาระที่ใชในการเรียนการสอน สวนใหญจะเปนขอเท็จจริง ไดแก ความรู ทักษะ ความคิดรวบยอด เจตคติ และคานิยม 2. ในกระบวนการเรียนการสอนเนื้อหามากกวา 2 เนื้อหาขึ้นไป รายละเอียดของเนื้อหาและวิธีการสอนมี โอกาสที่จะเกิดพฤติกรรมรวมกันได เนื้อหาจึงมีความสําคัญที่จะถายโอนใหผูเรียนไปในทิศทางใดทิศทาง หนึ่ง จะเห็นไดวา เนื้อหาวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนมีความสัมพันธกัน ( รุจิร ภูสาระ . 2545 : 48-49)

เกณฑในการคัดเลือกเนื้อหา 1. เนื้อหาจะตองมีความเที่ยงตรง คือ เนื้อหาจะตองตรงตามจุดประสงค 2. ความสําคัญของเนื้อหา คือ เนื้อหาจะตองเปนควมจริงตามเนื้อหาในกลุมสาระการเรียนรูนั้น ๆ มีความคิดรวบยอด และมีหลักการของกลุมสาระการเรียนรูนัน้ ๆดวย 3. ความสนใจของผูเรียน เปนสิ่งที่ควรนํามาพิจารณาในการคัดเลือกเนือ้หา 4. ความสามารถที่จะเรียนไดของผูเรียน เนื้อหาควรเลือกใหความเหมาะสมกับนักเรียนในวยัตางๆ 5. ความสอดคลองกับความเปนจริงในสังคม 6. การนําไปใช เนื้อหาควรจะมีประโยชนกับผูเรียนทั้งในปจจุบันและอนาคต กาารจัดกิจกรรมการเรียนรู การจัดกิจกรรมการเรียนรูหรือกิจกรรมการเรียนการสอนมีความสําคัญตอการเรียนรูของผูเรียน ซ่ึงเปนหัวใจของการนําไปสูเปาหมายทางการศึกษา จุดมุงหมายของหลักสูตร กิจกรรมการเรียนการสอนเปนภาพรวมของชุดประสบการณใหญ ตั้งแตขั้นตอนดําเนินการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรูอุบัติขึ้นทั้งในหรือนอกหองเรียน ทั้งรายบุคคล กลุม หรือทางไกล (ชาญชัย ยมดิษฐ .2548 : 388) อาภรณ ใจเที่ยง ไดระบุถึงหลักการจัดการเรียนการสอนไวดังนี้

1. จัดกิจกรรมใหสอดคลองเจตนารมยของหลักสูตร 2. จัดกิจกรรมใหสอดคลองกับจุดประสงคการสอน 3. จัดกิจกรรมใหสอดคลองและเหมาะสมกับวัย ความสามารถ ความสนใจของผูเรียน 4. จัดกิจกรรมใหสอดคลองกับลักษณะของเนื้อหาวิชา 5. จัดกิจกรรมใหมีลําดับขั้นตอน 6. จัดกิจกรรมใหนาสนใจ

Page 50: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

31

7. จัดกิจกรรมโดยใหผูเรียนเปนผูทํากิจกรรม 8. จัดกิจกรรมโดยใชวิธีการที่ทาทายความคิดความสามารถของผูเรียน 9. จัดกิจกรรมโดยใชเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย 10. จัดกิจกรรมโดยใหมีบรรยากาศที่รื่นรมย สนุกสนาน และเปนกันเอง 11. จัดกิจกรรมแลวตองมีการวัดผลการใชกิจกรรมนั้นทุกครั้ง (อาภรณ ใจเที่ยง .2546 : 75-76)

กิจกรรมการเรยีนการสอนมหีลายประเภท บุญชม ศรีสะอาด ไดจาํแนกกิจกรรมการเรียนออกได 4 ประเภท ดังนี ้

1.1 กิจกรรมเดี่ยว เพื่อใหเกิดการเรียนรูตามจุดประสงคที่ตองการจะใชเพียงกิจกรรมเดียวก็เพียงพอ 1.2 หลายกิจกรรมแบบตอเนื่อง เพื่อใหสามารถบรรลุจุดประสงคการเรียนรูตามที่ตองการ อาจตองใช

กิจกรรมตางๆ ตามลําดับขั้นที่กําหนด 1.3 หลายกิจกรรมแบบไมตอเนื่อง เพื่อใหสามารถบรรลุจุดประสงคการเรียนรูตามที่ตองการ อาจตองใช

กิจกรรมตางๆ หลายกิจกรรมรวมกัน โดยไมกําหนดตายตัววาตองทํากิจกรรมใด 1.4 หลายกิจกรรมแบบตอเนื่องและไมตอเนื่อง เพื่อใหสามารถบรรลุจุดประสงคการเรียนรูตามที่ตองการ

อาจตองใชกิจกรรมตาง ๆ หลายกิจกรรมรวมกัน โดยมีบางสวนที่เปนชุดของกิจกรรมแบบตอเนื่องอยูดวย ( บุญชม ศรีสะอาด.2541 : 39 )

การจัดกิจกรรมการเรียนรูในรูปแบบตาง ๆ การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการบรรยาย เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยที่ครูเปนผูบอกเลา อธิบาย เนื้อหาหรือเร่ืองราวตาง ๆ ใหกับผูเรียน ซ่ึงครูไดศึกษาคนความาเปนอยางดี ผูเรียนเปนฝายรับฟง อาจจะมีการจดบันทึกสาระสําคัญขณะฟงคําบรรยาย การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการอภิปราย เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ครูมุงใหผูเรียนมีโอกาสสนทนาซักถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เพื่อหาคําตอบหรือแนวทางแกไขปญหารวมกัน การจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบนี้มุงใหผูเรียนไดรวมคิด รวมกันวางแผน รวมกันตัดสินใจ รวมกันปฏิบัติงานและชื่นชมผลงาน การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการอภิปรายกลุมยอย เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่จัดกลุมนักเรียนออกเปนกลุมยอย ๆ ประมาณ 4-8 คน โดยใหผูเรียนไดมีโอกาสสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันในประเด็นตาง ๆ แลวสรุปผลการอภิปรายของกลุม การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการสาธิต เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ครู หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ง แสดงหรือกระทําใหดูเปนตัวอยางพรอมกับบอก อธิบาย เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูจากการสังเกต กระบวนการขั้นตอนตางๆ และใหผูเรียนซักถมา อภิปราย สรุปผลการเรียนรูจากการสาธิต

Page 51: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

32

การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยกระบวนการกลุม เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติเปนกลุม ชวยกันคนควาหรือทํากิจกรรมจนสําเร็จ โดยกลุมจะมีอิทธิพลตอสมาชิกในกลุมเปนการเรียนรูในการมีปฏิสัมพันธตอกันและกัน การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการชี้แนะ เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่มีเปาหมายเพื่อฝกทักษะ หรือความรูเบื้องตนใหกับผูเรียน เพื่อใหบรรลุตามจุดประสงคที่ไดกําหนดไว โดยมีพื้นฐานมาจากทฤษฎีทางจิตวิทยาของกลุมพฤติกรรมนิยมและจิตวิทยาการ เนนการฝกและเสริมแรงทางในขณะเรียนหรือฝกปฏิบัติงาน การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยพัฒนากระบวนการคิดดวยการใชคําถามหมวกความคิด 6 ใบ เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ใชคําถามกระตุนใหผูเรียนมีทักษะทางดานการคิดอยางเปนระบบ โดยใชคําถามหมวกความคิด 6 ใบ ไดแก หมวกสีขาว หมวกสีแดง หมวกสีเหลือง หมวกสีดํา หมวกสีเขียว และหมวกสีฟา การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยกระบวนการแกปญหา เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนใหผูเรียนปฏิบัติกิจกรรม มีช้ินงาน มีปฏิสัมพันธกับครูและเพื่อน เปนการพัฒนาทักษะทางดานการคิดแกปญหา สามารถใชทักษะการคิดในการแกปญหาที่พบ จากสถานการณตาง ๆ การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เร่ิมตนจากปญหาที่เกิดขึ้น และสรางความรูจากกระบวนกลุม เพื่อแกปญหาหรือสถานการณในชีวิตประจําวัน กระตุนการพัฒนาทักษะการแกปญหาดวยเหตุผลและการศึกษาคนควาขอมูล เพื่อเขาใจกลไกของปญหา และวิธีแกปญหา การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยสรางองคความรู เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ใหความสําคัญกับกระบวนการเรียนรูของผูเรียน และความรูเดิมของครู เปดโอกาสใหผูเรียนไดแสดงความรู และสรางความรูดวยตนเอง แสวงหาความรู เชื่อมโยงกับความรูเดิม ประสบการณเดิม รวมกับความรูใหม จนเกิดองคความรูและประสบการณใหม การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยสงเสริมความคิดสรางสรรค เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่สงเสริมใหผูเรียนมีความคิดที่อิสระ มีความคิดที่ไมมีรูปแบบตายตัว ใชไดทุกโอกาส ทุกเวลา มีความคิดยืดหยุน เปดโอกาสใหผูเรียนหาคําตอบที่หลากหลาย สรางชิ้นงานแปลก ๆ ใหม ๆ ฯลฯ กูดและโบรฟ (Good and Brophy.1986:685 )ความคิดสรางสรรคเปนความคิดที่กอใหเกิดความแปลกใหม (Novel) และมีคุณคา (Value) ซ่ึงอาจพิจารณาไดหลายแง การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยโครงงาน เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ใชกระบวนการแสวงหาความรูในการหาคําตอบในสิ่งที่อยากรู ส่ิงที่สงสัย เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ใหผูเรียนเลือกศึกษาตามความสนใจของผูเรียน หรือกลุม อาจใชเทคนิคหลากหลายมาผสมผสานกัน เชน กระบวนการกลุม การคิดแกปญหา ฯลฯ

Page 52: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

33

การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยเนนการปฏิบัติ เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนการปฏิบัติการ ใหผูเรียนไดเรียนรูจากการกระทํา การคิด การลงมือปฏิบัติ การฝกทักษะกระบวนการตางๆ เนนการมีประสบการณตรงจากการเผชิญสถานการณจริงและ การแกปญหา การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยบูรณาการสูพหุปญญา เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่พัฒนาการเรียนรูในลักษณะการเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางสาระการเรียนรูตาง ๆ การดเนอร ( Gardner ,1983) ไดเสนอทฤษฎีพหุปญญา (Theory of Multiple Intelligence) โดยแยกเปน 8 ดาน ไดแก ดานภาษา (Linguistic) ดานตรรกะและคณิตศาสตร(Logical – Mathematical) ดานมิติ ( Spatial) ดานดนตรี ( Musical ) ดานรางกายและการเคลื่อนไหว ( Bodily Kinesthetic) ดานการรูเกี่ยวกับผูอื่น ( Interpersonal) ดานการรูเกี่ยวกับตนเอง (Intrapersonal) ดานการเขาใจสภาพธรรมชาติ ( Naturalist ) การจัดกิจกรรมการเรียนรูจากแหลงเรียนรู เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ผูเรียนสามารถเรียนรูจากสภาพจริง ผูเรียนศึกษาคนควาาจากแหลงการเรียนรูตาง ๆ เชน บุคคล สถานที่ ธรรมชาติ องคกร หนวยงาน ชุมชน สถานประกอบการ ส่ิงแวดลอมตางๆ ทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และสรางองคความรูดวยตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชกระบวนการ 7 ส. เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ ไดคิด ครูเปนเพียงผูอธิบายเลา บอกเทาที่จําเปน สงเสริมใหผูเรียน เรียนรูไดดวยตนเอง โดย 7 ส ไดแก สงสัย สังเกต สัมผัส สํารวจ สืบคน ส่ังสม สรุปผล

การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล เปนการวัดความสามารถ สมรรถภาพ พฤติกรรม ความรูสึกนึกคิด

ฯลฯ ของผูเรียน ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 26 ใหสถานศึกษาจัดการประเมินผูเรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผูเรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การรวมกิจกรรมและการทดสอบควบคูไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแตละระดับและรูปแบบการศึกษา ( กระทรวงศึกษาธิการ.2545 : 13 )

การวัดและประเมินผลเปนสิง่ที่มีความสําคัญในการเรียนการสอน ในการวัดและประเมินผล

ผศ.ดร.สุมาลี จันทรชลอ ไดกลาวถึงประเภทของการประเมินไวดังนี้

Page 53: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

34

ประเภทของการประเมินผล การแบงประเภทของการประเมินผลอาจแบงไดเปนการจําแนกตามระยะเวลาของการประเมินและการจําแนก ตามลักษณะของการเปรียบเทียบดังรายละเอียดตอไปน้ี

1. จําแนกตามเวลา เมื่อใชระยะเวลาและจุดประสงคของการประเมินอาจแบงประเภทของการประเมินได เปน 3 แบบ คือ ประเมินผลกอนเรียน ( pre evaluation ) ประเมินผลระหวางเรียน ( formative evaluation ) และประเมินผลสรุป ( summative evaluation )

2. จําแนกตามลักษณะการเปรียบเทียบ การประเมินสามารถแบงประเภทของการประเมินไดเปน 3 แบบ คือ การประเมินผลแบบอิงกลุม ( norm referenced evaluation ) การประเมินผลแบบอิงเกณฑ ( criterion referenced evaluation) และการประเมินผลแบบอิงตน ( self referenced evaluation) ( ผศ. ดร.สุมาลี จันทรชลอ.2542 : 21-23 )

จากการจัดการศึกษาที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ในการเรียนการสอนจึงตองใหผูเรียนเปนศูนยกลาง ซ่ึงผูเรียนมีสวนรวมอยางมากในการเรียนรูและใชการสะทอนความรูสึกตอกระบวนการเรียนรู... ส่ิงที่เรียนกับสิ่งที่ปฏิบัติจริงในชีวิตประจําวันควรเหมือนกัน การประเมินตองใชแบบการวัดที่หลากหลาย ... ดังนั้นการประเมินที่ควรใชควบคูกับการเรียนแบบยึดผูเรียนเปนศูนยกลางดังกลาวก็คือ การประเมินตามสภาพจริง ( ดร.สมศักดิ์ ภูวิภาดาวรรธน .2544 : 88) ซ่ึงเปนวิธีการประเมินที่ออกแบบมาเพื่อสะทอนใหเห็นพฤติกรรมและทักษะที่จําเปนของนักเรียนในสถานการณที่เปนจริงแหงโลกปจจุบัน (Real World Situations ) ( ดร.สมศักดิ์ ภูวิภาดาวรรธน. 2544 :93 ;อางอิงจาก Popham,1995 )

ในการวัดและประเมินผล มีการวัดดานความรูความคิด การวัดภาคปฏิบัติ การวัดดานความรูสึก ซ่ึงในการวัดดานความรูความคิด บลูมไดแบงการวัดดานความรูความความคิดเปน 6 ขั้นตอน เร่ิมตั้งแต ความรูความจํา( Knowledge ) ความเขาใจ ( Comprehension ) การนําไปใช ( Application) การวิเคราะห ( Analysis ) การสังเคราะห ( Synthesis ) และการประเมินผล ( Evaluation ) ( ผศ.ดร. สุมาลี จันทรชลอ .2545 : 51 ) การวัดภาคปฏิบัติ เปนการทดสอบความสามารถของผูเรียน ในการนําความรูที่ไดเรียนไปแลว ไปปฏิบัติ ในการวัดและประเมินผลจึงควรครอบคลุมทั้ง ความรูความคิด ความรูสึก ทักษะการปฏิบัติ ซ่ึงอาจจะวัดไดจากการทดสอบจากตัวอยางงาน การทดสอบเชิงจําแนก การใหผูเชี่ยวชาญประเมิน การใหผูรวมงานประเมิน และการใหประเมินตนเอง ( ผศ.ดร. สุมาลี จันทรชลอ .2545 : 177 ) การวัดดานความรูสึก เปนการวัดทัศนคติ ความสนใจ ความซาบซึ้ง ฯลฯ

Page 54: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

35

สื่อการเรียนรู ( สื่อการเรียนการสอน ) ในการจัดการเรียนรูเปนการชวยใหผูเรียนไดรับขอมูล ความรู การคิดหาเหตุผล เกิดแนวคิด

คานิยมตางๆ และกระตุนใหแสวงหาความรูเพิ่มเติม การเรียนการสอนจึงเกี่ยวของกับการเรียนรูของมนุษย ดร. เอดการ เดล ( Dr. Edgar Dale ) จากมหาวิทยาลัยอินเดียนา สหรัฐอเมริกา ไดสรางกรวยประสบการณ ซ่ึงพัฒนามาจากความคิดของบรูนเนอร ( Brunner ) นักจิตวิทยา โดยแบงประสบการณเรียนรูออกเปนขั้นตอนดังตอไปนี้

1. ประสบการณตรง ( Direct Experiences ) 2. ประสบการณจําลอง ( Contrived Experiences ) 3. ประสบการณนาฏการ (Dramatized Experiences) 4. การสาธิต ( Demonstration ) 5. ทัศนศึกษา ( Field Trips) 6. นิทรรศการ ( Exhibitions ) 7. ภาพยนตและโทรทัศน ( Motion Pictures and Television) 8. ภาพนิ่ง วิทยุ และการบันทึกเสียง ( Still picture , Radio and Recording ) 9. ทัศนสัญลักษณ ( Visual Symbol ) 10. วจนสัญลักษณ ( Verbal Symbol )

จากกรวยประสบการณของ ดร. เอดการ เดล ( Dr. Edgar Dale ) ไดแสดงถึงการเรียนรูของมนุษย และในการเรียนการสอนสิ่งที่จําเปนในการเรียนรูของผูเรียน คือส่ือที่ใชในการถายทอดประสบการณจากการเรียนการสอน ส่ือที่ใชในการเรียนการสอนจึงเปนตัวกลางในการถายทอดขอมูลในการสอนของครู อาจารย ถึงผูเรียน หรือเปนสิ่งที่ผูเรียนไดเรียนรูตัวเอง เพื่อใหกระบวนการในการเรียนรู ดําเนินไปสูเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด มีชัย คุณาวุฒิ ไดจําแนกประเภทของสื่อการเรียนการสอน ออกเปนประเภทตางๆ ดังนี้

1. สื่อประเภทวัสดุ ( Software ) หมายถึง สื่อที่เก็บความรูอยูในตัวเองซึ่งจําแนกยอยไดเปน 2 ลักษณะคือ ก.วัสดุประเภทที่สามารถถายทอดความรูไดดวยตัวเองไมจําเปนตองอาศัยอุปกรณอื่นชวยไดแก กระดานดํา หรือกระดานชอลด กระดานนิเทศ กระดานผาสําลี แผนภูมิ แผนสถิติ แผนภาพ แผนที่ ภาพโฆษณา ภาพ ตางๆ ( ภาพวาด ภาพถาย ภาพผนัง ภาพสามมิติ ภาพตัดมา การตูน ) สมุดลําดับภาพหรือภาพพลิก ของจริง ของตัวอยาง ของจําลอง ขอลอแบบ ( Mock Up ) ไดออรามา ( Diorama ) ลูกโลก พิพิธภัณฑ โรงเรียน ข.วัสดุประเภทที่ไมสามารถถายทอดความรูไดดวยตัวเอง จําเปนตองอาศัยอุปกรณหรือเครื่องมืออื่นเขามารวม ใชดวย ไดแก ฟลมภาพยนตร ฟลมสไลด ฟลมสตริป ภาพโปรงใส แผนเสียง จานคอมแพกต ( ซีดี ) เทปบันทึกเสียง แถบวีดีทัศน ( Video Tape ) แผนวีดีทัศน ( Video Disc ) โปรแกรมคอมพิวเตอร

Page 55: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

36

2. สื่อประเภทอุปกรณ ( Hardware ) หมายถึง สิ่งที่เปนตัวกลางหรือตัวผาน ทําใหขอมูลหรือความรูที่บันทึกใน วัสดุสามารถถายทอดออกมาใหเห็นหรือไดยิน ไดแก เครื่องฉายภาพขามศีรษะ เครื่องฉายภาพทึบแสง เครื่อง ฉายภาพยนตร เครื่องฉายสไลด เครื่องฉายฟลมสตริป โทรทัศน เครื่องเลนวีดิทัศน เครื่องฉายวีดิทัศน เครื่อง บันทึกเสียง เครื่องเลนแผนเสียง เครื่องเลนจานคอมแพกต ( ซีดี ) เครื่องเลนวีดิโอดิสค ( Laser Disc Player ) เครื่องขยายเสียง เครื่องฉายจุลทัศน ( Micro Projector ) จอภาพ 3.สื่อประเภทเทคนิคและวิธีการ ( Techniaque and Methods ) หมายถึงสื่อที่มีลักษณะเปนแนวความคิดหรือ รูปแบบขั้นตอนหรือกิจกรรมในการเรียนการสอนโดยนําเอาสื่อวัสดุและอุปกรณมาใชชวยในการสอนได ไดแก การสาธิต การทดลอง การแสดงละคร ( Dramatization ) การแสดงบทบาทสมมติ ( Role Playing ) เกม การฝกปฏิบัติ การศึกษานอกสถานที่ กิจกรรมอิสระ กิจกรรมที่เปนโครงการ กระบะทราย นิทรรศการ ( มีชัย คุณาวุฒิ .2540 : 27- 29)

บรรยากาศในการจัดการเรียนรู บรรยากาศในการจัดการเรียนรู เปนการจัดสภาพแวดลอมในการจัดการเรียนรู เพื่อสงเสริมให

กระบวนการจัดการเรียนรูดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ ชวยสรางความสนใจ ใฝรูใหกับผูเรียน สงเสริมระเบียบวินัย เจตคติ คานิยม ใหกับผูเรียน

บรรยากาศในการจัดการเรยีนรูอาจแบงได 2 ประเภทใหญ ๆ ดังนี้ 1. บรรยากาศทางกายภาพ เปนการจัดสภาพแวดลอมทางดานวัตถุ สถานที่ในการจัดการเรียนรู

สะอาด เรียบรอย มีเครื่องมือ เครื่องใช วัสดุ อุปกรณในการจัดการเรยีนรู ส่ิงอํานวยความสะดวกตางๆ มีแสงสวางที่เพียงพอ โตะ เกาอี้ มีความเหมาะสมกับวยั

2. บรรยากาศทางจิตวิทยา เปนการจดัสภาพแวดลอมทางดานจิตใจ ทําใหนกัเรียนรูสึกสบายใจ เปนกันเอง สัมพันธที่ดีทั้งระหวางครู และนักเรียน และระหวางนักเรยีนดวยกนั การพัฒนาทางดานจิตใจ ในการพัฒนาทางดานจิตใจ ในการจดัการเรียนรู พระธรรมปฎก ( ป. อ. ปยุตฺโต ) ไดกลาวไวดังนี ้

การเรียนรูดวยความสุข ตองแยกเปน 2 แบบ คือ 1. สุขจากการเอื้อของปจจัยภายนอก คือ บรรยากาศที่เกิดจากกัลยาณมิตร ครู อาจารยที่มีเมตตาเปนตน ซึ่งตองระวัง ที่จะทําใหออนแอลง และพึ่งพา 2. สุขที่เกิดจากการสนองปจจัยภายใน คือ การเรียนรูและการทํางาน เปนการสนองความใฝรูและใฝสรางสรรคในตัวของเขาเอง ไมตองพึ่งผูอื่น เปนอิสระและทําใหเขมแข็งยิ่งขึ้น ( พระธรรมปฎก ( ป. อ. ปยุตฺโต ) .2540 : 27- 29)

Page 56: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

37

การรับรูความงามของนักเรียนเปนสิ่งหนึ่งที่จะทําใหนักเรียนมีความสุข มนุษยแตกตางจากส่ิงมีชีวิตอื่น ที่สามารถสรางสรรคส่ิงตาง ๆ ได สามารถชื่นชมความงามได สรางสรรคส่ิงที่มีความงามได โกสุม สายใจ กลาวไวดังนี้ ความเปนมนุษยประกอบดวยสวนที่เปนกาย และจิตใจ โดยมีสมองเปนตัวควบคุม ในสวนที่เปนการเราพิจารณา ในเรื่องของชาติพันธุ การเจริญเติบโต ความคิดสรางสรรค สติปญญา ความเฉลียวฉลาด ที่เรียกวา IQ ( Intellectual Quotient ) โดยเชื่อวาใครมีจํานวน IQ สูงเปนคนฉลาดเปนคนเกง ในสวนที่เปนจิตใจ เราพิจารณากันที่การควบคุมอารมณที่เรียกวา EQ ( Emotional Quotient ) โดยเชื่อวาการ ควบคุมอารมณที่ดีจะชวยทําใหมีสติ รูจักตัวเอง เขาใจผูอื่น ยับยั้งชางใจกอนกระทํา แตกอนมนุษยให ความสําคัญกับ IQ มาก จนปจจุบันนี้เปนที่ยอมรับแลววาทั้ง IQ และ EQ จะตองไดรับการพัฒนาควบคูกันไป คือ มีทั้งสติปญญาที่ดี เฉลียวฉลาด และสามารถควบคุมความเกงกาจนั้น ใหใชไปในทางสรางสรรคในสิ่งที่ดี ที่ เกิดประโยชนตอตนเองและการพัฒนาสังคม สุนทรียศาสตร เปนสวนหนึ่งที่ชวยใหมีการพัฒนา EQ ผานทางกิจกรรมศิลปะที่กอใหเกิด ความประณีต สุขุม เขาใจตนเอง ความเชื่อมั่นในตนเอง และความเขาใจผูอื่น จนสามารถควบคุม IQ ใหสรางสรรคในสิ่งที่ดี มี ประโยชนตอสังคมไมเดือดรอนตนเองและผูอื่น ยิ่งขึ้น ( โกสุม สายใจ. 2547 : 7)

ศิลปศึกษา การสอนศิลปะนักเรียนระดับประถม

นักเรียนระดับประถมนั้นชวงอายุประมาณ 6-13 ป ซ่ึงเด็กในชวงนี้เปนวัยที่กําลังมีพัฒนาการในหลาย ๆ ดาน ลลิตพรรณ ทองงาม (สัมภาษณ) ไดกลาวถึง การสอนศิลปะนักเรียนระดับประถมไวดังนี้ การสอนจะตองสอนทฤษฎีกอน หรือปฏิบัติกอนมันขึ้นอยูกับเด็ก จากประสบการณ เมื่อไหรที่เราสอนเอา ทฤษฎีเปนหลัก อารมณมันไมออก มันแข็ง มันเหมือนตัวเลข เหมือนคณิตศาตร แตถาเราสอนไป อยางเด็ก ตัวเล็ก ๆ เราสอนไปเด็กไมรูหรอกวาสอนจุดเดน แลวเสนฐานก็ไมไดบอกนะ เสนฐานจริง ๆ มันบอกระยะ แบงระยะ หนึ่ง สอง สาม สี่ หา แตจะบอกวาเสนฐานเปนเสนที่เอาคนไวต้ัง เอาคนไวยืน ถาไมมีอยางนั้นจะ ทําใหคนลอย เมื่อไมใหคนลอยเอาเสนมารองรับมันหนอย เราเรียกวาเสนฐาน มันจะไดไมลอย และจะมี ตัวอยางภาพใหดู พอเราขีดเสน คนนี้ก็จะยืนอยูบนเสนนี้นะ คนนั้นก็จะยืนอยูบนเสนนั้นนะ เห็นไหมเขายืน ไดแลวใชไหม เปนความรูสึกที่เราคอย ๆ แทรกเขาไป ป.1-ป.2 แนนขึ้น ป.4 แรเงา ไดแลว เขารูแลววาเงาตก ตรงไหน กระทบตรง เริ่มรูเพราะเราคอยๆแทรกเขาไป ป.5 สอนเรื่องเสนยุทธศาสตร เอาวิทยาศาตรเรื่อง เสนตางๆไปดูความเหมือนจริงของพืช นั่นคือหลักการการสังเกต การพิจารณารอบคอบ ตองวัดสเกล วัดสัดสวน แตเอาศิลปะเขาไปเชื่อมความพริ้วไหวของมัน แมแตวาเวลาเราจะวาดตนไมใหเห็นยอดออน มอง แลวเรารูเลยวานั้นคือยอดออนจริง ๆ นี่คือเสนแกนะ เราจะรูเลยวานั่นคือใบแก แสงเงาที่ตกกระทบก็ เชนเดียวกันนี่คื่อการสอนใหเด็กรูจักการสังเกต ละเอียด ละออ รอบคอบ มีสุนทรียะในตัวของมันเอง เราจะ

Page 57: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

38

บอกเลยวา เสนนี้มันพริ้วไหวอยางไร เห็นไหมยอดมันพริ้ว มันจะบอกของมันในตัวเอง บรรยากาศตางๆเหลานี้ มันเปนการสอนเด็ก เด็กก็จะไมรูเลยวา นั้นคือสอนทั้งสุนทรียะ สังเกต แยกแยะ แจกแจง บวกกับบูรณาการ

กับวิทยาศาสตรไปดวย (ลลิตพรรณ ทองงาม .2551)

วิธีสอนศิลปะ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) เปนกลุมสาระการเรียนรูที่ เนนภาคปฏิบัติ เนน

สุนทรียภาพ เนนความคิดสรางสรรค ในการจัดการเรียนรูครูมีวิธีสอนในรูปแบบตาง ๆ ที่สามารถทําใหบรรลุถึงจุดประสงคในการจัดการเรียนรู นิรมล ตีรณสาร สวัสดิบุตร ไดกลาวถึงวิธีสอนศิลปะไวดังนี้

Directed Teaching

สอนโดยมีลําดับขั้นกําหนดได มีการทําแบบฝกหัดใหกาวหนาไปตามลําดับ ยึดหลักวานักเรียนมาโรงเรียนเพื่อเรียน และครูเปนคนใหความรู เทคนิค บอกใหทําตามหลักตามจริง ( facts ) วัตถุประสงคเพื่อใหชํานาญในการออกแบบการใชสี การวาดภาพระบายสี การทําหุน การเขียนตัวอักษร ฯลฯ วิธีนี้ตองการใหเด็กมีงานทําอยูเสมอ และรับประกันไววา เด็กจะผลิตงานออกมาไดเหมือนกันและถูกตอง ทําใหเด็กไมมีความคิดริเริ่ม ความรูสึกในความสวยงามก็ถูกบิดเบือนไป และความเจริญในการพัฒนาตนเองก็ชะงัก

ประโยชนของวิธีนี้ เหมาะสําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา หรือการศึกษาผูใหญ หรือสําหรับนักเรียนมัธยมปลาย ถาใชอยางระมัดระวังและไมมากเกินไปนัก เพราะในการเรียนฃั้นสูงบางครั้งก็มีความจําเปนทางเทคนิคที่ครูจะตองชวยแสดงหรือแนะวิธีทําให

Free Expression ตางกับ Directed Teaching ในขอที่วานักเรียนทํางานไปตามสบายเกิดจากตัวเด็กเอง ครูไมบังคับ

ใหมีโอกาสไดแสดงออกตามความตองการและความสามารถของตน ขอแยง 1. แมทางการศึกษาและจิตวิทยาจะเห็นวาควรใหเด็กมีเสรีภาพในการแสดงออกเพื่อเจริญเติบโต

แตก็เห็นวาการแนะแนวของครูก็เปนสิ่งสําคัญ 2. การที่จะใหเด็กมีพัฒนาการทางความคิดริเริ่ม ก็ตองการมีการเตรียมแรงกระตุนและการจูงใจที่

สมควร 3. ถาปลอยใหเด็กทํางานตามใจชอบอยูเสมอ พอถึงระยะหนึ่งก็จะกลายเปนการทํางานที่ไมมี

จุดมุงหมาย ไมมีความหมายอะไร ทําไปเรื่อย ๆ เพราะถาไมมีใครแนะนํา เด็กก็จะทําไปอยางนั้นซ้ํา ๆ กัน และทําของงาย ๆ ที่ไมมีอุปสรรค และทําซ้ําซากอยูแบบเดิม

Core Teaching เนนเรื่องสังคมและปญหาสวนบุคคล และจัดโครงการเรียนในชั้น โดยมุงแกปญหาโดยใชเนื้อหา

จากวิชาตาง ๆ ที่ตองการมาชวยในการตอบปญหานั้น วิชา เชน ดนตรี ศิลปะแมจะไมมีเนื้อหาที่จะนํามา

Page 58: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

39

ตอบปญหาได แตก็ใชเปนเครื่องประกอบในการแกปญหา ตัวอยางของการสอนแบบนี้ เชน ต้ังปญหาวา ”ทําไมจึงจําเปนที่จะทําใหโรงเรียนของเราสะอาด” ครูและนักเรียนอาจนําเอาความรูทางสุขศึกษามาพูดเรื่องประโยชนของความสะอาด ความรูทางสังคมศึกษามาใชในเรื่องการอยูรวมกันอยางมีความสุข การรวมมือกันทํางาน ชวยกันไมทิ้งผง และชวยกันทําความสะอาด นึกถึงผูอื่น นําความรูทางคณิตศาสตรมาใช เชน ถานักเรียน 1,067 คน ทิ้งกระดาษคนละ 2 ช้ิน จะเปนกระดาษทั้งหมดกี่ช้ิน ใชวิชาศิลปะวางแผนชวยกันทําประกาศเตือน แตงเพลง (ดนตรี) หรอืคําขวัญ (ภาษาไทย) เรื่องการไมทิ้งกระดาษ เปนตน

Correlated Teaching ครูศิลปะพยายามศึกษาวา เด็กเรียนวิชาอื่น ๆ เรื่องอะไรบางแลวเตรียมการสอนศิลปะที่จะสงเสริม

วิชานั้น ๆ ขอคัดคานวิธีนี้ ก็คือ

ก. ความเกี่ยวพันของเรื่องที่เรียนจากวิชาอื่น ๆ กับวิชาศิลปะเปนเรื่องที่ครูคิดขึ้นเอง เด็กไมไดเห็นจริงจังดวยเหมือนกับการเรียนแบบ Core Teaching (แตก็มีขอแมวาถาครูสามารถก็อาจแกปญหานี้ได)

ข. บังคับความสนใจของเด็กใหอยูในวงที่จํากัด ค. ศิลปะกลายเปน “คนรับใช” ของวิชาอื่น ง. เห็นคุณคาของการแสดงออกทางศิลปะ ( art expression ) ซึ่งมีความสําคัญในชีวิตของเด็กนอยไป

( นิรมล ตีรณสาร สวัสดิบุตร . 2549: 70-73)

ในการใชวิธีสอนศิลปะแบบตาง ๆ ครูควรคํานึงถึงความเหมาะสมกับนักเรียน ควรคํานึงถึงขอดี ขอดอยของวิธีสอนแตละแบบ อาจจะใชการสอนหลายวิธีผสมผสานกัน เพื่อใหเกิดความสมดุล ครูควรคํานึงถึงความเปนศิลปะที่นักเรียนไดเรียนรูแลวนักเรียนเกิดสุนทรียภาพ ผอนคลายจากวิชาการตางๆ นักเรียนมีความสุข สงเสริมความคิดสรางสรรค การจัดการเรียนรูมีประสิทธิภาพบรรลุจุดประสงคที่วางไว และเกิดประโยชนสูงสุดกับนักเรียน

ลําดับขั้นการเรียนรูศิลปะ ในการเรียนรูเกี่ยวกับศิลปะของนักเรียนพัฒนาการเริ่มแรกที่นักเรียนไดเร่ิมเรียนรู จนถึงพัฒนาการสูงขึ้นไปตามลําดับ อําไพ ตีรณสาร แบงไวเปน 3 ขั้น คือ 1. ขั้นไรเดียงสา (innocent Stage) หมายถึงการที่บุคคลมีปฏิสัมพันธกับศิลปะดวยความกลาและปราศจาก อิทธิพลของความรูหรือลักษณะตาง ๆ ในสังคม สิ่งตาง ๆ เกิดจากความเขาใจหรือความตองการภายในของ เด็กโดยมิไดคํานึงถึงความตองการของคนภายนอก 2. ขั้นตามสังคม (conventional Stage) เมื่อเด็กโตขึ้นอีกระยะหนึ่ง จะเกิดการเรียนรูสิ่งตาง ๆ ในสังคมมากมาย เชน เพลงยอดนิยม โคลงกลอน นวนิยาย การตูน ภาพวาด สิ่งตีพิมพ ฯลฯ ซึ่งเด็กจะสรางความคิดรวบ ยอดจากลักษณะที่เปนที่ยอมรับของสังคม ทั้งนี้ รวมถึงนามธรรมตาง ๆ ที่แฝงมาในรูปวัตถุธรรม เชน ความ

Page 59: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

40

เปนหญิง ความเปนชาย ความโหดราย ความรัก การรับรูเหลานี้จะถูกซึมซับโดยไมรูตัว กลาวคือสิ่งตาง ๆ ที่ ไดรับการยอมรับ โดยปราศจากความจําเปนตองขบคิดหรือหาเหตุผล 3. ขั้นการกลอมเกลา (cultirvated Stage) คือขั้นที่เปลี่ยนสภาพจากการรับรูจากสามัญสํานึกมาเปนการศึกษา ดวยความคิดจากความรู และเหตุผล และแงมุมตาง ๆ ที่รับรูมาจากสังคม จะไดรับการพินิจพิเคราะห แยกแยะกลั่นกรอง และรวบรวมสะสมไวในคลังความคิด เปนตนวาในบรรดางานศิลปะที่มีอยูมากมายใน สังคมนั้น งานใดดีมีคุณคา หรืองานใดดอยคุณคาเปนตน (อําไพ ตีรณสาร . 2535: 63-66)

พัฒนาการทางดานศิลปะ พัฒนาการทางดานศิลปะ หมายถึง กระบวนการแสดงออกทางศิลปะที่มีลักษณะเฉพาะของเด็ก ซ่ึงปรากฏอยูในผลงานพัฒนาการจากวัยหนึ่งไปสูอีกวัยหนึ่งอยางตอเนื่องกัน พัฒนาการดังกลาวจะดําเนินไปชาหรือเร็วขึ้นอยูกับพื้นฐานความสนใจและความสามารถทางศิลปะ ประกอบกับส่ิงแวดลอมและแรงจูงใจของแตละคน ( พีระพงษ กุลพิศาล . 2546 : 159-160 ) พัฒนาการทางดานศิลปะของเด็กในแตละวัยมีความแตกตางกัน วิคเตอรโลเวนเฟลด (Victor Lowenfield) นักจิตวทิยาการศกึษา ไดศึกษาคนควาเกี่ยวกับศิลปะ และการคิดสรางสรรคจากงานศิลปะ พบวาเด็กมีพัฒนาการในการวาดขีดเขี่ยเปน 5 ขั้นดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นการขีดเขี่ย ( Scribbing Stage ) ประมาณอายุระหวาง 2- 4 ป ขั้นนี้แบงระยะของพัฒนาการได ออกเปน 4 ขั้น คือ ก. Disordered Scribbling ( 2 ป ) การขีดเขียนยังเปนแบบสะเปะสะปะ กลาวคือการขีดเขียนจะเปน เสนยุงเหยิง โดยปราศจากความหมาย ทั้งนี้เนื่องจากการประสานงานของกลามเนื้อยังไมดี ข. Longitudinal Scribbling ขั้นขีดเปนเสนยาว เด็กเคลื่อนแขนขีดไดเปนเสนแนวยาว ขีดเขี่ยซ้ํา ๆ หลายครั้ง ทั้ง แนวตั้งและแนวนอน แสดงใหเห็นพัฒนาการทางกลามเนื้อวาเด็กคอย ๆ ควบคุมกลามเนื้อของการ เคลื่อนไหว ของตนเองใหดีขึ้น ระยะนี้เด็กจะเริ่มรูสึกสนุกและสนใจเปนครั้งแรก ค. Circular Scribbing เปนขั้นที่เด็กสามารถขีดลากเปนวงกลม ระยะนี้การประสานงานของกลามเนื้อ ( motor Coordination ) ดีขึ้น การประสานงานของกลามเนื้อ และสายตา ( Eye - hand Coordination ) ดีขึ้น เด็ก สามารถขีดเสน ซึ่งมีเคาเปนวงกลมเปนระยะ เด็กเคลื่อนไหวไดตลอดทั้งแขน ง. Noming Scribbing ขั้นใหช่ือรอยขีดเขียน การขีดเขียนชัก มีความหมายขึ้น เชน จะวาดเปนรูป นอง พ่ี พอ แม ซึ่งเปนสิ่งที่อยูใกลตัวเด็ก ขณะขีดเขียนไปเด็กก็จะบรรยายไปดวย ถายทอดออกมา ในรูปการขีดเขียนและ ความคิดคํานึงในภาพ 2. ขั้นเริ่มขีดเขียน ( Pre - Schematic Stage ) ( 4 – 7 ป ) เปนระยะเริ่มตนการขีดเขียนภาพอยางมีความหมาย การขีดเขียนจะปรากฏเปนรูปรางขึ้น สัมพันธกับความจริงของโลกภายนอกมากขึ้น มีความหมายกับเด็กมากขึ้น ซึ่งจะสังเกตไดจาก

