นาฏศิลป ๔academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1481079999_example.pdf ·...

6
ดพ มพ โดย บร ท สําน กพ มพ เอมพ นธ จําก ฝายการตลาด, ฝายการเงนและบญช, ฝายผลตและจดสง : ๖๙/๑๐๙ หมู ๑ ซ.พระแมการุณย ต.บานใหม อ.ปากเกรด จ.นนทบุร ๑๑๑๒๐ โทร. ๐-๒๕๘๔-๕๘๘๙, ๐-๒๕๘๔-๕๙๙๓, ๐-๒๙๖๑-๔๕๘๐-๒ โทรสาร ๐-๒๙๖๑-๕๕๗๓ ฝายวชาการ : ๘๗/๑๒๒ ถ.เทศบาลสงเคราะห แขวงลาดยาว เขตจตุจกร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๙๕๔-๔๘๑๘-๒๐, ๐-๒๙๕๓-๘๑๖๘-๙ โทรสาร ๐-๒๕๘๐-๒๙๒๓ ปทพมพ ๒๕๕๙ พมพครงท ๑ ISBN : 978-616-07-1673-9 ชนมธยมศกษาปท ๔ นาฏศิลป ๔ กลมสาระการเรยนรศลปะ ตามหลกสตรแกนกลางการศกษาขนพนฐาน พทธศกราช ๒๕๕๑ ผเรยบเรยง นางสุกญญา ณ ตะกวทุง คบ. (นาฏศลป), ศศ.บ. (บรหารการศกษา) นางสุนทร ดามพวรรณฤทธ คบ. (นาฏศลป) นายภระเมศร ประสทธเมธ มชาง ศป.บ. (ดุรยางคศลป) นางสาวมนญญา มาบางยาง ศศ.บ. (ดนตรไทย), ศษ.ม. (บรหารการศกษา) ผตรวจ ผศ.ดร.ดุษฎ มปอม ศศ.บ. (ดุร ยางค ไทย), ศศ.ม. (ว ฒนธรรมศ กษา), ปร.ด. (ดนตร ) นายชรนทร พรหมรกษ ศศ.บ. (บรหารการศกษา), ศศ.ม. (นาฏยศลปไทย) นางอุมาภรณ กลาหาญ ศบ. (ดนตรศกษา), ศศ.ม. (ดนตร) บรรณาธการ นางอญชล บุญจงรกษ อนุปรญญา (นาฏศลปไทยและละคร), คบ. (ภาษาองกฤษ), ศศ.ม. (ศลปการแสดงแขนงนาฏศลปไทย) นางสาวสุชาดา วราหพนธ กศ.บ. (สงคมศกษา), ค.ม. (พนฐานการศกษา)

Transcript of นาฏศิลป ๔academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1481079999_example.pdf ·...

Page 1: นาฏศิลป ๔academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1481079999_example.pdf · ๒. อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญในวงการนาฏศิลป

จัดพิมพโดย บริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด ฝายการตลาด, ฝายการเงินและบัญชี, ฝายผลิตและจัดสง : ๖๙/๑๐๙ หมู ๑ ซ.พระแมการุณย ต.บานใหม อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี ๑๑๑๒๐ โทร. ๐-๒๕๘๔-๕๘๘๙, ๐-๒๕๘๔-๕๙๙๓, ๐-๒๙๖๑-๔๕๘๐-๒ โทรสาร ๐-๒๙๖๑-๕๕๗๓ ฝายวิชาการ : ๘๗/๑๒๒ ถ.เทศบาลสงเคราะห แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐

โทร. ๐-๒๙๕๔-๔๘๑๘-๒๐, ๐-๒๙๕๓-๘๑๖๘-๙ โทรสาร ๐-๒๕๘๐-๒๙๒๓

ปที่พิมพ ๒๕๕๙ พิมพครั้งที่ ๑ ISBN : 978-616-07-1673-9

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔

นาฏศิลป ๔กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

นางสุกัญญา ณ ตะกั่วทุง คบ. (นาฏศิลป), ศศ.บ. (บริหารการศึกษา)

นางสุนทรี ดามพวรรณฤทธิ์ คบ. (นาฏศิลป)

นายภีระเมศร ประสิทธิเมธี มีชาง ศป.บ. (ดุริยางคศิลป)

นางสาวมนัญญา มาบางยาง ศศ.บ. (ดนตรีไทย), ศษ.ม. (บริหารการศึกษา)

