คลังป ญญา ตํารา มสธ. · 2010. 9. 10. · pulinet...

11
PULINET วิชาการ ครั้งที่ 1 306 คลังปญญา ตํารา มสธ. นางสาวชลลดา หงษงาม สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บทคัดยอ สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชไดพัฒนาคลังปญญา ตํารา มสธ. ซึ่งเปนบริการ สารสนเทศสวนหนึ่งของหองสมุดดิจิทัล เพื่อเปนแหลงบริการ เผยแพร และอนุรักษสารสนเทศ ภูมิปญญาทางวิชาการ ของ มสธ. รองรับการศึกษา คนควาทางอินเทอรเน็ต โดยการ 1) จัดเก็บภูมิปญญาทางวิชาการของ มสธ. ฉบับเต็มที่เปน เอกสารการสอนชุดวิชา แบบฝกปฏิบัติชุดวิชา ประมวลสาระชุดวิชา และแนวการศึกษาชุดวิชา ฉบับพิมพครั้งแรก และ ไดมีการปรับปรุงชุดวิชาดังกลาวแลว ในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส 2) จัดการสารสนเทศดิจิทัลดังกลาว โดย ใชหลักการความรูทางบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตรในการสรางระเบียนทรัพยากรสารสนเทศดวย มาตรฐาน MODS (Metadata Object Description Schema) ในการพรรณนาวัตถุสารสนเทศดิจิทัล และมาตรฐาน METS (Metadata Encoding and Tran mission Standard) ในการระบุและจัดการไฟลของวัตถุสารสนเทศดิจิทัลใน ฐานขอมูลที่เผยแพรบนเว็บ โดยใชโปรแกรม GSDI เปนซอฟตแวรในการจัดการระบบฐานขอมูล 3) ออกแบบเว็บไซต เพื่อเปนชองทางการเขาถึงและเชื่อมโยงเนื้อหาสารสนเทศดิจิทัล และ 4) เผยแพรและประชาสัมพันธการใชงานคลัง ปญญา ตํารา มสธ. คําสําคัญ คลังปญญา / หองสมุดดิจิทัล / หนังสืออิเล็กทรอนิกส / สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ABSTRACT The Office of Documentation and Information initiated a project to build a digital library of superseded editions of the University’s textbooks, workbooks and guides. The project aims to digitize and preserve the University’s most notable set packages in the distance-learning system. These superseded editions are in printed paper format. GSDL was used to create the digital library, which was based upon two important standards: MODS (Metadata Object Description Schema) and METS (Metadata Encoding and Transmission Standard). The digital library can be accessible via the Internet to the public. KEYWORDS knowledge bank / digital library / e-book / The Office of Documentation and Information, Sukhothai Thammathirat Open University

Transcript of คลังป ญญา ตํารา มสธ. · 2010. 9. 10. · pulinet...

Page 1: คลังป ญญา ตํารา มสธ. · 2010. 9. 10. · pulinet วิชาการ ครั้งที่ 1 308 วัตถุประสงค ของโครงการ

PULINET วิชาการ คร้ังที่ 1

306

คลังปญญา ตํารา มสธ.

นางสาวชลลดา หงษงาม สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

บทคัดยอ สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชไดพัฒนาคลังปญญา ตํารา มสธ. ซึ่งเปนบริการสารสนเทศสวนหนึ่งของหองสมุดดิจิทัล เพื่อเปนแหลงบริการ เผยแพร และอนุรักษสารสนเทศ ภูมิปญญาทางวิชาการของ มสธ. รองรับการศึกษา คนควาทางอินเทอรเน็ต โดยการ 1) จัดเก็บภูมิปญญาทางวิชาการของ มสธ. ฉบับเต็มที่เปนเอกสารการสอนชุดวิชา แบบฝกปฏิบัติชุดวิชา ประมวลสาระชุดวิชา และแนวการศึกษาชุดวิชา ฉบับพิมพครั้งแรก และไดมีการปรับปรุงชุดวิชาดังกลาวแลว ในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส 2) จัดการสารสนเทศดิจิทัลดังกลาว โดยใชหลักการความรูทางบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตรในการสรางระเบียนทรัพยากรสารสนเทศดวยมาตรฐาน MODS (Metadata Object Description Schema) ในการพรรณนาวัตถุสารสนเทศดิจิทัล และมาตรฐาน METS (Metadata Encoding and Tran mission Standard) ในการระบุและจัดการไฟลของวัตถุสารสนเทศดิจิทัลในฐานขอมูลที่เผยแพรบนเว็บ โดยใชโปรแกรม GSDI เปนซอฟตแวรในการจัดการระบบฐานขอมูล 3) ออกแบบเว็บไซตเพื่อเปนชองทางการเขาถึงและเชื่อมโยงเนื้อหาสารสนเทศดิจิทัล และ 4) เผยแพรและประชาสัมพันธการใชงานคลังปญญา ตํารา มสธ.

