บทที่ 4...

93
บทที4 ผลการศึกษา ทีมผูดําเนินการศึกษาวิเคราะหขอมูลที่เกี่ยวของ โดยอาศัยขอมูลที่ไดจากการวิจัยเอกสาร (Desk Research) การสัมมนาระดมความคิดเห็น การสํารวจความคิดเห็นดวยแบบสอบถาม การจัด ประชุมผูเกี่ยวของ การขอความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ การขอความเห็นจากผูประกอบการ ผลการศึกษาสามารถสรุปไดดังนี4.1 รูปแบบ (Model) ของระบบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานวิชาชีพ 4.2 การวิเคราะหเปรียบเทียบภารกิจของกรมพัฒนาฝมือแรงงานในสวนของมาตรฐานฝมือ แรงงานแหงชาติและสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ 4.3 การศึกษาเปรียบเทียบงบประมาณ 4.4 การวิเคราะหเปรียบเทียบประเด็นความหมายของ ... ทั้ง 3 ฉบับ 4.5 ความคิดเห็นของวิทยากรที่อภิปรายในงานสัมมนา 4.6 ความคิดเห็นของผูเขารวมการสัมมนา 4.7 การวิเคราะหความคิดเห็นของผูเขารวมสัมมนา โดยใชแบบสอบถาม 4.8 นโยบายของรัฐบาลปจจุบัน

Transcript of บทที่ 4...

Page 1: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

บทที่ 4 ผลการศึกษา

ทีมผูดําเนินการศึกษาวิเคราะหขอมูลที่เกี่ยวของ โดยอาศัยขอมูลที่ไดจากการวิจัยเอกสาร (Desk Research) การสัมมนาระดมความคิดเห็น การสํารวจความคิดเห็นดวยแบบสอบถาม การจัดประชุมผูเกี่ยวของ การขอความคิดเห็นจากผู เชี่ยวชาญ การขอความเห็นจากผูประกอบการ ผลการศึกษาสามารถสรุปไดดังนี้

4.1 รูปแบบ (Model) ของระบบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานวิชาชีพ 4.2 การวิเคราะหเปรียบเทียบภารกิจของกรมพัฒนาฝมือแรงงานในสวนของมาตรฐานฝมือ

แรงงานแหงชาติและสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ 4.3 การศึกษาเปรียบเทียบงบประมาณ 4.4 การวิเคราะหเปรียบเทียบประเด็นความหมายของ พ.ร.บ. ทั้ง 3 ฉบับ 4.5 ความคิดเห็นของวิทยากรที่อภิปรายในงานสัมมนา 4.6 ความคิดเห็นของผูเขารวมการสัมมนา 4.7 การวิเคราะหความคิดเห็นของผูเขารวมสัมมนา โดยใชแบบสอบถาม 4.8 นโยบายของรัฐบาลปจจุบัน

Page 2: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

61

4.1 รูปแบบ (Model) ของระบบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานวิชาชีพ เพื่อใหเห็นตัวอยางในการกําหนดระบบคุณวุฒิวิชาชีพ และระบบมาตรฐานฝมือแรงงานในตางประเทศที่ประสบความสําเร็จ จึงไดทําการศึกษาขอมูลการกําหนดระบบคุณวุฒิวิชาชีพ และมาตรฐานฝมือแรงงานของประเทศ สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย ฝร่ังเศส ซ่ึงไดเคยมีการศึกษาไวในรายงานการสังเคราะหการศึกษาวิจัย เพื่อสงเสริมการพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ ซ่ึงจัดทําโดยสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เมื่อเดือนมกราคม 2547 รวมทั้งไดทําการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับระบบรับรองมาตรฐานแรงงานของประเทศสหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย ฝร่ังเศส สิงคโปร ฮองกง เกาหลีใต และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพื่อนํามาประยุกตใชในการพัฒนาระบบรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานของไทย ขอมูลของแตละประเทศขางตน มีรายละเอียดดังนี้ 4.1.1 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศสหราชอาณาจักร ประเทศสหราชอาณาจักรถือเปนตนแบบของการพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ เพราะมีการพัฒนาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงมาตลอดระยะเวลาอันยาวนาน ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศสหราชอาณาจักร อยูบนพื้นฐานของมาตรฐานอาชีพที่กําหนดโดยกลุมอาชีพ มีจุดมุงหมายเพื่อสงเสริมการพัฒนาสมรรถนะอาชีพของผูที่ทํางานอยูแลว อันถือเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตอเนื่อง ปจจุบันคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศสหราชอาณาจักรแบงออกเปน 5 ระดับ ดังนี้ ระดับที่ 1 ทักษะพื้นฐาน ระดับที่ 2 อาชีพปฏิบัติงานเบื้องตนหรือกึ่งฝมือ ระดับที่ 3 ชางฝมือ ชางเทคนิค และอาชีพหัวหนาคุมงาน ระดับที่ 4 อาชีพเทคนิคและผูบริหารระดับลางและกลาง ระดับที่ 5 วิชาชีพสําหรับผูตองมีใบประกอบวิชาชีพและผูบริหารระดับสูง ระบบคุณวุฒิวิชาชีพนี้สําหรับบุคคลทุกวัยและระดับความรูพื้นฐาน สามารถพัฒนาจากระดับหนึ่งไปสูระดับหนึ่ง โดยไมจําเปนตองผานการฝกอบรมหากมีความรูความสามารถจากประสบการณและสามารถผานการประเมินได มีความยืดหยุนสูงและไดรับการยอมรับอยางกวางขวางในสังคมในฐานะกลไกการจางงานทั้งฝายลูกจาง นายจาง และผูรับบริการ ระบบงานคุณวุฒิวิชาชีพของประเทศสหราชอาณาจักรคอนขางซับซอน โดยมีองคกรที่เกี่ยวของดังนี้

Page 3: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

62

1) องคกรควบคุมคุณวุฒิและหลักสูตร (Qualifications and Curriculum Authority – QCA)

QCA เปนหนวยงานภาครัฐรับผิดชอบดานนโยบาย กําหนดเกณฑ จัดหาทรัพยากรสนับสนุน และใหการรับรองกํากับดูแลคุณวุฒิและหลักสูตรทุกระดับ 2) องคกรกําหนดมาตรฐานอาชีพ (Standard Setting Bodies) องคกรกําหนดมาตรฐานอาชีพเดิมเรียกวา National Training Organization หรือ Lead Bodies หรือ Industry Training Board เปนองคกรอุตสาหกรรมหรือกลุมอาชีพรับผิดชอบการจัดทํ าแผนที่ อาชีพ พัฒนามาตรฐานอาชีพ ( เสนอ QCA อนุมัติประสานกับองคกรใหประกาศนียบัตรเพื่อกําหนดวิธีการประเมิน ปจจุบันมีการจัดตั้ง Sector Skill Council เปนองคกรอิสระของกลุมนายจางและผูเกี่ยวของ ทําหนาที่เชนเดียวกัน 3) องคกรใหประกาศนียบัตร (Awarding Body) เปนองคกรที่ทํางานรวมกับองคกรกําหนดมาตรฐานอาชีพ เพื่อพัฒนากลยุทธการประเมินผล และมอบประกาศนียบัตร รวมทั้งการเสนอ QCA ใหรับรองคุณวุฒิวิชาชีพใหมๆ 4.1.2 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศออสเตรเลีย ประเทศออสเตรเลียจัดระบบคุณวุฒิวิชาชีพ โดยใชพื้นฐานคลายคลึงกับประเทศสหราชอาณาจักรคือ เนนมาตรฐานอาชีพจากกลุมอาชีพเชนกัน แตมีระบบงานแตกตางกัน กลาวคือ รัฐจะมีองคกรหลักคือ Australian National Training Authority – ANTA ซ่ึงกรรมการสวนใหญมาจากภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ทําหนาที่

- พัฒนาระบบอาชีวศึกษาและฝกอบรมของชาติ - สรางความรวมมืออยางใกลชิดกับผูประกอบการ - เผยแพรการฝกอบรมที่มีประสิทธิภาพ - สรางเครือขายการจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรม - ขยายโอกาสและคุณภาพของกลุมเปาหมาย - สรางความเชื่อมโยงระหวางกลุมอาชีพ

องคกรที่สําคัญในการพัฒนามาตรฐานอาชีพที่ทํางานรวมกับ ANTA คือ Industrial Training Advisory Bodies (ITABs) เปนคณะกรรมการที่ปรึกษาที่ประกอบไปดวยธุรกิจอุตสาหกรรม และผูแทนสหภาพแรงงาน โดยมีกลุมอุตสาหกรรมจํานวน 23 กลุม เปนกลไกในการ

Page 4: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

63

พัฒนา Training Package ซ่ึงไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐ โดยมีองคประกอบบังคับและไมบังคับ ดังนี้

- องคประกอบบังคับ (Endorsed) หมายถึง องคประกอบที่ผูจัดการศึกษา/ฝกอบรมตองดําเนินการตามที่กําหนดอยางเครงครัด ประกอบดวย 1) มาตรฐานอาชีพ 2) แนวทางการประเมิน 3) ระดับคุณวุฒิ

- องคกรประกอบไมบังคับ (Non–Endorsed) หมายถึง องคประกอบที่ผูจัดการศึกษาและฝกอบรม อาจพัฒนาขึ้นใชเองตามความจําเปน ประกอบดวย 1) ยุทธศาสตรการเรียนรู 2) ทรัพยากรการประเมินผล และ 3) ส่ือในการพัฒนาอาชีพ

ส่ิงสําคัญคือ Training Packages ที่พัฒนาโดยกลุมอาชีพตางๆ จะไดรับการนําไปใชจากสถานศึกษาและศูนยฝกอบรมตางๆ โดยอาจนําไปพัฒนาเปนหลักสูตรการศึกษาหรือฝกอบรมที่เกี่ยวของตามความเหมาะสม เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมหรือผูรับการประเมินประสบการณไดรับคุณวุฒิวิชาชีพตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนดในแตละ Training Package และตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับชาติที่กําหนด โดยแบงเปน 6 ระดับ คือ

- Certificate 1 - Certificate 2 - Certificate 3 - Certificate 4 - Diploma - Advanced Diploma

ระบบคุณวุฒิวิชาชีพของประเทศออสเตรเลียมีความยืดหยุนคอนขางสูง ผูเรียนในระบบโรงเรียนเนนการฝกภาคปฏิบัติในสถานประกอบการและการปฏิบัติงานจริง ตามมาตรฐานสมรรถนะที่กําหนดในหลักสูตรที่พัฒนาบนพื้นฐานของมาตรฐานตาม Training Package ของแตละกลุมอาชีพ ขณะที่ผูอยูนอกระบบสามารถเรียนรูจากประสบการณทํางาน และไดรับการทดสอบเพื่อเทียบโอนประสบการณตามระบบการประเมิน เพื่อพัฒนาตนเองและอาชีพ และไดรับคุณวุฒิเพิ่มขึ้น

Page 5: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

64

4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝรั่งเศส ประเทศฝรั่งเศสมีจุดเดนที่คุณวุฒิวิชาชีพอาจไดมาถึง 3 ทาง คือ

- คุณวุฒิวิชาชีพจากกระทรวงศึกษาธิการ - คุณวุฒิวิชาชีพจากกระทรวงแรงงาน - คุณวุฒิวิชาชีพจากสภาอุตสาหกรรม/ธุรกิจหอการคา

คุณวุฒิวิชาชีพดังกลาวแตกตางกันตามลักษณะงานของแตละหนวยงานที่รับผิดชอบ โดยมีคณะกรรมการระดับชาติ (National Commission) ทําหนาที่กํากับมาตรฐานและสรางความเชื่อมโยงระหวางคุณวุฒิวิชาชีพดังกลาว ระบบคุณวุฒิวิชาชีพของประเทศฝรั่งเศสที่ดําเนินการโดยกลุมอุตสาหกรรมจะเนนรูปแบบการฝกชางฝกหัดหรือทวิภาคี แบงเปน 5 ระดับ แตละระดับเทียบเทาคุณวุฒิทางการศึกษาดังนี้ CAP หรือประกาศนียบัตรชางฝมือเฉพาะทาง เทียบเทา NVQ ระดับ 1 BEP หรือประกาศนียบัตรชางฝมือทั่วไป เทียบเทา NVQ ระดับ 2 BAC หรือประกาศนียบัตรชางเทคนิค เทียบเทา NVQ ระดับ 3 (หรือ ปวช. เมื่อเทียบกับไทย) BTS หรือประกาศนียบัตรชางเทคนิคชั้นสูง เทียบเทา NVQ ระดับ 4 Diploma หรือปริญญาวิศวกร เทียบเทา NVQ ระดับ 5 ความโดดเดนของคุณวุฒิวิชาชีพที่กําหนดโดยภาคอุตสาหกรรม/ธุรกิจนั้นมีลักษณะคลายคลึงกับประเทศอื่นที่กลาวมาแลว คือเกิดจากการพัฒนามาตรฐานอาชีพของกลุมอาชีพ/สถานประกอบการ แตมีลักษณะพิเศษคือ สภาอุตสาหกรรม/ธุรกิจมีศูนยฝกอบรมโดยตรง โดยคาใชจายหลักมาจากเงินกองทุน 1.5% ที่คํานวณจากบัญชีเงินเดือนของแตละบริษัท และเงินสนับสนุนบางสวนจากรัฐ การฝกอบรมดังกลาวมีระดับคุณวุฒิวิชาชีพถึงขึ้นปริญญาตรี โดยเนนการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการเปนหลัก และผูสําเร็จการศึกษาไดรับความนิยมสูงเปนที่ยอมรับ

Page 6: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

65

4.1.4 ระบบรับรองมาตรฐานแรงงานของประเทศสิงคโปร ระบบการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ(The National skills Recognition

System: NSRS) เปนโครงรางระดับชาติเพื่อกําหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน มีการระบุสมรรถนะในงาน เสนทางการแสวงหาทักษะที่ตองใชในการปฏิบัติงาน รวมทั้งการรับรองมาตรฐานแรงงาน(Skill certification) ระบบนี้ถูกนํามาใชเพื่อเสริมสรางศักยภาพของแรงงานเพื่อเพิ่มพูนและยกระดับขององคกรสถานประกอบการและชวยเพิ่มศักยภาพทางการแขงขันทั้งในผลิตภัณฑและบริการขององคกรในประเทศสิงคโปรในตลาดระดับโลก ระบบการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติไดรับการขับเคลื่อนโดยสถาบันศูนยกลางมาตรฐานแรงงานแหงชาติ คณะกรรมการนวัตกรรมและผลิตภาพ (The National Skills Centre of the Standards Productivity and Innovation Board (SPRING Singapore)) ภายใตการสนับสนุนและดูแล โดยองคกรพัฒนาแรงงานแหงสิงคโปร(Singapore Workforce Development Agency: WDA) กระทรวงการคาและอุตสาหกรรม(Ministry of Trade & Industry) กับกระทรวงกําลังแรงงานคนของประเทศสิงคโปร (Ministry of Manpower) วัตถุประสงคของ NSRS

o กําหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและเพิ่มพูนสมรรถนะในการปฏิบัติงาน o เสริมสรางศักยภาพของแรงงาน พัฒนาระดับการปฏิบัติงาน และใหความชวยเหลือเพือ่

เพิ่มความสามารถเชิงการแขงขันทางดานผลิตภัณฑและบริการของสิงคโปรในตลาดระดับโลก

o พัฒนาไปสูแรงงานมืออาชีพ และศักยภาพการจางแรงงานโดยการจูงใจใหมีการเรียนรูอยางตอเนื่อง(Continuous Learning) ตลอดจนการแสวงหาทักษะใหมๆใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจ

ระบบNSRSเกี่ยวของกับ การพัฒนามาตรฐานทักษะแรงงานแหงชาติ (National Skills

Standards) ซ่ึงมุงพัฒนาการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการดําเนินการฝกอบรมและประเมินศักยภาพของแรงงาน มาตรฐาน การปฏิบัติงานไดรับการจัดลําดับโดยNSRSโดยถูกจัดแบงออกเปน 3 ระดับ ซ่ึงขึ้นอยูกับพิสัยความสลับซับซอน และความรับผิดชอบตอกิจกรรมของงาน

Page 7: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

66

ระดับ สมรรถนะในงาน

NSC3 สมรรถนะในการปฏิบัติงานตามขอบเขตของกิจกรรมการทํางานที่หลากหลายซึ่งงานสวนใหญจะมีลักษณะเปนงานประจําวันและสามารถคาดการณได

NSC2 สมรรถนะในการปฏิบัติงานตามขอบเขตที่มีความเขมขนมากขึ้นของกิจกรรมการทํางานที่หลากหลาย บางงานมีลักษณะซับซอนหรือไมได เปนงานตายตั วที่ ทํ า เปนประจํ า ความรับผิดชอบตองานเปนของแตละคน รวมทั้งเนนความรวมมือกับผูอ่ืน

NSC1 สมรรถนะการปฏิบัติงานตามขอบเขตที่กวางมากขึ้นของกิจกรรมการทํางานที่หลากหลายในบริษัท ซ่ึงงานสวนใหญเปนงานที่ซับซอนหรือเปนงานที่ไมไดทําเปนประจํา โดยพิจารณาจากความรับผิดชอบและความเปนเอกเทศของงาน รวมถึงการควบคุมหรือใหคําแนะนําแกผูอ่ืนได

การออกใบรบัรองมาตรฐานฝมือแรงงาน(Award of Certificate) ใบรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานที่ทางNSRSออกใหแกแรงงานผูขอรับการรับรองจะออกใหโดยพิจารณาจากระดับสมรรถนะในงานของแรงงานวาอยูในระดับใดในทั้ง 3 ระดับ ซ่ึงNSRS ไดทําการกําหนดระดับของทักษะโดยใชพิสัยความซับซอนและความรับผิดชอบในงาน แรงงานที่ขอรับการรับรองสามารถเลือกระดับของงานเองไดวาอยูในระดับใด โดยอาศัยหลักความตองการขององคกร

Page 8: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

67

ภูมิหลังของนโยบายการฝกอบรมกําลังคนของประเทศสิงคโปร (Background of Singapore’s Manpower Training Policy) ทามกลางกระแสการแขงขันที่รุนแรงระดับโลก ประเทศสิงคโปรมีความมุงมั่นที่จะขับเคลื่อนเศรษฐกิจของตนใหมีความเจริญเติบโตอยางยั่งยืน สิงคโปรตระหนักถึงความสําคัญของการฝกอบรมและการศึกษาทางดานเทคนิค (Technical Education and Training) รวมทั้งการฝกอบรมทางดานวิชาชีพ (Vocational Training) โดยมีเปาหมายเพื่อจะดําเนินการกับกําลังคนใหมีประสิทธิภาพสูงสุด ในเดือนสิงหาคม 1999 Ministry of Manpower (MOM) ไดออก “Manpower 21 Plan” เพื่อเปนการนําเสนอถึงวิสัยทัศนในการพัฒนากําลังคนในความพยายามที่จะปรับปรุงและพัฒนาการจางานตลอดชีวิตการทํางานของประชาชนชาวสิงคโปร โดยองคกร WDA (The Workforce Development Agency) ซ่ึงดําเนินงานอยูภายใตการควบคุมของ MOM เปนผูขับเคลื่อนวิสัยทัศนดังกลาว

Page 9: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

68

โครงสรางระบบรบัรองมาตรฐานแรงงานประเทศสิงคโปร

MMiinniissttrryy ooff EEdduuccaattiioonn ((MMOOEE))

TTeecchhnniiccaall TTrraaiinniinngg &&

TThhee IInnssttiittuuttee ooff TTeecchhnniiccaall EEdduuccaattiioonn ((IITTEE))

MMiinniissttrryy ooff MMaannppoowweerr ((MMOOMM))

VVooccaattiioonnaall TTrraaiinniinngg SSyysstteemm ((TThhee NNaattiioonnaall VVooccaattiioonnaall QQuuaalliiffiiccaattiioonnss SSyysstteemm))

MMiinniissttrryy ooff TTrraaddee aanndd IInndduussttrryy

SSDDFF :: TThhee SSkkiillllss DDeevveellooppmmeenntt FFuunndd

TThhee WWoorrkkffoorrccee DDeevveellooppmmeenntt AAggeennccyy ((WWDDAA))

TThhee NNaattiioonnaall SSkkiillllss RReeccooggnniittiioonn SSyysstteemm ((NNSSRRSS))

WWoorrkkffoorrccee SSkkiillllss QQuuaalliiffiiccaattiioonnss ((WWSSQQ))

Page 10: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

69

ระบบการฝกอบรมทางดานอาชีพ (Vocational Training System) กระทรวงกําลังคน (MOM) และกระทรวงศึกษาธิการ (MOE) ของสิงคโปรเปนผูดําเนินการวางแผน การฝกอบรมทางดานอาชีพและนําเอาแผนไปดําเนินการ MOM ไดกอตั้ง WDA (The Workforce Development Agency ในเดือนตุลาคม 2003 โดยการรวมแผนกเงินทุนเพื่อการพัฒนาทักษะฝมือแรงงาน (The Skills Development Fund : SDF) ซ่ึงเปนหนวยงานหนึ่งของคณะกรรมการมาตรฐานและผลิตภาพอยูภายใตการควบคุมดูแลของกระทรวงการคาและอุตสาหกรรม (Ministry of trade and Industry) เขาดวยกันกับหนวยงานที่มีหนาที่ดูแลทางดานการฝกอบรมอาชีพ โดยมีพันธกิจเพื่อจะเสริมสรางศักยภาพของแรงงานและความสามารถเชิงการแขงขัน และโดยเฉพาะการสรรสรางแรงงานใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงความตองการกําลังแรงงานของสิงคโปร ระหวางนั้น กระทรวงศึกษาธิการ (MOE) ไดดําเนินการจัดใหมีการฝกอบรมและการศึกษาทางดานเทคนิค ซ่ึงแตกตางจากการฝกอบรมทางดานวิชาชีพที่ดําเนินการโดย MOM ผานสถาบันการใหการศึกษาทางดานเทคนิค (Institute of Technical Education : ITE) ซ่ึงอยูภายใตการควบคุมดูแลของ MOE ทั้งนี้การฝกอบรมและการใหการศึกษาทางดานเทคนิคไดรับการดําเนินการในลักษณะที่เปนสวนหนึ่งของการศึกษาดานวิชาการเพื่อที่จะชวยใหผูเรียนไดรับทักษะทางดานเทคนิคการปฏิบัติการในระดับและขอบเขตที่กวางขวางมากขึ้น โปรแกรมการฝกอบรมวชิาชีพโดย WDA WDA ทําหนาที่เปนฝายใหการอุดหนุนสนับสนุนแกบริษัท องคกรเปนผูจัดตั้งโรงงานฝกอบรมอาชีพ บทบาทพื้นฐานหนึ่งของ WDA คือการกําหนดคุณสมบัติของผูเขารับการฝกในหลักสูตรฝกอบรมตางๆ WDA จะเสนอหลักสูตรที่เหมาะสมกับความตองการของอุตสาหกรรม WDA จะทํางานอยางใกลชิดกับบริษัท องคกรทางอุตสาหกรรมในการกําหนดแผนและดําเนินการตามนโยบายการฝกอบรมดานวิชาชีพแกแรงงาน ซ่ึงมีลักษณะขอบเขตที่ครอบคลุมตั้งแตการฝกทักษะเบื้องตนจนถึงทักษะแรงงานระดับมืออาชีพหรือระดับสูง การรับรองมาตรฐานแรงงานในอุตสาหกรรม (Workforce Skills Qualifications : WSQ) Certificate in Generic Manufacturing Skills (Process) ในประเทศสิงคโปร มีการออกแบบระบบมาตรฐานแรงงานสําหรับแรงงาน The Workforce Skills Qualifications : WSQ ที่ผานการฝกอบรมและการศึกษาอยางตอเนื่องของระดับชาติ ระบบนี้ไดรับการพัฒนารวมกันโดยกลุมอุตสาหกรรมและ WDA โดยมีเปาหมายหลักเพื่อการสนับสนุนและเอื้ออํานวยตอ

