แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก...

27
บทที2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ การศึกษาเรื่อง ทัศนคติ และพฤติกรรมของพนักงาน บริษัท เอส ดับบลิว พรีซิชั่น จํากัด ตอโครงการโรงงานสีขาว ผูวิจัยไดศึกษาคนควาเอกสาร บทความ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทีเกี่ยวของ สรุปสาระสําคัญ ดังตอไปนีแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ความเปนมาของ บริษัท เอส. ดับบลิว. พรีซิชั่น จํากัด โครงการโรงงานสีขาวของบริษัท เอส. ดับบลิว. พรีซิชั่น จํากัด งานวิจัยที่เกี่ยวของ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ แนวคิด ทฤษฎีเคเอพี (ความรู ทัศนคติ และพฤติกรรม) ทฤษฎีนีเปนทฤษฎีที่ใหความสําคัญกับตัวแปร 3 ตัว คือ ความรู (Knowledge) ทัศนคติ (Attitude) และการยอมรับปฎิบัติ (Practice) ของผูรับสารอันอาจมีผลกระทบตอสังคมตอไป จาก การรับสารนั้น การเปลี่ยนแปลงทั้งสามประเภทนี้จะเกิดขึ้น ในลักษณะตอเนื่อง กลาวคือ เมื่อผู รับสาร ไดรับสารก็จะทําใหเกิดความรู เมื่อเกิดความรูขึ ้น ก็จะไปมีผลทําใหเกิด ทัศนคติ และ ขั้นสุดทาย คือ การกอใหเกิดการกระทํา ทฤษฎีนี้อธิบาย การสื่อสาร หรือสื่อมวลชน วาเปนตัวแปร ตน ที่สามารถ เปนตัวนํา การพัฒนาเขาไปสูชุมชนได ดวยการอาศัย KAP เปนตัวแปรตามในการวัด ความสําเร็จ ของการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา (สุรพงษ โสธนะเสถียร, 2533, หนา 118) จะเห็นไดวา สื่อมวลชนมีบทบาทสําคัญในการนําขาวสารตาง ไปเผยแพรเพื่อใหประชาชนในสังคมไดรับ ทราบวา ขณะนี้ในสังคมมีปญหาอะไร เมื่อประชาชนไดรับทราบ ขาวสารนั้น ยอมกอใหเกิด ทัศนคติ และเกิดพฤติกรรมตอไป ซึ่งมีลักษณะสัมพันธกันเปนลูกโซ เปนที่ยอมรับกันวา การสื่อสารมีบทบาทสําคัญในการดําเนินโครงการตาง ใหบรรลุผลสําเร็จ ตามที่ตั้งเปาหมายไว การที่คนเดินเทามีพฤติกรรมการปฎิบัติตาม กฎจราจรได ก็ตองอาศัย การสื่อสารเปนเครื่องมืออัน สําคัญใน การเพิ่มพูนความรู สรางทัศนคติที่ดี และเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ไปในทางทีเหมาะสม โดยผานสื่อชนิดตาง ไปยังประชาชน กลุมเปาหมาย ซึ่งตองประกอบดวย (สุรพงษ โสธนะเสถียร, 2533, หนา 120 – 121 )

Transcript of แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก...

Page 1: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

7

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษาเรื่อง ทัศนคติ และพฤติกรรมของพนักงาน บริษัท เอส ดับบลิว พรีซิช่ัน จํากัด ตอโครงการโรงงานสีขาว ผูวิจัยไดศกึษาคนควาเอกสาร บทความ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ สรุปสาระสําคัญ ดังตอไปนี ้ แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจยัที่เกี่ยวของ ความเปนมาของ บริษัท เอส. ดับบลิว. พรีซิชั่น จํากัด โครงการโรงงานสีขาวของบริษัท เอส. ดับบลิว. พรีซิช่ัน จํากัด งานวิจยัที่เกี่ยวของ

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ แนวคดิ ทฤษฎีเคเอพี (ความรู ทัศนคติ และพฤติกรรม) ทฤษฎีนี้ เปนทฤษฎีที่ใหความสําคัญกับตัวแปร 3 ตวั คือ ความรู (Knowledge) ทัศนคติ(Attitude) และการยอมรับปฎิบัติ (Practice) ของผูรับสารอันอาจมีผลกระทบตอสังคมตอไป จากการรับสารนั้น ๆ การเปลี่ยนแปลงทั้งสามประเภทนี้จะเกิดขึ้น ในลักษณะตอเนื่อง กลาวคือ เมื่อผู รับสาร ไดรับสารก็จะทําใหเกิดความรู เมือ่เกิดความรูขึน้ ก็จะไปมีผลทําใหเกิด ทัศนคติ และ ขั้นสุดทาย คือ การกอใหเกิดการกระทํา ทฤษฎีนี้อธิบาย การสื่อสาร หรือส่ือมวลชน วาเปนตวัแปรตน ที่สามารถ เปนตัวนํา การพัฒนาเขาไปสูชุมชนได ดวยการอาศัย KAP เปนตัวแปรตามในการวัดความสําเร็จ ของการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา (สุรพงษ โสธนะเสถียร, 2533, หนา 118) จะเห็นไดวา ส่ือมวลชนมีบทบาทสําคัญในการนําขาวสารตาง ๆ ไปเผยแพรเพื่อใหประชาชนในสังคมไดรับทราบวา ขณะนี้ในสังคมมีปญหาอะไร เมือ่ประชาชนไดรับทราบ ขาวสารนั้น ๆ ยอมกอใหเกิด ทัศนคติ และเกิดพฤติกรรมตอไป ซ่ึงมีลักษณะสัมพันธกันเปนลูกโซ เปนที่ยอมรับกันวา การสื่อสารมีบทบาทสําคัญในการดําเนินโครงการตาง ๆ ใหบรรลุผลสําเร็จ ตามที่ตั้งเปาหมายไว การที่คนเดินเทามีพฤตกิรรมการปฎิบัติตาม กฎจราจรได ก็ตองอาศัย การสื่อสารเปนเครื่องมืออันสําคัญใน การเพิ่มพูนความรู สรางทัศนคติที่ดี และเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ไปในทางที่เหมาะสม โดยผานสื่อชนิดตาง ๆ ไปยังประชาชน กลุมเปาหมาย ซ่ึงตองประกอบดวย (สุรพงษ โสธนะเสถียร, 2533, หนา 120 – 121 )

Page 2: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

8

ความรู เปนการรับรูเบื้องตน ซ่ึงบุคคลสวนมาก จะไดรับผาน ประสบการณ โดยการเรยีนรูจากการตอบสนองตอส่ิงเรา (S – r) แลวจัดระบบเปนโครงสรางของความรูที่ผสมผสานระหวางความจํา (ขอมลู) กับสภาพจติวิทยา ดวยเหตุนี้ความรูจึงเปนความจํา ที่เลือกสรร ซ่ึงสอดคลองกับสภาพจิตใจของตนเอง ความรูจึงเปนกระบวนการภายใน อยางไรก็ตามความรูก็อาจสงผลตอพฤติกรรมที่แสดงออกของมนุษยได และผลกระทบที่ผูรับสารเชิงความรูในทฤษฎีการสื่อสารนั้นอาจปรากฎไดจากสาเหตุ 5 ประการ คือ 1. การตอบขอสงสัย (Ambiguity Resolution ) การสื่อสารมักจะสรางความสับสนใหสมาชิกในสังคม ผูรับสาร จึงมักแสวงหา สารสนเทศ โดยการอาศยัส่ือ ทั้งหลาย เพือ่ตอบขอสงสัยและความสับสนของตน 2. การสรางทัศนะ (Attitude Formation) ผลกระทบเชิงความรูตอการปลูกฝงทัศนะนัน้สวนมากนยิมใชกับสารสนเทศที่เปนนวัตกรรม เพื่อสรางทัศนะคติ ใหคนยอมรับการแพรนวัตกรรมนัน้ ๆ (ในฐานะความรู) 3. การกําหนดวาระ (Agenda Setting) เปนผลกระทบเชงิความรูที่ส่ือกระจายออกไป เพื่อใหประชาชนตระหนักและผูกพันกับประเด็นวาระทีส่ื่อกําหนดขึ้น หากตรงกับภมูิหลังของปจเจกชน และคานิยมของสงัคมแลว ผูรับสารก็จะเลือกสารสนเทศนั้น 4. การพอกพนูระบบความเชื่อ (Expansion of Belief System) การสื่อสารสังคม มักกระจายความเชื่อ คานิยม และอุดมการณดานตาง ๆ ไปสูประชาชน จึงทําใหผูรับสารรับทราบระบบความเชือ่ถือ หลากหลาย และลึกซึ้งไวใน ความเชื่อของตนมากขึน้ไปเรื่อย ๆ 5. การรูแจงตอคานิยม (Value Clarification) ความขัดแยงในเรื่องคานยิมและอุดมการณเปนภาวะปกตขิองสังคม ส่ือมวลชนที่นําเสนอขอเท็จจริงในประเด็นเหลานี้ ยอมทําใหประชาชนผูรับสารเขาใจถึงคานิยมเหลานั้นแจงชัดขึน้ Good (1973, p. 325) กลาววาความรูเปนขอเท็จจริง (Facts) ความจริง (Truth) เปนขอมลูที่มนุษยไดรับและเก็บรวบรวมจากประสบการณตาง ๆ การที่บุคคลยอมรับหรือปฎิเสธสิ่งใดสิ่งหนึ่งไดอยางมเีหตุผล บุคคลควร จะตองรูเรื่องเกี่ยวกับสิง่นั้น เพื่อประกอบการตัดสนิใจ นัน่ก็คือ บุคคลจะตองมีขอเท็จจริง หรือขอมูลตาง ๆ ที่สนับสนุนและใหคําตอบขอสงสัยที่บุคคลมีอยู ช้ีแจงใหบุคคลเกิดความเขาใจและทัศนคติ ที่ดีตอเรื่องใดเรื่องหนึ่ง รวมทั้งเกิดความตระหนัก ความเชื่อ และคานยิมตาง ๆ ดวย

Page 3: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

9

ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2520, หนา 16) กลาววา ความรูเปนพฤติกรรมขั้นตน ซ่ึงผูเรียนเพียงแตจําไว อาจจะโดยการนึกไดหรือโดยการมองเหน็หรือไดยิน จาํได ความรูขัน้นี้ ไดแก ความรูเกี่ยวกับคําจํากดัความ ความหมาย ขอเท็จจริง ทฤษฎี กฎ โครงสราง และวิธีการแกปญหาเหลานี ้ Bloom (1967, p. 271) ไดใหความหมายของความรูวา ความรู เปนสิ่งที่ เกี่ยวของ กับการระลึกถึง เฉพาะเรื่อง หรือเรื่องทั่ว ๆ ไประลึกถึงวธีิ กระบวนการหรือสถานการณตาง ๆ โดยเนนความจํา 1. ความรู ทําใหทราบถึงความสามารถในการจําและการระลึกถึงเหตุการณหรือประสบการณที่เคยพบมาแลว แบงออกเปน ความรูเกีย่วกับเนื้อหาวิชาโดยเฉพาะ ความรูเกีย่วกับวิธีและการดําเนนิการที่เกีย่วกบัสิ่งใดสิ่งหนึง่ความรูเกี่ยวกบัการรวบรวมแนวความคดิและโครงสราง 2. ความเขาใจ ทําใหทราบถึงความสามารถในการใชสติปญญาและทักษะเบื้องตนแบงออกเปนการแปลความ คือการแปลจากแบบหนึ่งไปสูอีกแบบหนึ่ง โดยรักษาความหมาย ไดถูกตอง 3. การนําไปใช 4. การวิเคราะห 5.การสังเคราะห 6. การประเมนิคา Meredith (1961, p. 10 อางถึงใน โสภิตสุดา มงคลเกษม, 2539, หนา 62) ไดพดูถึงความรูวา จําเปนตองมีองคประกอบ 2 ประการ คือ ความเขาใจ (Understanding) และการคงอยู (Retaining) เพราะความรู หมายถึง ความสามารถจดจําได ในบางสิ่งบางอยาง ที่เราเขาใจมาแลว Burgoon (1974, p. 64 อางถึงใน ปรมะ สตะเวทิน, 2540, หนา 116-117) และ River Peterson and Jensen (1971, p. 283 อางถึงใน ปรมะ สตะเวทิน, 2540, หนา 116-117) ไดกลาวถึง การศึกษาหรือความรูวาเปนลักษณะ อีกประการหนึ่ง ทีม่ีอิทธิพลตอผูรับสาร ดังนั้น คนที่ไดรับการศึกษาในระดบัที่ตางกัน ในยุคสมัยที่ตางกนั ในระบบการศึกษาที่ตางกนั ในสาขาวิชาที่ตางกันจึงยอมมีความรูสึกนึกคิด อุดมการณ และความตองการ ที่แตกตางกนัไป คนที่มีการศึกษาสูงหรือมีความรูดี จะไดเปรียบอยางมากในการที่จะเปนผูรับสารที่ดี เพราะคนเหลานี้ มีความรูกวางขวางในหลายเรื่อง มีความเขาใจศัพทมาก และมีการเขาใจสารไดดี แตคนเหลานี้มักจะเปนคนที่ไมคอยเชื่ออะไรงาย ๆ การเกิดความรูไมวาระดับใดก็ตาม ยอมมีความสัมพันธกบัความรูสึกนกึคิด ซ่ึงเชื่อมโยงกับการเปดรับขาวสาร ของบุคคลนั้นเอง รวมไปถึงประสบการณและลักษณะทางประชากร(การศึกษา เพศ อายุ ฯลฯ) ของแตละคน ทีเ่ปนผูรับขาวสาร ถาประกอบกับการที่บุคคลมีความพรอมในดานตาง ๆ เชน มีการศึกษา มีการเปดรับขาวสาร ถาประกอบกับการที่บุคคลมีความพรอมในดานตาง ๆ เชน มีการศึกษา มีการเปดรบัขาวสาร เกี่ยวกับกฎจราจร ก็มีโอกาส ที่จะมีความรูใน

