บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม...

28
บทที่ 5 : ผลการดาเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้ องกันและแก้ไขและ แผนติดตามตรวจสอบฯ

Transcript of บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม...

Page 1: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

บทท่ี 5 : ผลการด าเนินงานตาม

แผนปฏิบติัการป้องกนัและแกไ้ขและ

แผนติดตามตรวจสอบฯ

Page 2: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-1

บทที่ 5 ผลการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม

และแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ประจ าปงีบประมาณ พ.ศ. 2563

แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม

แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการประตูระบายน้้าท่านางงาม อ้าเภอบางระก้า จังหวัดพิษณุโลก มีวัตถุประสงค์เพ่ือลดผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในด้านต่าง ๆ ที่ต้องด้าเนินการโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายหน่วยงาน และมีกรมชลประทานเป็นหน่วยงานรับผิดชอบซึ่งการด้าเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกัน แก้ไขและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีดังนี ้

5.1 แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5.1.1. แผนงานเตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจด้านการป้องกันและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม

5.2 แผนปฏิบัติการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5.2.1. แผนการติดตามตรวจสอบด้านคุณภาพน้้าผิวดิน 5.2.2. แผนการติดตามตรวจสอบระดับน้้าใต้ดินและคุณภาพน้้าใต้ดิน 5.2.3 แผนป้องกันและติดตามการเฝ้าระวังโรงติดต่อน้าโดยแมลง 5.2.4 แผนติดตามการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 5.2.5 แผนการติดตามการปฏิบัติป้องกันแก้ไขและแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม มีแผนปฏิบัติการป้องกันแก้ไขและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมและแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีทั้งหมดจ้านวน 7 แผนงานรวมงบประมาณทั้งสิ้น 1,302,200 บาท

Page 3: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-2

ตารางที ่5-1 แผนปฏิบัติการป้องกันแก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมประจ้าปีงบประมาณ 2563

หน่วย : บาท

แผนปฏิบัติการ หน่วยงานรับผิดชอบ งบประมาณ ตามเล่มรายงานฯ

งบประมาณที่โอนจริง

1. แผนงานเตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจด้านการป้องกันและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม

กรมชลประทาน / ส้านักงานก่อสร้างชลประทานขนาดกลางท่ี 3

250,000 250,000

2. แผนการติดตามตรวจสอบด้านคุณภาพน้้าผิวดิน

กรมชลประทาน/ส้านักบริหารโครงการ

200,000 200,000

3. แผนการติดตามตรวจสอบระดับน้้าใต้ดินและคุณภาพน้้าใต้ดิน

กรมชลประทาน/ส้านักบริหารโครงการ

150,000 150,000

4. แผนป้องกันและติดตามการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่มีน้้าและอาหารเป็นสื่อ

กรมควบคุมโรค/กองโรคติดต่อทั่วไป

250,000 150,000

5. แผนป้องกันและติดตามการเฝ้าระวังโรงติดต่อน้าโดยแมลง

กรมควบคุมโรค/ส้านักงานป้องกันและควบคุมโรคที่ 2

300,000 200,000

6. แผนติดตามการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

ส้ านั ก งานสาธ ารณสุ ขจั งหวั ดพิษณุโลก

300,000 152,200

7. แผนการติดตามการปฏิบัติป้องกันแก้ไขและแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม

กรมชลประทาน/ส้านักบริหารโครงการ

470,000 200,000

รวม 1,920,000 1,302,200

Page 4: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-3

5.1 แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม

5.1.1 แผนงานเตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจด้านการป้องกันและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม (1) หลักการและเหตุผล การพัฒนาโครงการประตูระบายน้้า เป็นโครงการพัฒนาแหล่งน้้าเพ่ือการเกษตร การอุปโภคและบริโภคของราษฎร แต่ในการพัฒนาโครงการย่อมส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติทั้งทางบวกและทางลบ ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบต่อที่ดินของราษฎรที่อยู่ในพ้ืนที่ก่อสร้าง ดังนั้น เพ่ือเป็นการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องต่อการพัฒนาโครงการ จึงจ้าเป็นต้องมีการประชาสัมพันธ์โครงการ รวมทั้งการด้าเนินงานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เริ่มต้นด้าเนินการจนถึงภายหลังการก่อสร้างแล้วเสร็จ ทั้งนี้เพ่ือให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ได้มีความเข้าใจโครงการ ผลประโยชน์ที่ประชาชนในพ้ืนที่โครงการจะได้รับ และมาตรการต่างๆ ในการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งติดตามรับฟังความคิดเห็น การป้องกันความเข้าใจผิดจากประชาชนกลุ่มต่างๆ และน้ามาปรับปรุงแผนการด้าเนินการพัฒนาโครงการให้เกิดประโยชน์สูงสุด ตลอดจนยังเป็นการแสดงออกถึงความจริงใจและเจตนารมณ์ที่แท้จริงของกรมชลประทาน ที่จะท้าการพัฒนาเพื่อประโยชน์สุขและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนโดยรวม

(2) วัตถุประสงค์

1) เพ่ือให้ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่กลุ่มเป้าหมายต่างๆ เกี่ยวกับแนวทางพัฒนาโครงการ แผนการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ตลอดจนประโยชน์ที่ได้รับจากการพัฒนาโครงการ 2) เพ่ือรับทราบและประเมินสถานการณ์ ติดตามรับฟังความคิดเห็นของทุกฝ่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งฝ่ายที่ได้รับผลกระทบทางลบ เพ่ือน้ามาปรับปรุงการด้าเนินงานของโครงการให้สอดคล้องกับความต้องการ ตลอดจนลดผลกระทบให้มากที่สุดเท่าที่จะกระท้าได้

(3) หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมชลประทานโดยส้านักงานก่อสร้างชลประทานขนาดกลางที่ 3

(4) พื้นที่ปฏิบัติการ พ้ืนที่ตั้งโครงการและพ้ืนที่รับประโยชน์ของโครงการ

(5) วิธีการด าเนินงาน การด้าเนินงานด้านประชาสัมพันธ์โครงการมีขั้นตอนในการด้าเนินงาน ดังนี้

Page 5: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-4

ตารางท่ี 5.1.1-1 แผนการประชาสัมพันธ์โครงการและการมีส่วนร่วมของประชาชน กลุ่มเป้าหมาย วัตถุประสงค ์ วิธีการด าเนินงาน/สื่อ

1) เจ้าหน้าที่กรมชลประทานและผู้ปฏิบัติงานที่จะต้องรับผิดชอบโด ยต ร ง แ ละ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง า น ที่เกี่ยวข้อง

- เพื่ อสร้างความรู้ ความเข้า ใจที่ถูกต้องของโครงการ ซึ่งเป็นการเตรียม ความพร้อมของเจ้าหน้าที่ส้าหรับการให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ประชาชน

- การจัดประชุม - เอกสารรายละเอียดโครงการ - จุลสารรายละเอียดโครงการ

2) เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ประชาสัมพันธ์จังหวัด นายกอบต. ผู้ใหญ่บ้าน ก้านันในเขตพื้นท่ีโครงการ

- เพื่อให้ข้อมูลและสร้างความเข้าใจ ที่ถูกต้องของโครงการ

- เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีส้าหรับ การไปสู่ การประสานงานอย่ างมีประสิทธิภาพในการที่ จะบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาร่วมกัน

- การจัดประชุม - เอกสารรายละเอียดโครงการ - จุลสารรายละเอียดโครงการ

3) ผู้น้าชุมชนและประชาชนได้รับผลกระทบจาก โคร งการทั้ งทางบวกและทางลบ

- เพื่อให้ข้อมูลและสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องของโครงการ