ผูตรวจ

ผศ.ดร.ดุษฎี มีปอม ศศ.บ. (ดรุยิางคไทย), ศศ.ม. (วฒันธรรมศกึษา), ปร.ด. (ดนตร)ี

นายชรินทร พรหมรักษ ศศ.บ. (บริหารการศึกษา), ศศ.ม. (นาฏยศิลปไทย)

นางอุมาภรณ กลาหาญ ศบ. (ดนตรีศึกษา), ศศ.ม. (ดนตรี)

บรรณาธิการ

นางอัญชลี บุญจงรักษ อนุปริญญา (นาฏศิลปไทยและละคร), คบ. (ภาษาอังกฤษ),

ศศ.ม. (ศิลปการแสดงแขนงนาฏศิลปไทย)

นางสาวสุชาดา วราหพันธ กศ.บ. (สังคมศึกษา), ค.ม. (พื้นฐานการศึกษา)

Page 2: นาฏศิลป ๔academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1481079999_example.pdf · ๒. อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญในวงการนาฏศิลป

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ (นาฏศิลป ๔) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔

มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขาใจและแสดงออกทางนาฏศลิปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคณุคา

นาฏศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชใน

ชีวิตประจําวัน

มาตรฐาน ศ ๓.๒ เขาใจความสมัพนัธระหวางนาฏศลิป ประวตัศิาสตร และวฒันธรรม เหน็คณุคาของ

นาฏศลิปทีเ่ปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิญญาทองถิน่ ภูมปิญญาไทยและสากล

สาระที่ ๓

มาตรฐาน ศ ๓.๑ มาตรฐาน ศ ๓.๒

ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด

๑. มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ๒. สรางสรรคละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ๓. ใชความคดิรเิริม่ในการแสดงนาฏศลิปเปนคูและหมู๔. วิจารณการแสดงตามหลักนาฏศิลปและการละคร๕. วิเคราะหแกนของการแสดงนาฏศิลปและการละคร

ที่ตองการสื่อความหมายในการแสดง๖. บรรยายและวิเคราะหอิทธิพลของเคร่ืองแตงกาย แสง

สี เสียง ฉาก อุปกรณ และสถานที่ที่มีผลตอ

การแสดง๗. พัฒนาและใชเกณฑการประเมินในการประเมิน

การแสดง๘. วิเคราะหทาทาง และการเคลื่อนไหวของผูคนใน

ชีวิตประจําวันและนํามาประยุกตใชในการแสดง

๑. เปรียบเทียบการนําการแสดงไปใชในโอกาสตางๆ๒. อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญในวงการนาฏศิลป

และการละครของประเทศไทยในยุคสมัยตางๆ๓. บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลปและการละครไทย

ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน๔. นําเสนอแนวคิดในการอนุรักษนาฏศิลปไทย

สาระที่ ๓ : นาฏศิลป

สาระ มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

Page 3: นาฏศิลป ๔academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1481079999_example.pdf · ๒. อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญในวงการนาฏศิลป

นาฏศิลป ๔ (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔)

ตารางวิเคราะหหนวยการเรียนรูตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด

มคีวามรูความเขาใจ สามารถอธบิายววัิฒนาการของนาฏศลิปไทยในสมยัตางๆ ได โดยเช่ือมโยง

ขอมูลดานประวัติศาสตร ภูมิปญญาไทย และภูมิปญญาสากล

ฝกทักษะการแสดงนาฏศิลปไทย นาฏศิลปพื้นเมือง เพื่อการสืบทอดและอนุรักษมรดก

ทางวัฒนธรรมของชาติ ใชเสียงและภาษาในการสื่อความหมายการแสดงละครตะวันตก

วิเคราะห วิพากษ วิจารณ คุณคานาฏศิลป ถายทอดความรูสึกชื่นชม เห็นคุณคาความงาม

ประโยชนของวิชานาฏศิลป และนํามาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

คำอธิบายรายวิชา

ตัวชี้วัด

หนวยการเรียนรู

สารที่ ๓

มฐ. ศ ๓.๑ มฐ. ศ ๓.๒

ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๑ ๒ ๓ ๔

๑. วิวัฒนาการของนาฏศิลปและละครไทย

๒. การแสดงนาฏศิลปไทย

๓. ความงามและคุณคานาฏศิลปไทย

๔. ละครตะวันตก

๑ ๑๒ ๒๓ ๓๔ ๔๕ ๖ ๗ ๘ คํานํา

ฝายวิชาการ บริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด

พฤศจิกายน ๒๕๕๙

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป ๔ เลมนี้ ไดเรียบเรียงขึ้นสําหรับนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ โดยยึดมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ (นาฏศิลป)