Page 4: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

10

เร่ืองนี้ และสามารถเชื่อมโยงความรูนั้นเขากับสภาพแวดลอมได สามารถระลึกไดรวบรวมสาระสําคัญ เกี่ยวกับ กฎจราจร รวมทั้งสามารถวิเคราะห สังเคราะห รวมทั้งประเมินผลไดตอไป และเมื่อประชาชน เกิดความรูเกี่ยวกับ กฎจราจร ไมวาจะในระดบัใดก็ตาม ส่ิงที่เกิด ตามมาก็คือ ทัศนคติ ความคดิเห็นในลักษณะตาง ๆ (ดาราวรรณ ศรีสุกใน, 2542, หนา 41) ทัศนคติ เปนแนวความคิดที่มีความสาํคัญมากแนวหนึ่งทาง จิตวทิยาสังคม และ การสื่อสาร และมีการใชคํานี้กนัอยางแพรหลาย สําหรับการนิยามคําวา ทศันคตินั้น ไดมนีักวิชาการหลายทานใหความหมายไว ดังนี้ Roger (1978, pp. 208-209 อางถึงใน สุรพงษ โสธนะเสถียร, 2534, หนา 122) ไดกลาวถึง ทศันคติ วาเปนดัชนีช้ีวาบุคคลนั้นคิดและรูสึกอยางไร กบัคนรอบขาง วัตถุหรือส่ิงแวดลอมตลอดจนสถานการณตาง ๆ โดยทัศนคติ นัน้มีรากฐานมาจากความเชื่อที่อาจสงผลถึงพฤติกรรมในอนาคตได ทัศนคติ จึงเปนเพยีงความพรอมที่จะตอบสนองตอส่ิงเรา และเปนมิติของการประเมิน เพื่อแสดงวาชอบหรือไมชอบ ตอประเด็นหนึ่ง ๆ ซ่ึงถือเปนการสื่อสารภายในบุคคล(Interpersonal Communication) ที่เปนผลกระทบมาจากการรับสาร อันจะมีผลตอพฤติกรรมตอไป Rosenberg & Hovland (1960, p. 1) ไดใหความหมายของทัศนคติ ไววา ทัศนคติ โดยปกติสามารถนิยามวาเปนการจูงใจตอแนวโนมใน การตอบสนองอยางเฉพาะเจาะจงกับสิ่งที่เกิดขึน้ Kendler (1963, p. 572 อางถึงใน สุรพงษ โสธนะเสถียร, 2533, หนา 128) กลาววา ทัศนคติ หมายถึง สภาวะความพรอมของบุคคล ที่จะแสดงพฤติกรรมออกมา ในทางสนับสนุน หรือตอตานบุคคล สถาบัน สถานการณ หรือแนวความคิด Good (1973, p. 48) ใหคําจาํกัดไววา ทัศนคติ คือ ความพรอมที่จะแสดงออกในลักษณะใดลักษณะหนึง่ ที่เปนการสนับสนุน หรือตอตานสถานการณบางอยาง บุคคล หรือส่ิงใด Newcomb (1854, p. 128 อางถึงใน สุรพงษ โสธนะเสถียร, 2533, หนา 130) ใหคําจํากัดความไววา ทัศนคตซ่ึิงมีอยูในเฉพาะคนนั้น ขึ้นกับสิ่งแวดลอม อาจแสดงออกในพฤติกรรม ซ่ึงเปนไปไดใน 2 ลักษณะ คือ ลักษณะชอบหรือพึงพอใจ ซ่ึงทําใหผูอ่ืนเกิดความ รักใคร อยากใกลชดิสิ่งนั้น ๆ หรืออีกลักษณะหนึ่ง แสดงออก ในรูปความไมพอใจ เกลียดชังไมอยากใกลส่ิงนั้น Munn (1971, p. 71 อางถึงใน สุรพงษ โสธนะเสถียร, 2533, หนา 128) กลาววา ทัศนคติ คือ ความรูสึก และความคิดเห็นที่บุคคลมีตอส่ิงของ บุคคล สถานการณ สถาบัน และขอเสนอใด ๆ ในทางที่จะยอมรับ หรือปฏิเสธ ซ่ึงมีผลทําใหบุคคลพรอมที่จะแสดงปฏิกิริยาตอบสนองดวยพฤติกรรมอยางเดียวกันตลอด

Page 5: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

11

Murphy and Newcomb (1973, p.887 อางถึงใน ศักดิ์ สุนทรเสณี, 2531, หนา 15) ใหความหมายของคําวา ทัศนคติ หมายถึง ความชอบหรือไมชอบ พึงใจ หรือไมพึงใจที่บุคคลแสดงออกมาตอส่ิงตาง ๆ เดโช สวนานนท (2512, หนา 28) กลาวถึง ทัศนคติ วาเปนบุคลิกภาพที่สรางขึ้นไดเปล่ียนแปลงได และเปนแรงจูงใจทีก่ําหนดพฤติกรรมของบุคคล ที่มีตอส่ิงแวดลอมตาง ๆ ศักดิ์ สุนทรเสณี (2531, หนา 2) กลาวถึง ทศันคติ ที่เชื่อมโยงไปถึงพฤติกรรมของบุคคลวาทัศนคติ หมายถึง 1. ความสลับซับซอนของความรูสึก หรือการมีอคติของบุคคล ในการที่จะ สรางความพรอม ที่จะกระทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ตามประสบการณของบคุคลนั้น ที่ไดรับมา 2. ความโนมเอียง ที่จะมีปฏิกิริยาตอส่ิงใดสิ่งหนึ่งในทางที่ดีหรือ ตอตานสิ่งแวดลอมที่จะมาถึงทางหนึ่งทางใด 3. ในดานพฤตกิรรม หมายถงึ การเตรียมตวั หรือความพรอมที่จะตอบสนอง จากคําจํากัดความตาง ๆ เหลานี้ จะเห็นไดวามีประเดน็รวมที่สําคัญ ดังนี ้ ความรูสึกภายในความพรอม หรือแนวโนมที่จะมีพฤติกรรมในทางใดทางหนึ่ง ดังนัน้จึงสรุปไดวา ทัศนคติ เปนความสัมพันธที่คาบเกี่ยวกนัระหวางความรูสึก และความเชื่อ หรือการรูของบุคคล กับแนวโนมที่จะมี พฤตกิรรมโตตอบ ในทางใดทางหนึ่งตอเปาหมายของทัศนคตินั้น โดยสรุปทัศนคติ ในงานที่นี้เปนเรื่องของจิตใจ ทาทีความรูสึกนึกคิด และความโนมเอียงของบุคคล ที่มีตอขอมูลขาวสาร และการเปดรับ รายการกรองสถานการณ ที่ไดรับมาซึ่งเปนไปไดทัง้เชิงบวก และเชิงลบ ทัศนคติ มีผลใหมีการแสดง พฤติกรรม ออกมา จะเหน็ไดวาทัศนคติ ประกอบดวย ความคิดที่มีผลตออารมณ และความรูสึกนั้นออกมา โดยทางพฤติกรรม องคประกอบของการเรียนรู จากความหมายของ ทัศนคต ิดังกลาว Zimbardo & Bbesen (1970 อางถึงใน พรทิพย บุญนิพัทธ, 2539, หนา 49) สามารถแยกองคประกอบของ ทัศนคติได 3 ประการ คือ 1. องคประกอบดานความรู (The Cognitive Component) คือ สวนที่เปนความเชื่อของบุคคล ที่เกี่ยวกับสิ่งตาง ๆ ทั่วไปทั้งที่ชอบ และไมชอบ หากบุคคลมีความรู หรือคิดวาสิ่งใดดีมักจะมีทัศนคติที่ดีตอส่ิงนั้น แตหากมีความรูมากอนวาสิ่งใดไมดี ก็จะมีทัศนคติ ที่ไมดีตอส่ิงนั้นองคประกอบดานความรูสึก (The Affective Component) คือ สวนที่เกีย่วของกับอารมณที่เกีย่วเนื่องกับสิ่งตาง ๆ ซ่ึงมีผลแตกตางกัน ไปตามบุคลิกภาพของคนนั้น เปนลักษณะที่เปนคานิยมของแตละบุคคล

Page 6: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

12

2. องคประกอบดานพฤติกรรม (The Behavioral Component) คือ การแสดงออกของบุคคลตอส่ิงหนึ่ง หรือบุคคลหนึ่ง ซ่ึงเปนผลมาจาก องคประกอบดานความรู ความคดิ และความรูสึก จะเห็นไดวา การที่บุคคลมีทัศนคติตอส่ิงหนึ่งสิ่งใดตางกนั ก็เนื่องมาจากบุคคลมีความเขาใจ มีความรูสึก หรือมีแนวความคิด แตกตางกันนั้นเอง ดังนั้น สวนประกอบทางดานความคดิหรือความรูความเขาใจ จึงนบัไดวาเปนสวนประกอบขั้นพื้นฐานของทศันคติ และสวนประกอบนี้จะเกี่ยวของสัมพันธกับความรูสึกของบุคคล อาจออกมาในรูปแบบแตกตางกัน ทั้งในทางบวก และทางลบ ซ่ึงขึ้นอยูกับประสบการณ และการเรียนรู การเกิดทัศนคติ Allport (1975) ไดใหความเหน็เรื่อง ทัศนคติวาอาจเกิดขึน้จากสิ่งตาง ๆ ดังนี้ 1. เกิดจากการเรียนรู เดก็เกดิใหมจะไดรับการอบรมสั่งสอนเกี่ยวกับ วัฒนธรรม และประเพณจีากบดิามารดา ทั้งโดยทางตรง และทางออม ตลอดจนไดเหน็แนวการปฏิบัตขิองพอแมแลว รับมาปฏิบัติตามตอไป 2. เกิดจากความสามารถในการแยกแยะความแตกตาง คือ แยกสิ่งใดดี ไมดี เชน ผูใหญกับเด็ก จะมกีารกระทําที่แตกตางกัน 3. เกิดจากประสบการณของแตละบุคคล ซ่ึงแตกตางกันออกไป เชน บางคนมีทัศนคต ิไมดีตอครู เพราะเคยตําหนิตน แตบางคน มีทัศนคติที่ดีตอครูคนเดียวกนันั้น เพราะเคยเชยชมตน เสมอ 4. เกิดจากการเลียน แบบ หรือรับเอาทัศนคติของผูอ่ืนมาเปนของตน เชน เด็กอาจรับ ทัศนคติ ของบิดามารดา หรือครูที่ตนนิยมชมชอบ มาเปนทัศนคติ ของตนได Kretch and Crutchfield (1948) ไดใหความเห็นวา ทัศนคติ อาจเกิดขึน้จาก 1. การตอบสนองความตองการของบุคคล นั่นคือ ส่ิงใดตอบสนองความตองการของตนไดบุคคลนั้นกม็ีทัศนคติที่ดีตอส่ิงนั้น หากสิง่ใดตอบสนองความตองการของตนไมไดบุคคลนั้นก็จะมีทัศนคติ ไมดีตอส่ิงนั้น 2. การไดเรียนรูความจริงตาง ๆ อาจโดยการอาน หรือ จากคําบอกเลาของผูอ่ืน ก็ไดฉะนั้น บางคนจึงอาจเกดิทัศนคติ ไมดีตอผูอ่ืน จากการฟงคําติฉินที่ใคร ๆ มาบอกไวกอนก็ได 3. การเขาไปเปนสมาชิก หรือสังกัดกลุมใดกลุมหนึ่ง คนสวนมากมกัยอมรับเอา ทัศนคติของกลุมมาเปนของตน หาก ทัศนคติ นั้นไมขัดแยงกับ ทศันคติ ของตนเกินไป

