บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก...

26
บทที9 การออกแบบงานกราฟก และการประดิษฐตัวอักษร ในการใชสื่อการเรียนการสอนนั้น สื่อบางประเภทเราจะตองผลิตขึ้นเองและในการผลิต สื่อ ผูสอนจะตองมีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการออกแบบทั่ว ไป และการประดิษฐตัวอักษร ซึ่งงาน ในลักษณะนี้เราเรียกวา งานกราฟก ความหมาย และขอควรคํานึงในการออกแบบ ความหมายของการออกแบบ การออกแบบ (Designing) หมายถึง การกําหนดออกมา กะหรือขีดเขียนไว เปาหมายทีแสดงออกมาเปนการเสนอโครงรางของสิ่งใดสิ่งหนึ่งออกมาดวยการจัดในเรื่องตาง เชน เสน รูปราง รูปทรง สัดสวนจังหวะ ชองวาง ลักษณะพื้นผิว สี ฯลฯ อยางมีศิลปะ มีความงาม มีลักษณะ พิเศษอันนาสนใจ ขอควรคํานึงในการออกแบบ ในการออกแบบโดยทั่วไปนั้น มีขอควรคํานึงในการออกแบบ ดังนี1. วัสดุ (Materials) ใหเลือกวัสดุที่จะนํามาใชในการสรางตามแบบที่ออกใหเหมาะสม โดยคํานึงถึงความประหยัดดวย 2. หนาที่ในการนําไปใช (Function) คํานึงถึงรูปราง วัสดุ ขนาด น้ําหนัก ตอง เหมาะสมกับหนาที่การใชงาน 3. ลักษณะเฉพาะแบบ (Style) เชน คํานึงถึงเอกลักษณประจําหมูเหลาหรือประจําชาติ 4. สมัยนิยม (Fashion) ใหประยุกตงานออกแบบใหเหมาะสมกับความนิยมในแตละ ยุคสมัย 5. ความแปลกใหม (Novelty) ความแปลกใหมมีหลายลักษณะ เชน สรางหรือ ประดิษฐขึ้นมาใหมเอี่ยม ดัดแปลงของเดิมใหแปลกใหม เกามากคนรุนหลังไมเคยเห็นก็เปนความ แปลกใหมเหมือนกัน การโฆษณาชวนเชื่อ เปนจิตวิทยาอันหนึ่งทําใหเปนสิ่งแปลกใหมได และ ลักษณะที่เปนแกะดําตัวเดียวในฝูงแกะขาวก็เปนของแปลกไดเชนกัน

Transcript of บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก...

Page 1: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟก และการประดิษฐตัวอักษร

ในการใชส่ือการเรียนการสอนนั้น ส่ือบางประเภทเราจะตองผลิตขึ้นเองและในการผลิตส่ือ ผูสอนจะตองมีความรูพืน้ฐานเกี่ยวกับการออกแบบทั่ว ๆ ไป และการประดิษฐตวัอักษร ซ่ึงงานในลักษณะนี้เราเรียกวา งานกราฟก ความหมาย และขอควรคํานึงในการออกแบบ ความหมายของการออกแบบ การออกแบบ (Designing) หมายถึง การกําหนดออกมา กะหรือขีดเขียนไว เปาหมายที่แสดงออกมาเปนการเสนอโครงรางของสิ่งใดสิ่งหนึ่งออกมาดวยการจดัในเรื่องตาง ๆ เชน เสน รูปราง รูปทรง สัดสวนจังหวะ ชองวาง ลักษณะพืน้ผิว สี ฯลฯ อยางมีศิลปะ มีความงาม มีลักษณะพิเศษอันนาสนใจ ขอควรคํานงึในการออกแบบ ในการออกแบบโดยทั่วไปนัน้ มขีอควรคํานึงในการออกแบบ ดังนี ้ 1. วัสดุ (Materials) ใหเลือกวัสดุที่จะนํามาใชในการสรางตามแบบที่ออกใหเหมาะสมโดยคํานึงถึงความประหยัดดวย 2. หนาที่ในการนําไปใช (Function) คํานึงถึงรูปราง วัสดุ ขนาด น้ําหนกั ตองเหมาะสมกับหนาที่การใชงาน 3. ลักษณะเฉพาะแบบ (Style) เชน คํานึงถึงเอกลักษณประจาํหมูเหลาหรือประจําชาต ิ 4. สมัยนิยม (Fashion) ใหประยุกตงานออกแบบใหเหมาะสมกับความนยิมในแตละยุคสมัย 5. ความแปลกใหม (Novelty) ความแปลกใหมมีหลายลักษณะ เชน สรางหรือประดิษฐขึน้มาใหมเอีย่ม ดดัแปลงของเดมิใหแปลกใหม เกามากคนรุนหลังไมเคยเห็นก็เปนความแปลกใหมเหมือนกัน การโฆษณาชวนเชื่อ เปนจิตวทิยาอันหนึ่งทาํใหเปนสิ่งแปลกใหมได และลักษณะที่เปนแกะดําตวัเดยีวในฝูงแกะขาวก็เปนของแปลกไดเชนกัน

Page 2: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

208

องคประกอบของการออกแบบ องคประกอบของการออกแบบที่สําคัญ มีดังนี ้ 1. เสน (Line) เสนเปนสวนสําคัญอันดับแรกสุดที่จะประกอบกันเปนรูปราง เปนรากฐานสําคัญของการออกแบบ ลักษณะของเสนจะใหความหมายและความรูสึกตางกันดังนี ้ 1.1 เสนตรง ใหความรูสึกทางความมั่นคง แข็งแรง สงา ความเรียบ งาย ตรงไปตรงมา 1.2 เสนตั้ง ใหความรูสึกเกี่ยวกับความสูง ความแข็งแรง มีระเบียบ และใหทิศทางในแนวดิ่ง 1.3 เสนนอน หรือเสนราบ ใหความรูสึกนิ่งเฉย ความกวาง สงบ และชี้ทิศทางในแนวนอน 1.4 เสนทแยง หรือเสนเฉียง ใหความรูสึกในแงความกวาง ความเคลื่อนไหวการไมอยูนิ่ง ความตานทาน และชี้ทิศทางในแนวทแยงเฉยีงหรือเฉไป 1.5 เสนโคง เปนเสนที่แสดงถึงความออนชอย ความนิ่มนวล ราเริง ออนหวาน สวยงาม เคลื่อนไหว 1.6 เสนหักหรือเสนทแยงขึน้-ลง แสดงความเคลื่อนไหว ความกระดาง เด็ดขาด 1.7 เสนขาดหรือเสนประ แสดงถึงความตื่นเตน เคลื่อนไหว แสดงการเคลือ่นที่ที่ไมมีจุดจบ ถาใชมากเกนิไปจะทําใหเกดิความสับสน ยุงยาก 2. รูปรางและรูปทรง (Shape & Form) รูปรางหมายถึงเสนรอบนอกเปนเนื้อทีใ่นขอบเขตที่เกิดจากเสน เชน รูปทรงทางเรขาคณิต มีสองมิติ คือกวางกับยาวเทานัน้ สวนรูปทรงหมายถึงปริมาตรอันเกิดจากเสน มคีวามกวาง ความยาว และความลึกหรือหนา ดแูลวมีลักษณะเปน สามมิติ (แตไมใช สามมิติจริง ๆ) รูปรางและรูปทรงใหความหมายดังนี ้ 3.1 รูปสี่เหล่ียมผืนผา แสดงถึงความเปนปกแผนอยางสมบูรณ ความแข็งแรง ความมั่นคง 3.2 รูปวงกลม หรือทรงกลม แสดงถึงความเคลื่อนไหว ดูเหมือนวาจะเคลือ่นที่ได ไมแนนอน กล้ิงได 3.3 รูปสามเหลี่ยมทรงปริซึม แสดงถึงอยูกับที่ เคลื่อนที่ยาก ความไมแนนอนบางสวน 3.4 รูปสี่เหล่ียมขนมเปยกปูน แสดงถึงความไมแนนอน ไมมั่นคง 3.5 รูปวงรี แสดงถึงความออนชอย ออนไหว