Page 11: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

70

แรงงานในอุตสาหกรรมไดมีการเสริมสรางและพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานของตน ซ่ึงจะเปนตัวจักรกลหลักในการขับเคลื่อนผลิตภาพและความไดเปรียบเชิงการแขงขันแกอุตสาหกรรมโดยรวมของประเทศ แรงงานที่ผานการอบรมและการศึกษาจะไดรับใบประกาศนียบัตร (The WSQ Certificate) เพื่อเปนการรับรองมาตรฐานแรงงาน 4.1.5 ระบบรับรองมาตรฐานแรงงานของประเทศฮองกง การรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานของประเทศฮองกงมีการดําเนินการโดยคณะกรรมการฝกอาชีพพนักงาน (Employees Retraining Board) หรือเรียกสั้นๆวา ERB ERB มีเปาหมายที่จะดําเนินการพัฒนาระดับทักษะของแรงงานในประเทศใหมีศักยภาพ และขีดความสามารถในการปฏิบัติงานที่สูงขึ้น มีความสุขกับการทํางาน โดยมีการปรับปรุงตนเอง รวมทั้งการเปนแรงงานแบบพหุทักษะ (Multi-skilled work-force) สําหรับแรงงานในระดับรากหญา (grassroots level work-force) ERB มีเปาหมายที่จะจัดการฝกอบรมใหโอกาสในการฝกอาชีพแกพวกเขาที่จะยกระดับทักษะทางดานวิชาชีพ พัฒนาคุณลักษณะสวนบุคคลและทักษะขั้นพื้นฐาน สวนแรงงานในวัยหนุมสาวที่มีประสบการณไมมากนักทั้งทางดานการทํางานและการฝกอบรม ทาง ERB จะเนนการอบรมเชิงจูงใจในการเรียนรู เสริมสรางทัศนคติเชิงบวก รวมทั้งมีความเขาใจในคุณคาและจรรยาบรรณของงาน การใหคําปรึกษาทางดานอาชีพงาน การวางแผนความกาวหนาในอาชีพ การปรับปรุงคุณสมบัติสวนบุคคลจะเปนองคประกอบหลักของการฝกอบรม สวนแรงงานที่กําลังปฏิบัติงานอยูและมีการศึกษา ทาง ERB จะทําการฝกอบรมเกี่ยวกับวิทยาการความรูที่ทันสมัยใหมๆรวมท้ังเทคโนโลยีใหมๆดวย เพื่อใหพวกเขาไดมีคุณสมบัติทางวิชาชีพ ทิศทางการดําเนินงานฝกอบรมของ ERB ในปจจุบันยังคงมีลักษณะที่เนนการพัฒนาอาชีพเปนหลัก รวมทั้งการยกระดับทักษะของแรงงาน การปรับปรุงพัฒนาตนเองของแรงงานแตละคน เพื่อประเทศจะไดมีแรงงานที่ดีมีประสิทธิภาพสูงสุด เอื้ออํานวยตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศฮองกง นอกจากนี้ ERB ยังไดใหบริการการฝกอบรมแกกลุมแรงงานที่มีขอจํากัดตางๆดวย เชน ชนกลุมนอย กลุมเชื้อชาติ กลุมแรงงานพิการและอื่นๆ ERB ดําเนินการสอดคลองกับโครงรางการพัฒนาคุณวุฒิในประเทศฮองกง หลักสูตรการฝกอบรมทุกหลักสูตรของ ERB เปนหลักสูตรที่ตอบสนองขอกําหนดทางดานคุณภาพของ The Hong Kong Council For Accreditation of Academic and Vocational Qualifications

สําหรับโปรแกรมการฝกอบรม นอกเหนือจากการฝกอบรมทางดานทักษะทางวิชาชีพ ยังมีการฝกทักษะอื่นๆ เสริมใหกับแรงงานอีก ไดแก ภาษา การคํานวณ เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการฝกเพื่อเพิ่ม

Page 12: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

71

คุณสมบัติสวนบุคคลและทักษะของชีวิต ไดแก การวางแผนการเงินสวนบุคคล การวางแผนความกาวหนาในงานอาชีพ วัฒนธรรมองคกร การทํางานเปนทีม การจัดการแกไขปญหา เปนตน ERBไดจัดตั้งศูนยประเมินและฝกอบรมทักษะเชิงปฏิบัติการ (The Practical Skills Training and Assessment Centre: PSTAC) ศูนยนี้เปนศูนยกลางในการประเมินและรับรองมาตรฐานทักษะแรงงาน โดยมีเปาหมายที่จะเนนหลักประกันรับรองคุณภาพของหลักสูตรการฝกอบรมวามีความเหมาะสม มีกลไกที่โปรงใสในการประเมินทักษะแรงงาน แรงงานที่ไดรับการรับรองจากPSTACจะไดรับ Competency Card พรอมกับไดใบรับรองมาตรฐานแรงงาน (Certificate in Local Domestic Helper Training) 4.1.6 ระบบรับรองมาตรฐานแรงงานของประเทศเกาหลีใต ประเทศเกาหลีใตมีการประกาศใชพระราชบัญญัติพัฒนาทักษะทางดานวิชาชีพของแรงงาน(Workers Vocational Skills Development Act 1997) พระราชบัญญัติฉบับนี้มีวัตถุประสงคเพื่อใหหลักประกันการจางงานแกแรงงาน ยกระดับสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมแกแรงงาน ปรับปรุงและพัฒนาผลิตภาพของการประกอบการ สนับสนุนและสงเสริมการพัฒนาทักษะความรูใหแกพนักงานตลอดชีวิตการทํางานเพื่อเปนประโยชนและเอื้ออํานวยตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเกาหลีใต ในพระราชบัญญัติดังกลาวมีการกําหนดคําจํากัดความบางอยางที่นาสนใจไดแก

• การฝกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะทางดานวิชาชีพ(Vocational Skills Development Training)วาเปนการดําเนินการฝกอบรมแกพนักงานที่มีการแสวงหา การพัฒนาปรับปรุงความสามารถในการปฏิบัติงานซึ่งจําเปนสําหรับงานของแรงงาน

• กิจกรรมการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ(Vocational Skills Development Activities) เกี่ยวของกับกิจกรรมสื่อและหลักสูตรการจัดการฝกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะทางดานวิชาชีพของแรงงาน ตลอดจนการดําเนินการสํารวจหรือวิจัยทางดานการพัฒนาทักษะทางดานวิชาชีพ

• การฝกอบรมระบบทางไกล(Distance Training)เปนการฝกเพื่อพัฒนาทักษะทางดานวิชาชีพที่จัดใหพนักงานที่อยูหางไกลออกไป โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อโทรคมนาคม

หลักพื้นฐานของการฝกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะวิชาชีพแรงงาน(Basic Principles of Vocational Skills Development Training: VSDT)

• VSDT จะไดรับการดําเนินการอยางเปนระบบตลอดชีวิตการทํางานของพนักงาน เนนความถนัด และความสามารถของพนักงานแตละคน

• VSDT จะตองไดรับการดําเนินการในลักษณะที่ใหการเคารพตอปจเจกบุคคลและสรางสรรคตอการดําเนินการของภาคเอกชน โดยอยูบนพื้นฐานของการมีสวนรวมในการบริหารจัดการแรงงาน

Page 13: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

72

• VSDT จะถูกดําเนินการโดยไมเลือกปฏิบัติไมแบงแยกแรงงานจากเพศ อายุ สถานภาพแวดลอมทางกายภาพ ประเภทของแรงงาน สถานภาพทางสังคม และใหหลักประกันโอกาสความเทาเทียมกันแกพนักงาน

• VSDT จะใหโอกาสแกแรงงานในกลุมตอไปนี้ o กลุมแรงงานสูงวัย และแรงงานพิการ o กลุมแรงงานที่มีสิทธิ์ภายใต The National Basis Livelihood Security Act

ทางดานกระทรวงแรงงาน(Ministry of Labor) ไดจัดตั้งองคกรพัฒนาทักษะวิชาชีพแรงงาน (Vocational Skills Development Organization) มีวัตถุประสงคที่จะทําการสงเสริมการพัฒนาทักษะทางดานวิชาชีพของแรงงาน กําหนดและดําเนินการตามแผนการพื้นฐานทางดานการพัฒนาทักษะวิชาชีพแรงงาน รวมทั้งการสรางเสริมสภาพแวดลอมเพื่อการฝกอบรมเพื่อพัฒนาวิชาชีพ เชน การกําหนดมาตรฐานการพัฒนา การสนับสนุนผูสอน และทรัพยากรบุคคลที่มีภาระหนาที่ดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย การพัฒนา การกระจายสื่อและวิธีการทางดานวิชาชีพ ตลอดจนฝกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะแรงงาน ผูผานการรับรองมาตรฐานจะไดรับ Certificate of Vocational Skills Development

Page 14: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

73

4.2 การวิเคราะหเปรียบเทียบภารกิจ บทบาท หนาที่ และการดําเนินงานของกรมพัฒนาฝมือแรงงานในสวนของมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติและสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ

สามารถสรุปประเด็นซ้ําซอนไดดังนี้

บทบาทภารกจิ อํานาจหนาท่ีของ 2 หนวยงาน

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน สถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ

- กําหนดมาตรฐานอาชีพ - จัดทําขอมูลและกําหนดรหสัหมวดหมูอาชีพ - พัฒนาระบบ รูปแบบ มาตรการและวิธีการ

ดานการจดัหางาน - พัฒนามาตรฐานฝมือแรงงานใหสอดคลอง

กับมาตรฐานสากล - ดําเนินการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน - การวิเคราะหอาชีพและนําสารสนเทศที่ไดรับ

ไปใชในการกาํหนดมาตรฐานฝมือแรงงานและหลักสูตรฝกอบรมในสาขาอาชีพตางๆ

สรุปมี 4 สวนสําคัญ 1. การกําหนดมาตรฐานอาชีพ 2. การกําหนดมาตรฐานฝมือแรงงาน 3. การกําหนดมาตรฐานแรงงานไทย 4. การกําหนดหลักประกนัใหแกแรงงาน จาก พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน ป 2545 1. การดําเนนิการฝกอบรมฝมือแรงงาน 2. จัดทํามาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาตใินสาขา

อาชีพตางๆ 3. จัดใหมีการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน

และสงเสริมใหมีผูทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน

4. มีกองทุนพัฒนาฝมือแรงงาน 5. มีการจัดตั้งศูนยฝกอบรมฝมือแรงงานและ

ศูนยทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน 6. สงเสริมใหมีการแขงขันฝมือแรงงาน

- พัฒนามาตรฐานคุณวฒุิวิชาชีพ - สงเสริมใหกลุมอาชีพพัฒนามาตรฐานอาชีพ - ใหการรับรองหนวยประเมินสมรรถนะของ

บุคคลและผูที่จะเปนผูประเมิน - เปนศูนยกลางความรวมมือการพัฒนาคุณวฒุิ

วิชาชีพในระดบัชาติและนานาชาต ิ- ใหประกาศนยีบัตรคุณวุฒวิิชาชีพและ

หนังสือรับรองมาตรฐานอาชีพ สรุปมีอํานาจหนาท่ีหลัก ดังนี ้1. การพัฒนาระบบมาตรฐานคุณวุฒวิิชาชีพ 2. รับรองหนวยประเมินสมรรถนะของบุคคล

รวมทั้งผูที่จะเปนผูประเมิน 3. วิจัยพัฒนาเพื่อพัฒนาระบบคณุวุฒวิิชาชีพ 4. ศูนยกลางขอมลูเกี่ยวกับระบบคุณวุฒวิิชาชพี

และมาตรฐานอาชีพและประสานการพัฒนามาตรฐานคุณวุฒิวิชาชพีกับเครือขายนานาชาต ิ

Page 15: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

74

การเปรียบเทียบภารกิจวิธีดําเนินงานและงบประมาณ กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กับสถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ

หัวขอ กรมพัฒนาฝมือแรงงาน สถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ

วิธีดําเนินงาน

- การกําหนดสาขาอาชีพที่จะทํามาตรฐาน

มากกวา 160 สาขาอาชีพ

บริการทดสอบได 122 สาขาอาชีพ

55 กลุมอาชีพ

40 มาตรฐานอาชีพ

- การรับรองศูนยทดสอบ/หนวยทดสอบ

127 แหง (47) -

- คูมือการพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมและวิทยากรกระบวนการ

วิทยากรและครูฝก มากกวา 4,000 คน วิทยากรทัง้ภายในและภายนอกที่เปนผูเชี่ยวชาญจากสถาบันการศึกษา สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพ ฯลฯ และผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน

150 คน

- หนวยรับรองสมรรถนะบุคคล

150 หนวย 55 หนวย

- ผูประเมินสมรรถนะบุคคล ไมนอยกวา 2,000 คน

300 คน

- หนวยประเมินไดรับการสนับสนุน

ประมาณ 70 หนวย 40 หนวย

- งานวิจยัเพื่อพฒันาเกณฑและมาตรฐานตางๆ

ปละ 3 เร่ือง หรือมากกวา 15 เร่ืองใน 5 ป

13 เร่ือง

Page 16: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

75

หัวขอ กรมพัฒนาฝมือแรงงาน สถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ

- การสรางเครือขายการพัฒนาคุณวุฒวิิชาชีพในระดับประเทศและตางประเทศ

48 สมาคมเครือขายในการรวมกันทํามาตรฐานและดําเนินการทดสอบ รวมมือกับกลุมอาเซียนไทย มี ILO เปนตัวประสานรองรับการเคลื่อนยายแรงงานตามขอตกลงอาเซียน เรียกวา Labour Movement ตามมาตรฐาน RMCS Regional Model Competency Standard

3 หนวยงานในประเทศเครือขายกับ 3 ประเทศ

งบประมาณดาํเนินการ(ตอป)

- งบบุคลากร 535.7 ลานบาท (ป 2550) 7.16 ลานบาท (ป 2552)

- งบดําเนินงาน 697.9 ลานบาท (ป 2550) 5.0 ลานบาท (ป 2552)

- งบลงทุน 102.8 ลานบาท (ป 2550) 5.5 ลานบาท (ป 2552)

- งบประมาณ 1,407.9 ลานบาท (ป 2550)

รวม 170.53 ลานบาท

(ป 2552-2554)

- จํานวนมาตรฐานที่ประกาศใช

มากกวา 160 สาขา

- จํานวนผูผานการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน

เปาหมาย

(ต.ค.49-ก.ย. 50)

40,600 คน

ผลงาน

46,654 คน

รอยละ

114.91

Page 17: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

76

ประเด็นซ้ําซอน “ดานผลลัพธหรือผลประโยชนท่ีจะไดรับ” สถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาต ิ

1. ผลลัพธที่เกิดขึ้น มีดังนี้ 1.1 พัฒนาสมรรถนะของกําลังแรงงาน ไดตรงตามความตองการของผูประกอบการ 1.2 สงเสริมใหแรงงานมีการเรียนรูตลอดชีวิต 1.3 วัดคุณภาพของการศึกษาในเชิงปริมาณและคุณภาพ 1 .4 ผูบ ริโภคได รับความคุมครองความปลอดภัย จากการใชผลิตภัณฑหรือบริการ 1.5 กําหนดคาจางที่ เปนธรรม ตามระดับสมรรถนะของแรงงาน

1 . ผลลัพธที่ เกิดขึ้นจากแรงงานที่ ผ านการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน มีดังนี้ 1.1 มาตรฐานฝมือแรงงานจัดทําจากขอมูลความตองการของสถานประกอบกิจการ ผูผานการทดสอบได รับหนังสือรับรอง แสดงถึงแรงงานมีศักยภาพสอดคลอง ความตองการของสถานประกอบกิจการ 1.2 การใชอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือแรงงาน ในระดับมีศักยภาพสูงมีอัตราคาจางมากกวามาตรฐานฝมือแรงงานระดับตน ดังนั้น เปนสิ่งจูงใจทําใหแรงงานมีความสนใจในการพัฒนาศักยภาพหรือเรียนรูตลอดเวลา เพื่อการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน และรับคาจางที่สูงกวาปจจุบัน 1.3 มาตรฐานฝมือแรงานแหงชาติ จะเปนเครื่องมือวัดคุณภาพการศึกษาได โดยผูสําเร็จการศึกษา เข าสู การทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานผานเกณฑมากนอยพียงใด 1.4 เนื่องจากเกณฑวัดของมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ มีดังนี้ 1) มีความรูเพียงพอตอการปฏิบัติงาน 2) ปฏิบัติงานดวยความปลอดภัยและรักษา

ส่ิงแวดลอม 3) รูจักการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือ 4) ปฏิบัติงานอยางประหยัดวัสดุ 5) ปฏิบัติงานอยางมีขั้นตอน 6) เวลาการทํางานเหมาะสมกับงานที่ปฏิบัติ 7) ผลงานสําเร็จเปนที่ยอมรับของผูบริโภค

Page 18: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

77

สถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาต ิ

จากเกณฑวัดมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ ดังกลาว นายจางไดประโยชนดานประหยัดคาใชจาย ลดความสูญเสีย ผลิตภัณฑไดมาตรฐาน ผูปฏิบัติงานมีความปลอดภัย และปฏิบัติงานตามหลักเกณฑถูกตองปลอดภัย ตลอดจนผูบริโภคได รับความคุมครองดานมาตรฐานสินคาและความปลอดภัย

Page 19: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

78

4.3 การศึกษาเปรียบเทียบงบประมาณ มีความซ้ําซอนดานงบประมาณ ดังนี้

สถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาต ิ1. งบประมาณ ประมาณการคาใชจาย ชวงป 2552 – 2554 รวม 170.53 ลานบาท แยกเปนรายป - ป 2552 จํานวน 52.51 ลานบาท - ป 2553 จํานวน 55.69 ลานบาท - ป 2554 จํานวน 62.33 ลานบาท โดยแบงกิจกรรม ดังนี้ - คาตอบแทนบุคลากร (เงินเดือน) - คาตอบแทนใชสอย และวัสดุ

ประกอบดวย - คาเชาสํานักงาน - คาเบี้ยประชุม ฯลฯ

- คาสาธารณูปโภค - งบลงทุน ประกอบดวย - คาตกแตงสถานที่ - คาครุภัณฑสํานักงาน

1. งบประมาณการจัดทํามาตรฐานฝมือแรงงาน การทดสอบมาตรฐานฝมื อแรงงาน และค า ใช จ า ยอื่ นๆ ที่ ใช สํ าห รับกิ จกรรมงานมาตรฐานฝมือแรงงาน กรมพัฒนาฝมือแรงงานไดรับงบประมาณจากคําขอจัดตั้งงบประมาณประจําปอยูแลว ปละประมาณ 25 ลานบาท สามารถดํา เนินการกําหนดมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ ปละ 15–20 สาขา และทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานใหแกแรงงาน ปละประมาณ 48,000 คน สําหรับอาคารสถานที่ และเครื่องมืออุปกรณ มีสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค และศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัดรวมถึงศูนยทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานและสถานประกอบกิจการที่ไดรับอนุญาตไมนอยกวา 150 แหง ทั่วทุกจังหวัด ดําเนินการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานอยูแลว

Page 20: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

79

4.4 การวิเคราะหเปรียบเทียบประเด็นความหมายและรายละเอียดแตละมาตราของพระราชบัญญัติแตละฉบับ

ทําการเปรียบเทียบประเด็นความหมายและรายละเอียด แตละมาตราของพระราชบัญญัติ 3 ฉบับ ไดแก 1. พระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ.2545 2. รางพระราชบัญญัติสงเสริมการประกอบอาชีพ พ.ศ...... 3. รางพระราชบัญญัติคุณวุฒิวิชาชีพ พ.ศ...... ขอสรุปในเชิงเปรียบเทียบมี ดังนี้

Page 21: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

80

1. ประเด็นซ้ําซอน”ดานกฎหมาย “ (ราง) พ.ร.บ.คณุวุฒิวิชาชีพ พ.ร.บ. พ.ศ....... พ.ร.บ. สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545

ม.3 ใน พ.ร.บ. (นิยามศพัท) ม.5 ใน พ.ร.บ. นี้ (นยิามศัพท) 1. คุณวุฒวิิชาชีพ หมายความวา การรับรองความรู ความสามารถ และทักษะของบุคคลในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานอาชีพ

1. มาตรฐานฝมือแรงงาน หมายความวา ขอกําหนดทางวิชาการทีใ่ชเปนเกณฑวดัระดับฝมือ ความรู ความสามารถ และทัศนคตใินการทํางานของผูประกอบอาชพีในสาขาตาง ๆ

2. มาตรฐานอาชีพ หมายความวา การกําหนดระดับสมรรถนะของบุคคลในการประกอบอาชีพ

2. การทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน หมายความวา การทดสอบฝมือ ความรู ความสามารถ และทัศนคติในการทํางานของผูประกอบอาชีพตามเกณฑกําหนดของมาตรฐานฝมือแรงงาน

ม.7 – 8 สถาบันมีวัตถุประสงค หมวด 2 มาตรฐานฝมือแรงงาน - ดําเนนิการพฒันามาตรฐานคุณวุฒวิิชาชีพ

- สงเสริมใหกลุมอาชีพพัฒนามาตรฐานอาชีพ

- รับรองหนวยประเมินสมรรถนะของบุคคลและ ผูที่จะเปนผูประเมิน

- ศูนยกลางความรวมมือการพัฒนาคุณวุฒวิิชาชีพในระดบัชาติและระดับนานาชาติ

ม.22 คณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาฝมอืแรงงาน จัดทํามาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาตใินสาขาอาชีพตาง ๆ เสนอ ครม. ใหความเห็นชอบ ม.26 ผูใดประสงคจะใหคณะกรรมการรบัรองมาตรฐานฝมือแรงงาน ใหยื่นคําขอตอนายทะเบียน ม.24 ผูใดประสงคจะเปนผูดาํเนินการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานใหขออนุญาตตอนายทะเบียน ม.5 ผูดําเนินการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน หมายความวาผูซ่ึงไดรับอนุญาตใหดําเนินการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน

Page 22: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

81

(ราง) พ.ร.บ.คณุวุฒิวิชาชีพ พ.ร.บ. พ.ศ....... พ.ร.บ. สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 ผูทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน หมายความวาผูทํา

หนาที่ทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานใหแกผูเขารับการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน - ประเทศไทยโดยกรมพัฒนาฝมือแรงงานรวมมือกับประเทศกลุมอาเซียน โดยองคการแรงงานแหงประเทศ (ILO) เปนหนวยงานประสาน ดําเนินการจัดทํามาตรฐานฝมือแรงงานอาเซียน (Regional Model Competency Standard : RMCS) ของแตละสาขาอาชีพขึ้นใช ในป 2015 จะใชมาตรฐานฝมือแรงงานอาเซียนเพื่อเคล่ือนยายแรงงานระหวางประเทศรวมกัน

ม.4 ใหนายกรฐัมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

ม .6 ให รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

ม.5 ใหจัดตั้งสถาบันขึ้นเรียกวา “สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ” และใหสถาบันนี้เปนนิติบุคคลอยูในกํากับของนายกรัฐมนตรี ม.14 ใหจัดตั้งกองทุนขึ้นเรียกวา “กองทุนพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ”

