สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181...

17
สารบัญ บทน�า 7 แบบทดสอบ 18 บทที่ 1 อะตอม 21 แนวข้อสอบท้ายบท 35 บทที่ 2 สมบัติตามตารางธาตุ 41 แนวข้อสอบท้ายบท 53 บทที่ 3 พันธะเคมี 59 แนวข้อสอบท้ายบท 86 บทที่ 4 ปริมาณสารสัมพันธ์ 92 แนวข้อสอบท้ายบท 111 บทที่ 5 ก๊าซ 114 แนวข้อสอบท้ายบท 120 บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 124 แนวข้อสอบท้ายบท 135 page_����.indd 4 17/5/61 14:25

Transcript of สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181...

Page 1: สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181 บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท

สารบัญ

บทน�า 7แบบทดสอบ 18

บทที่ 1 อะตอม 21 • แนวข้อสอบท้ายบท 35

บทที่ 2 สมบัติตามตารางธาตุ 41 • แนวข้อสอบท้ายบท 53

บทที่ 3 พันธะเคม ี 59 • แนวข้อสอบท้ายบท 86

บทที่ 4 ปริมาณสารสัมพันธ์ 92 • แนวข้อสอบท้ายบท 111

บทที่ 5 ก๊าซ 114 • แนวข้อสอบท้ายบท 120

บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 124 • แนวข้อสอบท้ายบท 135

page_����.indd 4 17/5/61 14:25

Page 2: สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181 บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท

บทที่ 7 สมดุลเคม ี 142 • แนวข้อสอบท้ายบท 155

บทที่ 8 กรด–เบส 161 • แนวข้อสอบท้ายบท 181

บทที่ 9 ไฟฟ้าเคม ี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท 210

บทที่ 10 อินทรีย์เคม ี 217 • แนวข้อสอบท้ายบท 234

บทที่ 11 สารชีวโมเลกุล 242 • แนวข้อสอบท้ายบท 257

บทที่ 12 เชื้อเพลิงซากดึกด�าบรรพ์ และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคม ี 264 • แนวข้อสอบท้ายบท 277

Update : 4 ธาตุใหม่ได้ชื่อบรรจุในตารางธาตุเรียบร้อยแล้ว 282 เคมีกับภาคธุรกิจอุตสาหกรรม 287

เฉลยแนวข้อสอบท้ายบท 291

page_����.indd 5 17/5/61 14:25

Page 3: สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181 บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท

page_����.indd 6 17/5/61 14:25

Page 4: สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181 บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท

7

โลหะทรานซิซัน

Zig-Zag Line

Nihonium286

Moscovium288

Tennessine294

Oganesson294

บทนำ�

ส� คำัญที่จุดเริ่มต้นำ

‘First thing first’ ส�านวนภาษาอังกฤษนี้หมายถึงสิ่งส�าคัญที่ต้องท�าก่อน นั่นคือเมื่อเรามสีิ่งที่ต้องท�าอยู่มากมาย นึกอะไรไม่ออก กระวนกระวายเรื่อยไป เค้าเลยแนะน�าให้หาว่าสิ่งใดที่ส�าคัญที่สุดให้เริ่มต้นจากสิ่งนั้น

ครูขอให้นักเรียนเริ่มต้นจากความรู้ชุดนี้ เป็นเรื่องที่เด็กแอดทุกคนต้องทราบ อันนี้ซีเรียส ถ้าไม่รู้นี่เปรียบเหมือนบ้านไม่มีไฟฟ้า จะท�าอะไรก็ไม่สะดวกหรือถึงขั้นท�าไม่ได้เลย

เด็กแอดต้องรู้

µาÃาง¸าµุ

เล¢ออก«ÔเดชันOxidation No.

เ¢ียนÊูตÃเ¤มี µะกอน

เ¢ียนÊมกาÃเ¤มี

ตารางธาตุ

นอกจากนักเรียนต้องจ�าธาตุหมู่ต่างๆ ในตารางธาตุได้ นักเรียนยังต้องทราบคุณสมบัติเด่นของหมู่ด้วย และอาจลงถึงธาตุบางตัวที่โดดเด่นมากๆ เช่น ถ้านึกถึงธาตุหมู่ I นักเรียนจะนึกถึงอะไรได้บ้างหมู่ IA (Alkali Metals) Li Na K Rb Cs Fr* (เด็ก ม.ต้น ท่อง ลิง ซน บนต้นโพธิ์ รับ เศษ ฝรั่ง)

สมบัติที่คำรูบอกต่อไปนำี้เด็กแอดต้องคำุ้นำไม่ต�่ากว่า 6 ข้อ!!!