Page 3: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

209

3.6 รูปไมแนนอน เกิดจากเสนคดเสนโคงมารวมกัน แสดงถงึความผันแปร ความโลเล ไมแนนอน 3. มวลและปริมาตร (Mass & Volume) มวล หมายถึง ส่ิงตาง ๆ ที่รวมกันเปนกลุมกอน มีลักษณะเปนสามมิติ มีความสัมพันธกับปริมาตร ขนาดและน้ําหนักดวย เปนสิ่งที่กินเนื้อที่วาง (Space) มีลักษณะพิเศษอีกอยางหนึ่ง เชน รูปขันตกัน้ํา เรามองเหน็ภายในขันตักน้ํา เปนเนือ้ที่วางดูแลวใหความรูสึกวาเบาขึ้น หรือน้ําหนักลดลง ซ่ึงในงานกราฟกนั้นเปนรูปแบบราบระนาบเดียวเราใชเร่ืองแสง-เงา เขาชวยในการเขยีนภาพประเภทนี้ 4. การเคล่ือนไหว (Movement) ในการออกแบบ บางครั้งเราก็อยากใหบางสิ่งดูเหมือนเคลื่อนไหวได เพื่อใหนาสนใจหรอืเพื่อจะถายทอดความรูสึกเชนนั้นใหสมกบัความเปนจรงิ ในกรณีเชนนี ้ เราอาจใชเสนชวย เชน เสนทแยง เสนโคง วงกลม หรือทรงกลม ก็สามารถใหความรูสึกวาเคลื่อนไหวได การใชเสนลูกศรเปนเสนนาํสายตา (Convergent Line) และการใชเสนขนานซอน ๆ กัน คลายการแรเงาก็ชวยไดในเรื่องนี ้ 5. สัดสวน (Proportion) สัดสวน หมายถงึ อัตราสวนที่กําหนดลงในแบบหรือภาพ หรืองานที่ออกแบบวาเล็กหรือใหญเปนกีเ่ทาของของจริงตามธรรมชาติ แบงออกเปน 3 แบบ ไดแก 5.1 สัดสวนที่ถูกตองความเปนจริง (Normal Proportion) เชน เด็กเล็กกวาผูใหญ สิงโตใหญกวาแมว การออกแบบโดยปกตทิั่ว ๆ ไปจะใชแบบนี ้ 5.2 สัดสวนที่ผิดจากความเปนจริง (Under Proportion) เชน ตึกเล็กกวากระทอม ภูเขาเล็กกวาตนไม ใชในกรณีที่ตองการเนนสิ่งที่ตองการ สวนมากเปนภาพการตนู ภาพโฆษณา 5.3 สัดสวนที่ผิดเกินจากความเปนจริง (Over Proportion) สวนมากเปนสัดสวนที่ใหญกวาความเปนจริง ในตวัเดยีวกันหรือส่ิงเดียวกัน เชน คนหัวโตกวาตวั ปากใหญเกือบเตม็ใบหนา สวนมากเปนภาพลอเลียนในการตนู 6. พื้นผิว (Texture) ในงานกราฟกเราใชเสนเขียนแสดงพืน้ผิว ถาเปนการออกแบบสําหรับงานกอสราง อาจจะตองระบุวัสดุที่ใชดวย พื้นผิวทีเ่ขียนดวยเสนจะบงบอกความรูสึก เชน ผิวเรียบ ใหความรูสึก แนน แข็งแรง ตรง นิ่ง มั่นคง เรียบรอย ผิวขรุขระ ใหความรูสึก สากมือ ระคายเคอืง นาเกลียด ผิวละเอียด ใหความรูสึก นิ่มนวล ออนไหว 7. แสง-เงา (Light & Shadow) แสงสองผานวัตถุทึบแสงทําใหเกิดเงา เราใชเร่ืองแสงและเงา เขียนไดโดยการแรเงา เพื่อทําใหภาพสองมิติดูเหมือนภาพสามมิติไดในพื้นราบระนาบเดยีว เงาที่เกิดขึ้นมทีั้งเงามืด (Shadow) และเงามัว (Shade) การใชแสงและเงาชวยในการออกแบบ จะทํา

Page 4: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

210

ใหภาพดูสมจริงและสมบูรณยิ่งขึ้น คือชวยสรางเสริมในเรื่องมวลและปริมาตร ภาพที่เกิดจากแสงและเงา จะใหความรูสึกดังนี ้ 7.1 ภาพใด ๆ ที่แสงสองจากบนลงลาง ใหความรูสึกเยือกเย็น สงบ รมร่ืน 7.2 ภาพใด ๆ ที่แสงสองมาจากดานขาง ใหความรูสึกเปลี่ยนแปลง ไมแนนอน ไมคงที่ 7.3 ภาพใด ๆ ที่แสงสองกระจายทั่วดานหนา ใหความรูสึกสะอาด ยุตธิรรม และบริสุทธิ์ 7.4 ภาพใด ๆ ที่แสงสองจากลางขึ้นบน ใหความรูสึกฉุนเฉยีว โกรธ รุนแรง นากลัว 8. สี (Colors) สีเปนองคประกอบที่สําคัญในการออกแบบ ที่มีผลทําใหเกดิความรูสึกอยางรวดเรว็และทําใหเกิดอารมณรุนแรงยิง่กวาองคประกอบอื่น ๆ นอกจากจะใหความงาม ใหความหมายแลว สี ยังชวยในเรื่องของความสมดุลไดอีกดวย ความรูสึกที่เกิดจากการใชสี มีดังนี้ 8.1 สีแดง ใหความรูสึกที่รอนรุนแรงมาก ตืน่เตน สะดุดตา ถาใชมาก ๆ อาจหมายถึงฉุนเฉยีว หงุดหงดิ อันตราย กลาหาญ 8.2 สีเหลือง ใหความรูสึกสงา สบาย ปลอดโปรง 8.3 สีสม ใหความรูสึกคลายสีแดงแตเบากวา 8.4 สีขาว ใหความรูสึก สวางกระจางแจง ความมั่นคง ความออนชอย ความบริสุทธิ์ 8.5 สีดํา ใหความรูสึกหอเหี่ยว หมนหมอง นากลัว ถมึงทึง และความตาย 8.6 สีเขียว ใหความรูสึกสบายตา สดชื่น 8.7 สีมวง ใหความรูสึกขรึม ลึกลับ 8.8 สีน้ําเงิน ใหความรูสึกเยือกเยน็ สงบ มีศักดิศ์รี ความสุขุมรอบคอบ ซ่ือสัตย ประเภทของสีท่ีใชในการผลิตสื่อการสอน 1. สีน้ํา ไดแก สีหลอด สีโปสเตอร สีฝุน (ผสมกาวหนังสัตว หรือกาวกระถิน – ยางไม ชนิดหนึ่งสีเหลืองออน) สีพลาสติก และสียอมผา 2. สีเมจิค (Magic Color) หรือสีเคมีอ่ืน ๆ 3. สีน้ํามัน ไดแก สีเปนหลอด ๆ สีกระปอง (ชนิดมันและชนิดดาน) 4. สีเทียน ชอลคสี 5. สีอ่ืน ๆ ไดแก ดินสอสีธรรมดา ดินสอสีชนิดละลายน้ํา