ม.27 ใหจัดตั้งกองทุนขึ้น เรียกวา “กองทุนพัฒนาฝมือแรงงาน” ม.38 ใหมีคณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน

ม . 1 6 ให มี คณะกรรมก า รบริ ห า รสถ าบั น คุณวุฒิวิชาชีพ ม.25 ใหสถาบันมีผูอํานวยการคนหนึ่ง และ รองผูอํานวยการตามจํานวนที่คณะกรรมการกําหนด ม.37 สถาบันมีอํานาจใหหนังสือรับรองบุคคลและองคกรผูประเมินมาตรฐานอาชีพในสาขาวิชาชีพที่คณะกรรมการกําหนด

ม.22 คุณสมบัติของผูเขารับการทดสอบ วิธีการทดสอบและการออกหนังสือรับรองวาเปนผูผานการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงาน ใหเปนไปตามที่คณะกรรมการประเทศกําหนด

Page 23: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

82

2. ประเด็นซ้ําซอน”ดานหลกัการและเหตุผล “ สถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาต ิ

1. เปนระบบที่ใชรับรองความรู ความสามารถ และทักษะของบุคคลในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานอาชีพ

1. ขอกําหนดที่เปนเกณฑทดสอบวัด และออกหนังสือรับรองระดับฝมือ ความรู ความสามารถ และทัศนคติในการทํางานของผูประกอบอาชีพ

2. ประเทศไทยยังไมมีองคกรหลักที่รับผิดชอบดําเนินงานพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ

2. มีกระทรวงแรงงานเปนองคกรบริหารดานแรงงานทั้งระบบ โดย - กรมการจัดหางาน มีภารกิจในการจัดประเภท ก ลุ ม อ า ชี พ เ รี ย ก ว า “ม า ต ร ฐ านอ า ชี พ ”(Occupational Standard) ซ่ึงสอดคลองกับการกําหนดมาตรฐานอาชีพสากล (International ) และสงเสริมการมีงานทําทั้งในและตางประเทศ โดยการประสานระหวางความตองการของนายจางและผูประสงคหางานทํา หากมีทักษะฝมือหรือคุณสมบัติไมสอดคลองกับความตองการของตําแหนงงาน จะประสานสงใหกรมพัฒนาฝมือแรงงานดําเนินการพัฒนาศักยภาพใหสอดคลองซึ่งจะจัดทําหรือพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการและทําการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานเพื่อรับรองระดับฝมือ ความรู ความสามารถ และทัศคติในการทํางานตามขอกําหนดของมาตรฐานฝมือแรงงาน และสงกลับกรมการจัดหางานเพื่อบรรจุงานตอไป

- กรมพัฒนาฝมือแรงงาน มีภารกิจในการประสานสมาคม /องคกรอาชีพ หนวยงานเกี่ยวของภาครัฐและเอกชน รวมถึงนักวิชาการ ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน เพื่อเสนอแตงตั้งจัดทํามาตรฐาน”มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ”

Page 24: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

83

สถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาต ิ(Skills Standard)รับรองมาตรฐานฝมือแรงงานของสถานประกอบกิจการหรือหนวยงานและดํา เนินการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ หรือรับรอง/อนุญาตใหสถานประกอบกิจการ/ภาคเอกชนตั้ง “ศูนยทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน”เพื่ อดํ า เนินการทดสอบตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติหรือมาตรฐานฝมือแรงงานที่ผานการรับรองใหแกแรงงานหรือบุคคลที่ประสงคจะเขารับการทดสอบ และออกหนั ง สื อ รั บ รอ ง ให แ ก ผู ที่ มี ฝ มื อ คว าม รู ความสามารถ และทัศนคติในการทํางานผานเกณฑมาตรฐานฝมือแรงงานแตละระดับของตําแหนงงานหรืออาชีพ นอกจากนั้นยังจัดทําหลักสูตรการพัฒนาฝมือแรงงานที่สอดคลองกับมาตรฐานฝมือแรงงาน เพื่ อทํ าการพัฒนายกระดับฝมือ ศักยภาพรวมถึงการบริหารจัดการหรือเทคโนโลยีที่ทันสมัย ซ่ึงเปนการยกระดับขีดความสามารถในคุณภาพของแรงงานเพื่อการแขงขันของประเทศ

- กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน มีภารกิจดานการกํากับดูแล ระบบคาจางคาตอบแทน เวลาทํางานและสวัสดิการ ความปลอดภัยในการทํางาน ตลอดจนแรงงานสัมพันธที่ทําใหนายจางและลูกจางมีความเขาใจทํางานรวมกันอยางมีความสุขและมีความเปนธรรม โดยเปนไปตามกฎหมาย ซ่ึงถือเปน “มาตรฐานแรงงาน” (Labor Standard)

Page 25: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

84

สถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาต ิ

- กลุมงานพัฒนาระบบรายไดและคาจางขั้นต่ํา มีภารกิจหนาที่ในการประสานสมาคม/องคกรอาชีพและหนวยงานเกี่ยวของเพื่อแตงตั้งในรูปคณะกรรมการทั้งสวนกลางและรายจังหวัดหรือตามกลุมอุตสาหกรรม/กลุมอาชีพ เพื่อทําหนาที่ในการวิเคราะหอัตราคาจางขั้นต่ําหรือ “อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ” ของแตละอาชีพ โดยกําหนดเปนชวงระยะขั้นต่ําและขั้นสูง ในแตละตําแหนงงานตามขอกําหนดของมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ และทําการประกาศใชบังคับตามกฎหมาย “พ.ร.บ.คุมครองแรงงาน พ.ศ.2551 ฉบับที่ 3)”

3. บริหารจัดการเปนหนวยงานรับรององคกรก ลุ ม อ า ชี พ ให ส า ม า ร ถป ร ะ เ มิ น ค ว า ม รู ความสามารถแกผูประกอบอาชีพ

3. กรมพัฒนาฝมือแรงงาน โดยสํานักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝมือแรงงาน เปนหนวยรับรองและอนุญาตการขอตั้งเปน”ศูนยทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน” ตามหลัก เกณฑที่คณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน (พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ.2545) กําหนด และขอตั้งเปน “สถานทดสอบฝมือแรงงานเพื่อไปทํางานตางประเทศ” ตามหลักเกณฑของ พ.ร.บ.จัดหางาน พ.ศ.2528) โดยศูนยทดสอบฯ และสถานทดสอบฯ ดังกลาวทําหนาที่ทดสอบและออกหนังสือรับรองแกผูที่ ผานเกณฑที่มาตรฐานฝมือแรงงานกําหนด

Page 26: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

85

สถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาต ิ4 . แรงงานที่ อ ยู นอกระบบการศึ กษาที่ มีประสบการณในการทํางาน มีองคกรประเมินสมรรถนะเพื่อยกระดับความสามารถจากการศึกษาหรือการฝกอบรมเพิ่มเติมตรงกับความตองการของสถานประกอบกิจการ

4. การประเมินสมรรถนะของประสบการณในการทํ า ง าน สามารถใช วิ ธี ก าร “ทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน” ซ่ึงขอกําหนดมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติหรือมาตรฐานฝมือแรงงานของสถานประกอบกิจการที่ผานการรับรองแลว จัดทําขึ้นตามสมรรถนะการทํางานของแตละตําแหนงงานจริง

5. สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพเปนสถาบันเชื่อมโยงระหวาง โลกของการศึกษากับโลกของการทํางาน

5.สามารถใชขอกําหนดและเกณฑของมาตรฐานฝมือแรงงานเปนเครื่องมือในการเชื่อมโยงระหวางระบบการศึกษาและระบบการบริหารแรงงานได เนื่องจากมาตรฐานฝมือแรงงานเปนขอกําหนดที่จัดทําโดยกลุมสมาคม/องคกรอาชีพ หนวยงานเกี่ยวของ นักวิชาการ/ผูชํานาญการเฉพาะ และนักการศึกษา ซ่ึงใชขอมูลความตองการหรือการปฏิบัติงานจริงในการทํางานมากําหนดเปนมาตรฐานฝมือแรงงาน ระบบการศึ กษาสามารถนํ าข อกํ าหนด

มาตรฐานฝมือแรงงานจัดทํา เปนหลักสูตรการศึกษา เพื่อพัฒนากําลังแรงงานที่กําลังจะเปนแ ร ง ง าน ใหม ข อ งป ร ะ เ ท ศ ให มี ค ว า ม รูความสามารถสอดคลองกับมาตรฐานฝมือแรงงานที่ตรงกับความตองการของสถานประกอบกิจการ ซ่ึ งสวนใหญการกํ าหนดมาตรฐานฝมือแรงงานจะมีนักการศึกษาจากคณะกรรมการอาชีวศึกษารวมดําเนินการอยูแลว

Page 27: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

86

3. ประเด็นซ้ําซอน”ดานบรหิารจัดการและการดําเนินงาน“ สถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาต ิ

1. จัดตั้งในรูปแบบองคการมหาชนขนาดเล็ก สังกัด สํานักนายกรัฐมนตรี เพื่อลดปญหาการดําเนินการพัฒนากําลังคนใหมีสมรรถนะตามมาตรฐานอาชีพที่มีความลาชา ที่เกิดจากความไมยืดหยุนของกฎระเบียบราชการและความซํ้าซอนของความรับผิดชอบ

1. มีสํานักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝมือแรงง าน กรมพัฒนาฝ มื อแรงงาน สั งกั ดกระทรวงแรงงาน ดําเนินการอยูแลว ขอสังเกต - การจัดตั้งหนวยงานใหม เปนการลงทุนทั้งคาเชาหรือกอสรางสถานที่ คาครุภัณฑและอุปกรณการปฏิบัติ คาจางบุคลากรใหม ทําใหส้ินเปลืองงบประมาณ - การจัดตั้งเปนองคการมหาชน ซ่ึงตองบริหารคาใชจายใหสามารถจัดการหนวยงานของตนเองได ซ่ึงที่มาของรายไดมาจากผูใชบริการ คือ แรงงานที่ประสงคขอรับรองคุณวุฒิ ดังนั้น การกําหนดคาใชจายอาจอยูในเกณฑสูง ทําใหแรงงานฝมือซ่ึงมีรายไดต่ําอาจขาดโอกาสในการเขาถึงบริการ - การตั้งหนวยงานสังกัด สํานักนายกรัฐมนตรี ซ่ึงเปนหนวยงานที่ไมมีภารกิจที่เกี่ยวของ อาจเปนปญหาอุปสรรคและไมอาจใชประสบการณใหเปนประโยชนตอการบริหารจัดการดานการพัฒนาทักษะฝมือแรงงาน - การใหเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ทําหนาที่ผูอํานวยการเปนการชั่วคราว อาจเปนปญหาอุปสรรค เนื่องจากหนวยงานไมมีภารกิจเกี่ยวของและไมมีประสบการณการบริหารจัดการดานแรงงาน อีกทั้งเลขาฯ หรือผูแทนเลขาฯ ตางก็มีภารกิจตามกฎหมายอื่นมากอยูแลว จะไมสามารถอุทิศเวลาใหอยางเพียงพอ

Page 28: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

87

สถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาต ิ

แนวทางแกไข แยกหนวยงานกลุมทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน สํานักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝมือแรงงาน ออกจัดตั้งเปน “สถาบันประเมินและรับรองมาตรฐานฝมื อแรงงาน ” โดย เปนหน ว ย ง านบริห ารรู ปแบบพิ เ ศษ ( Service Delivery Unit : SDU)

2. มีคณะกรรมการบริหารสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ จํานวน 11 คน เปนภาคเอกชนในสัดสวนรอยละ 60 ภาครัฐรอยละ 40 โครงสรางสวนงานมีผูอํานวยการ รองผูอํานวยการ และมีอัตรากําลังเจาหนาที่ 20 คน

2. มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ บริหารภายใต พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ.2545 โดยมีคณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน ประกอบดวย ผูแทนองคกรอาชีพ ผูแทนนายจาง ผูแทนลูกจาง ผูแทนหนวยงานภาครัฐและผูทรงคุณวุฒิดานแรงงาน ทําหนาที่ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร โ ด ย ก า ร แ ต ง ตั้ งคณะอนุกรรมการเฉพาะเรื่องขึ้น เพื่อจัดทํา พิจารณา และนําเสนอขอความเห็นชอบ สําหรับอัตรากําลังเจาหนาที่ของหนวยงานรับผิดชอบ คือ สํานักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝมือแรงงาน ซ่ึงทําหนาที่ฝายเลขานุการคณะอนุ ก รรมการ และฝ า ยบริ ห า รห รือประสานงาน มีจํานวน 75 คน และมีอัตรากําลังเจ าหนาที่ประจํ าหนวยปฏิบัติการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานของทุกจังหวัดๆละไมนอยกว า 5 คน จึ งมีความพรอมมากกว าหน ว ย ง านใหม และหากได รั บก ารปรั บโครงสรางที่เหมาะสม สามารถรับรองตอภารกิจและพันธกิจไดทันที

Page 29: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

88

4. ประเด็นซ้ําซอน”ดานบทบาท หนาท่ีและการดําเนินงาน” สถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาต ิ

1. บทบาทภารกิจ หนาที่ 1)พัฒนาระบบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ 2)การรับรองหนวยงานประเมินสมรรถนะของบุคคล รวมทั้งผูที่จะเปนผูประเมิน 3) วิจัยพิจารณาเพื่อพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ 4) ศูนยกลางขอมูลระบบคุณวุฒิวิชาชีพ และมาตรฐานอาชีพ และประสานการพัฒนามาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพกับเครือขายนานาชาติ 5) ติดตามประเมินผลเพื่อใหการดําเนินการเปนไปตามวัตถุประสงค โปรงใส ยุติธรรม 6) สงเสริม สนับสนุน และประสานความรวมมือกับสถานการศึกษา สถานฝกอบรม สถานประกอบกิจการ หนวยงานของรัฐ และองคกรเอกชน ในการเผยแพรระบบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานอาชีพ

1. บทบาท ภารกิจของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน มีดังนี้

1.1 พระราชกฤษฎีการแบงสวนราชการ กําหนดบทบาทใหกรมพัฒนาฝมือแรงงาน มีภาระหนาที่ในการพัฒนามาตรฐานฝมือแรงงานใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล และสงเสริมการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานและการแขงขันฝมือแรงงาน

1.2 พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ.2545 หมวด 2 เร่ืองมาตรฐานฝมือแรงงาน โดยมีการกําหนดใหมีการรับรองหนวยงานเปนศูนยทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน และผูที่จะเปนคณะกรรมการประเมินการทดสอบตองมีคุณสมบัติผานการฝกอบรมและขึ้นทะเบียนเปนผูไดรับอนุญาตเปนคณะกรรมการประเมินการทดสอบแตละสาขาอาชีพ

1.3 การกําหนดมาตรฐานฝมือแรงงานใหมในแตละสาขานั้น ตองผานกระบวนการสํารวจความจําเปน ความตองการ และความเหมาะสมจากสถานประกอบกิจการ องคกรอาชีพ หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหเกิดการยอมรับในสาขาอาชีพหรือตําแหนงงานที่จะทําการจัดทํามาตรฐานฝมือแรงงานขึ้น 1.4 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน มีฐานขอมูลของจํ านวนและรายชื่ อของผู ผ านการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานในระดับฝมือตางๆ มีคลังขอสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน เพื่อใชสําหรับการสุมเลือกใชขอสอบสําหรับการทดสอบ

Page 30: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

89

สถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาต ิ มาตรฐานฝมือแรงงาน

นอกจากนั้นประเทศไทย โดยกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รวมมือประเทศกลุมอาเซียน จัดทํามาตรฐานฝมือแรงงานอาเซียน (Regional Model Competency Standard : RMCS) เพื่อใชเปนเครื่องมือประเมินฝมือแรงงานสําหรับการเคลื่อนยายแรงงานระหวางกลุมประเทศอาเซียน ป 2015 โดยมีองคการแรงงานระหวางประเทศ (International Labor Organization : ILO) เปนหนวยงานหลักในการประสานดําเนินการ

2. แนวทางการดําเนินงาน 2.1 เปาประสงค : พัฒนาสมรรถนะของบุคคลสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการ 2.2 ผลผลิต - มีระบบคุณวุฒิวิชาชีพ - มีมาตรฐานอาชีพ - มีหนวยประเมินสมรรถนะบุคคล - มีศูนยขอมูล - มีเครือขายการพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ - มีองคความรูเพื่อการพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ 2.3 ผลลัพธ - กําลังแรงงานมีสมรรถนะสอดคลองความตองการของผูประกอบการ - มีเสนทางอาชีพชัดเจน - คาตอบแทนที่เหมาะสมกับสมรรถนะ

2. แนวทางการดําเนินงานของมาตรฐานฝมือแรงงาน มีดังนี้

2.1 การจัดทํามาตรฐานฝมือแรงงานแตละสาขาเกิดขึ้นจากการสํารวจความตองการของสถานประกอบกิจการ สมาคม/องคกรอาชีพ และสอดคลองกับมาตรฐานฝมือแรงงานของประ เทศต างๆ และดํ า เนินการจัดทํ า โดยคณะอนุกรรมการที่ไดรับการแตงตั้ง ดําเนินการมีขั้นตอน ดังนี้

1) กําหนดชื่อสาขาที่จัดทํามาตรฐานฝมือแรงงาน โดยขออนุมัติใหความเห็นชอบจากคณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน

2) แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการจัดทํามาตรฐานฝมือแรงงาน

3) ยกรางขอกําหนดมาตรฐานฝมือแรงงาน โดยใชขอมูลความตองการของสถานประกอบกิจการ และขอมูลมาตรฐานฝมือแรงงานของตางประเทศ

Page 31: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

90

สถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาต ิ2.4 มียุทธศาสตรการดําเนินงาน

4) คณะอนุกรรมการพิจารณา สงใหสถานประกอบกิจการ หรือหนวยงานเกี่ ยวของพิจารณา และใหคําแนะนํา

5) จัดทําแบบทดสอบตามขอกําหนดมาตรฐานฝมือแรงงาน โดยแบงเปนภาคทฤษฎีเพื่อวัดความรู และภาคปฏิบัติเพื่อวัดประสบการณการทํางาน และทัศคติในการปฏิบัติงาน

6 ) จัดทดลองแบบทดสอบเพื่ อหาความเที่ยงตรงและความเหมาะสม

7) เสนอขอกําหนดมาตรฐานฝมือแรงงาน และแบบทดสอบใหคณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงานพิจารณาอนุมัติ และสงลงในราชกิจจานุเบกษา

8) พัฒนาคณะอนุกรรมการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานจากผูเชี่ยวชาญในสาขาอาชีพจากสถานประกอบกิจการและหนวยงานที่เกี่ยวของ โดยการเขารับการฝกอบรม เพื่อทําความเขาใจในมาตรฐานฝมือแรงงาน และวิธีใหหรือตัดคะแนนของแบบทดสอบ ผูผานการฝกอบรมประสงคจะเปนอนุกรรมการทดสอบตองขึ้นทะเบียนและรับรหัสประจําตัว 2.2 คณะอนุกรรมการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานที่ไดรับอนุญาตจะมีสิทธิเปนกรรมการทดสอบในสาขาที่ กํ าหนด เท านั้ น และมีร ะ ย ะ เ ว ล าก า รอนุญ าตห ากประสงค จ ะดําเนินการตอ จะตองยื่นเพื่อประเมินและตออายุการเปนคณะอนุกรรมการใหม ตามระยะเวลา

Page 32: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

91

สถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาต ิ2.3 เสนทางความกาวหนา กําหนดมาตรฐานฝมือแรงงานเปนระดับ โดยผูเขารับการทดสอบสามารถใชประสบการณการทํางาน เขารับการทดสอบตามระดับฝมือตั้งแตขั้นตน กลาง และสูง 2.4 การกําหนดอัตราคาจาง คาตอบแทนที่เหมาะสม อาศัย พ.ร.บ.คุมครองแรงงาน พ.ศ.2551 (ฉบับที่ 3 ) ซ่ึงกําหนดใหคณะกรรมการคาจาง ดําเนินการกําหนดอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ ซ่ึงมีความชัดเจนของอัตราคาจางในแตละระดับ แตละอาชีพ หรือแตละตําแหนงงาน เปนการจูงใจทําใหผูประกอบอาชีพไดพัฒนาศักยภาพ ตามมาตรฐานฝมือแรงงานในระดับที่สูงกวา เพื่อจะไดรับคาจางที่สูงกวา และสงผลตอการพัฒนาคุณภาพฝ มื อแรง ง านรองรั บก าร เพิ่ มขี ดความสามารถในการแขงขันของประเทศได

Page 33: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

92

ตารางที่ 1 การเปรียบเทยีบประเด็นความหมายและวัตถุประสงค ตามพระราชบัญญัติทั้ง 3 ฉบับ

พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ พ.ศ……. กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คุณวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ

(โดย สํานักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ) นิยามศัพท มาตรา 5

1. มาตรฐานฝมือแรงงาน หมายความวา ขอกําหนดทางวิชาการที่ใชเปนเกณฑวัดระดับฝมือ ความรู ความสามารถ และทัศนคติในการทํางานของผูประกอบอาชีพในสาขาตางๆ

2. การทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน หมายความวา การทดสอบฝมือ ความรู ความสามารถและทัศนคติในการทํางานของผูประกอบอาชีพตามเกณฑกําหนดของมาตรฐานฝมือแรงงาน

นิยามศัพท มาตรา 3

1. การประเมิน หมายความวา การพิจารณาและวัดคาทักษะฝมือ ความรู ความสามารถ ศักยภาพและประสบการณหรือความสําเร็จในการประกอบอาชีพในระดับตางๆ ตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด

2. การรับรองความสามารถ หมายความวาการรับรองความสามารถในการประกอบอาชีพของบุคคลที่ผานการประเมินในแตละระดับตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด

3. หนังสือรับรองความสามารถ หมายความวา หนังสือที่ใชแสดงถึงความสามารถของบุคคลที่ผานการประเมินในการประกอบอาชีพในแตละระดับ

นิยามศัพท มาตรา 3

1. คุณวุฒิวิชาชีพ หมายความวา การรับรองความรู ความสามารถ และทักษะของบุคคลในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานอาชีพ

2. มาตรฐานอาชีพ หมายความวา การกําหนดระดับสมรรถนะของบุคคลในการประกอบอาชีพ

3. สมรรถนะ หมายความวา ความรู ทักษะและความสามารถในการประยุกตใชความรู และทักษะเพื่อการประกอบอาชีพในแตละสภาวะแวดลอมของการทํางาน

Page 34: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

93

ตารางที่ 1 การเปรียบเทยีบประเด็นความหมายและวัตถุประสงค ตามพระราชบัญญัติทั้ง 3 ฉบับ(ตอ)

พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ พ.ศ……. กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คุณวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ

(โดย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ)

วัตถุประสงค (ตามคํานําในกฎหมายสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงานที่จัดทําโดย กรมสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน 16 ก.ค.50)

เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดการพัฒนาฝมือแรงงานในภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการของประเทศ โดยมีมาตรการจูงใจดานภาษีอากรและสิทธิประโยชนดานตางๆ ในการสนับสนุนใหภาคเอกชน เขามามีสวนรวมในการพัฒนาฝมือแรงงานมากยิ่งขึ้น และใหมีการจัดตั้งกองทุนพัฒนาฝมือแรงงานเพื่อเปนทุนหมุนเวียนสําหรับใชจายเกี่ยวกับการสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน

วัตถุประสงค / หลักการและเหตุผล โดยที่เห็นสมควรใหมีการสงเสริมสนับสนุนและกํากับดูแลการ

ประกอบอาชีพใหมีเกียรติภูมิ และศักดิ์ศรี คุมครองและพัฒนาผูประกอบอาชีพ และผูปฎิบัติงานใหมีความสามารถในการประกอบอาชีพไดอยางมีคุณภาพ มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน สรางความมั่นใจใหแกผูลงทุน ในเรื่องความพรอมของกําลังแรงงาน สรางความมั่นใจในสินคาหรือบริการใหแกผูบริโภค ตลอดจนสงเสริมคุณภาพการประกอบอาชีพใหมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขงขันทางเศรษฐกิจกับนานาอารยประเทศ โดยการจัดใหมีการบันทึกประสบการณของบุคคล การรับรองความสามารถของบุคคล กําหนดใหการประกอบอาชีพในบางสาขาอาชีพหรือตําแหนงงานตองดําเนินการโดยผานการรับรองความสามารถ การจัดตั้งกองทุนสงเสริมการประกอบอาชีพ และการสงเสริมสนับสนุนใหบุคคลและสถานประกอบกิจการ มีความตองการในการพัฒนาตนเองและบุคลากรใหมีความสามารถในการประกอบอาชีพ จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

วัตถุประสงค (มาตรา 7) เพื่ อดํ า เนินการพัฒนามาตรฐานคุณ วุ ฒิ วิชา ชีพ

สงเสริมใหกลุมอาชีพพัฒนามาตรฐานอาชีพ โดยสถาบันใหการรับรองหนวยประเมินสมรรถนะของบุคคล และผูที่จะเปนผูประเมิน รวมทั้งเปนศูนยกลางความรวมมือการพัฒนาคุณวุฒิวิชาชีพในระดับชาติและระดับนานาชาติ ทั้งนี้สถาบันจะดําเนินการติดตามประเมินผล เพื่อใหการดําเนินการเปนไปดวยความโปรงใส ยุติธรรม เพื่อใหการพัฒนาสมรรถนะของบุคคลมีการดําเนินการอยางมีมาตรฐานสอดคลองกับความตองการของผูประกอบการ ทําใหเพิ่มประสิทธิภาพในการแขงขันและการพัฒนากําลังคนของประเทศ

Page 35: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

94

ตารางที่ 2 การเปรียบเทยีบประเด็นในพระราชบัญญัติแตละฉบับทีม่ีการดําเนนิการและมีความซ้ําซอนโดยตีความในแตละมาตรา

ประเด็นใน พ.ร.บ.ที่มีการดําเนินการ พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คุณวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (โดย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ – สศช.)