1. เป็นโลหะที่อ่อนนุ่ม ตัดแบ่งได้ง่าย ใช้เพียงไม้บรรทัดพลาสติกก็ตัดแบ่งหมู่ I ได้ (อันนี้ ให้นึกถึงโลหะที่คุ้นเคย เช่น เหล็ก จะมาตัดด้วยไม้บรรทัดนี่ไม่ได้แน่นอน)

Li Na K Rb Cs Fr* (เด็ก ม.ต้น ท่อง ลิง ซน บนต้นโพธิ์ รับ เศษ ฝรั่ง)

ลิเทียม โซเดียม โพแทสเซียม รูบิเดียม ซีเซียม ฟรานเซียม

page_����.indd 7 17/5/61 14:25

Page 5: สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181 บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท

8

เลขออกซิเดชันำ (Oxidation Number)(รายละเอียดการก�าหนดค่าและวิธีค�านวณอยู่ในบทสมบัติตามตารางธาตุ)เลขออกซิเดชัน หมายถึง ประจุของธาตุในสภาพที่เสถียร

ปกติถ้าพูดถึงประจุ นักเรียนจะนึกถึงบวกและลบซึ่งก็เกือบถูก เพียงแต่เลขออกซิเดชันคือบวก ลบ ที่มีค่าตัวเลขก�ากับด้วย เราคิดค่าตัวเลขนี้เมื่อธาตุอยู่ในสภาพที่เสถียร และบางธาตุก็เสถียรได้หลายแบบ เลยท�าให้มีประจุได้หลายค่า

• พวกที่ไม่มีประจุ = Free Elementsสารที่ไม่มีประจุจะมี 2 พวก คือ ธาตุเดี่ยวและสารประกอบของธาตุเดียวกัน

ธาตุเดี่ยว เช่น C, H, K, Zn และ Cu เมื่อยังไม่มีการประกอบกับธาตุใด ไม่ต้อง รับ-จ่ายอิเล็กตรอน ก็ยังไม่มีประจุ

สารประกอบของธาตุเดียวกัน เช่น , , และ เป็นการเกิดสารประกอบแบบที่ไม่มีการแย่งชิงอิเล็กตรอน ก็ยังไม่ต้องมีประจุ• ธาตุที่มีประจุเป็นำบวก เมื่อเสียอิเล็กตรอนจะเสียสมดุลของประจุเพราะโปรตอนเกินดุลประจุบวกจะโดดเด่นขึ้นมา• ธาตุที่มีประจุเป็นำลบ เมื่อรับอิเล็กตรอนเข้ามาเพิ่มก็จะท�าให้อิเล็กตรอนเกินดุล ประจุลบก็จะโดดเด่นขึ้นมา

2. จุดหลอมเหลว จุดเดือดไม่สูงนัก บางตัวแค่หลักร้อย หน่วยเป็นองศาเซลเซียส 3. ว่องไวในปฏิกิริยาที่สุดในบรรดาโลหะด้วยกัน (รีดิวซ์เก่ง) โดยเฉพาะปฏิกิริยากับน�้าและเกิด ก๊าซ 4. มีขนาดใหญ่ที่สุดในคาบ เป็นเหตุให้รีดิวซ์เก่ง 5. มีค่า ต�่าสุด และค่า สูงสุดในคาบ 6. Li เป็นธาตุที่จ่ายอิเล็กตรอนเก่งที่สุดในโลกเพราะมีค่าศักย์ไฟฟ้าต�่า 7. เป็นเบสที่ละลายน�้าได้และเป็นเบสที่แรงมาก จัดอยู่ในจ�าพวกเบสแก่

ถ้านึกออกมาไม่ได้อย่างที่ครูบอกก็ไม่ต้องตกใจไป เราไปเรียนละเอียดกันในบทสมบัติตามตารางธาตุได้ ข้อมูลนี้ครูตัดตอนมาประกอบเป็นตัวอย่าง