Page 60: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

41

ก. คนที่วาดอาจเปน พอ แม พ่ี นอง ตุกตาที่รัก ฯลฯ ข. ชอบใชสีที่สะดุดตา ไมคํานึงถึงความเปนจริงตามธรรมชาติการแลวแตสีไหนประทับใจ ค. ชองไฟ (Space) ภายในภาพยังไมเปนระเบียบ สิ่งที่เขียนมักกระจัดกระจายไมสัมพันธกัน

ง. การออกแบบ ( Design ) ไมคอยมีหรือไมมีเอาเลย แลวแตจะนึกคิดหรือคิดวาเปนอยาง นั้นอยางนี้ 3. ขั้นขีดเขียน ( Schematic Stage ) ( 7-9 ป ) เปนขั้นที่ขีดเขียนใหคลายของจริง และความเปนจริง จะพิจารณา ไดตามลําดับดังนี้

ก. คน รูปที่ออกมาจะแสดงพอเปนสัญลักษณ ถาวาดรูปคนเราอาจไมรูวาเปนรูปคน และภาพที่ ออกมาเปนรูปทรงเรขาคณิต เชน สวนใดที่เด็กเห็นวาสําคัญ นาสนใจ ก็จะวาด สวนนั้นใหญเปนพิเศษ สวนไหนที่ไมสําคัญอาจตัดทิ้งไปเลย ข. การใชสี สวนมากใชสีตรงกับความเปนจริง แตมักใชสีเดียวตลอด ค. ชองวาง ( Space ) มีการใชเสนฐาน ( based line ) แลวเขียนทุกอยางสัมพันธกันบนเสนฐาน ง. งานออกแบบไมคอยดี มักจะเขียนตามลักษณะที่ตนพอใจ

4. ขั้นวาดภาพของจริง ( The Drawing Realism ) ( 9 – 11 ป ) เปนขั้นเริ่มตนการขีดเขียนอยางของจริง การขีด เขียนการขีดเขียนจะแสดงออกในทํานองตอไปนี้ คือ

ก. คน จะเนนเรื่องเพศดวยเครื่องแตงตัว แตกระดาง ๆ ข. สี ใชตามความเปนจริง แตอาจเพิ่มความรูสึก เชน บานคนจนอาจใชสีมัว ๆ บานคนรวยอาจใชสี สด ๆ มีชีวิตชีวา ค. ชองวาง ทุกอยางในชองวางเหลื่อมล้ํากันได เชน ตนไมบังฟาได วาดฟาคลุมไปถึงดินเสนระดับ ( Based Line ) คอย ๆ หายไป ง. การออกแบบ ประสบการณของเด็กจะทําใหการออกแบบดีขึ้น

5. ขั้นการใชเหตุผล ( The Stage of Reasoning ) ( 11-12 ป ) ขั้นการใชเหตุผล ระยะเขาสูวัยรุน เปนระยะที่ เด็กแสดงออกมาอยางไมรูสึกตัว ถาพิจารณาจากขั้นนี้จะสังเกตวา

ก. การวาดคน จะเห็นขอตอของคน ซึ่งเปนระยะเด็กเริ่มคนพบเสื้อผาก็มีรอยพริ้วไหว ดานสัดสวนก็ ใกลความจริงขึ้น ข. สี แบงเปน 2 พวก พวกแรกจะใชสีตามความเปนจริง ( Visually Minded) สวนอีกพวก ( Non Visually Minded ) มักใชสีตามอารมณ และความรูสึกตนเอง ค. ชองวาง พวก Visually Minded รูจักเสนระดับ รูปเริ่มมี 3 มิติ โดยการจัดขนาดวัตถุเล็กลง ตามลําดับ ระยะใกลไกล สวนพวก Non Visually Minded ไมคอยใชรูป 3 มิติ ชอบวาดภาพคน และมักเขียนโดยใชตนเองเปนผูแสดง สิ่งแวดลอมจะเขียนเมื่อจําเปนหรือเห็นวาสําคัญเทานั้น ง. การออกแบบ พวก Visually Minded ชอบออกแบบทางสวยงาม พวก Non Visually Minded มองทางประโยชน อารมณ แตทั้งนี้เปนเพียงการเริ่มตนเทานั้น ยังไมเขาใจการออกแบบอยางจริงจัง (ศรียา นิยมธรรม . 2545:5-9 )

Page 61: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

42

ศิลปะทําใหนักเรียนมีพัฒนาการในดานตาง ๆ หลายดาน เชน พัฒนาการทางการสรางสรรค พัฒนาการทางสุนทรียภาพ พัฒนาการทางการเรียนรู พัฒนาการทางดานสติปญญา พัฒนาการทางดานอารมณ พัฒนาการทางกาย และพัฒนาการทางดานสังคม ซ่ึงเปนประโยชนกับตัวนักเรียน ครูสามารถทราบถึงพัฒนาการตาง ๆ ของนักเรียนไดดังตอไปนี้ 1. พัฒนาการทางการสรางสรรค สามารถคิดดับแปลง แกปญหาทําสิ่งตาง ๆ ใหดีมีคุณคากวาเดิมได นักเรียน แสดงออกโดยการวางแผนงาน ออกแบบ วัดผลไดโดยการทดสอบและการสังเกต 1.1 การทํางานไดอยางอิสระโดยไมตองคอยถามผูอื่น 1.2 มีความเช่ือมั่นในความคิดของตน 1.3 ไมลอกแบบของผูอื่น 1.4 สามารถออกแบบไดรวดเร็ว แนนอน ทันที 1.5 มีลักษณะการแสดงออกแตกตางกับคนอื่น และงดงามดีดวย 2. พัฒนาการทางสุนทียภาพ สามารถรูและเขาใจในคุณคาทางศิลปะอยางมีหลักเกณฑ นักเรียนแสดงออกโดย สามารถเขาใจและนิยมในศิลปะ วัดผลไดโดยการทดสอบการสังเกตสัมภาษณและแบบสํารวจ 2.1 ความนิยมเขาใจที่เกิดจากความรูสึกภายใน 2.2 ความนิยมเขาใจที่อาศัยประสบการณและการปฏิบัติทางศิลปะ 2.3 มีความเขาใจและใชหลักการทางสุนทรียภาพไดถูกตองเหมาะสม 2.4 สามารถเลือก แบงแยก และใหเหตุผลงานศิลปะที่ดี 3. พัฒนาการทางการเรียนรู สามารถสังเกตเขาใจในงานศิลปะถูกตองตามหลักศิลปะ นักเรียนแสดงออกโดยการ อธิบายการใหเหตุผลในความงามอยางถูกตอง การวัดความสามารถในดานที่ทํา ทําไดโดยการทดสอบ การ สังเกต การสัมภาษณ

3.1 การสังเกตถึงความถูกตองของงาน ตามหลักเกณฑของงานศิลปะ เชน แสงเงา ความตื้นลึก ความแตกตางในเรื่องนี้

3.2 ความรูสึกที่เกิดจากการดูงานศิลปะ เชน ความรูสึกในเรื่องพื้นผิวออนหรือแข็ง กระดาง 3.3 ความรูสึกในการเคลื่อนไหว เชน การเคลื่อนไหวของรางกายและสิ่งของ 4. พัฒนาการทางดานสติปญญา มีความสามารถในดานตาง ๆ สามารถจดจําไดละเอียดถูกตอง ฉลาดเฉียบ แหลม การแสดงออกโดยการแกปญหาไดดี การวัดผลโดยการสังเกต การทดสอบ และการสัมภาษณ 4.1 สามารถสรางสรรคงานศิลปะไดถูกตองมีรายละเอียดมากและงดงาม 4.2 การใชหลักการทางศิลปะไดเหมาะสม เชนการใชสีในการออกแบบ 4.3 มีความรูในเรื่องราวตาง ๆ ไดละเอียดถูกตองมาก 5. พัฒนาการทางดานอารมณ มีความสามารถแสดงออกอยางอิสระ และควบคุมอารมณได มีความมั่นใจใน การทํางาน พัฒนาการทางดานอารมณ รวมไปถึงสุขภาพจิต ความมั่นคงทางอารมณและพัฒนาการทาง บุคลิกภาพดวยการแสดงออกโดยการทํางานไดอยางสุขุมเปนระเบียบ และควบคุมไดอยางเหมาะสม การวัดทํา

Page 62: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

43

ไดโดยการสังเกต การสัมภาษณ 5.1 การสรางสรรคงานศิลปะไดอยางอิสระ มีความมั่นใจในการทํางาน 5.2 มีความเปนระเบียบในการทํางาน

6. พัฒนาการทางกาย มีความสามารถในการปฏิบัติทางศิลปะใชเครื่องมือและอุปกรณไดคลองแคลวมั่นคงไมเปนอันตราย มีความแนนอนและแมนยําในการทํางาน การแสดงออกโดยการปฏิบัติ และการเคลื่อนไหว การวัดโดยการสังเกต การสัมภาษณและการทดสอบ

6.1 มีทักษะในการเขียน ปน และการใชเทคนิคตาง ๆ ไดคลองแคลววองไว 6.2 ลักษณะภาพที่แสดงออก มีความสัมพันธในการฝกเขียนและความรูสึก

7. พัฒนาการทางดานสังคม มีความสามารถเขาใจในสิ่งแวดลอม เขาใจความตองการของผูอื่น และสามารถเขาใจกับผูอื่นไดอยางเปนสุข การแสดงออกโดยการทํางาน การประสานงาน การคิดและการเขาใจผูอื่น การวัดโดยการสังเกต การสัมภาษณและการทดสอบ

7.1 มีประสบการณในสิ่งแวดลอมดี สามารถแสดงออกในงานศิลปะไดถูกตอง 7.2 มีความเขาใจในการแสดงออกของผูอื่นได 7.3 มีความสามารถในการทํางานรวมกับผูอื่นไดดี และมีความสุขในการทํางาน 7.4 มีความเขาใจในวัฒนธรรมตาง ๆ ของผูอื่น ( ศรียา นิยมธรรม .2545 : 19-23)

การที่ครูผูสอนไดทราบถึงพัฒนาการทางดานตางๆ ของนักเรียนนั้นจะทําใหเปนประโยชนในการจัดการเรียนรูใหเหมาะสมกับนักเรียนแตละคน ซ่ึงจะทําใหครูสามารถสงเสริมพัฒนาการในสวนที่นักเรียนขาดนั้นใหดีขึ้น และสงเสริมพัฒนาการในสวนที่นักเรียนมีพัฒนาการที่ดีอยูแลวใหดียิ่ง ๆ ขึ้นไปอีก

ผลงานศิลปะของนักเรียนระดับประถม ( ชวงอายุ 6-13 ป ) การสรางสรรคผลงานศิลปะในชั้นประถม ผลงานของนักเรียนแตละชิ้นลวนนาสนใจ เนื่องจากผลงานทางดานศิลปะจะทําใหเราทราบถึงความคิดของนักเรียน ทราบถึงพัฒนาการดานตาง ๆ เห็นสวนที่ซอนเรนอยูในความคิดของนักเรียน นที เถกิงศรี ไดกลาวถึงสิ่งที่สะทอนใหเห็นในผลงานศิลปะของนักเรียนวาจะมีลักษณะที่สังเกตไดดังนี้ 1. ผลงานที่เด็กสรางเกิดจากเทคนิคการเสนอของครูที่ถายทอดแนะนําเสนหของภาพที่เด็กใชทักษะตาง ๆ มักมี เสนหในภาพเพราะเขาไดเรียนรูจากการสัมผัสจากสิ่งแวดลอมดวยตัวของเด็กเอง การวาดภาพของเด็กที่แสดง ออกมาจะทําใหเราทราบถึงความสมบูรณทางรางกายและจิตใจของเด็ก 2. ผลงานศิลปะสามารถวัดความรวดเร็วของการเรียนรู หรือวัดสติปญญาความสามารถของเด็กไดอีกดวย เด็ก สามารถนําสิ่งที่เรียนมาและจากประสบการณภายนอกมาปรับปรุงใชในงานศิลปะ ซึ่งแสดงออกถึงความคิด สติปญญา ความสามารถในการเรียนรู และเด็กจะสามารถนําทักษะตาง ๆ ที่เรียนมาทั่วไปใชไดมากนอยแคไหน ซึ่งจะใชผลงานทางศิลปะสามารถวัดได

Page 63: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

44

3. ผลงานทางศิลปะของเด็กทางการวาดหรือการเขียน จะทําใหครูผูสอนทราบคาทัศนคติที่เด็กจะแสดงออกมา โดยอิสระ ซึ่งแตละภาพที่เด็กไดแสดงออกมานั้น จะแสดงใหทราบทัศนคติที่เด็กมีตอสิ่งนั้น ๆ 4. ผลงานศิลปะเด็ก ทําใหทราบวาเด็กอยูในอารมณใด ในชวงนั้น วิธีการใชอุปกรณตาง ๆ ในทางศิลปะ ซึ่ง เด็กจะสื่อออกมาอยางอิสระ ( นที เถกิงศรี .2548 : 5 )

จากการสังเกตผลงานของนักเรียน ซ่ึงจะบงบอกสิ่งตางๆ เกี่ยวกับตัวนักเรียน ครูสามารถนําสิง่ตาง ๆ ที่สังเกตไดจากผลงานศิลปะเหลานี้ ไปใชใหเปนประโยชนในการจัดการเรียนรู และทําใหครูรูจักนักเรียนในดานตาง ๆ มากขึ้นจากที่เห็นลักษณะภายนอกของนักเรียน จากผลงานศิลปะอาจทําใหครูเขาใจถึงสภาพจิตใจ เขาใจถึงพัฒนาการดานสติปญญา ทําใหทราบถึงทัศนคติของนักเรียน ฯลฯ ซ่ึงจะเปนประโยชนในการจัดการเรียนรู และการดูแลนักเรียนในดานตาง ๆมากขึ้น

คุณคาของการเรียนศิลปะ ศิลปะ(ทัศนศิลป) เปนสาระหนึ่งในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระศิลปะ(ทัศนศิลป) นั้นมีคุณคามากมายหลายประการ ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา ไดกลาวถึง คุณคาของการเรียนศิลปะ ไวดังนี้ 1.คุณคาของศิลปะในแงของการสงเสริมพัฒนาการคือการสงเสริมความเจริญงอกงามของเด็กทั้งทางดานรางกาย สติปญญา สังคม และอารมณ

ก. ทางดานรางกาย กิจกรรมทางศิลปะจะชวยสนองความตองการตามธรรมชาติของเด็กที่ชอบเคลื่อนไหวไมอยูนิ่ง เปลี่ยนอิริยาบถ และไดฝกหัดใชกลามเนื้อมือและสายตา และอวัยวะตาง ๆ ข. ทางดานสติปญญา กิจกรรมทางศิลปะชวยสงเสริมการเรียนรูใหเด็กไดเรียนดวยการกระทํา ไดมีประสบการณตรงดวยตนเองในการสํารวจ คนควา ทดลอง สรางสรรค แกปญหากับงานและวัสดุนานาชนิด ค. ทางดานสังคม ศิลปะเปนสื่อใหเด็กไดมีโอกาสมากขึ้นในการทํางานรวมกับคนอื่นทั้งในบาน ในโรงเรียน และในชุมชน ง. ทางดานอารมณ การสงเสริมทางดานศิลปะ ชวยสนองความตองการที่จะแสดงออกและสรางสรรค เมื่อเด็กเกิดความสําเร็จก็มีความพึงพอใจ มีอารมณแจมใส เบิกบาน การแสดงออกโดยเสรีดวยตัวเองยอมทําใหเด็กมีอารมณมั่นคงและเกิดความมั่นใจในตัวเอง ซึ่งเปนพื้นฐานของความกลาที่จะเผชิญกับปญหาตาง ๆ รูจักหาทางแกปญหาพึงปราถนาอยางยิ่งในสังคมปจจุบัน ศิลปะยังชวยใหเด็กเกิดอารมณช่ืนชมซาบซึ้งในความงามของสิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัว

2. คุณคาของศิลปะในแงของการบําบัดปญหา ศิลปะอาจทําหนาที่เปนยาบําบัดใหไดอยางนอยใน 3 ลักษณะ คือ ก. ศิลปะเปนทางระบายอารมณที่เครงเครียด ความโกรธ ความกลัว ความวิตกกังวล

Page 64: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

45

ข. ศิลปะชวยขจัดความดอย เมื่อเด็กเกิดความรูสึกดอย ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากความไมสมปรารถนา การขาดความรูสึกมั่นใจ ความขลาดอาย ความพิการหรือการดอยความสามารถบางอยาง ความดอยยอมทําใหเด็กหมดความสุข เกิดความไมสบายและความคับของใจ กิจกรรมทางศิลปะเปนวิธีหนึ่งที่บรรเทาความทุกขดังกลาวได ค. ศิลปะชวยทําความเขาใจกับปญหาและความตองการของเด็กไดกิจกรรมทางศิลปะเปนวิธีการอยางหนึ่งที่ครู นักจิตวิทยา นักบําบัดทางจิต ใชเพื่อใหเด็กแสดงออกถึงความรูสึก ความตองการและปญหาที่แทจริงของเขาซึ่งมักปดบังซอนเรนไวภายใน (ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา .2549 : 28-33)

วิรัตน พิชญไพบูลย ไดกลาวถึงคุณคาของการเรียนศิลปะ คุณคาของสุนทรียศึกษาสงเสริมความเจริญทางสุนทรียภาพและการรับรู สุนทรียศึกษาสงเสริมความเจริญทางสติปญญา สุนทรียศึกษาสงเสริมการสรางสรรค และ ศิลปะสงเสริมความเขาใจและเห็นคุณคาของศิลปะและวัฒนธรรม ไวดังนี้ สุนทรียศึกษาสงเสริมความเจริญทางสุนทรียภาพและการรับรู

การเรียนวิชาศิลปะจะชวยสงเสริมใหเด็กเจริญเติบโตทางดานสุนทรียภาพและการรับรู ความเจริญทางสุนทรียภาพนั้นเปนสวนหนึ่งของความเจริญทางการรับรู ผูที่มีความเจริญทางดานนี้สามารถที่จะสังเกตหรือพิจารณาดูความเหมือนกันและแตกตางกันของสิ่งตาง ๆ สามารถเขาใจในความงามของศิลปะและธรรมชาติ ..สงเสริมความเปนคนชางสังเกตในสิ่งแวดลอมตาง ๆ

สุนทรียศึกษาสงเสริมความเจรญิทางสติปญญา ประสบการณในการแกปญหาในการทํางานศิลปะจะชวยใหเด็กรอบรูและปลูกฝงพฤติกรรมของเด็ก สามารถเขาใจตนเอง สามารถแกปญหาในการใชเครื่องมือและการใชวัสดุในการประกอบการทํางาน จะชวยใหเด็กมีบุคลิกลักษณะดี มั่นใจในการแกปญหาและกลาแสดงความคิดเห็น เด็กที่เจริญเติบโตมีสติปญญาสามารถแกปญหาอยางเหมาะสม ..กระบวนการสรางสรรคงานศิลปะจะสงเสริมความเจริญทางดานสติปญญา

สุนทรียศึกษาสงเสริมความเจริญทางดานอารมณ กิจกรรมทางศิลปะมีสวนชวยฝกฝนในการควบคุมอารมณ ทั้งนี้เพราะการสรางสรรคงานศิลปะจําเปนตองมีอารมณ ผูสรางสรรคงานศิลปะจึงมีประสบการณในการควบคุมอารมณดวย นอกจากนั้นการที่เด็กไดทํางานศิลปะตามความถนัดและสนใจ เด็กจะทําดวยความเปนสุขและราเริง จิตใจของเด็กก็เปนสุขดวย

สุนทรียศึกษาสงเสริมการสรางสรรค กิจกรรมทางศิลปะจะเปดโอกาสใหเด็กไดฝกฝนในการสรางสรรคเด็กจะไดมีโอกาสทํางานศิลปะแขนง ตาง ๆ ซึ่งจะเปนการปลูกฝงใหมีอุปนิสัยในการออกแบบ การทํางานและฝกฝนในการแกปญหาการใชวัสดุและเครื่องมือ จึงนับวาเปนการสงเสริมความสามารถในการสรางสรรคได

ศิลปะสงเสริมความเขาใจและเห็นคุณคาของศิลปะและวัฒนธรรม สามารถทําไดดวยการใหเด็กเกิดความเขาใจและมีความนิยมในศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การสงเสริมนี้มิไดทําโดยการใหเด็กปฏิบัติงานศิลปะเหมือนดังที่ไดกระทําทั่ว ๆ ไป หากแตสงเสริมดวยการใหเด็กได

Page 65: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

46

สามารถเขาใจในความงามของศิลปะวัฒนธรรมของชาติ จนสามารถประเมินผลและตีคุณคาของงานศิลปะนั้น ๆ ได นักการศึกษาเชื่อวาการสอนวิชาศิลปนิยมมีคุณคาในการสงเสริมและรักษาศิลปะวัฒนธรรมได การสงเสริมนี้อาจทําไดดวยการใหเด็กไดเรียนรูเกี่ยวกับหลักการทางสุนทรียภาพ องคประกอบของความงาม หลักของการออกแบบ แนวความคิดและความเปนมาของงานนั้น ๆ .. การสงเสริมความนิยมในศิลปะนี้จะไดผลดีเด็กตองมีความรูสึกตระหนักในความงามและเห็นคุณคาของงานนั้น..เขาใจและมีความนิยมศิลปะของไทยและมีความรูสึกรักในความงามและเกิดความรูสึกอยากจะชวยกันรักษาศิลปะและวัฒนธรรมของชาติใหอยูถาวรสืบตอไปชั่วกาลนาน (วิรัตน พิชญไพบูลย .2549 : 54-67)

ศิลปะนั้นมีคุณคามากมาย ไมวาจะเปนในแงการสงเสริมพัฒนาการทางดานรางกาย ทางดานสติปญญา ทางดานสังคม ทางดานอารมณ สงเสริมการสรางสรรค ในแงของการบําบัดปญหา โดยศิลปะจะชวยเปนทางระบายอารมณที่เครงเครียด ความโกรธ ความกลัว ความวิตกกังวล ชวยขจัดความดอย ชวยใหเขาใจกับปญหา นอกจากนี้ศิลปะยังสงเสริมศิลปะวัฒนธรรม สงเสริมการเขาใจสิ่งแวดลอม รูจักและรักธรรมชาติ ฯลฯ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) จึงความคัญมาก โดยเฉพาะสังคมที่เต็มไปดวยปญหาในปจจุบัน แตในสังคมบางสวนยังไมไดใหความสําคัญ ยังใหความสําคัญกับการเรียนรูเฉพาะที่เปนวิชาการ โดยขาดความเขาใจถึงคุณคาของศิลปะ ทําใหศิลปะยังไมไดรับการสงเสริมเทาที่ควร โดยเฉพาะศิลปะเด็ก ยังมีความเขาใจวา ศิลปะเด็กนั้นใหใครสอนก็ได ไมไดสําคัญอะไร ซึ่งผูที่ไมมีความรูทางดานศิลปศึกษานั้นอาจจะไมเขาใจถึงความละเอียดออนของกลุมสาระการเรียนรูนี้ ทําใหมีผลตอพัฒนาการในดานตาง ๆ ของเด็ก จะทําใหเด็กเหลานั้น มีพัฒนาการที่ไมดีได และจะสงผลตอการเจริญเติบโตในดานตาง ๆ ของเขาในอนาคต ซ่ึงมีความสําคัญในแงการพัฒนาเยาวชนของชาติ การใหเด็กเรียนรูศิลปะอยางถูกวิธี โดยผูที่มีความรูมีความเขาใจทางดานศิลปศึกษานั้น แทจริงแลวเปนการสงเสริมใหเด็กซึ่งเปนอนาคตของชาติเปนมนุษยที่สมบูรณ มีพัฒนาการในดานตาง ๆที่สมบูรณยิ่งๆขึ้นไป

แนวคิดและทฤษฎีทางศิลปศึกษา แนวคิดพหุศิลปศึกษา

แนวคิดพหุศิลปศึกษาเชิงแบบแผน Discipline – based Art Education แนวคิดพหุศิลปศึกษาเชิงแบบแผน เปนการเรียนการสอนศิลปะทางดานทัศนศิลป ที่มีแกนสําคัญในการเรียนการสอน 4 แกน ไดแก ศิลปะปฏิบัติ สุนทรียศาสตร วิจารณศิลปะ และประวัติศาสตรศิลป ซ่ึงมาจากแนวคิดการปฏิรูปหลักสูตรศิลปศึกษา ที่มีช่ือยอวา DBAE (Discipline – based Art Education) เปนแนวคิดที่เกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา ราลฟ สมิธ ( มะลิฉัตร เอื้ออานันท .2545 : 23; อางอิงจาก Smith 1987 : 3) กลาววาในทศวรรษที่ 1960 นี้ นักวิชาการในสาขาศิลปศึกษาเริ่มใหความสนใจกับแนวคิดแบบปฏิรูปหลักสูตรศิลปศึกษาใหมที่รูจักกันในนาม DBAE ในปจจุบัน คํานึงถึง

Page 66: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

47

เปาหมายวา ศิลปศึกษาเปนสาขาที่มีความรูอันเปนเอกลักษณเฉพาะตัวที่จะใหแกผูเรียน การเรียนการสอนตามแนวคิด DBAE (Discipline – based Art Education) เปนการเรียนการสอนแบบ “เด็กเปนศูนยกลาง” ( Child - centered Movement ) เนนการแสดงออกเฉพาะตัว ( self – expression ) ( คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ .2545 : 53 ) ไดแพรเขาสูสังคมไทย ทั้งการศึกษาแบบพิพัฒนาการนิยม และศิลปศึกษาตามแนวคิด DBAE จากผูที่ไปศึกษาในสหรัฐอเมริกา และยุโรป ทั้งที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มะลิฉัตร เอื้ออานันท ไดกลาวถึงการใชหลักสูตรตามแนวคิดDBAEในประเทศไทยวาในหลักสูตรศิลปศึกษาของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเร่ิมตั้งแตป 2528 เปนตนมา หลักสูตรของภาควิชาศิลปกรรมศาสตร ในสถาบันราชภัฏในปจจุบันก็ปรากฏเนื้อหารายวิชาทางดานสุนทรียศาสตร และศิลปวิจารณ ( มะลิฉัตร เอื้ออานันท. 2545:20 ) แนวคิดพหุศิลปศึกษาเชิงภูมิปญญาไทย Thia Wisdom Arts Education ในยุคที่โลกไรพรมแดน ยุคที่มีการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจเปนหลัก วิถีชีวิตของคนไทยเปล่ียนแปลงไป จากสังคมชนบทสูสังคมเมือง วิถีชีวิตเดิมที่ใชความรูทางภูมิปญญาที่ถายทอดกันมาตั้งแตบรรพบุรุษก็เร่ิมสูญสลายไป ผูคนหันมาสนใจวิทยาการตางๆ ที่มาจากประเทศตะวันตก พหุศิลปศึกษาเชิงภูมิปญญาไทย เปนแนวคิดที่ตองการรักษาวัฒนธรรมอันเปนวิถีชีวิตของคนไทยไว รุง แกวแดง ไดกลาวถึงความหมายของภูมิปญญาไทยไววา ภูมิปญญาไทย หมายถึง “องคความรู ความสามารถ และทักษะของคนไทยอันเกิดจากการสั่งสมประสบการณ ที่ผานมากระบวนการเลือกสรร เรียนรู ปรุงแตงพัฒนา และถายทอดสืบตอกันมา เพื่อใชแกปญหาและพัฒนาวิถีชีวิตของคนไทยในสมดุลกับสภาพแวดลอมและเหมาะสมกับยุคสมัย” ( คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ .2545 : 162 ; อางอิงจาก รุง แกวแดง . 2543 : 204-205 ) แนวคิดพหุศิลปศึกษาเชิงภูมิปญญาไทย เปนแนวคิดที่ตองการใหจัดการศึกษาในลักษณะที่มีความสมดุล ระหวางองคความรู 2 ประเภทคือ 1. ความรูทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี คณิตศาสตร และภาษาตางประเทศเพื่อพัฒนาประเทศใหกาวหนา ทัดเทียมประเทศอื่น 2. เพื่อที่จะดํารงความเปนไทยไว การเรียนการสอนจะตองพูดถึงศาสนา ภาษาไทย วรรณคดีและ ศิลปวัฒนธรรมอันเปนภูมิปญญาไทยดั่งเดิม เพื่อใหการศึกษาทั้งสองมีความสมดุล คือมีทั้งภูมิปญญาสากล และภูมิปญญาไทยในสัดสวนที่ใกลเคียงกัน

Page 67: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

48

แนวคิดพหุศิลปศึกษาเชิงพหปุญญา Multiple Intelligences Arts Education แนวคิดพหุศิลปศึกษาเชิงพหุปญญา เปนแนวคิดที่เชื่อมั่นในความสามารถของมนุษยที่มีความสลับซับซอน เชื่อวามนุษยมีความสามารถหลาย ๆ ดาน จึงไมควรใหความสําคัญกับความสามารถดานใดดานหนึ่งเพียงดานเดียว พหุปญญา หมายถึง ศักยภาพความสามารถของมนุษยในการแกปญหาหรือ ออกแบบงาน และผลงานชนิดตาง ๆ ในสถานการณธรรมชาติ (พีระ รัตนวิจิตร .2544 : 2 ) แนวคิดพหุปญญานี้มาจากแนว การดเนอร นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน แหงมหาวิทยาลัยอารวารด โดยการเนอรไดจําแนกความสามารถหรือสติปญญา ( Intelligence) ของมนุษยออกเปน 8 ดานดังนี้ 1. ปญญาดานภาษา ( Linguistic Intelligence ) คือ ความสามารถสูงในการใชภาษา 2. ปญญาดานตรรกะและคณิตศาสตร ( Logical - Mathematical Intelligence ) คือ ความสามารถสูงในการใชตัวเลข 3. ปญญาดานมิติ ( Spatial Intelligence ) คือ ความสามารถสูงในการมองเห็นพื้นที่ 4. ปญญาดานรางกายและการเคลื่อนไหว ( Bodily – Kinesthetic Intelligence ) คือ ความสามารถสูงในการใชรางกายของตนเองแสดงความคิด ความรูสึก 5. ปญญาดานตนตรี ( Musical Intelligence ) คือ ความสามารถสูงทางดานดนตรี 6. ปญญาดานมนุษยสัมพันธ ( Interpersonal Intelligence ) คือ ความสามารถสูงในการเขาใจอารมณ ความรูสึก ความคิดและเจตนาของผูอื่น 7. ปญญาดานตนหรือการเขาใจตนเอง ( Intrapersonal Intelligence ) คือ ความสามารถสูงในการรูจักตนเองและสามารถประพฤติปฏิบัติตนไดจากความรูจักตนนี้ 8. ปญญาดานนักธรรมชาติวิทยา ( Naturalist Intelligence ) คือ ความสามารถในการรูจักธรรมชาติของพืชและสัตว (พีระ รัตนวิจิตร .2544 : 3-4 )

พหุศิลปศึกษาเชิงพหุปญญา เปนการเรียนการสอนศิลปศึกษาที่สัมพันธ เชื่อมโยง บูรณาการกับปญญาดานตางๆ การเรียนรูเปนวิธีการใชปญญา การเรียนรูดานศิลปศึกษาจึงเปนการเรียนรูที่พัฒนาไปพรอม ๆ กับปญญาดานอื่น ๆ ดวยปญญาเปนสิ่งที่พัฒนาได ปญญาเปนระบบคิดที่ตองไดรับการปลูกฝง การพัฒนาปญญาจึงจําเปนตองอาศัยวิธีการ ( คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ .2545 : 207 ) พหุศิลปศึกษาเชิงพหุปญญา เปนการสอนศิลปศึกษาเพื่อพัฒนา ปญญาหลายๆ ดาน ใหมีความเกง ดี และมีสุข แนวคิดนี้เชื่อวา 1.มนุษยทกุคนเกิดมามีความสามารถดานศิลปะ แลวแตจะเกงศิลปะดานใด 2.มนุษยเปนผูมีสติปญญาและความสามารถในการแสดงออกทางดานศลิปะตามศักยภาพของแตละบุคคล ( คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ .2545 : 207 )

Page 68: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

49

แนวคิดพหุศิลปศึกษาเชิงศิลปะหลังสมัยใหม Post – Modern Arts Education แนวคิดพหุศิลปศึกษาเชิงศิลปะหลังสมัยใหม ซ่ึงเปนแนวคิดที่มาจากศิลปะหลังสมัยใหม

( Postmodern Art ) ที่เกิดขึ้นในชวงจุดเปลี่ยนของศตวรรษที่ 20 ... คําวาหลังสมัยใหมนิยม หมายถึง ความเปลี่ยนในแนวคิดตอทฤษฎี มีการทําลายการแบงเปนสาขายอยทั้งในทางศิลปะและวิชาการ (จันทนี เจริญศรี . 2544 : 15 ) อารี สุทธิพันธ ไดกลาวถึง ศิลปะหลังสมัยใหมดังนี้

ศิลปกรรมหลังสมัยใหม หมายถึง อะไร

Postmodernism จากพจนานุกรมศัพทยุคใหม a Concise Dictionary of New Words B.A. Phythian และ Richard Cox แปล โดย ณัฏฐวุฒิ กฤทธาภรณ หนา 131 บอกวา ก. แนวคิดโพสตโมเดิรน คือ ศิลปะการเคลื่อนไหว แนวโนมรูปแบบ หรือ กระแสความคิดที่ปฏิเสธ หรือ ตอตานแนวคิดแบบโมเดิรน ( Modernism ) เริ่มใชคํานี้ครั้งแรกเมื่อป 1949 แตแพรหลายในทศวรรษที่ 70 ชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ในแงสังคม หมายถึงสังคมที่แปรปรวนในระบบคุณคาทําใหขอบเขตของการแยกแยะสิ่งตาง ๆ เชน ความดี ความเลว ความงาม ความอัปลักษณ มีความคลุมเครือ เปนผลมาจากการที่มนุษยเกิดความอิ่มตัวกับความเจริญ ทันสมัย เทคโนโลยี และอุตสาหกรรมในยุคโมเดิรน จึงพยายามแสวงหาทางออกใหมดวยการละทิ้ง ระบบคุณคาเดิมทั้งหมด สวนในแง ของศิลปะแนวคิดนี้หมายถึง การสรางสรรคแนวหนึ่งที่หกัลางสุนทรียภาพของสังคมยุคโมเดิรน เชน แนวคิดเรื่องการแบงแยก ศิลปะชั้นสูง กับ ช้ันต่ํา แบบเกาที่จะแยกศิลปะชาววังกับศิลปะชาวบานออกจากกัน ศิลปะโพสตโมเดิรนจึงมีลักษณะผสมผสานศิลปะหลายยุคเขาดวยกันมีระบบ โดยเฉพาะการนําศิลปะคลาสสิกมาลอเลียน เชน รูปโมนาลิซาถือกระปองน้ําอัดลม หรืออาคารลอยที่กรุงลอนดอน เปนตน (อารี สุทธิพันธุ .2548 : 11-12)

ศิลปะหลังสมัยใหม เปนผลอันเนื่องมาจากศิลปะสมัยใหม และผลอันเนื่องมาจากการเกิดแนวคิดใหมทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ ประวัติศาสตร วิรุณ ตั้งเจริญ ไดกลาวถึงการเกิดขึ้นของศิลปะหลังสมัยใหมไวดังนี้

เมื่อตนคริสตศตวรรษที่ 20 ลัทธิสมัยใหม (Modernism) ไดแสดงบทบาทเดนชัดสอดคลองกับการปฏิวัติอุตสาหกรรมและสังคมอุตสาหกรรม ศิลปะสมัยใหมมากมายหลายลัทธิหลายกลุมไดเกิดขึ้น กระแสคิวบิสมโดยตัวของมันเอง รวมทั้งกระแสอิทธิพลคิวบิสมไดสงผลกระทบอยางกวางขวางเลยมาจนถึงกลางศริสตศตวรรษที่ 20 ศิลปนอเมริกันสกุลนิวยอรคก็ไดแสดงบทบาทโดดเดน ประกอบกับกระแสการเมือง เศรษฐกิจ และสงครามเย็นไดสงผลให American Abstract Expressionism สงผลไปสูระดับสากล หลัง 1960 ตอ 1970 กระแสความคิดใหมไดเกิดขึ้นในวงการศิลปะ พรอมกับ กระแสความคิดใหมในบริบทสังคมใหม ซึ่งนักวิชาการเรียกวา ลัทธิหลังสมัยใหม (Postmodernism) ไมวาจะเปนแนวคิดใหมทางดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ประวัติศาสตร ฯลฯ ลัทธิหลังสมัยใหมที่ เ ช่ือมั่นในปญญาความคิด สภาพแวดลอม การผสานความคิด เช่ือมั่นในเสรีภาพและความหลากหลายทางความคิด (วิรุณ ต้ังเจริญ .2547 : 41)

Page 69: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

50

ศิลปะหลังสมัยใหมเปนศิลปะที่ลบลางเสนแบงระหวางศิลปะช้ันสูงกับศิลปะชาวบาน สามารถรับรูประสบการณทางศิลปะไดขณะเดินในหางสรรพสินคา เปนศิลปะแบบมวลชน เนนรูปแบบที่หลากหลาย ๆ มีการลอเลียนศิลปะในอดีต เลิกเชิดชูศิลปน จันทนี เจริญศรี ไดระบุ ถึงลักษณะของศิลปะหลังสมัยใหมไดดังนี้

ศิลปะแบบหลังสมัยใหมมีลักษณะที่อาจระบุไดดังนี้ 1) พยายามที่จะลบลางเสนแบงระหวางศิลปะกับชีวิตประจําวัน เชนที่ปรากฏในผลงานของแอนดี้ วอรฮอล ศิลปนที่มักถูกใชเปนตนแบบของศิลปะแบบหลังสมัยใหม ในประเด็นนี้เราจะเห็นไดจากภาพเขียน “The Campbell Soup Can” ของเขาซึ่งจอหน สตอรี่ย ( Storey, 1994 ) วิจารณวา “วอรฮอลไดทําใหการไปจับจายสินคาในซูเปอรมารเก็ตของคนทั่วไปกลายเปนประสบการณทางศิลปะ” ( Storey, 1994 ) 2) ยกเลิกการแบงลําดับช้ันระหวางศิลปะชั้นสูงกับศิลปะชาวบาน คือไมจัดศิลปะแบบใดแบบหนึ่งเปนช้ันสูง มองแตเพียงวา มันคือ “ความแตกตางที่เทาเทียม” ในแงนี้ งานของวอรฮอลซึ่งมีลักษณะเปน “ศิลปะแบบมวลชน” ( popular arts ) ถือวามีความสอดคลองกับลักษณะที่กลาวมา 3) เนนรูปแบบและลีลาที่หลากหลาย ผสมผสานหลาย ๆ รูปแบบเขาดวยกันเพื่อสรางความรูสึกประหลาดพิสดาร ( eclectic ) โดยเฉพาะอยางยิ่งจากการผสานลีลาทางศิลปะที่ดูแลวไมนาจะเขากันได 4 ) มีลักษณะเชิงละเลน ( playfulness ) ลอเลียนแบบไมวิพากษ ( blank parody ) โดยการนํารูปแบบทางศิลปะในอดีตมาผสมผสานกัน โดยไมเนนความลึกซึ้งทางความคิด ( pastiche ) สุดทาย 5) เลิกเชิดชูศิลปนวามีความริเริ่ม และเปนอัจฉริยะ โดยมองวาศิลปะเปนเพียงสิ่งซ้ําซาก ที่วนเวียนอยูกับการลอกเลียนแบบสิ่งเกา ๆ ( Featherstone , 1988 ) (จันทนี เจริญศรี . 2544 : 14-15 ) คุณลักษณะสําคัญของ Postmodernism ที่พบในแวดวงศิลปะ คือการขจัดเขตแดนระหวางศิลปะกับชีวิตประจําวัน การลมสลายของลักษณะเชิงลําดับช้ันระหวางวัฒนธรรมชั้นสูง ( high culture) และวัฒนธรรมมวลชน ( mass culture ) การผสมผสานของแนวคิดและรหัสตางๆ ( eclecticism) รวมถึงขอ

สันนิษฐานที่วาศิลปะเปนเพียงการทําซ้ํา เทานั้น ( ศศิยา วิจิตรจามรี . 2543 : 40 )

ศิลปะสมัยใหมเปนกระบวนรวมกับความเคลื่อนไหวในสังคมที่สัมพันธกับการพัฒนาโครงสรางเศรษฐกิจที่สงผลกระทบตอการพัฒนา การทําลายธรรมชาติ ส่ิงแวดลอมที่ทําลายจิตวิญญาณมนุษย ที่สรางปญหาในทางจริยธรรม ทําใหเกิดการแสวงหาทางออกใหม( สมพร ชุบสุวรรณ . 2543 :

57 )ศิลปะหลังสมัยใหมใหความสําคัญเรื่องสติปญญา เปนการผสมผสานความคิด เปนศิลปะที่หลากหลาย ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอม ศิลปะไมจําเปนจะตองอยูในพิพิธภัณฑ ศิลปะอาจอยูในธรรมชาติส่ิงแวดลอม วิรุณ ตั้งเจริญ กลาวไวดังนี้

ศิลปะหลังสมัยใหม ดูดซับความคิด นําเสนอความคิดและการปฏิบัติทางศิลปะที่หลากหลาย แสดงบทบาทของศิลปะรวมสมัยที่มีฐานปญญาและทฤษฎีหรือแนวคิด ( intellectual and theoritical basis ) เปนดานหลัก โดยที่มิไดคํานึงถึงกระบวนแบบ ( style ) ดังเชน ศิลปะสมัยใหม ศิลปะมีความหลากหลายตั้งแตการแสดงแนวคิดอยางบริสุทธิ์ การแสดงเทคนิค ไปจนถึงการแสดงจินตภาพ ( image ) ของความคิด...

