สารบัญthaihealthbook.com/admin/uploadimg/book/2018810972.pdf · 2018. 8. 25. ·...

6
สารบัญ ๔๕๖ ปีท่ ๓๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๐ www.thaihealthbook.com โรคภัยใกล้ตัว ๒๘ ชี้โรค-แจงยา นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ ยาต้านไวรัส “รักษาก็หาย ไม่รักษาก็หาย” ๓๑ เข้าใจ ไกลโรค ศ.นพ.ประเสริฐ อัสสันตชัย หกล้มในผู้สูงอายุ... สำาคัญไฉน ๓๔ ถนนสุขภาพ นพ.สันต์ หัตถีรัตน์ คนอ้วน/คนผอมเพียงใด ก็ตายเร็ว ๓๘ แพทย์แผนจีน นพ.ภาสกิจ (วิทวัส) วัณนาวิบูล เปรียบเทียบอวัยวะตับ (๒) มุมมองแพทย์แผนจีน ๔๓ โรคน่ารู้๑ พญ.สมพร จันทรา กระจกตาอักเสบ ๔๗ โรคน่ารู้๒ น.อ.นพ.พงศธร คชเสนี อ้วน กลม ระทมไต ๕๐ คุยกับหมอ ๓ บาท นพ.พินิจ ลิ้มสุคนธ์ ยานอก-ยาใน สุขภาพกาย-ใจ ๕๒ คนไข้หัวเราะ คุณหมอที่รัก นพ.สุรชัย ปัญญาพฤทธิ์พงศการบริหารมือ ๖๔ ๖๑ ๓๑ โซ่ทองคำา สมุนไพรลดไข้ แก้อักเสบ ยำาผักกูด กินอร่อยดี ปลอดมะเร็ง หกล้มในผู้สูงอายุ... สำาคัญไฉน เมืองไทย เชียงใหม่มาราธอน ๒๐๑๖ คุยกับผู้อ่าน นพ.ประเวศ วะสี ประเทศไทย ๕.๐ คือสังคมสันติสุข บรรณาธิการแถลง บอกเล่าเก้าสิบ นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ ร้านยากับการใช้ยา อย่างสมเหตุสมผล พิเศษในฉบับ ๑๒ ชัวร์แน่ แชร์ได้ กองบรรณาธิการ ผักกูด ปลอดมะเร็ง จริงหรือ? ๑๔ เรื่องน่ารู้๑ กองบรรณาธิการ ปลูก “ผักกูด” กันเถอะ ๑๖ เรื่องน่ารู้๒ รศ.นพ.วีรศักดิ์ เมืองไพศาล ลมแดด เพลียแดด ๒๒ รายงานพิเศษ กองบรรณาธิการ ผู้ป่วยเบาหวาน กับโซเชียลมีเดีย ๒๖ นวัตกรรม... สุขภาพดี กองบรรณาธิการ เสื้อไม่อาย สำาหรับตรวจเต้านม

Transcript of สารบัญthaihealthbook.com/admin/uploadimg/book/2018810972.pdf · 2018. 8. 25. ·...

Page 1: สารบัญthaihealthbook.com/admin/uploadimg/book/2018810972.pdf · 2018. 8. 25. · มีเรื่องที่ทำ ให้คนได้ยินได้ฟังหรือได้สัมผัส

4 http://publishing.doctor.or.th

สารบัญ ๔๕๖ปีที่ ๓๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๐www.thaihealthbook.com

โรคภัยใกล้ตัว

๒๘ ชี้โรค-แจงยา

นพ.สุรเกียรติอาชานานุภาพ

ยาต้านไวรัส

“รักษาก็หาย ไม่รักษาก็หาย”

๓๑ เข้าใจไกลโรค

ศ.นพ.ประเสริฐอัสสันตชัย

หกล้มในผู้สูงอายุ...สำาคัญไฉน

๓๔ ถนนสุขภาพ

นพ.สันต์หัตถีรัตน์

คนอ้วน/คนผอมเพียงใดก็ตายเร็ว

๓๘ แพทย์แผนจีน

นพ.ภาสกิจ(วิทวัส)วัณนาวิบูล

เปรียบเทียบอวัยวะตับ(๒)