Page 5: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

211

การใชสีกับงานกราฟก งานกราฟกโดยแทแลวเปนเรื่องของการออกแบบเปนตนฉบับเทานั้น สวนมากเขียนหรือวาดดวยสีดําบนกระดาษขาว หรือเขียนดวยสีเขมที่สุดกับสีออนที่สุดเทานั้น สวนการใชสีกับสื่อการสอนประเภทวัสดกุราฟกนั้น เรามหีลักทั่ว ๆ ไป ดังนี้ 1. การใชสีควรเนนการสื่อความหมายมากกวาความสวยงาม 2. ใชสีเขมในจดุที่ตองการความชัดเจน 3. ใชสีในวรรณะเดยีวกันแสดงสิ่งที่สัมพันธกัน และใชสีตางวรรณะกนัแสดงสิ่งที่มีความแตกตางกัน 4. สีพื้นควรเปนสีออน ๆ จุดเดน ควรเปนสีเขม หรือโดยกลับกัน 5. ถาตองการจะเนนไมควรใชสีหลายสีจนเกนิไป โดยทัว่ไปก็ไมควรใชสีหลากสีกับส่ือการสอนอยูแลว 6. คํานึงถึงเสมอวา การใชสีกับสื่อการสอน ไมควรใชสีใหฉดูฉาดหรือหวานเหมือนกับงานศิลปะที่ใชกับธุรกิจบันเทิง หรืองานโฆษณา 7. ตัวอักษรมใีชอยูมากในสื่อการสอนประเภทวัสดุกราฟก สีพื้นกับสีของตัวอักษรควรเปนสีที่ตดักันพอประมาณ ไมควรใชสีใกลเคียงหรือสีกลมกลืนกนั ในกรณเีชนนี้ ตัวอยางที่ไมควรใช เชน 7.1 เขียนตวัอักษรสีเหลืองบนพืน้สีขาว 7.2 เขียนตวัอักษรสีชมพูบนพื้นสีขาว 7.3 เขียนตวัอักษรสีน้ําเงินหรือสีน้ําตาลบนพื้นสีดํา หลักการจัดองคประกอบ (Composition) เมื่อเราจะสรางสรรคงานกราฟกแตละชิน้แตละอยาง เรานําองคประกอบของการออกแบบอยางนอยก็ 8 ประการขางตนนั้น เมื่อมาพิจารณาผสมผสานกับเนื้อหาสาระและจดุประสงคที่เราตองการหรือมีผูตองการคิด กะ ราง ออกแบบขึ้นมาเปนตนรางหรือตนฉบับ โดยวาดหรือเขยีนขึ้น อาจมีขนาดใหญกวา เล็กกวา หรือเทากับขนาดของจริง ในความเปนจรงินั้นยอมแลวแตลักษณะของงานกราฟกชิน้นั้น ๆ นักเทคโนโลยีการศึกษาที่ด ี ตองมีความรูและทกัษะในเรื่องตาง ๆ ที่นํามาเสนอในบทนีเ้ปนอยางด ี จึงจะสรางสรรคงานกราฟกที่มคีุณภาพได หลักในการจดัองคประกอบ มีดังนี ้

Page 6: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

212

1. จุดสนใจ (Point of Interesting) จุดสนใจหรือการเนนใหเกิดจดุเดน (Emphasis) เปนการเนนจดุเดนขององคประกอบ การเนนตองเนนใหตรงตามจดุมุงหมาย วิธีการเนนทําไดหลายวิธี ไดแก 1.1 การเนนดวยสี เนนโดยการใชสีใหเดนเปนพิเศษ สวนบริเวณอื่นใชสีกลมกลืนกันไป และสวนที่ตองการเนนคาของสีควรใหมีความเขม แจมกวาสวนที่เปนพื้นหรือองคประกอบอื่น ๆ 1.2 การเนนดวยเสน ขนาดและรูปรางที่แตกตางกัน เชน ใชเสนหนากวา ขนาดใหญกวา รูปรางที่แตกตางออกไป เปนตน 1.3 การเนนแสง-เงา ใหใชแสง-เงา เนนในสวนที่ตองการใหเดนกวาองคประกอบอ่ืน ๆ 1.4 การเนนดวยพืน้ผิว เปนการใชพืน้ผิวที่แตกตางกนัก็เปนการเนนจุดไดเหมือนกนั การวางตําแหนง “จุดสนใจ” ในที่วางหรอืขอบเขต เปนเรื่องที่จะชวยใหจุดสนใจเดนชัดหรือเหมาะสม โดยทั่วไปเรานิยมวางตําแหนงขององคประกอบที่เปนจุดสนใจ ไวในแนวกึ่งกลางของแนวนอนและแนวตั้งของกรอบภาพ ถาแบงบริเวณภายในของกรอบภาพออกเปน 3 สวน โดยใชเสนตรง 2 เสนทั้งแนวนอนและแนวตั้ง องคประกอบที่เปนจุดสนใจของภาพควรจะอยูในบริเวณ 4 จุดที่เสนตรงตัดกัน และไมควรใหจุดสนใจของภาพอยูชิดกรอบภาพมากเกินไป

ภาพที่ 9.1 แสดงภาพที่มจีุดสนใจ

ที่มา (ผูเรียบเรยีง)

Page 7: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

213

2. เอกภาพ (Unity) เปนการพิจารณาองคประกอบที่นํามา ตองเปนเรื่องเดียวกัน มีความสัมพันธกัน ไมกระจัดกระจาย เชน เราจะจัดภาพเรือ่งยาเสพติดใหโทษ ก็ควรมีภาพที่เกี่ยวกบัยาเสพติดชนิดตาง ๆ ถามีภาพขนมเคกปนอยูดวยดังนี้ยอมไมมีเอกภาพ การจดัองคประกอบที่มีเอกภาพทีด่ี ความหมายจะตองออกมามีลักษณะเปนกลุมกอน เปนอนัหนึ่งอันเดยีวกัน

ภาพที่ 9.2 แสดงภาพที่มีเอกภาพ

ที่มา (จริยา เนยีมเฉลย, 2535, หนา 56) 3. ความสมดุล (Balance) หมายถึง การวางตําแหนงขององคประกอบตาง ๆ ในภาพใหเกิดความถวงซึ่งกันและกนัอยางสมดุล คือเทากันคลายกับน้ําหนกัระหวางซายขวาเทากัน ดูแลวไมเกิดความรูสึกวาเฉียง หรือหนักมากกวากัน ความสมดุลในหลักการจัดองคประกอบมี 2 แบบ คอื 3.1 สองขางเทากัน คือการจัดใหองคประกอบ 2 ขางเหมือนกันทุกประการ การใหองคประกอบอยูตรงกลางอันเดียวกจ็ัดอยูในแบบนี ้ 3.2 สองขางไมเทากัน คือการจดัใหองคประกอบ 2 ขางไมเทากัน แตใชวธีิการอ่ืนถวงกันเอง ทําใหเกิดความรูสึกวาองคประกอบทั้ง 2 เทากัน วิธีทําใหเกิดความสมดุล ไดแก การใชสวนเสริมและองคประกอบอื่น ๆ ชวย เชน ใชเสน รูปทรง สี แสง-เงา ที่วาง และจังหวะ เปนตน