Page 70: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

51

ตอตานลัทธิสารประโยชนนิยม ( Functionalism ) มองไมเห็นความจําเปนของศิลปะที่จะตองนําไปใชงาน หรือเปนประโยชนในชีวิตประจําวัน (วิรุณ ต้ังเจริญ .2547 : 41) ศิลปะหลังสมัยใหมอาจจะตอตานหรือไมเห็นดวยกับการที่ศิลปะจะตองเปนสิ่งถาวร ( durability ) ศิลปะอาจเกิดขึ้นช่ัวครู ศิลปะอาจไมเกี่ยวของกับกาลเวลา ... ศิลปนหลังสมัยใหม มีแนวโนมที่จะผลักดันศิลปะใหพนกรอบของแบบแผนประเพณีนิยม พิพิธภัณฑ บาน อาคารธุรกิจ ศิลปะไมจําเปนตองเปนวัตถุสะสมในพิพิธภัณฑหรือในคอลเลคชันสวนตัว ไมจําเปนตองเปนสิ่งนิทรรศการตามแบบแผนเดิม ไมจําเปนตองเปนวัตถุที่ไปแขวนหรือไปติดตั้งเบื้องหนา ผูคนจะตองไปหอมลอมช่ืนชมอยางเปนกิจลักษณะ ศิลปะอาจอยูรวมกับเราในธรรมชาติสิ่งแวดลอม ในสังคม มากกวาการแยกกันอยูดังที่ผานมา...ศิลปะหลังสมัยใหมอาจแสดงความคิดที่อยูเหนือวัตถุ ศิลปนใชวัตถุเปนสื่ออยางหลากหลายความคิดหรือหลากหลายความรูสึกสัมผัส ในธรรมชาติสิ่งแวดลอมที่เปดกวาง (วิรุณ ต้ังเจริญ .2547 : 41)

แนวคิดของศิลปะหลังสมัยใหมนี้ไดแพรหลายเขามาสูวงการศึกษาศิลปะในประเทศไทย ทั้งการศึกษาศิลปะที่จบการศึกษาไปเพื่อประกอบอาชีพดานศิลปะ และศิลปศึกษาที่จบการศึกษาไปเพื่อเปนครูสอนศิลปะ โดยเฉพาะที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อยางไรก็ตามแนวคิดนี้ในปจจุบันยังไมเปนที่แพรหลายในวงการศิลปศึกษาระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา แนวคิดพหุศิลปศึกษาเชิงความสามารถพิเศษ Gifted Child Arts Education

แนวคิดพหุศิลปศึกษาเชิงความสามารถพิเศษ เปนแนวคิดที่สงเสริมเด็กที่มีความสามารถพิเศษทางดานศิลปะ เด็กเหลานี้เปนเด็กที่มีความคิดสรางสรรค ชางสังเกตจดจําสิ่งที่เห็น มีสมาธิในการทํางานดานศิลปะสูง วาดภาพไดดีกวาเพื่อนๆรุนเดียวกัน แนวคิดพหุศิลปศึกษาเชิงความสามารถพิเศษ สงเสริมใหเด็กเหลานี้ ไดพัฒนาความสามารถของตนเองใหเต็มตามศักยภาพ โดยผูปกครอง หรือ ครู ควรทราบถึงความตองการของเด็กเหลานี้ ซ่ึงเด็กที่มีความสามารถพิเศษทางดานศิลปะจะมีความตองการดังนี้

1. ตองการการเรียนการสอนที่ทาทายตอศักยภาพ มีความหิวกระหายอยากรู อยากคิดในสิ่งที่ทาทาย มีลักษณะการเรียนที่เร็ว เขาใจงาย

2. มีความตองการทางสังคมที่แตกตางจากคนอื่น คือ ตองการคบกับคนที่สนใจเรื่องเดียวกับตน ชอบคนที่อายุสูงกวา

3. ไมชอบกฎเกณฑหรือการบังคับ ยิ่งเปนเด็กที่มีความสามารถพิเศษมากเทาใดยิ่งตองการความอิสระมากเทานั้น ชอบบรรยากาศการสรางสรรค สนุกสนาน

4. มีความสนใจรางวัลที่เกิดจากความสําเร็จของผลงาน ตองการการยอมรับจากคนอื่น ตองการคนสนใจ

5. ตองการเวลาที่เหลือหรือเวลานอกเหนือไปจากนั้น ทุมเทใหกับสิ่งที่ลึกซึ้งกวาที่สอนอยูทั่ว ๆ ไป ( คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ . 2545 : 141 )

Page 71: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

52

การพัฒนาความสามารถของเด็กที่มีความสามารถพิเศษทางดานศิลปะ ใหเต็มตามศักยภาพไดนั้นผูปกครอง และครู ควรจัดสภาพแวดลอมใหเอื้อตอการพัฒนาการทางดานศิลปะของเด็ก เชน ฝกการรับรูส่ิงแวดลอมรอบ ๆ ตัวดวยกิจกรรมศิลปะโดยเด็กจะนํามาถายทอดเปนผลงานศิลปะอยางอิสระ ผานกระบวนการที่เขาถนัดหรือสนใจ และผูปกครอง ครูควรเปนใหกําลังใจในการสรางสรรคผลงานทางศิลปะของเด็ก เพื่อใหเด็กไดมีการพัฒนาตอไป

ทฤษฎีทางศิลปศึกษา ทฤษฎีการสอนดานสนุทรียศาสตรและศิลปวิจารณ ทฤษฎีดานสุนทรียศาสตร และศิลปวิจารณเปนสิ่งที่มีการคิดคนมาตั้งแตโบราณ โดยเฉพาะทฤษฎีดานสุนทรียศาสตรมีมาตั้งแตสมัยกรีก ในประเทศสหรัฐอเมริกา นักวิชาการทางดานศิลปศึกษาไดใหความสนใจเกี่ยวกับการคิดคนทฤษฎีการสอนดานสุนทรียศาสตร และศิลปวิจารณ ทฤษฎี ดานสุนทรียศาสตร เปนการเรียนรูเพื่อใหเกิดความซาบซึ้งเห็นคุณคาของศิลปะ สวนทฤษฎีศิลปวิจารณนั้นเปนการหาคุณคาของผลงานศิลปะโดยมีหลักการและทฤษฎีรองรับ มะลิฉัตร เอื้ออานันท ไดกลาวถึงทฤษฎีการสอนดานสุนทรียศาสตร และศิลปวิจารณ ไวหลายทฤษฎีตัวอยางเชน ทฤษฎีการวิจารณอยางมีสุนทรีย ( Aesthetic Criticism) ของราลฟ สมิธ ( Ralph A. Smith ) 1968

ทฤษฎีของสมิธมีลักษณะบูรณาการระหวางสุนทรียศาสตรและศิลปวิจารณระบบนี้ประกอบดวย ขั้นตอน 4 ขั้นตอน คือ

ขั้นที่ 1 การบรรยาย (Description) คือ การแจกแจงถึงช่ือตาง ๆ ที่ใชระบุและจําแนกคุณสมบัติตาง ๆ ที่สรางขึ้นในผลงานศิลปะที่จะตองสํารวจดวยพุทธิปญญาหรือการรูคิด เชน ผลงานนั้นเปนวัตถุประเภทใด ภาพสามพับ ซิมโฟนีหรือนวนิยาย

ขั้นที่ 2 การวิเคราะห ( Analysis) เปนการพิจารณาสวนประกอบทางทัศนและรายละเอียดตาง ๆ ในผลงานศิลปะอยางใกลชิด ดูวาถูกจัดองคประกอบเชนไร การวิเคราะหนี้เปนการพูดถึงสวนตาง ๆ เหลานี้อยางลึกล้ํา และพูดถึงที่มาของคุณสมบัตินั้น

ขั้นที่ 3 การตีความ ( Interpretation) คําพูดที่เหมาะสมสําหรับขั้นตอนนี้คือ การกลาวถึงความหมายในผลงานศิลปะโดยรวม ซึ่งแตกตางจากการตีความเปนสวน ๆ ดังที่ทําในขั้นวิเคราะหกิจกรรมในสวนนี้อาจขยายความหรือเปลี่ยนแปลงหรือพลิกผันความคิดที่คนอื่น ( ผูฟง ,ผูดู) ไดตีความไวในใจแลวอยางหนามือเปนหลังมือก็ได

ขั้นที่ 4 การประเมินผล ( Evaluation) เปนขั้นสรุปหาความดีงามของศิลปะ คํางาย ๆ ที่พูดถึงผลงานศิลปะนั้น ๆ เชน ดี เลว ที่มีรากฐานมาจากคุณภาพทางสุนทรีย การพูดถึงระดับของความเปนเอกภาพ ความเขมขน หรือความลึกซึ้งประการใดประการหนึ่ง หรือหลาย ๆ ประการผสมผสานกัน

Page 72: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

53

ทฤษฎีการตัดสินศิลปะอยางมีสุนทรีย ( Justifying Aesthetic Judgments) ของเดวิด เอคเคอร ( David Ecker) 1977

ในบทความเรื่องการตัดสินผลงานศิลปะอยางสุนทรียของเอคเคอรในป 1977 มุงช้ีประเด็นถึงสิ่งที่เขาเรียกวา “การตัดสินคุณคา” (value judgment) หรือการตัดสินประเมินอยางสุนทรีย

ประการแรก เขากลาววาครูไมควรยัดเยียดเกณฑความคิดเห็นของตัวเองใหนักเรียน มิใชอะไรที่ครูเห็นงามแลว นักเรียนจะตองมีความคิดเห็นเชนนั้นดวยและถานักเรียนไมเห็นดวยครูก็ไมควรมีพฤติกรรมพูดเชิงโนมนาวใหนักเรียนเห็นตาม เอคเคอรกลาววาการตัดสินคุณคาควรเปนเรื่องทาทายไมจําเปนตองเห็นคลอยตามกันไปทั้งหมด ความเห็นที่ผิดแผกแตกตางกันทําใหเกิดการถกปญหาอภิปรายไดอยางดี .. เอคเคอรเสนอแนะวา

ขั้นแรก ครูควรใหนักเรียนแสดงออกถึงทัศนะความรูสึกตอผลงานนั้น ๆ อยางอิสระเปนตัวของตัวเองกอน (ไมวาจะเปนความคิดเห็นถึงงานของตนเองหรือผูอื่น)

ขั้นที่ 2 จึงใหนักเรียนเห็นถึงความคิดเห็นของบุคคลอื่น (เชน ครู) ซึ่งอาจแตกตางออกไปอันเปนผลจาการมีประสบการณที่แตกตางกันมากอน.

ขั้นที่ 3 ใหนักเรียนหาขอสนับสนุนความคิดเห็นของตนเองไมวาจะเปนความคิดเชิงจิตวิทยา (อารมณความรูสึก) หรือความคิดเชิงกายภาพ (ความคิดเห็นถึงรูปแบบวิธีการ องคประกอบในผลงานนั้น) มาถกแถลงอภิปรายกัน คือการถกแถลงควรมีหลักฐานหรือเหตุผลกํากับ

ขั้นที่ 4 เสริมประสบการณใหนักเรียนดวยการนําผลงานศิลปะทั้งในประวัติศาสตรและศิลปะรวมสมัยมาชวยกันสนับสนุนและเพิ่มพูนการรับรูเขาใจของนักรเรียนใหกวางขวางลึกซึ้งขึ้น และใหนักเรียนไดพัฒนาความสามารถในการตัดสินอยางอิสระเปนตัวของตัวเองวาในที่สุดเขา/เธอชอบหรือไมชอบงานชิ้นนั้น

กระบวนทัศนการรบัรูจากการสนทนาอยางสุนทรีย ( Paradigm of Aesthetic Dialogue for Children) ของโร เบิรต อดัมส ( Robert Adams) 1985

โรเบิรต อดัมส (Adams , 1985) รายงานวาวิธีสอนศิลปะในระดับประถมศึกษาในปจจุบันนี้ นําเอาการสนทนาโตตอบทางสุนทรียเขามาใชสอนรวมไปกับกิจกรรมศิลปะปฏิบัติในสตูดิโอ ..เขาระบุวาสําหรับเด็ก ๆ แลวควรไดเรียนรูและเขาใจถึงศิลปะจากการรับรูอยางมีสุนทรียเด็ก ๆ ควรไดรับการสอนใหรับรูศิลปะวัตถุอยางสุนทรียจากการไดรับการฝกการมอง (รับรูทางตา) และตัดสินผลงานศิลปะจากประสบการณที่หลากหลายอดัมแสดงแผนภูมิ 3 ขั้นตอนที่จะชวยสรางการรับรูอยางสุนทรียใหกับเด็ก ๆ

ขั้นที่ 1 การรับรูและแสดงออก (Sensuousness and expression) ในขั้นตอนนี้ การตอบรับ (response) อยางสุนทรียของเด็กนั้นมีตอเนื้อหา ( Content ) ของศิลปวัตถุนั้น ผลงานศิลปะสามารถกระตุนเราความรูสึกและอารมณและเด็ก ๆ ก็สามารถพูดคุยถึงอารมณที่ผลงานนั้นใหแกตน พฤติกรรมเชนนี้ อดัมสอางวา เบรสสัน (1982) เรียกวา พฤติกรรมการรับรูเชิงสุนทรีย(sensuous aesthetic behavior)

ขั้นที่ 2 การบรรยาย (Description) ..ในแผนภูมิระบบของอดัมสนี้เปนขั้นที่สอง เพราะเหตุผลที่วาการบรรยายนี้ตองอาศัยเชาวนปญญา เนื่องจากในขั้นนี้จะตองมีการอธิบายถึงผลงานศิลปะในลักษณะที่ออมคอม (discursive) ทํานองวาใชการเปรียบเปรย เปรียบเทียบ หรืออุปมาอุปไมย ขั้นตอนนี้อแบงเปนขั้นตอนยอย ๆ 2 ขั้นตอนคือ การบรรยายแบบสามัญ และการบรรยายถึงกลวิธี และเรื่องราวของผลงาน

Page 73: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

54

ขั้นที่ 3 การวิเคราะหโครงสราง (Formal analysis) ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนของสุนทรียภาพระดับสูง ในขั้นนี้ครูเนนการรับรูไปที่โครงสรางหรือองคประกอบในผลงานศิลปะซึ่งรวมทั้งสวนประกอบทางทัศนตาง ๆ ที่ผูกโยงกันเปนองคประกอบ จากการศึกษาดานพัฒนาการทางศิลปะเด็ก อดัมสกลาววาเด็กวัย 8 ขวบ หรือตํ่ากวา จะยังไมใสใจตอองคประกอบในผลงานศิลปะ ดังนั้นสําหรับเด็กเล็กในระดับประถมตนครูอาจใชระบบนี้เพียง 2 ขั้นแรก และตัดเอาขั้นสุดทายนี้ออกเสีย อดัมสแนะใหใชขั้นที่สามนี้ กับเด็กประถม 4 5 และ 6 เทานั้น

ทฤษฎีศิลปะวิเคราะห ( Critical Theory) ของเอ็ดมันด เบิรก เฟลดแมน ( Edmund Burke Feldman ) 1972

ฟลดแมน แถลงวา ทฤษฎีของเขามุงที่จะสรางหลักการในการตีความและประเมินผลงานศิลปะ จุดมุงหมายหลักการของทฤษฎีนี้ คือ ความเขาใจ (understanding) และความชื่นชม (delight) ในศิลปะ

เฟลดแมนแบงขั้นตอนการวิเคราะหผลงานศิลปะเปน 4 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 การบรรยาย ( Description) ผูวิเคราะหงานศิลปะจะสํารวจดูสิ่งตาง ๆที่ปรากฏแกสายตาผูดู

ในทันทีทันใด ไดแก เสน สี รูปราง รูปทรง พ้ืนผิว แสง เงา และวิเคราะหถึงเทคนิควิธีการที่ผูดูคิดวาเปนวิธีการหรือเทคนิคใชในการสรางงานศิลปะช้ินนั้น

ขั้นที่ 2 การวิเคราะหโครงสราง ( Formal analysis) ผูวิเคราะหจะเชื่อมโยงสัมพันธสิ่งที่ผูวิเคราะหไดสํารวจไวในขั้นแรก คุณภาพของเสน สี รูปราง รูปทรง เพื่อใหเกิดการรับรูถึงองคประกอบทางศิลปะของผลงานนั้น ซึ่งจะเปน “ขอมูล” ใหกับการตีความและตัดสินผลงานตอไป

ขั้นที่ 3 การตีความ ( Interpretation) ผูวิเคราะหจะกลาวหรือแถลงถึงความหมายของผลงานศิลปะที่มีตอตน ความหมายของศิลปะในที่นี้หมายถึงความหมายของศิลปะที่มีตอชีวิตความเปนอยูของมนุษย โดยทั่ว ๆ ไป ในขั้นตอนนี้ผูวิเคราะหอาจหาขอสันนิษฐานที่เกี่ยวกับความคิด หรือหลักการที่สามารถชวยยืนยันวา ทําไมผลงานศิลปะนั้นมีผลตอความคิดเห็นของตนเชนนั้น

ขั้นที่ 4 การประเมินหรือตัดสิน ( Evaluation or Judgment ) การประเมินหรือตัดสินงานศิลปะนั้นเปนขั้นตอนที่จําเปนตองมีการสืบสวน ตรวจสอบถึงเจตนาและผลที่เกิดของงานศิลปะชิ้นนั้น โดยการเปรียบเทียบกับงานศิลปะชิ้นอื่นที่คลายคลึงกัน พิจารณาวามันเหมือนหรือตางกับงานศิลปะชิ้นอื่นในยุคสมัยเดียวกันเชนไร เฟลดแมนเนนวาการที่จะตัดสินงานศิลปะอยางมีสุนทรียภาพนั้นจะตองมีเหตุมีผลและใชหลักเกณฑอยางมีคุณธรรมเพราะการตัดสินนั้นเปนปฏิบัติการที่สูงสง

ทฤษฎีกระบวนการรับรู –ประเมินผล ( Perceptual Evaluative Process ) ของยีน มิทเลอร ( Gene A. Mittler) 1983

มิทเลอรเสนอทฤษฎีศิลปวิจารณที่ใชในการเรียนการสอน ซึ่งอาศัยทฤษฎีเกี่ยวกับการรับรูของบรูเนอรและทฤษฎีเกี่ยวกับกระบวนการการประเมินผลของเซอรริฟเปนรากฐาน ขั้นตอนตางๆในอันที่จะนําไปสูการวิจารณที่มีหลักเกณฑและความรูนี้มิทเลอรมีวิธีการสามขั้นตอน คือ

ขั้นที่ 1 ครูอาจใชวิธีใหนักเรียนไดมีประสบการณ หาคุณสมบัติที่ช้ีแนะการเห็น ( cue search operation) (เปนการคนหาความคิดเห็นจากการไดเห็นหรือรับรูสิ่งหลาย ๆ สิ่ง ภาพหลาย ๆ ภาพ วิธีการหลาย ๆ วิธี ฯลฯ ที่จะแนะหรือบอกใบไปถึงสิ่งที่ตนคนหาอยู) มิทเลอรแนะใหเพิ่มชนิดของ cue ใหมากขึ้นเพื่อใหเด็กไดเห็นมากขึ้น ความคิดจะไดกวางขึ้น

Page 74: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

55

ขั้นที่ 2 ครูควรชวยแนะใหนักเรียนเกิดความรูคิด สังเกตเกี่ยวกับสิ่งที่ตนรับรูหลากชนิดขึ้น ควรแนะใหเห็นถึงความแตกตางในดานรูปลักษณ คุณคา ฯลฯ เพื่อใหนักเรียนไดเขาใจถึงความหลากหลายนั้น แมวาในขั้นนี้อาจจะไมถองแทนัก

ขั้นที่ 3 ในขั้นนี้นักเรียนเริ่มมีความรูซึ้งขึ้น และกวางขึ้น นักเรียนจึงสามารถหันกลับไปพิจารณางานศิลปะชิ้นที่ตนศึกษาสํารวจอยู และเนื่องจากนักเรียนรูกวางขึ้น และไดรับการแนะใหคุนเคยกับการหาหลักฐานมาประกอบ นักเรียนอาจพยายามหลักฐานมาอางอิงสนับสนุนความคิดของตนจากประวัติศาสตรศิลปะดวยความยินยอมและสมัครใจใครรู

พีระพงษ กุลพิศาล ไดกลาวถึง ทฤษฎีการวิจารณ ซ่ึงเปนการสรางความเขาใจคุณคาของผลงานศิลปะ ที่เกี่ยวของกับประสบการณความรูในทุก ๆ แขนงมาเปนหลักฐานการวิจารณ หรือที่เรียกวา หลักฐานเชิงประจักษ ไดแกหลักฐานทางประวัติศาสตร หลักฐานทางมานุษยวิทยาและทฤษฎีทางสังคม หลักฐานทางฟสิกส หลักฐานทางจิตวิทยา ซ่ึงเปนแนวทางในการวิจารณและประเมนิคณุคาศิลปะไดอยางสมเหตุสมผล โดยมี 4 ทฤษฎีดังนี ้ การวิจารณทฤษฎีกลไกนิยม ( Mechanistic Criticism )

เปนทฤษฎีที่ใหความสําคัญกับตัวผลงานศิลปะเชื่อวาผลงานศิลปะคือสสารอยางหนึ่งที่อยูภายนอกรางกายมนุษย ทําหนาที่เปนสื่อกระตุนอินทรียของมนุษย ผลงานศิลปะเปนสสารที่ทรงคุณคาภายในตัวของมันเอง คุณคาดังกลาวจะรับรูไดเมื่อมีการตอบสนองจากอินทรียของมนุษย ซึ่งเปนการตอบสนองในรูปแบบของความสุข (Pleasure) เปนคุณคาทางสุนทรียภาพที่สสารซึ่งอยูภายนอกรางกาย ทําใหเกิดขึ้นโดยผานการสัมผัสรับรูและการสรางภาพลักษณของมนุษย องคประกอบสําคัญของความสุข คือเงื่อนไขระหวางตัวผลงานศิลปะกับเวลา

การวิจารณทฤษฎีบริบทนิยม ( Contextualistic Criticism ) การวิจารณตามทฤษฎีนี้ตางไปจากทฤษฎีกลไกนิยมโดยสิ้นเชิง ในขณะที่ทฤษฎีกลไกนิยมมีเกณฑหรือสมมุติฐานทางสุนทรียภาพที่อาศัยเงื่อนไขระหวางสสารกับเวลาโดยเห็นวาสสารเปนสิ่งที่อยูภายนอกระบบการทํางานของอินทรียและมีบทบาทในการเสนอสนองความสุขใหแกอินทรียนั้น ๆ ทฤษฎีบริบทนิยมกลับเห็นวาระบบการทํางานของอินทรียไมใชศูนยกลางการรับรูคุณคาตาง ๆ แตเปนเพียงสสารอยางหนึ่งที่อยูทามกลางกระบวนการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม สภาพแวดลอมก็เปรียบเสมือนเสื้อที่สวมใสหรืออาชีพที่ปฏิบัติอยู สถานการณ (Situation) ทําใหเกิดคุณคาทางศิลปะ และเชื่อวาคุณคานี้เปนสิ่งที่อยูภายนอกระบบการทํางานของอินทรีย ซึ่งไมใชคุณคาของสสารที่เขามาอยูในระบบการทํางานของอินทรียแตเปนคุณคาของสสารที่เกิดจากสถานการณตาง ๆ ตามสภาพแวดลอม เปนประสบการณอยางหนึ่งซึ่งเรียกวา ประสบการณทางสุนทรียภาพ ( Aesthetic experience) เปนประสบการณเชิงคุณภาพ แนวคิดโดยทั่วไปของทฤษฎีนี้ใหความสําคัญกับประสบการณของมนุษยอยางยิ่ง สอดคลองกับปรัชญาของจอหน ดุย

Page 75: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

56

การวิจารณทฤษฎีอินทรียนิยม ( Organistic Criticism) คําวาอินทรีย หมายถึง การรวมตัวกันเปนองคกร หรือเปนเอกภาพ อินทรียนิยม คือทฤษฎีการวิจารณที่ใหความสําคัญกับความสัมพันธระหวางสวนยอย หรือภาพรวม ( Relatedness or Coherernce) เปนทฤษฎีที่ช่ืนชอบการวิจารณที่ประเมินคุณคาดวยวิธีสังเกต ( Observation) การสังเกตแตละครั้งชวงแรก ๆ จะไมปะติดปะตอกันแตจะรวมตัวกันแนนแฟนขึ้นภายหลังเปนผลรวมที่กอใหเกิดคุณคาอยางใดอยางหนึ่งขึ้น เชน คุณคาของจริยธรรมเกิดจากผลรวมของอากัปกิริยาตาง ๆ ( Acts) คุณคาของศิลปะเกิดจากผลรวมของความรูสึกตางๆ เปนตน

การวิจารณทฤษฎีแบบแผนนิยม ( Formistic Criticism ) ทฤษฎีวิจารณทั้งสามทฤษฎีที่กลาวมาดูนาจะครอบคลุมการวิจารณศิลปะที่มีอยูแลวไมจําเปนตองมีทฤษฎีอื่นเพิ่มอีก..แตถาจะตั้งคําถามวา การรับรูที่เปนบรรทัดฐานของแตละทฤษฎีอยูที่ไหนและการรับรูระดับใดที่ไมมีบรรทัดฐาน ซึ่งทั้งสามทฤษฎียังไมไดกลาวถึงไวเลย จึงเปนบทบาทของทฤษฎีแบบแผนนิยมที่จะตองคนหาสิ่งเหลานั้นใหพบ แนวคิดที่จะคนหาหรืออธิบายคุณคาที่เปนบรรทัดฐาน มีมาตั้งแตครั้งสมัยพลาโตและอริสโตเติล จนถึงปจจุบันก็ยังมีอยู และดูเหมือนวาจะมีกระแสต่ําสุดในชวงคริสตวรรษที่ 19 ทฤษฎีแบบแผนนิยม เช่ือวาความมีบรรทัดฐาน ( Norm) คือรากฐานของการประเมินคุณคาพวกเดียวกันจะมีบรรทัดฐานทางคุณคาเดียวกันเสมอ เชน ถานิยามวาคนปกติคือคนที่มีสุขภาพดีทั้งกายและใจ ความมีสุขภาพดีทั้งกายและใจก็คือบรรทัดฐานของคน แตถานิยามวาคนคือสัตวสังคมบรรทัดฐานก็จะเปนอีกอยางหนึ่ง ( พีระพงษ กุลพิศาล .2546 : 205-213)

ทฤษฎีทางดานศิลปศึกษาเหลานี้ครูสามารถนําไปปรับใหเหมาะสมกับการใชในการจัดการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาได โดยอาจจะมีวิธีการนําเสนอทฤษฎีเหลานี้ ใหเหมาะสมกับความสามารถในการรับรูของนักเรียนในแตละวัย การนําทฤษฎีเหลานี้ไปปรับใชอยางเหมาะสมในการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในระดับประถม จะทําใหนักเรียนมีความรูเร่ืองหลักการทางสุนทรียศาสตรและการวิจารณงานศิลปะมากขึ้น สงผลใหการจัดการเรียนรูมีประสิทธิภาพมากขึ้นดวย

ขอมูลท่ัวไปของเขตราชเทวี กรุงเทพมหานครแบงเขตการปกครองออกเปน 50 เขต โดยมีเขตราชเทวี เปนเขตหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เขตราชเทวีเปนพื้นที่เขตชั้นใน ที่มีความสําคัญทั้งทางธุรกิจและการคมนาคม “ราชเทวี”เปนพระนามของสมเด็จพระนางเจาสุขุมาลมารศรีพระราชเทวี ซึ่งเปนพระนางเธอของพระบาทสมเด็จื พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ( รัชกาลที่ 5 ) กรุงเทพมหานคร ไดจัดแบงพื้นที่เขตพญาไท และตั้งเขตราชเทวี ตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตพญาไท เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 โดย กําหนดให เขตราชเทวี มีพ้ืนที่การปกครองรวม 7,725 ตารางกิโลเมตร และมีพ้ืนที่การบริหารรวม 4 แขวง

Page 76: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

57

ประกอบไปดวย แขวงทุงพญาไท , แขวงถนนเพชรบุรี , แขวงถนนพญาไท , และแขวงมักกะสัน ทั้งนี้เพื่อ ความเหมาะสมกับการปกครอง การบริหาร และอํานวยความสะดวกแกประชาชน ในการติดตอใชบริการของ กรุงเทพมหานคร

ขอมูลประชากร เดือนกุมภาพันธ 2551

แขวง ชาย ( คน ) หญิง ( คน ) รวม ( คน )

ทุงพญาไท 9,530 10,237 19,767

ถนนพญาไท 3,350 4,212 7,562

ถนเพชรบุรี 6,175 7,120 13,295

มักกะสัน 7,245 7,869 15,114

รวม 26,300 29,438 55,738

จํานวนบาน 30,758 หลัง พื้นที่ มีประมาณ 7.725 ตารางกิโลเมตร ชุมชนแออัด ชุมชนแออัดในความรับผิดชอบของเขตราชเทวีมี 21 ชุมชน

อาชีพของชุมชนสวนใหญ คือ อาชีพรับจาง คาขาย ลักษณะการครอบครองที่ดินสวนมากเปนที่ดินของสวนราชการและรัฐวิสาหกิจ ขอมูล ณ เดือนกุมภาพันธ 2551 แหลงขอมูล : ฝายทะเบียน เขตราชเทวี ภูมิศาสตร แนวเขตติดตอ สํานักงานเขตราชเทวี แบงพื้นที่เปน 4 แขวง ดังนี้

- แขวงถนนพญาไท - แขวงถนนเพชรบุรี - แขงทุงพญาไท - แขวงมักกะสัน

อาณาเขตติดตอ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดตอกับ เขตพญาไท และเขตดินแดง ทิศใต ติดตอกับ เขตวัฒนา และเขตปทุมวัน ทิศตะวันออก ติดตอกับ เขตหวยขวาง ทิศตะวันตก ติดตอกับ เขตดุสิต

Page 77: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

58

ขอมูลท่ัวไปของโรงเรียน เขตราชเทวีมีโรงเรียนในสังกัดจํานวน 4 โรงเรียน ไดแกโรงเรียนกิ่งเพชร โรงเรียนวัดดิสหงสาราม โรงเรียนทัศนารุณสุนทริการาม โรงเรียนวัดพระยายัง โรงเรียนกิ่งเพชร โรงเรียนกิ่งเพชร ตั้งอยูเลขที่ 323/113 ซอยกิ่งเพชร ถนนเพชรบุรีตัดใหม แขวงเพชรบุรี เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0-2215-3657 เปดทําการสอนตั้งแตช้ันอนุบาล–ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 เดิมต้ังอยูที่ศาลาเลขที่ 493 ตําบลเพชรบุรี อําเภอดสิต จังหวัดพระนคร ซึ่งเปนศาลาของอิสลามมิกชน มีช่ือ วา “โรงเรียนสุเหราเกา” ซึ่งทางอําเภอดุสิตนัดตั้งขึ้น โดยมีขุนสําราษบริรักษ นายอําเภอดุสิตเปนผูทําการเปด เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2475

ตอมาป พ.ศ.2478 ทางราชการไดสรางอาคารเรียนใหม เลขที่ 323 ซอยกิ่งเพชร ตําบลถนนเพชรบุรี อําเภอดุสิต จังหวัดพระนคร จึงไดยายโรงเรียนมาทําการสอน ณ อาคารใหมใชช่ือวา “โรงเรียนประชาบาลสุเหราเกา” พ.ศ. 2480 โอนเปนโรงเรียนสังกัดเทศบาลกรุงเทพมหานครเปลี่ยนช่ือเปน “โรงเรียนเทศบาล 3 (ถนนเพชรบุรี) พ.ศ.2488 ยายกลับไปที่ศาลาสุเหราเกาเปลี่ยนช่ือเปน “โรงเรียนเทศบาล 13 ( สุเหราเกา )” พ.ศ.2491 โอนกลับมาเปนโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร เปลี่ยนเปน “โรงเรียนเทศบาลกิ่งเพขร” พ.ศ. 2505 โอนเปนโรงเรียนสังกัดเขตพญาไท เปลี่ยนช่ือเปน “โรงเรียนกิ่งเพชร” พ.ศ. 2533 เปนโรงเรียนในสังกัดเขตราชเทวีใชช่ือเดิม คือ “โรงเรียนกิ่งเพชร” มีเนื้อที่ประมาณ 2 ไร 2 งาน 75 ตารางวา ต้ังอยูสุดซอยกิ่งเพชร อาคารเรียน เปนตึก 4 ช้ัน 48 หองเรียน อาคาร 1 ช้ันลางเปนหองโถงใชเปนที่ประชุมนักเรียนช้ันลาง และหองอาคาร ใตอาคาร 2 ภายในบริเวณ มีโรงครัว โรงฝกงานและบานพักภารโรง สนามโรงเรียนเปนสนาม ปูดวยกระเบื้องยาง สูงกวาระดับถนน น้ําไมทวม

โรงเรียนวัดดสิหงสาราม โรงเรียนวัดดิสหงสาราม ตั้งอยูเลขที่ 9 ถนนเพชรบุรีตัดใหม แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0-2252-9934 ,0-2652-9741 เปดทําการสอนตั้งแตช้ันอนุบาล – ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดดิสหงสารามไดกอต้ังขึ้นเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2475 โดยขุนสําราญบริรักษ นายอําเภอดุสิต เปนผูริเริ่ม ในการจัดตั้งดวยเงินงบประมาณประถมศึกษาในสมัยนั้น และมีเจาอาวาสวัดดิสหงสารามเปนผูอุปการะ เดิมช่ือ วา โรงเรียนประชาบาลตําบลมักกะสัน 1 (วัดมักกะสัน) ตอมาในปพ.ศ. 2486 ก็โอนไปสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ จนถึงวันที่ 1 ตุลาคม 2504 จึงไดโอนกลับ ไปสังกัดเทศบาลอีกครั้ง จนกระทั่งเดือน

Page 78: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

59

ธันวาคม พ.ศ. 2515 ทางราขการไดประกาศยุบนครหลวงกรุงเทพธนบุรี เทศบาลนครกรุงเทพ เทศบาลนคร ธนบุรี และองคการบริหารสวนจังหวัด รวมเปนกรุงเทพมหานคร โรงเรียนจึงไดโอนเขาไปอยูในสังกัดของ กรุงเทพมหานคร โดยขึ้นอยูกับสํานักการศึกษา และอยูในการบังคับบัญชาของสํานักงานเขตราชเทวี จน ปจจุบันการจัดการศึกษา

พ.ศ. 2475 เปดการเรียนการสอนในชั้นประถมศึกษาปที่ 1-4 โดยใชหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2505 ขยายการเรียนการสอนจนถึงช้ันประถมศึกษาปที่ 7 พ.ศ. 2521 ไดเปลี่ยนแปลงหลักสูตร โดยใชหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 จัดการเรียนการสอนตั้งแตช้ันประถมศึกษาปที่ 1-6 พ.ศ. 2537 เปดการเรียนการสอนชั้นอนุบาล พ.ศ. 2540 ปรับปรุงการเรียนการสอนชั้นอนุบาล โดยแบงเปนช้ันอนุบาล 1 และชั้นอนุบาล 2 ปจจุบันเปดการเรียนการสอนตั้งแตช้ันอนุบาล 1 จนถึงช้ันประถมศึกษาปที่ 6

โรงเรียนวัดทัศนารุณสุนทรกิาราม โรงเรียนวัดทัศนารุณสุนทริการาม ที่ตั้ง 51 ซอยวัดตะพาน ถนนราชปรารภ สํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท ,โทรสาร 02-245-3937 มีพื้นที่ 1 ไร 25 ตารางวาเปดทําการสอนตั้งแตช้ันอนุบาล – ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดทัศนารุณสุนทริการาม เปดทําการสอนตั้งแตวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2547 เดิมช่ือวา โรงเรียน ประชาบาลตําบลโรงงานกลาง 1 (วัดตะพาน) สังกัดอําเภอดุสิต พ.ศ.2515 มีการปรับปรุงสวนบริหารราชการ ใหม ยกฐานะเทศบาลนครกรุงเทพ เปนกรุงเทพมหานคร เปลี่ยนช่ือโรงเรียนเปน “โรงเรียนวัดทัศนารุณสุนท ริการาม” ตอมาไดเกิดเพลิงไหมโรงเรียนเสียหาย ไดยายสถานที่เรียนไปที่โรงเรียนวิชูทิศ และวิชากร การ กอสรางอาคารหลังใหมเสร็จ เปดเรียนไดเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.2518 ในปจจุบันโรงเรียนไดจัดการเรียน การสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญมีกระบวนการพัฒนาการคิด สงเสริมใหนักเรียนมีคุณธรรม รักตนเอง รักผูอื่น พัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ ความสามารถทางวิชาการ ดนตรี ศิลปะ นาฎศิลป และโรงเรียนเปนโรงเรียน จัดการเรียนรวม ใหการศึกษาแกนักเรียนที่มี ความบกพรองทางสติปญญา การพูด และภาษา

โรงเรียนวัดพระยายัง โรงเรียนวัดพระยายัง ตั้งอยู เลขที่ 49 ถนนพระรามหกตัดใหม แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0-2215-3647 เปดทําการสอนตั้งแตช้ันอนุบาล – ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ปจจุบันโรงเรียนวัดพระยายังมีเนื้อที่ประมาณ 7 งาน 25 ตารางวา โรงเรียนวัดพระยายังเดิมช่ือ “ โรงเรียนบานแขกครัว 2” ( วัดพญายัง ) ต้ังอยูบริเวณวัดพญายัง อาคารเรียนใช ศาลาการเปรียญของวัด ป พ.ศ. 2476 ทางกระทรวงธรรมการ หรือกระทรวงศึกษาธิการในปจจุบันไดจัดสราง โรงเรียนใหใหมในที่ดินของวัดยกใหเปนกรรมสิทธิ์ของโรงเรียนเปนอาคารเรียน 6 หองเรียนใหช่ือโรงเรียน

Page 79: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

60

ใหมวา “โรงเรียนประชาบาล” ตําบลถนนเพชรบุรี 2 พญายัง ป พ.ศ. 2480 โรงเรียนไดโอนมาขึ้นกับเทศบาล ใชช่ือวา “โรงเรียนเทศบาล 14 วัดพระยายัง ” ป พ.ศ. 2487 โรงเรียนโอนกลับคืนไปใหกระทรวงศึกษาธิการ แลวโอนไปขึ้นกับเทศบาลอีกครั้ง เมื่อ พ.ศ.2506 และเปลี่ยนไปขึ้นกับเทศบาลนครหลวงกรุงเทพธนบุรี พ.ศ. 2515 จึงเปลี่ยนเปนกรุงเทพมหานคร ลักษณะอาคารเรียนเปนตึก 4 ช้ันรูปตัวยู จัดการเรียนการสอนระดับช้ัน อนุบาลถึงช้ันประถมศึกษาปที่ 6