- เพื่อให้ทราบรายละเอียด ระยะเวลาในการด้า เนินงานตลอดจนการติดต่อขอรับค่าชดเชย

- เพื่อรับทราบความคิดเห็นต่างๆ อันที่ จะน้ าไปสู่ การปรับปรุ งการด้าเนินงานของโครงการ

- การจัดประชุม - ก า ร ป ร ะ ชุ ม ช้ี แ จ ง ผ่ า น ก้ า นั น

ผู้ใหญ่บ้าน - การเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารผ่านศูนย์

ประสานงานประชาสัมพันธ์ - โ ค ร ง ก า ร ออก เ ยี่ ย ม ป ร ะ ช า ช น

โดยเฉพาะกลุ่มที่ได้รับผล กระทบทางลบอย่างสม่้าเสมอ

4) กลุ่มสื่อมวลชนและประชาชนโดยทั่วไป

- เพื่อให้ได้รับทราบความก้าวหน้าของการด้าเนินงานของโครงการ

- เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง

- เผยแพร่ข่าวสารเป็นประจ้าทางสื่อมวลชน เช่น ข่าว บทความ เป็นต้น

(6) ระยะเวลาด าเนินการ แผนการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของประชาชนจะด้าเนินการเป็นระยะเวลา 4 ปีต่อเนื่อง (ตั้งแต่ปีที่ 1 ถึงปีที่ 4)

(7) งบประมาณ ปี พ.ศ. 2563 จ้านวน 250,000 บาท

(8) ความก้าวหน้าการด าเนินงาน กรมชลประทานส่วนกลางได้ด้าเนินการจัดสรรงบประมาณไปยังส้านักงานก่อสร้างชลประทานขนาดกลางที่ 3 เพ่ือด้าเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่ งแวดล้อมเพ่ือเป็นการประชาสัมพันธ์ของโครงการ และมาตรการที่เกี่ยวข้องในการป้องกันผลกระทบและแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้น ปัจจุบันการโอนจัดสรรงบประมาณ พ.ศ. 2563 ด้าเนินการแล้วเสร็จ อยู่ระหว่างการด้าเนินงานภายใต้แผนแผนงานเตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจด้านการป้องกันและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ของโครงการประตูระบายน้้าท่านางงาม จังหวัดพิษณุโลก โดยมีปัญหาและอุปสรรค ดังนี้

Page 6: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-5

1) ปัญหาและอุปสรรคในการด าเนินงาน

ปัญหาและอุปสรรคที่พบ :

1. ความล้าช้าของการอนุมัติและโอนจัดสรรงบประมาณ เนื่องด้วยคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติในหลักการงบประมาณประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และยื่นเสนอขอค้าแนะน้าและยินยอมจากรัฐสภา และประกาศเป็นพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ้าปี พ.ศ. 2563 ให้ไว้ ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ลงในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 137 ตอนที่ 15ก ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 ดังนั้นส่งผลให้การโอนจัดสรรงบประมาณเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการด้าเนินงานป้องกัน แก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมมีความล่าช้ากว่าแผนงานที่ก้าหนดไว้ อีกทั้ง การด้าเนินงานโอนจัดสรรงบประมาณจากส่วนกลางของส่วนราชการนั้น ๆ มีขั้นตอนและกระบวนการเพ่ือจัดสรรไปยังหน่วยงานปฏิบัติในพ้ืนที่ ท้าให้มีความล้าช้าส่งผลต่อกระบวนการด้าเนินงานไม่สามารถปฏิบัติตามแผนงานที่ก้าหนดไว้

2. สถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID – 19 (กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม) ที่ไม่สามารถด้าเนินการในช่วงเวลาดังกล่าว ประกอบด้วย การเคลื่อนพลข้ามพ้ืนที่ การจัดประชุมติดตามความก้าวหน้าการด้าเนินงานภายใต้แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม การลงพ้ืนที่ด้าเนินการด้านต่าง ๆ เช่น การจัดอบรมและให้ความรู้แก่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ และผู้ได้รับผลประโยชน์จากโครงการ การลงพ้ืนที่ส้ารวจด้านเศรษฐกิจและสังคม และการติดตามมาตรการการด้าเนินงานตามที่ระบุไว้ในรายงานการประเมินผลกระทบของโครงการ เป็นต้น ซึ่งไม่สามารถด้าเนินการได้ในช่วงระยะเวลาดังกล่าว ประกอบกับการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ตามความในพระราชก้าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 เพ่ือเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค และการก้าหนดใช้มาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม ท้าให้มีความจ้าเป็นที่ไม่สามารถด้าเนินกิจกรรมและงานบางประเภทได้ในช่วงเวลาดังกล่าว เมื่อเข้าสู่สถานการณ์ปกติ กรมชลประทานจะด้าเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายงานและสรุปผลการด้าเนินงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอีกครั้งต่อไป

2) แผนการด้าเนินงานขั้นต่อไป

กรมชลประทาน โดยส่วนสิ่งแวดล้อมจะด้าเนินการเก็บตัวอย่างน้้าผิวดินเป็นตัวแทนฤดูฝนในเดือนกรกกาคม 2563 จะน้าผลการวิเคราะห์ตัวอย่างตัวแทนฤดูฝนรายงานในรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 2/2563 ระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงธันวาคม 2563 ต่อไป

Page 7: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-6

5.2 แผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5.2.1 แผนการติดตามตรวจสอบด้านคุณภาพน้ าผิวดิน (1) หลักการและเหตุผล การก่อสร้างโครงการ อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อแหล่งน้้าผิวดินในช่วงระหว่างการก่อสร้าง เช่น การเพ่ิมปริมาณตะกอนแขวนลอย ท้าให้ความขุ่นเพ่ิมขึ้นโดยเฉพาะบริเวณหัวงานและด้านท้ายน้้า ส่วนในระยะด้าเนินการนั้น การพัฒนาโครงการจะท้าให้มีการใช้ที่ดินเพ่ือการเกษตรกรรมเพิ่มขึ้น ซึ่งจะมีแนวโน้มของการใช้สารเคมีทางการเกษตรเพิ่มขึ้น การปนเปื้อนของสารเคมีดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้้าที่ระบายออกจากพ้ืนที่เกษตรกรรมได้ แม้ว่าจะมีการก้าหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบแล้วก็ตาม ดังนั้น เพ่ือเป็นการตรวจสอบประสิทธิภาพของมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ จึงจ้าเป็นต้องติดตามตรวจสอบคุณภาพน้้าผิวดินที่อาจได้รับผลกระทบจากโครงการ เพ่ือน้าผลที่ได้มาปรับปรุงมาตรการและแผนงานต่างๆ ให้สามารถป้องกัน และแก้ไขผลกระทบให้อยู่ในระดับต่้าที่สุด

(2) วัตถุประสงค์ เพ่ือติดตามตรวจสอบคุณภาพน้้าผิวดินในพ้ืนที่โครงการ ซึ่งคาดว่าจะได้รับผลกระทบจากการก่อสร้างและการด้าเนินโครงการ ทั้งนี้ หากมีผลกระทบเกิดขึ้นจะ ได้น้าไปปรับปรุงมาตรการลดผลกระทบด้านคุณภาพน้้าผิวดินได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพมากข้ึน

(3) หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมชลประทานโดยส้านักบริหารโครงการ

(4) พื้นที่ปฏิบัติงาน สถานีติดตามตรวจสอบคุณภาพน้้าผิวดิน จ้านวน 9 สถานี ดังแสดงในตารางท่ี 5.2.1-1 และรูปที่ 5.1.1-1

(5) วิธีการด าเนินงาน ติดตามตรวจสอบคุณภาพน้้าผิวดิน จ้านวน 9 สถานี โดยเก็บตัวอย่างปีละ 2 ครั้ง ในช่วงฤดูแล้งและฤดฝูนเป็นเวลา 13 ปีต่อเนื่อง (ปีที่ 2 ถึง ปีที่ 14)