คําสําคัญ

คลังปญญา / หองสมุดดิจิทัล / หนังสืออิเล็กทรอนิกส / สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ABSTRACT

The Office of Documentation and Information initiated a project to build a digital library of

superseded editions of the University’s textbooks, workbooks and guides. The project aims to digitize and

preserve the University’s most notable set packages in the distance-learning system. These superseded

editions are in printed paper format. GSDL was used to create the digital library, which was based upon two

important standards: MODS (Metadata Object Description Schema) and METS (Metadata Encoding and

Transmission Standard). The digital library can be accessible via the Internet to the public.

KEYWORDS

knowledge bank / digital library / e-book / The Office of Documentation and Information, Sukhothai

Thammathirat Open University

Page 2: คลังป ญญา ตํารา มสธ. · 2010. 9. 10. · pulinet วิชาการ ครั้งที่ 1 308 วัตถุประสงค ของโครงการ

PULINET วิชาการ คร้ังที่ 1

307

เหตุผลและความเปนมา

สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ตระหนักถึงคุณประโยชนและความสําคัญของภูมิปญญา มสธ. ที่มีอยูใมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะเอกสารการสอนชุดวิชา แบบฝกปฏิบัติชุดวิชา ประมวลสาระชุดวิชาและแนวการศึกษาชุดวิชา ฉบับพิมพครั้งแรกและไดมีการปรับปรุงชุดวิชาตางๆ เหลานี้แลว ซึ่งเปนภูมิปญญา มสธ. ที่มีคุณคาทางวิชาการอยางมหาศาล แมไมไดใชในการเรยีนการสอนในปจจุบันแลวก็ตาม แตนับเปนตําราในระบบอุดมศึกษาทางไกล ที่นับเปนนวัตกรรมแหงการเรียนรู และรวบรวมงานเขียนจากคณาจารย นักวิชาการและผูทรงคุณวุฒิในศาสตรตางๆ นับแตการกอตั้งในป 2521 และเปดสอนเปนครั้งแรกนับแตป 2523 เปนตนมา

เพื่อใหสารสนเทศอันเกิดจากภูมิปญญา มสธ. สามารถตอบสนองความตองการของผูใชไดหลากหลายและยาวนานมากยิ่งขึ้น สํานักบรรณสารสนเทศ จึงดําเนินการพัฒนาคลังปญญาความรูภูมิปญญา มสธ. ในดานการจัดเก็บ โดยการจัดทําฐานขอมูลเอกสารการสอนชุดวิชา แบบฝกปฏิบัติชุดวิชา ประมวลสาระชุดวิชา และแนวการศึกษาชุดวิชา ในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่สามารถใหบริการผูใชสารสนเทศในระบบหองสมุดดิจิทัลไดงายและสะดวกมากยิ่งขึ้น รวมถึงการคนที่ไดมาตรฐานและตรงตามความตองการของผูใช เนื่องจากภูมิปญญา มสธ. นี้มีคุณคาตรงตามพันธกิจของมหาวิทยาลัย ในการเปนสถาบันอุดมศึกษาทางปญญา และเพื่อใหสํานักบรรณสารสนเทศ ซึ่งเปนหนวยงานหองสมุดของมหาวิทยาลัยเปนแหลงรวบรวมภูมิปญญาอันทรงคุณคาของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ใหมากที่สุดเปนที่ประจักษในดานการใหบริการผูใชทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

Page 3: คลังป ญญา ตํารา มสธ. · 2010. 9. 10. · pulinet วิชาการ ครั้งที่ 1 308 วัตถุประสงค ของโครงการ