มีกระบวนการที่ทําใหผูรับการฝกและประชากรวัยทํางานมีฝมือ ความรู ความสามารถ จรรยาบรรณแหงวิชาชีพและทศันคติที่ดีเกีย่วกับการทํางาน

มาตรา 5 √

มีการฝกเตรียมเขาทํางาน อบรมฝมือแรงงานกอนเขาทํางานเพื่อใหสามารถทํางานไดตามมาตรฐานฝมือแรงงาน

มาตรา 5 √

มีการฝกยกระดับฝมือแรงงาน โดยผูประกอบกิจการซึ่งเปนนายจาง จดัใหลูกจางไดฝกอบรมฝมือแรงงานเพิ่มเติมในสาขาอาชีพที่ลูกจางไดปฏิบัติงานอยูตามปกต ิ

มาตรา 5 √

มีการฝกเปลี่ยนสาขาอาชีพ โดยผูประกอบกิจการซึ่งเปนนายจางจัดใหลูกจางไดฝกอบรมฝมือแรงงานเพิ่มเติมในสาขาอาชีพอื่นที่ลูกจางมิไดปฏิบัติงานอยูตามปกต ิ

มาตรา 5 √

Page 36: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

95

ตารางที่ 2 การเปรียบเทยีบประเด็นในพระราชบัญญัติแตละฉบับทีม่ีการดําเนนิการและมีความซ้ําซอนโดยตีความในแตละมาตรา (ตอ)

ประเด็นใน พ.ร.บ.ที่มีการดําเนินการ พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คุณวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (โดย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ – สศช.)

มีหลักสูตรไดแก หวัขอวิชา เนื้อหา และวิธีการดําเนินการฝกอบรมฝมือแรงงาน

มาตรา 5 √

มีผูดําเนินการฝก คือ ผูซึ่งจัดใหมีการฝกอบรมฝมือแรงงานตามหลักสูตรและรายละเอียดเกี่ยวกับการฝกอบรมฝมือแรงงานที่นายทะเบียนไดพิจารณาใหความเหน็ชอบตามพ.ร.บ.นี ้

มาตรา 5 √

มีครูฝกคือผูซึ่งทําหนาที่ฝกอบรมฝมือแรงงานใหแกผูรับการฝก

มาตรา 5 √

มีสถานที่ฝก คือเปนสถานที่ที่ผูดําเนินการฝกจัดใหมีการฝกอบรมฝมือแรงงานใหแกผูรับการฝก

มาตรา 5 √

มีศูนยฝกอบรมฝมือแรงงานคือสถานที่ฝกที่ไดจัดไวเปนสัดสวนแยกจากหนวยประกอบกิจการ

มาตรา 5 √

จัดทํารายละเอียดเกี่ยวกับการฝก วิธีการ และมาตรฐานในการวัดผลการฝก

มาตรา 8 √

Page 37: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

96

ตารางที่ 2 การเปรียบเทยีบประเด็นในพระราชบัญญัติแตละฉบับทีม่ีการดําเนนิการและมีความซ้ําซอนโดยตีความในแตละมาตรา (ตอ)

ประเด็นใน พ.ร.บ.ที่มีการดําเนินการ พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คุณวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (โดย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ – สศช.)

จัดทําขอบังคับหรือระเบียบการฝกเปนภาษาไทย มีการทําสัญญาการฝกเปนหนงัสือกับผูรับการฝก

มาตรา 10 มาตรา 11 √

จัดทําทะเบียนประวัติผูรับการฝกไวเปนหลักฐาน มาตรา 12 √

ใหมีระบบการบันทึกประสบการณในสมุดประจําตัว

มาตรา 3 มาตรา15 มาตรา 16 √

หามมิใหผูดาํเนินการฝกเรยีกหรือรับเงินคาฝกอบรมหรือคาตอบแทนในลักษณะใดๆอันเกี่ยวกับการฝกจากผูรับการฝก

มาตรา 15 √

ใหสิทธิและประโยชนแกผูดาํเนินการฝกตามหมวด 4 ใน พ.ร.บ.

มาตรา 33 √

ผูดําเนินการฝกอาจรับนักเรียน นิสิต นักศึกษาที่สถานศึกษาสงเขารับการฝกตามหลักสูตรของสถานศึกษา หลักสูตรของผูดําเนินการฝก หรือหลักสูตรที่รวมกันจัดทํา

มาตรา 18 √

Page 38: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

97

ตารางที่ 2 การเปรียบเทยีบประเด็นในพระราชบัญญัติแตละฉบับทีม่ีการดําเนนิการและมีความซ้ําซอนโดยตีความในแตละมาตรา (ตอ)

ประเด็นใน พ.ร.บ.ที่มีการดําเนินการ พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คุณวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (โดย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ – สศช.)

ใหคณะกรรมการจัดทํามาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติในสาขาอาชีพตางๆเสนอรัฐมนตรีเพื่อใหความเห็นชอบ ดําเนินการพัฒนามาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ

มาตรา 22 มาตรา 39 √ มาตรา 7 √

มีขอกําหนดทางวิชาการที่ใชเปนเกณฑวัดระดับฝมือความรู ความสามารถ และทัศนคติในการทํางานของผูประกอบอาชีพในสาขาตางๆ

มาตรา 5 √

จัดใหมีการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานและสงเสริมใหมีผูทดสอบมาตรฐานฝมือแรงาน

มาตรา 23 มาตรา 24 √ มาตรา 3 √

มีการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน โดยทดสอบฝมือความรู ความสามารถ ทัศนคติวัดทักษะ ศักยภาพ และประสบการณ หรือความสําเร็จ ในการทํางานหรือการประกอบอาชีพของผูประกอบอาชีพตามเกณฑกําหนดของมาตรฐานฝมือแรงงาน

มาตรา 5 มาตรา 26 √ มาตรา 3 √

Page 39: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

98

ตารางที่ 2 การเปรียบเทยีบประเด็นในพระราชบัญญัติแตละฉบับทีม่ีการดําเนนิการและมีความซ้ําซอนโดยตีความในแตละมาตรา (ตอ)

ประเด็นใน พ.ร.บ.ที่มีการดําเนินการ พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คุณวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (โดย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ – สศช.)

มีผูดําเนินการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานซึ่งเปนผูไดรับอนุญาต หรือไดรับการรับรองใหดําเนินการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานหรือมาตรฐานอาชีพ

มาตรา 5 √ มาตรา 8 มาตรา 21 มาตรา37 √

มีผูทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานซึ่งเปนผูที่ทําหนาที่ทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานใหแกผูเขารับการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน มีผูประเมินซึ่งขึ้นทะเบียนใหทําหนาที่ประเมินผูขอรับรองความสามารถ

มาตรา 5 √ มาตรา 3 √ มาตรา 21 √

มีศูนยทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน มาตรา 39 √

มีศูนยประเมินความสามารถกลาง มาตรา 18 มาตรา 19 มาตรา 20 √

มีระบบการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงาน และพัฒนาระบบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ

มาตรา 26 √ มาตรา 8 √

Page 40: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

99

ตารางที่ 2 การเปรียบเทยีบประเด็นในพระราชบัญญัติแตละฉบับทีม่ีการดําเนนิการและมีความซ้ําซอนโดยตีความในแตละมาตรา (ตอ)

ประเด็นใน พ.ร.บ.ที่มีการดําเนินการ พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คุณวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (โดย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ – สศช.)

มีกองทุนพัฒนาฝมือแรงงาน เพื่ อ เปนทุนหมุนเวียนสําหรับใชจาย เกี่ยวกับการสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงานโดยไมตองนํ าส งกระทรวงการคลังตามกฎหมาย มีกองทุนสงเสริมการประกอบอาชีพ เพื่อเปนแหลงเงินทุนใหแกผูผานการรับรอง มีกองทุนพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ

มาตรา 5 มาตรา 27 √ มาตรา 28 มาตรา 29 มาตรา 9 มาตรา 14 √

มีการแตงตั้งคณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน คณะกรรมการส ง เสริมการประกอบอาชีพ คณะกรรมการบริหารสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ

มาตรา 5 มาตรา 38 √ มาตรา 3 √ มาตรา 16 มาตรา 25 √

มี อํ านาจประกาศกํ าหนดสาขาอาชีพที่ จะสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงานหรือจัดทํามาตรฐานอาชีพ

มาตรา 7 √ มาตรา 21 √

Page 41: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

100

ตารางที่ 2 การเปรียบเทยีบประเด็นในพระราชบัญญัติแตละฉบับทีม่ีการดําเนนิการและมีความซ้ําซอนโดยตีความในแตละมาตรา (ตอ)

ประเด็นใน พ.ร.บ.ที่มีการดําเนินการ พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คุณวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (โดย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ – สศช.)

ออกระเบียบหรือประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน ออกประกาศเกี่ยวกับการบริการงานทั่วไปขอบเขตหนาที่

มาตรา 39 √ มาตรา 10 มาตรา 21 √

กําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงานหรือการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ

มาตรา 39 √ มาตรา 36 √

สงเสริมใหผูประกอบกิจการหรือผูจางงานใชผูผานการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน ผูผานการรับรองความสามารถเปนผูปฏิบัติงานในงานตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด

มาตรา 39 √ มาตรา 26 √

ติดตามผลการพัฒนาฝมือแรงงาน ติดตามผลและประเมินผลเพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามวัตถุประสงค โปรงใส ติดตามได

มาตรา 39 √ มาตรา 8 √

Page 42: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

101

ตารางที่ 2 การเปรียบเทยีบประเด็นในพระราชบัญญัติแตละฉบับทีม่ีการดําเนนิการและมีความซ้ําซอนโดยตีความในแตละมาตรา (ตอ)

ประเด็นใน พ.ร.บ.ที่มีการดําเนินการ พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คุณวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (โดย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ – สศช.)

สงเสริมสนับสนุนใหมีการประสานงานและมีสวนรวมระหวางภาครัฐ กลุมอุตสาหกรรม องคกรอาชีพ และเอกชนในการพัฒนาฝมือแรงงาน การใชทรัพยากรรวมกัน การกําหนดและพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ การรับรองความสามารถ

มาตรา 39 √ มาตรา 10, มาตรา 18 √ มาตรา 8, มาตรา 14 √

มีนายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจในการออกหนังสือหรือคําสั่งเรียกผูที่เกี่ยวของมาใหถอยคําตรวจตรา สถานที่ฝก ศูนยฝกอบรม ศูนยทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน ใหคําแนะนํา สั่งแกไข เพิกถอนผูดําเนินการเพิกถอนใบอนุญาตผูดําเนินการฝก หรือผูดําเนินการทดสอบมาตรฐานฝมือ แรงงาน ทั้งนี้ใหสามารถอุทธรณได

มาตรา 45 มาตรา 46 มาตรา 47 √

มาตรา 48 มาตรา 49 มาตรา 50

มาตรา 51

มาตรา 3 มาตรา 31 √

สงเสริมใหมีการแขงขันฝมือแรงงาน มาตรา 39 √

Page 43: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

102

ตารางที่ 2 การเปรียบเทยีบประเด็นในพระราชบัญญัติแตละฉบับทีม่ีการดําเนนิการและมีความซ้ําซอนโดยตีความในแตละมาตรา (ตอ)

ประเด็นใน พ.ร.บ.ที่มีการดําเนินการ พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คุณวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (โดย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ – สศช.)

เก็บ เอกสารหลักฐานของผู ยื่นคํ าขอรับรองความสามารถและผลการพัฒนาของผูประเมินไวเพื่อการตรวจสอบของพนักงาน เจาหนาที่ เก็บเอาไวไมนอยกวา 2 ป

มาตรา 24 √

ใหศูนยประเมินความสามารถรายงานผลการดําเนินงานใหนายทะเบียนทราบตามหลักเกณฑและแบบที่คณะกรรมการกําหนด

มาตรา 25 √

ใหมีระบบรับรองความสามารถในแตละสาขาอาชีพโดยสงเสริมสนับสนุนและจัดใหมีการประเมินและออกหนังสือรับรองความสามารถและมาตรฐานอาชีพ, ใหประกาศนียบัตรคุณวุฒิวิชาชีพ

มาตรา 13 มาตรา 22 มาตรา 26 √ มาตรา 3 มาตรา 18 √ มาตรา 7 มาตรา 9 มาตรา 36 √

มาตรา 38

ใหมีการจําแนกและกําหนดระดับความสามารถของผูประกอบอาชีพและประเมินชวงอัตราคาจางที่เหมาะสมกับระดับความสามารถ

Page 44: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

103

ตารางที่ 2 การเปรียบเทยีบประเด็นในพระราชบัญญัติแตละฉบับทีม่ีการดําเนนิการและมีความซ้ําซอนโดยตีความในแตละมาตรา (ตอ)

ประเด็นใน พ.ร.บ.ที่มีการดําเนินการ พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คุณวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (โดย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ – สศช.)

ใหการประกอบอาชีพในบางสาขาอาชีพตองดําเนินการโดยผูผานการรับรองความสามารถเชนงานที่อันตรายตอสาธารณะ

มาตรา 30 √

ให สิทธิประโยชนทางด านภาษีและการได รับคําปรึกษาแนะนําแกสถานประกอบกิจการที่จางงานผูผานการรับรองความสามารถและจายคาจางในชวงอัตราคาจางที่กําหนดเพื่อแกปญหาสถานภาพการวางงาน

มาตรา 26 √

ใหสิทธิประโยชนในการใชเครื่องหมายที่แสดงวาเปนสถานประกอบกิจการที่มีการใชผูผานการรับรองความสามารถเพื่อประโยชนในการแขงขันทางธุรกิจ

มาตรา 26 √

ใหสถาบันคุณวุฒิ วิ ช าชีพมี อํ านาจในการถื อกรรมสิทธิ์ มีสิทธิครอบครองและมีทรัพยสินตางๆ กอตั้งสิทธิ หรือนิติกรรมใดๆเกี่ยวกับทรัพยสิน

มาตรา 9 √

Page 45: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

104

ตารางที่ 2 การเปรียบเทยีบประเด็นในพระราชบัญญัติแตละฉบับทีม่ีการดําเนนิการและมีความซ้ําซอนโดยตีความในแตละมาตรา (ตอ)

ประเด็นใน พ.ร.บ.ที่มีการดําเนินการ พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คุณวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (โดย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ – สศช.)

สามารถกูยืมเงินและรวมทุนกับนิติบุคคลในกิจการที่เกี่ยวของกับวัตถุประสงคของสถาบัน

มาตรา 9 √

มีการพัฒนาบุคลากรดานคุณวุฒิวิชาชีพทั้งภาครัฐและเอกชน

มาตรา 14 √

มีองคกรอาชีพที่คณะกรรมการรับรองใหมีสิทธิและหนาที่ในการสงเสริมการประกอบอาชีพตาม พ.ร.บ. รวมทั้งองคกรวิชาชีพตามกฎหมายอื่นดวย

มาตรา 3 √

กําหนดนโยบาย แผนงานและมาตรการในการสงเสริมและกํากับดูแลการประกอบอาชีพ กําหนดนโยบายและแผนยุทธศาสตรการพัฒนาคุณวุฒิวิชาชีพของประเทศ และการบริการงานของสถาบัน

มาตรา 10 √ มาตรา 21 √

Page 46: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

105

ตารางที่ 2 การเปรียบเทยีบประเด็นในพระราชบัญญัติแตละฉบับทีม่ีการดําเนนิการและมีความซ้ําซอนโดยตีความในแตละมาตรา (ตอ)

ประเด็นใน พ.ร.บ.ที่มีการดําเนินการ พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คุณวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (โดย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ – สศช.)

สงเสริม กํากับ ดูแลและพัฒนาความสามารถ ผูประกอบอาชีพใหเกิดทักษะความชํานาญและคุณภาพในการประกอบอาชีพ

มาตรา 10 √

สง เสริม การดํ า เนินการเพื่ อรองรับความ สามารถและการประกอบอาชีพโดยบุคคลที่ไดรับการรับรองความสามารถ

มาตรา 10 √

ทําการศึกษาหาขอมูล วิเคราะห ทําวิจัย และรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับรายละเอียดของอาชีพหรือตําแหนงงานที่มีอยู ในสถานประกอบกิจการ และเก็บรักษาขอมูลดังกลาว ดําเนินการวิจัยพัฒนาเพื่อพัฒนา ระบบคุณวุฒิวิชาชีพ เปดศูนย รักษาขอมูลและประสานกับเครือขายนานาชาติ

มาตรา 14 มาตรา 18 √ มาตรา 8 √

Page 47: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

106

ตารางที่ 2 การเปรียบเทยีบประเด็นในพระราชบัญญัติแตละฉบับทีม่ีการดําเนนิการและมีความซ้ําซอนโดยตีความในแตละมาตรา (ตอ)

ประเด็นใน พ.ร.บ.ที่มีการดําเนินการ พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คุณวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (โดย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ – สศช.)

ผูประกอบกิจการซึ่งประกอบกิจการตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนดตองสงเงินสมทบเขากองทุน

มาตรา 29 มาตรา 30 √

ในการดํา เนินงาน ทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน ศูนยประเมินความสามารถใหเรียกเก็บคาทดสอบ คาธรรมเนียม จากผู เขา รับการทดสอบไดไมเกินอัตราที่คณะกรรมการประกาศกําหนดหรือกฎกระทรวงกําหนด

มาตรา 25 √ มาตรา 23 √ มาตรา 9 มาตรา 21 √

Page 48: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

107

ตารางที่ 2 การเปรียบเทยีบประเด็นในพระราชบัญญัติแตละฉบับทีม่ีการดําเนนิการและมีความซ้ําซอนโดยตีความในแตละมาตรา (ตอ)

ประเด็นใน พ.ร.บ.ที่มีการดําเนินการ พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คุณวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (โดย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ – สศช.)

สาขาอาชีพที่สงเสริม

1. ชางกอสราง มาตรา6 มาตรา7 ประกาศกระทรวง √

2. ชางอุตสาหการ มาตรา6 มาตรา7 ประกาศกระทรวง √

3. ชางเครื่องกล มาตรา6 มาตรา7 ประกาศกระทรวง √

4. ชางไฟฟา,อิเล็กทรอนิกส

และคอมพิวเตอร

มาตรา6 มาตรา7 ประกาศกระทรวง √

5. ชางอุตสาหกรรมศิลป มาตรา6 มาตรา7 ประกาศกระทรวง √

6. ชางเกษตรอตุสาหการ มาตรา6 มาตรา7 ประกาศกระทรวง √

7. ภาคบริการ มาตรา6 มาตรา7 ประกาศกระทรวง √

Page 49: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

108

ตารางที่ 3 เปรียบเทียบผูแทน/ผูเกีย่วของในคณะกรรมการตาม พ.ร.บ.