***** ในเบื้องต้นนี้เด็กแอดต้องจ�าธาตุในหมู่ต่างๆ ได้ ********** ในเบื้องต้นนี้เด็กแอดต้องจ�าธาตุในหมู่ต่างๆ ได้ *****

โลหะ

page_����.indd 8 17/5/61 14:25

Page 6: สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181 บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท

9

แผนำภาพประจุภายในำของธาตุ

6C โปรตอน + + + + + + อิเล็กตรอน - - - - - -

+ + + + + +- - - -

ถ้าจ่าย 2e-

+ + + + + +- - - - - - - -

ถ้ารับ 2e-

ถ้ารับหรือจ่ายโปรตอนประจุเปลี่ยนและธาตุเปลี่ยนด้วย

ส่วนที่เด็กแอดต้องทราบคือค่าเลขออกซิเดชันบวกและลบ เพราะใช้หลายเรื่องตั้งแต่ตารางธาตุจนถึงไฟฟ้าเคมี

+ ธาตุที่มีเลขออกซิเดชันำเป็นำบวก

โลหะที่มีประจุเดียว ได้แก่ หมู่ I (1+) Li, Na, K, Rb, Cs และ Fr* หมู่ II (2+) Be, Mg, Ca, Sr, Ba และ Ra* และ หมู่ III (3+) B, Al, Ga, In และ Tl * ตอนนี้ให้ละพวกกัมมันตรังสีไปก่อน ก็คือ Fr และ Ra

โลหะที่มีประจุได้หลายค่า ได้แก่ โลหะทรานซิชัน เช่น และ ทรานซิชันที่มีประจุเดียวที่ต้องทราบ ได้แก่ และ

โลหะ

page_����.indd 9 17/5/61 14:25

Page 7: สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181 บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท

10

ตัวอยางการคิดประจุโลหะ

ÍâÅËÐ àÁ×èÍà¡Ô´ÊÒûÃСͺ¡ÑºÍâÅËдŒÇ¡ѹáÅÐÁÕ¤‹Ò EN µíèÒ¡Ç‹Ò àª‹¹ »¡µÔàÃÒ¤Ô´»ÃШØźãËŒ¸ÒµØ·Õè¤‹Ò EN ÊÙ§¡Ç‹Ò ¡Ã³Õ¹Õé¤×Í F áÅпÅÙÍÍÃչᵋÅеÑÇÁÕàÅ¢ÍÍ¡«Ôപѹ໚¹ 1- ·íÒãËŒ O ÁÕ»ÃШØ໚¹ 2+

- ธาตุที่มีเลขออกซิเดชันเปนลบ

䴌ᡋ ÍâÅËзÕèÁÕ¤‹Ò EN ÊÙ§áÅÐ͹ØÁÙÅÍâÅËÐÍâÅËзÕèÁÕ¤‹Ò EN ÊÙ§ àÁ×èÍ໚¹Åº¤‹Ò·ÕèàʶÕÂÃÊØ´¢Í§áµ‹ÅÐËÁً໚¹´Ñ§¹Õé

ËÁÙ‹ IV (4-), C, Si, Ge, Sn áÅÐ Pb ËÁÙ‹ V (3-), N, P, As, Sb áÅÐ Bi ËÁÙ‹ VI (2-) O, S, Se, Te áÅÐ PoáÅÐ ËÁÙ‹ VII (1-) F, Cl, Br, I áÅÐ At ṋ¹Í¹Ç‹ÒÍâÅËÐàͧ¡çÁÕ»ÃШØËÅÒ¤‹Ò ᵋ¡ÒÃ㪌¤‹Ò·Õè໚¹Åºãˌ㪌¤‹ÒàËÅ‹Ò¹Õ顋͹ ṋ¹Í¹Ç‹ÒÍâÅËÐàͧ¡çÁÕ»ÃШØËÅÒ¤‹Ò ᵋ¡ÒÃ㪌¤‹Ò·Õè໚¹Åºãˌ㪌¤‹ÒàËÅ‹Ò¹Õ顋͹ ṋ¹Í¹Ç‹ÒÍâÅËÐàͧ¡çÁÕ»ÃШØËÅÒ¤‹Ò ᵋ¡ÒÃ㪌¤‹Ò·Õè໚¹Åºãˌ㪌¤‹ÒàËÅ‹Ò¹Õ顋͹ ṋ¹Í¹Ç‹ÒÍâÅËÐàͧ¡çÁÕ»ÃШØËÅÒ¤‹Ò ᵋ¡ÒÃ㪌¤‹Ò·Õè໚¹Åºãˌ㪌¤‹ÒàËÅ‹Ò¹Õ顋͹ ᵋ¡ÒÃ㪌¤‹Ò·Õè໚¹Åºãˌ㪌¤‹ÒàËÅ‹Ò¹Õ顋͹