งานวิจัยท่ีเก่ียวของ ภวัตส สังขเผือก . ( 2548 : บทคัดยอ ) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง การศึกษาแนวคิดการสอนทัศนศิลปขั้นพื้นฐาน ใน แนวปฏิรูปการศึกษา การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาแนวคิดดานการสอนทัศนศิลปพ้ืนฐานในแนว ปฏิรูปการศึกษา แนวการสอนทัศนศิลปตามแนวปฏิรูปการศึกษา พบวา แนวคิดที่เกี่ยวกับทฤษฎีการสอน ทัศนศิลปขั้นพื้นฐาน ครูสอนศิลปศึกษาสวนใหญเนนเรื่องการดูความพรอมของผูเรียน ประกอบกับตัว ครูผูสอนตองมีความรูและทักษะ ผูเรียนหลังอายุ 12 ป ทฤษฎีจึงจะมีหลักกระบวนการและความพรอมมากกวา ผูเรียนในระดับตน แนวคิดดานการจัดเนื้อหาสาระกิจกรรม และอุปกรณในการงปฏิบัติงาน สวนใหญมี ความเห็นใหจัดเนื้อหาใหมีความอิสระ แนวคิดดานการสอนทัศนศิลปขั้นพื้นฐานที่สอดคลองกับการปฏิรูป การศึกษา สวนใหญเนนการสอนใหผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิดดานบูรณาการความรู ที่สอดแทรกคุณธรรมและ จริยธรรม ครูสอนศิลปศึกษาสวนใหญมีความคิดเห็นที่จะสอดแทรกเขาไปในเนื้อหากิจกรรม และทุกกลุมสาระ การเรียน โดยมีแนวคิดเกือบตรงกันวาวิชาทัศนศิลปมีโอกาสมากกวาวิชาอื่น แนวคิดดานการจัดสภาพแวดลอม กับผูเรียน รวมถึงการเชื่อมประสานงานกับชุมชน สวนใหญมีแนวคิดที่จะพาผูเรียนไปที่แหลงเรียนรูจริง แนวคิดดานการประเมินผลการเรียนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ สวนใหญ ตองการใหประเมินตามสภาพจริง ตาม ความรูความสามารถ และวุฒิภาวะของผูเรียน พรศักดิ์ ขาวพรหม . ( 2548 : บทคัดยอ ) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง วิเคราะหรูปแบบกระบวนการจัดการเรียนการสอน ดวยทฤษฎีพหุศิลปศึกษา ( Arts Education ) กับการสอนศิลปศึกษาของครูตนแบบสาขาศิลปศึกษา ระดับ ประถมศึกษาที่ผานการคัดเลือกจากสํานักงานคณะกรรมการศึกษาแหงชาติ ต้ังแตป พ.ศ. 2542 – 2544 การวิจัย ครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาวิเคราะหรูปแบบกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่สอดคลองกับแนวคิดทฤษฎีพหุ ศึกษา ( Arts Education ) ของครูตนแบบสาขาศิลปศึกษาในระดับประถมศึกษา ที่ผานการคัดเลือกจากสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ ต้ังแตป พ.ศ.2542 – 2544 พบวา รูปแบบการสอนของครูตนแบบทางดาน ศิลปศึกษามีความหลากหลาย ซึ่งเปนสิ่งที่สะทอนใหเห็นถึงความคิดสรางสรรคในการจัดรูปแบบการเรียนการ สอนที่คํานึงถึงความแตกตางกันในแตละทองถิ่น กระบวนการเรียนการสอนหลายรูแแบบไดรับอิทธิพลจากการ ปฏิรูปการศึกษา และอีกหลายรูปแบบเกิดจากปญหา สถานการณ และสิ่งแวดลอมที่ทําใหครูตนแบบตองคิดคน รูปแบบนวัตกรรมการสอนขึ้นมา เพื่อแกปญหาเชนความขาดแคลนทางดานงบประมาณ วัสดุอุปกรณ ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับวิชาศิลปศึกษาของผูปกครอง และชุมชน ยะซีด เกษตกาลาม . ( 2549 : บทคัดยอ ) ไดศึกษาวิจัยเรื่องการศึกษาความคิดเห็นของครูตอการจัดการเรียนการ สอนศิลปะในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูศิลปะชวงช้ันที่ 2 โรงเรียน ในสังกัดสํานักงานเขตบึงกุม กรุงเทพมหานคร การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อ ศึกษาความคิดเห็นของครูตอการ จัดการเรียนการสอนสาระศิลปะในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรู

Page 80: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

61

ศิลปะ ชวงช้ันที่ 2 โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตบึงกุม กรุงเทพมหานคร พบวา ดานการบริหาร ครูผูสอน สาระศิลปะ แสดงความคิดเห็นวามีการบริหารโดยรวมอยูในระดับปานกลาง ดานการนิเทศ ครูผูสอนสาระ ศิลปะ แสดงความคิดเห็นวามีการนิเทศโดยรวมอยูในระดับปานกลาง ดานการสอน ครูผูสอนสาระศิลปะ แสดงความคิดเห็นวามีการสอนโดยรวมอยูในระดับมาก ดานบรรยากาศและสิ่งแวดลอม ครูผูสอนสาระศิลปะ แสดงความคิดเห็นวามีบรรยากาศและสิ่งแวดลอมโดยรวมอยูในระดับมาก ครูผูสอนกลุมสาระศิลปะแสดงความ คิดเห็นตอการจัดการเรียนการสอนสาระศิลปะโดยรวมอยูในระดับมาก

Page 81: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยเร่ือง ศึกษาการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ของโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร มีขั้นตอนและรายละเอียดในการศึกษาคนควาดังตอไปนี้

ขั้นตอนการดําเนินการวิจัย 1. ศึกษาคนควาขอมูลจากเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของกับขอมูลพื้นฐานของพื้นที่ภาคสนาม และขอมูลที่เกี่ยวกบัการจัดการเรยีนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ( ทัศนศิลป ) ในระดับประถมศึกษา 2. ศึกษาขอมูลในสวนของการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ( ทัศนศิลป ) จากการสัมภาษณครูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1 -6 และสังเกตในขณะที่มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู

การเลือกกลุมตัวอยาง การเลือกกลุมตัวอยางในการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยไดแบงกลุมตัวอยางออกเปน 2 สวน ไดแก 1. ครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ( ทัศนศิลป ) ซ่ึงเปนผูเชี่ยวชาญ ( Expert)ไดมาโดยการเลือกแบบเจาะจง ( Purposive sampling ) มีทั้งหมด 5 ทาน 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1-6 ซ่ึงไดมาโดยการสุมตัวอยางแบบกลุม ( Cluster or Area Sampling) แบงเปนแตละโรงเรียน หลังจากนั้นใชการสุมตัวอยางแบบแบงชั้นภูมิ(Stratified Sampling ) แบงเปนแตละชั้น แลวใชการเลือกแบบเจาะจง ( Purposive sampling ) ดวยวิธี Snow Ball Techniques เลือกนักเรียนกลุมตัวอยาง ช้ันละ 5 คน รวมเปนนักเรียนทั้งหมด 120 คน จาก 4 โรงเรียน โดยผูเลือกนักเรียนกลุมตัวอยางคือ ครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป)

แหลงขอมูลท่ีใชในการศกึษาคนควา ในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ผูวิจัยไดศึกษาคนควาจากเอกสาร และขอมูลภาคสนาม มีรายละเอียดดังตอไปนี้

1. แหลงขอมูลจากเอกสาร เอกสารเกีย่วกับขอมูลพื้นฐานของพื้นที่ภาคสนามไดแก ขอมูลของโรงเรียนกิ่งเพชร โรงเรียนวัดดิสหงสาราม โรงเรียนวดัทัศนารุณสุนทริการาม โรงเรียนวัดพระยายัง

Page 82: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

63

เอกสารเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ (ทัศนศลิป) ในระดับประถมศึกษา สํานักหอสมุดกลางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร สถาบันวิทยบริการจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หอสมุดแหงชาติ 2. แหลงขอมูลจากการลงภาคสนาม เปนครูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ (ทัศนศิลป) และนักเรียนชั้นประถมปที่ 1- 6 โรงเรียนกิ่งเพชร โรงเรียนวัดดิสหงสาราม โรงเรียนวัดทัศนารุณสุนทริการาม และโรงเรียนวัดพระยายัง จํานวน 4 โรงเรียน ซ่ึงเปนโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตราชเทวีกรุงเทพมหานคร

วิธีการเก็บขอมูล ในการเก็บรวบรวมขอมูลในครั้งนี้ ผูวิจัยรวบรวมขอมูลจากเอกสาร การสัมภาษณ และ การสังเกตขณะจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อศึกษาการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ของโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยสัมภาษณครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป)ในประเด็นเกี่ยวกับ แนวคิดในการจัดการเรียนรู แนวทางในการกําหนดจุดประสงคการเรียนรู เนื้อหาในการจัดการเรียนรู การจัดกิจกรรมการเรียนรู การวัดและประเมินผล ส่ือการเรียนรู (เฉพาะสื่อที่ครูใชจัดการเรียนรูใหกับนักเรียน) บรรยากาศในการจัดการเรียนรู สัมภาษณนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1-6 ในประเด็นเกี่ยวกับ เนื้อหาในการจัดการเรียนรู การจัดกิจกรรมการเรียนรู ส่ือการเรียนรู (ส่ือที่ครูใชจัดการเรียนรูใหกับนักเรียน และสื่อที่นักเรียนใช) บรรยากาศในการจัดการเรียนรู การพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียนจากการจัดการเรียนรู และในการเก็บรวบรวมขอมูลภาคสนามในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ผูวิจัยไดดําเนินการเก็บขอมูลดวยตนเอง เพื่อสังเกตและสัมภาษณ โดยผูวิจัยจะขออนุญาตผูใหขอมูล เพื่อทําการบันทึกเสียง และจดบันทึกขอมูลทั่วไป หลังจากนั้นนํามาถอดคําพูด แลวนําไปวิเคราะหขอมูล

เครื่องมือท่ีใชในการศึกษาคนควา ในการศึกษาคนควาครั้งนี้เครื่องมือที่ใชเปนแบบสัมภาษณ ซ่ึงแบงเปนแบบสัมภาษณสําหรับครู และแบบสัมภาษณสําหรับนักเรียน ประกอบดวยคําถามเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป ) ตามมาตรฐาน ศ 1.1 และ มาตรฐาน ศ 1.2 ในประเด็นดังตอไปนี้

แบบสัมภาษณสําหรับครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูศลิปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.1 และ มาตรฐาน ศ 1.2 ศึกษาในประเด็นดงัตอไปนี ้

- แนวคดิในการจัดการเรียนรู - แนวทางในการกําหนดจุดประสงคการเรียนรู

Page 83: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

64

- เนื้อหาในการจัดการเรียนรู - การจัดกจิกรรมการเรียนรู - การวัดและประเมินผล - ส่ือการเรียนรู (เฉพาะสื่อที่ครูใชจัดการเรยีนรูใหกับนักเรยีน) - บรรยากาศในการจัดการเรยีนรู

แบบสัมภาษณสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1-6 ในมาตรฐาน ศ 1.1 และ มาตรฐาน ศ 1.2 ศึกษาในประเด็นดังตอไปนี้

- เนื้อหาในการจัดการเรียนรู - การจัดกจิกรรมการเรียนรู - ส่ือการเรียนรู (ส่ือที่ครูใชจัดการเรียนรูใหกับนักเรยีน และส่ือที่นักเรียนใช) - บรรยากาศในการจัดการเรยีนรู - การพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียนจากการจัดการเรียนรู

การวิเคราะหขอมูล เมื่อไดขอมูลจากการสัมภาษณ ผูวิจัยนําขอมูลที่ไดไปแยกประเภท จัดหมวดหมูและคํานวณคารอยละ เพื่อนําไปสูขอสรุปเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู กลุมสาระศิลปะ(ทัศนศิลป) ของโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยในการนําเสนอผูวิจัยจะนําเสนอดวยตาราง

Page 84: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล

ในการวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยใชวิธีการวิเคราะหขอมูลจากการสัมภาษณครูและนักเรียน พรอมกับสังเกตการจัดการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยผูวิจัยไดแยกประเภทของขอมูลที่ทําการศึกษาวิเคราะหในมาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 ในประเด็นตาง ๆ ดังนี้

- แนวคดิในการจัดการเรียนรู - แนวทางในการกําหนดจุดประสงคการเรียนรู - เนื้อหาในการจัดการเรียนรู - การจัดกจิกรรมการเรียนรู - การวัดและประเมินผล - ส่ือการเรียนรู - บรรยากาศในการจัดการเรยีนรู - การพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียนจากการจัดการเรียนรู

ผลการวิเคราะหขอมลู 1. แนวคิดของครูในการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ครูของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี ไดใหแนวคิดในการจัดการเรียนรูในกลุมสาระศิลปะ(ทัศนศิลป) ไวดังนี้ แนวคิดของครูเกี่ยวกับความเหมาะสมในการจัดการเรียนรูในสวนทฤษฎีที่เปนเนื้อหาและสวนที่เปนการปฏิบัติ ของนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 1

Page 85: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

66

ตาราง 1 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูเกี่ยวกับความเหมาะสมในการจัดการเรนีรูในสวนทฤษฎี ที่เปนเนื้อหา และสวนที่เปนการปฏิบัติของนักเรียนชั้น ป.1-ป.6

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดในการแทรก

เนื้อหาระหวางการเรียนภาคปฏิบัติ

4 4 3 2 0 0 13 54.17

2 ครูมีแนวคิดในการใหนักเรียนไดเรียนรูเนื้อหากอนแลวจึงปฏิบัติ และขณะปฏิบัติแทรกเนื้อหาไปดวย

0 0 1 2 4 4 11 45.83

รวม 4 4 4 4 4 4 24 100

จากตาราง 1 แสดงวา ครูมีแนวคิดเกี่ยวกับความเหมาะสมในการจัดการเรีนรูในสวนทฤษฎีที่เปนเนื้อหา และสวนที่เปนการปฏิบัติของนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 คือ ครูมีแนวคิดในการแทรกเนื้อหาระหวางการเรียนภาคปฏิบัติ มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 54.17 ครูมีแนวคิดในการใหนักเรียนไดเรียนรูเนื้อหากอนแลวจึงปฏิบัติ และขณะปฏิบัติแทรกเนื้อหาไปดวย มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 45.83 แนวคิดของครูในการจัดการเรียนรูเกี่ยวกับหลักการและการสรางสรรคผลงานศิลปะเรื่องทัศนธาตุ โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 2 และ ตาราง 3

Page 86: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

67

ตาราง 2 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจัดการเรียนรูเกีย่วกับหลักการทศันธาตุ

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรให

นักเรียนสังเกตและสํารวจจากสิ่งแวดลอมใกลตัว

1 1 1 1 1 1 6 22.22

2 ครูมีแนวคิดวาควรใชการตั้งคําถามใหนกัเรียนคดิ

0 0 0 0 1 1 2 7.41

3 ครูมีแนวคิดวาควรแนะนําใหนกัเรียนรูจกัทัศนธาต ุ

1 1 0 0 0 0 2 7.41

4 ครูมีแนวคิดวาควรนําตัวอยางตางๆ มาใหนักเรียนศึกษา

1 1 1 1 1 1 6 22.22

5 ครูมีแนวคิดวาควรแนะนําใหนกัเรียนรูจกัทัศนธาตุ จากสิ่งแวดลอม

1 1 1 1 1 1 6 22.22

6 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนคนควาจากหองสมุดและอินเตอรเน็ต

0 0 0 1 2 2 5 18.52

รวม 4 4 3 4 6 6 27 100

จากตาราง 2 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรูเกี่ยวกับหลักการทัศนธาตุ คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนสังเกตและสํารวจจากสิ่งแวดลอมใกลตัว ครูมีแนวคิดวาควรนําตัวอยางตางๆ มาใหนักเรียนศึกษา และครูมีแนวคิดวาควรแนะนําใหนักเรียนรูจักทัศนธาตุจากสิ่งแวดลอม มีจํานวนมากที่สุด โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 22.22 รองลองมาคือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนคนควาจากหองสมุดและอินเตอรเน็ต คิดเปนรอยละ 18.52 ครูมีแนวคิดวาควรใชการตั้งคําถามใหนักเรียนคิด และควรแนะนําใหนักเรียนรูจักทัศนธาตุ มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 7.41

Page 87: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

68

ตาราง 3 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจัดการเรียนรูเกีย่วกับการสรางสรรคผลงานศิลปะ เร่ืองทัศนธาตุ

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรให

นักเรียน เรียนรูทัศนธาตุที่งายๆ ไปสูส่ิงที่ยากขึ้น ตามวัยของนกัเรียน

4 4 4 4 4 4 24 100

2 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูเร่ืองใดกอนก็ได

0 0 0 0 0 0 0 0.00

รวม 4 4 4 4 4 4 24 100

จากตาราง 3 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรูเกี่ยวกับการสรางสรรคผลงานศิลปะเร่ืองทัศนธาตุ คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูทัศนธาตุที่งายๆ ไปสูส่ิงที่ยากขึ้น ตามวัยของนักเรียน มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 100 และไมมีครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูเร่ืองใดกอนก็ได แนวคดิของครูในการจดัการเรียนรูเกีย่วกับการสรางสรรคผลงานศิลปะตามจินตนาการ โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 4

Page 88: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

69

ตาราง 4 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจัดการเรียนรูเกีย่วกับการสรางสรรคผลงานศิลปะ ตามจินตนาการ

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรให

นักเรียนจินตนาการอยางอิสระ

2 2 2 2 3 3 14 58.33

2 ครูมีแนวคิดวาควรเลาเรื่อง แลวยกตัวอยางดวยการพูดใหนกัเรียนเกดิจินตนาการ

0 0 1 1 1 1 4 16.67

3 ครูมีแนวคิดวาควรวาดภาพตวัอยางใหนักเรยีนดู แลวกระตุนดวยคําถามทําใหนกัเรียนเกดิจินตนาการ

1 1 1 1 1 1 6 25.00

รวม 3 3 4 4 5 5 24 100

จากตาราง 4 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการสรางสรรคผลงานศิลปะตามจินตนาการ คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนจินตนาการอยางอิสระ มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 58.33 รองลงมาคือ ครูมีแนวคิดวาควรวาดภาพตัวอยางใหนักเรียนดู แลวกระตุนดวยคําถามทําใหนักเรียนเกิดจินตนาการ คิดเปนรอยละ 25 และครูมีแนวคิดวาควรเลาเรื่อง แลวยกตัวอยางดวยการพูดใหนักเรียนเกิดจินตนาการ มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 16.67

แนวคิดของครูในการจัดการเรยีนรู ในการสรางสรรคผลงานศิลปะเกีย่วกบัธรรมชาติและส่ิงแวดลอม โดยใชคารอยละ รายละเอยีดดังตาราง 5

Page 89: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

70

ตาราง 5 จํานวนและรอยละของแนวคิดของครูในการจัดการเรียนรู ในการสรางสรรคผลงานศิลปะ เกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรให

นักเรียนสรางสรรคผลงานจากการดูธรรมชาติ และส่ิงแวดลอมของจริง ในโรงเรียนและนอกโรงเรียน

4 4 4 4 4 4 24 31.17

2 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนสรางสรรคผลงานจากประสบการณที่นักเรียนเคยสมัผัสธรรมชาติที่สวยงาม

1 1 1 1 1 1 6 7.79

3 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนสรางสรรคผลงานจากที่นกัเรียนเคยดูในโทรทัศน ในจานคอมแพกต (วี ซี ด)ี

1 1 1 1 1 1 6 7.79

4 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนสรางสรรคผลงานโดยดภูาพถายธรรมชาติ

3 3 3 4 4 4 21 27.27

5 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนสรางสรรคผลงานจากตัวอยางภาพวาดธรรมชาติ

2 2 2 4 4 4 18 23.38

6 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนสรางสรรคผลงานโดยครูวาดภาพธรรมชาติใหนกัเรียนดูเปนตัวอยางบนกระดาน

1 1 0 0 0 0 2 2.60

รวม 12 12 11 14 14 14 77 100

Page 90: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

71

จากตาราง 5 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู ในการสรางสรรคผลงานศิลปะเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอม คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนสรางสรรคผลงานจากการดูธรรมชาติ และส่ิงแวดลอมของจริง ในโรงเรียนและนอกโรงเรียน มีจํานวนมากที่สุดโดยคิดเปนรอยละ 31.17 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนสรางสรรคผลงานโดยดูภาพถายธรรมชาติ คิดเปนรอยละ 27.27 และครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนสรางสรรคผลงานโดยครูวาดภาพธรรมชาติใหนักเรียนดูเปนตัวอยางบนกระดาน มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 2.60 แนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกีย่วกบัเทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะ โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 6 ตาราง 6 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจัดการเรียนรู เกีย่วกับเทคนิค วธีิการในการสราง ผลงานศิลปะ

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรให

นักเรียนเลือกเทคนิค วิธีการเองอยางอิสระ

3 3 4 4 4 4 22 33.33

2 ครูมีแนวคิดวาควรกําหนดเทคนิค วิธีการใหนักเรียน

1 1 1 1 1 1 6 9.09

3 ครูมีแนวคิดวาควรสอนเทคนิคใหม ๆใหนกัเรียน

2 2 3 3 3 3 16 24.24

4 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนทดลองเทคนิค วิธีการใหม ๆ ดวยตนเอง

3 3 4 4 4 4 22 33.33

รวม 9 9 12 12 12 12 66 100

จากตาราง 6 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับเทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะ คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนเลือกเทคนิค วิธีการเองอยางอิสระ และครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนทดลองเทคนิค วิธีการใหม ๆ ดวยตนเอง มีจํานวนมากที่สุด โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 33.33 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรสอนเทคนิคใหม ๆใหนักเรียน คิดเปนรอยละ 24.24 และครูมีแนวคิดวาควรกําหนดเทคนิค วิธีการใหนักเรียน มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 2.60

Page 91: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

72

แนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกีย่วกบัการเลือก การใช การเก็บรักษาวัสดุอุปกรณในการสรางผลงานศิลปะของนักเรยีน โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 7 ,8 และ 9 ตาราง 7 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจัดการเรียนรู เกีย่วกับการเลือกวัสดุ อุปกรณ

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรให

นักเรียนเลือกใชวัสดุ อุปกรณอยางอิสระ

3 3 4 4 4 4 22 44.00

2 ครูมีแนวคิดวาควรแนะนําความเหมาะสมของการเลือกวัสดุ อุปกรณกอนแลวจึงใหนกัเรียนเลือกวัสดุ อุปกรณที่นักเรียนสนใจ

3 3 4 4 4 4 22 44.00

3 ครูมีแนวคิดวาควรกําหนดวัสดุ อุปกรณใหนกัเรียน

1 1 1 1 1 1 6 12.00

รวม 7 7 9 9 9 9 50 100

จากตาราง 7 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการเลือกวัสดุ อุปกรณ คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนเลือกใชวัสดุ อุปกรณอยางอิสระ และครูมีแนวคิดวาควรแนะนําความเหมาะสมของการเลือกวัสดุ อุปกรณกอนแลวจึงใหนักเรียนเลือกวัสดุ อุปกรณที่นักเรียนสนใจ มีจํานวนมากที่สุด โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 44.00 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรกําหนดวัสดุ อุปกรณใหนักเรียน คิดเปนรอยละ 12.00

Page 92: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

73

ตาราง 8 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจัดการเรียนรู เกีย่วกับการใชวัสดุ อุปกรณ

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรให

นักเรียนทดลองใชดวยตนเอง

0 0 3 3 4 4 14 28.00

2 ครูมีแนวคิดวาควรแนะนําการใชวัสดุ อุปกรณแตละอยางใหนักเรยีนกอนนักเรียนจะใชวัสดุ อุปกรณนั้น ๆ

4 4 4 4 4 4 20 40.00

3 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนทดลองใชดวยตนเองกอน เมื่อนักเรียนมีปญหาจึงใหคําแนะนํา

0 0 4 4 4 4 16 32.00

รวม 4 4 11 11 10 10 50 100

จากตาราง 8 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการใชวัสดุ อุปกรณ คือ ครูมีแนวคิดวาควรแนะนําการใชวัสดุ อุปกรณแตละอยางใหนักเรียนกอนนักเรียนจะใชวัสดุ อุปกรณนั้น ๆ มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 40.00 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนทดลองใชดวยตนเองกอน เมื่อนักเรียนมีปญหาจึงใหคําแนะนํา คิดเปนรอยละ 32.00 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนทดลองใชดวยตนเอง มีจํานวนนอยที่สุด คือ คิดเปนรอยละ 28.00

Page 93: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

74

ตาราง 9 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจัดการเรียนรู เกีย่วกับการเก็บรักษาวัสดุ อุปกรณ

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรให

นักเรียน เรียนรูการเก็บรักษาวัสดุ อุปกรณดวยตนเอง

0 0 0 0 0 0 0 0.00

2 ครูมีแนวคิดวาควรแนะนําการเก็บรักษาวัสดุ อุปกรณแตละอยางใหนักเรียน

4 4 4 4 4 4 24 100

3 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูการเก็บรักษาวัสดุ อุปกรณดวยตนเองกอน เมื่อนักเรียนมีปญหาจึงใหคําแนะนํา

0 0 0 0 0 0 24 0.00

รวม 4 4 4 4 4 4 24 100

จากตาราง 9 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการเก็บรักษาวัสดุ อุปกรณ คือ ครูมีแนวคิดวาควรแนะนําการเก็บรักษาวัสดุ อุปกรณแตละอยางใหนักเรียน มีจํานวนมากที่สุด โดย คิดเปนรอยละ 100 ไมมีครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูการเก็บรักษาวัสดุ อุปกรณดวยตนเอง และไมมีครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูการเก็บรักษาวัสดุ อุปกรณดวยตนเองกอน เมื่อนักเรียนมีปญหาจึงใหคําแนะนํา

แนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกีย่วกบัการเรียนรูในเรื่องหลักการของสุนทรียศาสตร โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 10

Page 94: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

75

ตาราง 10 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการเรียนรูในเรื่อง หลักการของสุนทรียศาสตร

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรให

นักเรียน เรียนรูหลักการของสุนทรีศาสตรกอน แลวใหนักเรียนซึมซับความงามระหวางการปฏิบัติ และการชื่นชมผลงาน

0 0 0 0 1 1 2 8.33

2 ครูมีแนวคิดวาควรแทรกหลักการของสุนทรียศาสตรในขณะนักเรียนปฏิบัติงาน และซึมซับความงามระหวางการปฏิบัติ และการชื่นชมผลงาน

0 0 0 0 0 0 0 0.00

3 ครูมีแนวคิดวายังไมควรเรียนรูหลักการของสุนทรียศาสตร เพราะนักเรียนยังเล็กเกินไป ควรใหนกัเรียนซึมซับความงามระหวางการปฏิบัติ และการชื่นชมผลงาน

4 4 4 4 3 3 22 91.67

รวม 4 4 4 4 4 4 24 100

จากตาราง 10 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการเรียนรูในเรื่องหลักการของสุนทรียศาสตร คือ ครูมีแนวคิดวายังไมควรเรียนรูหลักการของสุนทรียศาสตร เพราะนักเรียนยังเล็กเกินไป ควรใหนักเรียนซึมซับความงามระหวางการปฏิบัติ และการชื่นชมผลงาน มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 91.67 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูหลักการของสุนทรีศาสตรกอน แลวให

Page 95: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

76

นักเรียนซึมซับความงามระหวางการปฏิบัติ และการชื่นชมผลงาน มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 8.33 และไมมีครูมีแนวคิดวาควรแทรกหลักการของสุนทรียศาสตรในขณะนักเรียนปฏิบัติงาน และซึมซับความงามระหวางการปฏิบัติ และการชื่นชมผลงาน

แนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกีย่วกบัการเรียนรูในเรื่องหลักการของการวิจารณงาน

ศิลปะ โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 11 ตาราง 11 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกี่ยวกับการเรยีนรูในเรื่องหลักการ ของการวิจารณงานศิลปะ

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรแนะนํา

หลักการงายๆ ใหนกัเรียน 0 0 0 2 4 4 10 41.67

2 ครูมีแนวคิดวายังไมควรใหันกัเรียน เรียนรูหลักการวจิารณงานศิลปะ เพราะยังเล็กเกนิไป

4 4 4 2 0 0 14 58.33

รวม 4 4 4 4 4 4 24 100

จากตาราง 11 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการเรียนรูในเรื่องหลักการของการวิจารณงานศิลปะ คือ ครูมีแนวคิดวายังไมควรใหันักเรียน เรียนรูหลักการวิจารณงานศิลปะ เพราะยังเล็กเกินไป มีจํานวนมากที่สุด โดย คิดเปนรอยละ 58.33 ครูมีแนวคิดวาควรแนะนําหลักการงายๆ ใหนักเรียน มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 41.67

แนวคิดของครูในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการนําความรู เทคนิค วิธีการทางทัศนศิลปไปใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆโดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 12

Page 96: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

77

ตาราง 12 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกี่ยวกับการนําความรู เทคนิค วิธีการทางทัศนศิลปไปใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรให

นักเรียนเลือกกลุมสาระการเรียนรูที่ตองบูรณาการและหวัขอที่ตองการสรางผลงานเอง

0 0 1 1 1 1 4 16.67

2 ครูมีแนวคิดวาควรกําหนดกลุมสาระการเรียนรูที่จะบูรณาการใหและนักเรยีนกําหนดหวัขอที่ตองการสรางผลงานเอง

1 1 1 1 1 1 6 25.00

3 ครูมีแนวคิดวาควรกําหนดกลุมสาระการเรียนรูที่จะบูรณาการใหนักเรียน และกําหนดหวัขอที่จะสรางผลงานใหนักเรียน

3 3 2 2 2 2 14 58.33

รวม 4 4 4 4 4 4 24 100

จากตาราง 12 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการนําความรู เทคนิค วิธีการทางทัศนศิลปไปใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ คือ ครูมีแนวคิดวาควรกําหนดกลุมสาระการเรียนรูที่จะบูรณาการใหนักเรียน และกําหนดหัวขอที่จะสรางผลงานใหนักเรียน มีจํานวนมากที่สุด โดย คิดเปนรอยละ 58.33 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรกําหนดกลุมสาระการเรียนรูที่จะบูรณาการใหและนักเรียนกําหนดหัวขอที่ตองการสรางผลงานเอง คิดเปนรอยละ 25.00 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนเลือกกลุมสาระการเรียนรูที่ตองบูรณาการและหัวขอที่ตองการสรางผลงานเอง มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 16.67

Page 97: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

78

มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภมิูปญญาไทย และสากล ครูของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี ไดใหแนวคิดในการจัดการเรียนรูในกลุมสาระศิลปะ(ทัศนศิลป) ไวดังนี้

แนวคดิของครูของครูเกี่ยวกบัความเหมาะสมในการจัดการเรียนรูในสวนที่ทฤษฎีเปนเนื้อหาและสวนทีเ่ปนการปฏิบัติ ของนักเรียนชัน้ ป.1-ป.6 โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 13 ตาราง 13 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูเกี่ยวกับความเหมาะสมในการจดัการเรียนรูในสวน ทฤษฎีที่เปนเนื้อหาและสวนที่เปนการปฏิบัติ ของนักเรียนชั้น ป.1-ป.6

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดในการแทรก

เนื้อหาระหวางการเรียนภาคปฏิบัติ

4 4 3 3 3 3 20 68.97

2 ครูมีแนวคิดในการใหนักเรียนไดเรียนรูเนื้อหากอนแลวจึงปฏิบัติ และขณะปฏิบัติแทรกเนื้อหาไปดวย

0 0 1 2 3 3 9 31.03

รวม 4 4 4 5 6 6 29 100

จากตาราง 13 แสดงวา ครูมีแนวคิดเกี่ยวกับความเหมาะสมในการจัดการเรีนรูในสวนทฤษฎีที่เปนเนื้อหา และสวนที่เปนการปฏิบัติของนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 คือ ครูมีแนวคิดในการแทรกเนื้อหาระหวางการเรียนภาคปฏิบัติ มีจํานวนมากที่สุด โดย คิดเปนรอยละ 68.97 และครูมีแนวคิดในการใหนักเรียนไดเรียนรูเนื้อหากอนแลวจึงปฏิบัติ และขณะปฏิบัติแทรกเนื้อหาไปดวย มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 31.03

แนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกีย่วกบัเนื้อหาในเรือ่งลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในทองถ่ินโดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 14

Page 98: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

79

ตาราง 14 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกี่ยวกับเนื้อหาในเรื่องลักษณะ รูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในทองถ่ิน

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรให

นักเรียน เรียนรูจากครู 3 3 3 3 2 2 16 32.00

2 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนซึมซับจากชุมชนในทองถ่ิน

4 4 4 4 3 3 22 44.00

3 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากสื่อตาง ๆ

0 0 1 3 4 4 12 24.00

รวม 7 7 8 10 9 9 50 100

จากตาราง 14 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรูเกี่ยวกับเนื้อหาในเรื่องลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในทองถ่ิน คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนซึมซับจากชุมชนในทองถ่ิน มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 44.00 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากครู คิดเปนรอยละ 32.00 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากส่ือตาง ๆ มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 24.00

แนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกีย่วกับการตระหนกัถึงคุณคาของศิลปะวัฒนธรรม

ประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 15

Page 99: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

80

ตาราง 15 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกีย่วกับการตระหนักถึงคุณคาของ ศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝง

นักเรียนควบคูไปกับการเรียนเนื้อหา

0 0 1 1 3 3 8 25.00

2 ครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝงนักเรียนในขณะทีน่ักเรียนสรางสรรคผลงาน

4 4 4 4 4 4 24 75.00

รวม 4 4 5 5 7 7 32 100

จากตาราง 15 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการตระหนักถึงคุณคาของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน คือ ครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝงนักเรียนในขณะที่นักเรียนสรางสรรคผลงาน มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 75.00 ครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝงนักเรียนควบคูไปกับการเรียนเนื้อหา มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 25.00

แนวคิดของครูในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 16

ตาราง 16 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกี่ยวกับการสบืทอด การทํางาน ศิลปะที่เกีย่วของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมปิญญาทองถ่ิน

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรให

นักเรียน เรียนรูจากครู 4 4 4 4 4 4 24 50.00

2 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากผูรู ในทองถ่ิน

0 0 2 2 4 4 12 25.00

3 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากสื่อตาง ๆ

0 0 1 3 4 4 12 25.00

รวม 4 4 7 9 12 12 48 100

Page 100: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

81

จากตาราง 16 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการสืบทอด การทํางานศิลปะท่ีเกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากครู มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 50.00 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากผูรู ในทองถ่ิน และครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากสื่อตาง ๆ โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 25.00

แนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกีย่วกบัลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในประเทศไทยโดยใชคารอยละ รายละเอยีดดังตาราง 17 ตาราง 17 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกี่ยวกับลักษณะรูปแบบ ความ เปนมาของศิลปะในประเทศไทย

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรให

นักเรียน เรียนรูจากครู 0 0 1 3 4 4 12 25.53

2 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากสื่อตางๆ

0 0 1 3 4 4 12 25.53

3 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูโดยการไปทัศนศึกษาจากแหลงศิลปะวัฒนธรรมนั้น ๆ

0 0 1 2 4 4 11 23.40

4 ไมมีการจัดการเรียนรูในเร่ืองลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในประเทศไทย

4 4 3 1 0 0 12 25.53

รวม 4 4 6 9 12 12 47 100

จากตาราง 17 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในประเทศไทย คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากครู ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากสื่อตางๆ และไมมีการจัดการเรียนรูในเรื่องลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของ

Page 101: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

82

ศิลปะในประเทศไทย มีจํานวนมากที่สุด โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 25.53 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูโดยการไปทัศนศึกษาจากแหลงศิลปะวัฒนธรรมนั้น ๆ มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 23.40

แนวคิดของครูในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการตระหนักถึงคุณคาของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 18

ตาราง 18 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกีย่วกับการตระหนักถึงคุณคาของ ศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝง

นักเรียนควบคูไปกับการเรียนเนื้อหา

0 0 1 2 3 3 9 27.27

2 ครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝงนักเรียนในขณะทีน่ักเรียนสรางสรรคผลงาน

0 0 1 3 4 4 12 36.36

3 ไมมีการจัดการเรียนรูในเร่ืองศิลปะวัฒธรรม ประเพณี ภูมปิญญาไทย

4 4 3 1 0 0 12 36.36

รวม 4 4 5 6 7 7 33 100

จากตาราง 18 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการตระหนักถึงคุณคาของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย คือ ครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝงนักเรียนในขณะที่นักเรียนสรางสรรคผลงาน และไมมีการจัดการเรียนรูในเรื่องศิลปะวัฒธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย มีจํานวนมากที่สุด โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 36.36 ครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝงนักเรียนควบคูไปกับการเรียนเนื้อหา มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 27.27

แนวคิดของครูในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 19

Page 102: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

83

ตาราง 19 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกี่ยวกับการสบืทอด การทํางาน ศิลปะที่เกีย่วของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมปิญญาไทย

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรให

นักเรียน เรียนรูจากครู 0 0 1 3 4 4 12 32.43

2 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากสื่อตางๆ

0 0 0 1 3 3 7 18.92

3 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูโดยการไปทัศนศึกษาจากแหลงศิลปะวัฒนธรรมนั้น ๆ และไดเรียนรูสืบทอด การทํางานศิลปะจากผูรูในแหลงนั้นๆ

0 0 0 0 3 3 6 16.22

4 ไมมีการจัดการเรียนรูในเร่ืองการสืบทอด การทํางานศิลปะทีเ่กี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณ ี ภูมิปญญาไทย

4 4 3 1 0 0 12 32.43

รวม 4 4 4 5 10 10 37 100

จากตาราง 19 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากครู และไมมีการจัดการเรียนรูในเรื่องการสืบทอด การทํางานศิลปะที่ เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย มีจํานวนมากที่สุด โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 32.43 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากสื่อตางๆ คิดเปนรอยละ 18.92 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูโดยการไปทัศนศึกษาจากแหลงศิลปะวัฒนธรรมนั้น ๆ และไดเรียนรูสืบทอด การทํางานศิลปะจากผูรูในแหลงนั้นๆ มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 16.22

Page 103: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

84

แนวคิดของครูในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะสากล โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 20 ตาราง 20 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกี่ยวกับลักษณะรูปแบบ ความ เปนมาของศิลปะสากล

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรให

นักเรียน เรียนรูจากครู 0 0 0 0 0 1 1 4.00

2 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากสื่อตางๆ

0 0 0 0 0 1 1 4.00

3 ไมมีการจัดการเรียนรูในเร่ืองลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในประเทศสากล

4 4 4 4 4 3 23 92.00

รวม 4 4 4 4 4 5 25 100

จากตาราง 20 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะสากล คือ ไมมีการจัดการเรียนรูในเร่ืองลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในประเทศสากล มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 92.00 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากครู และครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากสื่อตางๆ โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 4.00

แนวคิดของครูในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการตระหนักถึงคุณคาของศิลปะวัฒนธรรม

ประเพณี ภูมิปญญาสากล โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 21

Page 104: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

85

ตาราง 21 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกี่ยวกับการตระหนกัถึงคุณคา ของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝง

นักเรียนควบคูไปกับการเรียนเนื้อหา

0 0 0 0 0 1 1 4.00

2 ครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝงนักเรียนในขณะทีน่ักเรียนสรางสรรคผลงาน

0 0 0 0 0 1 1 4.00

3 ไมมีการจัดการเรียนรูในเร่ืองศิลปะวัฒธรรม ประเพณี ภูมปิญญาสากล

4 4 4 4 4 3 23 92.00

รวม 4 4 4 4 4 5 25 100

จากตาราง 21 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการตระหนักถึงคุณคาของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล คือ ไมมีการจัดการเรียนรูในเรื่องศิลปะวัฒธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 92.00 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝงนักเรียนควบคูไปกับการเรียนเนื้อหาและครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝงนักเรียนในขณะที่นักเรียนสรางสรรคผลงานโดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 4.00

แนวคิดของครูในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 22

Page 105: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

86

ตาราง 22 จํานวนและรอยละของแนวคดิของครูในการจดัการเรียนรู เกี่ยวกับการสบืทอด การทํางาน ศิลปะที่เกีย่วของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมปิญญาสากล

ลําดับที่ แนวคดิ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ครูมีแนวคิดวาควรให

นักเรียน เรียนรูจากครู 0 0 0 0 0 1 1 4.00

2 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากสื่อตางๆ

0 0 0 0 0 1 1 4.00

3 ไมมีการจัดการเรียนรูในเร่ืองการสืบทอด การทํางานศิลปะทีเ่กี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณ ี ภูมิปญญาสากล

4 4 4 4 4 3 23 92.00

รวม 4 4 4 4 4 5 25 100

จากตาราง 22 แสดงวา ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล คือ ไมมีการจัดการเรียนรูในเรื่องการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 92.00 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากครู และครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากสื่อตางๆ โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 4.00

2. แนวทางในการกําหนดจุดประสงคการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศลิปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทศันศิลป ถายทอดความรูสกึ ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภมิูปญญาไทย และสากล

แนวทางในการกําหนดจุดประสงคการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศลิป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 23