Page 7: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

13

4. ทัศนคติ สวนสําคัญกับบุคลิกภาพของบคุคลนั้นดวย คอื ผูที่มีบุคลิกภาพสมบูรณมกัมองผูอ่ืนในแงดี สวนผูปรับตัวยากจะมี ทศันคติในทางตรงขาม คือ มักมองวา มีคนคอยอิจฉาริษยา หรือคิดรายตาง ๆ ตอตน ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2520, หนา 64-65) กลาวถึงการเกิด ทัศนคติวา ทศันคติเปนสิ่ง ที่เกิดจากการเรียนรู จากแหลงทัศนคติตาง ๆ ที่อยูมากมาย และ แหลงทีท่ําใหคนเกิด ทัศนคติที่สําคัญ คือ 1. ประสบการณเฉพาะอยาง (Specific Experience) เมื่อบคุคลมีประสบการณเฉพาะอยางตอส่ิงหนึ่งสิ่งใดในทางที่ดหีรือไมดี จะทาํใหเขาเกิดทัศนคติตอส่ิงนั้นไปในทางทีด่หีรือไมดีจะทําใหเกิด ทัศนคติ ตอส่ิงนั้นไปในทิศทางที่เขาเคยมีประสบการณมากอน 2. การติดตอส่ือสารจากบุคคลอื่น (Communication From Others) จะทําใหเกิด ทัศนคติจากการรับรูขาวสารตาง ๆ จากผูอ่ืนได เชน เด็กทีไ่ดรับการสั่งสอนการผูใหญจะเกิดทัศนคติตอการกระทําตาง ๆ ตามที่เคยรับรูมา 3. ส่ิงที่เปนแบบอยาง (Models) การเลียนแบบผูอ่ืนทําใหเกิด ทัศนคติ ขึน้ได เชน เดก็ที่เคารพเชื่อฟงพอแม จะเลียนแบบการแสดงทาชอบ หรือไมชอบตอส่ิงหนึ่งตามไปดวย 4. ความเกีย่วของกับสถาบัน (Institutional Factors) ทัศนคติ หลายอยางของบุคคลเกิดขึ้นเนื่องจากความเกี่ยวของกับสถาบัน เชน ครอบครัว โรงเรียน หรือหนวยงาน เปนตน การกอเกดิทัศนคติ ธงชัย สันติวงษ (2539, หนา 166-167) กลาววา ทัศนคติ กอตัวเกดิขึ้นมา และ เปล่ียนแปลงไป เนื่องจากปจจัย หลายประการดวยกัน คอื 1. การจูงใจทางรางกาย (Biological Motivation) ทัศนคติ จะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลใด บุคคลหนึ่ง กําลังดําเนินการตอบสนองตามความตองการ หรือแรงผลักดันทางรางกาย ตวับคุคล จะสรางทัศนคติที่ดีตอบุคคลหรือส่ิงของ ที่สามารถชวยใหเขามโีอกาสตอบสนองความตองการของตนได 2. ขาวสารขอมูล (Information) ทัศนคติ จะมีพื้นฐานมาจากชนิดและขนาดของขาวสารที่ไดรับ รวมทั้งลักษณะของแหลงที่มาของขาวสาร ดวยกลไกของการเลือกเฟนในการมองเห็นและเขาใจปญหาตาง ๆ (Selective Perception) ขาวสารขอมูลบางสวนที่เขามาสูบุคคลนั้น จะทําใหบุคคลนั้นเก็บไปคิด และสรางเปนทัศนคต ิขึ้นมาได 3. การเขาเกี่ยวของกับกลุม (Group Affiliation) ทัศนคติ บางอยางอาจมาจากกลุมตาง ๆที่ชบุคคลเกี่ยวของอยูทั้งโดยทางตรง และทางออม เชน ครอบครัว วัด กลุมเพื่อนรวมงาน กลุมกฬีากลุมสังคมตาง ๆ โดยกลุมเหลานี้ ไมเพียงแตเปนแหลงรวมของคานิยมตาง ๆ แตยังมีการถายทอด

Page 8: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

14

ขอมูลใหแกบคุคลในกลุม ซ่ึงทําใหสามารถสรางทัศนคติขึ้นได โดยเฉพาะครอบครัวและกลุมเพือ่นรวมงาน เปนกลุมที่สําคัญที่สุด (Primary Group) ที่จะเปนแหลงสรางทัศนคติใหแกบุคคลได 4. ประสบการณ (Experience) ประสบการณของคนที่มีตอวัตถุส่ิงของ ยอมเปนสวนสําคัญที่จะทําใหบุคคลตาง ๆ ตีคาสิ่งที่เขาไดมีประสบการณมาจนกลายเปน ทัศนคต ิได 5. ลักษณะทาทาง (Personality) ลักษณะทาทางหลายประการตางก็มีสวนทางออมที่สําคัญในการสราง ทัศนคติ ใหกับตวับุคคล ปจจัยตาง ๆ ของการกอตัวของทัศนคติ เทาที่กลาวมาขางตนนั้น ในความเปนจริง จะมิไดมีการเรียงลําดบัตามความสําคัญแตอยางใดเลย ทั้งนี้เพราะปจจยัแตละทางเหลานี้ ตัวไหนจะมีความสําคัญตอการกอตัวของ ทัศนคติ มากหรือนอย ยอมสุดแลวแตวาการพิจารณาสรางทัศนคติตอส่ิงดังกลาว จะเกี่ยวของกับปจจัยใดมากที่สุด ประเภทของทศันคติ บุคคลสามารถแสดง ทัศนคต ิออกได 3 ประเภทดวยกนั คือ 1. ทัศนคติทางเชิงบวก เปนทศันคติที่ชักนําใหบุคคลแสดงออก มีความรูสึก หรืออารมณจากสภาพจิตใจโตตอบในดานดีตอบุคคลอื่น หรือเรื่องราวใดเรื่องราวหนึ่ง รวมทั้งหนวยงาน องคกรสถาบัน และการดําเนินกิจการขององคการอื่น ๆ เชน กลุมชาวเกษตรกร ยอมมีทัศนคติทางบวก หรือมีความรูสึกที่ดีตอสหกรณการเกษตร และใหสนับสนุนรวมมือดวยการเขาเปนสมาชิก และรวมในกิจกรรมตาง ๆ อยูเสมอ เปนตน 2. ทัศนคติทางลบ หรือไมดี คือ ทัศนคติ ที่สรางความรูสึกเปนไปในทางเสื่อมเสีย ไมไดรับความเชื่อถือ หรือไววางใจ อาจมีความเคลือบแคลงระแวงสงสัย รวมทั้งเกลียดชงัตอบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เร่ืองราว หรือปญหาใดปญหาหนึ่ง หรือหนวยงานองคการ สถาบัน และการดําเนนิกิจการขององคการ และอ่ืน ๆ เชน พนักงาน เจาหนาที่บางคน อาจมีทัศนคติเชิงลบตอบริษัทกอใหเกิดอคตขิึ้นในใจของเขาจนพยายามประพฤติ และปฏิบัติตอตานกฎระเบยีบของบริษัท อยูเสมอ 3. ทัศนคติที่บุคคลไมแสดงความคิดเหน็ในเรื่องราวหรอืปญหาใดปญหาหนึ่ง หรือตอ บุคคล หนวยงาน สถาบัน องคการ และอ่ืน ๆ โดยส้ินเชิง เชน นักศกึษาบางคนอาจมีทศันคตินิ่งเฉยอยางไมมีความคิดเห็นตอปญหาโตเถียง เรื่องกฎระเบียบวาดวยเครื่องแบบของนักศกึษา ทัศนคติทั้ง 3 ประเภทนี้ บุคคลอาจจะมีเพยีงประการเดียวหรือหลายประการก็ไดขึ้นอยูกับความมั่นคงในความรูสึกนึกคิด ความเชื่อ หรือคานิยมอื่น ๆ ที่มีตอบคุคล ส่ิงของการกระทํา หรือสถานการณ หนาที่ของทัศนคติ

Page 9: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

15

Kretch and Crutchfield (1948, pp. 163-191) ไดอธิบายถึงหนาที่หรือกลไกของทัศนคติที่สําคัญไว 4 ประการ ดังนี ้ 1. เพื่อใชสําหรับการปรับตัว (Adjustment) หมายความวา ตัวบุคคลทุกคนจะอาศยัทัศนคติ เปนเครื่องยึดถือสําหรับการปรับพฤติกรรมของตน ใหเปนไปในทางที่จะกอใหเกดิประโยชนแกตนสูงที่สุด และใหมีผลเสียนอยที่สุด ดังนี ้ทัศนคติ จึงสามารถเปนกลไก ที่จะสะทอนใหเห็น ถึงเปาหมายที่พึงประสงคและที่ไมพึงประสงคของเขา และดวยส่ิงเหลานี้เอง ที่จะทําใหแนวโนมของพฤติกรรมเปนไป ในทางที่ ตองการ มากทีสุ่ด 2. เพื่อปองกันตัว (Ego-defensive) โดยปกติในทุกขณะ คนทั่วไปมกัจะมีแนวโนมทีจ่ะไมยอมรับความจริง ในสิ่งซึ่งเปนที่ขัดแยงกับความนกึคดิของตน (Self-image) ดังนี้ ทัศนคติจึงสามารถ สะทอนออกมาเปนกลไกที่ปองกนัตัว โดยการแสดงออกเปนความรูสึกดูถูหยามหรือติฉินนินทาคนอื่น และขณะเดยีวกัน ก็จะยกตนเองใหสูงกวาดวย การมีทัศนคติที่ถือวาตนนั้นเหนือกวาผูอ่ืน การกอตวัที่เกดิขึ้นมาของทัศนคติ ในลักษณะนี้ จะมีลักษณะแตกตางจากการมทีัศนคติ เปนเครื่องมือในการปรับตัว ดังที่กลาวมาแลวขางตน กลาวคือ ทัศนคติจะมิใชพัฒนาขึ้นมาจากการมีประสบการณกับสิ่งนั้น ๆ โดยตรง หากแตเปนสิ่งที่เกิดขึ้นจากภายในตัวผูนั้นเอง และส่ิงที่เปนเปาหมายของการแสดงออก มาซึ่งทัศนคตินั้น ก็เปนเพยีงสิ่งที่เขาผูนั้น หวังใชเพียงเพื่อการระบายความรูสึก เทานั้น 3. เพื่อการแสดงความหมายของคานิยม (Value Expressive) ทัศนคติ จะเปนมาตรฐานที่ตัวบุคคลจะสามารถใชประเมิน และทําความเขาใจกับสภาพแวดลอมที่มีอยูรอบตัวเขา ดวยกลไกดังกลาวที่ทําใหตัวบุคคลสามารถรู และเขาใจถึงระบบ และระเบียบของสิ่งตาง ๆ ที่อยูในรอบตวัเขาได การเปลี่ยนทัศนคติ Kelman (1967, p. 469 อางถึงใน สุรพงษ โสธนะเสถียร, 2533, หนา 126) ไดอธิบายถึง การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ โดยมีความเชื่อวา ทัศนคติ อยางเดียวกัน อาจเกิดในตัวบุคคลดวยวิธีที่ตางกัน จากความคิดนี้ เฮอรเบริท ไดแบงกระบวนการ เปลี่ยนแปลงทัศนคติ ออกเปน 3 ประการ คือ 1. การยินยอม (Compliance) จะเกิดไดเมื่อบุคคลยอมรับสิ่งที่มีอิทธิพลตอตัวเขา และมุงหวังจะไดรับความพอใจจากบคุคล หรือกลุมบุคคลที่มีอิทธิพลนั้น การที่บุคคลยอมกระทําตามส่ิงที่อยากใหเขากระทํานั้น ไมใชเพราะบคุคลเห็นดวยกบัสิ่งนั้น แตเปนเพราะเขาคาดหวังวาจะไดรับรางวัล หรือการยอมรบัจากผูอ่ืนในการเห็นดวย และกระทําตาม ดังนั้น ความพอใจ ที่ไดรับจากการยอมกระทําตามนั้น เปนผลมาจากอิทธิพลทางสังคม หรืออิทธิพลของสิ่งที่กอใหเกดิการยอมรับนั้น กลาวไดวาการยอมกระทําตามนี ้เปนกระบวนการเปลี่ยนแปลง ทัศนคติ ซ่ึงจะมีพลัง