¡ÒÃ¤Ó ¹Ç³»ÃШصŒÍ§ãˌ䴌´ØÅÃÐËÇ‹Ò§ºÇ¡¡ÑºÅºàÇŒ¹¡Ã³Õ·Õè໚¹Í¹ØÁÙŨÐÁÕ»ÃШØÊØ·¸ÔµŒÍ§¤Ô´»ÃШØÃÇÁãˌ෋һÃШØÊØ·¸Ô (͹ØÁÙÅ=äÍÍ͹·Õè໚¹ËÁÙ‹ÍеÍÁ)ઋ¹ ¡Ã³Õ¹Õé»ÃÐ¨Ø Cr áÅÐ O 4 µÑÇ ÃÇÁ¡Ñ¹µŒÍ§à»š¹ 2- ´Ñ§¹Õé

page_����.indd 10 17/5/61 16:29

Page 8: สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181 บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท

11

อนำุมูลอโลหะ

เด็กแอดต้องรู้ (รายละเอียดการอ่านชื่อ ที่มา และวิธีจ�า ครูจะอธิบายให้ในบทพันธะเคมี)แบ่งตามค่าตัวเลขดังนี้

, , , , และ 1.

2.

3.

, และ

ตัวอย่างการคำิดประจุอโลหะ

ล� ดับ EN ที่ต้องรู้ให้ธาตุ EN สูงกว่าเป็นลบ

ประจุสุทธิรวมกันเป็น -1O มีค่า EN สูงกว่า N

การเขียนำสูตรเคำมี

แปลไทยเป็นไทยการเขียนสูตรเคมีคือการเขียนเลขห้อยของธาตุเมื่อมารวมเป็นสารประกอบ เช่น และ เป็นต้น

สารประกอบสองแบบที่นักเรียนจะได้เรียนจากเรื่องพันธะเคมีจะมีวิธีการเขียนสูตรและการอ่านชื่อคนละแบบ ได้แก่ สารประกอบไอออนิกและสารประกอบโคเวเลนต์

• สารประกอบไอออนำิก (โลหะ+-อโลหะ-)

เลขห้อยได้จากการ Balance ประจุให้บวกและลบเท่ากัน ด้วยการคูณไขว้เลขออกซิเดชัน และต้องตัดทอนให้เป็นสัดส่วนอย่างต�่าด้วย

เมื่ออ่านชื่อจะไม่อ่านเลขห้อย อ่านเรียงล�าดับบวกตามด้วยลบ และให้ผันเสียงลงท้ายเป็นไอด์ (ide) กรณีที่ลบมีชื่อเฉพาะให้ใช้ชื่อเฉพาะนั้นต่อไปได้เลย ไอด์ (ide) กรณีที่ลบมีชื่อเฉพาะให้ใช้ชื่อเฉพาะนั้นต่อไปได้เลย

page_����.indd 11 17/5/61 14:25

Page 9: สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181 บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท

12

เช่นสารประกอบระหว่าง กับ เมื่อคูณไขว้ประจุ

ได้สูตร

สารประกอบระหว่างอะลูมิเนียม กับไนเตรต

อ่านว่า อะลูมิเนียมไนเตรตได้สูตร

กรณีเป็นโลหะทรานซิชันที่มีเลขออกซิเดชันหลายค่า โจทย์จะให้ประจุมาเป็นเลขโรมัน เช่น คอปเปอร์ (II) ซัลเฟต => ==> * แมงกานีส (IV) ออกไซด์ => ==> *