สาระที่ ๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

เนื้อหาในหนังสือเลมนี้ แบงออกเปน ๔ หนวยการเรียนรู ประกอบดวย วิวัฒนาการ

ของนาฏศิลปและละครไทย การแสดงนาฏศิลปไทย ความงามและคุณคานาฏศิลปไทย

และละครตะวันตก ซึ่งในแตละหนวยการเรียนรูไดจัดเนื้อหาใหมีความสอดคลองตอเนื่องกัน

เพื่อสงเสริมใหผูเรียนมีเจตคติที่ดีและเกิดทักษะ ตลอดจนไดพัฒนาความรูและกระบวนการ

ทางนาฏศิลปมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะชวยใหผูเรียนไดเรียนรูอยางมีความสุข และรักที่จะเรียนรูนาฏศิลป

ในระดับสูงตอไป

หวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป ๔ เลมนี้ จะอํานวยประโยชน

ตอผูสอนที่จะนําไปประยุกตใชในการจัดการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพ

และบรรลุตามเปาหมายของหลักสูตร

Page 4: นาฏศิลป ๔academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1481079999_example.pdf · ๒. อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญในวงการนาฏศิลป

สารบัญ

๑หนวยการเรยีนรูท่ี

๒หนวยการเรยีนรูท่ี

วิวัฒนาการของนาฏศิลปและละครไทย ๑

การแสดงนาฏศิลปไทย ๒๔

ความหมายและความสําคัญของนาฏศิลป ๒

การละครไทยในสมัยตางๆ ๔

บุคคลสําคัญในวงการละครไทย ๑๖

กิจกรรมสงเสริมความรู ๒๒

คําถามพัฒนากระบวนการคิด ๒๓

องคประกอบของการแสดงนาฏศิลปไทย ๒๕

รําแมบทเล็ก ๔๐

ฟอนมาลัย ๙๙

กิจกรรมสงเสริมความรู ๑๒๘

คําถามพัฒนากระบวนการคิด ๑๒๙

๓หนวยการเรยีนรูท่ี

๔หนวยการเรยีนรูท่ี

ความงามและคุณคานาฏศิลปไทย ๑๓๐

ละครตะวันตก ๑๔๖

ความงามและคุณคาของนาฏศิลปไทย ๑๓๑

ประโยชนของการเรียนนาฏศิลป ๑๓๗

การวิจารณและการประเมินการแสดง ๑๔๑

กิจกรรมสงเสริมความรู ๑๔๕

คําถามพัฒนากระบวนการคิด ๑๔๕

ประวัติละครตะวันตก ๑๔๗

กิจกรรมสงเสริมความรู ๑๖๑

คําถามพัฒนากระบวนการคิด ๑๖๑

บรรณานุกรม ๑๖๒

Page 5: นาฏศิลป ๔academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1481079999_example.pdf · ๒. อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญในวงการนาฏศิลป

๑ ความหมายและความสําคัญของนาฏศิลป

๒ การละครไทยในสมัยตางๆ

๓ บุคคลสําคัญในวงการละครไทย

นาฏศลิปไทยมวีวิฒันาการอยางตอเนือ่งจากอดตีถงึปจจบุนั และมคีวามสมัพนัธกบัวฒันธรรม ประวัตศิาสตร

ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล อันเปนมรดกทางวัฒนธรรมของชาติไทย

มาตรฐานที่ ศ ๓.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของ

นาฏศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล

ตัวชี้วัด สิ่งที่นักเรียนพึงรูและปฏิบัติได

ศ ๓.๒ (๒) อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญในวงการนาฏศิลปและการละครของประเทศไทยในยุคสมัยตางๆ

(๓) บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลปและการละครไทยตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน

ศ ๓.๒ (๒) อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญในวงการนาฏศิลปและการละครของประเทศไทยในยุคสมัยตางๆ

มาตรฐานที่ ศ ๓.๒

นาฏศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล

บทเรียนนี้สอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

Page 6: นาฏศิลป ๔academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1481079999_example.pdf · ๒. อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญในวงการนาฏศิลป

ó

ความหมายและความสาํคญัของนาฏศิลป

นาฏศลิปเปนศิลปะสวนใหญสวนหน่ึงของชาต ิคาํวานาฏศลิปมคีวามหมายในทาํนองการรองราํ

ทําเพลง การใหความบันเทิงเริงใจอันรวมดวยความโนมเอียงของอารมณและความรูสึก สวนสําคัญ

ของนาฏศิลปสวนใหญอยูที่การละครเปนสําคัญ หากแตศิลปะประเภทนี้ตองอาศัยศิลปะแขนงอื่น

เขามาชวยสงเสรมิใหมคีวามงดงาม เชน ดนตรี การขบัรอง จติรกรรม ประตมิากรรม ชางทอง ปกสะดงึ

กลงึไหม ทัง้นีเ้พ่ือเปนการสงเสริมใหมีคณุคาของศลิปะแขนงนีย้ิง่ขึน้ ฉะนัน้คาํวานาฏศิลปจะเกดิขึน้ได

จาํตองอาศยัสวนตางๆ ทีก่ลาวมาประกอบเขารวมกนัเปนหน่ึงเดยีว จงึเกดิความงดงามสมบรูณแบบได

ศลิปะการแสดงของไทยทีส่รางความรืน่เริงบนัเทงิใจใหแกชนในชาตนิัน้มมีานานแลวตัง้แตสมยั

กอนประวัติศาสตร เนื่องดวยแผนดินสุวรรณภูมินี้เปนแผนดินที่มีความรมเย็น ประชาชนทั้งหลาย

ไดอยูอาศยัดวยความผาสกุตลอดมา เปนธรรมดาของมนษุยทีป่รารถนาหาความสขุ ยอมจะคดิประดษิฐ

สรางสรรคการแสดง เพื่อใชเปนเครื่องผอนคลายความทุกขใหบังเกิดความสุขในใจของตน

ที่มา : ศูนยศิลปะการแสดงสถาบันคึกฤทธิ์ การแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน พิเภกสวามิภักดิ์

นาฏศิลปไทยเปนศิลปะการแสดงเฉพาะของชาติไทย

เปนสิ่งที่แสดงความเปนอารยะ สิ่งใดที่เกี่ยวของกับศิลปะสิ่งนั้น

ยอมนําความเจริญมาสูสังคม นาฏศิลปเปนเครื่องแสดงถึงความ

เจริญของชาติ นับตั้งแตวัฒนธรรม ความเปนอยู และความสามารถ

ประเทศชาติบานเมืองจะรุงเรืองดีก็ดวยประชาชนที่มีหัวใจ

เปนศิลปะ เขาใจและซาบซ้ึงในศิลปะดี เพราะศิลปะเปนสิ่งมีคา

โนมนาวอารมณ โดยเฉพาะการละครสามารถกลอมจิตใจโนมนาว

ไปในทางที่ดีงาม ยังอารมณใหแชมชื่นแจมใส เปนทางนําใหเกิด

ความคดิและกาํลงัใจ ในอนัทีจ่ะสรางบานเมอืงใหเจรญิรุงเรอืงสบืไป

นาฏศลิปไมเพยีงเปนแหลงรวมศลิปะในการละครเฉพาะการรองราํ

และดนตรเีทานัน้ ศลิปะดานอืน่ๆ เปนตนวา การเขียน การกอสราง

การไฟฟา การแตงกาย เย็บปกถักรอย ตลอดจนถึงวรรณคดี

ก็รวมอยูดวยเพื่อเปนองคประกอบของการละครที่สมบูรณแบบ

และมีคุณคาตามสมควร ซึ่งศิลปะประเภทนั้นๆ ยอมมีความสําคัญ

ในตัวเองทั้งสิ้น ดังนั้นจะเห็นไดวานาฏศิลป หรือศิลปะการรองรํา

ทําเพลงนี้มาจากความสําคัญของศิลปะหลายๆ ประเภทดวยกัน

ซึ่งตองทําดวยความประณีต สุขุม เพราะศิลปะเปนสิ่งที่สําคัญ

ของชาติ มนุษยทุกชาติ ทุกภาษาตองมีศิลปะเปนของประจําตน

อันมีมาแตโบราณแลว

รูปปนนูนสูงสมัยทวารวดี

ที่แสดงทารายรํา จัดแสดง

อยูที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ

อูทอง

ที่มา : http://www.muangboranjournal.com/

ò