Page 10: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

16

ผลักดัน ใหบุคคลยอม กระทาํตามมากหรือนอย ขึ้นอยูกับจํานวนหรือ ความรุนแรงของรางวัลและการลงโทษ 2. การเลียนแบบ (Identification) เกิดขึ้นเมือ่บุคคลยอมรับสิ่งเรา หรือส่ิงกระตุน ซ่ึงการยอมรับนี้เปนผลมาจากการที่บุคคล ตองการจะสรางความสัมพันธที่ดี หรือที่พอใจระหวางตนเองกับผูอ่ืน หรือกลุมบุคคลอื่น จากการเลียนแบบนี้ ทัศนคติ ของบุคคลจะเปลี่ยนไปมากหรือนอยขึ้นอยูกับสิ่งเราใหเกิดการเลยีนแบบ กลาวไววา การเลียนแบบ เปนกระบวน การเปลีย่นแปลงทัศนคติ ซ่ึงพลังผลักดัน ใหเกิดการเปลีย่นแปลงนี้ จะมากหรือนอยขึน้อยูกับความนาโนมนาวใจของสิ่งเราที่มีตอบุคคลนั้น การเลียนแบบจึงขึ้นอยูกับพลัง (Power) ของผูสงสาร บุคคลจะรับเอาบทบาท ทั้งหมด ของคนอื่น มาเปนของตนเอง หรือแลกเปลี่ยนบทบาทซึ่งกันและกัน บุคคลจะเชื่อในสิ่งที่ตัวเอง เลียนแบบ แตไมรวมถึงเนื้อหาและรายละเอียดในการเลียนแบบ ทัศนคติ ของบุคคลจะเปลี่ยนไปมาก หรือนอยขึน้อยูกับ ส่ิงเราที่ทําใหเกิด การเปลี่ยนแปลง 3. ความตองการที่อยากจะเปลี่ยน (Internalization) เปนกระบวนการที่เกดิขึ้นเมื่อบุคคลยอมรับสิ่งที่มีอิทธิพลเหนือกวา ซ่ึงตรงกบัความตองการภายในคานยิม ของเขา พฤติกรรมที่เปล่ียนไป ในลักษณะนี้จะสอดคลองกับ คานิยม ที่บุคคลมีอยูเดิม ความพึงพอใจ ที่ไดจะขึ้นอยูกับเน้ือหารายละเอียดของพฤตกิรรมนั้น ๆ การเปลี่ยนแปลง ดังกลาว ถาความคิดความรูสึกและพฤติกรรมถูกกระทบไมวา จะในระดับใดก็ตาม จะมีผลตอมาเปลี่ยน ทัศนคติ ทั้งสิ้น นอกจากนี้ องคประกอบ ตาง ๆ ในกระบวนการสื่อสาร เชน คุณสมบัตขิองผูสงสาร และผูรับสาร ลักษณะของขาวสาร ตลอดจนชองทางในการสือ่สาร ลวนแลวแตมีผลกระทบตอการเปล่ียนแปลง ทัศนคติ ไดทั้งสิ้น นอกจากนี ้ทัศนคติของบุคคล เมื่อเกิดขึ้นแลว มกัจะคงทนแตกจ็ะสามารถ เปล่ียนไดโดยตัวบคุคล สถานการณ ขาวสาร การชวนเชื่อ และสิ่งตาง ๆ ที่ทําใหเกิดการยอมรับในสิ่งใหม แตจะตองมีความสัมพันธ กับคานิยมของบุคคลนั้น นอกจากนี้อาจเกิดจากการยอมรับโดยการบังคับ เชน กฎหมาย ขอบังคับ การเปลี่ยนทัศนคติ มี 2 ชนิด คือ 1. การเปลี่ยนแปลงไปในทางเดียวกนั หมายถึง ทัศนคติ ของบุคคลที่เปนไปในทางบวกก็จะเพิ่มมากขึ้นในทางบวกดวย และทัศนคตทิี่เปนไปในทางลบก็จะเพิ่มมากขึ้นในทางลบดวย 2. การเปลี่ยนแปลงไปคนละทาง หมายถึง การเปลี่ยนทศันคติเดิมของบุคคลที่เปนไปในทางบวก กจ็ะลดลงไปในทางลบ และถาเปนไปในทางลบ ก็จะกลับเปนไปในทางบวก เมื่อพิจารณาแหลงที่มาของทัศนคติแลว จะเหน็วาองคประกอบสําคัญที่เชื่อมโยงใหบุคคลเกิดทัศนคติตอส่ิงตาง ๆ ก็คือ การสื่อสาร ทั้งนี้เพราะไมวาทัศนคติจะเกิดจากประสบการณเฉพาะอยางการสื่อสารกับผูอ่ืน ส่ิงที่เปนแบบอยาง หรือความเกีย่วของกับสถาบัน กม็ักจะมกีาร

Page 11: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

17

ส่ือสารแทรกอยูเสมอ กลาวไดวา การสื่อสารเปนกิจกรรมที่สําคัญอยางมาก ที่มีผลทําใหบุคคลเกดิทัศนคติ ตอส่ิงตาง ๆ ทัศนคติ เกีย่วของกับการสื่อสาร ทั้งนี้เพราะ Rogers (1973 อางถึงใน สุรพงษ โสธนะเสถียร, 2533, หนา 122) กลาววา การสื่อสารกอใหเกิดผล 3 ประการ คือ 1. การสื่อสารกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงความรูของผูรับสาร 2. การสื่อสารกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ทศันคติ ของผูรับสาร 3. การสื่อสารกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูรับสาร การแสดงพฤตกิรรมการเปลี่ยนแปลงทั้ง 3 ประการนี้ จะเกิดในลักษณะตอเนื่องกันกลาวคือ เมื่อผูรับสาร ไดรับขาวสาร เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จะกอใหเกิดความรูความเขาใจเกี่ยวกับเรื่องนัน้ และการเกิดความรูความเขาใจนี้ มีผลทําใหเกิด ทัศนคต ิตอเรื่องนั้น และสุดทายก็จะกอใหเกิดพฤติกรรมที่กระทําตอเรื่องนัน้ ๆ ตามมา ความสัมพันธระหวางทศันคติกับพฤติกรรม ทัศนคติกับพฤติกรรม มีความสัมพันธ มีผลซ่ึงกันและกนั กลาวคือ ทศันคติมีผลตอการแสดงพฤติกรรมของบุคคล ในขณะเดยีวกนั การแสดงพฤติกรรมของบุคคลก็มีผลตอทัศนคติของบุคคลดวย อยางไรก็ตาม ทัศนคติเปนเพยีงองคประกอบหนึ่งที่ทําใหเกิดพฤติกรรม ทั้งนี้เพราะ Triandis (1971 อางถึงใน สุรพงษ โสธนะเสถียร, 2533, หนา 122) กลาววา พฤตกิรรมของบุคคล เปนผลมาจาก ทัศนคติ บรรทัดฐานของสังคม นิสัย และผลที่คาด การเปลี่ยนแปลง ทัศนคติโดยการสื่อสาร ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2526, หนา 5) กลาววา ทัศนคติของบุคคลสามารถถูกทําใหเปล่ียนแปลงไดหลายวิธี อาจโดยการไดรับขอมูล ขาวสารจากผูอ่ืน หรือจากสื่อตาง ๆ ขอมูลขาวสารที่ไดรับจะทําใหเกดิการเปลี่ยนแปลง องคประกอบของ ทัศนคติ ในสวนของการรับรูเชิงแนวคดิ (Cognitive Component) และเมื่อองคประกอบสวนใดสวนหนึง่เปลี่ยนแปลงองคประกอบสวนอื่น จะมีแนวโนม ที่จะเปลี่ยนแปลงดวย กลาวคือ เมือ่องคประกอบของทัศนคติในสวนของการรับรูเชิงแนวคิดเปลีย่นแปลง จะทําใหองคประกอบ ในสวนของอารมณ และองคประกอบในสวนของพฤติกรรม เปล่ียนแปลงดวยการเปลี่ยนแปลงทศันคติ โดยการสื่อสาร พิจารณาจากแบบจําลอง การสื่อสารของ Lasswell (1948) ซ่ึงไดวเิคราะหกระบวนการสื่อสารในรูปของใคร พูดอะไร กับใคร อยางไร และไดผลอยางไร ซ่ึงสามารถแบงออกเปนตวัแปรตน และตวัแปรตาม กลาวคือ ใคร (ผูสงสาร) พูดอะไร (สาร) กบัใคร (ผูรับสาร) อยางไร (ส่ือ) ก็คือ ตัวแปรตน สวน

Page 12: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

18

ไดผลอยางไร (ผลของการสื่อสาร) ก็คือ ตัวแปรตาม ตวัแปรตนทั้ง 4 ประการ ซ่ึงผลตอการเปล่ียนแปลง ทัศนคติ มีลักษณะ ดังนี ้ 1. ผูสงสาร (Source) ผลของสารที่มีตอการเปลี่ยนแปลง ทัศนคติ ของบุคคลขึ้นอยูกับ ผูสงสาร ลักษณะของผูสงสารบางอยาง จะสามารถมีอิทธิพลตอบุคคลอื่นมากกวาลักษณะอื่น ๆ เชน ความนาเชื่อถือ (Credibility) ซ่ึงขึ้นอยูกับปจจัย 2 ประการคือ ความเชี่ยวชาญ (Expertness) และความนาไววางใจ (Trustworthiness) ผูสงสารที่มาความนาเชื่อถือสูง จะสามารถชักจูงใจไดดีกวาผูสงสารที่มีความนาเชื่อถือต่ํา นอกจากนี้บุคลิกภาพ (Personality) ของผูสงสารก็มีความสําคัญตอการยอมรับ 2. สาร (Message) ลักษณะของสารจะมีผลตอการยอมรับหรือไมยอมรับของบุคคลถา เตรียมเนื้อหาสารมาเปนอยางดีผูรับสารก็อยากฟง ดังนัน้ การเรียงลําดับของเนื้อหาความชัดเจนของเนื้อหาสาร ความกระชับ เปนตน จึงเปนองคประกอบสําคัญตอการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ 3. ส่ือ (Channel) หรือชองทางการสื่อสาร เปนเรื่องของประเภทและชนิดของสื่อที่ใช 4. ผูรับสาร (Receiver) องคประกอบของผูรับสารที่จะทําใหการจงูใจที่มี ประสิทธิภาพ ไดแก สติปญญา ทัศนคติ ความเชื่อ ความเชื่อมั่นในตนเอง การมีสวนรวม การผูกมดั เปนตน McGuire (1983 อางถึงใน อรวรรณ ปลันธนโอวาท, 2537) กลาววา ตัวแปรทั้ง 4 ประการ ขางตนนี้ กอใหเกิดตัวแปรตาม คือ ผลของการสื่อสารเปนไปตามลําดบัขั้น 5 ขั้นหลัก คือ 1. ความตั้งใจ/ความสนใจ 2. ความเขาใจ 3. การยอมรับตอสาร 4. การเก็บจําสารไว 5. การกระทํา โดยผูรับสารตองผานไปที่ละขั้น เพื่อทีก่ารสื่อสารจะสามารถเปลี่ยนแปลงทัศนคติไดครบถวนตามกระบวนการ ซ่ึงในสภาพการณปกติ ขั้นตอนแรก ๆ จะตองเกิดขึ้นกอน เพื่อที่ขั้นตอนตอ ๆ ไปจะเกดิขึ้นได การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ โดยใชอิทธิพลทางสังคม อิทธิพลทางสังคม มีผลอยางมากตอการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ และการตัดสินใจ เพราะในขณะตัดสินใจ ยอมมีกลุมบุคคลที่มีความสําคัญตอผูปวยเขามาเกี่ยวของ ไดแก บุคคลในครอบครัว ญาติพี่นอง และเพือ่นฝูง เปนตน แนวคดิพื้นฐานและความหมายของโครงการ “โรงงานสีขาว” กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน มีหนาที่ในการตรวจคุมครองแรงงานใหนายจางและผูใชแรงงานปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และเพื่อใหสถานประกอบ