* อย่าลืมว่าเลขห้อยไอออนิกต้องตัดทอนให้เป็นสัดส่วนอย่างต�่า

กรณีเป็นโลหะทรานซิชันที่มีเลขออกซิเดชันหลายค่า โจทย์จะให้ประจุมาเป็นเลขโรมัน เช่น คอปเปอร์ (II) ซัลเฟต => ==> * แมงกานีส (IV) ออกไซด์ แมงกานีส (IV) ออกไซด์ => ==> * แมงกานีส (IV) ออกไซด์ > > > > > > > *> *> *> *> *

• สำารประกอบโคเวเลนต์ (อโลหะ-อโลหะ)

เลขห้อยเขยีนจากท่ีอ่านมาโดยใช้ระบบเลขโรมัน 1 = mono, 2 = di, 3 = tri, 4 = tetra, 5 = penta, 6 = hexa, 7 = hepta, 8 = octa, 9 = nona และ 10 = deca เช่น

คาร์บอนเตตระคลอไรด์ = ,ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ = ,คาร์บอนไดซัลไฟด์ =

บางตัวของโคเวเลนต์มีชื่อเฉพาะ เช่น

อ่านว่า ไฮเดรต (เคมีเรียกน�้าว่าไฮเดรต ไม่ใช่ water) อ่านว่า แอมโมเนีย อ่านว่า กลูโคส (หนึ่งในน�้าตาลโมเลกุลเดี่ยวตระกูลเฮกโซส) อ่านว่า แอมโมเนียม อ่านว่า ก๊าซไข่เน่า** อ่านว่า กรดน�้าส้ม** เป็นต้น ** เป็นชื่อสามัญที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย

NO-13

อ่านว่า แคลเซียมไนไตรด์

page_����.indd 12 29/8/61 09:08

Page 10: สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181 บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท

13

สมการเคมีที่เด็กแอดต้องเขียนเองได้ ได้แก่ สมการแทนที่

สมการของสารที่แตกตัวเป็นไอออนสมการการเผาไหม้สารอินทรีย์

สมการแทนที่

ตะกอนำ

1. สารประกอบของ และ กับหมู่ VII และ เช่น และ 2. สารประกอบของอนุมูล 2-, อนุมูล 3- เช่น และ กับหมู่ II (Be, Mg, Ca, Sr และ Ba) เช่น ยกเว้น ละลายน�้าได้ 3. สารประกอบ และ ของ Be Mg และ Al 4. สารประกอบของ และ กับไอออนลบใดๆ ยกเว้น (พูดได้ว่าซิลเวอร์ กับ เลด จับไนเตรต ละลายน�้าได้)

การเขียนำสมการเคำมี

สมการเคมี แสดงการเกิดสารใหม่จากการผสมสารตั้งต้นที่ท�าปฏิกิริยากัน สภาพสารในระบบจะเปลี่ยนจากสูตรเคมีด้านซ้าย จากนั้นในระบบจะมีสารเกิดใหม่แสดงทางด้านขวา สารที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับปริมาณสารในปฏิกิริยาจะเขียนไว้บนลูกศร เช่น ตัวเร่งปฏิกิริยา

ตัวอย่างสมการเคำมี ตัวเร่งปฏิกิริยา

สมการเคมีที่เด็กแอดต้องเขียนเองได้ ได้แก่ สมการแทนที่ สมการแทนที่

สมการของสารที่แตกตัวเป็นไอออนสมการการเผาไหม้สารอินทรีย์

เด็กแอดทุกคนต้องระบุการละลายน�้าของสารได้ โดยเฉพาะสารประกอบไอออนิกสารประกอบไอออนิกที่ตกตะกอนในน�้า ได้แก่

page_����.indd 13 17/5/61 14:25

Page 11: สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181 บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท

14

เมื่อเขียนสมการเคมีแล้ว เช็กสูตรเคมีต่างๆ ว่าเลขห้อยถูกต้องแล้ว นักเรียนต้องดุลสมการ คือท�าจ�านวนธาตุทั้งสองข้างสมการให้เท่ากัน วิธีการปกติคือคูณเลขไปที่ข้างหน้าสารเพื่อเพิ่มจ�านวนสารฝั›งหนึ่งให้เท่ากับอีกฝั›งหนึ่ง

เช่น จะเห็นว่าจ�านวนธาตุทางซ้ายและขวายังไม่เท่ากัน เห็นๆ คือ C ทางซ้ายมี 3 ตัว (ห้อย 3) ทางขวามีตัวเดียว