ผูแทน/ผูเกี่ยวของในคณะกรรมการตาม พ.ร.บ. พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนา ฝมือแรงงาน พ.ศ.2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คณุวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิ

วิชาชพี (โดย สศช.) ปลัดกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม √ √ √

กระทรวงการคลัง √ √

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย √

กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม √

กระทรวงศึกษาธิการ √ √ √

กระทรวงอุตสาหกรรม √ √ √

กระทรวงเกษตรและสหกรณ √

กระทรวงคมนาคม √

กระทรวงพาณิชย √

กระทรวงสาธารณสุข √

Page 50: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

109

ผูแทน/ผูเกี่ยวของในคณะกรรมการตาม พ.ร.บ. พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนา ฝมือแรงงาน พ.ศ.2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คณุวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิ

วิชาชพี (โดย สศช.) สํานักงบประมาณ √

สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน √

การทองเที่ยวแหงประเทศไทย √

กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา √

สภาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวแหงประเทศไทย √

สภาหอการคาแหงประเทศไทย √ √ √

สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย √ √ √

สมาคมธนาคารไทย √ √ √

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ผูทรงคุณวุฒิ √ √ √

Page 51: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

110

ผูแทน/ผูเกี่ยวของในคณะกรรมการตาม พ.ร.บ. พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนา ฝมือแรงงาน พ.ศ.2545 กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.สงเสริมการประกอบอาชีพ กระทรวงแรงงาน

รางพ.ร.บ.คณุวุฒวิชาชีพ คณะกรรมการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิ

วิชาชพี (โดย สศช.) ผูแทนองคกรอาชีพ √

ผูแทนฝายนายจาง √

ผูแทนฝายลูกจาง √

เลขานุการ อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

Page 52: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

111

4.5 ความคิดเห็นของวิทยากรที่อภิปรายในงานสัมมนา

จากการจัดสัมมนาในหัวขอเร่ือง “ระบบการประเมินและรับรองมาตรฐานฝมือแรงงาน เพื่อยกระดับมาตรฐานฝมือแรงงานและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน” ซ่ึงจัดขึ้นเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2552 ณ โรงแรมเซ็นจูร่ี พารค ดินแดง กรุงเทพฯ โดยเชิญผูทรงคุณวุฒิเปนวิทยากรเขารวมการอภิปราย สามารถสรุปผลความคิดเห็นของวิทยากรจากการเขารวมอภิปรายไดดังนี้

สรุปผลการจัดอภิปรายของวิทยากรผูเขารวมสัมมนา

เร่ือง “ระบบการประเมินและรับรองมาตรฐานฝมือแรงงาน เพื่อยกระดบัมาตรฐานฝมือแรงงาน และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขนั”

วันท่ี 3 เมษายน 2552 ณ โรงแรมเซ็นจูร่ี พารค ดนิแดง กรุงเทพฯ

ประเด็นการสัมมนา

1. สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ จัดตั้งขึ้นแลวใครจะไดประโยชน 2. ความซ้ําซอนของสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพกับมาตรฐานฝมือแรงงานเปนอยางไร 3. หนวยงานใดควรเปนเจาภาพหลัก 4. ควรกําหนดเปนนโยบายของรัฐบาลปจจุบันหรือไม

ผูเขารวมอภิปราย

1. นายสุทธิ ผลสวัสดิ์ ผูแทนฝายการศึกษา 2. นายยันยงค คําบรรลือ สํานักงาน ก.พ.ร. 3. รศ.นิพันธ ศิริศักดิ์ ผูแทนสมาคม / องคกรอาชีพ 4. อาจารย ดร.ชัชพล มงคลิก ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 5. ดร.ชุมพล พรประภา ผูแทนจากสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 6. อาจารยดิษฐอัชพณ สูตรสุคนธ ผูดาํเนินการอภิปราย 7. ผูเขารวมสัมมนาจากองคกรตางๆ ทั้งจากภาครัฐและเอกชน รวม 200 คน

Page 53: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

112

สรุปผลการอภิปรายของวิทยากรผูเขารวมสัมมนา นายนคร ศิลปอาชา อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ไดบรรยายพิเศษ เร่ือง ทิศทางการพัฒนาฝมือแรงงาน โดยไดแสดงความคิดเห็นวาจะทําอยางไรใหแรงงานของไทยมี Competency ที่ดี พระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 ซ่ึงแกไขจากพระราชบัญญัติ ป พ.ศ. 2537 ซ่ึงเนนการสงเสริมวิชาชีพ โดยมีภารกิจ 4 ประเภท คือ

1. การฝกอบรม Training ดําเนินการใหกับแรงงานที่จบการศึกษาแลว เพื่อใหคนมีทักษะเพิ่มขึ้น

2. การประเมิน Testing เพื่อประเมินคนงานในเรื่องของความสามารถวาอยูในระดับใด 3. การจัดทํามาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ โดยมีคณะกรรมการเกี่ยวของจากองคกร

ตางๆ เขารวม เพื่อรวมกันกําหนดมาตรฐานฝมือแรงงานทั้งในระดับชาติและใชไดทั่วไป

4. สงเสริมฝมือแรงงาน โดยทําหนาที่คอยใหความสะดวก (Facilitators) เพื่อสนับสนุนภาคเอกชน ซ่ึงเปนองคกรหลักที่เปนผูใชแรงงาน และจายคาตอบแทนใหแกแรงงาน

เมื่อพิจารณาขอบเขตภารกิจงานแลว จะเห็นวากระทรวงศึกษาธิการจะมีบทบาทในการใหความรูทางวิชาการ และมีการออกใบคุณวุฒิรับรอง ในขณะที่กระทรวงแรงงานในขณะนี้ยังไมมีใบรับรองมาตรฐานความสามารถของแรงงาน เพื่อจะไดทําการคัดเลือกแรงงานใชใหเหมาะสมกับงาน หรือการจายคาจางใหเหมาะสมกับงาน ดังนั้น กระทรวงแรงงานจึงไดเสนอรางพระราชบัญญัติการสงเสริมการประกอบอาชีพ ซ่ึงเกี่ยวของกับแรงงานหลายระดับ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหแรงงานที่ทํางานในแตละระดับไดมีมาตรฐานรับรองวาทํางานในแตละสวนไดจริง เชน ชางเชื่อมฝมือควรอยูระดับไหน ซ่ึงผูเกี่ยวของบางสวนเห็นวาไมจําเปนตองออกเปนกฎหมายใหม แตควรเพิ่มเขาไปในกฎหมายฉบับเกาจะเหมาะสมกวา ทางดานสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดเห็นความจําเปนในการกําหนดมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ จึงเสนอรางพระราชบัญญัติคุณวุฒิวิชาชีพ และเสนอโครงการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ โดยใหอยูในกํากับของสํานักนายกรัฐมนตรี และจัดตั้งเปนองคการมหาชน แตก็พบปญหาความซ้ําซอนระหวางกระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงแรงงาน ซึ่งจะตองเชื่อมโยงกันใหไดอยางลงตัว

Page 54: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

113

สภาพปจจุบันของการจางงาน พบวา เมื่อตางชาติเขามาลงทุนในไทยมักจะไมสามารถหาแรงงานเขาสูโรงงานไดตามตองการ หรือแมจะมีแรงงานแตก็มักขาดความพรอมที่จะทํางานไดทันที หรือยังทํางานไมคอยได จึงตองใชวิธีการฝกอบรม (Training) โดยใชเวลา 6 เดือน ถึง 1 ป ดร.พัชราวลัย วงศบุญสิน ดร.พัชราวลัย วงศบุญสิน นักวิชาการจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดกลาววา ประเทศไทยมีการปรับตัวในระดับสถาบัน เพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขัน แตจากปญหาวิกฤตเศรษฐกิจ ตลอดจนโครงสรางของประชากรไทยที่เปลี่ยนไปสูกลุมคนวัยสูงอายุมากขึ้น ถาไมมีการปรับตัวจะเกิดปญหา และทําใหชาวตางชาติไมกลาเขามาลงทุนในไทย ในขณะที่เพื่อนบานของไทย โดยเฉพาะประเทศมาเลเซียและเวียดนามใชความพยายามโดยทุมเงินมหาศาล เพื่อปรับตัวคนในวัยแรงงานของประเทศ ใหสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถแขงขันดานแรงงานกับประเทศเพื่อนบานได ดังนั้น ประเทศไทยจึงควรเรงปรับตัว เพื่อไมใหเสียโอกาสในการแขงขันดานแรงงานกับประเทศเพื่อนบาน ซึ่งยังมีโอกาสอีกปกวาๆ ที่สัดสวนประชากรในวัยทํางานยังคงเพิ่มขึ้นจนถึงป 2010 จึงตองเรงคนวัยทํางานใหมีผลิตภาพในการทํางานเพื่อใหมีเม็ดเงินจากตางประเทศเพิ่มเขามา ซ่ึงจะชวยสรางความมั่งคั่งใหกับประเทศได เนื่องจากคนจะมีประสิทธิภาพในการทํางานมากขึ้นและถายทอดไปสูลูกหลานได สวนประเด็นของ FTA ซ่ึงเกี่ยวของกับการลงทุน การเจรจาตอรองแลกเปลี่ยนคนทํางาน ซ่ึงจะตองเปนคนทํางานที่ไดมาตรฐาน ขณะนี้ประเทศไทยคอนขางชาเมื่อเทียบกับสหรัฐอเมริกา สิงคโปร อินเดีย และอาเซียน ทําใหตอรองไดยากเนื่องจากไทยเสียเปรียบมาตรฐานฝมือแรงงาน เนื่องจากยังไมมีระบบการรับรองมาตรฐานแรงงาน แมวาภาครัฐจะดําเนินการมานานแลวก็ตาม ความคิดเห็นของผูเขารวมอภิปราย 1. ความคิดเห็นของนายสุทธิ ผลสวัสดิ์ ไดแสดงความคิดเห็นวา การศึกษาดานวิชาชีพทําใหคนสามารถประกอบอาชีพได โดยระบบการศึกษาของไทยสามารถไดความรูจาก 3 แหลง คือ กระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงมีบทบาทในการใหความรูทางวิชาการและคุณวุฒิ เชน ระดับปริญญาตรี หรืออาชีวศึกษา กระทรวงแรงงาน ซ่ึงมีบทบาทใหความรูทางดานทักษะ เชน กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ใหความรูเ ร่ืองชาง รวมทั้งการเรียนรูอาชีพในครอบครัว ปญหาปจจุบันคือจะทําอยางไรเพื่อใหแรงงานไทยมีศักยภาพ และใหแรงงานเหลานั้นดํารงชีวิตทํามาหากินอยางมีความสุขไดอยางไร หากทําสําเร็จผูประกอบการก็จะไดคนที่มีคุณภาพ

Page 55: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

114

ในแงของกระทรวงศึกษาธิการ มีการออกกฎหมายอาชีวศึกษามารองรับซึ่งรอมาถึง 9 ป และเพิ่งออกกฎหมายไดเมื่อปที่แลว นอกจากนี้ยังมีพระราชบัญญัติการศึกษาเพื่อใหคนมีความสามารถ Competency แตก็ยังไมมีหลักฐานรับรองความสามารถที่ชัดเจน ยกเวนวิชาชีพแพทย วิศวะ ที่มีเอกสารรองรับ เชน แพทยจะมีใบประกอบโรคศิลป วิศวะมีสภาวิศวกร ดังนั้นคนที่จบ วิศวะก็จะมีใบการันตีในเรื่องของคุณภาพและจรรยาบรรณวิชาชีพ ดังนั้น โดยรวมแลวจึงเห็นวากระทรวงศึกษาธิการมุงเนนในแงของคุณวุฒิปริญญา มหาวิทยาลัย จะเนนดานวิเคราะหวิจัย ไมไดเนนดานทักษะหรือจรรยาบรรณ ซ่ึงเปนดานวิชาชีพที่ตองมีการปฏิบัติฝกฝน สําหรับกระทรวงแรงงานก็มีพระราชบัญญัติสงเสริมการฝกฝมือแรงงาน มีการพัฒนาฝมือชาง รับรองมาตรฐาน ซ่ึงดําเนินการมานานแลว และทําเทียบเทาระดับสากลแลว ทั้งในระดับ ปวช. และปวส. เพียงแตวายังไมมีการออกเอกสารรับรอง (License) ทําใหไมเปนที่นาเชื่อถือในระดับสากล และกระทรวงศึกษาธิการเองก็ไมมีในสวนนี้เชนกัน ดังนั้นจึงเปนปญหา ในสวนของหนวยงานใหมที่จะจัดตั้งขึ้น ยังไมชัดเจนวาครอบคลุมถึงไหน รับรองอยางไร และมีความซ้ําซอนกันหรือไม เนื่องจากแรงงานในระดับสูงกวาปริญญาตรีมีหลักฐานเอกสารรับรอง แตแรงงานในระดับกลางไมมีหลักฐานรับรอง ซ่ึงจะตองแกปญหาตรงนี้ เนื่องจากเดิมมักกําหนดและวัดกันที่ใบปริญญา แตถาในเชิงวิชาชีพจริงๆ เห็นวาควรดูจากมาตรฐานการทํางาน เพื่อกําหนดคาตอบแทนไดอยางเหมาะสม ดังนั้น เห็นวาหนวยงานใหมนาจะชวยเสริมในเรื่องของขอมูล Support Academy และการประเมินผลโดยเปนองคกรกลาง แตเนื่องจากขอบเขตงานไมชัดเจน จึงนาจะมีปญหาและการใหอยูในสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี เห็นวาไมเหมาะสม เพราะที่สํานักนายกรัฐมนตรีดูแล เปนเรื่องของนโยบาย กรรมการก็มีแตขาราชการเขาไปยุง แตคนที่เกี่ยวของจริงๆ ไมไดอยูในทีม ไมเหมือนกับสภาแพทย สภาทนายความ ที่มีแตคนของเขา ซ่ึงเขาใจในเนื้องานจริงๆ ดังนั้น หนวยงานใหมจึงถือเปนเรื่องสําคัญในระดับประวัติศาสตรเชนกัน ดังนั้น โดยสรุปจึงควรทําในสวนที่ขาด กระทรวงแรงงานมีพระราชบัญญัติสงเสริมการประกอบอาชีพ เปนเรื่องของการออกตั๋ว (ใบรับรอง) ซ่ึงยืนยันมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณประกอบกัน ในขณะที่กระทรวงศึกษาธิการใหวุฒิบัตรทางการศึกษาอยางเดียว แตไมมีตั๋วทําใหมาตรฐานของเราดอยลง คาจางแรงงานก็จะไดในอัตราที่ต่ํากวาผูที่มีตั๋วรับรองมาตรฐาน ดังนั้นจึงควรรวมมือกันออกความเห็นเพื่อประโยชนตอสังคม ผูประกอบการ แรงงาน และประเทศชาติ

Page 56: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

115

2. ความคิดเห็นของ รศ.นิพันธ ศิริศักด์ิ ไดแสดงความคิดเห็นในมุมมองของผูประกอบการ โดยยกตัวอยางกรณีชางเชื่อม ซ่ึงงานเชื่อมในไทยอยูในอุตสาหกรรมกอสราง กรณีกอสรางสนามบินสุวรรณภูมิมีการกําหนดเกณฑมาตรฐานของการเชื่อมเหล็ก ซ่ึงไทยไมมีแรงงานที่มีมาตรฐาน ทําใหเกิดปญหาตองหาตางชาติมาชวยประเมินในเรื่องของ Competency และมาตรฐาน ดังนั้นงานเชื่อมจึงสามารถอางในเกณฑมาตรฐานได ปจจุบันมีสถาบันการเชื่อมแลว กระทรวงแรงงาน และกระทรวงศึกษาธิการในอดีตไมมีใครรับรองชางเชื่อม เลยตอง Link กับตางประเทศ เพื่อใหมีการอนุมัติดานงานเชื่อม เชน ของยุโรป จะดูในแง Education, Training และ Qualification (คุณสมบัติ) แลวจึงรับรองความสามารถ Certification แตในไทยจะใชเทคโนโลยีในการตรวจสอบงาน ในยุโรป Qualification เปรียบเสมือนคุณสมบัติของบุคลากรผูนั้น ถาไดใบรับรองนี้แลวก็จะใชไดตลอดชีวิต แตถาเปน Certification จะเปนการรับรองโดยมีกําหนดระยะเวลาเนื่องจากถาคนแกลงไปความชํานาญในบางเรื่องจะนอยลง เชน ชางเชื่อม แกแลวมือจะสั่น ในที่นี้ขอยกตัวอยางสถาบันการเชื่อมสากล เปนหนวยงานที่มีบทบาทมาก เร่ิมตั้งเมื่อ ค.ศ. 1948 จาก 13 ประเทศทางยุโรป ปจจุบันมีสมาชิกรวม 53 ประเทศ ไทยเขารวมเปนสมาชิกสถาบันการเชื่อม เพราะฉะนั้นถาออกใบรับรองก็จะใชไดทุกประเทศในกลุมสมาชิก มีวัตถุประสงคเกี่ยวกับงานเชื่อมทั้งคุณภาพ กระบวนการ บุคลากร และสิ่งแวดลอม เกี่ยวของกับหลายศาสตร โครงสรางของสถาบันการเชื่อมสากล มีคณะกรรมการ คณะกรรมการเทคนิค แบงเปน 2 กลุม กลุม A ทําหลักสูตร กลุม B ทําเรื่อง Implement วาไดทําตามระบบหรือไม และมีการตรวจประเมิน สถาบันการเชื่อมมีคณะกรรมการยอยๆ หลายสวน โดยมีตัวแทนจาก 53 ประเทศ สวนมากเปนอาจารยตามมหาวิทยาลัย ตัวอยางเชน กลุมที่ 14 ก็จะมีคณะกรรมการที่เกี่ยวของกับการศึกษาและการฝกอบรม การใหใบรับรอง ถาของยุโรปตองมี Experience ดวย การศึกษาแปรตามประสบการณ การศึกษาต่ําตองมีประสบการณมากถือเปนมาตรฐาน ถาจะเอา Qualification ตองมี Education กับ Training แตถายุโรปตองรวม Experience ดวย ดังนั้น จึงเห็นวาผูที่เกี่ยวของกับองคกรหรือสถาบันที่จะจัดตั้งขึ้นควรประกอบไปดวยสถาบัน มหาวิทยาลัย อาจารย นักศึกษา กระทรวงแรงงาน กระทรวงที่เกี่ยวของ และวิชาชีพตางๆ ในดานของคาใชจายตองมีการเสียคาสมาชิก ตัวอยางเชน คิดตามการบริโภคเหล็กของไทยปที่แลวจาย 9,000 กวายูโร ในสวนของหลักสูตรในแตละประเทศ ถาตองการสมัครเปนสมาชิกในสวนของหลักสูตรดวย มี 37 ประเทศที่สามารถออกใบประกาศนียบัตรการเชื่อมได ของไทยผานทางสมาคมและกรมพัฒนาฝมือแรงงานก็กําลังดําเนินการอยู สําหรับในกลุม Implement มีผูทํางานจากประเทศ

Page 57: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

116

ตางๆ ที่เชี่ยวชาญในสาขาและระบบซึ่งลักษณะคลายๆ กับกรมพัฒนาฝมือแรงงานที่ดําเนินการไปแลว หนวยงานที่ใหการอบรมสามารถมีไดหลายหนวยงาน เปนอิสระได และตองมี Facilities พรอมก็สามารถทําไดในทุกสถานที่ เพราะฉะนั้นสามารถมีไดหลายองคกร และในไทยถากําหนดและประกาศขึ้นมาแลวตองทําใหไดทุกๆ หลักสูตร หนวยงานที่เกี่ยวของก็จะตองชวยกัน สําหรับงานเชื่อมคนไมคอยชอบเพราะมีอันตราย แตมีการกําหนดเปนงานสากล กําหนด Task และ Responsibility อยางสากล ซ่ึงมีการกําหนดมาเรียบรอยแลว และไดใบคุณวุฒิวิชาชีพที่เปนมาตรฐานสากลทั่วโลก เปนใบ Standard เดียวกัน และเปนใบที่ใชไดตลอดชีพไมมีวันหมดอายุ 3. ความคิดเห็นของ นายยันยงค คําบรรลือ กลาววาทานอื่นที่พูดมาแลวช้ีใหเห็นตัวอยางที่ชัดเจนของที่อ่ืนที่ทํามาแลว อดีตคนไทยเกิดปละ 1 ลานคน ซ่ึงรัฐตองทําใหเขาอยูไดอยางมีคุณภาพ ปจจุบันเกิดปละ 9 แสนคน ซ่ึงรัฐตองดูแล ระดับเด็ก รัฐธรรมนูญตองใหการศึกษาภาคบังคับถึง ม.3 ตอจากนั้นแตละคนจะเรียนอะไรก็ได เมื่อจบแลวก็จะทํางาน ดังนั้นเขาจะตองเรียนตอ เร่ืองการงานในไทยมี 2 ประเภทแรงงาน คือ 1. เจาของ 2. คนทํางาน แตละกลุมก็มีงานตางกันไป หนาที่รัฐจะทําอยางไรใหคนมีงานทํา การงานมีความเกี่ยวของกับคนทํางาน ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการมีหนาที่เปนผูผลิต ปนคนใหมีคุณสมบัติตามตองการ นอกจากนี้การงานยังเกี่ยวของกับผูใชประโยชนและผูปฏิบัติ ผูใชประโยชนคือ เจาของ และคนทํางาน ผูที่ใชคนมีทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชน สวนผูปฏิบัติคือ คนทํางาน ซ่ึงเปนบุคคลหรือรวมตัวเปนกลุมวิชาชีพ ในเรื่องคุณวุฒิวิชาชีพ ควรมองในแงวาจะจัดการอยางไรทั้งระบบ จุดรวมกันในแงของผูใชประโยชนทั้งภาครัฐและเอกชน ภาครัฐ มักแสวงหาผลประโยชน บริการไมดี คนทํางานของภาครัฐทาง ก.พ. จะเปนผูดูแลอยู ซ่ึงหนวยงานนี้เร่ิมเกิดเมื่อ พ.ศ. 2471 สมัยรัชกาลที่ 7 เพื่อใหคนที่ทําการงานยึดเปนอาชีพได โดยมีกฎหมายรับรอง และมีลักษณะงานอยู กําหนดคุณสมบัติ ความรู ความสามารถ (Qualification) คาตอบแทน ซ่ึงกําหนดขึ้นไวในมาตรฐานตําแหนง (จากการสํารวจจากรายงาน) ที่กําหนดขึ้นของแตละกระทรวง กรมตางๆ แลวจึงคัดเลือกคนเขามาใหสอดคลองตาม Standard การเขาตองสอบแขงขัน กําหนดมาตรฐานงานแตละตําแหนงเปนมาตรฐานกลาง สวนในภาคเอกชนก็มีตําแหนงเชนกัน เชน นักบัญชี ผูจัดการ มีการกําหนด Job Description บอกคุณสมบัติผูปฏิบัติงาน มีเงินเดือน แตเอกชนในปจจุบันมีการกําหนดคุณสมบัติเอาเอง ไมมีใครรวบรวมไวเปนมาตรฐานกลาง ดังนั้น จึงควรทําการสํารวจคุณสมบัติคนที่ทํางานอยูในปจจุบัน และคาตอบแทน เพื่อนํามาใชเปนเกณฑในการกําหนดมาตรฐาน พรอมทั้งกําหนดคุณสมบัติ ความรูที่เกี่ยวของกับงาน แลวจึงแยกงานออกมาหลายระดับของงาน ทําออกมาเปนแคตตาลอคที่สรุปเกณฑ

Page 58: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

117

มาตรฐานเอาไว ซ่ึงจะเปนประโยชนตอผูประกอบการและคนที่อยูในอาชีพนั้นๆ ในขณะเดียวกัน แตการที่จะรูวาคนที่มาสมัครงานนั้นไดมาตรฐานหรือไม จะตองมีผูรับรองวิธีงายๆ คือ ดูจากปริญญา ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการรับรอง แตก็ยังตองไปเกี่ยวของกับหนวยงานอื่นๆ ดวย ทั้งกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงแรงงาน 4. ความคิดเห็นของ ดร.ชุมพล พรประภา ไดแสดงความคิดเห็นวา ขณะนี้เห็นชองวางของกระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงแรงงานแคบลงไปเยอะ ดังนั้นขอสรุปควรจะตองรีบเกิด เพราะขัดแยงมา 10 กวาปแลว ทางสภาพัฒนฯ จะตองรีบสรุป ทางดานภาคเอกชนเห็นวาควรเกิดหนวยงานที่ตองดูแลดาน Competency ของแรงงาน แตจะใหใครรับผิดชอบก็ได ปนี้คนตกงาน 880,000 คน จากขอมูลของสํานักงานสถิติแหงชาติ อีก 9 เดือนจะมีถึง 1.5 ลานคน ถาปหนาอาจจะมากกวานี้ ภายใตวิกฤตเศรษฐกิจ อยางเร็วปหนาสหรัฐอเมริกาจึงจะเริ่มฟนตัว ถาเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาและยุโรปไมดี ไทยก็จะลําบาก สินคาไทยสงออกไปทั่วโลก ดังนั้น Standard ที่จะเกิดขึ้นตองเปนระดับสากล ปญหาของธุรกิจคือจะจัดการกําลังคนอยางไร ขณะนี้ปลดคนงาน ลดเงินเดือน ไทยก็ตองเตรียมพรอม คนที่ทํางานอยูจะตองมีการยกระดับคุณภาพแรงงาน มาตรฐานแรงงาน ในอดีตกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ทําแบบเชิงเดี่ยว ทําใหคนงานขาดความสามารถที่สอดคลองกับการทํางาน ซ่ึงคนงานตองมีความรู มีฝมือ คิดเปน แกปญหาได คุมลูกนองได ประสานงานกับฝายอื่นได ในแงของคาแรงควรจะปลอยใหคลองตัว ปรับเปลี่ยนใหยืดหยุนสอดคลองกับสภาพการจางงานแตละประเภทใหแกภาคเอกชน จะดีกวาการกําหนดมาตรฐานคาตอบแทน ควรใหเอกชนตัดสินใจเอง มีความคลองตัวดีกวา กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงแรงงานควรรวมมือกันโดยใหเอกชนเขาไปมีสวนรวมและมีบทบาทรวมดวย แมวาจะมีกฎหมายออกมาหลายฉบับ มันจะสรางปญหาในเชิงปฏิบัติ และอาจเปนตัวทําลาย ทั้งกรมพัฒนาฝมือแรงงานและกรมอาชีวศึกษานาจะรวมมือกันกับสถาบันการศึกษา มารวมมือกันกําหนดมาตรฐานในรูปแบบไทยๆ แตใหไดในระดับมาตรฐานสากล