Page 8: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

214

ภาพที่ 9.3 แสดงภาพที่มีความสมดุล

ที่มา (ผูเรียบเรยีง) 4. ท่ีวาง (Space) ที่วางกเ็ปนเรือ่งสําคัญในหลักการจัดองคประกอบ อาจถือไดวาเปนองคประกอบอยางหนึ่ง การจัดที่วางมีสวนสัมพันธกับการกําหนดจังหวะ (Rhythmic Order) เชน จัดใหมีที่วางเปนจังหวะเทา ๆ กัน ถาจัดแบบเทาก็ตองใหเทากนัจริง ๆ จังหวะที่วางทีก่ระจายออกไปทุกทิศทุกทางจากจุด ๆ หนึ่ง จังหวะทีว่างซ้ํากันอยูเปนระยะ ๆ เชน ถ่ี ๆ แลวหาง ๆ ซํ้ากันเร่ือย ๆ ไป หรือจังหวะทีว่างเพิ่มขึ้น ๆ จะจัดที่วางเปนแบบใด กค็วรจัดใหคงเสนคงวา ความพอเหมาะพอดกีับที่วางที่มีอยูหรือทําใหเกดิมีที่วางขึ้น 5. สวนเสริม สวนเสริม หมายถึง ส่ิงที่จะชวยเสริมทําใหการจัดองคประกอบสมบูรณขึ้น ไดแก 5.1 ความซ้ําซอน 5.2 การตัดกันหรือความแตกตางกัน 5.3 ลวดลายประกอบรวมทั้งวัสดุตกแตงอืน่ ๆ 5.4 ความกลมกลนืทั้งในเรื่อง ทีว่าง รูปรางและรูปทรง 5.5 ความเก ซ่ึงหมายถึง ความมีศิลปะ ความใหม กระทดัรัด เหมาะเจาะ มีชีวิตชีวา เปนตน

Page 9: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

215

ขอแนะนําในการปฏิบัติงานกราฟก งานกราฟก มลัีกษณะเปนงานศิลปะอยางหนึ่งที่มีความประณีตละเอียดออน ไมตางไปจากงานศิลปแขนงอื่น ๆ เลย ผูออกแบบตองอาศัยความรู ความสามารถทักษะและมีความสนใจอยางแทจริงและสวนใหญมกัมีพรสวรรคดวย จึงจะสามารถผลิตงานกราฟกออกมาไดอยางมีคุณภาพเปนทีย่อมรับของคนทั่วไป ผูที่ปฏิบัติงานดานนี้ควรจะไดตระหนกัในขอแนะนําตอไปนี ้ ขั้นเตรียมการ 1. มีความรูความเขาใจในเรื่องของศิลปะ กราฟก เปนอยางดี ไดแก การออกแบบ การเขียนภาพ การจัดภาพ ทฤษฎสีี และการประดิษฐตัวอักษร เปนตน 2. มีความรูในเรือ่งชนิดของเครื่องมือ มีเครื่องมือพรอมใชเครื่องไดอยางถูกตอง 3. มีความรูในเรือ่งวัสดุอุปกรณ ที่จะนํามาใชใหเหมาะสมกับลักษณะของงาน 4. รูลักษณะของงานที่จะผลิตออกไป เชน รูวาออกแบบงานชิ้นนั้น ๆ ไปทําอะไร ออกแบบเพื่อจะนําไปทําบลอคพิมพหนังสอื จะตองเขียนลายเสนบนกระดาษอารต แตถาออกแบบเพื่อนําไปถายอัดทําซิลคสกรีนตองเขียนบนกระดาษไขเขียนแบบ บางครั้งเปนการนํางานชิ้นนัน้ไปแสดงโดยตรงเลยทีเดยีว เชน ออกแบบโปสเตอรแผนเดยีว หรือเขียนปายประกาศ เปนตน 5. การสะสมแบบเกา ๆ ที่มีผูเขียนไวเปนตวัอยาง เปนสิ่งที่จําเปนสําหรับนักออกแบบที่ดี 6. ตองเขาใจจดุประสงคของงานชิ้นนั้นวาเขยีนไปใหใครดหูรือใครอาน เพราะงานที่จะใหนกัเรียนชั้น ป.1ดู กับนักเรียนระดับอุดมศึกษาดูยอมแตกตางกนั แมจะเปนเรื่องเดียวกันและจุดประสงคเดยีวกันก็ตาม ขั้นปฏิบัตงิาน 1. ควรมีสมาธิในการที่จะหาแนวคิดใหม ๆ ในการออกแบบ 2. รางแบบกอนคราว ๆ 3. จัดวางวัสดุอุปกรณตาง ๆ ใหถูกที่และปลอดภัย หลายครั้งที่เขียนแบบเสร็จแลวทําขวดหมกึลมบนชิ้นงาน ทําใหเลอะเทอะใชไมไดตองเขยีนใหม 4. ลงมือปฏิบัติงานอยางใจเยน็ ขั้นประเมินผล ควรมีการประเมินผลงานของตัวเอง รับฟงขอติชมดวยการวางเฉยและทําใจใหได สํารวจสิ่งบกพรองจากคําวพิากษวิจารณ เพื่อนํามาปรบัปรุงแกไข ใหไดผลงานที่มีคุณภาพในครั้งตอไป

Page 10: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

216

การประดิษฐตัวอักษร การประดิษฐตวัอักษร เปนงานที่ควบคูกับงานออกแบบ เปนการผลิตชิ้นงานศิลปะ (Art Work) รูปแบบตาง ๆ จัดไดวาเปนความรูพื้นฐานในการผลิตสื่อการเรียนการสอน ตัวอยางการใชความรูทางดานการประดษิฐตัวอักษร เชน การผลิตแผนภูมิ แผนสถติิ การเขียนหวัเร่ืองคําบรรยายตาง ๆ ในการจัดปายนเิทศ การเขียนปายโฆษณากิจกรรมของโรงเรียน การเขียนขอความประกอบการจดัเวทีเนื่องในงานตาง ๆ หรืออาจจะกลาวสรุปรวมไดวา ส่ือประเภททศันสัญลักษณตองใชความรูพื้นฐานทางดานการประดษิฐตัวอักษรและการออกแบบแทบทั้งสิ้น ประเภทของการประดิษฐตัวอักษร การเขียนและประดิษฐตัวอักษรที่ใชในงานกราฟกและงานผลิตสื่อการสอน มีหลายประเภท ดังนี ้ 1. การเขียนดวยมือ ลากเสนอิสระ (Free Hand Lettering) คือ การใชเครื่องเขียนพื้นฐาน ไดแก ดินสอ ปากกา ปากกาสปดบอล พูกัน ปากกาเคมี เขยีนดวยมือหรือใชฝมือโดยแท การเขียนโดยใชเครื่องเขียนพื้นฐาน ผูเขียนตองมีความชํานาญในการเขียนโดยเฉพาะจึงจะไดงานที่มีคุณภาพ 2. การพนสีผานแบบฉลุ (Stencil) วิธีทําคือเจาะกระดาษแข็ง หรือสังกะสี ตามแบบตัวอักษรที่ตองการ แลวพนสีผานชองที่ฉลุนั้นไปยังแผนวัสดุที่ตองการจะทําใหเกดิตัวอักษร เชน การพนสีกับเสื้อนักกีฬานักเรียนในสมัยกอน การทําเครื่องหมายติดโตะ เกาอี้ ประจําอาคารของสถาบันตาง ๆ เปนตน อีกลักษณะหนึ่งเรานําแบบฉลุชองเปนตัวอักษรนั้นไปทําเปนกลองใสหลอดไฟฟาไวขางในก็จะเปนแผนปายไฟฟา ตัวอักษรหรือพื้นหลังสวางดวยแสงไฟใชเปนสื่อทัศนสัญลักษณไดเปนอยางดี สวนมากเราจะพบงานแบบนีใ้นธุรกิจโฆษณา