PULINET วิชาการ คร้ังที่ 1

308

วัตถุประสงคของโครงการ

เพื่อพัฒนาคลังความรูภูมิปญญา มสธ. ในดานการจัดเก็บ การคน การจัดการสารสนเทศ ดิจิทัลที่เปนระบบ และการอนุรักษภูมิปญญาที่ทรงคุณคาอยางยั่งยืนถาวร

ประโยชนของโครงการ

กอใหเกิดการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการในการผลติเอกสารการสอนชดุวชิา แบบฝกปฏบิตั ิชดุวิชา ประมวลสาระชุดวิชา และแนวการศึกษาชุดวิชาของมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช ซึ่งเปนปจจัยสําคัญในดานการเรียนการสอนและการวิจัยและการสงเสริมบริการหองสมุด และองคความรูที่เกิดจากภูมิปญญา มสธ. ใหแพรหลายทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

หลักการสําคัญในการสรางคลังปญญาตาํรา มสธ. ใหเปนสวนหน่ึงของหองสมุดดิจทิัล มสธ.

ในการพัฒนากลุมทรัพยากรสารสนเทศ “คลังปญญา ตํารา มสธ.” ใหเปนสวนหนึ่งของหองสมุดดิจิทัล มสธ. ไดกําหนดหลักการสําคัญที่สะทอนหลักความรูทางบรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตรดังนี้

1. การสรางระเบียนทรัพยากรสารสนเทศ หรือตัวแทนทรัพยากรสารสนเทศ (document surrogate) ตองยึดหลักมาตรฐานการสรางตัวแทนที่สําคัญ คือ

1.1. มาตรฐาน MODS (Metadata Object Description Schema) ในการพรรณนาวัตถุสารสนเทศดิจิทัลสําหรับหองสมุดดิจิทัล

1.2. มาตรฐาน METS (Metadata Encoding and Transmission Standard) ในการระบุและจัดการขอมูลทางเทคนิคตางๆ โดยเฉพาะในการระบุและจัดระเบียบไฟลของวัตถุสารสนเทศดิจิทัลในฐานขอมูลที่ เผยแพรบนเว็บ

1.3. มาตรฐานการจัดหมวดหมูทรัพยากรสารสนเทศของสํานักบรรณสารสนเทศ ในการจัดหมวดหมูชุดวิชา คือ จําแนกเอกสารทั้งหมดออกเปน 2 กลุม คือ 1) เอกสารการสอน ประมวลสาระ และ 2) แบบฝกปฏิบัติ แนวการศึกษา

2. ซอฟตแวรที่จัดการระบบฐานขอมูลระเบียนทรัพยากรสารสนเทศ สําหรับหองสมุด ดิจิทัล ที่เปนมาตรฐานของสํานักบรรณสารสนเทศ คือ GSDL (Greenstone Digital Library)

3. ระเบียนพรรณาทรัพยากรสารสนเทศสําหรับเอกสารการสอนและประมวลสาระชุดวิชา ซึง่เปน “ตํารา” และมีเนื้อหามาก ตองเปนระเบียนแบบปรับปรุง (enhanced record) โดยมีการเพิ่มรายละเอียดของผูเขียนหนวย และชื่อหนวยในชุดวิชาตางๆ อยางครบถวน

4. เอกสารฉบับเต็ม โดยเฉพาะกลุมเอกสารการสอนและประมวลสาระชุดวิชาที่ไดแปลงใหอยูในรูปดิจิทัล ตองแบงไฟล โดยแบงระดับการควบคุมออกเปน 3 ระดับ คือ ระดับที่ 1 เปนการควบคุมระดับชุดวิชา และระดับที่ 2 เปนการควบคุมระดับเลม (เอกสารการสอนหรือประมวลสาระชุดวิชา 1 ชุดมีเอกสารหรือประมวลสาระชุดละ 2-3 เลม) และระดับที่ 3 เปนการควบคุมระดับหนวยยอยประจําเลมนั้นๆ

Page 4: คลังป ญญา ตํารา มสธ. · 2010. 9. 10. · pulinet วิชาการ ครั้งที่ 1 308 วัตถุประสงค ของโครงการ

PULINET วิชาการ คร้ังที่ 1

309

5. ในระบบคลังปญญา ตํารา มสธ. หลักการจัดการ คือ 5.1. ระดับ aggregate มี 2 ลักษณะ คือ

5.1.1. การพรรณนาทรัพยากรสารสนเทศ มี unit of analysis คือ ชุดวิชา 5.1.2. การระบุและจัดระเบียบไฟลของวัตถุสารสนเทศดิจิทัลในฐานขอมูลที่เผยแพร