คำูณ 3 หนำ้า [C ซ้ายขวาเท่ากันแล้ว]คำูณ 4 หนำ้า [H ซ้ายขวาเท่ากันแล้ว]

เมื่อคูณเลขให้สารทั้งสองตัว จ�านวน O ในสารทั้งสองก็เพิ่มตามด้วยขณะนี้ O ใน มี 6 ตัว และใน มี 4 ตัว รวมเป็น 10 ตัว

ต้องย้อนไปคูณเลข 5 หน้า ทางซ้ายเพื่อให้มี 10 ตัวเท่าทางขวา

คำูณ 5 หนำ้า สมการนี้ดุลทั้งสองฝั›งเท่ากันแล้ว

ปฏิกิริยาแทนำที่ี

โลหะ (หมู่ I, II, III และทรานซิชัน) กับสารละลายกรด (H-อโลหะ, H-อนุมูล)โลหะ + สารละลายกรด

(ระวังโลหะมีตระกูลต้องใช้กรดออกโซแรงๆ เช่น กรดดินประสิว และอาจไดผ้ลลัพธ์เฉพาะ)

ในำบทตารางธาตุ ในำบทกรด-เบส ใบบทไฟฟาเคำมี

แผนำภาพการแทนำที่โลหะในำกรด

โลหะ + H-อโลหะ โลหะ-อโลหะ +

äล‹ H ออก

แล้วแ·น·ีè

ex ยังไม่สมดุล

สมดุลแล้ว

page_����.indd 14 17/5/61 14:25

Page 12: สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181 บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท

15

เคยจับอยู่กับในการเกิดสารใหม่ ต้องหาลบตัวใหม่

ก็คือ

ตัวอย่างปฏิกิริยาโลหะ+กรด

อย่าลืมเลขห้อยใช้วิธีคูณไขว้ประจุ

ตัวอย่างปฏิกิริยา

ปฏิกิริยาของสารที่แตกตัวเป็นำไอออนำได้

เมื่อผสมสารละลายอิเล็กโทรไลต์ต่างชนิดเข้าด้วยกัน ไอออนจะจับคู่กันใหม่ แสดงได้ดังนี้

แผนำภาพการผสม AB + XY

ผสมสารละลาย กับสารละลาย เพื่อเกิดสารใหม่ ต้องจับกับลบตัวใหม่ ในที่นี้คือ เช่นเดียวกับ และ (การเขียนสูตรเคมีนิยมเขียนบวกแล้วตามด้วยลบ เว้นแต่การเขียนสูตรสารอินทรีย์ที่ให้ลบขึ้นก่อน)

เขียนสมการเคมี ดังนี้ AB + XY AY + XBเขียนสมการเคมี ดังนี้ AB + XY AY + XB

ตัวอย่างปฏิกิริยา

ผสมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์กับสารละลายซิลเวอร์ไนเตรต

ส�าหรับนักเรียนที่ยังไม่คล่องให้ทดประจุของสารตั้งต้นก่อนอย่างที่ครูท�านี้(สมการนี้ดุลแล้ว)

page_����.indd 15 17/5/61 14:25

Page 13: สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181 บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท

16

การเผาไหม้สารไฮโดรคำาร์บอนำ (สารอินำทรีย์)

C จะถูก O จับ ไปเกิดเป็น ถ้าการเผาไหม้สมบูรณ์ และเป็น CO ถ้าการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ *** ถ้าโจทย์ไม่ระบุว่าผิดปกติใดๆ ถือว่าเกิดได้อย่างสมบูรณ์ ***

H จะถูก O จับ ไปเกิดเป็น เสมอ

เตือนำให้ระวัง

1. กับ จะรวมกันเป็น2. เมื่อเกิด จะไม่อยู่ตัว แตกตัวออกเป็น

ตัวอย่างปฏิกิริยา

ปฏิกิริยาการเผาไหม้

การเขียนสมการเคมีคือให้สารเกิดปฏิกิริยากับก๊าซ (ก๊าซที่ช่วยให้ไฟติด) แล้วผลลัพธ์จะเกิดเป็นสารประกอบออกไซด์