Page 11: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

217

ภาพที่ 9.4 แสดงการประดษิฐตัวอักษรดวยการพนสีผานแบบฉลุ ที่มา (พฤฒิพงษ เล็กศิริรัตน, 2536, หนา 55)

3. การปาดสผีานชองฉลุ (Silk Screen) คือการสรางตัวอักษรดวยการออกแบบกอนแลวใชระบบซิลคสกรีน กลาวคือถายแบบตัวอักษรที่ตองการลงในกรอบไมส่ีเหล่ียมที่ขึงไวดวยผาปาน โดยมีกระบวนการถายแบบที่ซับซอนพอสมควร เสร็จแลวจึงใชยางปาดสีผานชองฉลุบนผาปานนั้น สําหรับงานที่ตองการจํานวนมาก ๆ วิธีการเชนนี้คลายการพนสีผานแบบฉลุ (Stencil) แบบหนึ่ง แตไดผลงานที่มีคุณภาพดีกวา 4. การใชเทมเพลท (Template) เทมเพลท เปนเครื่องมือเขียนตัวอักษรชนิดหนึ่ง มีลักษณะเปนไมบรรทัดหรือแผนพลาสติกเจาะเปนชองตวัอักษร เอาไวลากเสนหรือระบายสีลงในชองแลวจะไดตัวอักษรตามตองการ หรือตามแบบในเทมเพลทนั้น ๆ เทมเพลทมีขายตามรานเครื่องเขียนใหญ ๆ มีหลายแบบใหเลือก ที่จริงแลวเรามีวิธีทีจ่ะสรางเทมเพลทใชเอง โดยใชแผนฟลมเอก็-เรย (X-Ray) ที่ใชแลวมาถูขัดใหสะอาดโดยใชน้ําผสมคลอรีนอยางเขมขน ออกแบบตัวอักษรใสกระดาษบาง ๆ แลวเอาผนกึชั่วคราวเขากบัแผนฟลมดังกลาว ใชปลายคัตเตอรกรีดฉลุเปนชองใหไดตัวอักษรตามที่ออกแบบไว นําเทมเพลททีเ่ราสรางขึ้นเองนั้นไปใชประดิษฐตัวอักษรตอไป

Page 12: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

218

อีกแบบหนึ่งในลักษณะที่คลายคลึงกันนี้ คือ การกรีดตวัอักษรจากกระดาษกาวซึ่งแปะติดอยูกับแผนพลาสติกหรือจะเอากระดาษกาวไปแปะกบัวัสดุแผนเรยีบใด ๆ ก็ได เมื่อกรีดจนไดชองตัวอักษรแลว ก็เอาสีสเปรยฉีด เรียกวา “สเปรยออนเล็ทเตอริงค (Spray on Lettering)” เมื่อสีแหงแลวกแ็กะกระดาษกาวทีเ่ปนแบบเหลืออยูนั้นออก ก็จะไดแผนปายพลาสติกที่มตีัวอักษรตามตองการ ใชเปนแผนปายหองเรียนหรือปายอื่น ๆ ไดเปนอยางดี วิธีนีจ้ะไดตัวอักษรที่คมชัดเพราะแบบแนบตดิกบัแผนปายอยางสนิท 5. การใชตรายาง (Rubber Stamp) ตรายางม ี 2 แบบ แบบแรกคือตรายางจริง ๆ ตองไปจางรานที่รับทําบลอค ซ่ึงมีกระบวนการถายทําแมพิมพแลวหลอยาง ทําดามจับ นาํมากดกับแปนหมึก แลวประทับลงบนกระดาษกจ็ะไดตัวอักษรตามแบบ ตามรานเครื่องเขียนจะมีตรายางสําเร็จรูปจําหนาย อีกแบบหนึ่งคือทําตรายางใชเองโดยทําจากยางลบหรือช้ินฟกทอง มันเทศ ใชใบมีดแกะแบบเอง ตัวอักษรตองกลับเปนตรงขาม แลวนํามากดกบัแปนหมกึประทับลงบนกระดาษที่ตองการ 6. การใชวิธีตดั (Cut-Out) คือออกแบบตัดอกัษรบนโฟม ไม พลาสติก ฯลฯ แลวฉลุหรือตัดอักษรนั้นออกเปนตวั ๆ เปนตวัอักษรสามมิติ นําตัวอักษรนั้นไปเรียงกัน ตดิกับแผนปายหรือติดกับฉากก็จะไดขอความตามตองการ วิธีนี้นยิมใชเปนหัวเร่ืองการประชุมสัมมนา หรืองานพธีิ ตาง ๆ ถือเปนการตกแตงเวทีไปดวย 7. การใชตัวอักษรสําเร็จรูป (Instant Letter) คือการใชตัวอักษรสําเร็จรูปที่ซ้ือมาหรือจัดทําขึ้นใชเอง สวนมากเปนแบบตัดออกเปนตัว (Cut-Out) ที่ทําจากไม โลหะ พลาสติก หรือกระดาษสติกเกอร นํามาประกอบเปนขอความใชไดเลย อีกแบบหนึ่งไดแก ตัวอักษรลอกได (Letter Press) ที่มีจําหนายตามรานขายเครื่องเขียนทั่วไป แตราคาคอนขางแพง นําเอาแผนตัวอักษรลอกไดนั้นมากดขูดลงบนกระดาษก็จะไดตวัอักษรตามตองการ สวนมากเรานํามาใชกับชิน้งานอารตเวิรกที่เปนตนแบบสําหรับถายเพลททําบลอคหรือทําแบบตัวอักษรสําหรับถายทําภาพนิ่ง เปนตน

Page 13: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

219

ภาพที่ 9.5 แสดงตัวอักษรลอก (Letter Press) ที่มา (คณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน, 2531, หนา 4)

8. การประดิษฐตวัอักษรดวยเศษวัสดุ ใชวัสดตุาง ๆ เชน เปลือกไม เปลือกหอย เชือก กานไมขีด ใบไมแหง ฯลฯ มาประดิษฐเปนตัวอักษรใชงานไดเหมือนกนั ซ่ึงทําใหนาสนใจอีกดวย 9. การใชเคร่ืองมอืเขียนหรือประดิษฐตัวอักษร เครื่องมือเขียนตวัอักษร ไดแก เครื่องมือเขียนชุดเลรอย (Leroy Lettering Set) ใหลากเสนตามรองตัวอักษรแลวมีกลไกโยงไปปรากฏตัวอักษรบนกระดาษที่ตองการ เครื่องมือเขียนชดุไรโก (Wrico Lettering Set) มีลักษณะการเขียนตวัอักษรคลายกับเทมเพลทอยางหนึง่

ภาพที่ 9.6 การเขียนตวัอักษรดวยเครื่องเลรอย ที่มา (วนดิา จงึประสิทธิ์, 2526, หนา 68)

Page 14: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

220

ภาพที่ 9.7 การเขียนตวัอักษรดวยเครื่องไรโก ที่มา (พฤฒิพงษ เล็กศิริรัตน, 2536, หนา 57)

10. การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรเขียนตัวอักษร ในปจจุบนันี้ความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีคอมพิวเตอรไดพฒันาทางดานกราฟกไปมาก มีโปรแกรมสรางตัวอักษรไดมากมายหลายรอยแบบ เชน โปรแกรมไมโครซอฟทเวิรด ฟอร วินโดวส 6.0 (Microsoft Word for Windows 6.0) ขอยกตวัอยางแบบตวัอักษรมาใหดู 3 แบบ ดังนี ้ ตัวอยาง แบบตัวอักษรจากคอมพิวเตอร