Page 13: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

19

กิจการทุกแหง มีความรูความเขาใจ เร่ืองการปองกันและแกไขยาเสพตดิ รวมทั้งใหเปนไปตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2519 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 จงึเห็นสมควรดําเนินการโครงการโรงงานสีขาวเพื่อปองกนัและแกไขปญหายาเสพติด ตลอดจนการบําบัดรักษาและฟนฟูสภาพจติใจของผูใชแรงงาน พรอมรับผูใชแรงงานที่ไดรับการบําบัดรักษาดังกลาวกลับเขาทํางานเหมอืนเดิม โดยอางองิจากสํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงาน จังหวัดชลบุรี กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน วัตถุประสงคโครงการ “โรงงานสีขาว” 1. เพื่อใหนายจางและผูใชแรงงานมีความรู ความเขาใจในเรื่องการปองกันและแกไขปญหายาเสพตดิ 2. เพื่อไมใหยาเสพติดแพรขยายเขาไปในสถานประกอบกิจการ 3. เพื่อใหนายจางและผูใชแรงงานนําความรูความเขาใจ ในเรื่องการปองกันและแกไข ปญหายาเสพตดิไปสูสังคมอื่น ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งในครอบครัวของนายจางและผูใชแรงงาน 4. เพื่อใหผูใชแรงงานที่ติดยาเสพติดไดมีโอกาสไดบําบดัรักษาและฟนฟูใหหายจากการติดยาเสพตดิ และสามารถทํางานไดอยางเปนปกต ิ 5. เพื่อใหสถานประกอบกจิการไดรับรูถึงปญหายาเสพตดิในสถานประกอบกจิการซึง่จะนําไปสูกระบวนการในการกําหนดนโยบายและสนับสนุนใหมีการดําเนินการปองกนัและแกไขปญหายาเสพตดิในสถานประกอบกจิการตอไป ลดจํานวนผูใชแรงงานที่ติดยาเสพติดลงใหมากที่สุด ผูใชแรงงานทีสุ่ขภาพและคณุภาพชวีิตทีด่ ีสามารถทํางานใหเกิดประโยชนแกตนเองและสถานประกอบกิจการอันจะทําใหเปนผลดีตอเศรษฐกิจของประเทศตอไป กลุมเปาหมายโครงการ “โรงงานสีขาว” 1. สถานประกอบกิจการในขายประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีภายใตพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2519 แกไขเพิ่มเตมิ (ฉบับที่ 3) ดังนี ้ 1.1 สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงตามกฎหมายวาดวยการควบคุม ดูแล หรืออาศัยสิทธิของเจาของ หรือผูดําเนินกิจการสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิงดวย 1.2 สถานีบริการที่บรรจุกาซใหแกยานพาหนะทั้งทางบกและทางน้ําตามกฎกระทรวงที่ออก ตามกฎหมายวาดวยการบรรจุกาซปโตรเลียมเหลว 1.3 สถานบริการตามกฎหมายวาดวยสถานบริการที่พักอาศัยในเชิงพาณชิยประเภท หอพัก อาคารชุดหรือเกสเฮาส ที่ใหอ่ืนเชา 1.4 สถานที่ที่ไดใหมกีารเลน บิลเลียด สนุกเกอร ซ่ึงเก็บคาบริการจากผูเลน

Page 14: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

20

1.5 โรงงานตามกฎหมายวาดวยแรงงาน 2. สถานประกอบกิจการที่ใชแรงงานหนกั เชน กิจการประมง สถานประกอบกจิการขนสง 3. สถานประกอบกิจการทัว่ไป วิธีการดําเนนิงานโครงการ “โรงงานสีขาว” ศูนยอํานวยการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในกลุมผูใชแรงงานในสถานประกอบกิจการกระทรวงแรงงานกําหนดหลักเกณฑการเปนโรงงานสีขายภายใตหลักเกณฑ ดังตอไปนี้ “ไมมีผูคายาเสพติด ไมมีผูเสพยาเสพติด” มีกิจกรรมดํารงไวเปนโรงงานสีขาวอยางตอเนื่อง สวนกลาง กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานเปนผูดาํเนินการตามหลักเกณฑโรงงานสีขาวโดยความเหน็ชอบของศูนยอํานวยการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในกลุมผูใชแรงงานในสถานประกอบกิจการกระทรวงแรงงาน (ศอ.รง) สวนภูมภิาค จังหวดัตั้งคณะทํางานดําเนนิการตามหลกัเกณฑการเปนโรงงานสีขาว โดยความเห็นชอบของศูนยอํานวยการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในกลุมผูใชแรงงานในสถานประกอบกิจการกระทรวงแรงงาน (ศอ.รง) ศูนยอํานวยการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในกลุมผูใชแรงงานในสถานประกอบกิจการกระทรวงแรงงาน (ศอ.รง) เสนอรายชื่อโรงงานสีขาวที่ผานการตรวจสอบแลวใหกระทรวงแรงงานมอบเกียรติบัตร กระทรวงแรงงานเสนอรายชื่อโรงงานสีขาวตอศูนยปฏิบัติการยาเสพติดแหงชาติและสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพตดิเพื่อทราบ รณรงคประชาสัมพันธใหนายจางเห็นความสําคัญในการปองกันและแกไขปญหา ยาเสพติดในสถานประกอบกิจการและเขารวมโครงการ ประสารขอความรวมมือกระทรวงสาธารณะสุขและกรุงเทพมหานคร ในการบําบัดรักษาและฟนฟูผูใชที่ติดยาเสพตดิ โดยไมเสียคาใชจาย ประสานสถานประกอบกจิการใหสํารวจตรวจสอบผูใหแรงงานที่ตดิยาเสพติด และ ลงชื่อใหสํานกังานสวัสดกิารและคุมครองแรงงานจังหวดัหรือสํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานพื้นทีแ่ละอนุญาตใหลูกจางลาหยดุ เพื่อบําบัดรกัษาฟนฟูโดยจายหรือไมจายคาจางกไ็ดตามแตจะตกลงกัน (ประมาณ 15-20 วัน) เมื่อบําบัดรักษาฟนฟูเรียบรอยแลวใหรีบกลบัเขาทํางานตามเดิม

Page 15: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

21

สํานักงานสวสัดิการและคุมครองแรงงานจังหวดัและสํานักงานสวัสดกิารและคุมครองแรงงานพื้นทีป่ระสานสงผูใชแรงงานที่ติดยาเสพติดไปเขารับการบําบัดรักษาฟนฟูตอไป หลักเกณฑการเขารวมโครงการโรงงานสีขาว สถานประกอบกิจการจะตองดําเนินการตามหลักเกณฑ 8 ขอ โดยจะตองไดคะแนน 80 คะแนน จากคะแนน 100 คะแนน จึงจะเปนโรงงานสีขาว เกณฑพจิารณาโรงงานสีขาว มีดังนี ้ 1. มีนโยบาย ใหเจาของหรือผูดําเนินกจิการสถานประกอบกิจการปฏบิัติ ดังตอไปนี้ควบคุม สอดสอง และดูแลไมใหพนักงานของสถานประกอบกิจการหรือ บุคคลภายนอกกระทําการหรือมั่วสุมกันกระทําความผิดเกีย่วกบัยาเสพติดในหรือบริเวณสถานประกอบกิจการ พิจารณาคัดเลือกบุคลากรที่ไมมีพฤติกรรมในการกระทาํความผิดเกีย่วกับยาเสพตดิเขาเปนพนกังาน ทั้งนี้ ไมรวมถึงผูเสพยาเสพติดซึ่งไดรับการบําบัดการติดยาเสพติด และฟนฟูสภาพรางการและจติใจของผูติดยาเสพติดใหกลับคืนสูสภาพปกติแลวและจดัอบรมพนักงานของตนใหมีความเขาใจในการปองกันการใชยาเสพติดอยางสม่ําเสมอ จัดทําบันทกึประวัติของพนกังานไวประจาํสถานประกอบกิจการ โดยบันทึกประวัต ิอยางนอยตองมีรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อและนามสกุล เลขบัตรประจําตวัประชาชน ทีอ่ยู และภูมิลําเนาของพนักงานใหความรวมมือกับเจาพนกังาน พนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจในการแจงเมื่อพบวา มีการกระทําความผิดเกี่ยวยาเสพติดหรือใหขอมูล ขาวสาร หรือพฤติการณตาง ๆ ของบุคคลซึ่งมีเหตุอันสมควรสงสัยหรือควรเชื่อไดวาจะกระทําความผิดในสถานประกอบกิจการของตนและอํานวยความสะดวกในการตรวจหรอืทดสอบหาสารเสพติด ตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามยาเสพติด 2. มีปายหรือประกาศ เร่ืองมาตรการปองกนัและปราบปรามการกระทาํความผิดเกีย่วกับยาเสพติดในสถานประกอบกิจการ ใหเจาของหรือผูดําเนินกิจการสถานประกอบกจิการจัดใหมีปายหรือประกาศเตือนเกีย่วกับพษิภยัหรืออัตราโทษตามกฎหมายเกีย่วกับยาเสพติด โดยใหมีความชัดเจน เห็นไดงาย และมีขอความเปนภาษาไทย ขอความที่สองจะมีภาษาอื่น ๆ นอกจากภาษาไทยก็ได แตขอความภาษาอื่นนั้นตองมีความหมายตรงกับขอความภาษาไทย และมีขนาดไมใหญกวาขอความภาษาไทย 3. มีคณะทํางานรับผิดชอบ ในสถานประกอบการจะตองมีคําสั่งกําหนดใหมีคณะทํางานที่ทําหนาที่สอดสองดูแล ชวยเปนหูเปนตาใหกับเจาของประกอบกิจการในการดําเนนิการโรงงานสีขาว โดยแบงออกเปน กรณีสถานประกอบกจิการทีม่ีลูกจาง ไมถึง 50 คน ใหเจาของสถานประกอบกิจการ หรือฝายบริหาร ออกคําสั่งตั้งคณะทํางานรับผิดชอบโรงงานสีขาวจากลูกจางทั่วไป

Page 16: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

22

กรณีสถานประกอบกจิการทีม่ีลูกจาง เกิน 50 คนขึ้นไป ใหเจาของสถานประกอบ กิจการ หรือฝายบริหารออกคาํสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสวสัดิการในสถานประกอบกจิการเปนคณะทํางานรับผิดชอบโรงงานสีขาวก็ได 4. มีการใหความรูพนักงาน เจาของสถานประกอบกิจการจะตองมีการดาํเนินการพัฒนาบุคลากรในดานการปองกันและแกไขปญหายาเสพตดิ ใหความรูในรูปแบบตาง ๆ เชน จัดประชุม จัดอบรม หรือการสงเสียงตามสายในชวงเวลาพัก 5. มีกิจกรรมรณรงค เจาของสถานประกอบกิจการจะตองมีการดําเนนิกิจกรรม เพื่อรณรงคตอตานยาเสพตดิ เชน จัดนิทรรศการ การแขงขันกีฬา ดนตรี การแสดงบนเวท ีแขงขันประกวดบทความ เรียงความ ตอบปญหาตอตานยาเสพติด 6. มีการตรวจสุขภาพ เจาของสถานประกอบกิจการจะตองมีการดําเนนิการตรวจสุขภาพและตรวจปสสาวะใหแกลูกจางในสถานประกอบกิจการ โดยจะเนนการตรวจสุขภาพประจําปหรือเฉพาะกจิ 7. ไมพบพฤตกิรรมที่เกี่ยวของกับยาเสพตดิ เจาของสถานประกอบกจิการ จะตองดําเนินการใหสถานประกอบกิจการปลอดยาเสพตดิ โดยไมเสพ ไมคา ไมยุงเกีย่วกับยาเสพติดทกุชนิด คือ ตองมีการสอดสองดูแลสังเกตพฤติกรรม การทํางานของพนักงานไมบงบอก หรือช้ีชัดวาเกี่ยวของกับยาเสพติด จากคณะทํางานที่รับผิดชอบ 8. มีกระบวนการตรวจสอบ เจาของสถานประกอบกิจการจะตองดําเนินการในสวนรายละเอียดตามหลักเกณฑ 7 ขอ โดยมีการบันทึกหรือเกบ็เอกสารที่เกี่ยวของไวเพื่อใหคณะทํางานโรงงานสีขาวกรุงเทพมหานครสามารถตรวจสอบไดทกุขั้นตอน

ประวัติความเปนมาของบริษัท เอส. ดบับลิว. พรีซชิั่น จํากัด บริษัท เอส. ดับลิว. พรีซิชั่น จํากัด ถือกําเนดิในป 2549 ประกอบกิจการรับจางเหมาแรงงาน ปจจบุันบริษัท เอส.ดับบลิว.พรีซิชั่น จํากัด มพีนักงานประมาณ 2500 คน ที่เขาประจําใน แตละหนวยงานเชน บริษัท มิตซูบิชิอิเลคทริคคอนซูมเมอร (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท โออิชิเทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท โทแอคส (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ลอตเต (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท แอรวอรเตอร (ประเทสไทย) จํากัด บริษัท ที. ดับบลิว. ที แมนแูฟคเจอรร่ิงจํากดั บริษัท ศารายา (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ซีทีเอส (ประเทศไทย) บริษัท ซีบซีี อิ้ง (ประเทศไทย) จํากัด เปนตน บริษัท เอส. ดับบลิว. พรีซิชั่น จํากัด มบีริษัทในเครืออีก 2 บริษัทคือ บริษัท ชลบุรี