(6) ระยะเวลาด าเนินงาน เก็บตัวอย่างน้้าผิวดิน ปีละ 2 ครั้ง ในช่วงฤดูแล้งและฤดูฝนเป็นเวลา 13 ปีต่อเนื่อง (ปีที่ 2 ถึง ปีที่ 14)

(7) งบประมาณปี พ.ศ. 2563 จ้านวน 200,000 บาท

Page 8: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-7

ตารางท่ี 5.2.1-1 จุดเก็บตัวอย่างน้้าผิวดินและสิ่งมีชีวิตในน้้า โครงการประตูระบายน้้าท่านางงาม อ้าเภอบางระก้า จังหวัดพิษณุโลก

จุดเก็บ ตัวอย่าง

ล าน้ า ต าแหน่งสถานที ่พิกัดต าแหน่ง ที่ตั้ง

E N ต าบล อ าเภอ จังหวัด 1 แม่น้้ายม เหนือประตูระบายน้้า 609632 1865371 ชุมแสงสงคราม บางระก้า พิษณุโลก 2 แม่น้้ายม เหนือประตูระบายน้้า 612474 1861575 ชุมแสงสงคราม บางระก้า พิษณุโลก 3 แม่น้้ายม หัวงานประตูระบายน้า้ 618508 1853806 บางระก้า บางระก้า พิษณุโลก

4 คลองบางแก้ว/ แม่น้้ายมสายเก่า

ท้ายประตูระบายน้า้ 619123 1853819 บางระก้า บางระก้า พิษณุโลก

5 แม่น้้ายม ท้ายประตูระบายน้า้ 619519 1853585 บางระก้า บางระก้า พิษณุโลก 6 บึงระมาน* แก้มลิง 617905 1847068 บางระก้า บางระก้า พิษณุโลก 7 บึงขี้แร้ง* แก้มลิง 617527 1849815 ปลักแรด บางระก้า พิษณุโลก

หมายเหตุ : จุดเก็บตัวอย่างน้้าที่ 6 (บึงระมาน) และ 7 (บึงขี้แล้ง) ปัจจุบันเป็นพื้นที่แก้มลิง ดังนั้นเมื่อมีการพัฒนาโครงการ พื้นที่แก้มลิงอาจ ได้รับประโยชน์จากการกักเก็บน้้าในล้าน้้ายม ซ่ึงอาจส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้้า ที่ปรึกษาจึงเสนอให้มีการเก็บตัวอย่างน้้าใน พื้นที่แก้มลิงทั้งสองแห่ง

Page 9: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-8

3.3-1 จุดเก็บตัวอย่างน้้าผิวดินโครงการประตูระบายน้้าท่านางงาม อ้าเภอบางระก้า จังหวัดพิษณุโลก

TSW1 : แม่น้ ายม เหนือ ปตร.

TSW2 : แม่น้ ายม เหนือ ปตร.

TSW3 : แม่น้ ายม หัวงาน ปตร.

TSW4 : คลองบางแก้ว แม่น้ ายมสายเก่า

TSW5 : แม่น้ ายม เหนือ ปตร.

Page 10: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-9

ตารางท่ี 5.2.1-2 ลักษณะสมบัติของน้้าผิวดินที่ท้าการศึกษาวิเคราะห์ ลักษณะสมบัติ วิธีการวัด/วิเคราะห์

1. อุณหภูมิน้้า (Temperature) วัดในสนามโดยใช้ Thermometer 2. ความขุ่น (Turbidity) Nephelometric 3. ของแข็งแขวนลอยท้ังหมด (Total Suspended Solids) Dried at 103-105 oC 4. ของแข็งละลายน้้าท้ังหมด (Total Dissolved Solids) Dried at 180 oC 5. ความน้าไฟฟ้า (Conductivity) วัดในสนามโดยใช้ Conductivity Meter 6. ความเป็นกรด-ด่าง (pH) วัดในสนามโดยใช้ Electrometric pH Meter 7. สภาพด่าง (Alkalinity) Tritration 8. ออกซิเจนละลายน้้า (DO) Membrane Electrode 9. บีโอด ี(BOD) 5 days BOD test, Membrane Electrode 10. ไนเตรต – ไนโตรจเน Cadmium Reduction 11. แอมโมเนีย – ไนโตรเจน Cadmium Reduction 12. ซัลเฟต (Sulfate) Turbidimetric 13. คลอไรด ์(Chloride) Argentometric 14. โซเดียม (Sodium) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 15. แคลเซียม (Calcium) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 16. ค่า Sodium Absorption Ratio (SAR) ค้านวณ 17. ค่า Residual Sodium Carbonate (RSC) ค้านวณ 18. สารหนู (Arsenic) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 19. แคดเมียม (Cadmium) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 20. โครเมียม (Chromium) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 21. ทองแดง (Copper) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 22. เหล็กทั้งหมด (Iron) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 23. แมงกานีส (Manganese) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 24. ตะกั่ว (Lead) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 25. ปรอท ( Mercury) Cold Vapour AAS 26. ฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Fecal Coliform Bacteria) Multiple-tube Fermentation Technique 27. โคลิฟอร์มแบคทีเรียท้ังหมด (Total Coliform Bacteria) Multiple-tube Fermentation Technique 28. ฟีนอล (Phenol) Standard Methode 29. นิกเกิล (Nickel) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 30. ไซยาไนท์ (CN-) Standard Methode 31. สารก้าจัดศัตรูพืช กลุ่ม Organochlorine* Gas Chromatography (ECD)

- ดีดีที (DDT) - แอลฟา-บีเอชซี (Alpha-BHC) - อัลดริน (Aldrin) - ดีลดริน (Dieldrin) - เอนดริน (Endrin) - เฮปตาคลอร์ (Heptachlor) - เฮปตาคลอร์ อีปอกไซด์ (Heptachlor epoxide)

Page 11: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-10

ตารางท่ี 5.2.1-2 ลักษณะสมบัติของน้้าผิวดินที่ท้าการศึกษาวิเคราะห์ ลักษณะสมบัติ วิธีการวัด/วิเคราะห์

32. สารก้าจัดศัตรูพืช กลุ่ม Organophosphate Gas Chromatography (ECD) - เมททิล พาราไทออน (Methyl Parathion)

- เมทธาไมโดฟอส (Methamidophos)

- เมวินฟอส (Mevinphos) - มาลาไทออน (Malathion) - โมโนโครโตฟอส (Monocrotophos)

- ไดเมทโธเอท (Dimethoate)

- เมทธิดาไธออน (Methidathion)

- เอทโธโปรฟอส (Ethoprophos)

- อีพีเอ็น (EPN)

หมายเหตุ : * สารก้าจัดศัตรูพืช กลุ่ม Organochlorine มีชนิดของสารเคมีในกลุ่มที่เป็นสารพิษที่มีฤทธิ์ตกค้างยาวนานได้ขึ้นทะเบียนไว้ เช่น ดีดีที (DDT)- ดีลดริน (Dieldrin)- เอนดริน (Endrin)- เฮปตาคลอร์ (Heptachlor)

(8) ความก้าวหน้าการด้าเนินงาน กรมชลประทานโดยส้านักบริหารโครงการได้รับจัดสรรงบประมาณเพ่ือด้าเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้้าผิวดิน โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เริ่มด้าเนินการติดตามเป็นปีที่ 1 ในระยะก่อสร้าง ปัจจุบันได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นที่เรียบร้อยแล้ว แต่ยังไม่สามารถด้าเนินการได้ตามแผนงานที่วางไว้ โดยมีปัญหาและอุปสรรค ดังนี้

1) ปัญหาและอุปสรรคในการด าเนินงาน

ปัญหาและอุปสรรคที่พบ :