มุมมองแพทย์แผนจีน

๔๓ โรคน่ารู้๑

พญ.สมพรจันทรา

กระจกตาอักเสบ

๔๗ โรคน่ารู้๒

น.อ.นพ.พงศธรคชเสนี

อ้วนกลมระทมไต

๕๐ คุยกับหมอ๓บาท

นพ.พินิจลิ้มสุคนธ์

ยานอก-ยาใน

สุขภาพกาย-ใจ

๕๒ คนไข้หัวเราะคุณหมอที่รัก

นพ.สุรชัยปัญญาพฤทธิ์พงศ์

การบริหารมือ

๖๔

๖๑

๓๑

โซ่ทองคำาสมุนไพรลดไข้ แก้อักเสบ

ยำาผักกูดกินอร่อยดี ปลอดมะเร็ง

หกล้มในผู้สูงอายุ...สำาคัญไฉนเมืองไทย เชียงใหม่มาราธอน ๒๐๑๖

๑ คุยกับผู้อ่าน

นพ.ประเวศวะสี

ประเทศไทย๕.๐

คือสังคมสันติสุข

๓ บรรณาธิการแถลง

๖ บอกเล่าเก้าสิบ

นพ.สุรเกียรติอาชานานุภาพ

ร้านยากับการใช้ยา

อย่างสมเหตุสมผล

พิเศษในฉบับ

๑๒ ชัวร์แน่แชร์ได้

กองบรรณาธิการ

ผักกูดปลอดมะเร็ง จริงหรือ?

๑๔ เรื่องน่ารู้๑

กองบรรณาธิการ

ปลูก“ผักกูด”กันเถอะ

๑๖ เรื่องน่ารู้๒

รศ.นพ.วีรศักดิ์เมืองไพศาล

ลมแดดเพลียแดด

๒๒ รายงานพิเศษ

กองบรรณาธิการ

ผู้ป่วยเบาหวาน

กับโซเชียลมีเดีย

๒๖ นวัตกรรม...สุขภาพดี

กองบรรณาธิการ

เสื้อไม่อาย

สำาหรับตรวจเต้านม

Page 2: สารบัญthaihealthbook.com/admin/uploadimg/book/2018810972.pdf · 2018. 8. 25. · มีเรื่องที่ทำ ให้คนได้ยินได้ฟังหรือได้สัมผัส

ปีที่ ๓๔ ฉบับที่ ๔๐๕ มกราคม ๒๕๕๖ 5

ปกิณกะ

๖๑ อาหารกับสมุนไพร

บ้านเล่าเรื่องเมืองสมุนไพร

จังหวัดปราจีนบุรี

ยำาผักกูด

๖๔ ต้นไม้-ใบหญ้า

ดร.ปิยรัษฎ์ปริญญาพงษ์

เจริญทรัพย์

โซ่ทองคำา

สร้างสรรค์-ชีวิต

๕๘ เดินไปปั่นไป

บุษกรเสนากุล

การเดินและการจักรยาน

กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ

ฉบับที่ ๑๒

๖๖ บนเส้นทางชีวิต

นพ.ประเวศวะสี

ถกัทอสรา้งประเทศไทยในฝนั (๑๐)

จินตภาพสังคมสันติสุข

๖ระดับ๔มิติ๑๒องค์ประกอบ

๗๔ ชีวิต-งาน-ทรรศนะ

คมส์ธนนท์ศุขอัจจะสกุล

ร.อ.นพ.อัจฉริยะแพงมา

เลขาธิการสถาบันการแพทย์

ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.)

น่ารู้

๗๘ แวดวงชวีติสขุภาพสิง่แวดลอ้ม

๘๔ ดัชนีค้นเรื่องหมอชาวบ้าน

ปีที่๓๘

ต่างประเทศ

๑ปี๑๒ฉบับเอเชีย ๒,๒๐๘ บาทยุโรป ออสเตรเลีย ๒,๕๙๒ บาทอเมริกาเหนือ/ใต้ ๒,๙๕๒ บาท

๒ปี๒๔ฉบับ เอเชีย ๔,๓๑๖ บาทยุโรป ออสเตรเลีย ๕,๐๘๔ บาทอเมริกาเหนือ/ใต้ ๕,๘๐๔ บาท

ในประเทศ

๑ปี ๑๒ ฉบับ ๗๒๐ บาท๒ป ี ๒๔ ฉบับ ๑,๔๔๐ บาท๓ป ี ๓๖ ฉบับ ๒,๑๖๐ บาท๕ป ี ๖๐ ฉบับ ๓,๖๐๐ บาท

อัตราค่าสมาชิกนิตยสารหมอชาวบ้าน

๗๔ ๕๘

๑๒ ผักกูดปลอดมะเร็งจริงหรือ?