Page 17: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

23

ซัพพลายแอนดเทรดดิ้ง จํากดั ประกอบกจิการรับจางเหมาทํากิ๊ฟเซ็ทสงโรงพยาบาล โรงแรม อีกทั้งยังเปนศนูยฝกพนักงานเพื่อปอนแรงงานเขาสูบริษัทแม และบริษัท อาร พี เอส การด จํากัด เปน บริษัทประเภทกิจการรักษาความปลอดภยั โดยปจจุบันไดรับความไววางใจจากโครงการหมูบาน และโรงงานทีม่ีช่ือเสียงมากมาย บริษัท เอส. ดับบลิว. พรีซิช่ัน จํากัด สํานักงานใหญตั้งอยูที่อมตะนครชลบุรีและมีสํานักงานสาขาตั้งอยูที่นิคมนวนคร ปทุมธานี และตลาดสิรัชชาดอนหัวฬอ ชลบุรี บริษัท เอส. ดับลิว. พรีซิชั่น จํากัด มีลักษณะการบริหารงาน แบงเปน 6 ฝาย ซ่ึงประกอบดวย ฝายผลิต ฝายโรงงานและซอมบํารุง ฝายการตลาด ฝายพัฒนาบุคลากรและสรราหา ฝายบัญชีและการเงิน และฝายบริหาร

โครงการ “โรงงานสีขาว” ในบริษัท เอส. ดับบลิว. พรีซิชั่น จํากัด บริษัท เอส. ดับบลิว. พรีซิชั่น จํากัด โดยคณะผูบริหารไดตระหนักถึงความสําคัญของปญหายาเสพตดิและการแพรระบาดยาเสพติดในสถานประกอบการ จึงไดใหความรวมมือกับภาครัฐในการรวมรณรงคตอตานและขจดัปญหายาเสพตดิในโครงการ “โรงงานสีขาว” โดยทางบริษัท เอส.ดับบลิว.พรีซิชั่น จํากัด ไดรับเอานโยบายของสํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดชลบุรี พรอมเขารวมกิจกรรมรับฟงคําชี้แจงการดําเนนิงานตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามยาเสพติด (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 โดยมีพนกังานบริษัท เอส.ดับบลิว.พรีซิชั่นจํากัด เขารวมรับประชุมชี้แจงคือ นางสาวสายฝน ชูแสง ตําแหนง เจาหนาที่ความปลอดภยั ซ่ึงไดนําขอมูลที่ไดรับมา นํามาทํารูปแบบรางของโครงการ “โรงงานสีขาว” ตอไป วัตถุประสงคของโครงการ “โรงงานสีขาว” ในบริษัท เอส.ดับบลิว.พรีซีชั่น จํากัด 1. สงเสริมกิจกรรมสรางความสัมพันธภายในองคกร ใหมีความรัก ความสามัคคี 2. เสริมสรางสุขลักษณะทีด่ ีดานพลานมยัใหกับพนักงาน 3. สรางจิตใตสํานึกใหหางภยัจากยาเสพตดิ และรวมตอตานยาเสพตดิ ตามนโยบายของโครงการ “โรงงานสีขาว” ซ่ึงมีรายละเอียดของโครงการ ดังนี ้ 1. แบงพนักงานบริษัท เอส.ดับลิว.พรีซิชั่น จํากัด ทัง้หมด ออกเปน 3 สวน 3สี คือ สีแดง สีฟา และสีเหลือง 2. แบงประเภทการแขงขันกฬีา ประเภท คอื ฟุตซอล ตะกรอ วอลเลยบอล และกิจกรรมกองเชียร

Page 18: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

24

ป 2550 วันที่ 27 พฤษภาคม ทางบริษัท เอส. ดับบลิว. พรีซิช่ัน จํากัด ไดประกาศแตงตั้งคณะกรรมการและคณะทํางานโรงงานสีขาว ซ่ึงทางบริษทัฯเห็นควรแตงตั้งคณะกรรมการและคณะทํางานโรงงานสีขาวเพือ่ตอตานยาเสพติด ดังรายละเอียด ดังตอไปนี้ 1. คณะกรรมการโรงงานสีขาว ไดแก คณะกรรมการความปลอดภัยทัง้คณะ ซ่ึงสาเหตุที่แตงตั้งคณะกรรมการความปลอดภัยเปนคณะกรรมการโรงงานสีขาวดวยนัน้ เพราะยาเสพติด คือ มหันตภัยรายแรงที่อาจจะเกดิขึ้นกับพนักงานของเราไดเชนกัน ดังนั้นคณะกรรมการความปลอดภยั จึงควรมีสวนรวมในการสงเสริมใหมีความปลอดภัยจากมหันตภัยจากยาเสพตดิ ดังกลาว 2. คณะทํางาน ไดแก คณะทาํงานโครงการโรงงานสีขาว ซ่ึงคณะทํางานมีจํานวน ทั้งสิ้น 8 ทาน ประกอบไปดวย 1. นางสาวชลัยพร นุชเจริญกุล ผูจัดการฝายบญัชีและการเงนิ 2. นางสายทิพย แสวงศิลป ผูจัดการฝายบคุคลทั่วไป 3. นายพุทธชาด พระทนอาจ หัวหนางานวางแผนการผลิต 4. นางสาวรัชณีกร พุมอินทร พนักงานฝายจดัซื้อ 5. นางสาวอภวิันท กววีัฒนา พนักงานฝายบัญชี 6. นายจีรศักดิ์ โพธิ์ทอง พนักงานฝายสรรหา 7. นางสาวยมนพร มินคอน หัวหนาแผนกประสานงาน 8. นางสาวสายฝน ชูแสง เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน ซ่ึงหลังจากคณะทํางานไดทราบบทบาทและหนาที่ของคณะกรรมการและคณะทํางานโครงการโรงงานสีขาวแลว จึงไดมีการเสนอมาตรการและนโยบายของทางบริษัทฯ ที่จัดทําขึ้นเพื่อตรวจภายในบริษัทเอง ใหสอดคลองกับนโยบายของโครงการโรงงานสีขาว ซ่ึงมีรายละเอียด ดังนี ้ นโยบายการเฝาระวังและปองกันยาเสพติด ดวยผูบริหารทุกทานไดตระหนักดีวา ยาเสพติดคือมหันตภัยที่รายแรง ซ่ึงขณะนี้ภาครัฐบาลก็ไดมีนโยบายของชาติในการปองกันและปราบปรามยาเสพติดโดยไดออกพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามยาเสพติดในสถานประกอบการ ดังนั้น เพื่อสนองตอนโยบายของชาติและเฝาระวังและปองกันยาเสพตดิไมใหเกดิขึ้นหรือมีผลกระทบตอชีวิตและทรัพยของพนักงานของพนักงานอันเปนทรัพยากรทีม่ีคายิ่งของ บริษัทฯ บริษทัฯ จึงกําหนดนโยบายในการเฝาระวังและปองกันเพื่อมใิหผูเสพ ผูขายมีไวในครอบครองในองคการ ดังนี ้ ความหมาย บริษัทฯ หมายถึง บริษัท เอส. ดับบลิว. พรีซิชั่น. จํากัด

Page 19: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

25

พนักงาน หมายถึง พนักงานบริษัท เอส.ดับบลิว.พรีซิชั่น จํากัด ผูเกี่ยวของ หมายถึง บริษัทฯ หรือผูที่เขามาปฏิบัติงานในอาณาบริเวณของบริษัทฯ เปนประจํา เชน ยามรักษาความปลอดภัย รถรับ-สง พนักงานและสินคา ผูผลิตสินคา (Supplier) ที่เขามาติดตองาน ฯลฯ 1. บริษัทถือวายาเสพติดทกุชนิดเปนภัยรายแรงตอพนักงานและบริษัทฯ ดังนั้นพนักงาน ทุกทานและผูที่เกี่ยวของกับกิจการของงานบริษัทฯ จะตองไมมีสวนเกีย่วของ เสพ ซ้ือขาย หรือมีไวในครอบครอง 2. การเสพ ซ้ือขาย มีไวในครอบครองหรือมีสวนเกีย่วของกับยาเสพตดิทุกประเภทถือเปนความผิดรายแรง และหากบริษัทฯ ทราบจะดําเนินการสงเรื่องใหกบัผูรักษากฎหมายดําเนินการทันที 3. เฉพาะพนกังานที่เกีย่วของกับยาเสพตดิในดานการเสพกอนการประกาศนโยบายให รายงานตัวตอผูบังคับบัญชาเพื่อเขารับการรักษาซึ่งจะมกีาํหนดระยะเวลา 30 วัน โดยไมไดรับคารักษาและคาจาง แตทั้งนี้การหยุดงานเพื่อการรักษาดังกลาวจะมีผลตอการปรับเงินประจําปและโบนัส เทากับอัตราคะแนนของการมาสาย (1 วัน = 0.25 คะแนน) โดยบริษัทฯ จะถอืวาการรายงานตัวดังกลาวเปนความลับ หากผูใดนําไปเปดเผย จะถือเสมือนความผิดทางวินยัในดานการนําความลบัของบริษัทฯ ไปเปดเผย อนึ่งหากพนักงานไมรายงานตัวตอผูบังคบับัญชาภายใน 30 วัน นับจากวันประกาศนโยบายและบริษัทฯ สืบทราบจะถือวาเปนความผิดทางวนิัยขั้นรายแรงและนําสงเรื่องใหกับผูรักษากฎหมาย 1. สวนพนกังานที่เกีย่วของกบัยาเสพติดนอกเหนือจากการเสพแลว จะตองเลิกเกี่ยวของ โดยเดด็ขาดหากบริษัทฯ สืบทราบจะถือวาเปนความผิดรายแรงและสงเรื่องใหกับผูรักษากฎหมายทันที 2. พนักงานและผูเกี่ยวของกบักิจการงานของบริษัทฯ จะตองมีสวนรวมและปฏิบัติตามนโยบายนี้อยางเครงครัด 3. บริษัทฯ จะสนับสนุนการดําเนินการหรือกิจกรรมตาง ๆ อันเปนการสนับสนุนการเฝา ระวัง และปองกันยาเสพติดอยางตอเนื่อง โดยผานคณะกรรมการโรงงานสีขาว 4. ผูบริหาร ผูบังคับบัญชา พนักงานและผูเกี่ยวของทกุทานจะตองถือเปนหนาทีใ่นการ ใหความชวยเหลือ เฝาระวังและปองกันยาเสพติด กับผูใตบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานรวมถึงองคกรและสังคมโดยรอบ

Page 20: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

26

โดยทั้งนี้ บริษทัฯ หวังเปนอยางยิ่งวาพนกังานของบริษัทฯ ทุกทานจะเปนผูที่มีสุขภาพและพลานามยัที่แข็งแรง ไมของเกี่ยวกับยาเสพติด จึงประกาศมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 ป 2550 ทางคณะกรรมการโครงการ “โรงงานสีขาว” ไดเขารวมประชมุปรึกษาหารือในการจัดทําแผนของโครงการ ในวนัที่ 7 กรกฏาคม 2550 โดยไดขอสรุป ดังนี ้ 1. ประกาศแตงตั้งคณะกรรมการและคณะทํางาน 2. พิธีรับนโยบาย และสาบานตน 3. กิจกรรมสนบัสนุน จัดทําคูมือโครงการโรงงานสีขาว ใหความรูโดยแบงระดับ ผูบงัคับบัญชากับผูใตบังคับบัญชา การตรวจสอบสารเสพติดกอนเขางาน การตรวจสอบสารเสพติดพนักงานและผูเกี่ยวของอยางนอยปละครั้ง กิจกรรมกฬีาและสันทนาการ โบวล่ิงเพื่อความสามัคคีและปองกันยาเสพติด กีฬาส ี ทองเที่ยวประจําป เยี่ยมชมสถานบําบัดผูติดยาเสพติด ปใหมนิมนตพระมาเทศนใหความรูเร่ืองของบาปของการเกี่ยวของกบัยาเสพติด จัดบอรดประชาสัมพันธ จัดนิทรรศการ ประกวดคําขวญัตอตานยาเสพติด จากแผนการดาํเนินงานที่ทางคณะกรรมการโครงการ “โรงงานสีขาว” ไดกําหนดขึ้นถือไดวา เปนแผนแมบทในการพัฒนาและขอปฏิบัติในการเขารวมโครงการโรงงานสีขาว ของ บริษทั เอส.ดับบลิว พรีซีชั่น จํากัด ป 2550 ทางคณะกรรมการโครงการ “โรงงานสีขาว” ไดดําเนินกิจกรรมประกวดคําขวัญตอตานยาเสพติด ซ่ึงเปนการปฏิบัติตามแนวทางของนโยบายการปองกนัและปราบปรามยาเสพติดและวัตถุประสงคของโครงการโรงงานสีขาว โดยมีขั้นตอนตอนการดําเนินงาน ดังนี้ 1. ประกาศรับสมัครผูเขารวมประกวด ตั้งแต วนัที่ 7 - 23 กรกฎาคม 2550 2. จัดหากรรมการตัดสินการประกวด จํานวน 5 ทาน 3. ประกาศผลวันที่ 1 สิงหาคม 2550 ในพิธีสาบานตน