Page 106: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

87

ตาราง 23 จํานวนและรอยละของแนวทางในการกําหนดจุดประสงคการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2

ลําดับที่ แนวทางในการกําหนดจุดประสงคการเรียนรู

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 กําหนดเปนดานพุทธิพิสัย ดานจิตพิสัย ดานทักษะพิสัย

3 3 3 3 3 3 18 75.00

2 กําหนดเปนดานศีล ดานสมาธิ ดานปญญา

1 1 1 1 1 1 6 25.00

รวม 4 4 4 4 4 4 24 100

จากตาราง 23 แสดงวา แนวทางในการกําหนดจุดประสงคการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 กําหนดเปนดานพุทธิพิสัย ดานจิตพิสัย ดานทักษะพิสัย มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 75.00 และกําหนดเปนดานศีล ดานสมาธิ ดานปญญา มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 25.00

3. เนื้อหาในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรยีนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศลิปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทศันศิลป ถายทอดความรูสกึ ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เนื้อหาของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) ที่มีการจัดการเรียนรูในมาตรฐาน ศ 1.1 โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 24 และ 25

Page 107: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

88

ตาราง 24 จํานวนและรอยละของเนื้อหาของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) จากคํากลาวของครู

ลําดับที่ เนื้อหา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ทัศนธาตุ 4 4 4 4 4 4 24 15.09 2 ศิลปะตามจินตนาการ 4 4 4 4 4 4 24 15.09 3 ศิลปะเกี่ยวกับธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอม 4 4 4 4 4 4 24 15.09

4 เทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะ

4 4 4 4 4 4 24 15.09

5 การเลือก การใช การเก็บรักษาวัสดุอุปกรณในการสรางผลงานศิลปะ

4 4 4 4 4 4 24 15.09

6 สุนทรียศาสตร 0 0 0 1 2 2 5 3.14 7 การวิจารณงานศิลปะ 0 0 0 2 4 4 10 6.29 8 การนําความรู เทคนิค

วิธีการทางทัศนศิลปไปใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน ๆ

4 4 4 4 4 4 24 15.09

รวม 24 24 24 27 30 30 159 100

Page 108: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

89

ตาราง 25 จํานวนและรอยละของเนื้อหาของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) จากคํากลาวของ นักเรียน

ลําดับที่ เนื้อหา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ทัศนธาตุ 20 20 20 20 20 20 120 15.09 2 ศิลปะตามจินตนาการ 20 20 20 20 20 20 120 15.09 3 ศิลปะเกี่ยวกับธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอม 20 20 20 20 20 20 120 15.09

4 เทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะ

20 20 20 20 20 20 120 15.09

5 การเลือก การใช การเก็บรักษาวัสดุอุปกรณในการสรางผลงานศิลปะ

20 20 20 20 20 20 120 15.09

6 สุนทรียศาสตร 0 0 0 5 10 10 25 3.14 7 การวิจารณงานศิลปะ 0 0 0 10 20 20 50 6.29 8 การนําความรู เทคนิค

วิธีการทางทัศนศิลปไปใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน ๆ

20 20 20 20 20 20 120 15.09

รวม 120 120 120 135 150 150 795 100

จากตาราง 24 และ 25 แสดงวา เนื้อหาของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) ที่มีการจัดการเรียนรูในมาตรฐาน ศ 1.1 คือ ทัศนธาตุ ศิลปะตามจินตนาการ ศิลปะเกี่ยวกับธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะ การเลือก การใช การเก็บรักษาวัสดุอุปกรณในการสรางผลงานศิลปะ และการนําความรู เทคนิค วิธีการทางทัศนศิลปไปใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน ๆ มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละเรื่อง คิดเปนรอยละ 15.09 รองลงมา คือ การวิจารณงานศิลปะ คิดเปนรอยละ 6.29 สุนทรียศาสตร มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 3.14 เทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) ที่มีการจัดการเรียนรูในมาตรฐาน ศ 1.1 โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 26 และ 27

Page 109: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

90

ตาราง 26 จํานวนและรอยละของเทคนิค วธีิการในการสรางผลงานศิลปะ จากคํากลาวของครู

ลําดับที่ เทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะ

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 วาดภาพ ระบายสี 4 4 4 4 4 4 24 19.83 2 ปน 4 4 4 4 4 4 24 19.83 3 ภาพพิมพ 4 4 4 4 4 4 24 19.83 4 ส่ือผสม 0 0 0 3 3 3 9 7.44 5 แกะสลัก 0 0 0 3 3 3 9 7.44 6 การประดิษฐ 0 2 4 4 4 4 18 14.88 7 แบบจําลองงาน

สถาปตยกรรม 0 0 1 2 2 2 7 5.79

8 การออกแบบ 0 0 0 2 2 2 6 4.96 รวม 12 14 17 26 26 26 121 100

ตาราง 27 จํานวนและรอยละของเทคนิค วธีิการในการสรางผลงานศิลปะ จากคํากลาวของนักเรยีน

ลําดับที่ เทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะ

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 วาดภาพ ระบายสี 20 20 20 20 20 20 120 19.83 2 ปน 20 20 20 20 20 20 120 19.83 3 ภาพพิมพ 20 20 20 20 20 20 120 19.83 4 ส่ือผสม 0 0 0 15 15 15 45 7.44 5 แกะสลัก 0 0 0 15 15 15 45 7.44 6 การประดิษฐ 0 10 20 20 20 20 90 14.88 7 แบบจําลองงาน

สถาปตยกรรม 0 0 5 10 10 10 35 5.79

8 การออกแบบ 0 0 0 10 10 10 30 4.96 รวม 60 70 85 130 130 130 605 100

Page 110: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

91

จากตาราง 26 และ 27 แสดงวา เทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลป ของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) ที่มีการจัดการเรียนรูในมาตรฐาน ศ 1.1 คือ วาดภาพ ระบายสี ปน และ ภาพพิมพ มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละดาน คิดเปนรอยละ 19.83 รองลงมา คือ การประดิษฐ คิดเปนรอยละ 14.88 การออกแบบ มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 4.96

มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็น

คุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภมิูปญญาไทย และสากล เนื้อหาของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) ที่มีการจัดการเรียนรูในมาตรฐาน ศ 1.2 โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 28 และ 29 ตาราง 28 จํานวนและรอยละของเนื้อหาของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) จากคํากลาวของครู

ลําดับที่ เนื้อหา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ลักษณะรูปแบบ ความ

เปนมาของศิลปะในทองถ่ิน

4 4 4 4 4 4 24 21.62

2 คุณคาของ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน

4 4 4 4 4 4 24 21.62

3 การสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณ ีภูมิปญญาทองถ่ิน

4 4 4 4 4 4 24 21.62

4 ลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะไทย

0 0 1 3 4 4 12 10.81

5 คุณคาของ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย

0 0 1 3 4 4 12 10.81

Page 111: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

92

ตาราง 28 (ตอ)

ลําดับที่ เนื้อหา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 6 การสืบทอด การทํางาน

ศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณ ีภูมิปญญาไทย

0 0 1 3 4 4 12 10.81

7 ลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะสากล

0 0 0 0 0 1 1 0.90

8 คุณคาของ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล

0 0 0 0 0 1 1 0.90

9 การสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณ ีภูมิปญญาสากล

0 0 0 0 0 1 1 0.90

รวม 12 12 15 21 24 27 111 100

ตาราง 29 จํานวนและรอยละของเนื้อหาของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) จากคํากลาวของ นักเรียน

ลําดับที่ เนื้อหา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ลักษณะรูปแบบ ความ

เปนมาของศิลปะในทองถ่ิน

20 20 20 20 20 20 120 21.62

2 คุณคาของ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน

20 20 20 20 20 20 120 21.62

Page 112: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

93

ตาราง 29 (ตอ)

ลําดับที่ เนื้อหา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 3 การสืบทอด การทํางาน

ศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณ ีภูมิปญญาทองถ่ิน

20 20 20 20 20 20 120 21.62

4 ลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะไทย

0 0 5 15 20 20 60 10.81

5 คุณคาของ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย

0 0 5 15 20 20 60 10.81

6 การสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณ ีภูมิปญญาไทย

0 0 5 15 20 20 60 10.81

7 ลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะสากล

0 0 0 0 0 5 5 0.90

8 คุณคาของ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล

0 0 0 0 0 5 5 0.90

9 การสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณ ีภูมิปญญาสากล

0 0 0 0 0 5 5 0.90

รวม 60 60 75 105 120 135 555 100

จากตาราง 28 และ 29 แสดงวา เนื้อหาของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) ที่มีการจัดการเรียนรูในมาตรฐาน ศ 1.2 คือ ลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในทองถ่ิน คุณคาของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน และการสืบทอด การทํางานศิลปะที่ เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละเรื่อง คิดเปนรอยละ 21.62

Page 113: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

94

รองลงมา คือ ลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะไทย คุณคาของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย และการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย โดยแตละเรื่อง คิดเปนรอยละ 10.81 ลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะสากลคุณคาของ ศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล และการสืบทอด การทํางานศิลปะที่ เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล มีจํานวนนอยที่สุด โดยแตละเรื่อง คิดเปนรอยละ 0.90 เทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) ที่มีการจัดการเรียนรูในมาตรฐาน ศ 1.2 โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 30 และ 31 ตาราง 30 จํานวนและรอยละของเทคนิค วธีิการในการสรางผลงานศิลปะ จากคํากลาวของครู

ลําดับที่ เทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะ

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 วาดภาพ ระบายสี 4 4 4 4 4 4 24 31.58 2 ปน 4 4 4 4 4 4 24 31.58 3 ภาพพิมพ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 4 ส่ือผสม 0 0 0 0 0 0 0 0.00 5 แกะสลัก 0 0 0 1 1 1 3 3.94 6 การประดิษฐ 0 2 4 4 4 4 18 23.68 7 แบบจําลองงาน

สถาปตยกรรม 0 0 1 2 2 2 7 9.21

8 การออกแบบ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 8 10 13 15 15 15 76 100

Page 114: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

95

ตาราง 31 จํานวนและรอยละของเทคนิค วธีิการในการสรางผลงานศิลปะ จากคํากลาวของนักเรยีน

ลําดับที่ เทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะ

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 วาดภาพ ระบายสี 20 20 20 20 20 20 120 31.58 2 ปน 20 20 20 20 20 20 120 31.58 3 ภาพพิมพ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 4 ส่ือผสม 0 0 0 0 0 0 0 0.00 5 แกะสลัก 0 0 0 5 5 5 15 3.94 6 การประดิษฐ 0 10 20 20 20 20 90 23.68 7 แบบจําลองงาน

สถาปตยกรรม 0 0 5 10 10 10 35 9.21

8 การออกแบบ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 40 50 65 75 75 75 380 100

จากตาราง 30 และ 31 แสดงวา เทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) ที่มีการจัดการเรียนรูในมาตรฐาน ศ 1.2 คือ วาดภาพ ระบายสี และปน มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละดาน คิดเปนรอยละ 31.58 รองลงมา คือ การประดิษฐ คิดเปนรอยละ 23.68 แกะสลัก มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 3.94

4. การจัดกิจกรรมการเรยีนรูของกลุมสาระการเรยีนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน การจัดกิจกรรมการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.1 โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 32 และ 33

Page 115: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

96

ตาราง 32 จํานวนและรอยละของการจัดกจิกรรมการเรียนรู จากคํากลาวของครู

ลําดับที่ การจัดกจิกรรมการเรียนรู ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 การจัดกจิกรรมการเรียนรู

โดยการบรรยาย 0 0 1 3 3 3 10 4.41

2 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยการอภิปราย

0 0 3 3 3 3 12 5.29

3 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยการอภิปรายกลุมยอย

0 0 1 1 1 1 4 1.76

4 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยการสาธิต

4 4 4 4 4 4 24 10.57

5 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยกระบวนการกลุม

4 4 4 4 4 4 24 10.57

6 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยการชี้แนะ

4 4 4 4 4 4 24 10.57

7 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยพัฒนากระบวนการคิดดวยการใชคําถามหมวกความคิด 6 ใบ

0 0 0 0 0 0 0 0.00

8 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยกระบวนการแกปญหา

0 0 0 0 0 0 0 0.00

9 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน

0 0 0 0 0 0 0 0.00

10 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยสรางองคความรู

0 0 0 0 0 0 0 0.00

11 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยสงเสริมความคิดสรางสรรค

4 4 4 4 4 4 24 10.57

12 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยโครงงาน

0 0 0 3 3 3 9 3.96

Page 116: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

97

ตาราง 32 (ตอ)

ลําดับที่ การจัดกจิกรรมการเรียนรู ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 13 การจัดกจิกรรมการเรียนรู

โดยเนนการปฏิบัติ 4 4 4 4 4 4 24 10.57

14 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยบูรณาการสูพหุปญญา

4 4 4 4 4 4 24 10.57

15 การจัดกจิกรรมการเรียนรูจากแหลงการเรียนรู

4 4 4 4 4 4 24 10.57

16 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยใชกระบวนการ 7 ส.

4 4 4 4 4 4 24 10.57

รวม 160 160 185 210 210 210 1135 100

ตาราง 33 จํานวนและรอยละของการจัดกจิกรรมการเรียนรู จากคํากลาวของนักเรียน

ลําดับที่ การจัดกจิกรรมการเรียนรู ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 การจัดกจิกรรมการเรียนรู

โดยการบรรยาย 0 0 5 15 15 15 50 4.41

2 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยการอภิปราย

0 0 15 15 15 15 60 5.29

3 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยการอภิปรายกลุมยอย

0 0 5 5 5 5 20 1.76

4 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยการสาธิต

20 20 20 20 20 20 120 10.57

5 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยกระบวนการกลุม

20 20 20 20 20 20 120 10.57

6 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยการชี้แนะ

20 20 20 20 20 20 120 10.57

Page 117: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

98

ตาราง 33 (ตอ)

ลําดับที่ การจัดกจิกรรมการเรียนรู ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 7 การจัดกจิกรรมการเรียนรู

โดยพัฒนากระบวนการคิดดวยการใชคําถามหมวกความคิด 6 ใบ

0 0 0 0 0 0 0 0.00

8 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยกระบวนการแกปญหา

0 0 0 0 0 0 0 0.00

9 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน

0 0 0 0 0 0 0 0.00

10 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยสรางองคความรู

0 0 0 0 0 0 0 0.00

11 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยสงเสริมความคิดสรางสรรค

20 20 20 20 20 20 120 10.57

12 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยโครงงาน

0 0 0 15 15 15 45 3.96

13 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยเนนการปฏิบัติ

20 20 20 20 20 20 120 10.57

14 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยบูรณาการสูพหุปญญา

20 20 20 20 20 20 120 10.57

15 การจัดกจิกรรมการเรียนรูจากแหลงการเรียนรู

20 20 20 20 20 20 120 10.57

16 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยใชกระบวนการ 7 ส.

20 20 20 20 20 20 120 10.57

รวม 160 160 185 210 210 210 1135 100

Page 118: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

99

จากตาราง 32 และ 33 แสดงวา การจัดกิจกรรมการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.1 คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการสาธิต การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยกระบวนการกลุม การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการชี้แนะ การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยสงเสริมความคิดสรางสรรค การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยเนนการปฏิบัติ การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยบูรณาการสูพหุปญญา การจัดกิจกรรมการเรียนรูจากแหลงการเรียนรู และการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชกระบวนการ 7 ส. มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละดาน คิดเปนรอยละ 10.57 รองลงมา คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการอภิปราย คิดเปนรอยละ 5.29 การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการอภิปรายกลุมยอย มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 1.76

มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภมิูปญญาไทย และสากล การจัดกจิกรรมการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป)ในมาตรฐาน ศ 1.2 โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 34 และ 35 ตาราง 34 จํานวนและรอยละของการจัดกจิกรรมการเรียนรู จากคํากลาวของครู

ลําดับที่ การจัดกจิกรรมการเรียนรู ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 การจัดกจิกรรมการเรียนรู

โดยการบรรยาย 0 0 1 2 3 3 9 4.05

2 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยการอภิปราย

0 0 2 2 2 2 8 3.60

3 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยการอภิปรายกลุมยอย

0 0 1 1 1 1 4 1.80

4 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยการสาธิต

4 4 4 4 4 4 24 10.81

5 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยกระบวนการกลุม

4 4 4 4 4 4 24 10.81

6 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยการชี้แนะ

4 4 4 4 4 4 24 10.81

Page 119: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

100

ตาราง 34 (ตอ)

ลําดับที่ การจัดกจิกรรมการเรียนรู ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 7 การจัดกจิกรรมการเรียนรู

โดยพัฒนากระบวนการคิดดวยการใชคําถามหมวกความคิด 6 ใบ

0 0 0 0 0 0 0 0.00

8 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยกระบวนการแกปญหา

0 0 0 0 0 0 0 0.00

9 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน

0 0 0 0 0 0 0 0.00

10 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยสรางองคความรู

0 0 0 0 0 0 0 0.00

11 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยสงเสริมความคิดสรางสรรค

4 4 4 4 4 4 24 10.81

12 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยโครงงาน

0 0 0 3 3 3 9 4.05

13 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยเนนการปฏิบัติ

4 4 4 4 4 4 24 10.81

14 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยบูรณาการสูพหุปญญา

4 4 4 4 4 4 24 10.81

15 การจัดกจิกรรมการเรียนรูจากแหลงการเรียนรู

4 4 4 4 4 4 24 10.81

16 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยใชกระบวนการ 7 ส.

4 4 4 4 4 4 24 10.81

รวม 32 32 36 40 41 41 222 100

Page 120: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

101

ตาราง 35 จํานวนและรอยละของการจัดกจิกรรมการเรียนรู จากคํากลาวของนักเรียน

ลําดับที่ การจัดกจิกรรมการเรียนรู ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 การจัดกจิกรรมการเรียนรู

โดยการบรรยาย 0 0 5 10 15 15 45 4.05

2 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยการอภิปราย

0 0 10 10 10 10 40 3.60

3 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยการอภิปรายกลุมยอย

0 0 5 5 5 5 20 1.80

4 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยการสาธิต

20 20 20 20 20 20 120 10.81

5 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยกระบวนการกลุม

20 20 20 20 20 20 120 10.81

6 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยการชี้แนะ

20 20 20 20 20 20 120 10.81

7 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยพัฒนากระบวนการคิดดวยการใชคําถามหมวกความคิด 6 ใบ

0 0 0 0 0 0 0 0.00

8 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยกระบวนการแกปญหา

0 0 0 0 0 0 0 0.00

9 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน

0 0 0 0 0 0 0 0.00

10 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยสรางองคความรู

0 0 0 0 0 0 0 0.00

11 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยสงเสริมความคิดสรางสรรค

20 20 20 20 20 20 120 10.81

12 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยโครงงาน

0 0 0 15 15 15 45 4.05

Page 121: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

102

ตาราง 35 (ตอ)

ลําดับที่ การจัดกจิกรรมการเรียนรู ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 13 การจัดกจิกรรมการเรียนรู

โดยเนนการปฏิบัติ 20 20 20 20 20 20 120 10.81

14 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยบูรณาการสูพหุปญญา

20 20 20 20 20 20 120 10.81

15 การจัดกจิกรรมการเรียนรูจากแหลงการเรียนรู

20 20 20 20 20 20 120 10.81

16 การจัดกจิกรรมการเรียนรูโดยใชกระบวนการ 7 ส.

20 20 20 20 20 20 120 10.81

รวม 160 160 180 200 205 205 1110 100

จากตาราง 34 และ 35 แสดงวา การจัดกิจกรรมการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ

(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.2 คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการสาธิต การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยกระบวนการกลุม การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการชี้แนะ การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยสงเสริมความคิดสรางสรรค การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยเนนการปฏิบัติ การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยบูรณาการสูพหุปญญา การจัดกิจกรรมการเรียนรูจากแหลงการเรียนรู และการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชกระบวนการ 7 ส. มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละดาน คิดเปนรอยละ 10.81รองลงมา คือการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการบรรยาย และการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยโครงงานโดยแตละดาน คิดเปนรอยละ 4.05 การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการอภิปรายกลุมยอย มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 1.80

5. การวัดและประเมินผลของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศลิปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทศันศิลป ถายทอดความรูสกึ ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภมิูปญญาไทย และสากล

การวัดและประเมินผลของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 36

Page 122: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

103

ตาราง 36 จํานวนและรอยละของการวัดและประเมนิผลของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2

ลําดับที่ การวัดและประเมินผล ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ใชแบบทดสอบ 4 4 4 4 4 4 24 14.46 2 สังเกตจากการแสดงความ

คิดเห็น 0 2 4 4 4 4 18 10.84

3 สังเกตจากการปฏิบัติ 4 4 4 4 4 4 24 14.46 4 สังเกตจากการวิจารณ

ผลงาน 0 0 0 2 4 4 10 6.02

5 จากแฟมสะสมงาน 0 0 2 2 2 2 8 4.82 6 สังเกตจากการเขารวม

กิจกรรม 4 4 4 4 4 4 24 14.46

7 สังเกตจากการสรุป 0 0 4 4 4 4 16 9.64 8 สังเกตจากการนําเสนอ

ผลงาน 0 2 4 4 4 4 18 10.84

9 จากผลงานนักเรียน 4 4 4 4 4 4 24 14.46 รวม 16 20 30 32 34 34 166 100

จากตาราง 36 แสดงวา การวัดและประเมินผลของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป)

มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ ใชแบบทดสอบ สังเกตจากการปฏิบัติ สังเกตจากการเขารวมกิจกรรม และจากผลงานนักเรียน มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละดาน คิดเปนรอยละ 14.46 รองลงมา คือ สังเกตจากการแสดงความคิดเห็น และสังเกตจากการนําเสนอผลงาน โดยแตละดาน คิดเปนรอยละ 10.84 จากแฟมสะสมงาน มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 4.82

6. สื่อการเรียนรูท่ีใชในกลุมสาระการเรยีนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศลิปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทศันศิลป ถายทอดความรูสกึ ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

Page 123: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

104

ส่ือการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.1 โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 37 ถึง 52 สื่อท่ีครูใชจัดการเรียนรูใหกับนักเรียน ตาราง 37 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทวสัดุ จากคํากลาวของครู

ลําดับที่ ประเภทวัสด ุ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 แผนภูม ิ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 2 แผนสถิติ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 3 แผนภาพ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 4 ภาพถาย 0 0 1 1 1 1 4 3.45 5 ภาพโฆษณา 0 1 3 4 4 4 16 13.79 6 ภาพวาดตวัอยาง 4 4 4 4 4 4 24 20.69 7 ภาพการตนู 4 4 4 4 4 4 24 20.69 8 ช้ินงานจริง 4 4 4 4 4 4 24 20.69 9 ของจริง 4 4 4 4 4 4 24 20.69 รวม 16 17 20 21 21 21 116 100

ตาราง 38 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทวสัดุ จากคํากลาวของนักเรยีน

ลําดับที่ ประเภทวัสด ุ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 แผนภูม ิ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 2 แผนสถิติ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 3 แผนภาพ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 4 ภาพถาย 0 0 5 5 5 5 20 3.45 5 ภาพโฆษณา 0 5 15 20 20 20 80 13.79 6 ภาพวาดตวัอยาง 20 20 20 20 20 20 120 20.69 7 ภาพการตนู 20 20 20 20 20 20 120 20.69 8 ช้ินงานจริง 20 20 20 20 20 20 120 20.69 9 ของจริง 20 20 20 20 20 20 120 20.69 รวม 80 85 100 105 105 105 580 100

Page 124: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

105

จากตาราง 37 และ 38 แสดงวา ส่ือการเรียนรู ประเภทวัสดุ ของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ ภาพวาดตัวอยาง ภาพการตูน ช้ินงานจริง และของจริง มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละชนิด คิดเปนรอยละ 20.69 รองลงมา คือ ภาพโฆษณา คิดเปนรอยละ 13.79 ภาพถาย มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 3.45

ตาราง 39 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทอปุกรณ จากคํากลาวของครู

ลําดับที่ ประเภทอุปกรณ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 กระดานดํา,white board 4 4 4 4 4 4 24 26.97 2 กระดานนิเทศ 4 4 4 4 4 4 24 26.97 3 เครื่องฉายภาพขามศีรษะ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 4 เครื่องฉายภาพทึบแสง 0 0 0 0 0 0 0 0.00 5 เครื่องฉายสไลด 0 0 0 0 0 0 0 0.00 6 เครื่องฉายภาพยนต 0 0 0 0 0 0 0 0.00 7 เครื่องฉายจุลทัศน (Micro

Projector) 0 0 0 0 0 0 0 0.00

8 วิทย ุ 3 3 3 3 3 3 18 20.22 9 โทรทัศน 1 1 2 3 3 3 13 14.61 10 เครื่องฉายวีดทิัศน(วี ดี โอ) 0 0 0 0 0 0 0 0.00 11 เครื่องเลนจานคอมแพกต

( วี ซี ดี ) 1 1 2 2 2 2 10 11.24

12 เครื่องคอมพิวเตอร 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 13 13 15 16 16 16 89 100

Page 125: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

106

ตาราง 40 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทอปุกรณ จากคํากลาวของนักเรียน

ลําดับที่ ประเภทอุปกรณ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 กระดานดํา,white board 20 20 20 20 20 20 120 26.97 2 กระดานนิเทศ 20 20 20 20 20 20 120 26.97 3 เครื่องฉายภาพขามศีรษะ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 4 เครื่องฉายภาพทึบแสง 0 0 0 0 0 0 0 0.00 5 เครื่องฉายสไลด 0 0 0 0 0 0 0 0.00 6 เครื่องฉายภาพยนต 0 0 0 0 0 0 0 0.00 7 เครื่องฉายจุลทัศน (Micro

Projector) 0 0 0 0 0 0 0 0.00

8 วิทย ุ 15 15 15 15 15 15 90 20.22 9 โทรทัศน 5 5 10 15 15 15 65 14.61 10 เครื่องฉายวีดทิัศน(วี ดี โอ) 0 0 0 0 0 0 0 0.00 11 เครื่องเลนจานคอมแพกต

( วี ซี ดี ) 5 5 10 10 10 10 50 11.24

12 เครื่องคอมพิวเตอร 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 65 65 75 80 80 80 445 100

จากตาราง 39 และ 40 แสดงวา ส่ือการเรียนรู ประเภทอุปกรณ ของกลุมสาระการเรียนรู

ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ กระดานดํา,white board และกระดานนิเทศ มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละชนิด คิดเปนรอยละ 26.97 รองลงมา คือ วิทยุ คิดเปนรอยละ 20.22 เครื่องเลนจานคอมแพกต ( วี ซี ดี ) มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 11.24

Page 126: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

107

ตาราง 41 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทเทคนิค วิธีการ จากคํากลาวของครู

ลําดับที่ ประเภทเทคนคิ วิธีการ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 การสาธิต 4 4 4 4 4 4 24 20.00 2 การแสดงละคร 0 0 0 0 0 0 0 0.00 3 เลนเกม 0 0 0 0 0 0 0 0.00 4 การศึกษานอกสถานที่ 4 4 4 4 4 4 24 20.00 5 การทดลอง 4 4 4 4 4 4 24 20.00 6 การแสดงบทบาทสมมุติ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 7 การฝกปฏิบัติ 4 4 4 4 4 4 24 20.00 8 นิทรรศการ 4 4 4 4 4 4 24 20.00 รวม 20 20 20 20 20 20 120 100

ตาราง 42 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทเทคนิค วิธีการ จากคํากลาวของนักเรียน

ลําดับที่ ประเภทเทคนคิ วิธีการ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 การสาธิต 20 20 20 20 20 20 120 20.00 2 การแสดงละคร 0 0 0 0 0 0 0 0.00 3 เลนเกม 0 0 0 0 0 0 0 0.00 4 การศึกษานอกสถานที่ 20 20 20 20 20 20 120 20.00 5 การทดลอง 20 20 20 20 20 20 120 20.00 6 การแสดงบทบาทสมมุติ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 7 การฝกปฏิบัติ 20 20 20 20 20 20 120 20.00 8 นิทรรศการ 20 20 20 20 20 20 120 20.00 รวม 100 100 100 100 100 100 600 100

จากตาราง 41 และ 42 แสดงวา ส่ือการเรียนรู ประเภทเทคนิค วิธีการ ของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ การสาธิต การศึกษานอกสถานที่ การทดลอง การฝกปฏิบัติ และนิทรรศการ มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละวิธีการ คิดเปนรอยละ 20.00 และไมมีวิธีการอื่น ๆ

Page 127: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

108

ตาราง 43 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรูที่นักเรียนใชในการถายทอดผลงาน

ลําดับที่ ส่ือที่นักเรียนใชในการ

ถายทอดผลงาน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 คน 20 20 19 19 20 19 117 8.32 2 สัตว 18 19 18 17 18 19 109 7.75 3 ตนไม 18 17 19 16 17 18 105 7.47 4 ทะเล 17 16 18 18 18 19 106 7.54 5 ส่ิงของ 18 17 18 17 19 19 108 7.68 6 ส่ิงกอสราง 10 13 16 18 19 19 95 6.76 7 โฆษณา 6 5 10 13 14 15 63 4.48 8 ภาพถาย 5 12 15 17 18 19 86 6.17 9 ภาพวาด 18 18 19 20 18 20 113 8.04 10 การตูน 18 16 18 19 17 18 106 7.54 11 ครอบครัว 19 19 18 17 19 18 110 7.82 12 ชุมชน 16 17 18 19 16 18 104 7.40 13 โรงเรียน 16 15 18 17 19 18 103 7.33 14 วัด ,ศาสนสถาน 10 12 14 16 13 16 81 5.76 รวม 209 216 238 243 245 255 1406 100

จากตาราง 43 แสดงวา ส่ือการเรียนรูที่นักเรียนใชในการถายทอดผลงาน ของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ คน มีจํานวนมากที่สุดโดยคิดเปนรอยละ 8.32 รองลงมา คือ ภาพวาด คิดเปนรอยละ 8.04 โฆษณา มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 4.48

Page 128: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

109

สื่อท่ีนักเรียนใช ตาราง 44 จํานวนและรอยละของวัสดุที่ใชเปนระนาบหรือพื้นในการสรางผลงานของนักเรียน

ลําดับที่ วัสดุที่ใชเปนระนาบหรือพื้นในการสรางผลงาน

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 กระดาษ 80 แกรม 20 20 20 20 20 20 120 71.43 2 กระดาษ 100 แกรม 0 0 5 7 9 12 33 19.64 3 กระดาษสา 0 0 0 5 5 5 15 8.93 4 กระดาษปรูฟ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 5 ผาใบ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 6 ไม 0 0 0 0 0 0 0 0.00 7 ผา 0 0 0 0 0 0 0 0.00 8 เครื่องปนดินเผา 0 0 0 0 0 0 0 0.00 9 ขวด 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 20 20 25 32 34 37 168 100

จากตาราง 44 แสดงวา วัสดุที่ใชเปนระนาบหรือพื้นในการสรางผลงานของนักเรียน ในกลุม

สาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ กระดาษ 80 แกรม มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 71.43 รองลงมา คือ กระดาษ 100 แกรม คิดเปนรอยละ 19.64 กระดาษสา มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 8.93

Page 129: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

110

ตาราง 45 จํานวนและรอยละของสีที่ใชในการสรางผลงานของนักเรียน

ลําดับที่ สี ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 สีไม 20 20 20 20 20 20 120 24.39 2 สีเทียน 18 18 17 18 19 19 109 22.15 3 สีชอลกน้ํามัน 14 15 19 15 16 15 94 19.11 4 สีน้ํา 0 0 9 11 12 15 47 9.55 5 สีโปสเตอร 0 0 5 12 15 17 49 9.96 6 สีอะคริลิก 0 0 0 0 0 0 0 0.00 7 สีฝุน 0 0 0 0 0 0 0 0.00 8 สีน้ํามัน 0 0 0 0 0 0 0 0.00 9 สีพลาสติก 0 0 17 19 18 19 73 14.84 รวม 52 53 87 95 100 105 492 100

จากตาราง 45 แสดงวา สีที่ใชในการสรางผลงานของนักเรียน ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ

(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ สีไม มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 24.39 รองลงมา คือ สีเทียน คิดเปนรอยละ 22.15 สีน้ํา มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 9.55 ตาราง 46 จํานวนและรอยละของวัสดุที่นักเรียนใชปน

ลําดับที่ วัสดุที่ใชปน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ดินน้ํามัน 20 20 20 20 20 20 120 66.67 2 ดินเหนียว 0 0 0 0 0 0 0 0.00 3 แปงขนมปง แปงสาลี

แปงขาวโพด 0 0 0 5 5 5 15 8.33

4 แปงโด 0 0 0 0 0 0 0 0.00 5 ดินญี่ปุน 0 0 0 0 0 0 0 0.00 6 กระดาษผสมกาว 0 0 0 15 15 15 45 25.00 รวม 20 20 20 40 40 40 180 100

Page 130: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

111

จากตาราง 46 แสดงวา วัสดุที่นักเรียนใชปน ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ ดินน้ํามัน มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 66.67 รองลงมา คือ กระดาษผสมกาว คิดเปนรอยละ 25.00 แปงขนมปง แปงสาลี แปงขาวโพด มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 8.33 ตาราง 47 จํานวนและรอยละของวัสดุที่นักเรียนที่ใชทําภาพพิมพ

ลําดับที่ วัสดุที่ใชทําภาพพิมพ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ใบไม 12 14 15 14 15 13 83 18.40 2 ผัก ผลไม 11 12 11 12 10 14 70 15.52 3 กานกลวย 12 14 12 13 12 15 78 17.29 4 กิ่งไม 5 9 12 12 15 14 67 14.86 5 เหรียญ 9 13 10 12 14 13 71 15.74 6 กระดาษ 8 10 12 11 11 10 62 13.75 7 ยางลบ 0 0 5 5 5 5 20 4.43 รวม 57 72 77 79 82 84 451 100

จากตาราง 47 แสดงวา วัสดุที่นักเรียนใชทําภาพพิมพ ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ

(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ ใบไม มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 18.40 รองลงมา คือ กานกลวย คิดเปนรอยละ 17.29 ยางลบ มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 4.43

Page 131: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

112

ตาราง 48 จํานวนและรอยละของวัสดุที่นักเรียนที่ใชทําสือ่ผสม

ลําดับที่ วัสดุที่ใชทําสือ่ผสม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ใบไมแหง 0 0 0 6 9 11 26 10.08 2 กิ่งไม 0 0 0 11 8 13 32 12.40 3 ไม 0 0 0 5 7 11 23 8.91 4 โลหะ 0 0 0 6 10 8 24 9.30 5 กระดาษ 0 0 0 14 13 15 42 16.28 6 ลัง 0 0 0 7 9 11 27 10.47 7 ดินน้ํามัน 0 0 0 10 12 15 37 14.34 8 ปูนปลาสเตอร 0 0 5 5 5 5 20 7.75 9 พลาสติก 0 0 0 8 9 10 27 10.47 รวม 0 0 5 72 82 99 258 100

จากตาราง 48 แสดงวา วัสดุที่นักเรียนใชทําสื่อผสม ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป)

มาตรฐาน ศ 1.1 คือ กระดาษ มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 16.28 รองลงมา คือ ดินน้ํามัน คิดเปนรอยละ 14.34 ปูนปลาสเตอร มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 7.75 ตาราง 49 จํานวนและรอยละของวัสดุที่นักเรียนใชทําแกะสลัก

ลําดับที่ วัสดุที่ใชทําแกะสลัก ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ผัก ผลไม 0 0 0 15 15 15 45 60.00 2 เทียน 0 0 0 0 0 0 0 0.00 3 สบู 0 0 0 5 5 5 15 20.00 4 ยางลบ 0 0 0 5 5 5 15 20.00 รวม 0 0 0 25 25 25 75 100

จากตาราง 49 แสดงวา วัสดุที่นักเรียนใชทําแกะสลักในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป)

มาตรฐาน ศ 1.1 คือ ผัก ผลไม มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 60.00 สบู และยางลบ มีจํานวนนอยที่สุด โดยแตละชนิด คิดเปนรอยละ 20.00

Page 132: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

113

ตาราง 50 จํานวนและรอยละของวัสดุที่นักเรียนใชทํางานประดิษฐ

ลําดับที่ วัสดุทํางานประดิษฐ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 เศษไม 2 5 8 9 8 10 42 11.35 2 พลาสติก 2 7 6 5 10 13 43 11.62 3 กลองนม 7 6 6 8 10 9 46 12.43 4 ขวดน้ํา 10 9 12 13 11 12 67 18.11 5 ถุงขนม 13 15 14 14 17 12 85 22.97 6 ลัง 5 8 8 10 9 10 50 13.51 7 ไมไอศกรีม 5 6 6 7 6 7 37 10.00 รวม 44 56 60 66 71 73 370 100

จากตาราง 50 แสดงวา วัสดุที่นักเรียนใชทํางานประดิษฐ ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ

(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ ถุงขนม มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 22.97 รองลงมา คือ ขวดน้ํา คิดเปนรอยละ 18.11 ไมไอศกรีม มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 10.00 ตาราง 51 จํานวนและรอยละของวัสดุที่นักเรียนใชทําแบบจําลองสถาปตยกรรม

ลําดับที่ วัสดุที่ใชทําแบบจําลอง

สถาปตยกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 ไม 0 0 4 8 7 9 28 36.84 2 ดินเหนียว 0 0 0 0 0 0 0 0.00 3 ดินน้ํามัน 0 0 4 6 7 4 21 27.63 4 ลัง 0 0 4 7 8 8 27 35.53 รวม 0 0 12 21 22 21 76 100

จากตาราง 51 แสดงวา วัสดุที่นักเรียนใชทําแบบจําลองสถาปตยกรรม ในกลุมสาระการเรียนรู

ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ ไม มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 36.84 รองลงมา คือ ลัง คิดเปนรอยละ 35.53 ดินน้ํามัน มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 27.63

Page 133: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

114

ตาราง 52 จํานวนและรอยละของวัสดุและอปุกรณที่นกัเรยีนใชออกแบบ

ลําดับที่ วัสดุและอุปกรณที่ใช

ออกแบบ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 ดินสอ สี กระดาษ 0 0 0 10 10 10 30 100 2 คอมพิวเตอร 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 0 0 0 10 10 10 30 100

จากตาราง 52 แสดงวา วัสดุและอุปกรณที่นักเรียนใชออกแบบ ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ

(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ ดินสอ สี กระดาษ มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100 และไมมีวัสดุ อุปกรณอ่ืน ๆ

มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภมิูปญญาไทย และสากล ส่ือการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.1 โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 53 ถึง 65 สื่อท่ีครูใชจัดการเรียนรูใหกับนักเรียน ตาราง 53 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทวัสดุ จากคํากลาวของครู

ลําดับที่ ประเภทวัสด ุ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 แผนภูม ิ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 2 แผนสถิติ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 3 แผนภาพ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 4 ภาพถาย 0 0 0 0 0 0 0 0.00 5 ภาพโฆษณา 0 0 0 0 0 0 0 0.00 6 ภาพวาดตวัอยาง 4 4 4 4 4 4 24 28.24 7 ภาพวาดลายไทย 0 0 4 4 4 4 16 18.82 8 ภาพการตนูไทย 0 1 4 4 4 4 17 20.00 9 ภาพฝาผนัง 0 0 1 1 1 1 4 4.70 10 ช้ินงานจริง 4 4 4 4 4 4 24 28.24 รวม 8 9 17 17 17 17 85 100

Page 134: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

115

ตาราง 54 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทวสัดุ จากคํากลาวของนักเรยีน

ลําดับที่ ประเภทวัสด ุ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 แผนภูม ิ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 2 แผนสถิติ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 3 แผนภาพ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 4 ภาพถาย 0 0 0 0 0 0 0 0.00 5 ภาพโฆษณา 0 0 0 0 0 0 0 0.00 6 ภาพวาดตวัอยาง 20 20 20 20 20 20 120 28.24 7 ภาพวาดลายไทย 0 0 20 20 20 20 80 18.82 8 ภาพการตนูไทย 0 5 20 20 20 20 85 20.00 9 ภาพฝาผนัง 0 0 5 5 5 5 20 4.70 10 ช้ินงานจริง 20 20 20 20 20 20 120 28.24 รวม 40 45 85 85 85 85 425 100