1. ความล้าช้าของการอนุมัติและโอนจัดสรรงบประมาณ เนื่องด้วยคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติในหลักการงบประมาณประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และยื่นเสนอขอค้าแนะน้าและยินยอมจากรัฐสภา และประกาศเป็นพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ้าปี พ.ศ. 2563 ให้ไว้ ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ลงในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 137 ตอนที่ 15ก ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 ดังนั้นส่งผลให้การโอนจัดสรรงบประมาณเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการด้าเนินงานป้องกัน แก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมมีความล่าช้ากว่าแผนงานที่ก้าหนดไว้ อีกทั้ง การด้าเนินงานโอนจัดสรรงบประมาณจากส่วนกลางของส่วนราชการนั้น ๆ มีขั้นตอนและกระบวนการเพ่ือจัดสรรไปยังหน่วยงานปฏิบัติในพ้ืนที่ ท้าให้มีความล้าช้าส่งผลต่อกระบวนการด้าเนินงานไม่สามารถปฏิบัติตามแผนงานที่ก้าหนดไว้

2. สถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือ COVID – 19 (กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม) ที่ไม่สามารถด้าเนินการในช่วงเวลาดังกล่าว ประกอบด้วย การเคลื่อนพลข้ามพ้ืนที่ การจัดประชุมติดตามความก้าวหน้าการด้าเนินงานภายใต้แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม การลงพ้ืนที่ด้าเนินการด้านต่าง ๆ เช่น การจัดอบรมและให้ความรู้แก่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ และผู้ได้รับผลประโยชน์จากโครงการ การลงพ้ืนที่

Page 12: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-11

ส้ารวจด้านเศรษฐกิจและสังคม และการติดตามมาตรการการด้าเนินงานตามที่ระบุไว้ในรายงานการประเมินผลกระทบของโครงการ เป็นต้น ซึ่งไม่สามารถด้าเนินการได้ในช่วงระยะเวลาดังกล่าว ประกอบกับการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ตามความในพระราชก้าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 เพ่ือเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค และการก้าหนดใช้มาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม ท้าให้มีความจ้าเป็นที่ไม่สามารถด้าเนินกิจกรรมและงานบางประเภทได้ในช่วงเวลาดังกล่าว เมื่อเข้าสู่สถานการณ์ปกติ กรมชลประทานจะด้าเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายงานและสรุปผลการด้าเนินงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอีกครั้งต่อไป

2) ข้อจ ากัดการด าเนินงาน

1. ฤดูกาล

1.1 ฤดูหนาว จากปัญหาและอุปสรรคความล้าช้าของการอนุมัติและโอนจัดสรรงบประมาณมีความล้าช้า ส่งผลกระทบต่อการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้้าผิวดิน และใต้ดิน ไม่สามารถด้าเนินการได้ตามแผนงานที่วางไว้ อีกท้ังกรมอุตุนิยมวิทยาได้มีประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่อง การเข้าสู่ฤดูหนาวของประเทศไทย พ.ศ. 2562 โดยประเทศไทยจะเข้าสู่ฤดูหนาวในวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2562 และมีประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่อง ประกาศ การเข้าสู่ฤดูร้อนของประเทศไทย พ.ศ. 2563 โดยประเทศไทยจะเข้าสู่ฤดูร้อน/แล้งในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ดังนั้นฤดูหนาวของประเทศไทยในปี 2562 -2563 อยู่ระหว่างวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ถึง 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ท้าให้ไม่สามารถด้าเนินการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้้าผิวดินและใต้ดินท่ีเป็นตัวแทนฤดูหนาว ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้ทันถ่วงเวลาตามประกาศของกรมอุตุนิยมวิทยา

1.2 ฤดูร้อน/แล้ง จากปัญหาและอุปสรรคความล้าช้าของการอนุมัติและโอนจัดสรรงบประมาณมีความล้าช้า และสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือ COVID – 19 ส่งผลกระทบต่อการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้้าผิวดิน และใต้ดิน ไม่สามารถด้าเนินการได้ตามแผนงาน อีกทั้งกรมอุตุนิยมวิทยาได้มีประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่อง การเข้าสู่ฤดูร้อน/แล้งของประเทศไทย พ.ศ . 2563 โดยประเทศไทยจะเข้าสู่ฤดูร้อน/แล้งในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 และมีประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่อง ประกาศ การเข้าสู่ฤดูฝนของประเทศไทย พ.ศ. 2563 โดยประเทศไทยจะเข้าสู่ฤดูฝนในวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ดังนั้นฤดูร้อน/แล้งของประเทศไทยในปี 2563 อยู่ระหว่างวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ถึง 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ท้าให้ไม่สามารถด้าเนินการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้้าผิวดินและใต้ดินที่เป็นตัวแทนฤดูร้อน/แล้ง ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้ทันถ่วงเวลาตามประกาศของกรมอุตุนิยมวิทยา

Page 13: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-12

รูปที่ 5.2.1-2 ประกาศประเทศไทยเข้าสู่ฤดูหนาว พ.ศ. 2562

Page 14: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-13

รูปที่ 5.2.1-3 ประกาศประเทศไทยเข้าสู่ฤดูร้อน/แล้ง พ.ศ. 2563

Page 15: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-14

รูปที่ 5.2.1-4 ประกาศประเทศไทยเข้าสู่ฤดูฝน พ.ศ. 2563

Page 16: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-15

5.2.2 แผนการติดตามตรวจสอบระดับน้ าใต้ดินและคุณภาพน้ าใต้ดิน (1) หลักการและเหตุผล การติดตามตรวจสอบระดับน้้าใต้ดินและคุณภาพน้้าใต้ดิน เพ่ือศึกษาการเปลี่ยนแปลงของระดับน้้าใต้ดินและคุณภาพน้้าใต้ดินที่อาจเกิดขึ้นอันเนื่องจากการพัฒนาโครงการ โดยเฉพาะบริเวณพ้ืนที่รับประโยชน์ ซึ่งอาจได้รับการปนเปื้อนจากการใช้สารก้าจัดศัตรูพืชเพ่ิมขึ้น รวมทั้งใช้เป็นข้อมูลในการก้าหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขเพ่ิมเติมหากพบว่ามีผลกระทบเกิดขึ้นจากการด้าเนินโครงการ (2) วัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาการเปลี่ยนแปลงของระดับน้้าใต้ดินและคุณภาพน้้าใต้ดินจากการด้าเนินโครงการ

(3) หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมชลประทาน

(4) พื้นที่ปฏิบัติงาน สถานีติดตามตรวจสอบระดับน้้าใต้ดินและคุณภาพน้้าใต้ดิน จ้านวน 4 สถานี ดังแสดงในตารางที่ 5.2.2-1 และรูปที ่5.2.2-1

(5) วิธีการด าเนินงาน ท้าการตรวจวัดระดับน้้าใต้ดินและวิเคราะห์คุณภาพน้้าใต้ดินจากบ่อบาดาลในพ้ืนที่โครงการ ส้าหรับดัชนีคุณภาพน้้าใต้ดินที่วิเคราะห์แสดงได้ดังตารางที่ 9.2.4-2 ประกอบด้วย อุณหภูมิ ความขุ่น ความน้าไฟฟ้า ความเค็ม (Salinity) ความเป็นกรด-ด่าง ปริมาณของแข็งที่ละลายน้้าได้ทั้งหมด (Total Dissolved Solids) ความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) ความกระด้างที่เกิดจากแคลเซียม ความกระด้างที่เกิดจากแมกนีเซียม ฟอสเฟต ไนเตรท ซัลเฟต คาร์บอเนตเหล็ก แมงกานีส สารหนู โคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด ฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย และสารก้าจัดศัตรูพืช (Organochlorine Pesticides และ Organophosphate Pesticides) ตารางที่ 5.2.2-1 สถานีติดตามตรวจสอบระดับน้้าใต้ดินและคุณภาพน้้าใต้ดินโครงการประตูระบายน้้าท่านางงาม