Page 21: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

27

4. กําหนดรางวัลการประกวด โดยจดัใหมี 3 รางวัล รางวัลชนะเลศิอันดับ 1 รางวัล ๆ ละ 1000 บาท รางวัลชมเชย 2 รางวัล ๆ ละ 500 บาท จากการจดัทํากิจกรรม ประกวดคําขวัญตอตานยาเสพตดิ ของโครงการโรงงานสีขาวซึ่งผลก็ไดรับการตอบรับจากพนักงานบริษัท เอส.ดับบลิว.พรีซิชั่น จํากัด เปนอยางดี มผูีเขารวมสงผลงานประกวดเปนจาํนวนมาก โดยผลการประกวดจากการตัดสินของคณะกรรมกิติมาศักดิ์ ทั้ง 5 ทาน ซ่ึงมีผูไดรับรางวัล ดังนี ้ 1. รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 “เอส.ดับบลิว จะรุงเรือง บานเมืองจะสดใส อนาคตจะกาวไกล ถาหางไกลยาเสพตดิ ” ผูประพันธ คุณจินดาภา กีระพันธ 2. รางวัลชมเชย “เอส.ดับบลิว. กาวหนา มุงมัน่พัฒนา ไมพึง่พายาเสพติด” ผูประพันธ คุณสุนิสา ไกรสีห 3. รางวัลชมเชย “ชีวิตสดใส ครอบครัวอุนใจ เอส. ดับบลิว. รุนใหม หางไกลยาเสพตดิ” ผูประพันธ คุณวราภรณ สาวะด ี 4. รางวัลปลอบใจ “ยาเสพติดนัน้ไมดีควรหลีกเล่ียง หากคิดเสี่ยงเขาไปคงติดแน ชีวติแยหากหลงผิดคิดลองมัน รวมมือกันตอตานเพื่อชาติไทย” ผูประพันธ คุณศราวุธ ทองบุญแขก 5. รางวัลปลอบใจ “เคยคิดแลวตดิมากอน แตจะสอนและแนะนําจดจําไว เริ่มจากดูแลกันดวยรักและหวงใย ปญหามากเพยีงใดกจ็บไดทีบ่านเรา” ผูประพันธ คุณอารีรัตน สิทธิ์ประเสริฐ ป 2550 ทางบริษัท เอส.ดับบลิว.พรีซิชั่น จํากัด ไดตอบรับและสนองตอนโยบายของโครงการโรงงานสีขาว โดยไดทําการกําหนดพิธีสาบานตน ในวันที่ 12 สิงหาคม 2550 ซ่ึงมีกําหนดการดังนี้ 16.00 น. พนักงานทุกคนพรอมกันที่โรงอาหาร

16.10 น. เร่ิมพธีิสาบานตนโดย ตวัแทนจากสวนราชการกลาวแสดงความยินดีที่บริษทัฯ

ไดเขารวมโครงการโรงงานสีขาวและใหความรูกับพนักงาน

Page 22: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

28

16.25 น. คณะผูบริหารบริษัทฯ กลาวขอบคุณตอตัวแทนจากหนวยงานราชการและ

พนักงานพรอมใหโอวาทตอพนักงาน เสร็จแลว ประธานบริษัทฯ จะทําพิธีมอบนโยบายใหกับ

ประธานคณะทํางาน

16.35 น. ประธานคณะทํางานกลาวรายงานแผนการจดัทําโครงการโรงงานสีขาวและ

ประกาศผลผูรับรางวัลประกวดคําขวัญ มอบรางวัลโดย ประธานกรรมการบริหารของบริษัทฯ และ

คณะกรรมการโครงการโรงงานสีขาว

16.45 น. ตัวแทนพนักงานกลาวคําสาบานตน พนักงานและผูเกี่ยวของทุกทานกลาวตาม

พนักงานทกุทานรวมดื่มน้ําสาบาน

16.55 น. รับน้ําพระพุทธมนตเพื่อเปนขวัญกําลังใจที่ดใีนการเลิกที่จะของเกี่ยวกับ

ยาเสพติด

17.00 น. เสร็จสิ้นพิธี

คําสาบานตน

“ขาพเจา (ใหเอยช่ือตนเอง) พนักงานบรษิทั เอส.ดับบลิว.พรีซิชั่น จํากดั ขอสัญญาวาจะ

ไมซ้ือ ไมขาย ไมเสพ และไมขอยุงเกีย่วกบัยาเสพติด เพราะขาพเจารูถึงโทษของยาเสพติด ซ่ึง

กอใหเกิดทกุขและโทษตอตวัขาพเจา ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ ฉะนั้นขาพเจาจะรักษา

สัญญานี้ไวตลอดไป หากผิดสัญญา ขอใหขาพเจามีอันเปนไป ถาขาพเจาปฏิบัติไดตามสัญญาขอให

ขาพเจาและครอบครัวจงมีแตสุข ความเจริญตลอดไปเทอญ”

ป 2551 ทางคณะกรรมการโครงการ “โรงงานสีขาว” รวมมือกับทางคณะกรรมการ

สวัสดิการบริษัทเอส.ดับบลิว.พรีซิชั่น จํากดั ในการจัดทาํกิจกรรมแขงขันกีฬาตานภยัยาเสพตดิ

ประเภทกีฬาฟตุซอล โดยใชพื้นที่การแขงขัน ณ สนามกฬีาวิทยาลัยพละชลบุรี ซ่ึงมีผูเขารวมการ

แขงขันทั้งหมด 8 ทีม จาก 8 โรงงานซึ่งจะทําใหในแตละโรงงานสรางความรักและความสามัคคี

ตลอดจนความมีน้ําใจเปนนกักีฬา และการสรางภูมิคุมกันจากภัยของยาเสพติด ซ่ึงผลจาการดําเนนิ

กิจกรรมแขงขนักีฬาเปนไปตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว คือ

1. สรางความรักและสามคัคีในหมูคณะของพนักงานบรษิัท เอส.ดับบลิว.พรีซิชั่น จํากัด

2. สรางความมีน้ําใจเปนนกักีฬาในหมูคณะของพนักงานบริษัท เอส.ดับบลิว.พรีซิชั่น

จํากัด

Page 23: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

29

3. รณรงคใหพนักงานบริษัท เอส.ดับบลิว.พรีซิชั่น จํากัด ออกกําลังกายและสราง

สุขลักษณะทีด่แีละใชเวลาวางใหเกิดประโยชน

4. รณรงคใหพนักงานบริษัท เอส.ดับบลิว.พรีซิชั่น จํากัด หางภยัจากยาเสพติด และรวม

ตอตานยาเสพติด ตามนโยบายของโครงการ “โรงงานสีขาว”

งานวิจัยที่เกี่ยวของ

สมศักดิ์ โสภณพินจิ และคณะ (2541) ไดวิจัยเร่ือง “ครอบครัวแจมใสไรยาเสพติด” ซ่ึง

เปนโครงการปองกันและปราบปรามยาเสพติดของจังหวัดชลบุรี ในระหวาง พ.ศ.2537 – 2541

พบวาเมื่อส้ินสุดโครงการแลว เยาวชนชายยังคงมีการใชสารเสพติด ไดแก ยาบา คดิเปนรอยละ 27.5

สารระเหย คิดเปนรอยละ 21.1 กัญชา คิดเปนรอยละ 14.7 และเฮโรอีน คิดเปนรอยละ 7.8 สวน

เยาวชนหญิงยงัมีการใชสารเสพติด ยาบา คดิเปนรอยละ 25.3 สารระเหย คิดเปนรอยละ 24.0 กัญชา

คิดเปนรอยละ 10.1 และยานอนหลับ คิดเปนรอยละ 8.15

นุสรณ คูชนะวนิชพงษ และคณะ (2543) ไดวิจยัเร่ือง โครงการบําบัดรักษาและฟนฟู

สมรรถภาพผูติดยาบา จังหวดัสุพรรณบุรี ป 2542 พบวา ภายหลังการบาํบัดมีผูเขารับการบําบัดเลิก

ยาเสพติดประเภทยาบาได 160 คน (จากจํานวน 709 คน) คิดเปนรอยละ 22.6

ปณฑิตา รงคหริรักษ (2546) ไดศึกษาเรื่อง “การประเมนิผลโครงการหมูบานปลอดยา

เสพติด: ศึกษาเฉพาะกรณี อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี” จากการศึกษาพบวา โครงการหมูบานปลอด

ยาเสพติดคอนขางจะประสบความสําเร็จและโครงการที่มีประโยชนตอชุมชนและประชาชน

สวนมากก็มีความพึงพอใจทีชุ่มชนเขารวมโครงการ แตการศึกษาพบปญหาและอุปสรรคที่ชุมชน

บางสวนขาดความเขาใจในกระบวนการประชาคม

ศิรินันท กิตตสุิขสถิต (2550, หนา 1-5) ศึกษาคุณลักษณะของการแพรระบาดยาเสพตดิเพื่อการเฝาระวังในสถานประกอบการขนาดเล็กในประเทศไทย กลุมตวัอยางทีใ่ชในการศึกษา มีจํานวนทั้งสิ้น 127 คน แบงเปน ผูประกอบการ 50 คน แรงงาน 50 คน และเจาหนาที่บําบัด/ครอบครัวผูดูแล ผูนํา ชุมชน 27 คน พื้นที่ที่ดําเนินการศึกษา คือ สถานประกอบการขนาดเล็กที่มีแรงงานต่ํากวา 50 คน ในกจิการ 4 ประเภท คือ กิจการประมง กิจการขนสงทางบก กิจการกอสรางที่เปนแรงงานไทยและกิจการอุตสาหกรรมการผลิต ผลการศึกษาพบวา พื้นที่ที่มีปญหาการแพรระบาดยาเสพติดรุนแรงใน 4 ภาคของประเทศไทย ไดแก ภาคกลาง: กรุงเทพและปริมณฑล

Page 24: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

30

ภาคเหนือ: จังหวัดเชียงใหม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: จังหวดัขอนแกน และภาคใต: จังหวัดสงขลา และพบวา กลุมตัวอยางผูใหขอมูลที่เปนแรงงานยังมีความรูและความเขาใจเกีย่วกับยาเสพติด และสารเสพติด ที่หลากหลายและไมตรงกนั กลุมตัวอยางบางสวนเขาใจวา ยาเสพติด และสารเสพติด มีความแตกตางกัน โดยระบุความแตกตางกนัที่ ชนิด วิธีการเสพ และความรุนแรงกลาวคือเขาใจวา ยาเสพติด หมายถึง ยาจําพวกเม็ด ๆ เปนสิ่งเสพติดที่ใชกนิ เชน ยาบา และมีความเห็นวารุนแรงกวาสารเสพติด สวนสารเสพติด หมายถึง พวกสารระเหย ที่เอาไวดม หรือเปนสิ่งเสพติดที่ใชดูด หรือใชฉีด กลุมตัวอยางบางสวนเขาใจวา ยาเสพตดิใหโทษ แตสารเสพติดไมใหโทษ สําหรับทัศนคติตอการบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของกับยาเสพติด พบวา ยังคงมีปญหายาเสพติดเกดิขึ้นในสถานประกอบการขนาดเล็ก เนื่องจากผูที่จะเขาไปยุงเกีย่วกับยาเสพติดไมเกรงกลัวกฎหมาย รวมทั้งผูที่เขามามีบทบาทในการดําเนนิกิจกรรมปองกันและแกไขปญหายาเสพตดิไมมั่นใจในการเขามามีสวนรวมอยางจริงจัง ผลการศึกษาขอมูลของนายจาง สรุปไดวา สถานประกอบการทุกที่ควรเขารวมโครงการสถานประกอบการสีขาว แตมีขอเสนอแนะตอผูรับผิดชอบโครงการวาจะตองมีการทํางานกับสถานประกอบการในเชิงรุก คือ เขาถึงทั้งสวนของนายจางในเรือ่งความรูและแรงงานในเรื่องของการตรวจสุขภาพ รวมไปถึงการตรวจหาสารเสพติดในรางกายแรงงานเปนประจํา นอกจากนั้นชุมชนควรเขามามีสวนรวมในการเฝาระวังปญหายาเสพติด โดยใหอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) หรือเจาหนาที่สาธารณสุขชุมชน เขามาดูแลและประสานระหวางหนวยงานภาครัฐกับสถานประกอบการ หัวหนาคนงานจําเปนทีจ่ะตองมีความรูเร่ืองยาเสพติดเนื่องจากใกลชิดและเขาใจแรงงานมากทีสุ่ด นอกจากนีก้ารสลับกะการทํางานของแรงงานเปนอีกวิธีหนึ่งที่สถานประกอบการใชในการปองกันเพื่อขจดัความเสี่ยงในการใชยาเสพตดิของแรงงาน ผลการศึกษาขอมลูของแรงงาน สรุปไดวา แรงงานใหขอเสนอแนะที่สอดคลองกับขอคิดเห็นของนายจางหลายประเดน็ แตมีความคิดเห็นเพิ่มเตมิในดานการสงเสริมความรวมมือระหวางหนวยงานการบริหารงาน (องคกรปกครองสวนทองถ่ิน) กับองคกรปกครองในพื้นที ่(ผูใหญบาน) เพื่อการปองกนัและเฝาระวังปญหาโดยสอดสองดูแลพื้นที่รับผิดชอบของตนเอง อาทิตย คชชา (2551) ศึกษาความรู ทัศนคติและพฤติกรรมตอโครงการ “โรงงานสีขาว”: กรณีศึกษา พนักงานบริษัท ทีบีเคเค (ประเทศไทย) จํากัด พบวา ในภาพรวมพนักงานฯ มีความรูความเขาใจตอโครงการ “โรงงานสีขาว” ในระดับสูง และพบวา พนักงานฯ มีทัศนคติเชิงบวก คือเห็นดวยตอโครงการ “โรงงานสีขาว” และยังพบวาไมมพีนักงานฯที่มทีัศนคติในเชิงลบตอโครงการฯ เลย ดานพฤติกรรมพบวาพนกังานฯ มีพฤติกรรมตอโครงการฯ ในเชิงบวกคือปฏิบัติตามโครงการฯ เปนสวนมากจนถึงปฏิบัติทุกครั้ง และพบวาปจจัยดานตําแหนงงานและฝายงานของ