Page 15: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

221

กขคตฆงจฉชซฌญฎ ฏฐฑฒณดตถทธนบป ผฝพฟภมยรลวศษสห ฬอัฮ ะ า ิ ี ุ ู โ ใ ไ พระพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก

ภาพที่ 9.8 ตัวอักษรจากคอมพิวเตอร แบบ Angsana New

Page 16: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

222

กขคตฆงจฉชซฌญฎ ฏฐฑฒณดตถทธนบป ผฝพฟภมยรลวศษสห ฬอัฮ ะ า ิ ี ุ ู โ ใ ไ

คําขวัญเมืองพิษณุโลก

พระพุทธชินราชงามเลิศ ถ่ินกําเนิดพระนเรศวร สองฝงนานลวนเรือนแพ หวานฉ่ําแทกลวยตาก

ถํ้าและน้ําตกหลากตระการตา

ภาพที่ 9.9 ตัวอักษรจากคอมพิวเตอรแบบ KodchingUPC

Page 17: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

223

กขคตฆงจฉชซฌญ

ฎฏฐฑฒณดตถทธนบปผฝพฟภมยรล วศษสหฬอัฮ ะ า ิ ี

หลวงพอพระพุทธชนิราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เปนสถาบนัอุดมศึกษาของทองถิน่

ภาพที่ 9.10 ตัวอักษรจากคอมพิวเตอรแบบ BrowalliaUPC

Page 18: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

224

หลักในการประดิษฐตัวอักษร การประดิษฐตวัอักษรเพื่อใหสามารถนําไปใชงานลักษณะตางๆไดอยางมีประสิทธิภาพนั้น ผูประดษิฐควรคํานึงถึงองคประกอบพื้นฐาน ซ่ึงจะชวยทําใหขอความที่เขียนขึ้นมามีลักษณะเดน อานงาย นาสนใจ มีความสวยงาม และสามารถถายทอดเรื่องราวตางๆไปสูผูชมไดอยางเหมาะสม องคประกอบพื้นฐานในการประดิษฐตวัอักษรมีดังนี ้ 1. การเลือกใชสี การเขียนตวัอักษรโดยทัว่ไป นิยมใชสีตดักับสีพื้น เพือ่ทําใหตวัอักษรเดน ดูชัดเจน อานงาย ปกตมิักจะใชสีเขมเขียนบนพืน้สีออน เชน สีดาํ สีแดง สีมวง สีน้ําเงิน เขยีนบนพื้นสีขาว หรือใชสีออนเขียนบนพืน้สีเขม เชน สีเหลือง สีสม เขียนบนพื้นสีดํา 2. รูปแบบของตวัอักษร รูปแบบและสีของตัวอักษรในขอความเดยีวกัน ควรเปนแบบและสีเดยีวกัน ยกเวนขอความที่ตองการเนน อาจเปลี่ยนสีและรูปแบบได ไมควรใชแบบและสีของตัวอักษรมากเกินกวา 2-3 แบบ นอกจากนัน้ผูประดิษฐควรเลอืกแบบและสีใหเหมาะสมกบัจุดมุงหมาย เนือ้เร่ือง และระดับของผูอาน 3. ขนาดความสงูของตัวอักษร ควรใหเหมาะสมกับระยะหางของผูดู จากการวิจัยพบวา สําหรับคนสายตาปกติในระยะทาง 32 ฟุต ขนาดตัวอักษรจะตองสูงไมนอยกวา 1 นิ้ว สามารถมองเห็นไดชัดเจนโดยไมตองบีบกลามเนื้อตา ถาระยะทางของผูดูลดลงหรือเพิ่มขึ้น ขนาดความสูงของตัวอักษรจะตองลดลงหรือเพิ่มขึ้นตามสวน โดยถือระยะทางของผูดูเปนหลักดังนี ้ ตัวอักษรสูง ¼ นิ้ว จะเห็นไดชัดเจนในระยะไมเกนิ 8 ฟุต ตัวอักษรสูง ½ นิ้ว จะเห็นไดชัดเจนในระยะไมเกนิ 16 ฟตุ ตัวอักษรสูง 1 นิ้ว จะเห็นไดชัดเจนในระยะไมเกนิ 32 ฟตุ ตัวอักษรสูง 2 นิ้ว จะเห็นไดชัดเจนในระยะไมเกนิ 64 ฟตุ นอกจากนั้นถาตองการใหตวัอักษรมีขนาดสวยงาม ชวนดู จะตองคํานึงถึงสัดสวนของตัวอักษรดวย สัดสวนของตัวอักษร หมายถึง ความสูงตอความกวางตอความหนา เทากับ 5 ตอ 3 ตอ 1 ยกเวนตวัอักษรบางตวั เชน ข ช ซ ง ฒ ณ ฌ ญ ความกวางควรลดหรือเพิ่มพองาม 4. ชองไฟ หมายถึง ชองวางระหวางตัวอักษร ในการเขยีนขอความจะเกิดชองไฟขึ้น ถาจัดชองไฟใหชองวางระหวางตัวอักษรทกุชองมีระยะหางเทาๆกัน เรียกวา ชองไฟงาม จะทําใหขอความนาสนใจ ชวนดู การจัดชองไฟอาจทําได 2 วิธีคือ 4.1 การจัดชองไฟโดยการวัด (Mechanical Space) เปนการจัดชองไฟโดยใชเครื่องมือวัดใหตัวอักษรทุกตัว มีความกวางเทากัน มีระยะหางเทากัน แบบนี้เหมาะสําหรับพยัญชนะบางภาษาที่มีรูปรางตัวอักษรใกลเคียงกัน ไมเหมาะสําหรับภาษาไทย เพราะบางตัวมีรูปรางแตกตางกันมาก โดยเฉพาะ สระ า และ ว แหวนมีปญหามาก จงึไมนิยมที่จะจัดชองไฟดวยวิธีนี้

Page 19: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

225

4.2 การจัดชองไฟโดยกะดวยสายตา (Optical Space) เปนการจัดชองไฟโดยกะดวยสายตา ตัวอักษรทุกตัวไมจําเปนตองกวางหรือหางเทากนั แตจัดใหทกุชองมีระยะหางพอๆกันโดยกะดวยสายตา วิธีนี้ถาเปนการเขียนดวยมือ ตองอาศัยความชํานาญ ในภาษาไทยนิยมจัดชองไฟดวยวิธีนี้ 5. ความสมดุล (Balance) หมายถึงความเทากัน นับวามีความสําคัญมากในการเขยีนขอความลงบนพื้นที่หนากระดาษ ควรจัดขอความใหอยูในตําแหนงที่เหมาะสม มีน้าํหนักเทากันทัง้สองดาน ความสมดุลมี 2 รูปแบบคือ 5.1 สมดุลแบบรูปนัย (Formal Balance) มีขอความเปนบรรทัดอยูกลางหนากระดาษ และหางจากจดุกึ่งกลางหนากระดาษไปทางซาย-ขวาเทากัน เปนการจดัแบบเรียบงาย ตัวอยาง เชน บัตรเชิญงานบวชนาค งานมงคลสมรส เปนตน 5.2 สมดุลแบบอรูปนยั (Informal Balance) เปนการจัดใหสมดลุ โดยขอความแตละบรรทัดไมจําเปนจะตองวางใหอยูกึ่งกลางหนากระดาษเสมอไป แตจะเลือกวางในตําแหนงทีจ่ะทําใหผูดูเกิดความรูสึกวาสมดลุ โดยอาจนําองคประกอบตางๆทางศิลปะมาชวย เชน แสง สี รูปทรง ทิศทาง ฯลฯ ซ่ึงเปนการจดัทีน่ิยมใชในงานออกแบบมาก ตัวอยาง เชน ปกหนังสือ ภาพโฆษณา เปนตน