จากตาราง 53 และ 54 แสดงวา ส่ือการเรียนรู ประเภทวัสดุ ของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ ภาพวาดตัวอยาง และชิ้นงานจริง มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละชนิด คิดเปนรอยละ 28.24 รองลงมา คือ ภาพการตูนไทย คิดเปนรอยละ 20.00 ภาพฝาผนัง มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 4.70

Page 135: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

116

ตาราง 55 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทอปุกรณ จากคํากลาวของครู

ลําดับที่ ประเภทอุปกรณ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 กระดานดํา,white board 4 4 4 4 4 4 24 30.00 2 กระดานนิเทศ 4 4 4 4 4 4 24 30.00 3 เครื่องฉายภาพขามศีรษะ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 4 เครื่องฉายภาพทึบแสง 0 0 0 0 0 0 0 0.00 5 เครื่องฉายสไลด 0 0 0 0 0 0 0 0.00 6 เครื่องฉายภาพยนต 0 0 0 0 0 0 0 0.00 7 เครื่องฉายจุลทัศน (Micro

Projector) 0 0 0 0 0 0 0 0.00

8 วิทย ุ 1 1 2 2 3 3 12 15.00 9 โทรทัศน 1 1 2 2 2 2 10 12.50 10 เครื่องฉายวีดทิัศน(วี ดี โอ) 0 0 0 0 0 0 0 0.00 11 เครื่องเลนจานคอมแพกต

( วี ซี ดี ) 1 1 2 2 2 2 10 12.50

12 เครื่องคอมพิวเตอร 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 11 11 14 14 15 15 80 100

Page 136: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

117

ตาราง 56 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทอปุกรณ จากคํากลาวของนักเรียน

ลําดับที่ ประเภทอุปกรณ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 กระดานดํา,white board 20 20 20 20 20 20 120 30.00 2 กระดานนิเทศ 20 20 20 20 20 20 120 30.00 3 เครื่องฉายภาพขามศีรษะ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 4 เครื่องฉายภาพทึบแสง 0 0 0 0 0 0 0 0.00 5 เครื่องฉายสไลด 0 0 0 0 0 0 0 0.00 6 เครื่องฉายภาพยนต 0 0 0 0 0 0 0 0.00 7 เครื่องฉายจุลทัศน (Micro

Projector) 0 0 0 0 0 0 0 0.00

8 วิทย ุ 5 5 10 10 15 15 60 15.00 9 โทรทัศน 5 5 10 10 10 10 50 12.50 10 เครื่องฉายวีดทิัศน(วี ดี โอ) 0 0 0 0 0 0 0 0.00 11 เครื่องเลนจานคอมแพกต

( วี ซี ดี ) 5 5 10 10 10 10 50 12.50

12 เครื่องคอมพิวเตอร 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 55 55 70 70 75 75 400 100

จากตาราง 55 และ 56 แสดงวา ส่ือการเรียนรู ประเภทอุปกรณ ของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ

(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ กระดานดํา,white board และกระดานนิเทศ มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละชนิด คิดเปนรอยละ 30.00 รองลงมา คือ วิทยุ คิดเปนรอยละ 15.00 โทรทัศน และ เครื่องเลนจานคอมแพกต ( วี ซี ดี ) มีจํานวนนอยที่สุด โดยแตละชนิด คิดเปนรอยละ 12.50

Page 137: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

118

ตาราง 57 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทเทคนิค วิธีการ จากคํากลาวของครู

ลําดับที่ ประเภทเทคนคิและวิธีการ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 การสาธิต 4 4 4 4 4 4 24 25.00 2 การแสดงละคร 0 0 0 0 0 0 0 0.00 3 เลนเกม 0 0 0 0 0 0 0 0.00 4 การศึกษานอกสถานที่ 4 4 4 4 4 4 24 25.00 5 การทดลอง 0 0 0 0 0 0 0 0.00 6 การแสดงบทบาทสมมุติ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 7 การฝกปฏิบัติ 4 4 4 4 4 4 24 25.00 8 นิทรรศการ 4 4 4 4 4 4 24 25.00 รวม 16 16 16 16 16 16 96 100

ตาราง 58 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรู ประเภทเทคนิค วิธีการ จากคํากลาวของนักเรียน

ลําดับที่ ประเภทเทคนคิและวิธีการ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 การสาธิต 20 20 20 20 20 20 120 25.00 2 การแสดงละคร 0 0 0 0 0 0 0 0.00 3 เลนเกม 0 0 0 0 0 0 0 0.00 4 การศึกษานอกสถานที่ 20 20 20 20 20 20 120 25.00 5 การทดลอง 0 0 0 0 0 0 0 0.00 6 การแสดงบทบาทสมมุติ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 7 การฝกปฏิบัติ 20 20 20 20 20 20 120 25.00 8 นิทรรศการ 20 20 20 20 20 20 120 25.00 รวม 80 80 80 80 80 80 480 100

จากตาราง 57 และ 58 แสดงวา ส่ือการเรียนรู ประเภทเทคนิค วิธีการ ของกลุมสาระการ

เรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ การสาธิต การศึกษานอกสถานที่ การฝกปฏิบัติ และนิทรรศการ มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละวิธีการ คิดเปนรอยละ 25.00 และไมมีวิธีการอื่น ๆ

Page 138: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

119

สื่อท่ีนักเรียนใช ตาราง 59 จํานวนและรอยละของสื่อการเรียนรูที่นักเรียนใชในการถายทอดผลงาน

ลําดับที่ ส่ือที่นักเรียนใชในการ

ถายทอดผลงาน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 พระพุทธรูป เทวรูป รูปเคารพ

0 0 0 0 0 0 0 0.00

2 คน 20 20 17 17 16 17 107 8.19 3 สัตว 19 20 18 15 18 17 107 8.19 4 ตนไม 16 17 18 15 18 17 101 7.72 5 ทะเล 9 10 14 14 16 16 79 6.04 6 ส่ิงของ 6 9 13 16 18 19 81 6.20 7 ส่ิงกอสราง 5 5 10 14 15 17 66 5.05 8 ภาพถาย 2 4 10 16 16 17 65 4.97 9 ภาพวาด 17 16 16 18 17 16 100 7.65 10 วิถีชีวิตคนไทยในอดีต 15 16 15 15 18 15 94 7.19 11 วัฒนธรรม ประเพณีตาง ๆ 20 20 20 20 20 20 120 9.18 12 ภาพฝาผนัง 0 0 0 0 5 5 10 0.77 13 การตูนไทย 5 6 11 14 16 17 69 5.28 14 ลายไทย 0 0 0 6 14 15 35 2.68 15 ครอบครัว 12 13 12 16 14 12 79 6.04 16 ชุมชน 12 15 11 13 17 14 82 6.27 17 โรงเรียน 8 7 5 6 6 6 38 2.91 18 วัด,ศาสนสถาน 8 10 15 12 14 15 74 5.66 รวม 174 188 205 227 258 255 1307 100

จากตาราง 59 แสดงวา ส่ือการเรียนรูที่นักเรียนใชในการถายทอดผลงาน ของกลุมสาระการ

เรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ คน และสัตว มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละชนิด คิดเปนรอยละ 8.19 รองลงมา คือ ตนไม คิดเปนรอยละ 7.72 ภาพฝาผนัง มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 0.77

Page 139: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

120

ตาราง 60 จํานวนและรอยละของวัสดุที่ใชเปนระนาบหรือพื้นในการสรางผลงานของนักเรียน

ลําดับที่ วัสดุที่ใชเปนระนาบหรือพื้นในการสรางผลงาน

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 กระดาษ 80 แกรม 20 20 20 20 20 20 120 83.33 2 กระดาษ 100 แกรม 0 0 0 8 7 9 24 16.67 3 กระดาษสา 0 0 0 0 0 0 0 0.00 4 กระดาษปรูฟ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 5 ผาใบ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 6 ไม 0 0 0 0 0 0 0 0.00 7 ผา 0 0 0 0 0 0 0 0.00 8 เครื่องปนดินเผา 0 0 0 0 0 0 0 0.00 9 ขวด 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 20 20 20 28 27 29 144 100

จากตาราง 60 แสดงวา วัสดุที่ใชเปนระนาบหรือพื้นในการสรางผลงานของนักเรียน ในกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ กระดาษ 80 แกรม มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 83.33 กระดาษ 100 แกรม มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 16.67

ตาราง 61 จํานวนและรอยละของสีที่ใชในการสรางผลงานของนักเรียน

ลําดับที่ สี ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 สีไม 20 20 20 20 20 20 120 34.88 2 สีเทียน 8 9 5 4 4 5 35 10.17 3 สีชอลกน้ํามัน 11 9 10 11 8 11 60 17.44 4 สีน้ํา 0 0 3 12 14 15 44 12.79 5 สีโปสเตอร 0 0 3 9 11 11 34 9.88 6 สีอะคริลิก 0 0 0 0 0 0 0 0.00 7 สีฝุน 0 0 0 0 0 0 0 0.00 8 สีน้ํามัน 0 0 0 0 0 0 0 0.00 9 สีพลาสติก 0 0 11 13 12 15 51 14.83 รวม 39 38 52 69 69 77 344 100

Page 140: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

121

จากตาราง 61 แสดงวา สีที่ใชในการสรางผลงานของนักเรียน ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ สีไม มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 34.88 รองลงมา คือ สีชอลกน้ํามันคิดเปนรอยละ 17.44 สีโปสเตอร มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 9.88 ตาราง 62 จํานวนและรอยละของวัสดุที่นักเรียนใชปน

ลําดับที่ วัสดุที่ใชปน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ดินน้ํามัน 20 20 20 20 20 20 120 66.67 2 ดินเหนียว 0 0 0 0 0 0 0 0.00 3 แปงขนมปง แปงสาลี

แปงขาวโพด 0 0 0 5 5 5 15 8.33

4 แปงโด 0 0 0 0 0 0 0 0.00 5 ดินญี่ปุน 0 0 0 0 0 0 0 0.00 6 กระดาษผสมกาว 0 0 0 15 15 15 45 25.00 รวม 20 20 20 40 40 40 180 100

จากตาราง 62 แสดงวา วัสดุที่นักเรียนใชปน ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป)

มาตรฐาน ศ 1.2 คือ ดินน้ํามัน มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 66.67รองลงมา คือ กระดาษผสมกาว คิดเปนรอยละ 25.00 แปงขนมปง แปงสาลี แปงขาวโพด มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 8.33 ตาราง 63 จํานวนและรอยละของวัสดุที่นักเรียนใชทําแกะสลัก

ลําดับที่ วัสดุที่ใชทําแกะสลัก ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ผัก ผลไม 0 0 0 5 5 5 15 100 2 เทียน 0 0 0 0 0 0 0 0.00 3 สบู 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 0 0 0 5 5 5 15 100

Page 141: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

122

จากตาราง 63 แสดงวา วัสดุที่นักเรียนใชทําแกะสลัก ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ ผัก ผลไม มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 100 และไมมีการใชวัสดุชนิดอื่น ๆ ตาราง 64 จํานวนและรอยละของวัสดุที่นักเรียนใชทาํงานประดิษฐ

ลําดับที่ วัสดุที่ใชทํางานประดษิฐ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 เศษไม 5 6 5 7 9 7 39 14.66 2 กิ่งไม กานไม 5 6 4 8 9 8 40 15.04 3 ใบไม 5 6 8 10 9 12 50 18.80 4 ขวดน้ํา 4 5 7 8 7 10 41 15.41 5 ลัง 2 5 6 14 15 14 56 21.05 6 ไมไอศกรีม 7 5 7 8 7 6 40 15.04

จากตาราง 64 แสดงวา วัสดุที่นักเรียนใชทํางานประดิษฐ ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ

(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ ลัง มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 21.05 รองลงมา คือ ใบไม คิดเปนรอยละ 18.80 กิ่งไม กานไม และไมไอศกรีม มีจํานวนนอยที่สุด โดยแตละชนิด คิดเปนรอยละ 15.04 ตาราง 65 จํานวนและรอยละของวัสดุที่นักเรียนใชทําแบบจําลองสถาปตยกรรม

ลําดับที่ วัสดุที่ใชทําแบบจําลอง

สถาปตยกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 ไม 0 0 5 10 9 11 35 50.00 2 ดินเหนียว 0 0 0 0 0 0 0 0.00 3 ดินน้ํามัน 0 0 0 0 0 0 0 0.00 4 ลัง 0 0 5 6 10 14 35 50.00 รวม 0 0 10 16 19 25 70 100

Page 142: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

123

จากตาราง 65 แสดงวา วัสดุที่นักเรียนใชทําแบบจําลองสถาปตยกรรม ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ ไม และลัง มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 5 และไมมีการใชวัสดุชนิดอื่น ๆ

7. บรรยากาศในการจัดการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศลิปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทศันศิลป ถายทอดความรูสกึ ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภมิูปญญาไทย และสากล บรรยากาศในการจัดการเรยีนรูของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศลิป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 66 ถึง 79 สภาพการจัดหองเรียน ตาราง 66 จํานวนและรอยละของสภาพการจัดหองเรยีน เกี่ยวกับการถายเทของอากาศ จากคํากลาว ของครู

ลําดับที่ สภาพการจัดหองเรียน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 อากาศถายเทด ี 4 4 4 4 4 4 24 100 2 อากาศถายเทไมดี 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 4 4 4 4 4 4 24 100

จากตาราง 66 แสดงวา สภาพการจัดหองเรียนเกี่ยวกับการถายเทของอากาศ จากคํากลาวของ

ครู ในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ อากาศถายเทดี มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100

Page 143: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

124

ตาราง 67 จํานวนและรอยละของสภาพการจัดหองเรียนเกี่ยวกับการถายเทของอากาศ จากคํากลาว ของนักเรียน

ลําดับที่ สภาพการจัดหองเรียน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 อากาศถายเทด ี 16 17 15 16 17 18 99 82.5 2 อากาศถายเทไมดี 4 3 5 4 3 2 21 17.5 รวม 20 20 20 20 20 20 120 100

จากตาราง 67 แสดงวา สภาพการจัดหองเรียนเกี่ยวกับการถายเทของอากาศ จากคํากลาวของ

นักเรียน ในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ อากาศถายเทดี มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 82.5 อากาศถายเทไมดี มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 17.5

ตาราง 68 จํานวนและรอยละของสภาพการจัดหองเรยีน เกี่ยวกับแสงสวาง จากคํากลาวของครู

ลําดับที่ สภาพการจัดหองเรียน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 แสงสวางเหมาะสม 4 4 4 4 4 4 24 100 2 แสงสวางไมเหมาะสม 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 4 4 4 4 4 4 24 100

จากตาราง 68 แสดงวา สภาพการจัดหองเรียน เกี่ยวกับแสงสวาง จากคํากลาวของครูในการ

จัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ แสงสวางเหมาะสม มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100 ตาราง 69 จํานวนและรอยละของสภาพการจัดหองเรยีน เกี่ยวกับแสงสวาง จากคํากลาวของนักเรียน

ลําดับที่ สภาพการจัดหองเรียน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 แสงสวางเหมาะสม 19 19 18 20 18 18 112 93.33 2 แสงสวางไมเหมาะสม 1 1 2 0 2 2 8 6.67 รวม 20 20 20 20 20 20 120 100

Page 144: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

125

จากตาราง 69 แสดงวา สภาพการจัดหองเรียนเกี่ยวกับแสงสวาง จากคํากลาวของนักเรียนในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ แสงสวางเหมาะสม มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 93.33 แสงสวางไมเหมาะสม มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 6.67 ตาราง 70 จํานวนและรอยละของสภาพการจัดหองเรยีน เกี่ยวกับเสยีงรบกวน จากคาํกลาวของครู

ลําดับที่ สภาพการจัดหองเรียน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ไมมีเสียงรบกวน 0 0 0 0 0 0 0 0.00 2 มีเสียงรบกวน 4 4 4 4 4 4 24 100 รวม 4 4 4 4 4 4 24 100

จากตาราง 70 แสดงวา สภาพการจัดหองเรียน เกี่ยวกับเสียงรบกวน จากคํากลาวของครู ใน

การจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ มีเสียงรบกวน มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100 ตาราง 71 จํานวนและรอยละของสภาพการจัดหองเรยีน เกี่ยวกับเสยีงรบกวน จากคาํกลาวของ นักเรียน

ลําดับที่ สภาพการจัดหองเรียน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ไมมีเสียงรบกวน 0 0 0 0 0 0 0 0.00 2 มีเสียงรบกวน 20 20 20 20 20 20 120 100 รวม 20 20 20 20 20 20 120 100

จากตาราง 71 แสดงวา สภาพการจัดหองเรียนเกี่ยวกับเสียงรบกวน จากคํากลาวของนักเรียน

ในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ มีเสียงรบกวน มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100

Page 145: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

126

ตาราง 72 จํานวนและรอยละของสภาพการจัดหองเรยีน เกี่ยวกับความสะอาด จากคํากลาวของครู

ลําดับที่ สภาพการจัดหองเรียน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 หองเรียนสะอาด 2 3 4 3 4 3 19 79.17 2 หองเรียนไมสะอาด 2 1 0 1 0 1 5 20.83 รวม 4 4 4 4 4 4 24 100

จากตาราง 72 แสดงวา สภาพการจัดหองเรียน เกี่ยวกับความสะอาด จากคํากลาวของครู ใน

การจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ หองเรียนสะอาด มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 79.17 หองเรียนไมสะอาด มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 20.83 ตาราง 73 จํานวนและรอยละของสภาพการจัดหองเรยีน เกี่ยวกับความสะอาด จากคํากลาวของ นักเรียน

ลําดับที่ สภาพการจัดหองเรียน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 หองเรียนสะอาด 15 15 16 15 17 15 93 77.50 2 หองเรียนไมสะอาด 5 5 4 5 3 5 27 22.50 รวม 20 20 20 20 20 20 120 100

จากตาราง 73 แสดงวา สภาพการจัดหองเรียนเกี่ยวกับความสะอาด จากคํากลาวของนักเรียน

ในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ หองเรียนสะอาด มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 77.50 หองเรียนไมสะอาด มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 20.50

Page 146: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

127

ปฏิสัมพนัธในชั้นเรียน ตาราง 74 จํานวนและรอยละของปฏิสัมพันธระหวางครูกบันักเรียน จากคํากลาวของครู

ลําดับที่ ปฏิสัมพันธระหวางครูกับ

นักเรียน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 มีความรื่นรมย สบายใจ ทั้งครูและนักเรียน

4 4 3 3 3 3 20 83.33

2 มีความรื่นรมย และเครียดบางเปนบางครั้ง

0 0 1 1 1 1 4 16.67

3 มีความตึงเครยีดทั้งครูและนักเรียน

0 0 0 0 0 0 0 0.00

รวม 4 4 4 4 4 4 24 100

จากตาราง 74 แสดงวา ปฏิสัมพันธระหวางครูกับนักเรียนจากคํากลาวของครูในการจัดการ

เรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ มีความร่ืนรมย สบายใจ ทั้งครูและนักเรียน มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 83.33 มีความรื่นรมย และเครียดบางเปนบางครั้ง มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 16.67 ตาราง 75 จํานวนและรอยละของปฏิสัมพันธระหวางครูกบันักเรียน จากคํากลาวของนักเรียน

ลําดับที่ ปฏิสัมพันธระหวางครูกับ

นักเรียน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 มีความรื่นรมย สบายใจ ทั้งครูและนักเรียน

15 16 13 15 17 15 91 75.83

2 มีความรื่นรมย และเครียดบางเปนบางครั้ง

4 3 5 4 3 4 23 19.17

3 มีความตึงเครยีดทั้งครูและนักเรียน

1 1 2 1 0 1 6 5.00

รวม 20 20 20 20 20 20 120 100

Page 147: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

128

จากตาราง 75 แสดงวา ปฏิสัมพันธระหวางครูกับนักเรียน จากคํากลาวของนักเรียนในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ มีความรื่นรมย สบายใจ ทั้งครูและนักเรียน มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 75.83 รองลงมา คือ มีความรื่นรมย และเครียดบางเปนบางครั้ง คิดเปนรอยละ 19.17 มีความตึงเครียดทั้งครูและนักเรียน มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 5.00 ตาราง 76 จํานวนและรอยละของปฏิสัมพันธระหวางนักเรียนกับนกัเรียน จากคํากลาวของครู

ลําดับที่ ปฏิสัมพันธระหวางนักเรียนกับนกัเรียน

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 มีความสามัคคี รักใครกลมเกลียวกันดี

3 3 4 4 4 4 22 91.67

2 มีความสามัคคี รักใครกลมเกลียวและมีความขัดแยงบางเปนบางครั้ง

1 1 0 0 0 0 2 8.33

3 มีความขัดแยงกัน 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 4 4 4 4 4 4 24 100

จากตาราง 76 แสดงวา ปฏิสัมพันธระหวางนักเรียนกับนักเรียนจากคํากลาวของครู ในการ

จัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ มีความสามัคคี รักใครกลมเกลียวกันดี มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 91.67 มีความสามัคคี รักใครกลมเกลียวและมีความขัดแยงบางเปนบางครั้ง มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 8.33

Page 148: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

129

ตาราง 77 จํานวนและรอยละของปฏิสัมพันธระหวางนักเรียนกับนกัเรียน จากคํากลาวของนักเรยีน

ลําดับที่ ปฏิสัมพันธระหวางนักเรียนกับนกัเรียน

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 มีความสามัคคี รักใครกลมเกลียวกันดี

13 15 10 14 13 15 80 66.67

2 มีความสามัคคี รักใครกลมเกลียวและมีความขัดแยงบางเปนบางครั้ง

5 4 7 3 6 3 28 23.33

3 มีความขัดแยงกัน 2 1 3 3 1 2 12 10.00 รวม 20 20 20 20 20 20 20 100

จากตาราง 77 แสดงวา ปฏิสัมพันธระหวางนักเรียนกับนักเรียน จากคํากลาวของนักเรียน

ในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ มีความสามัคคี รักใครกลมเกลียวกันดี มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 66.67 รองลงมา คือ มีความสามัคคี รักใครกลมเกลียวและมีความขัดแยงบางเปนบางครั้ง คิดเปนรอยละ 23.33 มีความขัดแยงกัน มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 10.00 การสรางบรรยากาศใหเกิดสุนทรียภาพ ตาราง 78 จํานวนและรอยละของการสรางบรรยากาศใหเกิดสุนทรียภาพ จากคํากลาวของครู

ลําดับที่ การสรางบรรยากาศใหเกิด

สุนทรียภาพ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 สรางบรรยากาศโดยเสียงเพลง

3 3 4 4 4 4 22 33.33

2 สรางบรรยากาศโดยใหมีผอนคลาย มีความรื่นรมยภายในหอง

4 4 3 3 3 3 20 10.00

3 สรางบรรยากาศโดยผลงานทางศิลปะ

4 4 4 4 4 4 24 36.36

รวม 11 11 11 11 11 11 66 100

Page 149: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

130

จากตาราง 78 แสดงวา การสรางบรรยากาศใหเกิดสุนทรียภาพ จากคํากลาวของครู ในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ สรางบรรยากาศโดยผลงานทางศิลปะ มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 36.36 รองลงมา คือ สรางบรรยากาศโดยเสียงเพลง คิดเปนรอยละ 33.33 สรางบรรยากาศโดยใหมีผอนคลาย มีความรื่นรมยภายในหอง มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 10.00 ตาราง 79 จํานวนและรอยละของการสรางบรรยากาศใหเกิดสุนทรียภาพ จากคํากลาวของนักเรยีน

ลําดับที่ การสรางบรรยากาศใหเกิด

สุนทรียภาพ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 สรางบรรยากาศโดยเสียงเพลง

15 15 20 20 20 20 110 36.79

2 สรางบรรยากาศโดยใหมีผอนคลาย มีความรื่นรมยภายในหอง

16 15 10 11 9 8 69 23.08

3 สรางบรรยากาศโดยผลงานทางศิลปะ

20 20 20 20 20 20 120 40.13

รวม 51 50 50 51 49 48 299 100

จากตาราง 79 แสดงวา การสรางบรรยากาศใหเกิดสุนทรียภาพ จากคํากลาวของนักเรียนใน

การจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ สรางบรรยากาศโดยผลงานทางศิลปะ มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 40.13 รองลงมา คือ สรางบรรยากาศโดยเสียงเพลง คิดเปนรอยละ 36.79 สรางบรรยากาศโดยใหมีผอนคลาย มีความรื่นรมยภายในหอง มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 23.08

8. ผลของการพัฒนาทางดานจิตใจจากการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป)ของนักเรียน มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศลิปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทศันศิลป ถายทอดความรูสกึ ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

Page 150: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

131

การจัดการเรยีนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.1 ที่สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนกัเรียน โดยใชคารอยละ รายละเอียดดังตาราง 80 ถึง 82 ตาราง 80 จํานวนและรอยละของการจัดการเรียนรูที่สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดาน อารมณ จากคํากลาวของนักเรียน

ลําดับที่ ดานอารมณ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ทําใหผอนคลาย

ความเครียด มีความสุขมากขึ้น

20 20 20 20 20 20 120 100

2 ทําใหมีความเครียดมากขึ้น มีความทุกขมากขึ้น

0 0 0 0 0 0 0 0.00

3 ไมรูสึกอะไร เฉย ๆ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 20 20 20 20 20 20 120 100

จากตาราง 80 แสดงวา การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน

ศ 1.1 สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดานอารมณ คือ ทําใหผอนคลายความเครียด มีความสุขมากขึ้น มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100 ตาราง 81 จํานวนและรอยละของการจัดการเรียนรูที่สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดาน การรับรูความงาม จากคาํกลาวของนักเรียน

ลําดับที่ ดานการรับรูความงาม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 รับรูความงามในการสราง

ผลงานและชื่นชมผลงานศิลปะ

20 20 20 20 20 20 120 100

2 ไมรูสึกอะไร เฉย ๆ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 20 20 20 20 20 20 120 100

Page 151: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

132

จากตาราง 81 แสดงวา การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.1 สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดานการรับรูความงาม คือ รับรูความงามในการสรางผลงานและชื่นชมผลงานศิลปะ มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100 ตาราง 82 จํานวนและรอยละของการจัดการเรียนรูที่สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดาน การตระหนัก รัก หวงแหนธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จากคํากลาวของนักเรยีน

ลําดับที่ ดานการตระหนัก รัก หวง

แหนธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 รัก และหวงแหนธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมากขึ้น

20 20 20 20 20 20 120 100

2 ไมรูสึกอะไรเฉย ๆ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 20 20 20 20 20 20 120 100

จากตาราง 82 แสดงวา การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.1 สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดานการตระหนัก รัก หวงแหนธรรมชาติและส่ิงแวดลอม คือ รัก และหวงแหนธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมากขึ้น มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100

มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภมิูปญญาไทย และสากล การจัดการเรยีนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.2 ที่สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน โดยใชคารอยละ รายละเอยีดดังตาราง 83 ถึง 85

Page 152: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

133

ตาราง 83 จํานวนและรอยละของการจัดการเรียนรูที่สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดาน อารมณ จากคํากลาวของนักเรียน

ลําดับที่ ดานอารมณ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 ทําใหผอนคลาย

ความเครียด มีความสุขมากขึ้น

20 20 20 20 20 20 120 100

2 ทําใหมีความเครียดมากขึ้น มีความทุกขมากขึ้น

0 0 0 0 0 0 0 0.00

3 ไมรูสึกอะไร เฉย ๆ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 20 20 20 20 20 20 120 100

จากตาราง 83 แสดงวา การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.2 สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดานอารมณ คือ ทําใหผอนคลายความเครียด มีความสุขมากขึ้น มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100 ตาราง 84 จํานวนและรอยละของการจัดการเรียนรูที่สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดาน การรับรูความงาม จากคาํกลาวของนักเรียน

ลําดับที่ ดานการรับรูความงาม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ 1 รับรูความงามในการสราง

ผลงานและชื่นชมผลงานศิลปะ

20 20 20 20 20 20 120 100

2 ไมรูสึกอะไร เฉย ๆ 0 0 0 0 0 0 0 0.00 รวม 20 20 20 20 20 20 120 100

จากตาราง 84 แสดงวา การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.2 สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดานการรับรูความงาม คือ รับรูความงามในการสรางผลงานและชื่นชมผลงานศิลปะ มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100

Page 153: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

134

ตาราง 85 จํานวนและรอยละของการจัดการเรียนรูที่สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดาน การตระหนัก รักและหวงแหน ภูมิปญญา ประเพณวีฒันธรรมที่ดีงาม จากคํากลาวของนักเรยีน

ลําดับที่ ดานการตระหนัก รักและหวงแหน ภูมปิญญา

ประเพณวีัฒนธรรมที่ดีงาม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จํานวน รอยละ

1 รักและหวงแหน ภูมิปญญา ประเพณีวัฒนธรรมที่ดงีาม มากขึ้น

20 20 20 20 18 20 118 98.33

2 ไมรูสึกอะไร เฉย ๆ 0 0 0 0 2 0 2 1.67 รวม 20 20 20 20 20 20 120 100

จากตาราง 85 แสดงวา การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.2 สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดานการตระหนัก รักและหวงแหน ภูมิปญญา ประเพณีวัฒนธรรมที่ดีงาม คือ รักและหวงแหน ภูมิปญญา ประเพณีวัฒนธรรมที่ดีงาม มากขึ้น มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 98.33 ไมรูสึกอะไร เฉย ๆ มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 1.67

9. ขอคิดเห็นเพิ่มเติมในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระศิลปะ ( ทัศนศิลป ) ขอคิดเห็นเพิ่มเติมในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทศันศิลป) มีดังนี้

1. อยากใหทางกรุงเทพมหานคร สนับสนุนวัสดุอุปกรณทางดานศิลปะ เชน สีประเภทตาง ๆ สีน้ํา สีอะคริลิก กระดาษ 100 ปอนด กระดานรองเขียน ฯลฯ เนื่องจากนักเรียนสวนใหญมาจากครอบครัวที่มีฐานะไมดีนัก วัสดุ อุปกรณทางดานศิลปะมักมีราคาแพงนักเรียนจึงไมสามารถจัดเตรียมมาเองได ทําใหนักเรียนไดเรียนรู ดวยวัสดุอุปกรณที่จํากัดไมมีความหลากหลาย กรุงเทพมหานครควรจัดหาวัสดุราคาถูกแตคุณภาพดีใหนักเรียน และสําหรับเด็กเล็กควรเปนสีที่ปลอดภัยสําหรับเด็กเล็กดวย

2. อยากใหทางโรงเรียนสนับสนุนเกี่ยวกับสื่อที่ใชสรางบรรยากาศ เครื่องเลนจานคอมแพกต

(วี ซี ดี) ยังไมเพียงพอ

Page 154: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

135

3. อยากจะมีหองปฏิบัติการศิลปะ(ทัศนศิลป) ปจจุบันไมมีหองปฏิบัติการศิลปะ(ทัศนศิลป)ทําใหไมสะดวกในการจัดการเรียนรู

4. ไมควรจัดใหหองดนตรี และหองนาฎศิลป อยูใกลหองศิลปะ (ทัศนศิลป) เพราะมีเสียงดัง

รบกวนการทํางาน ควรใหหองดนตรี เปนหองเก็บเสียงและอยูหางไกลจากหองเรียนอื่นๆ จะไดไมมีเสียงรบกวน

5. การทัศนศึกษาโครงการหองเรียนในโลกกวาง อยากใหนักเรียนไปทัศนศึกษา ในแหลงการ

เรียนรูที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม สลับกับการไปชมสัตว ไปเที่ยวสวนสนุก ฯลฯ นักเรียนจะไดมีประสบการณ เกี่ยวกับศิลปะ วัฒนธรรมของไทยมากขึ้น ในการจัดการเรียนรูในกลุมสาะการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป)

6. ควรมีการสงเสริมใหมีการใชคอมพิวเตอรกราฟฟคประกอบในการจัดการเรียนรูในกลุมสาระ

การเรียนรูศิลปะ (ทัศนศิลป) ดวย

Page 155: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

ความมุงหมายของการวิจัย เพื่อศึกษาการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร

ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยนี้มุงศึกษา การจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ของโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานครโดยผูวิจัยเลือกพื้นที่ภาคสนามแบบเจาะจง ซ่ึงไดแก โรงเรียนกิ่งเพชร โรงเรียนวัดทัศนารุณสุนทริการาม โรงเรียนวัดดิสหงสาราม และโรงเรียนวัดพระยายัง แลวศึกษาการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) จากครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ( ทัศนศิลป) และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1-6

เครื่องมือท่ีใชในการศึกษาคนควา ในการศึกษาคนควาครั้งนี้เครื่องมือที่ใชเปนแบบสัมภาษณ ซ่ึงแบงเปนแบบสัมภาษณสําหรับครู และแบบสัมภาษณสําหรับนักเรียน ประกอบดวยคําถามเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป ) ตามมาตรฐาน ศ 1.1 และ มาตรฐาน ศ 1.2 ในประเด็นดังตอไปนี้

แบบสัมภาษณสําหรับครูที่สอนในกลุมสาระการเรียนรูศลิปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.1 และ มาตรฐาน ศ 1.2 ศึกษาในประเด็นดงัตอไปนี ้

- แนวคดิในการจัดการเรียนรู - แนวทางในการกําหนดจุดประสงคการเรียนรู - เนื้อหาในการจัดการเรียนรู - การจัดกจิกรรมการเรียนรู - การวัดและประเมินผล - ส่ือการเรียนรู (เฉพาะสื่อที่ครูใชจัดการเรยีนรูใหกับนักเรยีน) - บรรยากาศในการจัดการเรยีนรู

แบบสัมภาษณสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1-6 ในมาตรฐาน ศ 1.1 และ มาตรฐาน ศ 1.2 ศึกษาในประเด็นดังตอไปนี้

Page 156: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

137

- เนื้อหาในการจัดการเรียนรู - การจัดกจิกรรมการเรียนรู - ส่ือการเรียนรู (ส่ือที่ครูใชจัดการเรียนรูใหกับนักเรยีน และส่ือที่นักเรียนใช) - บรรยากาศในการจัดการเรยีนรู - การพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียนจากการจัดการเรียนรู

การวิเคราะหขอมูล เมื่อไดขอมูลจากการสัมภาษณ ผูวิจัยนําขอมูลที่ไดไปแยกประเภท จัดหมวดหมู และคํานวณคารอยละ เพื่อนําไปสูขอสรุปเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู กลุมสาระศิลปะ(ทัศนศิลป) ของโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยในการนําเสนอผูวิจัยจะนําเสนอดวยตาราง

สรุปผลการวิจัย 1. แนวคิดของครูในการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ครูมีแนวคิดเกี่ยวกับความเหมาะสมในการจัดการเรีนรูในสวนทฤษฎีที่เปนเนื้อหา และสวนที่เปนการปฏิบัติของนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 คือ ครูมีแนวคิดในการแทรกเนื้อหาระหวางการเรียนภาคปฏิบัติ มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 54.17 ครูมีแนวคิดในการใหนักเรียนไดเรียนรูเนื้อหากอนแลวจึงปฏิบัติ และขณะปฏิบัติแทรกเนื้อหาไปดวย มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 45.83 ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรูเกี่ยวกับหลักการทัศนธาตุ คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนสังเกตและสํารวจจากสิ่งแวดลอมใกลตัว ครูมีแนวคิดวาควรนําตัวอยางตางๆ มาใหนักเรียนศึกษาและครูมีแนวคิดวาควรแนะนําใหนักเรียนรูจักทัศนธาตุจากสิ่งแวดลอม มีจํานวนมากที่สุด โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 22.22 รองลองมาคือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนคนควาจากหองสมุดและอินเตอรเน็ต คิดเปนรอยละ 18.52 ครูมีแนวคิดวาควรใชการตั้งคําถามใหนักเรียนคิด และควรแนะนําใหนักเรียนรูจักทัศนธาตุ มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 7.41 ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรูเกี่ยวกับการสรางสรรคผลงานศิลปะเรื่องทัศนธาตุ คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูทัศนธาตุที่งายๆ ไปสูส่ิงที่ยากขึ้นตามวัยของนักเรียน มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 100 และไมมีครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูเร่ืองใดกอนก็ได

Page 157: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

138

ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการสรางสรรคผลงานศิลปะตามจินตนาการ คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนจินตนาการอยางอิสระ มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 58.33 รองลงมาคือ ครูมีแนวคิดวาควรวาดภาพตัวอยางใหนักเรียนดู แลวกระตุนดวยคําถามทําใหนักเรียนเกิดจินตนาการ คิดเปนรอยละ 25 และครูมีแนวคิดวาควรเลาเรื่อง แลวยกตัวอยางดวยการพูดใหนักเรียนเกิดจินตนาการ มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 16.67 ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู ในการสรางสรรคผลงานศิลปะเกี่ยวกับธรรมชาติและส่ิงแวดลอม คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนสรางสรรคผลงานจากการดูธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมของจริง ในโรงเรียนและนอกโรงเรียน มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 31.17 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนสรางสรรคผลงานโดยดูภาพถายธรรมชาติ คิดเปนรอยละ 27.27 และครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนสรางสรรคผลงานโดยครูวาดภาพธรรมชาติใหนักเรียนดูเปนตัวอยางบนกระดาน มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 2.60 ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับเทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะ คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนเลือกเทคนิค วิธีการเองอยางอิสระ และครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนทดลองเทคนิค วิธีการใหม ๆ ดวยตนเอง มีจํานวนมากที่สุด โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 33.33 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรสอนเทคนิคใหม ๆใหนักเรียน คิดเปนรอยละ 24.24 และครูมีแนวคิดวาควรกําหนดเทคนิค วิธีการใหนักเรียน มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 2.60 ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการเลือกวัสดุ อุปกรณ คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนเลือกใชวัสดุ อุปกรณอยางอิสระ และครูมีแนวคิดวาควรแนะนําความเหมาะสมของการเลือกวัสดุ อุปกรณกอนแลวจึงใหนักเรียนเลือกวัสดุ อุปกรณที่นักเรียนสนใจ มีจํานวนมากที่สุด โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 44.00 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรกําหนดวัสดุ อุปกรณใหนักเรียน คิดเปนรอยละ 12.00 ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการใชวัสดุ อุปกรณ คือ ครูมีแนวคิดวาควรแนะนําการใชวัสดุ อุปกรณแตละอยางใหนักเรียนกอนนักเรียนจะใชวัสดุ อุปกรณนั้น ๆ มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 40.00 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนทดลองใชดวยตนเองกอน เมื่อนักเรียนมีปญหาจึงใหคําแนะนํา คิดเปนรอยละ 32.00 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนทดลองใชดวยตนเอง มีจํานวนนอยที่สุด คือ คิดเปนรอยละ 28.00

ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการเก็บรักษาวัสดุ อุปกรณ คือ ครูมีแนวคิดวาควรแนะนําการเก็บรักษาวัสดุ อุปกรณแตละอยางใหนักเรียน มีจํานวนมากที่สุด โดย คิดเปนรอยละ 100 ไมมีครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูการเก็บรักษาวัสดุ อุปกรณดวยตนเอง และไมมีครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูการเก็บรักษาวัสดุ อุปกรณดวยตนเองกอน เมื่อนักเรียนมีปญหาจึงใหคําแนะนํา

Page 158: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

139

ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการเรียนรูในเร่ืองหลักการของสุนทรียศาสตร คือ ครูมีแนวคิดวายังไมควรเรียนรูหลักการของสุนทรียศาสตร เพราะนักเรียนยังเล็กเกินไป ควรใหนักเรียนซึมซับความงามระหวางการปฏิบัติ และการชื่นชมผลงาน มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 91.67 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูหลักการของสุนทรีศาสตรกอน แลวใหนักเรียนซึมซับความงามระหวางการปฏิบัติ และการชื่นชมผลงาน มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 8.33 และไมมีครูมีแนวคิดวาควรแทรกหลักการของสุนทรียศาสตรในขณะนักเรียนปฏิบัติงาน และซึมซับความงามระหวางการปฏิบัติ และการชื่นชมผลงาน

ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการเรียนรูในเรื่องหลักการของการวิจารณงานศิลปะ คือ ครูมีแนวคิดวายังไมควรใหันักเรียน เรียนรูหลักการวิจารณงานศิลปะ เพราะยังเล็กเกินไป มีจํานวนมากที่สุด โดย คิดเปนรอยละ 58.33 ครูมีแนวคิดวาควรแนะนําหลักการงายๆ ใหนักเรียน มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 41.67 ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการนําความรู เทคนิค วิธีการทางทัศนศิลปไปใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ คือ ครูมีแนวคิดวาควรกําหนดกลุมสาระการเรียนรูที่จะบูรณาการใหนักเรียน และกําหนดหัวขอที่จะสรางผลงานใหนักเรียน มีจํานวนมากที่สุด โดย คิดเปนรอยละ 58.33 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรกําหนดกลุมสาระการเรียนรูที่จะบูรณาการใหและนักเรียนกําหนดหัวขอที่ตองการสรางผลงานเอง คิดเปนรอยละ 25.00 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนเลือกกลุมสาระการเรียนรูที่ตองบูรณาการและหัวขอที่ตองการสรางผลงานเอง มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 16.67 มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล ครูมีแนวคิดเกี่ยวกับความเหมาะสมในการจัดการเรีนรูในสวนทฤษฎีที่เปนเนื้อห และสวนที่เปนการปฏิบัติของนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 คือ ครูมีแนวคิดในการแทรกเนื้อหาระหวางการเรียนภาคปฏิบัติ มีจํานวนมากที่สุด โดย คิดเปนรอยละ 68.97 และครูมีแนวคิดในการใหนักเรียนไดเรียนรูเนื้อหากอนแลวจึงปฏิบัติ และขณะปฏิบัติแทรกเนื้อหาไปดวย มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 31.03 ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับเนื้อหาในเรื่องลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในทองถ่ิน คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนซึมซับจากชุมชนในทองถ่ิน มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 44.00 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากครู คิดเปนรอยละ 32.00 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากสื่อตาง ๆ มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 24.00

Page 159: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

140

ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการตระหนักถึงคุณคาของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน คือ ครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝงนักเรียนในขณะที่นักเรียนสรางสรรคผลงาน มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 75.00 ครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝงนักเรียนควบคูไปกับการเรียนเนื้อหา มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 25.00 ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากครู มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 50.00 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากผูรู ในทองถ่ิน และครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากสื่อตาง ๆ โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 25.00

ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในประเทศไทย คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากครู ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรีย เรียนรูจากส่ือตางๆ และไมมีการจัดการเรียนรูในเรื่องลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในประเทศไทย มีจํานวนมากที่สุด โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 25.53 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูโดยการไปทศันศึกษาจากแหลงศิลปะวัฒนธรรมนั้น ๆ มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 23.40

ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการตระหนักถึงคุณคาของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย คือ ครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝงนักเรียนในขณะที่นักเรียนสรางสรรคผลงาน และไมมีการจัดการเรียนรูในเรื่องศิลปะวัฒธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย มีจํานวนมากที่สุด โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 36.36 ครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝงนักเรียนควบคูไปกับการเรียนเนื้อหา มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 27.27 ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากครู และไมมีการจัดการเรียนรูในเรื่องการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย มีจํานวนมากที่สุด โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 32.43 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากสื่อตางๆ คิดเปนรอยละ 18.92 ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูโดยการไปทัศนศึกษาจากแหลงศิลปะวัฒนธรรมนั้น ๆ และไดเรียนรูสืบทอด การทํางานศิลปะจากผูรูในแหลงนั้นๆ มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 16.22 ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะสากลคือ ไมมีการจัดการเรียนรูในเรื่องลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในประเทศสากล มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 92.00 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากครูและครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากสื่อตางๆ โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 4.00

Page 160: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

141

ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการตระหนักถึงคุณคาของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล คือ ไมมีการจัดการเรียนรูในเรื่องศิลปะวัฒธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 92.00 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝงนักเรียนควบคูไปกับการเรียนเนื้อหา และครูมีแนวคิดวาควรปลูกฝงนักเรียนในขณะที่นักเรียนสรางสรรคผลงานโดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 4.00 ครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล คือ ไมมีการจัดการเรียนรูในเรื่องการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 92.00 รองลงมา คือ ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากครู และครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากสื่อตางๆ โดยแนวคิดแตละดาน คิดเปนรอยละ 4.00

2. แนวทางในการกําหนดจุดประสงคการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล

แนวทางในการกําหนดจุดประสงคการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 กําหนดเปนดานพุทธิพิสัย ดานจิตพิสัย ดานทักษะพิสัย มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 75.00 และกําหนดเปนดานศีล ดานสมาธิ ดานปญญา มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 25.00

3. เนื้อหาในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรยีนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เนื้อหาของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) ที่มีการจัดการเรียนรูในมาตรฐาน ศ 1.1 คือ ทัศนธาตุ ศิลปะตามจินตนาการ ศิลปะเกีย่วกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เทคนคิ วิธีการในการสรางผลงานศิลปะการเลือก การใช การเกบ็รักษาวัสดุอุปกรณในการสรางผลงานศิลปะ และการนํา

Page 161: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

142

ความรู เทคนคิ วิธีการทางทัศนศิลปไปใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน ๆ มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละเร่ือง คิดเปนรอยละ 15.09 รองลงมา คือ การวิจารณงานศิลปะ คิดเปนรอยละ 6.29 สุนทรียศาสตร มีจํานวนนอยทีสุ่ด คิดเปนรอยละ 3.14 เทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) ที่มีการจัดการเรียนรูในมาตรฐาน ศ 1.1 คือ วาดภาพ ระบายสี ปน และ ภาพพิมพ มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละดาน คิดเปนรอยละ 19.83 รองลงมา คือ การประดิษฐ คิดเปนรอยละ 14.88 การออกแบบ มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 4.96

มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวฒันธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล เนื้อหาของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) ที่มีการจัดการเรียนรูในมาตรฐาน ศ 1.2 คือ ลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในทองถ่ิน คุณคาของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน และการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละเรื่อง คิดเปนรอยละ 21.62 รองลงมา คือ ลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะไทย คุณคาของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย และการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย โดยแตละเรื่อง คิดเปนรอยละ 10.81 ลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะสากล คุณคาของ ศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล และการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล มีจํานวนนอยที่สุด โดยแตละเรื่อง คิดเปนรอยละ 0.90 เทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะ ของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) ที่มีการจัดการเรียนรูในมาตรฐาน ศ 1.2 คือ วาดภาพ ระบายสี และปน มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละดาน คิดเปนรอยละ 31.58 รองลงมา คือ การประดิษฐ คิดเปนรอยละ 23.68 แกะสลัก มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 3.94

4. การจัดกิจกรรมการเรยีนรูของกลุมสาระการเรยีนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน การจัดกิจกรรมการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.1 คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการสาธิตการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยกระบวนการกลุม การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการชี้แนะ การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยสงเสริมความคิดสรางสรรค การจัดกิจกรรมการ

Page 162: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

143

เรียนรูโดยเนนการปฏิบัติ การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยบูรณาการสูพหุปญญาการจัดกิจกรรมการเรียนรูจากแหลงการเรียนรู และการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชกระบวนการ 7 ส. มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละดาน คิดเปนรอยละ 10.57 รองลงมา คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการอภิปราย คิดเปนรอยละ 5.29 การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการอภิปรายกลุมยอย มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 1.76

มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล การจัดกิจกรรมการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.2 คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการสาธิต การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยกระบวนการกลุม การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการชี้แนะการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยสงเสริมความคิดสรางสรรค การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยเนนการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยบูรณาการสูพหุปญญา การจัดกิจกรรมการเรียนรูจากแหลงการเรียนรู และการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชกระบวนการ 7 ส. มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละดาน คิดเปนรอยละ 10.81 รองลงมา คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการบรรยาย และการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยโครงงาน โดยแตละดาน คิดเปนรอยละ 4.05 การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการอภิปรายกลุมยอย มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 1.80

5. การวัดและประเมินผลของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล

การวัดและประเมินผลของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ ใชแบบทดสอบ สังเกตจากการปฏิบัติ สังเกตจากการเขารวมกิจกรรมและจากผลงานนักเรียน มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละดาน คิดเปนรอยละ 14.46 รองลงมา คือ สังเกตจากการแสดงความคิดเห็น และสังเกตจากการนําเสนอผลงาน โดยแตละดาน คิดเปนรอยละ 10.84 จากแฟมสะสมงาน มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 4.82

Page 163: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

144

6. สื่อการเรียนรูท่ีใชในกลุมสาระการเรยีนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน สื่อท่ีครูใชจัดการเรียนรูใหกับนักเรียน

ส่ือการเรียนรู ประเภทวสัดุ ของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ ภาพวาดตัวอยาง ภาพการตูน ช้ินงานจริง และของจริง มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละชนิด คิดเปนรอยละ 20.69 รองลงมา คือ ภาพโฆษณา คิดเปนรอยละ 13.79 ภาพถาย มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 3.45

ส่ือการเรียนรู ประเภทอุปกรณ ของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ กระดานดํา,white board และกระดานนิเทศ มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละชนิด คิดเปนรอยละ 26.97 รองลงมา คือ วิทยุ คิดเปนรอยละ 20.22 เครื่องเลนจานคอมแพกต ( วี ซี ดี ) มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 11.24

ส่ือการเรียนรู ประเภทเทคนิค วิธีการ ของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ การสาธิต การศึกษานอกสถานที่ การทดลอง การฝกปฏิบัติ และนิทรรศการ มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละวิธีการ คิดเปนรอยละ 20.00 และไมมีวิธีการอื่น ๆ สื่อท่ีนักเรียนใช

ส่ือการเรียนรูที่นักเรียนใชในการถายทอดผลงาน ของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ คน มีจํานวนมากที่สุดโดยคิดเปนรอยละ 8.32 รองลงมา คือ ภาพวาด คิดเปนรอยละ 8.04 โฆษณา มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 4.48

วัสดุที่ใชเปนระนาบหรือพื้นในการสรางผลงานของนักเรียน ในกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ กระดาษ 80 แกรม มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 71.43 รองลงมา คือ กระดาษ 100 แกรม คิดเปนรอยละ 19.64 กระดาษสา มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 8.93

สีที่ใชในการสรางผลงานของนักเรียน ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป)มาตรฐาน ศ 1.1 คือ สีไม มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 24.39 รองลงมา คือ สีเทียน คิดเปนรอยละ 22.15 สีน้ํา มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 9.55

Page 164: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

145

วัสดุที่นักเรียนใชปน ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1คือ ดินน้ํามัน มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 66.67 รองลงมา คือ กระดาษผสมกาว คิดเปนรอยละ 25.00 แปงขนมปง แปงสาลี แปงขาวโพด มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 8.33

วัสดุที่นักเรียนใชทําภาพพิมพ ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ ใบไม มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 18.40 รองลงมา คือ กานกลวย คิดเปนรอยละ 17.29 ยางลบ มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 4.43

วัสดุที่นักเรียนใชทําสื่อผสม ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ กระดาษ มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 16.28 รองลงมา คือ ดินน้ํามัน คิดเปนรอยละ 14.34 ปูนปลาสเตอร มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 7.75

วัสดุที่นักเรียนใชทําแกะสลัก ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ ผัก ผลไม มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 60.00 สบู และยางลบ มีจํานวนนอยที่สุด โดยแตละชนิด คิดเปนรอยละ 20.00

วัสดุที่นักเรียนใชทํางานประดิษฐ ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป)มาตรฐาน ศ 1.1 คือ ถุงขนม มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 22.97 รองลงมา คือ ขวดน้ํา คิดเปนรอยละ 18.11 ไมไอศกรีม มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 10.00

วัสดุที่นักเรียนใชทําแบบจําลองสถาปตยกรรมในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ ไม มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 36.84 รองลงมา คือ ลัง คิดเปนรอยละ 35.53 ดินน้ํามัน มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 27.63

วัสดุและอุปกรณที่นักเรียนใชออกแบบ ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 คือ ดินสอ สี กระดาษ มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100 และไมมีวัสดุ อุปกรณอ่ืน ๆ

มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม

เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล สื่อท่ีครูใชจัดการเรียนรูใหกับนักเรียน ส่ือการเรียนรู ประเภทวัสดุ ของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ ภาพวาดตัวอยาง และชิ้นงานจริง มีจํานวนมากที่สุดโดยแตละชนิด คิดเปนรอยละ 28.24 รองลงมา คือ ภาพการตูนไทย คิดเปนรอยละ 20.00 ภาพฝาผนัง มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 4.70

ส่ือการเรียนรู ประเภทอุปกรณ ของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศลิป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ กระดานดาํ,white board และกระดานนิเทศ มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละชนิด คดิเปนรอยละ 30.00

Page 165: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

146

รองลงมา คือ วิทยุ คิดเปนรอยละ 15.00 โทรทัศน และ เครื่องเลนจานคอมแพกต ( วี ซี ดี ) มีจํานวนนอยที่สุด โดยแตละชนดิ คิดเปนรอยละ 12.50

ส่ือการเรียนรู ประเภทเทคนิค วิธีการ ของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ การสาธิต การศึกษานอกสถานที่ การฝกปฏิบัติ และนิทรรศการ มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละวิธีการ คิดเปนรอยละ 25.00 และไมมีวิธีการอื่น ๆ

สื่อท่ีนักเรียนใช

ส่ือการเรียนรูที่นักเรียนใชในการถายทอดผลงาน ของกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ คน และสัตว มีจํานวนมากที่สุด โดยแตละชนิด คิดเปนรอยละ 8.19 รองลงมา คือ ตนไม คิดเปนรอยละ 7.72 ภาพฝาผนัง มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 0.77

วัสดุที่ใชเปนระนาบหรือพื้นในการสรางผลงานของนักเรียน ในกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ กระดาษ 80 แกรม มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 83.33 กระดาษ 100 แกรม มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 16.67

สีที่ใชในการสรางผลงานของนักเรียน ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ สีไม มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 34.88 รองลงมา คือ สีชอลกน้ํามัน คิดเปนรอยละ 17.44 สีโปสเตอร มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 9.88

วัสดุที่นักเรียนใชปน ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ ดินน้ํามัน มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 66.67 รองลงมา คือ กระดาษผสมกาว คิดเปนรอยละ 25.00 แปงขนมปง แปงสาลี แปงขาวโพด มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 8.33

วัสดุที่นักเรียนใชทําแกะสลัก ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ ผัก ผลไม มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 100 และไมมีการใชวัสดุชนิดอื่น ๆ

วัสดุที่นักเรียนใชทํางานประดิษฐ ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ ลัง มีจํานวนมากที่สุด โดยคิดเปนรอยละ 21.05 รองลงมา คือ ใบไม คิดเปนรอยละ 18.80 กิ่งไม กานไม และไมไอศกรีม มีจาํนวนนอยที่สุด โดยแตละชนิด คิดเปนรอยละ 15.04

วัสดุที่นักเรียนใชทําแบบจําลองสถาปตยกรรมในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.2 คือ ไม และลัง มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 50 และไมมีการใชวัสดุชนิดอื่น ๆ

Page 166: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

147

7. บรรยากาศในการจัดการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล สภาพการจัดหองเรียน

สภาพการจัดหองเรียน เกี่ยวกับการถายเทของอากาศ จากคํากลาวของครู ในการจัดการเรยีนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ อากาศถายเทดี มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100

สภาพการจัดหองเรียนเกี่ยวกับการถายเทของอากาศ จากคํากลาวของนักเรียน ในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ อากาศถายเทดี มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 82.5 อากาศถายเทไมดี มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 17.5

สภาพการจัดหองเรียน เกี่ยวกับแสงสวาง จากคํากลาวของครูในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ แสงสวางเหมาะสม มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100

สภาพการจัดหองเรียนเกี่ยวกับแสงสวางจากคํากลาวของนักเรียนในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ แสงสวางเหมาะสม มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 93.33 แสงสวางไมเหมาะสม มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 6.67 สภาพการจัดหองเรียน เกี่ยวกับเสียงรบกวน จากคํากลาวของครู ในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ มีเสียงรบกวน มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100 สภาพการจัดหองเรียนเกี่ยวกับเสียงรบกวน จากคํากลาวของนักเรียนในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ มีเสียงรบกวนมีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100

สภาพการจัดหองเรียนเกี่ยวกับความสะอาด จากคํากลาวของครู ในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ หองเรียนสะอาด มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 79.17 หองเรียนไมสะอาด มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 20.83

Page 167: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

148

สภาพการจัดหองเรียน เกี่ยวกับความสะอาด จากคํากลาวของนักเรียนในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือหองเรียนสะอาด มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 77.50 หองเรียนไมสะอาด มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 20.50 ปฏิสัมพนัธในชั้นเรียน

ปฏิสัมพันธระหวางครูกับนักเรียน จากคํากลาวของครู ในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1. คือ มีความรื่นรมย สบายใจ ทั้งครูและนักเรียน มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 83.33 มีความรื่นรมย และเครียดบางเปนบางครั้ง มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 16.67

ปฏิสัมพันธระหวางครูกับนักเรียนจากคํากลาวของนักเรียนในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ มีความรื่นรมย สบายใจ ทั้งครูและนักเรียน มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 75.83 รองลงมา คือ มีความรื่นรมย และเครียดบางเปนบางครั้งคิดเปนรอยละ 19.17 มีความตึงเครียดทั้งครูและนักเรียน มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 5.00

ปฏิสัมพันธระหวางนักเรียนกับนักเรียนจากคํากลาวของครูในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ มีความสามัคคี รักใครกลมเกลียวกันดี มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 91.67 มีความสามัคคี รักใครกลมเกลียวและมีความขัดแยงบางเปนบางครั้ง มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 8.33

ปฏิสัมพันธระหวางนักเรียนกับนักเรียน จากคํากลาวของนักเรียนในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ มีความสามัคคี รักใครกลมเกลียวกันดี มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 66.67 รองลงมา คือ มีความสามัคคี รักใครกลมเกลียวและมีความขัดแยงบางเปนบางครั้งคิดเปนรอยละ 23.33 มีความขัดแยงกัน มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 10.00 การสรางบรรยากาศใหเกิดสุนทรียภาพ

การสรางบรรยากาศใหเกิดสุนทรียภาพ จากคํากลาวของครูในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ สรางบรรยากาศโดยผลงานทางศิลปะ มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 36.36 รองลงมา คือ สรางบรรยากาศโดยเสียงเพลงคิดเปนรอยละ 33.33 สรางบรรยากาศโดยใหมีผอนคลาย มีความรื่นรมยภายในหอง มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 10.00

การสรางบรรยากาศใหเกิดสุนทรียภาพ จากคํากลาวของนักเรียน ในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 คือ สรางบรรยากาศโดย

Page 168: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

149

ผลงานทางศิลปะ มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 40.13 รองลงมา คือ สรางบรรยากาศโดยเสียงเพลง คิดเปนรอยละ 36.79 สรางบรรยากาศโดยใหมีผอนคลาย มีความรื่นรมยภายในหอง มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 23.08

8. ผลของการพัฒนาทางดานจิตใจจากการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป)ของนักเรียน มาตรฐาน ศ 1.1 : สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.1 สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดานอารมณ คือ ทําใหผอนคลายความเครียด มีความสุขมากขึ้น มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100 การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.1 สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดานการรับรูความงาม คือ รับรูความงามในการสรางผลงานและชื่นชมผลงานศิลปะ มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100 การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.1 สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดานการตระหนัก รัก หวงแหนธรรมชาติและสิ่งแวดลอม คือ รัก และหวงแหนธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมากขึ้น มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100

มาตรฐาน ศ 1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.2 สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดานอารมณ คือ ทําใหผอนคลายความเครียด มีความสุขมากขึ้น มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100 การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.2สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียน ดานการรับรูความงาม คือ รับรูความงามในการสรางผลงานและชื่นชมผลงานศิลปะ มีจํานวนมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100 การจัดการเรยีนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.2 สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนกัเรียน ดานการตระหนัก รักและหวงแหน ภูมิปญญา ประเพณวีัฒนธรรมที่

Page 169: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

150

ดีงาม คือ รักและหวงแหน ภมูิปญญา ประเพณีวฒันธรรมที่ดีงาม มากขึน้ มีจํานวนมากที่สุด คิดเปน รอยละ 98.33ไมรูสึกอะไร เฉย ๆ มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 1.67

9.ขอคิดเห็นเพิ่มเติมในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระศิลปะ ( ทัศนศิลป ) 1. ควรมีการสนับสนุนจากกรุงเทพมหานคร ในดานวัสดุ อุปกรณทางดานศิลปะเพื่อใหมวีสัด ุ อุปกรณที่หลากหลาย ในการจัดการเรียนรูใหกับนักเรียน 2. อยากใหทางโรงเรียนสนับสนุนเกี่ยวกับสื่อที่ใชสรางบรรยากาศ เครื่องเลนจานคอมแพกต (วี ซี ดี) ยังไมเพียงพอ 3. ควรจัดใหมีหองปฏิบัติการทางศิลปะ(ทัศนศิลป) ในทุกโรงเรียน จะไดมีความสะดวกในการจัดการเรียนรู 4. ควรจัดหองปฏิบัติการทางศิลปะ(ทัศนศิลป) หางจากหองดนตรีและหองนาฏศิลป เนื่องจากหองดนตรีและหองนาฏศิลปมีเสียงรบกวนสมาธิในการวาดภาพ 5. ควรมีการจัดทัศนศึกษาในสถานที่ ที่เปนแหลงการเรียนรูทางดานวัฒนธรรม เพื่อเปนประสบการณตรงสําหรับนักเรียน 6. ในการจัดการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ควรมีการสงเสริมใหนักเรียนใชคอมพิวเตอรกราฟฟคในการสรางสรรคผลงานศิลปะ

อภิปรายผล 1.แนวคิดของครูในการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ครูมีแนวคิด

เกี่ยวกับความเหมาะสมในการจัดการเรีนรูในสวนทฤษฎีที่เปนเนื้อหา และสวนที่เปนการปฏิบัติของนักเรียนชั้น ป.1-ป.6 มาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 ครูสวนใหญมีแนวคิดในการแทรกเนื้อหาระหวางการเรียนภาคปฏิบัติ ซ่ึงตรงกับแนวคิดของ ลลิตพรรรณ ทองงาม ที่กลาววา การสอนจะตองสอนทฤษฎีกอน หรือปฏิบัติกอนมันขึ้นอยูกับเด็ก จากประสบการณ เมื่อไหรที่เราสอนเอาทฤษฎีเปนหลัก อารมณมันไมออก มันแข็ง มันเหมือนตัวเลข เหมือนคณิตศาตร ในมาตรฐาน ศ 1.1 ครูสวนใหญครูมีแนวคิดในการจัดการเรียนรูเกี่ยวกับหลักการทัศนธาตุ วา ครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนสังเกตและสํารวจจากสิ่งแวดลอมใกลตัว ครูมีแนวคิดวาควรนําตัวอยางตางๆ มาใหนักเรียนศึกษา และครูมีแนวคิดวาควรแนะนําใหนักเรียนรูจักทัศนธาตุจากสิ่งแวดลอม เปนการใหเด็กเรียนรูจากส่ิงแวดลอมใกลตัว รอบ ๆ ตัว ซ่ึงสอดคลองกับคํากลาวของนที เถกิงศรี ที่กลาววานักเรียนระดับประถมศึกษา สามารถนําประสบการณภายนอกมาปรับปรุงใชในงานศิลปะ ซ่ึงแสดงออกถึงความคิด สติปญญา ความสามารถในการเรียนรู ( นที เถกิงศรี .2548:5) ครูสวนใหญมีแนวคิดวาควรใหนักเรยีน

Page 170: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

151

เรียนรูทัศนธาตุที่งายๆ ไปสูส่ิงที่ยากขึ้น ตามวัยของนักเรียน เปนการคํานึงวัยของผูเรียน ซ่ึงตรงกับแนวคิดของรุจิร ภูสาระ ดังคํากลาวที่วา ในระดับอนุบาลควรจะรูเนื้อหาที่เปนการเพิ่มพูนสติปญญากอนเริ่มเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1 แลวจึงคอย ๆ เพิ่มความรู ความเขาใจ และการนําไปใช ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพในลําดับชั้นสูงขึ้น (รุจิร ภูสาระ .2545:58) ในมาตรฐาน ศ 1.1 สวนใหญครูมีแนวคิดเกี่ยวกับการสรางสรรคผลงาน โดยครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียนจินตนาการอยางอิสระ ควรสรางสรรคผลงานจากการดูธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมของจริง ในโรงเรียนและนอกโรงเรียน ควรใหนักเรียนเลือกเทคนิค วิธีการเองอยางอิสระ ควรใหนักเรียนทดลองเทคนิค วิธีการใหม ๆ ดวยตนเอง ควรใหนักเรียนเลือกใชวัสดุ อุปกรณอยางอิสระ เปนการจัดการเรียนรูที่ไดรับอิทธิพลจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ซ่ึงตรงคํากลาวของ สนิท สัตโยภาส ที่กลาววา นักเรียนมีประสบการณตรง สัมพันธกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอม นักเรียนฝกปฏิบัติจนคนพบความถนัดและวิธีการของตนเอง นักเรียนฝกคิดอยางหลากหลายและสรางสรรคจินตนาการ ตลอดจนแสดงออกอยางชัดเจน นักเรียนเลือกทํากิจกรรมตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเองอยางมีความสุข เปนดัชนีบงชี้การเรียนแบบให “ผูเรียนเปนศูนยกลาง” (สนิท สัตโยภาส .2547:5) แตในการจัดการเรียนรูในลักษณะนี้ ซ่ึงตรงกับการสอนแบบ Free Expression มีขอพึงระวังคือ ดังที่ นิรมล ตีรณสาร สวัสดิบุตร ไดกลาวไววา ถาปลอยใหเด็กทํางานตามใจชอบอยูเสมอ พอถึงระยะหนึ่งก็จะกลายเปนการทํางานที่ไมมีจุดมุงหมาย ไมมีความหมายอะไร ทําไปเรื่อย ๆ เพราะถาไมมีใครแนะนํา เด็กก็จะทําไปอยางนั้นซ้ํา ๆ กัน และทําของงาย ๆ ที่ไมมีอุปสรรค และทําซ้ําซากอยูแบบเดิม ( นิรมล ตีรณสาร สวัสดิบุตร . 2549: 70-71) ในมาตรฐาน ศ 1.2 เร่ืองการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญา ซ่ึงตรงกับแนวคิดพหุศิลปศึกษาเชิงภูมิปญญาไทย ที่พยายามรักษาภูมิปญญาที่ถายทอดกันมา แตะครูมีแนวคิดวาควรใหนักเรียน เรียนรูจากครู มีจํานวนมากที่สุด อาจจะเนื่องมาจากโรงเรียนตั้งอยูในสังคมเมือง ไมมีเอกลักษณใดชัดเจน ผูรูในทองถ่ินเกี่ยวกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญา ก็มีนอยสวนใหญผูคนมาจากหลายถิ่นฐาน ซ่ึงอพยพเขาอยูเพื่อหางานทํา ซ่ึงจะทําใหการรักษาภูมิปญญาเดิมนั้นไมชัดเจนนัก 2. แนวทางในการกําหนดจุดประสงคการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทศันศิลป)

ทั้งมาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 สวนใหญกําหนดเปนดานพุทธพิสัย ดานจิตพิสัย ดานทักษะพิสัย สอดคลองกับการจําแนกประเภทของจุดประสงคทางการศึกษาของ บลูม(Benjamin S. Bloom) และคณะ ( บลูม (Benjamin S. Bloom) และคณะ ; อางถึงใน บุญชม ศรีสะอาด .2541 :18 ) และที่เหลือ รอยละ 25 กําหนดจุดประสงคเปนดานศีล สมาธิ ปญญา เนื่องจากโรงเรียนแหงนี้ เนนการเปนโรงเรียนวิถีพทุธ วิถีธรรมโดยใชหลักธรรมทางพุทธศาสนามากําหนดเปนจดุประสงคการเรียนรู ซ่ึงตรงกับแนวคิดของ สาโรช บัวศรี ที่มีแนวคดิในการนํา ศลี สมาธิ และปญญา มาใชเปนยุทธศาสตรการศึกษา ( สุนทร โคตรบรรเทา.2544 :89 )

Page 171: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

152

3. เนื้อหาในการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ที่มีการจัดการเรียนรูในมาตรฐาน ศ 1.1 คือ ทัศนธาตุ ศิลปะตามจินตนาการ ศิลปะเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะ การเลือก การใช การเก็บรักษาวัสดุอุปกรณในการสรางผลงานศิลปะ และการนําความรู เทคนิค วิธีการทางทัศนศิลปไปใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน ๆ มีจํานวนมากที่สุด รองลงมา คือ การวิจารณงานศิลปะ สุนทรียศาสตร มีจํานวนนอยที่สุด ในมาตรฐานนี้ ซ่ึงมีเนื้อหาเกี่ยวกับ การวิจารณงานศิลปะ และสุนทรียศาสตร อยูดวย แตมีการจัดการเรียนรูที่นอยมาก อันเนื่องมาจากแนวความคิดของครูที่คิดวา เด็กยังเล็กเกินไปไมควรเรียนหลักการวิจารณงานศิลปะ และหลักการสุนทียศาสตร ซ่ึงขัดแยงกับ แนวคิดของ ลลิตพรรณ ทองงาม ที่วาการสอนเด็กตองคอยๆแทรกเขาไป สรางบรรยากาศตางๆ มันเปนการสอนเด็ก เด็กก็จะไมรูเลยวา นั้นคือสอนสุนทรียะ (ลลิตพรรณ ทองงาม .สัมภาษณ) ครูอาจจะแทรกทฤษฎีเกี่ยวกับสุนทรียศาสตรและศิลปวิจารณ โดยปรับใหเหมาะสมกับนักเรียน เชน ทฤษฎีการวิจารณอยางมีสุนทรีย ของราลฟ สมิธ ทฤษฎีการตัดสินศิลปะอยางมีสุนทรีย ของเดวิด เอคเคอร กระบวนทัศนการรับรูจากการสนทนาอยางสุนทรีย ของโรเบิรต อดัมส ทฤษฎีศิลปะวิเคราะห ของเอ็ดมันด เบิรก เฟลดแมน ทฤษฎีกระบวนการรับรู –ประเมินผล ของยีน มิทเลอร ฯลฯ มาตรฐาน ศ 1.2 มีการเรียนเกี่ยวกับศิลปะทองถ่ิน และศิลปะในประเทศไทย ศิลปะสากลสวนใหญยังไมมีการเรียน 4. การจัดกิจกรรมการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) มีการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลาย โดยในมาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 เนนการสงเสริมความคิดสรางสรรค เนนการปฏิบัติ การบูรณาการสูพหุปญญา การจัดกิจกรรมการเรียนรูจากแหลงการเรียนรู ตรงกับ แนวทางการจัดการเรียนรูที่ เนนผู เ รียนเปนสําคัญ ของสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ( สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ; อางถึงในหนวยศึกษานิเทศก สํานักการศึกษา .2550 :23-50 ) และตรงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 22 กลาววา การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด (กระทรวงศึกษาธิการ .2545:11) 5. การวัดและประเมินผลของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ทั้งในมาตรฐาน ศ 1.1 และ ศ 1.2 มีการวัดและประเมินผลในขณะปฏิบัติกิจกรรม เชน สังเกตการแสดงความคิดเห็น สังเกตการปฏิบัติ สังเกตจากการวิจารณผลงาน สังเกตจากการนําเสนอผลงาน การเขารวมกิจกรรม เปน การประเมินตามสภาพจริง ตรงกับคํากลาวของ เบญจมาศ อยูเปนแกว ที่กลาววา การประเมินสภาพจริง เปนกระบวนการเก็บขอมูลความกาวหนาในทางการเรียน โดยประเมินไปพรอม ๆ กับการเรียนรูของผูเรียน ระหวางปฏิบัติกิจกรรมรวมกัน ครูผูสอนจะสามารถมองเห็นพฤติกรรมความแตกตางที่เกิดขึ้นระหวางเรียนทําใหมีโอกาสปรับปรุงแกไข และพัฒนาใหผูเรียนไดใชความสามารถของตนเองอยางเต็มศักยภาพ (เบญจมาศ อยูเปนแกว .2548:39)

Page 172: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

153

6. ส่ือการเรียนรูที่ใชในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 มีการใชส่ือ เชน ธรรมชาติและส่ิงแวดลอมทั้งที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ และที่มนุษยสรางขึ้น วัฒนธรรม ประเพณีในทองถ่ิน สถานที่ เชนวัด จากบุคคล จากหนังสือ เอกสาร วัสดุ อุปกรณ ที่มีความหลากหลาย ตรงกับหลักการเลือกสื่อการเรียนรูของ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ดังคํากลาวที่วา “ความรูมีอยูทุกแหงหน” ไมวาจะเปนบุคคล หนังสือและเอกสาร วัสดุ อุปกรณ และที่สําคัญคือ ส่ิงแวดลอมที่เปนธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น เปนตนวา โบราณสถานน โบราณวัตถุ อาคารสถานที่และอื่น ๆ (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.2545:10) 7. บรรยากาศในการจัดการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.1 และมาตรฐาน ศ 1.2 สภาพจากการจัดหองเรียน มีอากาศถายเทไดดี มีแสงสวางเหมาะสม แตมีส่ิงรบกวน หองมีความสะอาด ปฏิสัมพันธระหวางครูกับนักเรียน สวนใหญมีความรื่นรมย สบายใจ ทั้งครูและนักเรียน ปฏิสัมพันธระหวางนักเรียนกับนักเรียน มีความสามัคคี รักใครกลมเกลียวกันดี การสรางบรรยากาศใหเกิดสุนทรียภาพ สรางบรรยากาศโดยผลงานทางศิลปะสรางบรรยากาศโดยเสียงเพลง สรางบรรยากาศโดยใหมีผอนคลายมีความรื่นรมยภายในหอง บรรยากาศสวนใหญดี ทําใหนักเรียน เรียนอยางมีความสุข ดังคํากลาวของ พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) ที่กลาวถึงการเรียนอยางมีความสุขนั้นมี 2 แบบ คือ 1. ความสุขที่อาศัยปจจัยภายนอก คือ มีกัลยาณมิตร เชน ครู อาจารย เปนตน ที่สรางบรรยากาศแหงความรักความเมตตาและชวยใหสนุก 2. ความสุขจากปจจัยภายใน เมื่อบุคคลเกิดความใฝรูและใฝสรางสรรคแลว เขาก็มีความสุขจากการสนองความใฝรูใฝสรางสรรคนั้น ซ่ึงเปนความสุขที่เกิดจากภายในตัวเขาเอง ( พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) .2543: 65-66) 8. การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจ

ของนักเรียนในมาตรฐาน ศ 1.1 และ ศ 1.2 ทําใหผอนคลายความเครียด มีความสุขมากขึ้น รับรูถึงความงามในการสรางสรรคผลงานศิลปะ ตรงกับคํากลาวของ ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา ที่กลาวถึง คุณคาของศิลปะในแงของการสงเสริมพัฒนาการทางดานอารมณวา การสงเสริมทางดานศิลปะชวยสนองความตองการที่จะแสดงออกและสรางสรรค เมื่อเด็กเกิดความสําเร็จก็มีความพึงพอใจ มีอารมณแจมใส เบิกบาน .. ศิลปะชวยใหเด็กเกิดอารมณช่ืนชม ซาบซึ้งในความงามของสิ่งตาง ๆ ที่อยูรอบตัว ( ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา .2549 :30) มาตรฐาน ศ 1.1 ตระหนัก รัก และหวงแหนธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมากขึ้น และในมาตรฐาน ศ 1.2 ตระหนัก รักและหวงแหน ภูมิปญญา ประเพณีวัฒนธรรมที่ดีงาม มากขึ้น ตรงกับคํากลาวของ วิรัตน พิชญไพบูลย ที่กลาววา ศิลปะสงเสริมความเขาใจและเห็นคุณคาของศิลปะและวัฒนธรรม โดยสงเสริมดวยการใหเด็กไดสามารถเขาใจในความงามของศิลปะวัฒนธรรมของชาติจนสามารถประเมินผลและตีคุณคาของงานศิลปะนั้น ๆได .. เด็กเขาใจและมีความนิยมศิลปะของไทย และมีความรูสึกรักในความงาม และเกิดความรูสึกอยากจะชวยกันรักษาศิลปะและวัฒนธรรมของชาติใหอยูถาวรสืบตอไปชั่วกาลนาน (วิรัตน พิชญไพบูลย .2549:61-62 ) และผลตอการพัฒนา

Page 173: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

154

ทางดานจิตใจของนักเรียน ทั้งมาตรฐาน ศ 1.1 และ ศ 1.2 ยังตรงกับคุณภาพของผูที่เรียนในคูมือการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ดังที่กลาวไววา เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐานในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะแลว ผูเรียนจะมีจิตใจงดงาม มีสุนทรียภาพ รักความสวยงาม ความเปนระเบียบ รับรูอยางพินิจพิเคราะห เห็นคุณคาความสําคัญของศิลปะ ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม ตลอดจนศิลปะวัฒนธรรมอันเปนมรดกทางภูมิปญญาของคนในชาติ (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.2545:3)

ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการจัดการเรียนรู 1. ครูควรจัดการเรียนรูเร่ืองหลักการสุนทรียศาสตร และหลักการวิจารณงานศิลปะเพิ่มขึ้น โดยแทรกไปในระหวางที่นักเรียนสรางสรรคผลงาน และชื่นชมผลงาน 2. ควรมีการสนับสนุนจากกรุงเทพมหานคร ในดานวัสดุ อุปกรณทางดานศิลปะ เพื่อใหมวีสัด ุอุปกรณที่หลากหลาย ในการจัดการเรียนรูใหกับนักเรียน ขอเสนอแนะในการวิจัยคร้ังตอไป 1. ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับ เทคนิควิธีการของครู ในการจัดการเรียนรูใหกับนักเรียน เพื่อใหนักเรียนเกิดจินตนาการ และความคิดสรางสรรค 2. ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับ การสอนหลักการสุนทรียศาสตร และหลักการการวิจารณงานศิลปะใหกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1-6

Page 174: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

บรรณานุกรม

Page 175: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

156

บรรณานุกรม กรมวิชาการ กระทรวงศกึษาธิการ . ( 2545 ) . คูมือการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ. กรุงเทพฯ : องคการรับสงสินคาและพัสดภุัณฑ (ร.ส.พ.) . ------------------------. ( 2545 ) . คูมือพัฒนาสื่อการเรียนรู. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว . กระทรวงศกึษาธิการ . ( 2545 ) . พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไขเพิ่มเตมิ ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2545 พรอมกฎกระทรวงที่เกี่ยวของ และ พระราชบญัญัติการศึกษาภาค บังคับ พ.ศ.2545 . กรุงเทพฯ : องคการรับสงสินคาและพัสดุภณัฑ (ร.ส.พ.) . ------------------------ . ( 2545 ) . หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 . กรุงเทพฯ : องคการรับสงสินคาและพัสดุภณัฑ (ร.ส.พ.) . กําจร สุนพงษศรี . ( 2523 ) . ศิลปะหลังสมัยใหม . กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช . โกสุม สายใจ . ( 2547 ) . สุนทรียภาพของชีวิต . กรุงเทพฯ: ศูนยหนังสือมหาวิทยาลยัราชภัฏสวนดุสิต . คณะศิลปกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (2543). อยูถึง 2000. กรุงเทพฯ: สันติศิริการพิมพ . ------------------------. ( 2545 ) . พหุศิลปศึกษา . กรุงเทพฯ : สันติการพมิพ . ------------------------. ( 2545 ) . ศิลปะ : ศิลปศึกษา . กรุงเทพฯ : สันติศิริการพิมพ . ------------------------. (2548) .ศิลปะกับการพัฒนาเยาวชน . กรุงเทพฯ : สันติศิริการพิมพ . ------------------------. ( 2548 ) . พลวัต ศิลปะหลังสมัยใหม . กรุงเทพฯ : สันติศิริการพิมพ . คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ . (2528).จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ . จิรภัทร แกวภู .(2547). หลักและวิธี การเขยีนแผนการจัดการเรียนรู.ขอนแกน.โรงพิมพศิริภัณฑ ออฟ เซ็ทขอนแกน. จีรพันธ สมประสงค .(2533). ประวัตศิิลปะ.กรุงเทพฯ.โอ.เอส.พร้ินติ้ง เฮาส. ชลูด นิ่มเสมอ . ( 2534 ) . องคประกอบของศิลปะ . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพไทยวฒันาพานิช จํากัด . ชาญชัย ยมดษิฐ . (2548) .เทคนิคและวิธีสอนรวมสมัย . กรุงเทพฯ : บริษัท หลักพิมพ จํากัด . ชาญชัย อินทรสุนานนท . (2538?) . ส่ือการสอน . กรุงเทพฯ : ภาควิชาเทคโนโลยกีารศึกษา คณะศกึษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ชาญณรงค พรรุงโรจน . (2549?) . ศิลปะสูสังคม . กรุงเทพฯ : คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย.