ร.อ.นพ.อจัฉรยิะแพงมา เดินไปปั่นไป

Page 3: สารบัญthaihealthbook.com/admin/uploadimg/book/2018810972.pdf · 2018. 8. 25. · มีเรื่องที่ทำ ให้คนได้ยินได้ฟังหรือได้สัมผัส

คุยกับผู้อ่าน นพ.ประเวศ วะสี

ประเทศไทย คอืสงัคมสนัตสิขุ

ขอบคุณ ผู้เขียนทุกท่านที่ช่วยเขียนเป็นวิทยาทานl บทความที่ตีพิมพ์ในนิตยสารหมอชาวบ้าน ยินดีที่จะให้นำาไปเผยแพร่เป็นวิทยาทานสู่ประชาชน แต่ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ชื่อผู้เขียน

(ซึ่งเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์) ไม่อนุญาตให้นำาไปเผยแพร่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ทางการค้าl ข้อความโฆษณาใดๆ ที่ตีพิมพ์ในนิตยสารหมอชาวบ้านเป็นไปตามเงื่อนไขทางธุรกิจการค้า คณะบรรณาธิการไม่จำาเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป

คุยเรื่องประเทศไทย ๕.๐ อีกครั้งหนึ่ง

ประเทศไทย ๕.๐ นั้นเลยประเทศไทย ๔.๐ ออกไป

ประเทศไทย ๔.๐ นั้นหมายถึงนำาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในชีวิตการงานทุกแง่ทุกมุมอย่างไร

ถ้าพร้อมๆ กัน เรามีเป้าหมายสูงสุด คือ การอยู่ร่วมกันด้วยความสุขหรือสังคมสันติสุขในทุกๆ ระดับ

หรือ ๖ ระดับอย่างที่กำาลังปรากฏอยู่ในคอลัมน์บนเส้นทางชีวิต

เป้าหมายสูงสุดจะมาดึงเทคโนโลยีในประเทศไทย ๔.๐ ให้ถูกทิศถูกทางเข้ารูปเข้ารอยมากขึ้น

แต่การอยู่ร่วมกันด้วยความสุขต้องการมากกว่าเทคโนโลยี

สิ่งที่ต้องการนอกเหนือไปจากเทคโนโลยี ก็คือ จิตสำ�นึกและสัมพันธภ�พใหม่

ถ้าจิตสำานึกเล็กเอาตนเองเป็นตัวตั้ง หรืออัตตาสูง จะนำาไปสู่ความขัดแย้ง ความทุกข์ ความรุนแรง

ไม่เป็นไปเพื่อการอยู่ร่วมกัน

แตถ่�้จติสำ�นกึใหญ ่เข�้ถงึคว�มเปน็หนึง่เดยีวของทัง้หมด จติใจจะเปน็อสิระ มคีว�มสขุอย�่งลกึล้ำ�

ประสบคว�มง�มอันล้นเหลือ เกิดมิตรภ�พอันไพศ�ลต่อเพื่อนมนุษย์และสรรพสิ่ง เป็นไปเพื่อคว�มสุข

และก�รอยู่ร่วมกัน ต่อไปสู่สัมพันธภ�พใหม่

สัมพันธภาพเก่า คือ สัมพันธภาพเชิงอำานาจ หรือสัมพันธภาพทางดิ่ง จากบนลงล่าง (ท็อปดาวน์) เช่น

พ่อแม่ก็ท็อปดาวน์กับลูก ครูกับนักเรียน นายกับลูกน้อง หรือแม้แต่แพทย์กับคนไข้

สัมพันธภาพเชิงอำานาจก่อให้เกิดความบีบคั้น ขัดแย้ง มีการเรียนรู้ระหว่างกันน้อย ไม่เป็นบ่อเกิดของ

สติปัญญาและความสุขระหว่างกัน

สมัพนัธภาพใหมเ่ปน็สมัพนัธภาพเชงิกลัยาณมติรทีเ่คารพศกัดิศ์รแีละคณุคา่ความเปน็คนของกนัและกนั

เป็นสัมพันธภาพที่มีการเรียนรู้ร่วมกันในการปฏิบัติ (Interactive learning through action) อันนำาไปสู่การ

เปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐานในตัวตน มิตรภาพ พลัง และความสุข ประดุจบรรลุนิพพาน เราอาจเรียกตรงนี้ว่า

การปฏิวัติสัมพันธภาพ (Associational Revolution) ตรงการเกิดจิตสำานึกใหม่ก็มีผู้เรียกว่าเป็นการปฏิบัติ

จิตสำานึก (Consciousness Revolution)

ประเทศไทย ๕.๐ และโลก ๕.๐ จึงเป็นยุคแห่งจิตสำ�นึกใหม่และสัมพันธภ�พใหม่

Page 4: สารบัญthaihealthbook.com/admin/uploadimg/book/2018810972.pdf · 2018. 8. 25. · มีเรื่องที่ทำ ให้คนได้ยินได้ฟังหรือได้สัมผัส

บรรณาธิการแถลง

สำ�นักพิมพ์หมอช�วบ้�น บจก.๓๖/๖ ซอยประดิพัทธ์ ๑๐ ถนนประดิพัทธ์แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐โทร. ๐-๒๖๑๘-๔๗๑๐-๑๒โทรสาร ๐-๒๒๗๑-๑๘๐๖, ๐-๒๒๗๑-๐๑๗๐

บรรณ�ธิก�รนิตยส�รหมอช�วบ้�นโทร. ๐-๒๖๑๘-๔๗๑๐โทรสาร ๐-๒๒๗๑-๑๘๐๖E-mail : [email protected]

เจ้�ของ : สำานักพิมพ์หมอชาวบ้าน บจก.

บรรณ�ธิก�ร ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณ� : ศ.นพ.ประเวศ วะสี

บรรณ�ธิก�รอำ�นวยก�ร : ศ.นพ.สันต์ หัตถีรัตน์

บรรณ�ธิก�รบริห�ร : รศ.นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ

คณะบรรณ�ธิก�รบริห�ร

ศ.นพ.เกษียร ภังคานนท์

ภก.คทา บัณฑิตานุกูล

นพ.ธเนศ พัวพรพงษ์

รศ.นวลอนงค์ ชัยปิยะพร

ภก.นิติธร ธนธัญญา

ผศ.เนตรนภา ขุมทอง

ผศ.พวงน้อย สาครรัตนกุล

ศ.นพ.ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล

วีรพงษ์ เกรียงสินยศ

นพ.สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์

ศิริพร โกสุม

นพ.สมโภชน์ จิตรเกษมสุข

ภกญ.ดร.สุภาภรณ์ ปิติพร

นพ.สุรชัย ปัญญาพฤทธิ์พงศ์

ครูสุรินทร์ กิจนิตย์ชีว์

นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์

นพ.อานนท์ วณิชยาธนากร

นพ.อำานาจ บาลี

ประส�นง�น คมฆ์ธนนท์ ศุขอัจจะสกุล นิตยา พิริยะพงษ์พันธ์ นิฤมล ลี้สธนกุล

ศิลปกรรม/จัดหน้� สงวน ศรีบุรินทร์ สุธาทิพย์ รักพืช อดิศร จินดาอนันต์ยศ

โฆษณ� เสกสรร เรืองมนัสสุทธิ เอกชัย ศิลาอาสน์

บัญชี/ก�รเงิน นงนุช จินดาอนันต์ยศ อภิสราภรณ์ มูลทองชุน

จัดจำ�หน่�ย บริษัท เพ็ญบุญจัดจำาหน่าย จำากัด โทร. ๐-๒๖๑๕-๘๖๒๕

พิมพ์ที่ พิมพ์ดี บจก. นติยสารหมอชาวบ้าน ด�าเนนิงานโดยมิได้มุ่งหวังก�าไรทางการค้า คณะบรรณาธิการและผู้เขียนทุกท่าน ช่วยกันท�าเป็นวิทยาทาน โดยมิได้รับค่าตอบแทนใดๆ ทั้งสิ้น เพราะมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน ที่จะถ่ายทอดวิทยาการไปสู่ประชาชนให้มากที่สุด รายได้หลังจากหักค่าใช้จ่ายและเสียภาษี น�าไปใช้ในกิจกรรมสาธารณประโยชน์ต่างๆ