Page 25: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

31

พนักงานฯมีความแตกตางกนัในระดับความรูที่มีตอโครงการฯ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ รวมทั้งมีความแตกตางในระดบัทัศนคติที่มีตอโครงการฯเชน เดยีวกัน และยังพบวา ปจจัยดานเพศ และฝายงานของพนักงานฯ มีความแตกตางกันในระดับพฤติกรรมที่มีตอโครงการฯ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ วิภา ดานธํารงกูล (2551) วเิคราะหลักษณะประชากรและพฤติกรรมทีสั่มพันธกับการใชสารเสพติดในกลุมผูถูกคุมประพฤติ กลุมศึกษาเปนผูถูกจบักุมเนื่องจากการกระทําความผิดยาเสพติดระหวางเดอืนกรกฎาคม-พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 ผลการศึกษาพบวา กลุมศึกษาเปนชาย รอยละ 72 อายุเฉลี่ย 26.3+7.1 ป โสด รอยละ 43 ศึกษาต่ํากวามัธยมปลาย รอยละ 80 มีงานประจํา รอยละ 56 และ 1 ใน 4 มีรายไดจากงานทุจริตพอหรือแมเสียชีวติ/เลิกกัน/หยารางสูงมาก รอยละ 42 เคยถูกจับกอนครั้งนี ้รอยละ 55 ในจํานวนนี้ถูกจบั 2 คร้ังขึ้นไปสูงมาก รอยละ 77 คร้ังแรกเปนคด ียาเสพติด 3ใน 4 คร้ังนี้เกือบทั้งหมดเปนคดียาบา เคยเขาบําบัดยาเสพตดิ รอยละ 9 และเกีย่วของกับการจําหนายสารฯ รอยละ 34 กลุมศึกษาเคยใชสารฯ 2 ชนิดขึ้นไป รอยละ 56 และลดลงตามลําดับ เปน รอยละ 19 ในชวงเวลา 1 ปที่ผานมา และ 30 วันกอนถูกจับ เกือบทัง้หมดใชสารฯ เพียง 1 ชนิด เกือบทุกรายเคยใชยาบา และใชกัญชา ประมาณครึ่งหนึ่งรองลงมาคือกระทอมและสารระเหยในอัตราที่ไมแตกตางกันประมาณ รอยละ 16 เคยใชเฮโรอีน รอยละ 11 กลุมยาสมัยใหม เชน ยาอ ีและ ไอซ เคยใช รอยละ 7 และ รอยละ 10 ตามลําดับ ซ่ึงพบในกลุมหญิง สูงกวาชาย 2-3 เทาเมื่อจําแนกเปน 3 กลุมอายุคือ < 25 ป 25-29 ป และ >30 ป พบวา ในชวง 1 ปที่ผานมา กลุมอาย<ุ 25 ปและ 25-29 ป ใชสารฯ 2 ชนิดขึ้นไป ดวยอัตราที่สูงกวากลุมอาย ุ>30 ป คือ รอยละ 31 รอยละ 27 และ รอยละ 13 ตามลําดับแตกตางกันอยางมนีัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) สําหรับประสบการณใชสารฯจําแนกได 3 กลุม ไดแกกลุมที่ 1 อัตราการใชสารฯแตละชนิดในแตละกลุมอายุไมมีความแตกตางกันหรือแตกตางกันนอยมากไดแก การใชกญัชา กระทอม ยาบา กลุมที่ 2 มีความแตกตางกันใน แตละกลุมอาย ุโดยที่อัตราการใชสัมพันธกบัอาย ุกลาวคอื กลุมอายุมากจะมีอัตราการใชสูงกวากลุมอายุนอย ไดแก ฝน เฮโรอีน และดอมิกุมและกลุมที่ 3 อัตราการใชผกผันกับกลุมอาย ุกลาวคือ กลุมอายุนอย มีอัตราการใชมากกวากลุมอายุมากไดแก กลุมสารสมัยใหม -ยาอี/ยาเลิฟ ยาเค โคเคน และ ไอซ กลุมศึกษา 1 ใน 3 มีแนวโนมที่จะกลบัไปใชสารฯอกีโดยกลุมที่มโีอกาสสูงไดแก กลุมวางงาน/ มีงานชั่วคราว เคยใชสารฯ หลายชนิด เคยถูกจบักุมและมีพฤติการณการจําหนายฯ แตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) สําหรับตัวแปรอื่นไมมีความสัมพันธทางสถิติ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั ( 2551) ศึกษาเรื่อง “สถานการณปญหายาเสพติดในกลุมเด็กและเยาวชนในสถานพนิิจฯ และศูนยฝกอบรมเด็กและเยาวชน จังหวัดชลบุรีและระยอง :ขอมูลจากเยาวชนทีถู่กจับกุมตั้งแต ตุลาคม 2550 ถึง มีนาคม 2551” ผลการศึกษาพบวา

Page 26: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

32

ลักษณะงานประจําที่ทํากอนถูกจับกุมไดแก งานบริการในสถานบันเทงิ รานคาราโอเกะ รานอาหาร งานชางตาง ๆ และงานรับจางทั่วไป เยาวชนรอยละ 19.2 วางงานกอนถูกจับกุม ทั้งนี้มเียาวชน รอยละ 10.2 ที่จําหนายยาเสพติดเปนอาชพีหลัก และเยาวชนยังเปนกลุมที่มีสัดสวนการมีรายไดพิเศษจากงานที่ผิดกฎหมายมากกวากลุมอาชีพอ่ืนเยาวชนรอยละ 94.1 มีประสบการณในการ เสพยาบา รองลงมาไดแก กญัชารอยละ 43.7 ไอซรอยละ 22.1 และสารระเหยรอยละ 8.6 ทั้งนี้พบวา กัญชาและไอซเปนสารเสพติดที่มีสัดสวนการเสพในกลุมเยาวชนหญิงสูงกวาเยาวชนชายคอนขางมาก เยาวชนที่เสพยาบาเปนครั้งสุดทาย รอยละ 60.6 เสพยาบาไมเกิน 1 เม็ด รอยละ 27.1 เสพยาบาตั้งแต 2-5เม็ด ทั้งนี้มีเยาวชนรอยละ 4.0 เสพยาบาครั้งสุดทายมากกวา 10 เมด็ เยาวชนที่ระบุวามีประสบการณเสพกญัชาเปนครั้งสุดทาย มีคาใชจายในการซื้อกญัชาประมาณ 50-100 บาทตอคร้ัง เยาวชนที่ระบุวามีประสบการณเสพไอซเปนครั้งสุดทาย สวนหนึ่งระบุวาเสพไอซรวมกับ สารเสพติดชนิดอื่น ๆ เชน ยาบา เปนตน ชนิดของสารเสพติดที่เยาวชนสามารถเขาถึงไดงายที่สุด 5 อันดับแรก คือ ยาบา กัญชา ไอซ สารระเหย และกระทอม โดยพบวาเยาวชนสามารถหาสารเสพติดประเภท ยาบา และกระทอม ไดภายในระยะเวลาไมเกิน 10 นาที สวนกญัชา ฝน เฮโรอีน สารระเหย ยาอี/ยาเลิฟ เคตามีน โคเคน โดมิคุม และไอซสามารถหาไดภายในระยะเวลาไมเกิน 1 ชั่วโมง สถานการณยาเสพติดในพื้นที่ภาคตะวันออก พบวา ยาบาเขาสูพื้นที่ภาคตะวันออกตามบริเวณพืน้ที่ชายแดน และจากทางภาคเหนอื โดยแหลงที่มีการนําเขายาเสพติดสูงที่สุดที่ระบุถึงโดยเยาวชน คือ ทางดานทิศตะวนัออก ซ่ึงรับมาจากแหลงจําหนายและผลิตในประเทศกมัพูชา โดยมีจดุพักยาในพืน้ทีจ่ังหวดัสระแกว ชุมชนที่มีการแพรระบาด “กัญชา” จํานวนมาก ไดแก ชุมชนถนนสายลาง ชุมชนนิคมพัฒนาซอย 9 ชุมชนบานทุงเกล็ด จังหวดัระยอง ชุมชนสะดอน ชุมชนเนิน เอฟเอ็ม จังหวดัจันทบุรี สถานการณการแพรระบาดยาเสพติดในพืน้ที่ดังกลาวมีความรุนแรง มีการใชยาเสพตดิของผูประกอบอาชีพดานบรกิารในสถานบนัเทิง และผูใชแรงงานในภาคอุตสาหกรรม นอกจากนี ้ยานธุรกิจหลายแหงมีการจําหนายยาเสพตดิอยางแพรหลายโดยไมเกรงกลัวตอกฎหมาย เยาวชนระบวุา ผูคายาเสพติดในพัทยาสวนใหญใชโรงแรม คอนโด หรืออพารทเมนตเชา เปนสถานที่เก็บรักษายาเสพตดิ โดยกลุมลูกคาที่สําคัญเปนนักเรียนอาชวีศกึษา และเยาวชนที่ประกอบอาชีพในโรงงานและสถานบันเทิง แหลงที่มีเยาวชนไปรวมกลุมเพื่อเสพยา สวนใหญจะอยูในเขตพื้นที่พัทยาใต จากการทบทวนแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจยัที่เกีย่วของดังกลาว สรุปไดวายังคงมีปญหายาเสพตดิเกิดขึน้ในสถานประกอบการขนาดเล็ก (ศริินันท กิตติสุขสะกิด, 2550, หนา 5) สถานประกอบการทุกแหงจงึควรเขารวมโครงการโรงงานสีขาว จากการศึกษาทัศนคติและ

Page 27: แนวคิด ทฤษฎีและงานว ิจัี่ยที่ เก ยวของdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921356/chapter2.pdf · 7 บทที่

33

พฤติกรรมของพนักงาน พบวา พนกังานฯ มีทัศนคติเห็นดวยตอโครงการ และมีพฤตกิรรมการปฏิบัติตอโครงการ ในระดับปฏิบัติเปนสวนมากถึงปฏิบัติทุกครั้ง และพบวาเพศ และฝายงานที่แตกตางกันมีระดับพฤติกรรมที่มีตอโครงการโรงงานสีขาวตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (อาทิตย คชชา, 2551) และจากการศึกษาลักษณะประชากรและพฤติกรรมที่สัมพันธกับการใชสารเสพติดพบวาในกลุมหญิงมีการใชยาเสพตดิสมัยใหม เชน ยาอี ยาไอช สูงกวาชาย 2-3 เทาและกลุมอายุ นอยกวา 25 – 29 ปมีการใชสารเสพติด 2 ชนิดขึ้นไป ในอัตราที่สูงกวากลุมอายมุากกวา 30 ป จะเห็นไดวาการที่ บริษัท เอส. ดับบลิว. พรีซิชั่น จํากัด ไดเขารวมโครงการโรงงานสีขาว มาตั้งแตป 2550 จึงเปนนิมิตหมายที่ดี สงผลใหยาเสพตดิหมดสิ้นไปจากสถานประกอบการ ทั้งนี้การศึกษาทัศนคติของพนักงาน บริษัท เอส.ดับบลิว.พรีซิช่ัน จํากัด ทีม่ตีอโรงงานสีขาว รวมถึงการทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรยีบเทียบความแตกตางของลักษณะประชากรกับทัศนคติของพนักงานยอมนําผลของงานวิจยัมาปรบัปรุงโครงการและเสนอแนะตอผูบริหารเพื่อใหโครงการบรรลุผลสําเร็จตอไป