จุดเก็บ ตัวอย่างน้ าที่ ประเภท

พิกัด ความลึก (เมตร) ต าแหน่งท่ีตั้ง

E N

1 บ่อบาดาล 614399 1857281 51* โรงเรียนบ้านกรุงกรัก หมู่ท่ี 2 ต.ท่านางงาม อ.บางระก้า จ.พิษณุโลก

2 บ่อบาดาล 617558 1855728 80** วัดแท่นนางงาม หมู่ท่ี 10 ต.ท่านางงาม อ.บางระก้า จ.พิษณุโลก

3 บ่อบาดาล 617910 1853528 60** ประปาหมู่บ้าน หมู่ท่ี 7 บ้านบางระก้า (ชุมชนวัดแดง) ต.บางระก้า อ.บางระก้า จ.พิษณุโลก

4 บ่อบาดาล 618998 1852845 60* วัดสุนทรประดิษฐ์ หมู่ท่ี 7 บ้านบางระก้า ต.บางระก้า อ.บางระก้า จ.พิษณุโลก

ที่มา : * ข้อมูลบ่อบาดาลทั่วประเทศ กรมทรัพยากรน้้าบาดาล (http://app.dgr.go.th/newpasutara/xml/Krabi.files/) สืบค้นเมื่อ วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ** ข้อมูลความลึกโดยประมาณจากการสอบถามในพื้นที่โครงการ

Page 17: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-16

(6) ระยะเวลาการด าเนินงาน เก็บตัวอย่างน้้าใต้ดินปีละ 2 ครั้ง ในช่วงฤดูแล้งและฤดูฝนเป็นเวลา 13 ปีต่อเนื่อง (ปีที่ 2 ถึง ปีที่ 14) ส้าหรับการตรวจวัดระดับน้้าใต้ดิน ด้าเนินการในระยะด้าเนินการตั้งแต่ปีที่ 5-14 โดยด้าเนินการพร้อมกับการเก็บตัวอย่างน้้าใต้ดิน

(7) งบประมาณปี พ.ศ. 2563 จ านวน 150,000 บาท

ตารางท่ี 5.2.2-2 ลักษณะสมบัติของน้้าใต้ดินที่ท้าการศึกษาวิเคราะห์

ลักษณะสมบัติ วิธีการวัด/วิเคราะห์ 1. ความเป็นกรด – ด่าง (pH) Electrometric Method 2. ปริมาณของแข็งท่ีละลายน้้าได้ท้ังหมด (TDS) Dried at 180 oC 3. ความขุ่น (Turbidity) Turbidimeter 4. ความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) Trimetric Method 5. ความกระด้างถาวร Trimetric Method 6. ซัลเฟต (SO4

2-) Turbidimetric Method 7. คลอไรด์ (Cl) Standard Method 8. สารหนู (As) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 9. แคดเมียม (Cd) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 10. โครเมียม (Cr) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 11. ทองแดง (Cu) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 12. เหล็ก (Fe) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 13. แมงกานีส (Mn) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 14. ตะกั่ว (Pb) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 15. สังกะสี (Zn) Nitric Acid Digestion, Inductively Coupled Plasma 16. ฟูออไรด์ (F) SPADNS 17. ปรอท (Hg) Cold Vapour AAS 18. ไซยาไนด์ (CN-) Distillation, Pyridine – Barbituric Acid 19. โคลิฟอร์มแบคทีเรียท้ังหมด (TCB) Multiple-tube Fermentation Technique 20. ฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (FCB) Multiple-tube Fermentation Technique 21. สารก้าจัดวัชพืชกลุ่มออร์กาโนคลอรีน Gas Chromatography (ECD)

(8) ความก้าวหน้าการตรวจวัดคุณภาพน้ าใต้ดิน

กรมชลประทานโดย เจ้าหน้าที่ส่วนสิ่งแวดล้อม ส้านักบริหารโครงการ ด้าเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้้าใตด้ิน จ้านวน 4 ต้าแหน่งตรวจวัด ได้แก่ สถานีที่ 1 บ่อบาดาลโรงเรียนบ้านกรุงกรัก สถานีที่ 2 บ่อบาดาลวัดแท่นนางงาม สถานีที่ 3 บ่อบาดาลประปาหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 และสถานีที่ 4 บ่อบาดาลวัดสุนทรประดิษฐ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 การด้าเนินงานตรวจวัดและเก็บคุณภาพตัวอย่างคุณภาพน้้าผิวดินไม่สามารถด้าเนินการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้้าเป็นตัวแทนฤดูแล้งได้ เนื่องจากมีปัญหาและอุปสรรค ดังนี้

Page 18: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-17

1) ปัญหาและอุปสรรคในการด าเนินงาน

ปัญหาและอุปสรรคที่พบ :

1. ความล้าช้าของการอนุมัติและโอนจัดสรรงบประมาณ เนื่องด้วยคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติในหลักการงบประมาณประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และยื่นเสนอขอค้าแนะน้าและยินยอมจากรัฐสภา และประกาศเป็นพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ้าปี พ.ศ. 2563 ให้ไว้ ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ลงในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 137 ตอนที่ 15ก ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 ดังนั้นส่งผลให้การโอนจัดสรรงบประมาณเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการด้าเนินงานป้องกัน แก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมมีความล่าช้ากว่าแผนงานที่ก้าหนดไว้ อีกทั้ง การด้าเนินงานโอนจัดสรรงบประมาณจากส่วนกลางของส่วนราชการนั้น ๆ มีขั้นตอนและกระบวนการเพ่ือจัดสรรไปยังหน่วยงานปฏิบัติในพ้ืนที่ ท้าให้มีความล้าช้าส่งผลต่อกระบวนการด้าเนินงานไม่สามารถปฏิบัติตามแผนงานที่ก้าหนดไว้

2. สถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID – 19 (กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม) ที่ไม่สามารถด้าเนินการในช่วงเวลาดังกล่าว ประกอบด้วย การเคลื่อนพลข้ามพ้ืนที่ การจัดประชุมติดตามความก้าวหน้าการด้าเนินงานภายใต้แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม การลงพ้ืนที่ด้าเนินการด้านต่าง ๆ เช่น การจัดอบรมและให้ความรู้แก่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ และผู้ได้รับผลประโยชน์จากโครงการ การลงพ้ืนที่ส้ารวจด้านเศรษฐกิจและสังคม และการติดตามมาตรการการด้าเนินงานตามที่ระบุไว้ในรายงานการประเมินผลกระทบของโครงการ เป็นต้น ซึ่งไม่สามารถด้าเนินการได้ในช่วงระยะเวลาดังกล่าว ประกอบกับการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ตามความในพระราชก้าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 เพ่ือเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค และการก้าหนดใช้มาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม ท้าให้มีความจ้าเป็นที่ไม่สามารถด้าเนินกิจกรรมและงานบางประเภทได้ในช่วงเวลาดังกล่าว เมื่อเข้าสู่สถานการณ์ปกติ กรมชลประทานจะด้าเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายงานและสรุปผลการด้าเนินงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอีกครั้งต่อไป

2) ข้อจ ากัดการด าเนินงาน

1. ฤดูกาล

1.1 ฤดูหนาว จากปัญหาและอุปสรรคความล้าช้าของการอนุมัติและโอนจัดสรรงบประมาณมีความล้าช้า ส่งผลกระทบต่อการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้้าผิวดิน และใต้ดิน ไม่สามารถด้าเนินการได้ตามแผนงานที่วางไว้ อีกท้ังกรมอุตุนิยมวิทยาได้มีประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่อง การเข้าสู่ฤดูหนาวของประเทศไทย พ.ศ. 2562 โดยประเทศไทยจะเข้าสู่ฤดูหนาวในวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2562 และมีประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่อง ประกาศ การเข้าสู่ฤดูร้อนของประเทศไทย พ.ศ. 2563 โดยประเทศไทยจะเข้าสู่ฤดูร้อน/แล้งในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ดังนั้นฤดูหนาวของประเทศไทยในปี 2562 -2563 อยู่ระหว่างวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ถึง 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ท้าให้ไม่สามารถด้าเนินการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้้าผิวดินและใต้ดินท่ีเป็นตัวแทนฤดูหนาว ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้ทันถ่วงเวลาตามประกาศของกรมอุตุนิยมวิทยา