รูปนัย

อรูปนัย

ภาพที่ 9.11 แสดงความสมดุลแบบรูปนัยและอรูปนัย

ที่มา (ผูเรียบเรยีง)

Page 20: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

226

ประเภทของตัวอักษร ตัวอักษรทีจ่ะนํามาใชในงานดานตางๆนัน้ มีรูปแบบที่แตกตางกันมากมาย ทั้งนีข้ึ้นอยูกับความคิดสรางสรรคของผูประดิษฐ ซ่ึงพอจะจดักลุมเปนประเภทตางๆไดดังนี ้ 1. ตัวอักษรหัวกลม เปนตัวอักษรมาตรฐานนิยมใชกันโดยทั่วไป โดยเฉพาะในทางราชการเปนแบบที่อานงาย เหมาะสําหรับทําปายชื่ออาคาร ช่ือสถาบัน ช่ือหนวยงาน ปายประกาศเปนทางการ เหมาะสําหรับนักเรียนระดับอนุบาลและประถมศึกษามากที่สุด

แบบหัวกลม 2. ตัวอักษรแบบหัวตัด เปนแบบของตัวอักษรที่ใชกับงานทั่วไป ที่มีลักษณะงานแบบกึ่งทางการ มีลักษณะอานงาย สวยงาม นยิมใชกันมากในการทําปายโฆษณา ปายชื่อหางราน บริษัท ปายประกาศตางๆ และคําอธิบายประกอบสื่อราคาถูก

แบบหัวตัด 3. ตัวอักษรแบบไมมีหัว เปนตัวอักษรที่มีลักษณะคลายคลึงกับแบบหวัตัด ลักษณะการนําไปใชงานจึงใกลเคียงกัน หรืออาจใชรวมกันได นิยมใชกับงานโฆษณา ประชาสัมพันธดานธุรกิจการคา ตัวอยาง เชน ปายโฆษณา ปกหนังสือ ปกเอกสาร หีบหอผลิตภัณฑ เปนตน

แบบไมมีหัว 4. ตัวอักษรแบบคัดลายมือ เปนตัวอักษรที่ลักษณะเหมือนคัดลายมือ ตัวบรรจง หัวตวัอักษรยังคลายดอกบัวตมู บางครั้งอาจเรียกวา ตัวอักษรแบบหัวบัว นิยมใชกบังานที่เปนพธีิการ เชน เขียนบัตรเชิญ บัตรอวยพร ประกาศนียบัตร วฒุบิัตร เปนตน 5. ตัวอักษรแบบตัวหวัด เปนตัวอักษรที่นยิมใชเขยีนบตัรเชิญ บัตรอวยพร ภาพโฆษณา หรือใชเขียนรวมกับตัวอักษรแบบอื่น เพื่อเนนขอความใหเดน นาสนใจ

Page 21: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

227

วิธีเขียนตัวอักษร วิธีเขียนตวัอักษรในที่นีห้มายถึง วิธีเขียนตวัอักษรดวยมือแบบอิสระ (Free Hand) จะใชเครื่องมือพื้นฐานบางอยาง ไดแก ดนิสอ ไมบรรทัด ปากกาสปดบอล พูกันปลายแบน และหมกึ สี รวมทั้งสีเมจิกดวยเทานั้น วิธีที่ 1 รางดวยดินสอแลวระบายสีทีละตวั รางดวยดินสอกอนตามแบบที่ตองการ แลวระบายสีดวยพูกัน หรือสีเมจกิทีละตัว ถาขอความมาก ๆ อยาใชวิธีนี้เลย เพราะเสียเวลาทํามาหากินเปลา ๆ แตถาจําเปนใหใชเทมเพลทชวย วิธีที่ 2 เขียนดวยพูกันปลายแบน เปนการใชพูกันปลายแบน จุมสีซ่ึงอาจเปนสีน้ํา สีโปสเตอร สีพลาสติก สีน้ํามัน แลวเขยีนตัวอักษรดวยมือแบบลากเสนอิสระ วิธีดังกลาวนี้ผูเขยีนตองมีทักษะในการเขียนจึงจะเขยีนไดด ี วิธีที่ 3 เขยีนดวยสีเมจกิ (ปากกาเคมี) สีเมจิก หรือปากกาปลายสักหลาด มีหลายสี หลายขนาด และหลายลักษณะ ไดแก แบบเสนเล็กปลายแหลม แบบเสนใหญปลายกลม และแบบเสนใหญปลายตัด แบบเสนเล็กปลายแหลม และเสนใหญปลายกลม เหมาะสําหรับเขียนดวยลายมือธรรมดา แตเขียนตัวใหญขึน้เหมือนเมื่อเวลาครูเขียนตวัอักษรดวยชอลคบนกระดานดํา ควรใชเปนวิธีสุดทาย เมือ่เขียนแบบอืน่ใดไมไดเลย แบบเสนใหญปลายตัดเราสามารถที่จะเขียนเหมือนเขยีนดวยพูกันปลายแบน หรือปากกาสปดบอลแบบ C ขอดีคือไมตองจุมหมึก หรือจุมสบีอย ๆ แตถาลากซํ้าสีจะไมเทากัน และบางครั้งทําใหกระดาษยุยขาดได วิธีที่ 4 การเขียนดวยปากกาสปดบอล ปากกาสปดบอล (Speedball) มีหลายขนาด แบงออกเปน 4 แบบ แตละแบบเมื่อเขียนแลวใหลักษณะของตัวอักษรตางกัน เขียนโดยใชหมกึอินเดยีนอิงค (Indian Ink) แบบหรือลักษณะของปากกาสปดบอลเปนดังนี ้ 1. แบบ A (Square) มีลักษณะปลายตัดเปนมุม สวนที่สัมผัสกระดาษเปนรูปสี่เหล่ียมจัตุรัส การลากเสนจึงไดเสนแบบเหลี่ยม เขียนตวัอักษรไดเปนแบบเหลีย่มตลอดตัว 2. แบบ B (Ball) มีลักษณะปลายกลมหักเปนมุมสัมผัสกระดาษ ลากเสนแลวจะไดเสนปลายกลม เขียนตัวอักษรไดเปนแบบหวักลมตลอดตัว 3. แบบ C (Shading) แบบนีส้วนปลายปากกาตางกับแบบอื่น ๆ คือ ปลายตัดเฉียงเล็กนอย ลากไดเสนเหล่ียม ถาลากในแนวโคงจะไดเสนหนา-บาง คลายกับการเขียนดวยพูกนัปลายแบนเขียนตวัอักษรไดเสนหนา-บาง เปนที่นิยมใชกันมากกวาแบบอื่น

Page 22: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

228

4. แบบ D (Elliptical) แบบนีลั้กษณะคลายแบบ B แตสวนปลายของปากกาเปนรูปวงรี หักเปนมมุสัมผัสกระดาษ ลากเสนไดเสนปลายโคง ถาจากในแนวโคงจะไดเสนหนา-บาง เขียนตัวอักษรไดเปนแบบหวักลม และหลบเสนใหหนา-บางได ทั้ง 4 แบบนี้ แตละแบบมขีนาดตางกนั คือมีขนาดของปากตั้งแตเล็กสุดไปจนถึงใหญ แบบ A และแบบ D มีเบอร 0-5 (เบอร 0 ใหญสุดแลวเล็กลงไปตามลําดับ ถึงเบอร 5 ซ่ึงเปนเบอรที่เล็กที่สุด)