แผนำภาพการเกิดปฏิกิริยาเผาไหม้

ตัวเลขในสมการเคมีเป็นเศษส่วนได้ เป็นทศนิยมก็ได้ไม่ผิดถ้าท�าให้สมการดุลได้แต่ไม่เป็นที่นิยมกับเด็กไทย เพราะจะท�าให้ไม่สะดวกตอนค�านวณ จึงนิยมปรับให้เป็นเลขจ�านวนเต็มโดยการคูณตลอดทั้งสองข้างสมการด้วยตัวส่วน กรณีนี้คือคูณ 2 ตลอด

และเป็น CO ถ้าการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ *** ถ้าโจทย์ไม่ระบุว่าผิดปกติใดๆ ถือว่าเกิดได้อย่างสมบูรณ์ ***

page_����.indd 16 17/5/61 14:25

Page 14: สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181 บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท

17

ตัวอย่าง

ส�าหรับบางสารจะสลายตัวได้เมื่อเจอความร้อน สังเกตคือไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอนที่มี O ในสูตร เช่น และ

สารพวกนี้เมื่อเขียนสมการการเผาไหม้ไม่ต้องมี เขียนผลลัพธ์ได้เลย ดังนี้ (ใช้หลักเดิมคือแยกกันแล้วเกาะ O) (เป็นปฏิกิริยาเฉพาะ ผลลัพธ์ที่ได้จึงไม่ตรงหลักทั่วไป ปฏิกิริยา

เฉพาะพวกนี้จะเจอในการทดลอง ครูรวบรวมไว้ให้ในบทการค�านวณสมการเคม)ี

เมื่อนักเรียนทบทวนพื้นฐานจากนั้นลองท�าแบบทดสอบพื้นฐานท้ายบทนี้แล้วตรวจค�าตอบจากเฉลยที่ครูมีให้ เด็กแอดที่ท�าได้หมดทุกข้อถือว่าพร้อมส�าหรับการเข้าสู่การเตรียมตัวสอบกับเนื้อหาบทต่อๆ ไปที่ครูจะจ�าแนกแนวข้อสอบไว้ให้

ถ้ายังมีผิดบ้างเล็กน้อยและรู้ว่าเราพลาดตรงไหน รีบแก้ไขแล้วตามเพื่อนๆ ให้ทัน

ส�าหรับบางสารจะสลายตัวได้เมื่อเจอความร้อน สังเกตคือไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอนที่มี O ในสูตร

สารพวกนี้เมื่อเขียนสมการการเผาไหม้ไม่ต้องมี สารพวกนี้เมื่อเขียนสมการการเผาไหม้ไม่ต้องมี สารพวกนี้เมื่อเขียนสมการการเผาไหม้ไม่ต้องมี

page_����.indd 17 17/5/61 14:25

Page 15: สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181 บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท

18

1. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์

2. คาร์บอนมอนอกไซด์

3. ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์

4. ไดไนโตรเจนเพนตะออกไซด์

5. ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์

6. ไดคลอรีนเฮปตะออกไซด์

7. แคลเซียมคลอไรด์

8. อะลูมิเนียมซัลไฟต์

9. โซเดียมฟอสเฟต

10. แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์

11. โพแทสเซียมไนเตรต•เพนตะไฮเดรต

ให้นำักเรียนำทดสอบเขียนำสูตรเคำมีและสมการเคำมีต่อไปนำี้

page_����.indd 18 17/5/61 14:25

Page 16: สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181 บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท

19

12. แคลเซียมไนเตรต

13. แมกนีเซียมซัลเฟต•เฮปตะไฮเดรต

14. แมงกานีส (IV) ออกไซด์

15. ซิงค์ซัลไฟด์

16. คอปเปอร์ (II) ซัลเฟต•ไตรไฮเดรต

17. ไทเทเนียม (IV) ออกไซด์

18. น�้าปูนใส

19. ปูนขาว

20. หินปูน

21.

22.

page_����.indd 19 17/5/61 14:25

Page 17: สารบัญ · 2018-10-16 · • แนวข้อสอบท้ายบท 181 บทที่ 9 ไฟฟ้าเคมี 188 • แนวข้อสอบท้ายบท

20

23.

24.

25.

(เฉลยแบบทดสอบหนำ้า 291 – 292)

page_����.indd 20 17/5/61 14:25