Depression : Let’s Talk ซึมเศร้า... เราคุยกันได้

คำ�ขวัญ “วันอน�มัยโลก” ๗ เมษ�ยน

ปีนี้องค์ก�รอน�มัยโลก (WHO) รณรงค์ “ภาวะซึมเศร้า” ซึ่งเป็น

เรื่องปกติที่เกิดขึ้นได้ ไม่ใช่คว�มอ่อนแอ ก�รพูดคุยกับคนที่ไว้ใจ เป็น

จุดเริ่มต้นที่ดีในก�รป้องกันตัวเองจ�กภ�วะซึมเศร้�

หมอช�วบ้�น ฉบับนี้ ๔๕๖ เดือนเมษ�ยน พ.ศ.๒๕๖๐ เดือนที่

ใครๆ บอกว่�อุณหภูมิสูงม�กกว่� ๔๐ องศ�เซลเซียสอย่�งแน่นอน ถึง

แม้อ�ก�ศจะร้อนเพียงใด แต่อุณหภูมิในใจของเร�ไม่ควรจะร้อนต�ม

มีเรื่องที่ทำ�ให้คนได้ยินได้ฟังหรือได้สัมผัส ร้อนใจ กินไม่ได้ นอน

ไม่หลับ นั่นคือ “มะเร็ง” และยิ่งถ้�เป็นข้อคว�มอะไรก็ต�มที่มีคำ�ว่�

มะเร็ง มักจะรีบแชร์อย่�งรวดเร็วโดยไม่ได้อ่�นร�ยละเอียด เป็นก�ร

สร้�งคว�มตระหนกโดยใช่เหตุ ดังเช่น “ผักกูด... อันตร�ย มีส�รก่อ-

มะเร็ง” เท่�นี้แหละ แชร์กันทั่วบ้�นทั่วเมืองข้�มศักร�ชกันทีเดียว

อ่�นเรื่อง “ผักกูด... ก่อ/ปลอดมะเร็ง...?” แล้วจะเข้�ใจว่�ทำ�ไม

“ยำาผักกูด” เป็นเมนูอ�ห�รยอดนิยมของหล�ยๆ ครอบครัว ขอบอก

ว่� “กินผักกูด... ชัวร์ อร่อยและสุขภ�พดี”

ถึงแม้จะมีก�รพูดถึงประเทศไทย ๔.๐ กันถ้วนหน้� แต่ทว่�

คอลัมน์คุยกับผู้อ่�น อ�จ�รย์ประเวศ วะสี นำ�เสนอ “ประเทศไทย

๕.๐ คือสังคมสันติสุข” ๖ ระดับ ๔ มิติ ๑๒ องค์ประกอบ

๖ ระดับ คือ ระดับครอบครัว ชุมชน องค์กร ท้องถิ่น ประเทศ

และโลก

๔ มิติ คือ ก�ย ใจ สังคม ปัญญ� แต่ละมิติมี ๓ องค์ประกอบ

รวมเป็น ๑๒ องค์ประกอบ

นอกจ�กนี้ มีโปสเตอร์ “บริหารมือ” เพื่อสร้�งเสริมสมรรถภ�พ

ท�งมือ ที่ทำ�ด้วยตนเองง่�ยๆ ใช้เวล�น้อย พบกันฉบับหน�้ ๔๕๗ พฤษภ�คม พ.ศ.๒๕๖๐ หมอช�วบ้�น

ก้�วขึ้นสู่ปีที่ ๓๙

กองบรรณ�ธิก�รจัดก�ร

Page 5: สารบัญthaihealthbook.com/admin/uploadimg/book/2018810972.pdf · 2018. 8. 25. · มีเรื่องที่ทำ ให้คนได้ยินได้ฟังหรือได้สัมผัส

6 www.thaihealthbook.com

นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ

ชมรมเภสัชกรชุมชนจังหวัดสงขลา

และชมรมร้านยาจังหวัดสงขลา

เพื่อหาลู่ทางในการส่งเสริมบทบาท

ของร้านยาในการใช้ยาอย่างสมเหตุ

สมผล

การใชย้าอยา่งไมส่มเหตสุมผล

หรอืการใชย้าไมเ่หมาะสม เปน็ปญัหา

สั่งสมมานานนม

ทีส่ำาคญัคอื การใชย้าปฏชิวีนะ

ซึง่มกีารใชอ้ยา่งไมส่มเหตสุมผล ตาม

“หากเราไม่จ่ายยาตามใจลูกค้า เขาก็จะหนีไปซื้อที่ร้านอื่น ควรทำาอย่างไร?”