ภาพที่ 9.12 แสดงเสนที่เกิดจากปากกาสปดบอลแบบตาง ๆ ที่มา (สุวิช แทนปน, 2539, หนา 53)

ในการเขยีนตวัอักษรโดยใชปากกาสปดบอลนั้น ทุกแบบจะเขยีนไมไดเหมือนเขียนดวยดินสอ ปากกาหมึกซึมหรือการเขียนดวยชอรคบนกระดานดํา การเขยีนดวยเครื่องเขียนดังกลาวเปนการเขียนธรรมดาลากเสนไปไดทุกทิศทาง สวนการเขียนดวยปากกาสปดบอลนั้นจะเขยีนไดดวยการลากเสน 6 ลักษณะ คือ ลากจากบนลงลาง ลากจากซายไปขวา ลากโคงซาย ลากโคงขวา ลากโคงขึ้น และลากโคงลง ทั้งนี้เฉพาะปากกาสปดบอลแบบ C และแบบ D ดวยลักษณะการเขียนที่มีขอจํากัดเชนนี ้ จึงทําใหการจรดปากกาลงไปครั้งหนึ่งไมสามารถจะเขียนไดครบเปนตัวอักษร ตองแบงตัวอักษรเขียนเปนสวน ๆ คือจรดปากกาหลายครั้งลากมาตอกันจงึจะครบเปนตวัอักษรได ความยากในการเขียนอยูตรงนี้ ถาผูเขียนเขาใจแยกสวนตัวอักษรก็สามารถที่จะเขียนตัวอักษรดวยปากกาสปดบอลได

Page 23: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

229

ขั้นตอนการเขียนตัวอักษรดวยปากกาสปดบอลแบบ C ปากกาสปดบอลแบบ C เปนที่นยิมใชกันมาก เพราะเขียนแลวไดแบบตัวอักษรที่สวยงามและเขียนไดรวดเรว็ จึงขอนําขั้นตอนในการเขียนมาเสนอไวอยางละเอยีดเพื่อสะดวกในการฝกทักษะการเขียน ดังนี ้ 1. เตรียมจัดหาอปุกรณใหพรอม เชน กระดาษที่จะเขียน ไมบรรทัด ดนิสอ ยางลบปากกาสปดบอลเบอรที่ตองการ และหมกึอินเดียนอิงค ควรมีโตะรองเขียนเรียบ ๆ ดวย 2. นั่งตัวตรง ขดีเสนบรรทัด (Guide Line) ใหมีความสูงของตัวอักษรตามที่ตองการพรอมทั้งกะจํานวนตวัอักษรใหพอดกีับหนากระดาษ คํานึงถึงชองไฟดวย งานที่ตองการความละเอียดมาก ๆ ตองคํานวณกอน เพื่อใหลงตัวพอด ีการคาํนวณตัวอักษร เชน ตวั ณ ญ ฒ ให นับเปนตัวคร่ึง แตถาเปนตัว เ ใ โ ใหนับเปนครึ่งตัวดังนีเ้ปนตน 3. วางแขน มือ ในการเขยีน มีจุดสัมผัส 3 จุด คือ ปลายปากกา ดานขางของนิ้วกอยและโคนฝามือดานขาง สําหรับผูที่ฝกใหม ๆ สวนผูที่มีทักษะในการเขียนดีอยูแลวอาจใชจุดสัมผัสเพียง 2 จดุ หรือจุดเดยีวเทานัน้

ภาพที่ 9.13 การวางมือมีจดุสมัผัส 3 จุด ที่มา (ผูเรียบเรยีง)

4. เอาปากกาจุมหมึกใหพอด ีจุมแลวควรปาดกับปากขวดกอนทุกครั้ง แลวจรดปากกาทํามุมกับเสนบรรทัด ประมาณ 45 องศา 5. ลากเสนเปลี่ยนทิศทางตามรูปแบบของตัวอักษร โดยใหปลายปากกายงัคงทํามุม 45 องศา เหมือนเดิม อยาลืมวาลากได 6 ลักษณะ คือ ลากลง ลากซายไปขวา ลากโคงขึ้น-ลง และลากโคงซาย-ขวาไดเทานั้น ในการฝกหัดเขียนครั้งแรก ควรฝกหัดลากเสนลีลาแบบตาง ๆ กอน เชน ลาก

Page 24: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

230

ลง ลากซายไปขวา ลากโคงซาย ลากโคงขวา ลากโคงขึ้น ลากโคงลง โปรดดูตัวอยางการฝกลากเสนลีลาแบบตาง ๆ และตัวอยางการลากเสนเพือ่เตรียมที่จะเขยีนใหเปนตวัอักษร

ภาพที่ 9.14 การลากเสนจากบนลงลาง และลากจากซายไปขวา ที่มา (ผูเรียบเรยีง)

ภาพที่ 9.15 ตวัอยางการฝกลากเสนลีลาแบบตาง ๆ ที่มา (ผูเรียบเรยีง)

Page 25: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

231

ตอไปนี้เปนตวัอยางการเขียนตัวอักษร โดยใชปากกาสปดบอลแบบ C เปนการฝกเขยีนตามขั้นตอน มลูีกศรกํากับไวตามตัวอักษร แสดงถึงขั้นตอนการเขียน

ภาพที่ 9.16 ตัวอยางการเขียนตัวอักษรดวยปากกาสปดบอลแบบ C

ที่มา (ผูเรียบเรยีง)

Page 26: บทที่ 9 การออกแบบงานกราฟ ก และการประดิษฐ ตัวอักษรelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson9.pdf ·

232

บทสรุป การออกแบบหมายถึง การกําหนดออกมา กะหรือขีดเขยีนไว มีเปาหมายที่แสดงออกมาดวยการจัดในเรื่องตางๆ เชน เสน รูปราง รูปทรง สัดสวน จังหวะ ชองไฟ ฯลฯ อยางมศีิลปะ มีความงามมีลักษณะพิเศษอันนาสนใจ องคประกอบของการออกแบบไดแก เสน รูปราง รูปทรง มวล ปริมาตร การเคลื่อนไหว สัดสวน พื้นผิว แสงเงา สี หลักในการจัดองคประกอบไดแก การมีจดุสนใจ ความมเีอกภาพ และความสมดุล รวมทั้งขอแนะนาํในการปฏิบัตงิานกราฟก การประดิษฐตวัอักษร เปนความรูพื้นฐานในการผลิตสื่อการเรียนการสอน เชน จัดทําแผนภูม ิ แผนปายนิเทศ ประเภทของการประดิษฐตวัอักษรมีหลายประเภทไดแก การเขียนดวยมือ การพนสีผานแบบฉลุ การปาดสีผานชองฉลุ การใชเทมเพลท การใชตรายาง การใชวิธีตัด การใชตัวอักษรสําเรจ็รูป การใชเศษวัสดุ การใชเครื่องมือชวยในการเขียนไดแก เลรอยและไรโก และการใชโปรแกรมคอมพิวเตอร หลักในการประดิษฐตวัอักษรมีอยูหลายประการ ประเภทของตัวอักษรมีหลายประเภท เชน ตัวอักษรหัวกลม แบบหัวตดั แบบไมมีหัว แบบคัดลายมือ และแบบตวัหวัด วิธีเขียนตวัอักษรมีวิธีเขียนดวยเครื่องมือหลายประเภท รวมทั้งปากกาสปดบอล 4 แบบ แตที่นิยมใชกนัมากที่สุดคือ ปากกาสปดบอลแบบ C และประการสุดทายเปนขั้นตอนการเขียนตัวอักษรดวยปากกาสปดบอลแบบ C พรอมตัวอยางการเขียนตัวอักษร