Page 176: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

157

ชาย โพธิสิตา . ( 2549 ) . ศาสตรและศิลปแหงการวิจยัเชงิคุณภาพ . กรุงเทพฯ : อมรินทรพร้ินติ้ง แอนดพับลิชช่ิง จํากัด (มหาชน) . ญาดาพนิต พณิกุล .(2539). หลักการสอน.กรุงเทพฯ.โรงพิมพวีระวิทยานิพนธ. ทิศนา แขมมณ.ี( 2550 ). ศาสตรการสอน:องคความรูเพือ่การจัดกระบวนการเรยีนรูที่มีประสิทธิภาพ . กรุงเทพฯ :สํานักพิมพแหงจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย . นที เถลิงศรี . (2548 ). ศิลปะสําหรับเดก็. กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย

ราชภัฏจันทรเกษม. บุญชม ศรีสะอาด . (2541 ). การพัฒนาการสอน. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก. เบญจมาศ อยูเปนแกว . (2548 ). การสอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ : ศูนยหนังสือแหงจุฬาลงกรณ. พรศักดิ์ ขาวพรม . ( 2548 ) . วิเคราะหรูปแบบกระบวนการจัดการเรยีนการสอน ดวยทฤษฎพีห ุ ศิลปศึกษา (Art Education ) กับการสอนศลิปศึกษาของครตูนแบบสาขาศิลปศึกษา ระดับ ประถมศึกษาที่ผานการคัดเลือกจากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ ตั้งแตป พ.ศ.

2542-2544. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (ศิลปศึกษา).กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ .ถายเอกสาร.

พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) .(2543). กระบวนการเรียนรู เพื่อพัฒนาคน สูประชาธิปไดย.กรุงเทพฯ. มูลนิธิพุทธธรรม. พิมพันธ เดชะคุปต. (2544) .การเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคญั.กรุงเทพฯ : บริษัทเดอะ มาสเตอรกรุป แมเนจเมนท จํากัด . พิษณุ ศภุนิมติร . ( 2535 ) . ศิลปะสมัยใหมของไทยและนิทรรศการศิลปกรรมรวมสมัยของธนาคาร กสิกรไทย .กรุงเทพฯ : โรงพิมพตะวันออก . พีระ รัตนวจิิตร . (2544) . การประยุกตทฤษฎีพหุปญญาสูการปฏิรูปกระบวนการเรยีนรู . กรุงเทพฯ : บริษัท ธรรมสาร จํากัด. พีระพงษ กุลพิศาล . ( 2546 ) . มโนภาพและการรับรู ทางศิลปะและศิลปศึกษา .กรุงเทพฯ : สํานักพิมพธารอักษร จํากัด . ภวัตส สังขเผือก . ( 2548 ) . การศึกษาแนวคิดการสอนทัศนศิลปขั้นพื้นฐาน ในแนวปฏิรูปการศึกษา. ปริญญานิพนธ กศ .ม . (ศิ ลปศึ กษา ) .ก รุ ง เทพฯ :บัณฑิตวิทย าลั ย มหาวิทยาลั ย ศรีนครนิทรวิโรฒ.ถายเอกสาร. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศึกษาศาสตร.(2544) . พฤติกรรมวัยรุน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช .

Page 177: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

158

มะลิฉัตร เอื้ออานันท . ( 2545 ) . ศิลปศึกษาแนวปฏิรูป ฯ : ความเปนมา ปรัชญาหลักการ วิวัฒนาการดานหลักสูตรทฤษฎีการเรียนการสอน และการคนควาวจิัย . กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย . มาลินี จุฑะรพ .( 2537 ) . จิตวิทยาการเรยีนการสอน.กรุงเทพฯ : บริษัท อักษราพพิัฒน จํากดั . มีชัย คุณาวุฒิ . (2540) . ส่ือการสอน : กรุงเทพฯ : ภาควิชาเทคโนโลยกีารศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ . ยะซีด เกษตกาลาม . ( 2523 ) . การศึกษาความคิดเหน็ของครูตอการจัดการเรียนการสอนศิลปะใน หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐานพุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูศิลปะชวงชัน้ที่ 2 โรง เรี ยนในสังกัดสํ านักงานเขตบึงกุมกรุ ง เทพมหานคร . ปริญญานิพนธ กศ .ม . ( ศิลปศึกษา ). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิรฒ.ถายเอกสาร. ราชบัณฑิตยสถาน.( 2546 ). พจนานกุรม ฉบับราชบัณฑติยสถาน .กรุงเทพฯ :ราชบัณฑิตยสถาน . รุจิร ภูสาระ.( 2545 ). การเขยีนแผนการเรยีนรู .กรุงเทพฯ :บริษัท บุค พอยท จํากดั . โรงเรียนกิ่งเพชร .(2551).ขอมูลโรงเรียน.สืบคนเมื่อ 14 มิ.ย.2551 , จาก http://www.bmasmartschool. com/kingpetch/History.html โรงเรียนวัดดสิหงสาราม. (2551) . ขอมูลโรงเรียน . สืบคนเมื่อ 14 มิ.ย. 2551 , จาก http://www.bma smartschool.com/watdishongsaram/infor.html โรงเรียนวัดทศันารุณสุนทรกิาราม .(2551).ขอมูลโรงเรียน.สืบคนเมื่อ 14 มิ.ย.2551 , จาก http://203. 155.220.242/watthasanaroon/history.html โรงเรียนวัดพระยายัง .(2551). ขอมูลโรงเรียน . สืบคนเมื่อ 14 มิ.ย. 2551 , จาก http://www.bma smartschool.com/prayayang/ ลลิตพรรรณ ทองงาม.(2551, 28 กันยายน ). สัมภาษณโดย บรรจงจิต เรืองณรงค ที่โรงเรียนสาธิต ประสานมิตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เลิศ อานันทนะ; และคนอื่น ๆ. (2549) . แนวคิดเกี่ยวกับศิลปศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วรรณี ลิมอักษร .( 2543 ) . จิตวิทยาการศกึษา.กรุงเทพฯ : คณะศกึษาศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ . วิบูลย ล้ีสุวรรณ . ( 2542 ) . ศิลปะสมัยใหมและศิลปะรวมสมัยในประเทศไทย . กรุงเทพฯ : บริษัท ตนออ 1999 จาํกัด, บริษัท เลิฟแอนดลิพเพรส จํากัด . วิรุณ ตั้งเจริญ . ( 2534 ) . ศิลปะสมัยใหมในประเทศไทย . กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พร้ินติ้ง เฮาส . ----------------. ( 2545 ) . ทัศนศิลปวิจยั . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพอีแอนดไอคิว , สันติศิริการพิมพ . ----------------. ( 2547 ) . ศิลปะหลังสมัยใหม . กรุงเทพฯ : สันติศิริการพิมพ . ศศิยา วจิิตรจามรี . ( 2543 ) . นิเทศสยามปริทัศน .กรุงเทพฯ : คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม .

Page 178: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

159

ศักดา ประจุศลิป . (2543). ส่ือ : โสตทัศนูปกรณ . กรุงเทพฯ : จําหนายโดย ศนูยหนงัสือจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย พิมพที่ หางหุนสวนจํากัด ป. สัมพันธพาณชิย . สนิท สัตโยภาส . ( 25247 ).กระบวนการเรียนรูชูผูเรียนเปนสําคัญ . กรุงเทพฯ : องคการคาของคุรุสภา สมพร ชุบสุวรรณ . ( 25243 ) . วารสารชอพะยอม . กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตร และ สังคมศาสตร สถาบันราชภัฏมหาสารคาม . สมศักดิ์ ภูวิภาดาวรรธน . (2544).การยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง และการประเมินตามสภาพจริง. เชียงใหม : หางหุนสวนจํากัด เชียงใหมโรงพิมพแสงศิลป. สันติ คุณประเสริฐ; และสมใจ สิทธิชัย . (2535) . ศิลปศึกษา – ศึกษาศลิปะ. กรุงเทพ ฯ: สํานักพิมพจฬุาลงกรณมหาวทิยาลัย สุชาติ เถาทอง. ( 2545? ) . ทัศนศิลปกับมนุษย การสรางสรรคและสุนทรียภาพ .กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน . สุนทร โคตรบรรเทา . (2544) . สาโรช บัวศรี ปรัชญาการศึกษาสําหรับประเทศไทย :จุดบรรจบ ระหวางพุทธศาสนากับประชาธิปไตย . กรุงเทพฯ : ศูนยหนังสือ มศว . สุมาลี จันทรชลอ . (2542 ) . การวัดและประเมินผล. กรุงเทพฯ : ศูนยส่ือกรุงเทพฯ . สํานักงานเขตราชเทวี . (2551 ) . เขตราชเทวี. สืบคนเมื่อวนัที่ 14 มิถุนายน 2551 ,จากhttp:203.155.220 .239/subsite/indix.php?strOrgID=001058&strSection=aboutus&intContentID=519 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ.(2543). ปฏิรูปการเรียนรู ผูเรียนสําคัญที่สุด. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช . สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2550 ) . รูปแบบการจัดการเรียนรูทีเนนผูเรียนเปนสําคัญ 9 รูปแบบ. กรุงเทพฯ: หนวยศกึษานเิทศก สํานักงานการศึกษา . ไสว ฟกขาว . ( 2542 ) . การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศนูยกลาง . กรุงเทพฯ : เอมพันธ . อาภรณ ใจเทีย่ง . (2546) . หลักการสอน . กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร . อารี สุทธิพันธุ . ( 2532 ) . ทัศนศิลป .กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ ตนออ . ------------------ . ( 2535 ) . ศิลปนิยม .กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พร้ินติง้ เฮาส .

Foster , Charles R.( 1953 ). Psychology for Life Adjustment.Chicago :American Technical Society. Gardner, H. ( 1983 ). Frames of Mind : The Theory of Multiple Intelligences . New York : Basic Books . Good, T.L. and Brophy,J.E. ( 1986 ). Education Psychology:A Realistic Approach . New York: Longman . Good, Carter V. ( 1959 ). Dictionary of Education . New York :Mc Graw - Hill. Lindgren , Henry Clay .( 1976 ). Educational Psychology in Classroom.New York :Willey & Sons.

Page 179: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

160

Morris , Charles G.( 1990 ). Psychology : An Introduction . New Jersey :Prentice - Hall.

Page 180: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

ภาคผนวก

Page 181: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

162

ภาคผนวก ก หนังสือขอความอนุเคราะหการวิจัย

Page 182: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

163

Page 183: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

164

Page 184: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

165

Page 185: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

166

Page 186: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

167

Page 187: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

168

Page 188: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

169

Page 189: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

ภาคผนวก ข เครื่องมือทีใ่ชในการวิจัย

Page 190: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

171

แบบสัมภาษณ ( สําหรับครู ) เร่ือง

ศึกษาการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรยีนรูศิลปะ(ทัศนศลิป) ของโรงเรยีนสงักัดสํานกังานเขตราชเทว ี กรงุเทพมหานคร

คําชี้แจง การจัดการเรยีนรู หมายถึง จุดประสงค สาระ/ เนื้อหา วิธีการ/ กระบวนการ/กิจกรรมการเรียนรู การวัดและประเมินผล สื่อการเรยีนรู บรรยากาศในการจัดการเรียนรู

ในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ไดศึกษาการจดัการเรียนรู กลุมสาระวิชาศิลปะ(ทัศนศลิป) ของโรงเรยีนสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เพ่ือใหเขาใจถึง การจัดการเรียนเรียนรู กลุมสาระศลิปะ( ทัศนศิลป ) และเปนแนวทางในการปรบัปรุง และพฒันาการจัดการเรียนรู กลุมสาระศลิปะ ( ทัศนศิลป ) ของโรงเรยีนในสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ผูใหขอมูลในการศกึษาคนควาครั้งนี ้ ช่ือ...............................................................................นามสกุล.......................................................... เพศ..............................................................................อายุ.................................................................. ตําแหนง......................................................................ประสบการณการสอน....................................

วุฒิการศึกษา.............................................สาขาวิชา........................................................................... สถาบันที่จบการศึกษา........................................................................................................................

สถาบันที่สังกดัในปจจุบัน..................................................................................................................

Page 191: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

172

ศึกษาการจดัการเรียนรู กลุมสาระศิลปะ(ทศันศิลป )โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ( ประเด็นที่ศกึษา )

1. ทานมีแนวคิดในการจดัการเรียนรูอยางไร - แนวคิดที่ทานจัดการเรยีนรูใน มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วพิากษวิจารณคุณคางานทัศนศลิป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอสิระ ช่ืนชม และประยุกตใชในชีวิตประจาํวัน

- แนวคดิของครเูกี่ยวกับความเหมาะสมในการจัดการเรียนรูในสวนทฤษฎีท่ีเปนเนื้อหาและสวนท่ีเปนการปฏิบัติ ของนักเรียนชั้น ป .1- ป .6

- แนวคดิในการจัดการเรียนรูเกี่ยวกับหลักการและการสรางสรรคผลงานศิลปะเรื่องทัศนธาต ุ

- หลักการทัศนธาต ุ - การสรางสรรคผลงานศลิปะเรื่องทัศนธาตุ - แนวคดิในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการสรางสรรคผลงานศิลปะตาม

จินตนาการ - แนวคดิในการจัดการเรียนรู ในการสรางสรรคผลงานศลิปะเกีย่วกับธรรมชาติ

และส่ิงแวดลอม - แนวคดิในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับเทคนคิ วิธกีารในการสรางผลงานศิลปะ - แนวคดิในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการเลอืก การใช การเก็บรกัษาวัสดุ

อุปกรณในการสรางผลงานศิลปะของนกัเรียน - การเลือกวัสดุ อุปกรณ - การใชวัสดุ อุปกรณ - การเก็บรักษาวัสดุ อุปกรณ - แนวคดิในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการเรยีนรูในเรื่องหลักการของ

สุนทรียศาสตร - แนวคดิในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการเรยีนรูในเรื่องหลักการของการวจิารณ

งานศิลปะ - แนวคดิในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการนาํความรู เทคนคิ วิธกีารทางทศันศิลป

ไปใชกับกลุมสาระการเรยีนรูอ่ืนๆ

Page 192: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

173

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................... - แนวคิดทีท่านจัดการเรยีนรูใน มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพนัธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิน่ ภูมิปญญาไทย และสากล

- แนวคดิของครเูกี่ยวกับความเหมาะสมในการจัดการเรียนรูในสวนทีเ่ปนเนื้อหาและสวนท่ีเปนการปฏิบัติ ของนักเรียนชัน้ ป .1 - ป .6

- แนวคดิในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับเนื้อหาในเรื่องลกัษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในทองถิ่น

- แนวคดิในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการตระหนักถึงคณุคาของศิลปะวฒันธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถิน่

- แนวคดิในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกีย่วของกบัศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น

- แนวคดิในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะในประเทศไทย

- แนวคดิในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการตระหนักถึงคณุคาของศิลปะวฒันธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย

- แนวคดิในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกีย่วของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาไทย

- แนวคดิในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับลักษณะรูปแบบ ความเปนมาของศิลปะสากล

- แนวคดิในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการตระหนักถึงคณุคาของศิลปะวฒันธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล

- แนวคดิในการจัดการเรียนรู เกี่ยวกับการสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกีย่วของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาสากล

Page 193: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

174

......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................

2. ทานมีแนวทางในการกาํหนดจุดประสงคการเรียนรูของกลุมสาระการเรยีนรูศลิปะ(ทัศนศลิป) อยางไร

- แนวทางในการกําหนดจุดประสงคทีท่านจัดการเรยีนรูใน มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานศิลปตามจนิตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวจิารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ช่ืนชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................... - แนวทางในการกําหนดจุดประสงคท่ีทานจัดการเรยีนรูใน มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศลิป ประวัติศาสตร และวฒันธรรม เห็นคุณคางานทศันศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภมูิปญญาทองถิน่ ภูมิปญญาไทย และสากล

......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................

3. เนื้อหาของกลุมสาระการเรียนรู ศลิปะ(ทัศนศิลป) ทีท่านจัดการเรยีนรูเกี่ยวกับอะไรบาง

- เนื้อหาที่ทานจัดการเรยีนรูใน มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วพิากษวิจารณคุณคางานทัศนศลิป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอสิระ ช่ืนชม และประยุกตใชในชีวิตประจาํวัน

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

Page 194: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

175

.........................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................... - เนื้อหาที่ทานจัดการเรยีนรูใน มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิน่ ภูมิปญญาไทย และสากล

......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................... 4. ทานจัดกจิกรรมการเรยีนรูอยางไร

- กิจกรรมการเรียนรูทีท่านจัดใน มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วพิากษวิจารณคุณคางานทัศนศลิป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอสิระ ช่ืนชม และประยุกตใชในชีวิตประจาํวัน

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................... - กิจกรรมการเรียนรูทีท่านจัดใน มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิน่ ภูมิปญญาไทย และสากล

......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................

Page 195: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

176

5. ทานวัดและประเมนิผลอยางไร - ทานวดัและประเมินผลอยางไรใน มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานศิลปตามจนิตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วพิากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอสิระ ช่ืนชม และประยุกตใชในชีวิตประจาํวัน

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................... - ทานวัดและประเมนิผลอยางไรใน มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิน่ ภูมิปญญาไทย และสากล

......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

6. ทานใชสื่อการเรียนรูอะไรบาง - ส่ือที่ทานใชจัดการเรียนรูใน มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วพิากษวิจารณคุณคางานทัศนศลิป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอสิระ ช่ืนชม และประยุกตใชในชีวิตประจาํวัน - ประเภทวัสดุ - ประเภทอุปกรณ - ประเภทเทคนิคและวิธกีาร

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

Page 196: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

177

- สื่อที่ทานใชจัดการเรียนรูใน มาตรฐาน ศ 1.2 มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล

- ประเภทวัสดุ - ประเภทอุปกรณ - ประเภทเทคนิคและวิธกีาร

......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................... 7. บรรยากาศในการจัดการเรยีนรูอยางไรบาง

- การสรางบรรยากาศใน มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วพิากษวิจารณคุณคางานทัศนศลิป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอสิระ ช่ืนชม และประยุกตใชในชีวิตประจาํวัน - สภาพจากจัดหองเรียน - ปฏิสัมพันธในชั้นเรียน - ปฏิสัมพันธระหวางครกูับนักเรียน - ปฏิสัมพันธระหวางนักเรยีนกับนกัเรียน

- การสรางบรรยากาศใหเกดิสุนทรียภาพ ......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................... - การสรางบรรยากาศใน มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล

Page 197: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

178

- สภาพจากจัดหองเรียน - ปฏิสัมพันธในชั้นเรียน - ปฏิสัมพันธระหวางครกูับนักเรียน - ปฏิสัมพันธระหวางนักเรยีนกับนกัเรียน

- การสรางบรรยากาศใหเกดิสุนทรียภาพ ......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................... 8. การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศลิปะ(ทัศนศลิป) สงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจของนักเรียนอยางไร - การพัฒนาทางดานจิตใจ ดานอารมณ ดานการตระหนกั รกั หวงแหนธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมของนักเรียนจากการจัดการเรยีนรูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศลิป) ในมาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานศิลปตามจินตนาการ และความคดิสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวจิารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอสิระ ช่ืนชม และประยุกตใชในชีวิตประจาํวัน

- ดานอารมณ - ดานการรับรูความงาม

- ดานการตระหนัก รัก หวงแหนธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

- การพัฒนาทางดานจิตใจ ดานอารมณ ดานการตระหนกั รกัและหวงแหน ภูมิปญญา ประเพณวีัฒนธรรมทีด่ีงาม ของนักเรยีนจากการจดัการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศลิป) ในมาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัตศิาสตร และ

Page 198: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

179

วัฒนธรรม เห็นคุณคางานทศันศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิน่ ภูมิปญญาไทย และสากล

- ดานอารมณ - ดานการรับรูความงาม

- ดานการตระหนัก รักและหวงแหน ภมิูปญญา ประเพณีวัฒนธรรมทีด่ีงาม ......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

9. ทานมีขอคิดเห็นเพิ่มเติมอะไร เกีย่วกบัการจัดการเรยีนรู ในกลุมสาระศลิปะ ( ทศันศิลป ) ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................... สัมภาษณเมื่อวันที่............เดือน.........................................พ.ศ. ....................

เวลา.......................................

Page 199: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

180

แบบสัมภาษณ ( สําหรับนักเรียน) เร่ือง

ศึกษาการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรยีนรูศิลปะ(ทัศนศลิป) ของโรงเรยีนสงักัดสํานกังานเขตราชเทว ี กรงุเทพมหานคร

คําชี้แจง การจัดการเรยีนรู หมายถึง จดุประสงค สาระ/ เนื้อหา วิธกีาร/ กระบวนการ/กิจกรรมการเรยีนรู การวัดและประเมนิผล สื่อการเรยีนรู บรรยากาศในการจดัการเรียนรู ในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ไดศึกษาการจัดการเรยีนรู กลุมสาระวิชาศิลปะ(ทัศนศลิป) ของโรงเรยีนสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เพ่ือใหเขาใจถึงการจัดการเรียนเรียนรู กลุมสาระศลิปะ( ทัศนศิลป ) และเปนแนวทางในการปรบัปรุง และพฒันาการจัดการเรียนรู กลุมสาระศลิปะ ( ทัศนศิลป ) ของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร

ผูใหขอมูลในการศกึษาคนควาครั้งนี ้ ช่ือ...............................................................................นามสกุล.......................................................... เพศ..............................................................................อายุ.................................................................. ช้ัน....................................................................................................................................................... โรงเรียน.............................................................................................................................................

Page 200: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

181

ศึกษาการจดัการเรียนรู กลุมสาระศลิปะ( ทัศนศลิป ) ของโรงเรยีนในสังกดัสํานักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ( ประเด็นที่ศกึษา )

1. เนื้อหาของกลุมสาระการเรยีนรู ศลิปะ(ทัศนศิลป) ทีน่ักเรียนไดเรยีนรูเกี่ยวกับอะไรบาง - เนื้อหาท่ีครูจัดการเรยีนรูใน มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานศิลปตามจินตนาการ และ

ความคิดสรางสรรค วิเคราะห วพิากษวิจารณคุณคางานทัศนศลิป ถายทอดความรูสกึ ความคิดตองานศิลปะอยางอสิระ ช่ืนชม และประยุกตใชในชีวิตประจาํวัน

ทัศนธาต ุ ศิลปะตามจินตนาการ ศิลปะเกีย่วกับธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอม เทคนิค วธิีการในการสรางผลงานศิลปะ การเลือก การใช การเกบ็รักษาวัสดุอุปกรณในการสรางผลงานศลิปะ สุนทรยีศาสตร การวิจารณงานศลิปะ การนําความรู เทคนิค วธิีการทางทัศนศิลปไปใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ

อ่ืน ๆ.....................................

เทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะ วาดภาพ ระบายส ี ปน ภาพพิมพ สื่อผสม

แกะสลกั การประดิษฐ

แบบจําลองงานสถาปตยกรรม ออกแบบ

Page 201: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

182

- เนื้อหาท่ีครูจัดการเรยีนรูใน มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิน่ ภูมิปญญาไทย และสากล

ลักษณะรปูแบบ ความเปนมาของศิลปะในทองถิ่น คุณคาของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณ ีภูมิปญญาทองถิ่น การสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกีย่วของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณ ี

ภูมิปญญาทองถิ่น ลักษณะรปูแบบ ความเปนมาของศิลปะในประเทศไทย

คุณคาของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี ภูมปิญญาไทย การสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกีย่วของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณ ี

ภูมิปญญาไทย ลักษณะรปูแบบ ความเปนมาของศิลปะสากล คุณคาของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณ ีภูมิปญญาสากล

การสืบทอด การทํางานศิลปะที่เกีย่วของกับศิลปะวัฒนธรรม ประเพณ ี ภูมิปญญาสากล

อ่ืนๆ.................... เทคนิค วิธีการในการสรางผลงานศิลปะ วาดภาพ ระบายส ี ปน ภาพพิมพ สื่อผสม

แกะสลกั การประดิษฐ

แบบจําลองงานสถาปตยกรรม ออกแบบ

Page 202: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

183

2. ครูจัดกิจกรรมการเรยีนรูอยางไร - กิจกรรมการเรยีนรูที่ทานจดัใน มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานศิลปตามจินตนาการ และ

ความคิดสรางสรรค วิเคราะห วพิากษวิจารณคุณคางานทัศนศลิป ถายทอดความรูสกึ ความคิดตองานศิลปะอยางอสิระ ช่ืนชม และประยุกตใชในชีวิตประจาํวัน

จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการบรรยาย จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการอภิปราย จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการอภิปรายกลุมยอย จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการสาธิต จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยกระบวนการกลุม จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการชี้แนะ จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยพฒันากระบวนการคิดดวยการใชคําถามหมวกความคิด 6 ใบ

จัดกจิกรรมการเรยีนรูโดยกระบวนการแกปญหา จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยสรางองคความรู จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยสงเสริมความคดิสรางสรรค จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยโครงงาน จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยเนนการปฏิบัต ิ จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยบรูณาการสูพหุปญญา จัดกิจกรรมการเรียนรูจากแหลงเรียนรู จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชกระบวนการ 7 ส. อ่ืนๆ.................................................

- กิจกรรมการเรยีนรูท่ีทานจดัใน มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป

ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิน่ ภูมิปญญาไทย และสากล

จัดกจิกรรมการเรยีนรูโดยการบรรยาย จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการอภิปราย จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการอภิปรายกลุมยอย

Page 203: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

184

จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการสาธิต จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยกระบวนการกลุม จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการชี้แนะ จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยพัฒนากระบวนการคิดดวยการใชคําถามหมวกความคิด 6 ใบ

จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยกระบวนการแกปญหา จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยสรางองคความรู จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยสงเสริมความคดิสรางสรรค จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยโครงงาน จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยเนนการปฏิบัต ิ จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยบูรณาการสูพหุปญญา จัดกิจกรรมการเรียนรูจากแหลงเรยีนรู จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชกระบวนการ 7 ส. อื่นๆ.................................................

3. ครูใชส่ือการเรียนรูอะไรบาง

- ส่ือท่ีครูใชจัดการเรยีนรูใน มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานศลิปตามจนิตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วพิากษวิจารณคุณคางานทัศนศลิป ถายทอดความรูสกึ ความคิดตองานศิลปะอยางอสิระ ช่ืนชม และประยุกตใชในชีวิตประจาํวัน

- สื่อที่ครใูชจัดการเรียนรูใหกบันักเรยีน - ประเภทวัสดุ

แผนภมู ิ ภาพวาดตัวอยาง แผนสถติิ ภาพการตูน แผนภาพ ช้ินงานจริง ภาพถาย ของจริง ภาพโฆษณา อ่ืน ๆ......................................

Page 204: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

185

- ประเภทอุปกรณ กระดานดํา , white board วิทย ุ กระดานนิเทศ โทรทัศน

เครื่องฉายภาพขามศรีษะ เครื่องฉายวีดทัิศน(วี ด ี โอ) เครื่องฉายภาพทึบแสง เครื่องเลนจานคอมแพกต(วี ซี ดี)

เครื่องฉายสไลด เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องฉายภาพยนต อ่ืน ๆ...................................... เครื่องฉายจุลทัศน (Micro Projector)

- ประเภทเทคนิคและวธิกีาร

การสาธิต การแสดงบทบาทสมมุติ การแสดงละคร การฝกปฏิบัต ิ เลนเกม นิทรรศการ การศึกษานอกสถานที ่ อ่ืน............................. การทดลอง

- สื่อที่นักเรยีนใช - สื่อท่ีนกัเรียนใชในการถายทอดผลงาน

คน ภาพวาด สัตว การตูน

ตนไม ครอบครวั ทะเล ชุมชน สิ่งของ โรงเรยีน สิ่งกอสราง วัด, ศาสนสถาน โฆษณา อ่ืน ๆ............................. ภาพถาย

Page 205: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

186

- สื่อท่ีนักเรียนใชสรางผลงาน - วัสดุท่ีใชเปนระนาบหรอืพื้นในการสรางผลงาน

กระดาษ 80 แกรม ไม กระดาษ 100 แกรม ผา

กระดาษสา เครื่องปนดินเผา กระดาษปรูฟ ขวด ผาใบ อ่ืน ๆ.............................

- สี

สีไม สีอะครลิกิ สีเทียน สีฝุน

สีชอลกน้าํมัน สีนํ้ามัน สีน้ํา สีพลาสตกิ สีโปสเตอร อ่ืน ๆ.............................

- วัสดุท่ีใชปน

ดินน้ํามนั ดินญี่ปุน ดินเหนยีว กระดาษผสมกาว

แปงขนมปง แปงสาลี แปงขาวโพด อ่ืน ๆ............................. แปงโด

- วัสดุท่ีใชทําภาพพิมพ

ใบไม เหรียญ ผัก ผลไม กระดาษ กานกลวย ยางลบ กิ่งไม อ่ืน ๆ.............................

Page 206: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

187

- วัสดุท่ีใชทําสือ่ผสม ใบไมแหง ลัง กิ่งไม ดินน้ํามนั ไม ปูนปลาสเตอร โลหะ พลาสติก กระดาษ อ่ืน ๆ............................. - วัสดุท่ีใชทําแกะสลกั ผัก ผลไม ยางลบ เทยีน อ่ืน ๆ............................. สบู - วัสดุท่ีใชทํางานประดิษฐ เศษไม ถุงขนม พลาสติก ลัง กลองนม ไมไอศกรีม ขวดน้ํา อ่ืน ๆ............................. - วัสดุท่ีใชทําแบบจําลองสถาปตยกรรม ไม ลัง ดินเหนยีว อ่ืน ๆ............................. ดินน้ํามัน - วัสดแุละอุปกรณท่ีใชออกแบบ ดินสอ สี กระดาษ คอมพิวเตอร

อ่ืน ๆ.............................

Page 207: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

188

- ส่ือท่ีครูใชจัดการเรยีนรูใน มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิน่ ภูมิปญญาไทย และสากล

- สื่อที่ครใูชจัดการเรียนรูใหกบันักเรยีน - ประเภทวัสดุ

แผนภมู ิ ภาพวาดลายไทย แผนสถิต ิ ภาพการตนูไทย

แผนภาพ ภาพฝาผนัง ภาพถาย ช้ินงานจริง ภาพโฆษณา อ่ืน ๆ........................... ภาพวาดตวัอยาง

- ประเภทอุปกรณ

กระดานดํา , white board วิทย ุ กระดานนิเทศ โทรทัศน

เครื่องฉายภาพขามศรีษะ เครื่องฉายวีดทัิศน(วี ด ี โอ) เครื่องฉายภาพทึบแสง เครื่องเลนจานคอมแพกต(วี ซี ดี)

เครื่องฉายสไลด เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องฉายภาพยนต อ่ืน ๆ...................................... เครื่องฉายจุลทัศน (Micro Projector)

- ประเภทเทคนิคและวธิกีาร

การสาธิต การแสดงบทบาทสมมุติ การแสดงละคร การฝกปฏิบัต ิ เลนเกม นิทรรศการ การศึกษานอกสถานที ่ อ่ืน............................. การทดลอง

Page 208: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

189

- สื่อที่นักเรยีนใช - สื่อท่ีนักเรียนใชในการถายทอดผลงาน

พระพุทธรปู เทวรูป รูปเคารพ วัฒนธรรม ประเพณตีาง ๆ คน ภาพฝาผนัง สัตว การตูนไทย

ตนไม ลายไทย ทะเล ครอบครวั สิ่งของ ชุมชน สิ่งกอสราง โรงเรียน ภาพถาย วัด,ศาสนสถาน ภาพวาด อ่ืน ๆ............................. วิถีชีวิตคนไทยในอดีต

- สื่อท่ีนักเรียนใชสรางผลงาน

- วัสดุท่ีใชเปนระนาบหรอืพื้นในการสรางผลงาน กระดาษ 80 แกรม ไม

กระดาษ 100 แกรม ผา กระดาษสา เครื่องปนดินเผา กระดาษปรูฟ ขวด ผาใบ อ่ืน ๆ.............................

- สี

สีไม สีอะครลิกิ สีเทียน สีฝุน

สีชอลกน้าํมัน สีนํ้ามัน สีน้ํา สีพลาสตกิ สีโปสเตอร อ่ืน ๆ.............................

Page 209: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

190

- วัสดุท่ีใชปน ดินน้ํามนั ดินญี่ปุน ดินเหนยีว กระดาษผสมกาว

แปงขนมปง แปงสาลี แปงขาวโพด อ่ืน ๆ............................. แปงโด

- วัสดุท่ีใชทําภาพพิมพ

ใบไม เหรียญ ผัก ผลไม กระดาษ กานกลวย ยางลบ กิ่งไม อ่ืน ๆ.............................

- วัสดุท่ีใชทําสือ่ผสม ใบไมแหง ลัง กิ่งไม ดินน้ํามนั ไม ปูนปลาสเตอร โลหะ พลาสติก กระดาษ อ่ืน ๆ............................. - วัสดุท่ีใชทําแกะสลกั ผัก ผลไม สบู เทียน อ่ืน ๆ.............................

- วัสดุท่ีใชทํางานประดิษฐ เศษไม ลัง กิ่งไม กานไม ไมไอศกรีม ใบไม อ่ืน ๆ............................. ขวดน้ํา

Page 210: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

191

- วัสดุท่ีใชทําแบบจําลองสถาปตยกรรม ไม ลัง ดินเหนยีว อ่ืน ๆ............................. ดินน้ํามัน - วัสดแุละอุปกรณท่ีใชออกแบบ ดินสอ สี กระดาษ คอมพิวเตอร

อ่ืน ๆ.............................

4. บรรยากาศในการจัดการเรยีนรูเปนอยางไร - การสรางบรรยากาศใน มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วเิคราะห วิพากษวจิารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสกึ ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ช่ืนชม และประยกุตใชในชีวิตประจําวนั - สภาพการจดัหองเรียน

- การถายเทของอากาศ มีอากาศถายเทไดด ี อากาศถายเทไมด ี - แสงสวาง มีแสงสวางเหมาะสม แสงสวางไมพอ

- สิ่งรบกวน ปราศจากสิ่งรบกวน มีส่ิงรบกวน

Page 211: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

192

- ความสะอาด มีความสะอาด ไมมีความสะอาด

- ปฏิสัมพันธในชั้นเรียน - ปฏิสัมพันธระหวางครกูับนักเรียน

มีความรืน่รมย สบายใจ ทั้งครแูละนกัเรยีน มีความรืน่รมย และเครยีดบางเปนบางครั้ง มีความตงึเครียดทั้งครแูละนักเรยีน

อ่ืน ๆ............................. - ปฏิสัมพันธระหวางนกัเรียนกับนกัเรียน

มีความสามัคคี รักใครกลมเกลยีวกันดี มีความรกัใคร กลมเกลยีวและมีความขัดแยงบางเปนบางครั้ง มีความขดัแยังกัน

อ่ืน ๆ.............................

- การสรางบรรยากาศใหเกิดสุนทรียภาพ สรางบรรยากาศโดยเสียงเพลง สรางบรรยากาศโดยใหมีผอนคลาย มีความรืน่รมยภายในหอง

สรางบรรยากาศโดยผลงานทางศลิปะ อ่ืน ๆ.............................

Page 212: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

193

- การสรางบรรยากาศใน มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภมูิปญญาทองถิน่ ภูมิปญญาไทย และสากล

- สภาพการจดัหองเรียน

- การถายเทของอากาศ มีอากาศถายเทไดด ี อากาศถายเทไมด ี - แสงสวาง มีแสงสวางเหมาะสม แสงสวางไมพอ

- สิ่งรบกวน ปราศจากสิ่งรบกวน มีส่ิงรบกวน

- ความสะอาด มีความสะอาด ไมมีความสะอาด

- ปฏิสัมพันธในชั้นเรียน - ปฏิสัมพันธระหวางครกูับนักเรียน

มีความรืน่รมย สบายใจ ทั้งครแูละนกัเรยีน มีความรืน่รมย และเครยีดบางเปนบางครั้ง มีความตงึเครียดทั้งครแูละนักเรยีน

อ่ืน ๆ.............................

Page 213: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

194

- ปฏิสัมพันธระหวางนกัเรียนกับนกัเรียน

มีความสามัคคี รักใครกลมเกลยีวกันดี มีความรกัใคร กลมเกลยีวและมีความขัดแยงบางเปนบางครั้ง มีความขดัแยังกัน

อ่ืน ๆ.............................

- การสรางบรรยากาศใหเกิดสุนทรียภาพ สรางบรรยากาศโดยเสียงเพลง สรางบรรยากาศโดยใหมีผอนคลาย มีความรืน่รมยภายในหอง

สรางบรรยากาศโดยผลงานทางศลิปะ อ่ืน ๆ.............................

5. การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศลิป) สงผลตอการพฒันาทางดานจิตใจของนักเรียนอยางไร - การพัฒนาทางดานจิตใจ ดานอารมณ ดานการรับรูความงาม ดานการตระหนกั รัก หวงแหนธรรมชาตแิละ สิ่งแวดลอมของนักเรียนจากการจัดการเรยีนรูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศลิป) ในมาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวจิารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ช่ืนชม และประยุกตใชในชีวิตประจาํวัน

- ดานอารมณ ทําใหผอนคลายความเครียด มีความสุขมากขึ้น ทําใหมีความเครียดมากขึ้น มีความทกุขมากขึ้น

ไมรูสกึอะไร เฉย ๆ อ่ืน ๆ.............................

Page 214: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

195

- ดานการรบัรูความงาม

รับรูความงามในการสรางผลงานและชื่นชมผลงานศิลปะ ไมรูสกึอะไร เฉย ๆ อ่ืน ๆ.............................

- ดานการตระหนัก รกั หวงแหนธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอม รกั และหวงแหนธรรมชาติและส่ิงแวดลอมมากขึน้

ไมรูสกึอะไร เฉย ๆ อ่ืน ๆ.............................

- การพัฒนาทางดานจิตใจ ดานอารมณ ดานการรับรูความงาม ดานการตระหนกั รักและหวงแหน ภูมิปญญา ประเพณีวฒันธรรมที่ดีงาม ของนักเรียนจากการจดัการเรียนรูในกลุมสาระการเรยีนรูศิลปะ(ทัศนศิลป) ในมาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศลิป ประวตัิศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภมูิปญญาทองถิน่ ภูมิปญญาไทย และสากล

- ดานอารมณ ทําใหผอนคลายความเครียด มีความสุขมากขึ้น ทําใหมีความเครียดมากขึ้น มีความทกุขมากขึ้น

ไมรูสกึอะไร เฉย ๆ อ่ืน ๆ.............................

- ดานการรบัรูความงาม

รับรูความงามในการสรางผลงานและชื่นชมผลงานศิลปะ ไมรูสกึอะไร เฉย ๆ อ่ืน ๆ.............................

Page 215: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

196

- ดานการตระหนัก รกัและหวงแหน ภูมิปญญา ประเพณีวฒันธรรมท่ีดีงาม รกัและหวงแหน ภมูิปญญา ประเพณีวัฒนธรรมที่ดงีาม มากขึ้น

ไมรูสกึอะไร เฉย ๆ อ่ืน ๆ.............................

6. นักเรียนมีขอคิดเห็นเพิ่มเติมอะไร เกีย่วกับการจัดการเรียนรู ในกลุมสาระศลิปะ ( ทัศนศิลป )

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

สัมภาษณเมื่อวันที่............เดอืน.........................................พ.ศ. .................... เวลา.......................................

Page 216: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

ประวัติยอผูวิจัย

Page 217: ศึกษาการจ ัดการเร ียนรู กลุ มสาระการเร ียนรู ศิลปะ ทัศน ...thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Bunjongjit_R.pdf ·

198

ประวัติยอผูวิจัย ช่ือสกุล นางสาวบรรจงจิต เรืองณรงค วันเดือนปเกดิ 25 กันยายน 2515 สถานที่อยูปจจุบัน 49 ถ.พระรามหก แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 ตําแหนงหนาที่การงานปจจบุัน ครู คศ.1 สถานที่ทํางานปจจุบัน โรงเรียนวัดพระยายัง สังกดักรุงเทพมหานคร ประวัติการศึกษา

พ.ศ.2536 ประกาศนยีบตัรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) จากสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ ์

พ.ศ.2544 ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) จากสถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

พ.ศ.2546 ประกาศนยีบตัรวิชาชีพครู (ป.วค.) จากมหาวิทยาลัยสุโขทยัธรรมาธิราช พ.ศ.2551 การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