Page 19: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-18

1.2 ฤดูร้อน/แล้ง จากปัญหาและอุปสรรคความล้าช้าของการอนุมัติและโอนจัดสรรงบประมาณมีความล้าช้า และสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือ COVID – 19 ส่งผลกระทบต่อการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้้าผิวดิน และใต้ดิน ไม่สามารถด้าเนินการได้ตามแผนงาน อีกทั้งกรมอุตุนิยมวิทยาได้มีประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่อง การเข้าสู่ฤดูร้อน/แล้งของประเทศไทย พ.ศ. 2563 โดยประเทศไทยจะเข้าสู่ฤดูร้อน/แล้งในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 และมีประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่อง ประกาศ การเข้าสู่ฤดูฝนของประเทศไทย พ.ศ. 2563 โดยประเทศไทยจะเข้าสู่ฤดูฝนในวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ดังนั้นฤดูร้อน/แล้งของประเทศไทยในปี 2563 อยู่ระหว่างวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ถึง 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ท้าให้ไม่สามารถด้าเนินการเก็บตัวอย่างคุณภาพน้้าผิวดินและใต้ดินที่เป็นตัวแทนฤดูร้อน/แล้ง ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้ทันถ่วงเวลาตามประกาศของกรมอุตุนิยมวิทยา

3) แผนการด าเนินงานขั้นต่อไป

กรมชลประทาน โดยส่วนสิ่งแวดล้อมจะด้าเนินการเก็บตัวอย่างน้้าใต้ดินเป็นตัวแทนฤดูฝนในเดือนกรกกาคม 2563 จะน้าผลการวิเคราะห์ตัวอย่างตัวแทนฤดูฝนรายงานในรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 2/2563 ระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงธันวาคม 2563 ต่อไป

Page 20: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-19

รูปที่ 5.2.2-1 สถานีติดตามตรวจสอบระดับน้้าใต้ดินและคณุภาพน้้าใต้ดินของโครงการประตูระบายน้้าท่านางาม

Page 21: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-20

5.2.3 แผนป้องกันและติดตามการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่มีน้ าและอาหารเป็นสื่อ (1) หลักการและเหตุผล การพัฒนาโครงการประตูระบายน้้า ส่งผลให้มีแหล่งอาหารและแหล่งน้้าตามธรรมชาติ ซึ่งเป็นที่อาศัยของพาหะตัวกลางของพยาธิต่างๆ รวมถึงหากมีสุขาภิบาลที่อยู่อาศัย และสุขนิสัยที่ไม่ถูกต้องก็มีโอกาสที่ท้าให้โรคจากน้้าและอาหารเป็นสื่อแพร่กระจายไปในวงกว้ างได้มากขึ้น ดังนั้นจึงควรป้องกันและติดตามการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่มีน้้าและอาหารเป็นสื่อ เพ่ือป้องกันการเกิดโรคและการแพร่กระจายของโรคดังกล่าว (2) วัตถุประสงค์ เพ่ือป้องกันและติดตามการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่มีน้้าและอาหารเป็นสื่อ (3) หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมชลประทานจัดตั้งงบประมาณให้ส้านักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก/ส้านักงานป้องกันควบคุมโรคด้าเนินการ (4) พื้นที่ปฏิบัติงาน พ้ืนที่รับประโยชน์ของโครงการ (5) วิธีการด าเนินงาน 1) ส้ารวจหอยที่เก่ียวข้องกับการแพร่กระจายของโรคจากแหล่งน้้าธรรมชาติ เช่น หอย Neotricula aperta หอย Bithynia spp. หอยเจดีย์ (Melanoides spp., Tarebia spp. และ Thiara spp.) จ้านวน 5 สถานี ไม่น้อยกว่า 1,000 ตัว 2) ส้ารวจปลาที่ เกี่ยวข้องกับการแพร่กระจายของโรคจากแหล่งน้้าธรรมชาติ โดยเฉพาะปลากลุ่ม Cyprinoid ซึ่งเป็นพาหะตัวกลางของพยาธิใบไม้ชนิดต่างๆ ในแม่น้้า จ้านวน 3 สถานี โดยเก็บตัวอย่างปลาชนิดละ 100 ตัว 3) ตรวจการปนเปื้อนของจุลชีพในน้้าดื่มน้้าใช้ ได้แก่ Total Coliform Bacteria และ E. coli จ้านวน 5 สถานี (6) ระยะเวลาด าเนินงาน ด้าเนินการอย่างต่อเนื่องใน ปีที่ 2 ถึง ปีที่ 14 (7) งบประมาณ 3.25 ล้านบาท (8) การประเมินผล ส้านักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก/ส้านักงานป้องกันควบคุมโรคจัดท้ารายงานเสนอกรมชลประทานและส้านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปีละ 1 ครั้ง (9) ความก้าวหน้าการด าเนินงาน ผลการด้าเนินงานระหว่างเดือนมกราคมถึงมิถุนายน 2563 อยู่ระหว่างด้าเนินการโดยมีปัญหาและอุปสรรค ดังนี้

ปัญหาและอุปสรรคที่พบ :

1. ความล้าช้าของการอนุมัติและโอนจัดสรรงบประมาณ เนื่องด้วยคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติในหลักการงบประมาณประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และยื่นเสนอขอค้าแนะน้าและยินยอมจากรัฐสภา และประกาศเป็นพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ้าปี พ.ศ. 2563 ให้ไว้ ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ลงในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 137 ตอนที่ 15ก ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 ดังนั้นส่งผลให้การโอนจัดสรรงบประมาณเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการด้าเนินงานป้องกัน แก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมมีความล่าช้ากว่าแผนงานที่ก้าหนดไว้ อีกทั้ง การด้าเนินงานโอนจัดสรรงบประมาณจากส่วนกลางของส่วนราชการนั้น ๆ มีขั้นตอนและกระบวนการเพ่ือจัดสรรไปยังหน่วยงานปฏิบัติในพ้ืนที่ ท้าให้มีความล้าช้าส่งผลต่อกระบวนการด้าเนินงานไม่สามารถปฏิบัติตามแผนงานที่ก้าหนดไว้

Page 22: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-21

2. สถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID – 19 (กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม) ที่ไม่สามารถด้าเนินการในช่วงเวลาดังกล่าว ประกอบด้วย การเคลื่อนพลข้ามพ้ืนที่ การจัดประชุมติดตามความก้าวหน้าการด้าเนินงานภายใต้แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม การลงพ้ืนที่ด้าเนินการด้านต่าง ๆ เช่น การจัดอบรมและให้ความรู้แก่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ และผู้ได้รับผลประโยชน์จากโครงการ การลงพ้ืนที่ส้ารวจด้านเศรษฐกิจและสังคม และการติดตามมาตรการการด้าเนินงานตามที่ระบุไว้ในรายงานการประเมินผลกระทบของโครงการ เป็นต้น ซึ่งไม่สามารถด้าเนินการได้ในช่วงระยะเวลาดังกล่าว ประกอบกับการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ตามความในพระราชก้าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 เพ่ือเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค และการก้าหนดใช้มาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม ท้าให้มีความจ้าเป็นที่ไม่สามารถด้าเนินกิจกรรมและงานบางประเภทได้ในช่วงเวลาดังกล่าว เมื่อเข้าสู่สถานการณ์ปกติ กรมชลประทานจะด้าเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายงานและสรุปผลการด้าเนินงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอีกครั้งต่อไป