บนเว็บ มี unit of analysis คือ เลม (ชุดวิชาหนึ่งมีเอกสารการสอนหรือประมวลสาระชุดวิชาประมาณ 2-3 เลม)

5.2. ระดับยอย เปนการเชื่อมโยงระดับหนวย ไมวาดวยชื่อผูเขียน และ/หรือชื่อหนวย ไปยังไฟลเอกสารฉบับเต็มที่สอดคลองกัน มี unit of analysis คือ หนวย ขั้นตอนการพัฒนาคลังปญญา ตํารา มสธ.

1. การรวบรวมและจัดทํารายการเอกสารการสอนชุดวิชา แบบฝกปฏิบัติชุดวิชา ประมวลสาระชุดวิชา และแนวการศึกษาชุดวิชา ฉบับพิมพครั้งแรกและไดมีการปรับปรุงชุดวิชาตางๆเหลานี้แลว 2. การแปลง ตกแตง และตรวจสอบ สารสนเทศในรูปแบบดั่งเดิมใหอยูในรูปแบบสารสนเทศดิจิทัล และจัดทํารายการเมตะดาตาและพัฒนาระบบหองสมุดดิจิทัลดวยโปรแกรม GSDL อยางไดมาตรฐานของการใชงานสารสนเทศ เพื่อจัดเก็บ คนหา และนําเสนอไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. ออกแบบเว็บไซตเพื่อเปนชองทางการเขาถึงและเชื่อมโยงเนื้อหาสารสนเทศดิจิทัล เพื่อความสะดวกในการใชงาน 4. การเผยแพรและประชาสัมพันธการใชงานคลังปญญา ตํารา มสธ.

การสืบคนขอมูล

การสืบคนขอมูล สามารถทําได 3 ประเภท คือ ชื่อเรื่อง (Title) ชื่อผูแตง/ผูรับผิดชอบ (Creator) และหัวเรื่อง (Subject)

ผลการสืบคนหนาแรก

การแสดงผลการคนในระดับแรกมีลักษณะเปนบัญชีรายการ โดยใหจํานวนเอกสารที่เกี่ยวของ และแสดงรายชื่อเอกสารชุดวิชาที่เกี่ยวของกับคําคน

Page 5: คลังป ญญา ตํารา มสธ. · 2010. 9. 10. · pulinet วิชาการ ครั้งที่ 1 308 วัตถุประสงค ของโครงการ

PULINET วิชาการ คร้ังที่ 1

310

ผลการสืบคนขอมูล จะแสดงผลได 4 รูปแบบ คือ

1. การแสดงผลแบบสั้น (Short Record) 2. การแสดงผลแบบยาว (View Record) 3. การแสดงผลในรูปรายการ METS(View METS Record) 4. การแสดงผลรูปเอกสารฉบับเต็ม (View Full Text PDF)

Page 6: คลังป ญญา ตํารา มสธ. · 2010. 9. 10. · pulinet วิชาการ ครั้งที่ 1 308 วัตถุประสงค ของโครงการ

PULINET วิชาการ คร้ังที่ 1

311

ตัวอยางการแสดงผลแบบสั้น (Short Record)

Page 7: คลังป ญญา ตํารา มสธ. · 2010. 9. 10. · pulinet วิชาการ ครั้งที่ 1 308 วัตถุประสงค ของโครงการ

PULINET วิชาการ คร้ังที่ 1

312

ตัวอยางการแสดงผลแบบยาว ในรูปของการพรรณาทรัพยากรสารสนเทศ (View Description)

Page 8: คลังป ญญา ตํารา มสธ. · 2010. 9. 10. · pulinet วิชาการ ครั้งที่ 1 308 วัตถุประสงค ของโครงการ

PULINET วิชาการ คร้ังที่ 1

313

ตัวอยางการแสดงผลในรูปรายการ METS (View METS Record)

Page 9: คลังป ญญา ตํารา มสธ. · 2010. 9. 10. · pulinet วิชาการ ครั้งที่ 1 308 วัตถุประสงค ของโครงการ

PULINET วิชาการ คร้ังที่ 1

314

ตัวอยางการแสดงผลรูปเอกสารฉบับเต็ม (View Full Text PDF)