“เราจำาเปน็ตอ้งจา่ยยาปฏชิวีนะใหล้กูคา้กนิครบกำาหนดวนั แต่เขามีเงินไม่พอ ควรทำาอย่างไร?”

นี้เป็นตัวอย่างข้อกังวลของเภสัชกรประจำาร้านยาที่ได้หยิบยกขึ้นมาพูด

คุยในวงสนทนาของกลุ่มเภสัชกรที่หาดใหญ่ ซึ่งผมมีโอกาสเข้าร่วมเมื่อกลาง

เดือนมีนาคมที่ผ่านมา

การประชมุแลกเปลีย่นเรยีนรูใ้นครัง้นี ้เปน็การจดัรว่มกนัของสำานกังาน

สาธารณสุขจังหวัดสงขลา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

บอกเล่าเก้าสิบ

ร้านยากับการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล

Page 6: สารบัญthaihealthbook.com/admin/uploadimg/book/2018810972.pdf · 2018. 8. 25. · มีเรื่องที่ทำ ให้คนได้ยินได้ฟังหรือได้สัมผัส

ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๔๕๖ เมษายน ๒๕๖๐ 7

สถานพยาบาล รา้นยา และชมุชนจนเกดิปญัหาเชือ้ดือ้ยา ซึง่เปน็เรือ่งทีห่ลาย

ฝ่ายพากันห่วงใย เพราะต่อไปจะมีคนที่เสียชีวิตจำานวนมากที่เกิดจากการ

ติดเชื้อที่ดื้อยา จนไม่มียารักษาได้

ด้วยเหตุนี้ ในช่วงไม่กี่ปีมานี้ นักวิชาการและหน่วยงานสาธารณสุขได้

มีการรณรงค์เรื่องการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุสมผล โดยเน้นการรณรงค์

ลดละการใช้ยาปฏิชีวนะเกินจำาเป็นในโรคที่พบบ่อย ๓ โรค ได้แก่ ไข้หวัด

ท้องเดิน และบาดแผลเล็กน้อยที่สะอาด (เช่น แผลมีดบาด)

โรคทั้ง ๓ ชนิดนี้อาศัยการให้ยารักษาตามอาการเป็นพื้นฐาน เช่น

ไข้หวัด การรักษาที่เหมาะสม คือ ให้ยาแก้ไข้ ลดน้ำามูก แก้ไอ ก็หายได้เองเป็น

ส่วนใหญ่ ยกเว้นคนไข้น้อยรายที่มีโรคติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน จึงจำาเป็น

ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ คนไข้ท้องเดินให้กินสารละลายน้ำาตาลเกลือแร่ทดแทนน้ำา

และเกลือแร่ที่สูญเสียออกจากร่างกาย ก็หายได้เป็นส่วนใหญ่ ส่วนผู้ที่มี

บาดแผลเล็กน้อยที่มีลักษณะสะอาด ก็หายได้เองโดยไม่จำาเป็นต้องใช้ยา

ปฏิชีวนะ

กลุม่เภสชักรทีจ่งัหวดัสงขลา ซึง่มกีารรวมตวัในการทำากจิกรรมเพือ่สงัคม

มาก่อน ได้หยิบยกปัญหานี้ขึ้นมาพูดคุย เพื่อให้เภสัชกรที่ประจำาร้านยา ซึ่ง

กระจายอยู่ตามย่านชุมชนต่างๆ ได้มีส่วนร่วมในการรณรงค์การใช้ยาอย่าง

สมเหตุสมผลโดยการจ่ายยาที่เหมาะสมให้ลูกค้าที่มาซื้อยา

ในการประชุมครั้งนี้ แทนที่นักวิชาการและผู้บริหารสาธารณสุขจะสอน

และขอรอ้งกึง่บงัคบัใหเ้ภสชักรรา้นยาทำาตามกฎเกณฑท์างราชการ ผูจ้ดัประชมุ

ไดเ้ปดิโอกาสใหเ้ภสชักรรา้นยาไดเ้ปดิใจ สะทอ้นและแลกเปลีย่นประสบการณ ์

แง่คิดมุมมอง ข้อกังวลและปัญหาอุปสรรคในการดำาเนินการในเรื่องนี้ ด้วย

บรรยากาศฉันพี่น้อง

ที่น่ายินดี ทุกคนเห็นความสำาคัญของเรื่องนี้ แต่มีข้อกังวลดังได้หยิบยก

มาไว้ตอนเริ่มต้นของข้อเขียนนี้

เภสัชกรรุ่นพี่ๆ ที่เปิดร้านยามานาน ได้เล่าประสบการณ์ในการแก้ข้อ

กังวลดังกล่าวไว้อย่างน่าประทับใจยิ่ง

พวกเขาเล่าให้ฟังว่า หัวใจของเรื่องนี้ คือ การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี

กบัชาวบา้นทีม่าซือ้ยาทีร่า้นยา ตอ้งมเีวลาพดูคยุทำาความรูจ้กัสว่นตวักบัลกูคา้

ทุกคน การจำาชื่อลูกค้ารวมทั้งสมาชิกของครอบครัวเขาได้ดี และการจำา

ประวัติการเจ็บป่วยและการใช้ยาต่างๆ รวมทั้งสามารถพูดคุยให้คำาปรึกษา

แนะนำาในเรื่องอื่นๆ อย่างกัลยาณมิตร จะเป็นเสน่ห์ผูกใจเขาได้เป็นอย่างยิ่ง

ซึ่งจะทำาได้แบบนี้ต้องใช้เวลาในการมีปฏิสัมพันธ์ติดต่อกันบ่อยครั้งเข้า

เมื่อชาวบ้านอยากได้ยาที่ไม่เหมาะสม ก็แสดงความจริงใจ ให้เวลาพูด

คุย อธิบายให้พวกเขาตระหนักในความไม่ปลอดภัยของการใช้ยาที่ไม่สมเหตุ

สมผล แรกๆ ชาวบ้านอาจไม่เข้าใจ แต่เมื่อเห็นความจริงใจและความมี

มนุษยสัมพันธ์ พวกเขาก็กลับหันมายอมรับและมาใช้บริการมากขึ้น มิหนำาซ้ำา

ยงัมกีารบอกตอ่คนอืน่ๆ มลีกูคา้เพิม่

ขึ้น รายได้ก็ไม่มีปัญหา

มีเภสัชกรท่านหนึ่งเล่าว่า บาง

ครัง้จำาเปน็ตอ้งจา่ยยาใหไ้ดค้รบขนาด

และจำานวนวันของการใช้ยา (อาทิ

การให้ยาปฏิชีวนะในคนที่เป็นโรค

ตดิเชือ้แบคทเีรยี เชน่ ทอนซลิอกัเสบ)

ชาวบ้านพกเงินมาไม่พอ ก็ยอมจ่าย

ยาจำานวนนั้นไป และบอกลูกค้าว่า

ค่อยนำาเงินมาจ่ายคืนให้ในวันหลัง

ซึ่งเขาก็ตามมาใช้ให้จริง

เภสชักรอกีทา่นหนึง่ทีเ่ปดิรา้น

ยามานานรว่ม ๓๐ ป ีมคีวามสมัพนัธ์

กับบรรดาลูกค้าที่เป็นขาประจำาเป็น

อยา่งด ีเลา่วา่ ชาวบา้นทีม่าขอซือ้ยา

ถ้าเห็นว่าเป็นโรคที่ไม่จำาเป็นต้องใช้

ยา ก็จะแนะนำาให้เขาปฏิบัติตัว เช่น

การประคบ การบริหารร่างกาย โดย

ไม่จ่ายยาและไม่คิดค่าบริการ จนมี

ลกูคา้จากทีห่า่งไกลแวะมาเปน็ลกูคา้

เพราะมีการบอกต่อๆ กันว่า ถ้าไม่

อยากใช้ยามากเกินต้องมาที่ร้านนี้

การแสดงความจริงใจและใช้ยาอย่าง

สมเหตสุมผล แทนทีจ่ะสญูเสยีลกูคา้

และรายได้ กลับได้ผลในทางตรงกัน

ข้าม

ผมได้บทเรียนว่า แม้การ

รณรงคก์ารใชย้าอยา่งสมเหตสุมผล

จะเกีย่วขอ้งกบัปจัจยัหลายอยา่งที่

ดูจะเป็นเรื่องที่ทำาได้ยาก หากผู้ให้

บริการมีความบริสุทธิ์ใจ จริงใจ

ความมุ่งมั่นในการทำาความดี รู้จัก

เรียนรู้และสร้างความสัมพันธ์ที่ดี

กับชุมชน ก็ย่อมจะประสบผลสำา-

เร็จได้