Page 23: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-22

5.2.4 แผนป้องกันและติดตามการเฝ้าระวังพาหะและโรคติดต่อน าโดยแมลง

(1) หลักการและเหตุผล การพัฒนาโครงการประตูระบายน้้า ส่งผลให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงพาหะน้าโรค เช่น ยุง ซึ่งเป็นพาหะน้าโรคไข้เลือดออก โรคมาลาเรีย โรคเท้าช้าง โรคไข้สมองอักเสบ และโรคชิคุนกุนยา เป็นต้น ดังนั้นจึงควรป้องกันและติดตามการเฝ้าระวังพาหะและโรคติดต่อน้าโดยแมลงเพ่ือป้องกันการเกิดโรคและการแพร่กระจายของโรคดังกล่าว (2) วัตถุประสงค์ เพ่ือป้องกันและติดตามการเฝ้าระวังพาหะและโรคติดต่อน้าโดยแมลง (3) หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมชลประทานจัดตั้งงบประมาณให้ส้านักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลกด้าเนินการ (4) พื้นที่ปฏิบัติงาน พ้ืนที่รับประโยชน์ของโครงการ (5) วิธีการด าเนินงาน ส้ารวจลูกน้้าและตัวเต็มวัยของยุงและแมลงพาหะ จ้านวน 9 สถานี โดยส้ารวจลูกน้้า 100 จ้วงต่อจุด และเก็บตัวอย่างยุงตัวเต็มวัยไม่น้อยกว่า 200 ตัว รวมถึงส้ารวจความชุกชุมของโรคติดต่อที่น้าโดยแมลงจากประชาชนในพื้นที่โครงการ (6) ระยะเวลาด าเนินงาน ด้าเนินการอย่างต่อเนื่อง ปีที่ 2 ถึง ปีที่ 14 (7) งบประมาณ 3.90 ล้านบาท (8) การประเมินผล ส้านักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลกจัดท้ารายงานเสนอกรมชลประทานและส้านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปีละ 1 ครั้ง (9) ความก้าวหน้าการด าเนินงาน ผลการด้าเนินงานระหว่างเดือนมกราคมถึงมิถุนายน 2563 อยู่ระหว่างด้าเนินการโดยมีปัญหาและอุปสรรค ดังนี้

ปัญหาและอุปสรรคที่พบ :

1. ความล้าช้าของการอนุมัติและโอนจัดสรรงบประมาณ เนื่องด้วยคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติในหลักการงบประมาณประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และยื่นเสนอขอค้าแนะน้าและยินยอมจากรัฐสภา และประกาศเป็นพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ้าปี พ.ศ. 2563 ให้ไว้ ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ลงในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 137 ตอนที่ 15ก ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 ดังนั้นส่งผลให้การโอนจัดสรรงบประมาณเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการด้าเนินงานป้องกัน แก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมมีความล่าช้ากว่าแผนงานที่ก้าหนดไว้ อีกทั้ง การด้าเนินงานโอนจัดสรรงบประมาณจากส่วนกลางของส่วนราชการนั้น ๆ มีขั้นตอนและกระบวนการเพ่ือจัดสรรไปยังหน่วยงานปฏิบัติในพ้ืนที่ ท้าให้มีความล้าช้าส่งผลต่อกระบวนการด้าเนินงานไม่สามารถปฏิบัติตามแผนงานที่ก้าหนดไว้

2. สถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID – 19 (กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม) ที่ไม่สามารถด้าเนินการในช่วงเวลาดังกล่าว ประกอบด้วย การเคลื่อนพลข้ามพ้ืนที่ การจัดประชุมติดตามความก้าวหน้าการด้าเนินงานภายใต้แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม การลงพ้ืนที่ด้าเนินการด้านต่าง ๆ เช่น การจัดอบรมและให้ความรู้แก่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ และผู้ได้รับผลประโยชน์จากโครงการ การลงพ้ืนที่ส้ารวจด้านเศรษฐกิจและสังคม และการติดตามมาตรการการด้าเนินงานตามที่ระบุไ ว้ในรายงานการประเมินผลกระทบของโครงการ เป็นต้น ซึ่งไม่สามารถด้าเนินการได้ในช่วงระยะเวลาดังกล่าว ประกอบกับการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ตามความในพระราชก้าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.

Page 24: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-23

2548 เพ่ือเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค และการก้าหนดใช้มาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม ท้าให้มีความจ้าเป็นที่ไม่สามารถด้าเนินกิจกรรมและงานบางประเภทได้ในช่วงเวลาดังกล่าว เมื่อเข้าสู่สถานการณ์ปกติ กรมชลประทานจะด้าเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายงานและสรุปผลการด้าเนินงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอีกครั้งต่อไป

Page 25: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-24

5.2.5 แผนป้องกันและติดตามการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

(1) หลักการและเหตุผล โครงการพัฒนาแหล่งน้้า ส่งผลให้มีแหล่งน้้าส้าหรับการเกษตรกรรมมากขึ้น ได้ผลผลิตเพ่ิมขึ้น นอกจากนี้แหล่งน้้าที่เพ่ิมขึ้นส่งผลต่อความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์น้้า เช่น กุ้ง หอย ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้้าที่เป็นแหล่งอาหารโปรตีน และพืชผักเพ่ิมขึ้นไปด้วย ดังนั้นย่อมส่งผลให้ประชาชนบริเวณโดยรอบโครงการมีภาวะโภชนาการที่ดีและสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงตามไปด้วย จึงควรมีการติดตามตรวจสอบผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นด้านสาธารณสุขและภาวะโภชนาการของประชาชนที่อยู่ในพื้นท่ีโครงการ (2) วัตถุประสงค์ เพ่ือติดตามตรวจสอบด้านสาธารณสุขและภาวะโภชนาการของประชาชนที่อยู่ในพื้นท่ีโครงการ (3) หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมชลประทานจัดตั้งงบประมาณให้กรมอนามัย/ส้านักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลกด้าเนินการ (4) พื้นที่ปฏิบัติงาน พ้ืนที่รับประโยชน์ของโครงการ (5) วิธีการด าเนินงาน 1) ส้ารวจลักษณะการสุขาภิบาลที่อยู่อาศัย ความสะอาด และความเพียงพอของแหล่งน้้า พฤติกรรมการบริโภคและสุขลักษณะส่วนบุคคล 2) ส้ารวจการเปลี่ยนแปลงด้านโภชนาการ (6) ระยะเวลาด าเนินงาน ด้าเนินการอย่างต่อเนื่อง ปีที่ 2 ถึง ปีที่ 14 (7) งบประมาณ 3.90 ล้านบาท (8) การประเมินผล กรมอนามัย/ส้านักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลกจัดท้ารายงานเสนอกรมชลประทานและส้านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปีละ 1 ครั้ง (9) ความก้าวหน้าการด าเนินงาน ผลการด้าเนินงานระหว่างเดือนมกราคมถึงมิถุนายน 2563 อยู่ระหว่างด้าเนินการโดยมีปัญหาและอุปสรรค ดังนี้

ปัญหาและอุปสรรคที่พบ :

1. ความล้าช้าของการอนุมัติและโอนจัดสรรงบประมาณ เนื่องด้วยคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติในหลักการงบประมาณประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และยื่นเสนอขอค้าแนะน้าและยินยอมจากรัฐสภา และประกาศเป็นพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ้าปี พ.ศ. 2563 ให้ไว้ ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ลงในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 137 ตอนที่ 15ก ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 ดังนั้นส่งผลให้การโอนจัดสรรงบประมาณเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการด้าเนินงานป้องกัน แก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมมีความล่าช้ากว่าแผนงานที่ก้าหนดไว้ อีกทั้ง การด้าเนินงานโอนจัดสรรงบประมาณจากส่วนกลางของส่วนราชการนั้น ๆ มีขั้นตอนและกระบวนการเพ่ือจัดสรรไปยังหน่วยงานปฏิบัติในพ้ืนที่ ท้าให้มีความล้าช้าส่งผลต่อกระบวนการด้าเนินงานไม่สามารถปฏิบัติตามแผนงานที่ก้าหนดไว้

2. สถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID – 19 (กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม) ที่ไม่สามารถด้าเนินการในช่วงเวลาดังกล่าว ประกอบด้วย การเคลื่อนพลข้ามพ้ืนที่ การจัดประชุมติดตามความก้าวหน้าการด้าเนินงานภายใต้แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบ

Page 26: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-25

สิ่งแวดล้อม และแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม การลงพ้ืนที่ด้าเนินการด้านต่าง ๆ เช่น การจัดอบรมและให้ความรู้แก่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ และผู้ได้รับผลประโยชน์จากโครงการ การลงพ้ืนที่ส้ารวจด้านเศรษฐกิจและสังคม และการติดตามมาตรการการด้าเนินงานตามที่ระบุไว้ในรายงานการประเมินผลกระทบของโครงการ เป็นต้น ซึ่งไม่สามารถด้าเนินการได้ในช่วงระยะเวลาดังกล่าว ประกอบกับการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ตามความในพระราชก้าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 เพ่ือเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค และการก้าหนดใช้มาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม ท้าให้มีความจ้าเป็นที่ไม่สามารถด้าเนินกิจกรรมและงานบางประเภทได้ในช่วงเวลาดังกล่าว เมื่อเข้าสู่สถานการณ์ปกติ กรมชลประทานจะด้าเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายงานและสรุปผลการด้าเนินงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอีกครั้งต่อไป

Page 27: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-26

5.2.6 แผนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการป้องกันแก้ไขและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม (1) หลักการและเหตุผล กิจกรรมของการด้าเนินโครงการย่อมจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อทรัพยากรสิ่งแวดล้อมที่ส้าคัญๆ หลายประการ ทั้งในระยะก่อสร้างและระยะด้าเนินการ ดังนั้นเพ่ือให้แผนปฏิบัติการป้องกันแก้ไขและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ได้เสนอดังกล่าวเป็นไปตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพตามที่ก้าหนดไว้ กรมชลประทานจะด้าเนินการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานเพ่ือให้แผนงานดังกล่าวมีความเหมาะสมและสามารถน้าไปปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ

(2) วัตถุประสงค์ เพ่ือติดตามตรวจสอบและประเมินผลการด้าเนินงานตามแผนปฏิบัติการให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ได้ก้าหนดไว้ รวมทั้งตรวจสอบประสิทธิภาพของแผนต่างๆ เพ่ือน้ามาปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพเพ่ิมมากข้ึน

(3) หน่วยงานที่รับผิดชอบ กรมชลประทาน โดยส้านักบริหารโครงการ

(4) พื้นที่ปฏิบัติการ พ้ืนที่โครงการ

(5) วิธีการด าเนินงาน กรมชลประทานด้าเนินการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการป้องกันแก้ไขและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยมีวิธีการด้าเนินงานดังนี้ 1) ติดตามตรวจสอบการด้าเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันแก้ไขและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานต่างๆ โดยร่วมส้ารวจในภาคสนามทั้งในระยะก่อสร้างและระยะด้าเนินการ โดยตรวจสอบความถูกต้องของการปฏิบัติงานของแผนงานที่ได้เสนอ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามมาตรการและข้อเสนอแนะที่เสนอไว้ในรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2) ตรวจสอบรายงานสรุปผลการด้าเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันแก้ไขและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานต่างๆ และประชุมติดตามความก้าวหน้าทุก 3 เดือน (6) ระยะเวลาด าเนินการ ด้าเนินการต่อเนื่อง 13 ปี ตั้งแต่ระยะก่อสร้างจนถึงระยะด้าเนินการ (ปีที่ 2 ถึงปีที่ 14)

(7) งบประมาณปี พ.ศ. 2563 จ านวน 500,000 บาท

(8) ความก้าวหน้าการด าเนินงาน

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กรมชลประทานโดยส้านักบริหารโครงการได้รับการจัดสรรงบประมาณเพ่ือด้าเนินการติดตามผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม และแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม จ้านวน 500,000 บาท ปัจจุบัน

Page 28: บทที่ 5 : ผลการด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ...eia.onep.go.th/images/monitor/1595913610.pdf ·

โครงการอาคารบังคับน้้าในแม่น้้ายมตอนล่าง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขฯ (ประตูระบายน้้าท่านางงาม) ฉบับท่ี 1/2563 มกราคม – มิถุนายน 2563 และมาตรการติดตามตรวจสอบฯ

ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 5-27

ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ในช่วงระยะเวลาระหว่างเดือนมกราคมถึงมิถุนายน 2563 กรมชลประทานไม่สามารถด้าเนินการตามแผนงานที่วางไว้ได้ ส่งผลให้แผนการด้าเนินงานมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ปัจจุบัน และมีความล่าช้ากว่าแผนงานเดิมที่ก้าหนดไว้ ดังนั้น เมื่อเข้าสู่สถานการณ์ปกติจะด้าเนินการแผนงานที่เหลือต่อไป ส้าหรับการด้าเนินงานที่ผ่านมามีปัญหาและอุปสรรคในการด้าเนินงาน ดังนี้

ปัญหาและอุปสรรคที่พบ :

1. ความล้าช้าของการอนุมัติและโอนจัดสรรงบประมาณ เนื่องด้วยคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติในหลักการงบประมาณประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และยื่นเสนอขอค้าแนะน้าและยินยอมจากรัฐสภา และประกาศเป็นพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ้าปี พ.ศ. 2563 ให้ไว้ ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ลงในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 137 ตอนที่ 15ก ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 ดังนั้นส่งผลให้การโอนจัดสรรงบประมาณเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการด้าเนินงานป้องกัน แก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมมีความล่าช้ากว่าแผนงานที่ก้าหนดไว้ อีกทั้ง การด้าเนินงานโอนจัดสรรงบประมาณจากส่วนกลางของส่วนราชการนั้น ๆ มีขั้นตอนและกระบวนการเพ่ือจัดสรรไปยังหน่วยงานปฏิบัติในพ้ืนที่ ท้าให้มีความล้าช้าส่งผลต่อกระบวนการด้าเนินงานไม่สามารถปฏิบัติตามแผนงานที่ก้าหนดไว้

2. สถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือ COVID – 19 (กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม) ที่ไม่สามารถด้าเนินการในช่วงเวลาดังกล่าว ประกอบด้วย การเคลื่อนพลข้ามพ้ืนที่ การจัดประชุมติดตามความก้าวหน้าการด้าเนินงานภายใต้แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม การลงพ้ืนที่ด้าเนินการด้านต่าง ๆ เช่น การจัดอบรมและให้ความรู้แก่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ และผู้ได้รับผลประโยชน์จากโครงการ การลงพ้ืนที่ส้ารวจด้านเศรษฐกิจและสังคม และการติดตามมาตรการการด้าเนินงานตามที่ระบุไว้ในรายงานการประเมินผลกระทบของโครงการ เป็นต้น ซึ่งไม่สามารถด้าเนินการได้ในช่วงระยะเวลาดังกล่าว ประกอบกับการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ตามความในพระราชก้าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 เพ่ือเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค และการก้าหนดใช้มาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม ท้าให้มีความจ้าเป็นที่ไม่สามารถด้าเนินกิจกรรมและงานบางประเภทได้ในช่วงเวลาดังกล่าว เมื่อเข้ าสู่สถานการณ์ปกติ กรมชลประทานจะด้าเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง รายงานและสรุปผลการด้าเนินงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอีกครั้งต่อไป