เมนูคําสั่งในหนาสืบคน 5 หัวขอ

Page 10: คลังป ญญา ตํารา มสธ. · 2010. 9. 10. · pulinet วิชาการ ครั้งที่ 1 308 วัตถุประสงค ของโครงการ

PULINET วิชาการ คร้ังที่ 1

315

คําอธิบายเมนูคําสั่งในหนาสืบคน 5 หัวขอ ดังนี ้

1. search สําหรับสืบคนขอมูล 2. material ประเภทสื่อในฐานขอมูล คือ เอกสารชุดวิชาและประมวลสาระชุดวิชา 3. title A-Z รวมรายชื่อเอกสารทั้งหมด เรียงตามลําดับอักษร 4. collection กลุมของเอกสาร แบงเปน 2 กลุม คือ 1) เอกสารการสอนชุดวิชาสําหรับปรญิญาตร ี

และประมวลสาระชุดวิชาสําหรับระดับบัณฑิตศึกษา และ 2) แบบฝกปฏิบัติสําหรับปริญญาตรี และแนวการศึกษาสําหรับระดับบัณฑิตศึกษา

5. subject รวมหัวเรื่องทั้งหมดชี่งเกี่ยวของกับเอกสาร

สรุป

ขณะนี้โครงการนี้อยูในระหวางการดําเนินการ โดยทยอยนําขอมูลเขา และทดสอบระบบไปพรอมๆ กัน เนื่องจากชุดวิชาแตละชุดมีเนื้อหาและความยาวมาก อีกทั้งตนฉบับเหลานี้ใชระบบการพิมพแบบเดิม ทําใหการแปลงขอมูลตองใชการสแกนเปน “ภาพ” เทานั้น ขอดี คือ ไดภาพที่มีลักษณะเหมือนตนฉบับทุกประการ แตขอจํากัด คือ ทําใหไฟลมีขนาดใหญมาก และอาจไมมีความคมชัดเทากับการแปลงไฟลโดยตรง หลักการสําคัญอีกประการหนึ่ง คือ การคง “สถานะ” ของระเบียนทรัพยากรสารสนเทศ หรือตัวแทนเอกสารชุดวิชาเหลานี้ คือ ระเบียนทรัพยากรสารสนเทศ 1 ระเบียนเปนตัวแทนของเอกสารการสอนหรือประมวลสาระชุดวิชา 1 ชุด และในแตละระเบียน เพิ่มเติมรายละเอียดระดับสารบัญ หรือการแจกแจงรายละเอียดผูแตงและชื่อหนวยทั้งหมดในชุดวิชานั้น เพื่อใชเปนลิงกเชื่อมโยงไปยังไฟลเอกสารฉบับเต็มตอไป ในระหวางการดําเนินโครงการ มีการปรับปรุงกระบวนงานที่เกี่ยวของเปนระยะๆ เพื่อใหเหมาะสมกับสภาพการทํางานจริง โดยมุงหวังใหกระบวนงานนี้เปนกระบวนงานมาตรฐานของสํานักบรรณสารสนเทศตอไป เนื่องจากในป 2553 เปนตนไป จะมีการปรับปรุงและผลิตเอกสารการสอนและประมวลสาระชุดวิชาเพิ่มเติมอีกเปนจํานวนมาก อันเกิดจากการเรงปรับปรุงหลักสูตรใหทันสมัย และการผลิตหลักสูตรใหมที่ตรงกับความตองการของตลาดและสังคม ตามระเบียบของสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาฯ ดังนั้น จึงคาดหมายวา จะมีคลังปญญา ตํารา มสธ. เพิ่มเติมขึ้นอยางตอเนื่อง กระบวนงานนี้จึงมีความสําคัญ และเปนภารกิจที ่สําคัญอีกประการหนึ่งของสํานักบรรณสารสนเทศ ทั้งในฐานะหองสมุด และฐานะของหองสมุดสถาบันอุดมศึกษาในระบบการศึกษาทางไกล ที่จะตองอนุรักษ และเผยแพรคลังปญญาเหลานี้ เพื่อการใชประโยชนในการศึกษา คนควาทางอินเทอรเน็ตตอไป

Page 11: คลังป ญญา ตํารา มสธ. · 2010. 9. 10. · pulinet วิชาการ ครั้งที่ 1 308 วัตถุประสงค ของโครงการ

PULINET วิชาการ คร้ังที่ 1

316