Page 59: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

118

5. ความคิดเห็นของ ดร.ชัชพล มงคลิก ไดกลาววาศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตองการอยากทราบความคิดเห็น เนื่องจากมีความจําเปนที่จะตองจัดตั้งระบบคุณวุฒิวิชาชีพ และขอความรวมมือในการกรอกแบบสอบถามของผูเขารวมสัมมนาทุกคน ประเด็นที่ควรพิจารณา คือ

1. หนวยงานที่จะรับผิดชอบจะซ้ําซอนหรือไมซํ้าซอน โดยที่พระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 ไดบัญญัติเอาไว และบทบัญญัติเพิ่มเติมในรางพระราชบัญญัติการสงเสริมอาชีพ ซ่ึงไดกลาวถึงมาตรฐานอาชีพ ซ่ึงซ้ําซอนกับพระราชบัญญัติคุณวุฒิวิชาชีพ

2. กระทรวงศึกษาธิการและสภาพัฒนฯ อาจเขาใจผิดในคําวาแรงงาน ซ่ึงเนน Unskilled Labor แตในขอบเขตการดําเนินงานของกระทรวงแรงงานไดเนนการพัฒนาและทดสอบฝมือแรงงานทุกระดับ

3. วิธีดําเนินงานของกระทรวงแรงงานกับสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพซํ้าซอนหรือไม 4. ผลผลิตของทั้งสองหนวยงานซ้ําซอนกันหรือไมในเรื่องของ 1) ระบบคุณวุฒิมาตรฐาน

วิชาชีพ 2) หนวยงานที่ประเมินสมรรถนะ และ 3) การเผยแพรคุณวุฒิวิชาชีพ เพราะฉะนั้น สถาบันใหมที่จะตั้งขึ้นมาควรมีเนื้องานเพิ่มขึ้นในระดับที่เหมาะสม และไมซํ้าซอนกับหนวยงานปจจุบัน โดยควรดําเนินการในเรื่องของ

1. จัดทํานโยบายคุณวุฒิวิชาชีพ 2. ศึกษาวิจัยถึงสถานการณตลาดแรงงาน เพื่อใหคนที่ศึกษาในระบบการศึกษาจบแลว

สามารถทํางานได การศึกษาวิจัยเพื่อกําหนดคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ โดยวิจัยรวมกับหนวยงานตางๆ

3. เปนศูนยกลางขอมูลของระบบคุณวุฒิวิชาชีพ การสรางองคความรูจากระบบคุณวุฒิวิชาชีพ

Page 60: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

119

ขอสรุปของผูรวมอภิปราย ขอสรุปของนายสุทธิ ผลสวัสดิ์ กระทรวงแรงงานเมื่อพัฒนาฝมือแรงงาน แลวแรงงานมีความกาวหนา มีประสบการณ ก็อาจจะยกระดับตนเองใหมีความกาวหนาในการงานไดมากขึ้น สถาบันใหมถาตั้งขึ้นเพื่อเปนประโยชนในสวนงานที่ยังขาดการดูแลอยู โดยเฉพาะในเรื่องของขอมูล งานอะไรที่ซํ้าซอนก็ควรตัดออกและทําที่ไมซํ้าซอน และเห็นวาสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ ควรอยูในกระทรวงศึกษาธิการ และควรไปดูแลใหไดคุณภาพ แตการออกตั๋วควรใหกระทรวงแรงงานดูแลไปกอน แลวควรจะขยับขยายตอไป ขอสรุปของ รศ.นิพันธ ศิริศักดิ์ ควรดําเนินการหนวยงานใหมในระดับชาติ ในตางประเทศหนวยงานแหงชาติมักรับรององคกร ทั่วโลกจะยอมรับในมาตรฐานที่จะกําหนดขึ้น บทบาทของรัฐควรมีหนาที่ชวยเหลือ แตอยากํากับ เพราะในตางประเทศมักเริ่มจากองคกรอิสระ แลวรัฐจึงเขามาชวยตอนหลัง เชน สมาคมวิชาชีพชางเชื่อม เพราะแตละองคกรมีความเชี่ยวชาญมากกวา ในขณะที่รัฐมีแตอํานาจ แตความเชี่ยวชาญไมมี ในตางประเทศหนวยงานที่ใหใบรับรองขอใหเปนองคกรเดียวที่ถูกยอมรับจากทุกๆ องคกร ทั้งกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงมหาดไทย ควรใหเปนหนวยงานอิสระ (Autonomist) และใชการบริหารงานดวยระบบ Committee ซ่ึงมีผูทรงคุณวุฒิจากองคกรตางๆ มารวมบริหารงานกัน ในดานคุณวุฒิวิชาชีพควรมีมาตรฐานคือ 1) มาตรฐานคน และ 2) มาตรฐานงาน เนื่องจากแตละงานมี Standard ตางกัน และเกี่ยวกับมาตรฐานคนดวย ซ่ึงตองทําใหดี ทําใหได และตองทําทุกวัน เชน ใบรับรองเมื่อไดแลวจะมีอายุ เนื่องจากเทคโนโลยีเปลี่ยนไป อายุคนเปลี่ยนไป อาจทําใหทักษะหรือความชํานาญเปลี่ยนไป ในสวนขององคกรดาน Training Qualification สามรถทําไดหลายๆ Sector ในแตละ Sector ชวยกันทําแยกเปนยอยๆ และจัดระบบใหเชื่อมโยงกับตางประเทศใหได ขอสรุปของ นายยันยงค คําบรรลือ ไดกลาวถึงความหมายของ Competency วามีความหมายเทากับ Qualification ซ่ึงประกอบไปดวยความรู ความสามารถ ความชํานาญ ซ่ึงสถานศึกษาสามารถถายทอดในสวนนี้ได และอีกสวนยังประกอบไปดวยความอดทน ความซื่อสัตย

Page 61: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

120

ประเทศไทยบริหารโดย Supply Side ผลิตคนเทาไรก็รับหมด ในอดีตเปนเชนนั้น แตปจจุบันสถานศึกษามีเปนจํานวนมาก สามารถใหบริการดานการศึกษาไดพอ แตจะได Competency หรือไม ไมทราบ แตในปจจุบันการมอง Supply Side มีปญหา จึงตองกลับมามองดาน Demand Side ผลิตใหตรงตามความตองการของผูใช ทําใหกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงแรงงานตองปรับตัวใหม เพราะแตเดิมทําในเชิงของ Supply Side กระทรวงแรงงานไมควรพัฒนาฝมือแรงงานเหมือนเดิม แตตองปรับใหม และองคกรจะตองรับผิดชอบจัดการงานในเรื่องของคน ดังนั้น หนวยงานใหมจึงควรอยูที่กระทรวงแรงงาน กํ า กั บคนให สอดคล อ งกั บคว ามต อ งก าร แต ให อิสระ เปนองค ก รอิ สระ ในขณะที่กระทรวงศึกษาธิการตองเขาสูระบบ Demand Side ดูความตองการของตลาดแรงงานใหมากขึ้น ขอสรุปของ ดร.ชุมพล พรประภา ควรมีการใสรหัส Code อาชีพในบัตรประชาชน เพื่อแยกแยะประชากรตาม Competency ของคน จะสามารถเก็บสถิติใหเห็นไดชัดขึ้น อาจใชเลข 13 หลัก จากการสํารวจ 114 เมืองทั่วโลก พบวาอัตราคาเชา Office ของไทยถูกมาก ถาทําธุรกิจไดดีมีการพัฒนาคน พัฒนาธุรกิจใหดีขึ้น ก็จะทําใหประเทศชาติมั่นคงขึ้น ในอนาคตการถายเทแรงงานในอาเซียนจะเกิดขึ้น ถาคนไทยไมไดมาตรฐานแรงงานก็อาจจะสูกับชาติอ่ืนในอาเซี่ยนไมได ขอสรุปของ ดร.ชัชพล มงคลิก แนวทางในการพัฒนาวิชาชีพทั้งในรูปของสถาบัน หรือการออกกฎหมาย ที่สําคัญคือตองเนนในเชิงปฏิบัติดวย พระราชบัญญัติที่เกี่ยวของกับวิศวกร ป 2542 ก็มีการพัฒนาวิชาชีพมาโดยตลอด ซ่ึงทําโดยวิศวกร โดยแบงเปน 3 ระดับ คือ ภาคี วุฒิ และสามัญ ไดกําหนดไวในกฎหมายวาแตละระดับทํางานไดเชนใด ผูที่ไมมีใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมแตมาทํางานดานวิศวกรรมจะมีบทลงโทษ แตบางโรงงานก็ไมไดจางวิศวกรที่ไดรับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ดังนั้นแมจะออกกฎหมาย แตถามิไดปฏิบัติตามกฎหมาย กฎหมายก็ไมเกิดประโยชน

Page 62: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

121

4.6 สรุปความคิดเห็นของผูเขารวมสัมมนา จากการจัดสัมมนาในหัวขอเร่ือง “ระบบการประเมินและรับรองมาตรฐานฝมือแรงงาน เพื่อยกระดับมาตรฐานฝมือแรงงาน และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน” ซ่ึงจัดขึ้นเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2552 ณ โรงแรมเซ็นจูร่ี พารค ดินแดง กรุงเทพฯ โดยเชิญผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาคราชการและเอกชน ผูประกอบการเขารวมการสัมมนา รวม 200 คน ผูเขารวมสัมมนาไดแสดงความคิดเห็นซึ่งไดขอสรุปดังนี้ 1. สภาพปญหาดานแรงงานไทย - แรงงานไทยขาดความพรอมในการทํางาน ขาดศักยภาพในการทํางาน - แรงงานไทยยังไมมีใบรับรองมาตรฐานความสามารถของแรงงาน - แรงงานไทยมีความสามารถไมสอดคลองกับความตองการของตางชาติและผูประกอบการ - ระบบจายคาตอบแทนพิจารณาจากปริญญา ทําใหคนที่ไมมีโอกาสศึกษาเสียเปรียบ - โครงสรางประชากรไทยเปลี่ยนไปสูวัยสูงอายุมากขึ้น อาจทําใหขาดแรงงานในอนาคต - ประเทศเพื่อนบานของไทย เชน มาเลเซีย เวียดนาม ทุมเงินมหาศาลเพื่อพัฒนาแรงงานของประเทศใหแขงขันได - ประเทศไทยตองปรับตัวเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน เพื่อใหเม็ดเงินตางประเทศเพิ่มเขามา สรางความมั่งคั่งใหประเทศ และพรอมที่จะเขาสูระบบการถายเทแรงงานเสรีในอาเชียน - ประเทศไทยเสียเปรียบมาตรฐานแรงงาน และยังลาชากวาประเทศอื่นเมื่อเทียบกับสหรัฐอเมริกา สิงคโปร อินเดีย และอาเชียน - การผลิตคนของไทยมองที่ Supply Side ทําใหขาด Competency จึงควรผลิตใหตรงกับความตองการของผูใช กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงแรงงานควรปรับตัวใหม

Page 63: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

122

2. ความคิดเห็นท่ีมีตอระบบการรับรองความรูความสามารถของแรงงานไทย - หนวยงานที่มีบทบาทคือ กระทรวงศึกษาธิการใหความรูวิชาการ และคุณวุฒิปริญญา กระทรวงแรงงานใหความรูดานทักษะ ครอบครัวใหความรูพื้นฐาน

- หลักฐานรับรองความสามารถในปจจุบันมีไมกี่อาชีพ เชน แพทย วิศวะ และแรงงานในระดับสูงกวาปริญญาตรี

- กฎหมายที่ออกมาบังคับใชยังไมครอบคลุมในดานการออกเอกสารรับรอง (License) ทําใหไมเปนที่นาเชื่อถือในระดับสากล

- การวัดความสามารถเดิมวัดกันที่ใบปริญญา แตจริงๆ ควรดูจากมาตรฐานการทํางาน เพื่อกําหนดคาตอบแทนไดอยางเหมาะสม

- ในยุโรปการวัดมาตรฐานจะดูในแง Education, Training และ Qualification (คุณสมบัติ) แลวจึงรับรองความสามารถแตในไทยตองใชเทคโนโลยีในการตรวจสอบงาน

- ในยุโรปใบ Qualification เปรียบเสมือนคุณสมบัติของบุคลากร ไดใบรับรองนี้แลวจะใชไดตลอดชีวิต แตถาเปน Certification จะเปนการรับรอง โดยมีกําหนดเวลาเชนถาอายุมากขึ้นความชํานาญจะนอยลง

- งานบางอาชีพขณะนี้ไมมีระบบการรับรองมาตรฐาน จึงตองพึ่งระบบรับรองมาตรฐานของตางประเทศ และสมัครในรูปแบบสมาชิกเปนเครือขาย

- ในดานคุณวุฒิวิชาชีพ ควรมีทั้งมาตรฐานคนและมาตรฐานงาน - ในสวนขององคกรดาน Training Qualification สามารถทําไดหลายๆ Sector

และจัดระบบใหเชื่อมโยงกับตางประเทศได - ก า ร วั ด คุ ณ ภ า พ ค ว ร มี ใ บ รั บ ร อ ง ก า ร ท ดสอบคุ ณ วุ ฒิ ต า ม ที่ ก ร ม

พัฒนาฝมือแรงงานจัดทดสอบก็จะไดใบรับรองเปนประกันเพิ่มขึ้น ซ่ึงเปนประโยชนตอแรงงานและสถานประกอบการ 3. ความคิดเห็นท่ีมีตอการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ - ยังไมชัดเจนวาครอบคลุมถึงไหน รับรองอยางไร และมีความซ้ําซอนกันหรือไม หนาที่เกี่ยวของมีใครบาง Road map ตองชัดเจน

- หนวยงานใหมนาจะชวยเสริมในเรื่องของขอมูล Support Academy และการประเมินผล โดยเปนองคกรกลาง

- ตามพระราชบัญญัติส ง เสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ .ศ .2545 และ รางพระราชบัญญัติสงเสริมการประกอบอาชีพ พ.ศ. .... มีความซ้ําซอนกับรางพระราชบัญญัติของหนวยงานใหม

Page 64: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

123

- ผลผลิตของทั้งสองหนวยงานซ้ําซอน ทั้งตัวระบบคุณวุฒิมาตรฐานวิชาชีพ หนวยงานที่ประเมินสมรรถนะซึ่งกระทรวงแรงงานมีอยูใน 76 จังหวัดอยูแลว และมีการเผยแพรคุณวุฒิวิชาชีพ

- คนที่จะมากําหนดมาตรฐานตองมาจากองคกรอื่นไมใชภาครัฐ และตองอยูในกลุมธุรกิจเอง ดังนั้นจึงตองดึงเอกชนเขารวมใหไดมากที่สุด ผูประกอบการก็จะมีมาตรฐานที่เปนที่ยอมรับในกลุมธุรกิจเอง 4. หนวยงานที่ควรรับผิดชอบ / ผูท่ีเก่ียวของ - ไมควรอยูที่สํานักนายกรัฐมนตรี เพราะหนวยงานนี้ดูแลเรื่องนโยบาย กรรมการก็มีแตขาราชการ คนเกี่ยวของจริงๆ ไมอยูในทีม - กระทรวงแรงงานมีพระราชบัญญัติสงเสริมการประกอบอาชีพ เปนเรื่องของการออกตั๋ว (ใบรับรอง) ยืนยันมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณประกอบกัน รวมทั้งทักษะทางวิชาชีพ

- กระทรวงศึกษาธิการใหวุฒิบัตรทางการศึกษาอยางเดียว ไมมีการออกใบรับรองมาตรฐาน มีหนาที่เปนผูผลิตบุคลากร และพัฒนาดานคุณวุฒิ

- งานเกี่ยวของทั้งกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงแรงงานจึงควรรวมมือกัน - สถาบันที่จะจัดตั้งขึ้นควรประกอบดวย สถาบันการศึกษา อาจารย นักศึกษา

กระทรวงแรงงาน กระทรวงที่เกี่ยวของ วิชาชีพตางๆ กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กรมอาชีวศึกษา และควรใหเอกชนเขามามีสวนรวมใหมากที่สุด

- ภาครัฐมีหนวยงานกลางคือ กพ. เปนผูกําหนดคุณสมบัติความรูความสามารถคาตอบแทนของคนทํางาน เปนมาตรฐานตําแหนงกลาง แตภาคเอกชนมีการกําหนด Job Description กันเองไมมีการกําหนดมาตรฐานกลาง

- ควรใหเอกชนตัดสินใจเรื่องมาตรฐานคาตอบแทนเองจะคลองตัวกวา - กระทรวงศึกษาธิการควรดูแลเรื่องคุณภาพ เขาสูระบบ Demand Side ดูความ

ตองการของตลาดแรงงานใหมากขึ้น - หนวยงานใหมควรอยูที่กระทรวงแรงงาน กํากับคนใหสอดคลองกับความ

ตองการ แตใหเปนองคกรอิสระ ดูแลเรื่องการออกตั๋ว แตมองวากระทรวงแรงงานยังไมมีศักยภาพ - ดูขอบเขตงานของสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ แลวซํ้าซอนกับกรมพัฒนาฝมือ

แรงงาน จึงควรทําในเรื่องที่ไมซํ้าซอน

Page 65: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

124

- สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติเปนหนวยงานที่ทํา Master Plan จึงควรทําในแงภาพรวม เปนผูแนะแนว หรือปรับปรุงมาตรฐานแรงงานใหดีขึ้น ควรดูทั้ง Demand Side และ Supply Side

- องคกรที่จะพัฒนาคนไดดีที่สุดคือ นายจาง เพราะเขามีเงิน เวลา คน ในขณะที่ราชการไมสามารถทําได ภาคเอกชนจะเปนตัวขับเคลื่อนที่สําคัญ แตภาคเอกชนไมมีเวลาทําเอง ตองการตนแบบที่ Copy ได

- สถาบันใหมไมควรซ้ําซอนกับกรมพัฒนาฝมือแรงงาน และบทบาทของกรมพัฒนาฝมือแรงงานตองเปลี่ยนแปลง เพื่อใหมีบทบาทที่เหมาะสม และสอดคลองกับความตองการของตลาด สถาบันใหมควรอยูที่กรมพัฒนาฝมือแรงงานโดยมีเอกชนและสถานประกอบการเขารวมในการกําหนดมาตรฐาน กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงแรงงานชวยในเรื่องวิชาการ

- กระทรวงศึกษาธิการกับกรมพัฒนาฝมือแรงงานตองตอเชื่อมกันใหไดและหนวยงาน Supply ของประเทศไมควรมีหนาที่รับรองเอง

- ควรกําหนดพิมพเขียวข้ึนมากอน เปนตัวแบบวาแตละกระทรวงควร และ ไมควรทําอะไร อะไรที่ควรเพิ่มควรปรับ หรือแกไขพ.ร.บ. มารองรับ หรือมีหนวยงานรองรับ

- ควรศึกษาผลกระทบที่จะมีตอสถานประกอบการ - ควรแยกหนวยงานปฏิบัติกับหนวยงานประเมินเปนคนละหนวยงานกัน

5. การบริหารงาน

- ควรจัดทําในระบบสมาชิก - คาใชจายควรมีการเสียคาสมาชิก - มีหนวยงานที่ใหการอบรม ซ่ึงสามารถมีไดหลายหนวยงาน และเปนอิสระได

แตตองมี Facilities พรอม - มีการกําหนดหลักสูตร ซ่ึงหนวยงานที่เกี่ยวของตองชวยกัน - ควรเปนองคกรอิสระ รัฐควรดูแลแตอยากํากับ เนื่องจากองคกรอิสระมีความ

เชี่ยวชาญมากกวารัฐ อยูกับกระทรวงใดก็ได แตควรเปนหนวยงานอิสระ และใชการบริหารงานดวยระบบ Committee โดยมีผูทรงคุณวุฒิจากองคกรตางๆ มารวมบริหารงานกัน

- Road map กับเชิงปฏิบัติควรตองสอดคลองกันไมใชตั้งเปาแลวทําไมได - ควรออกเปนกฎหมาย และปรับปรุงกระบวนการทํางาน เพื่อใหสอดคลองกับ

ระบบคุณวุฒวิชาชีพ

Page 66: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

125

6. ขอบเขตภาระหนาท่ี - ไมควรซ้ําซอนกับหนวยงานปจจุบัน - ควรมีภาระหนาที่ในเรื่องของ 1) จัดทํานโยบายคุณวุฒิวิชาชีพ 2) ศึกษาวิจัยถึงสถานการณตลาดแรงงาน 3) ศึกษาวิจัยเพื่อกําหนดคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ 4) เปนศูนยกลางขอมูลของระบบคุณวุฒิวิชาชีพ 5) การสรางองคความรูจากระบบคุณวุฒิวิชาชีพ - ควรมีการกําหนดบทลงโทษ และผูประกอบการควรดําเนินการตามที่กฎหมาย

กําหนด - Career Path ที่เขียนรางไวยังไมคอยชัดเจน ซ่ึงจะมีความสัมพันธเชื่อมโยงกับ

อัตราคาจาง ซ่ึงเปนสิทธิของนายจางที่จะกําหนดใหแกลูกจาง แตถาเปน Career Path ของกรมพัฒนาวิชาชีพ คงเอาไปใชในเชิงปฏิบัติไมได เพราะคงขึ้นอยูกับความสามารถในการจายที่ทําใหบริษัทอยูรอดได แตคาจางขั้นต่ําก็ควรกําหนดตามราชการ

- ดานการจัดทําคูมือ กระทรวงแรงงานก็มีทําอยูแลว

Page 67: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

126

4.7 สรุปผลความคิดเห็นของผูเขารวมสัมมนาที่ตอบแบบสอบถาม คณะผูทําการศึกษาไดทําการสํารวจความคิดเห็นของผูเขารวมสัมมนา ซ่ึงประกอบดวยตัวแทนจากหนวยงานภาครัฐบาลและเอกชน เชน สถาบันการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน TDRI สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฯลฯ โดยทําการสํารวจความคิดเห็นในลักษณะของ Qualitative Research ใชแบบสอบถามประกอบดวยคําถามปลายเปดเปนสวนใหญ และคําถามปลายปดเล็กนอย เพื่อสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับระบบการประเมินและรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานเพื่อเพิ่มขีดวามสามารถในการแขงขัน ผูเขารวมสัมมนาไดแสดงความคิดเห็นโดยกรอกแบบสอบถาม คําตอบที่ไดรับนํามาประมวลผลโดยอาศัยการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis) เปนสวนใหญ รวมทั้งอาศัยการแจงนับ (Frequencies) สําหรับคําตอบของคําถามปลายปด ผลการศึกษาประกอบไปดวยประเด็นสําคัญตอไปนี้คือ

1. ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม 2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท ความสําคัญ และประโยชนของระบบการประเมินและ

รับรองมาตรฐานฝมือแรงงาน 3. ความคิดเห็นเกี่ยวกับการรับรองความสามารถในการประกอบอาชีพหรือการทํางาน 4. ความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท ความสําคัญ และประโยชนของการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิ

วิชาชีพ วาเห็นดวยหรือไมพรอมเหตุผล 5. ความคิดเห็นเกี่ยวกับความซ้ําซอนของสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพกับภารกิจของกรมพัฒนา

ฝมือแรงงาน และกระทรวงแรงงานวามีความซ้ําซอนหรือไม พรอมเหตุผล 6. ความคิดเห็นตอการกําหนดเปนนโยบายของรัฐบาลปจจุบันวาเห็นดวยหรือไม พรอม

เหตุผล 7. ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพวาควรอยูภายใตการดูแลของ

หนวยงานใด เพราะเหตุใด 8. ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ วาควรจัดรูปแบบองคกรเปน

องคการมหาชน (Public Organization : PO) หรือหนวยบริการรูปแบบพิเศษ (Service Delivery Unit : SDU) พรอมเหตุผล

9. ความคิดเห็นอื่นๆ ของผูเขารวมสัมมนา ผลสรุปความคิดเห็นของผูเขารวมสัมมนาตามประเด็นขางตน สามารถสรุปไดตามลําดับดังนี้

Page 68: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

127

1. ขอมูลท่ัวไปของผูกรอกแบบสอบถาม ผูเขารวมสัมมนาที่รวมแสดงความคิดเห็นกวาครึ่ง มีอายุมากกวา 50 ป คิดเปนรอยละ 61.29 อีกรอยละ 29.03 มีอายุ 41-50 ป สวนที่เหลือมีอายุระหวาง 26-40 ป โดยที่สวนใหญรอยละ 45.28 เปนตัวแทนที่มาจากหนวยงานของรัฐ อีกรอยละ 28.30 เปนผูประกอบการประเภทอุตสาหกรรม และอีกรอยละ 24.53 เปนผูประกอบการประเภทบริการตามลําดับ ผูเขารวมสัมมนาสวนใหญ รอยละ 46.94 มาจากองคกรขนาดใหญที่มีจํานวนพนักงานมากกวา 100 คน รองลงมามีพนักงาน 41-50 คน 51-100 คน และ 10-20 คน ในสัดสวนพอๆ กัน คิดเปนรอยละ 12.24 ซ่ึงพบวารอยละ 32.00 ของผูเขารวมสัมมนาที่ทํางานเปนขาราชการหรือพนักงานของหนวยงานราชการ รองลงมารอยละ 24.00 เปนผูบริหารระดับสูงของสถานประกอบการ และรอยละ 10.00 เปนผูบริหารของหนวยงานของรัฐ ตามลําดับ 2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท ความสําคัญ และประโยชนของระบบการประเมินและ

รับรองมาตรฐานฝมือแรงงาน ผูเขารวมสัมมนาไดเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท ความสําคัญและประโยชนของระบบการประเมินและรับรองมาตรฐานฝมือแรงานโดยสรุป ดังนี้

1. เพื่อเปนเกณฑมาตรฐานอาชีพที่บงชี้ ความรู ความสามารถและสมรรถนะในการทํางาน เปนตัวช้ีวัดคุณภาพฝมือแรงงาน เปนเกณฑในการกําหนดระดับฝมือ ความสามารถ ทําใหการพัฒนาบุคลากรของชาติ มีระบบในการตรวจวัด ทดสอบ และรับรองโดยมีการออกเอกสารรับรองจากทางสถาบันรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานทั้งของภาครัฐและเอกชนใหกับบุคคลที่มีความรูความสามารถตามเกณฑมาตรฐานอาชีพ

2. เพื่อยกระดับความสามารถของแรงงานใหเปนมาตรฐานสากลและมีใบรับรองมาตรฐานโดยไมตองพึ่งพามาตรฐานตางประเทศ จัดมาตรฐานเปนของประเทศไทยซึ่งเทียบเทากับตางประเทศ ทําใหตลาดแรงงานไทยขยายสูตลาดตางประเทศไดงายขึ้น และสามารถปรับตัวใหเขากับสภาพปจจุบันที่มีการแขงขัน ทําใหแรงงานไทยสามารถแขงขันไดในตลาดแรงงาน สามารถทํางานไดทั่วโลก และมีรายไดในระดับเดียวกันกับในกลุมอาเซียน หรือสามารถยกระดับได เทาเทียมกับประเทศที่พัฒนาแลว สรางความยั่งยืนในการพัฒนาคุณภาพประชากรของชาติ รวมทั้งเพื่อรองรับการเคลื่อนยายแรงงานเสรีภายใตขอตกลง FTA กับกลุมประเทศอาเซียน ซ่ึงจะเกิดขึ้นในป 2015

Page 69: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

128

3. เปนเครื่องมือในการกําหนดคาจางผลตอบแทนตําแหนงงานที่เปนมาตรฐานและเปนธรรม สามารถกําหนดอัตราคาจางตามฝมือที่แทจริง ทําใหเกิดมาตรฐานคาจางงานที่เปนไปอยางยุติธรรม และแกปญหาในเชิงโครงสรางไดตรงจุด เกิดความชัดเจนทั้งผูจางและลูกจางเปนเกณฑที่ใชในการกําหนดอัตราคาจาง โดยควรแยกเปนคาจางแรงงานขั้นต่ํา ซ่ึงใชเฉพาะประเภทชางอุตสาหกรรม ซ่ึงปฏิบัติงานภายในสถานประกอบการ และใหคาตอบแทนเพิ่มเติมสําหรับแรงงานที่ผานการประเมิน และมีใบรับรองมาตรฐานฝมือแรงงาน (คาแรงงานขั้นต่ํา + คาจางเพิ่มเติมตามขีดความสามารถที่มี) ชวยใหแรงงานไดรับคาตอบแทนที่สูงขึ้นตามความสามารถที่เพิ่มขึ้น มีโอกาสไดรับการจางงานในตําแหนง และอัตราเงินเดือนที่เหมาะสมกับความรูความสามารถ มีศักดิ์ศรี มีอํานาจตอรอง มีสภาพชีวิต เศรษฐกิจ และสังคมที่ดีขึ้น

4. เปนเครื่องมือในการจัดระเบียบการจางงานใหเหมาะสมและเปนธรรมระหวางฝายผลิตแรงงาน ฝายใชแรงงานและผูทํางาน โดยกระทรวงแรงงานควรเปนองคกรกลางในการหาจุดรวมและช้ีขาดตามระบบนี้ โดยผูมีสวนไดเสียมีสวนรวม ทั้งในกรณีการผลิตแรงงาน โดยตองอิงประเด็นชี้นําของความตองการของฝายใชแรงงาน

5. เพื่อใหแรงงานมีคุณภาพเปนที่ตองการของผูประกอบการที่มุงลงทุนในประเทศไทย ไดแรงงานที่ตรงตอสายอาชีพหรือการทํางานไดรับความพอใจ ทําใหผลผลิตหรือผลิตภาพทั้งที่เปนรูปธรรม และนามธรรมมีคุณภาพ และแขงขันได สงผลใหเศรษฐกิจของประเทศดีขึ้น สังคมไดรับผลิตภัณฑหรือบริการที่มีคุณภาพ สภาพความเปนอยูและคุณภาพชีวิตของพลเมืองดีขึ้น สังคมมีความสุขผูบริโภคปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน นําไปสูคาแรงและคาตอบแทนที่สูงขึ้น เพราะผลงานและผลผลิตมีคุณภาพเปนประโยชนทั้งผูวาจางและลูกจาง

6. สามารถกําหนดทิศทางของการพัฒนากําลังคนในอนาคตไดอยางเปนรูปธรรม เนื่องจากมีฐานขอมูลที่ธุรกิจยอมรับ

7. เพื่อเปนขอมูลในการวาจางของนายจาง เปนประโยชนตอนายจางในการจางบุคลากรเขาทํางาน เพื่อใหไดผลงานที่ดีจริงๆ ไดคนทํางานที่มีความรู ทักษะฝมือ และมีความสามารถตามที่ตองการ ทําใหผูจางงานมีความมั่นใจในความสามารถของฝมือแรงงาน ไมเสียเวลาและงบประมาณในการพัฒนาแรงงาน

8. ทําใหแรงงานรูถึงระดับฝมือของตนเอง และไดมีการพัฒนาฝมือแรงงานอยางตอเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานใหทัดเทียมตางประเทศ สงเสริมสนับสนุนสาขาอาชีพตางๆ ใหมีความเขมแข็งพัฒนาฝมือใหมีความกาวหนาในอาชีพ

9. เพื่อสงเสริม GDP ของประเทศในการสงออก เนื่องจากไทยพึ่งพาการสงออกสินคาที่ผลิตและสงออกตองไดมาตรฐานระดับนานาชาติ โดยอาศัยชางฝมือของไทยที่มีมาตรฐานระดับ

Page 70: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

129

โลกมาทํางานในทุกขั้นตอน เพื่อใหไดมาซึ่งสินคาและบริการที่ไดมาตรฐานระดับโลก เปนการสรางและรักษาผลประโยชนของอุตสาหกรรมของชาติและแรงงานไทย

10. เกิดการบูรณาการความรวมมือระหวางหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชนโดยใหกระทรวงแรงงานในฐานะผูควบคุม ดูแล กําหนดความรูความสามารถอัตราคาจาง การเคลื่อนยายแรงงาน รวมทั้งการออกเอกสารรับรองตางๆ นักวิชาการ ไดแก สถาบันการศึกษาตางๆ ในฐานะผูผลิตกําลังคน และผูประกอบการวิชาชีพในฐานะผูรองรับบุคลากรในอุตสาหกรรมและผูผลิตสินคา

11. เปนการสรางความเชื่อมโยงระหวางการศึกษา ทักษะ และประสบการณชวยใหสถาบันการศึกษาใชเปนแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตรใหเปนไปตามมาตรฐานแรงงาน ขณะเดียวกันทําใหนักเรียน นักศึกษาเปลี่ยนทัศนคติไดในเรื่องที่ไมมีความสามารถแตตองการเงินเดือนสูง

12. ระบบการประเมินและรับรองมาตรฐานควรใหวิชาชีพที่มีอยูหลากหลายเปนผูกําหนดโดยภาครัฐใหการสนับสนุนหนวยงานที่มีอยูแลว หนวยงานควรแบงงาน หนาที่ ภารกิจใหชัดเจน โดยไมใหเกิดความซ้ําซอนในงาน ในหนาที่ หรืองบประมาณ และควรมีหนวยงานกลางทําหนาที่ทดสอบ รับรอง เพื่อออกใบอนุญาตใบรับรองประกอบอาชีพ เพื่อสรางความเชื่อมั่นแกผูวาจาง

13. ระบบการประเมินอยางเดียวอาจไมสามารถประเมินไดครบทุกหนาที่งาน จึงควรมีความชัดเจนในการประเมินแตละระดับ และมีความโปรงใสในการดําเนินงาน เปนที่ยอมรับของทุกหนวยงาน เปนธรรม ไมมีผลประโยชนเกี่ยวของ ควรมีการกําหนดมาตรฐานในทุกอุตสาหกรรมและทุกอาชีพ และควรมีการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานที่ไมไดอยูในระบบการศึกษาดวย ทําใหแรงงานที่ไมไดผานระบบการศึกษาตามระบบปกติไดมีการพัฒนามีการรับรองมาตรฐานทําใหมีรายไดสูงขึ้น

14. ระบบการประเมินและรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานควรจะมีหนวยงานเดียวที่รับผิดชอบ เพื่อความสะดวกในการติดตอของหนวยงานที่เกี่ยวของตางๆ

15. กรมพัฒนาฝมือแรงงานเปนเลขานุการในการดําเนินการประเมินและรับรองมาตรฐานฝมือแรงงาน เห็นควรใหดําเนินการตอไป

16. ใหเกิดการบังคับใชเร็วที่สุด ดําเนินการอยางเรงดวนเพื่อใหเกิดความเดนชัด และทําเปนรูปธรรม

Page 71: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

130

3. ความคิดเห็นเกี่ยวกับการรับรองความสามารถในการประกอบอาชีพ หรือการทํางาน

ผูเขารวมสัมมนาไดเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการรับรองความสามารถในการประกอบอาชีพ หรือการทํางาน โดยสรุป ดังนี้

1. ควรมีการรับรองความสามารถในการประกอบอาชีพ ประกอบการรับเขาทํางาน การสอบคัดเลือก เนื่องจากการสอบสัมภาษณอาจจะไมเพียงพอที่จะคัดพนักงานที่มีคุณภาพ ซ่ึงจะชวยใหไดคนมีคุณภาพและมีมาตรฐาน และสามารถถอดถอนไดเมื่อไมรับผิดชอบ เปนการสงผลดีตอตัวผูใชแรงงานใหไดรับผลตอบแทนที่เปนธรรมตามความสามารถและคุณวุฒิวิชาชีพ และผูประกอบการก็จะไดรับผลประโยชนจากแรงงานที่มีฝมือ และมีคุณวุฒิวิชาชีพตรงตามวัตถุประสงคของสถานประกอบการ เปนสิ่งจําเปนสําหรับสังคมปจจุบัน และอนาคต เพราะความเจริญกาวหนาของเทคโนโลยีที่จะดําเนินการตอไป หากไมมีองคกรที่ทําหนาที่วัดผลรับรอง จะประสบปญหาตอไปในนอนาคตในเรื่องฝมือแรงงานและเปนประโยชนในการเพิ่มขีดความสามารถของประเทศ ควรเปนมาตรฐานเดียวที่ถูกยอมรับจากทุกวงการ เพื่อเปนมาตรฐานแรงงานในระดับสากล และพัฒนาแรงงานใหมีความสามารถมากขึ้น เพราะในตางประเทศไดใชการรับรองความสามารถประกอบการพิจารณาอัตรา ตําแหนง และเงินเดือน

2. มีความจําเปนอยางมากเนื่องจากองคความรูตางๆ ประกอบดวย 2 ส่ิง คือ ผูผานงานดานการผลิตจริง และผูสําเร็จการศึกษา ซ่ึงทั้งสองสิ่งจะตองมีการพัฒนาควบคูกัน รวมถึงมีการตอโอนหรือเทียบคุณวุฒิได ซ่ึงถือวาเปนการพัฒนาอยางตอเนื่องและเกิดการพัฒนาขึ้นจริง เปนการพัฒนาประเทศเปนองครวมในการพัฒนานี้ตองอาศัยหลักฐานตางๆ ที่สามารถทําการเทียบโอนได มีการชี้วัดที่ชัดเจน มีการกํากับดูแลเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด และกอใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่องเปนรูปธรรม ทําใหการลงทุนในเรื่องการศึกษาของประชาชาติเกิดผลผลิตได โดยมองวาตองตอยอดการศึกษาพื้นฐาน หรือการทําสหกิจศึกษาก็จะชวยได สามารถปองกันการบอกปดของหนวยงานที่จะรับบัณฑิตใหม หรือผูที่จบการศึกษาใหมปฏิเสธควรรับเขาทํางาน และหรือสามารถประกอบวิชาชีพเองไดอยางอิสระดวยโดยไมตองไปเปนลูกจางของสถานประกอบการใดเลย

3. ในปจจุบันระบบการเขาทํางานจะใชหลักเกณฑดานวุฒิการศึกษาเปนเกณฑในการรับเขาทํางาน และการจายคาจางถามีระบบรับรองความสามารถในการประกอบอาชีพหรือการทํางานก็จะทําใหบุคคลที่มีทักษะฝมือ มีความรูและประสบการณในอาชีพ หรือมีภูมิปญญาที่ไดรับการถายทอดจากบรรพบุรุษ แตไมมีคุณวุฒิทางการศึกษาก็สามารถที่จะไดรับการพิจารณาเขาทํางานตามสมรรถนะของตนเอง และไดรับคาตอบแทนที่เปนธรรม และเหมาะสมกับความสามารถของ

Page 72: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

131

ตนเอง ไมใชกําหนดคาตอบแทนโดยใชปริญญาเปนตัวกําหนดชวยใหแรงงานไดรับคาแรงสูงขึ้นตามใบรับรองความสามารถในการทํางาน ไดบุคลากรที่มีความรูความสามารถในระดับตางๆ และเหมาะสมกับคาตอบแทน สงผลดีตอแรงงานที่ส่ังสมประสบการณมายาวนาน ไดมีใบรับรองความสามารถในการทํางาน เพราะประกาศนียบัตร ปริญญาบัตรเปนแคส่ิงที่บอกวามีความรู แตใบรับรองจะแสดงถึงวามีฝมือทํางานไดหรือไม อีกทั้งเปนการสรางจรรยาบรรณในการกําหนดและกํากับการประกอบอาชีพ

4. การจัดใหมีระบบหรือเกณฑในการรับรองความสามารถ เปนตัวคัดกรองความสามารถเบื้องตนในระดับหนึ่ง ซ่ึงเปนการสรางความเชื่อมั่นใหกับผูประกอบการไดเปนอยางดี เปนการคัดกรองขั้นตนกอนที่นายจางจะรับเขาทํางาน ผูประกอบการสามารถเลือกบุคคล ทํางานไดตรงความตองการ เพราะสามารถดูไดจากใบรับรองนั้น สามารถใหคาตอบแทนไดตรงตามความสามารถของบุคคล ผลของงานก็จะไดดีตรงตามความตองการ ทําใหแรงงานสามารถทํางานไดตรงเปาหมาย ไดรับความสําเร็จในงานนั้น

5. ผูที่ไดรับการรับรองความสามารถในการประกอบอาชีพ แตละสาขาอาชีพจะเปนการแสดงถึงความสามารถในการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ และมีความรับผิดชอบในงานที่ทําแตละช้ินงาน ทําใหทุกคนแขงขันกันดวยความสามารถอยางแทจริง เพราะใบรับรองวาจบการศึกษา ไมสามารถวัดคุณภาพ ความสามารถของคนได และใบรับรองเปนแคใบเบิกทางในการเขาทํางาน แตในทางปฏิบัติพนักงานตองมีทักษะในเนื้องาน เปนการสรางแรงจูงใจใหผูทํางานมีความกาวหนา มั่นคงในการประกอบอาชีพ ดวยการกําหนดอนาคตตัวเองได (อยูบนเงื่อนไขวา Qualification ซ่ึงไดรับการ Certified แลวจะไดคาตอบแทนสูงขึ้น) โดยไมไดขึ้นกับนายจางแตฝายเดียว

6. โดยทั่วไปการรับรองความสามารถควรไดรับการรับรองจากนายจาง แตในปจจุบันการรับรองจากนายจางแตเพียงอยางเดียวไมเพียงพอ เนื่องจากความสามารถมีหลายระดับ การกําหนดระดับตางๆ ควรมีมาตรฐานรับรองจากคณะกรรมการที่ไดรับคัดเลือกมาจากหลายองคกร เชน จากเจาของกิจการ อุตสาหกรรม อาจารยในสาขาวิชาชีพนั้นๆ จากสถาบันการศึกษาที่ไดรับรองและมีช่ือเสียง กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ผูมีประสบการณในการทํางานสูง ผูทรงคุณวุฒิซ่ึงควรเปนมืออาชีพรับรอง เพื่อใหการรับรองมีมาตรฐานคุณภาพที่เปนมาตรฐานเดียวกันเปนที่ยอมรับของทุกหนวยงานหรือสถาบัน มีความสามารถที่บอกขีดความสามารถได และตองใชเกณฑมาตรฐานฝมือแรงาน เนนเกณฑในการประเมินหรือการวัด หรือการรับรอง ซ่ึงประกอบดวย การรับรองเรื่องการศึกษารบัรองการฝกอบรม และรับรองประสบการณ ซ่ึงในไทยยังมีผูที่มีฝมือแตขาดความรู

7. ความสามารถในการประกอบอาชีพควรจะตองมีการรับรอง หรือใบรับรองที่เปนมาตรฐานเดียวกัน เพราะคนตองมีการพัฒนาอยางตอเนื่องและเปนระบบ โดยมีสถาบันมาทําหนาที่

Page 73: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

132

บริหารจัดการ ประเมินความรู ความสามารถแกผูประกอบอาชีพ โดยมีหนวยงานรับผิดชอบที่ชัดเจนในการทําการสงเสริมในแตละสาขางาน รวมทั้งทําการทดสอบและประเมินผล ออกหนังสือรับรองความสามารถถือเปนแนวคิดที่มีความสําคัญมาก แตควรจะเนนที่ตนทางหรือ Input เพื่อปอนเขาสูอุตสาหกรรม เพราะถา Raw Material มีคุณภาพ Output หรือผลผลิตตองมีคุณภาพเปนที่ตองการของลูกคา ดังนั้นหากมีการรับรองความสามารถหรือ Competency หรือ Qualification Certification จะทําใหเกิดคุณคาของงาน คุณคาของคนทํางาน จะเพิ่มการบริหารผลของรายได

8. การรับรองความสามารถในการประกอบอาชีพ ควรจัดแบงเปนระดับตางๆ เพื่อแบงความสามารถของบุคลากร ตามระดับความสามารถของเขา (ซ่ึงเห็นวาที่กรมพัฒนาฝมือแรงงานมีการจัดทํามาตรฐานฝมือแรงงานในวิชาชีพสาขาตางๆ ในขณะนี้ถูกตองแลว) โดยจัดทําระบบการจางงานในแตละระดับใหชัดเจน และในแตละตําแหนงงาน ควรมีทิศทางในการเติบโตอยางไร จึงจะสามารถกําหนดคาตอบแทนไดทุกตําแหนงงาน นอกจากนี้ระบบการทดสอบความสามารถจะตองมีมาตรฐานและมีขอกําหนดที่ศักดิ์สิทธิ์จริงๆ ไมใชออกใบรับรองใหเหมือนเศษกระดาษและคนยังคงทํางานไมเปน ควรดําเนินการโดยการฝกอบรมหรือการทดสอบ มิใชใชการทดสอบมาตรฐานแตอยางเดียว ความยั่งยืนอยูที่การฝกอบรมตามกรอบที่กําหนดใหครบถวนทุกเรื่องและเขาสูการประเมินเพื่อรับรองความสามารถ

9. ควรมีการรับรองความสามารถในการประกอบอาชีพ โดยเห็นควรตองมีใหครอบคลุมทุกตําแหนงงานในการประกอบอาชีพ เชน ในโรงงานอุตสาหกรรมหรือบริษัทไมใชเฉพาะในกลุมวิชาชีพเฉพาะ เชน วิศวกร แพทย หรือนักบัญชี โดยอิงตามมาตรฐานแรงงานสากล และโดยเฉพาะในกิจการที่เกี่ยวกับความปลอดภัยกับมนุษยและทรัพยสินสวนรวม ส่ิงแวดลอม และวิชาชีพเฉพาะทางที่อาจไมมีหลักสูตรการศึกษาในปจจุบัน รวมทั้งควรจัดเพิ่ม 2 ปะเภทหลักๆ ไดแก ประเภทอาชีพอิสระ (ภาคบังคับ / ภาคสมัครใจ) และประเภทชางอุตสาหกรรม (ภาคบังคับ / ภาคสมัครใจ) เพื่อสรางขีดความสามารถในการแขงขัน งายตอการกําหนดคาจางและสงเสริมการจางงานในระดับสากล อยางไรก็ดีผูเขารวมสัมมนาบางทาน ยังคงมีความเห็นวาการรับรองความสามารถไมควรรวมไปถึงทางดานแพทย วิศวกร ทนาย หรืออาชีพที่ตองใชการวิ เคราะหใชความรู สูง และมีประสบการณมานาน

10. ควรมีความรวมมือกันระหวางภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวของโดยตรง เร่ิมตั้งแตระบบการศึกษาที่สอดคลองตอการทํางานจริง เพื่อใหตรงกับความตองการของสาขาอาชีพนั้นๆ และใหเอกชน องคกร สมาคมวิชาชีพ เปนตัวหลักในการดําเนินงาน มีบทบาทในการกําหนดมาตรฐาน เนื่องจากเปน End User จะรูดีที่สุดวาจะตองจัดการอยางไร เพื่อใหแขงขันกับนานาประเทศได การรับรองควรใหสมาคม หรือหนวยงานที่ชํานาญการในเรื่องนั้นๆ เปนผูกําหนดหลักเกณฑและ

Page 74: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

133

มาตรฐานกันเอง และควรมีหนวยงานที่รองรับแนนอน เชน ควรใหสมาคมวิชาชีพเปนผูรับรอง และในการรับรองความสามารถจะตองไดรับการยอมรับจากสถานประกอบการ และเปนมาตรฐานระดับนานาชาติ

11. การพัฒนาตองเรงรัดและมีแผนยุทธศาสตรในเรื่องนี้โดยเร็ว และดําเนินการโดยเร็ว เพื่อใหสามารถโยงใชดวยกันอยางเสรีทั่วโลก โดยตองใหไดขอสรุปในบทบาทหนาที่ของสวนที่เกี่ยวของวาควรดําเนินการในรูปแบบใด เนื่องจากการทํามาตรฐานตองใชเวลานาน และใชงบประมาณสูง และจะตองสะทอนความตองการของตลาด เขาใจความตองการของภาคเอกชนในปจจุบัน ไมใชทําจากองคความรูทางวิชาการอยางเดียว ซ่ึงจะไมไดประโยชน และไมไดรับการยอมรับ นอกจากนี้ ในการรับรองความสามารถจะตองมีการเก็บขอมูลไปพรอมกันดวย และขอมูลจะตองอยูในรูปของการพรอมใช และควรโยงไปสูภาคการศึกษาดวยวาการศึกษาจะปรับระบบอยางไร จะสรางคนและสงมอบใหมีการพัฒนาวิชาชีพไดอยางไร 4. ความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท ความสําคัญ และประโยชนของการจัดตั้งสถาบัน

คุณวุฒิวิชาชีพ ผูเขารวมสัมมนา รอยละ 66.7 เห็นดวยกับการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ ซ่ึงสอดคลองกับในทุกกลุมองคกร รวมทั้งไดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท ความสําคัญ และประโยชนของการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ ไวดังนี้

ความคิดเห็น จํานวนคําตอบ %

1. เห็นดวยกับการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ 38 66.67

2. ไมเห็นดวยกับการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ 19 33.33

รวม 57 100.00

Page 75: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

134

0

10

20

30

40

50

60

70

1. เห็นดวย 2. ไมเห็นดวย

66.67%

33.33%

ความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท ความสําคัญ

และประโยชนของการจัดตั้งสถาบันคุณวฒุิวิชาชีพ

ความคิดเห็นท่ีมีตอการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ เห็นดวย ไมเห็นดวย รวม

กระทรวงศึกษาธิการ / สถาบันการศึกษา 5 3 8

สภาพัฒน 0 0 0

บริษัทเอกชน / ภาคเอกชน 15 9 24

กระทรวงแรงงาน 7 1 8

หนวยงานรัฐอื่น 10 5 15

TDRI 1 0 1

อ่ืนๆ 0 1 1

รวม 38 19 57

Page 76: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

135

0

10

20

30

40

50

60

50

157 10

1 0

38

3 0

91

50 1

19

80

24

815

1 1

57

เห็นดวย ไมเห็นดวย รวม

1. เปนหนวยงานกลางในการดูแลและพัฒนาคุณวุฒิวิชาชีพ พัฒนาคนที่ไมมีการศึกษา

และคนทํางาน เปนเสมือนหนวยงานที่กําหนดและกํากับสงเสริมใหแผนยุทธศาสตรไปสูเปาหมายตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติได โดยกําหนดมาตรฐานอาชีพคุณวุฒิวิชาชีพ การทดสอบและการรับรองและออกใบอนุญาตประกอบอาชีพ

2. ชวยสนับสนุนสงเสริมการจัดระบบการศึกษา มีแผนรวมที่ทําใหภาคการศึกษาผลิตบุคลากรไดตรงตามความตองการของภาคอุตสาหกรรม รวมถึงจํานวนที่ตองการในแตละชวงเวลาเปนผูช้ีนําการจัดการศึกษา และรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ เพื่อไปใชเทียบคุณวุฒิและอัตราคาจาง

3. ชวยใหแรงงาน สถาบันการศึกษา และสถานประกอบการมีแนวทางในการพัฒนาคน พัฒนาฝมือแรงงานใหมีความเขมแข็งมีมาตรฐานตรงตามสายอาชีพ ลดคาใชจายขององคกร และสามารถแขงขันได

4. ชวยสงเสริมควบคุมวางแผนและพัฒนายกระดับแรงงานอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพ เตรียมกําลังคนใหมีคุณภาพมีสมรรถนะสูง ยกระดับความสามารถของกําลังแรงงาน และระดับวิชาชีพซ่ึงไมใชระดับฝมือแรงงาน ใหทันตอการแขงขันของโลก และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันในเวทีโลก โดยจัดใหมีระบบคุณวุฒิวิชาชีพ เพื่อเปนมาตรฐานในการรองรับความรู ความสามารถและทักษะของบุคคลในการทํางานใหเปนมาตรฐานสากล โดยพัฒนาอยางจริงจังและตอเนื่อง

Page 77: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

136

5. มีความสําคัญที่เปนหลักประกันใหกับผูประกอบอาชีพ ซ่ึงสามารถนําไปแสดงตอสถานที่ประกอบการแตละประเภท และเปนจุดที่จะสรางงานใหกับอนุชนรุนหลัง และเปนที่ยอมรับของตางประเทศ

6. เปนหนวยงานกลางที่มีสวนไดสวนเสียของบุคคล 3 กลุมคือ 1) ผูผลิตคนทํางาน 2) ผูใชแรงงาน 3) แรงงาน และเปนหนวยงานที่รับผิดชอบชัดเจน มีคณะทํางานจากหนวยงานที่เกี่ยวของโดยเฉพาะสถานประกอบการ และควรกําหนดหนวยงานที่เห็นเดนชัด

7. หนวยงานตองเปนที่ยอมรับในสังคมและตลาดแรงงาน ซ่ึงเปนเรื่องที่ยาก เพราะไมคอยรักษาคุณภาพ และไมพัฒนาใหมีคุณภาพสูงอยางตอเนื่อง กรณีเปนองคการมหาชน ควรเปนกลาง มีวิสัยทัศนหรือพันธกิจขององคการ และมี Output ที่ชัดเจน สําหรับผูเขารวมสัมมนาอีกรอยละ 33.33 ที่ไมเห็นดวยกับการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ เนื่องจากมีเหตุผลคือ 1. คุณวุฒิวิชาชีพมีหลากหลายมาก และแตละวิชาชีพก็มีหนวยงานดูแลอยูแลว ก็ควรใหหนวยงานเหลานั้นที่มีมาตรฐานดูแลกันเอง และมีการจัดตั้งในองคกร สมาคมนั้นๆ ซ่ึงเปนกลุมสมาคมอาชีพเดิม 2. มีความซ้ําซอนกับความรับผิดชอบและหนาที่ของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ซ่ึงมี พ.ร.บ. อยูแลวประมาณ 70% หากการพัฒนาไมเปนเอกภาพจะยิ่งทําใหลาหลังและเกิดความขัดแยง ควรปรับเปลี่ยนหนวยงานที่มีอยูแลวใหสามารถดําเนินการไดตรงตามที่สาขาอาชีพนั้นๆ ตองการ การจัดตั้งใหมส้ินเปลืองงบประมาณควรเอางบประมาณสวนนี้ไปปรับปรุงกรมพัฒนาฝมือแรงงานใหเปนหนวยงานที่สามารถออกหนังสือรับรองคุณวุฒิหรือทักษะการทํางานดีกวาตองไปตั้งหนวยงานใหม 3. หนวยงานใหมควรทํางานดานบริหารขอมูลจะเปนเรื่องที่ถูกตองมากกวา และดําเนินการกํากับดูแลคุณภาพการศึกษา ซ่ึงมีประโยชนแตคงตองปรับเปลี่ยน ช่ือเปนสถาบันขอมูลผูทรงคุณวุฒิและสภาวิชาชีพ และปรับสาระสําคัญที่อยูในราง พ.ร.บ. จัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพใหอยูในขอบเขตหนาที่ โดยไมทับซอนกับบทบาทหนาที่ขององคกรที่มีหนาที่อยูแลว 4. เปนการจัดขึ้นโดยฝายขาราชการเปนผูกําหนดโดยยังไมรูจริงในสาขาอาชีพนั้นๆ ควรใหกระทรวงแรงงานดําเนินการรวมกับกระทรวงศึกษาธิการ และผูประกอบการหรือทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ และมีสวนไดสวนเสีย

Page 78: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

137

5. ควรตั้งคณะกรรมการเพื่อตรวจสอบ หารือขอดีขอบกพรองของแตละสถาบัน 6. การจัดตั้งองคการมหาชนมักมีผลประโยชนแอบแฝงใหแก ผูบริหารองคการ และผลักภาระคาใชจายใหประชาชน โดยอาศัยกฎหมายเปนเครื่องมือ รวมถึงขาดการกํากับดูแลอยางจริงจังจากรัฐ เนื่องจากกฎหมายไมเปดชองใหมีการควบคุมอยางใกลชิด เกิดการกระทําตามอําเภอใจไมสนใจประชาชน หากจําเปนตองจัดตั้งจริงๆ ควรใหการทํางานโปรงใส ตรวจสอบได และจริงจังกับการเอาจริงเรื่องมาตรฐานคนและงาน 5. ความคิดเห็นเกี่ยวกับความซ้ําซอนของสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพกับภารกิจของกรม

พัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน พรอมเหตุผล ผูเขารวมสัมมนา รอยละ 71.15 เห็นวาสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพมีภารกิจที่ซํ้าซอนกับกรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน ซ่ึงมีความคิดเห็นสอดคลองกันในทุกกลุมองคกร โดยมีเหตุผลคือ

1) เห็นวาขณะนี้กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กําลังจัดทําอยูแลวและเขาใจเรื่องนี้เปนอยางดี มีความเชี่ยวชาญ จึงไมควรกําหนดอํานาจหนาที่ทับซอน แตหากใหมีภารกิจเรื่องคุณวุฒิวิชาชีพเพิ่มขึ้น ตองสนับสนุนคน งบประมาณใหมากขึ้น จะทําใหกาวหนาและรวดเร็วกวาไปตั้งที่หนวยงานอื่น ในแงเนื้อหาเห็นวาซ้ํากันถึง 70% กรมพัฒนาฝมือแรงงานตองจริงจังขึ้นไมหวังเพียงเปาปริมาณโดยไมคํานึงถึงคุณภาพ

2) กระทรวงแรงงานควรรวมมือกับการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ โดยแยกภารกิจที่แตละหนวยงานมีความชํานาญออกใหชัดเจน และรวมมือกันทํางาน เพื่อผลประโยชนของประเทศ

3) องคกรใหมควรทําหนาที่สนับสนุนแนะนํา เปนแหลงขอมูลผูทรงคุณวุฒิและผูประกอบวิชาชีพ เปนศูนยขอมูลเสมือนเปนสภาวิชาชีพอ่ืนๆ ที่ยังไมมีการจัดตั้งสภาวิชาชีพอยางเปนทางการ

4) มีหนวยงานที่ทําอยูแลว ไมวาจะเปนของกรมพัฒนาแรงงานหรือองคกรเอกชนตางๆ 5) งานดานการสรางมาตรฐาน การออกมาตรฐาน การประเมิน การสอบ การจัดมาตรฐาน

และกําหนดมาตรฐานฝมือแรงงาน ซ่ึงมีจํานวนมาก เกรงวาจะทํางานไมทัน ในอนาคตคงเกี่ยงกันแนนอนวาหนวยงานใดจะรับผิดชอบ หากมีการตั้งหนวยงานซ้ําซอน

Page 79: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

138

ความคิดเห็นเก่ียวกับความซ้ําซอนของสถาบันคุณวฒุิวิชาชพีกับภารกิจ ของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

ความคิดเห็น จํานวนคําตอบ %

1. เห็นวาซ้ําซอนกัน 37 71.15

2. เห็นวาไมซํ้าซอนกัน 15 28.85

รวม 52 100.00

0

10

20

30

40

50

60

70

80

1. เห็นวาซ้ําซอนกนั 2. เห็นวาไมซ้ําซอนกนั

71.15%

28.85%

Page 80: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

139

ความคิดเห็นเก่ียวกับความซ้ําซอนของสถาบันคุณวฒุิวิชาชพี กับภารกิจของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ความคิดเห็นเก่ียวกับความซ้ําซอน เห็นดวย ไมเห็นดวย รวม

กระทรวงศกึษาธิการ / สถาบันการศึกษา 5 3 8

สภาพัฒน 0 0 0

บริษัทเอกชน / ภาคเอกชน 12 9 21

กระทรวงแรงงาน 8 0 8

หนวยงานรัฐอืน่ 10 3 13

TDRI 1 0 1

อ่ืนๆ 1 0 1

รวม 37 15 52

0

10

20

30

40

50

60

50

128 10

1 1

37

3 0

9

0 3 0 0

158

0

21

813

1 1

52

เห็นดวย ไมเห็นดวย รวม

Page 81: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

140

ในสวนของผูเขารวมการสัมมนาที่เห็นวาทั้งสองหนวยงานขางตนไมมีความซ้ําซอนกันเนื่องจาก

1. หากมีการกําหนดขอบเขตงานที่ ชัดเจนไมให เกิดความซ้ํ าซอนได เชน มองกลุมเปาหมายที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป และสามารถทํางานอิสระได ไมตองเปนลูกจาง รวมทั้งขอบเขตงานในเรื่องการศึกษาวิจัยตลาดแรงงานของผูบริโภค การบูรณาการในเรื่องการวางแผน การผลิต การตลาด มีศูนยขอมูลขาวสารในระบบสาขาวิชาชีพ วางแผนงานตั้งแตระบบการศึกษา

2. หนาที่ของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน มีหนาที่เพียงสวนหนึ่งในการกํากับดูแลบุคลากรในภาคอุตสาหกรรมหรือภาคเอกชนเทานั้น จําเปนตองรวมถึงภาคการศึกษาดวย เชน อาชีวศึกษา มหาวิทยาลัย ที่ผลิตบุคลากรดานปฏิบัติการและสายสามัญ ทุกภาคสวนตองทํางานใหสอดคลองและเปนไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้น จึงควรพิจารณาที่บทบาทวาใครมีหนาที่อะไร

3. สามารถแบงแยกขอบเขต บทบาท หนาที่ความรับผิดชอบที่มีความซ้ําซอนออกมาใหชัดเจนได โดยสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพเปนบุคคลที่สามซึ่งเปนผูตรวจสอบการฝกอบรมของทั้งกระทรวงแรงงานและกรมอาชีวศึกษา มีบทบาทเปนผูใหความรู ในขณะที่สถาบันรับรองมาตรฐานตองประเมินและวัดมาตรฐาน

4. มีเปาหมายตางกัน มาตรฐานอาชีพ เปนการสงเสริมใหบุคลากรในสาขาอาชีพมีความสามารถในการดํารงอาชีพของตนเองอยูไดอยางมืออาชีพ มีชองทางในการเรียนรูและพัฒนาขึ้นอยางเปนระบบ สวนมาตรฐานฝมือแรงงาน เปนการสงเสริมใหบุคลากรในสาขาอาชีพมีความสามารถในการดําเนินอาชีพไดสอดคลองกับความตองการในตลาดแรงงาน ซ่ึงจะสงผลถึงการไดรับคาตอบแทนจากแรงงาน ผลผลิต

5. วัตถุประสงคตางกัน กรมพัฒนาฝมือแรงงานเนนภารกิจสําคัญเกี่ยวกับการพัฒนาฝมือแรงงาน สวนการพัฒนาคุณวุฒิวิชาชีพ จะเนนภารกิจดานการรับรองความรู ทักษะ สมรรถนะของบุคคลเปนหลัก โดยมุงเนนการปฏิบัติวิชาชีพในสนามการปฏิบัติงานจริงภายหลังจากที่ผูปฏิบัติวิชาชีพไดสอบผานระดับตางๆ ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานแลว

Page 82: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

141

6. ความคิดเห็นที่มีตอการกําหนดเปนนโยบายของรัฐบาลปจจุบัน ผูเขารวมสัมมนารอยละ 89.10 เห็นดวยที่จะใหการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพกําหนดเปนนโยบายของรัฐบาลปจจุบัน โดยมีความคิดเห็นสอดคลองกันในทุกกลุมองคกร เหตุผลคือ

1. รัฐจะตองมีวิสัยทัศนในการยกระดับศักยภาพบุคลากรทั้งระดับแรงงานและระดับปญญาชนไปพรอมๆ กัน เพื่อใหเกิดอาชีพใหมๆ ที่กลายเปนผูนําของโลกได และรัฐควรทําตอเนื่อง ถือเปนนโยบายที่ชัดเจนไมใชพอเปลี่ยนรัฐบาลก็เปลี่ยนแปลงไป ใหถือเปนวาระแหงชาติ เพื่อผลักดันใหเกิดสถาบันไดจริง

2. ประเทศไทยลาสมัยมานาน เพราะความขัดแยงของหนวยงานทําใหเสียประโยชนในการแขงขัน ผูลงทุนมีปญหาเรื่องทักษะฝมือแรงงานของไทย คนวางงานมาก หากทําสําเร็จ จะไดพัฒนาแรงงานที่ถูกเลิกจางใหมีทักษะและประกอบอาชีพได การลงทุนจะไดกาวหนา เศรษฐกิจจะไดเจริญ

3. แรงงานเปนสวนสําคัญทางดานเศรษฐกิจที่จะนําพาประเทศไทยกลับมาเปนตลาดแรงงานเหมือนเดิมใหเร็วที่สุด เพื่อชวยใหประเทศรอดพนจากภาวะเศรษฐกิจตกต่าํ แรงงานที่มีประสิทธิภาพ จะทําใหการผลิต การแปรรูป การสรางมูลคาเพิ่มดีขึ้น

4. ควรรีบออก พ.ร.บ. นี้ออกมา และรีบดําเนินการทันทีเพื่อใหแรงงานไทยมีมาตรฐานเปนที่ยอมรับของตลาดตางประเทศ เปนการยกระดับความสามารถ และคาตอบแทนใหเหมาะสมกับวิชาชีพนั้นๆ สามารถออกไปทํางานตางประเทศได และเตรียมพรอมเพื่อเขาสูระบบการเคลื่อนยายแรงงานเสรีตามขอตกลง FTA เพื่อใหสามารถแขงขันในอาเซียนและโลกได โดยในระยะแรกรัฐควรเปนพี่เล้ียง เมื่อเขมแข็งแลวรัฐควรเปนเพียงผูสนับสนุนเทานั้น

5. รัฐจําเปนตองสนับสนุนใหมีเครื่องมือชวยในการสงเสริมการทํางานและการประกอบอาชีพ โดยผูผลิต ผูใชกําลังคน ผูทํางาน ทุกฝายไดรับความเปนธรรม ทั้งสังคม และธรรมชาติแวดลอม

6. ควรมีหนวยงานในการรับผิดชอบสงเสริมใหมีผูรับผิดชอบเรื่องมาตรฐานฝมือแรงงาน คุณภาพวิชาชีพ แตตองรางโครงสรางที่แนนอนไมซํ้าซอน เพราะเปนภารกิจที่หลายหนวยงานตองเขามามีสวนรวมในการดําเนินงาน เพื่อแกไขการขาดแคลนกําลังแรงงานที่มีประสิทธิภาพ และไมตรงตามความตองการ รวมทั้งแกปญหาการอางอิงอัตราคาจางตามระบบการศึกษามากกวามาตรฐานฝมือแรงงาน

Page 83: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

142

7. มีหลายหนวยงานเกี่ยวของทําใหการทํางานเปนไปคนละทิศละทาง การมีนโยบายที่ชัดเจนจะชวยใหผูอยูในกํากับดูแลดําเนินการอยางถูกตอง มีประสิทธิภาพสูงสุด สามารถกําหนดอัตราคาจางในระดับที่เกิดความเปนธรรมได

8. ชวยใหเอกชน ผูประกอบการ มีมาตรฐานอาชีพ และตําแหนงรายไดที่เปนมาตรฐาน ไดแรงงานที่ตรงตามความตองการ มีคุณภาพ มีระเบียบวินัย รับผิดชอบหนาที่ มีความคิดสรางสรรค พัฒนากาวหนาอยูตลอดเวลา ซ่ึงจะชวยใหสถานประกอบการเจริญกาวหนา มีกําไร ตนทุนต่ํา การผลิตคุมคา มีคุณภาพ แรงงานไดรับผลตอบแทนคุมคา ประเทศชาติเจริญกาวหนา ผูบริโภคมีความมั่นใจ

9. ทุกวิชาชีพควรมีสภาวิชาชีพทําหนาที่ทดสอบความสามารถและเปนผูประสานงานระหวางความตองการของผูประกอบการกับสถาบันการศึกษาผูใหการสอน ผูฝกอบรม

10. จะชวยใหผูประกอบการ องคกร สมาคมตางๆ เขามารวมมือจัดทําโดยเร็วในลักษณะขององคกรอิสระที่มองภาพรวมของการพัฒนาแรงงานในดานทักษะฝมืออาชีพทําใหคนสามารถทํางานไดจริง ไมใชสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ

Page 84: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

143

ความคิดเห็นท่ีมีตอการกําหนดเปนนโยบายของรัฐบาลปจจุบัน

ความคิดเห็น จํานวนคําตอบ %

1. เห็นดวยที่จะกําหนดเปนนโยบายของรัฐบาล 49 89.09

2. ไมเห็นดวยที่จะกําหนดเปนนโยบายของรัฐ 6 10.91

รวม 55 100.00

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

1. เห็นดวย 2. ไมเห็นดวย

89.09%

10.91%

Page 85: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

144

ความคิดเห็นท่ีมีตอการกําหนดเปนนโยบายของรัฐบาลปจจุบัน

ความคิดเห็นท่ีมีตอการกําหนดเปนนโยบายของรัฐ เห็นดวย ไมเห็นดวย รวม

กระทรวงศกึษาธิการ / สถาบันการศึกษา 7 0 7

สภาพัฒน 0 0 0

บริษัทเอกชน / ภาคเอกชน 22 1 23

กระทรวงแรงงาน 8 0 8

หนวยงานรัฐอืน่ 11 4 15

TDRI 1 0 1

อ่ืนๆ 0 1 1

รวม 49 6 55

0

10

20

30

40

50

60

70

22

8 11

1 0

49

0 0 1 04

0 167

0

23

815

1 1

55

เห็นดวย ไมเห็นดวย รวม

Page 86: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

145

7. ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพวาควรอยูภายใตการดูแลของหนวยงานใดพรอมเหตุผล

ผูเขารวมสัมมนารอยละ 67.35 เห็นวาสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพที่จะดําเนินการจัดตั้งควรอยู

ภายใตการดูแลของกระทรวงแรงงาน โดยกรมพัฒนาฝมือแรงงานอีกรอยละ 20.41 เห็นวาควรจัดตั้งเปนหนวยงานหรือองคกรอิสระ อีกรอยละ 6.20 เห็นวาควรจัดตั้งเปน องคการมหาชน รอยละ 4.08 เห็นวาควรอยูในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ

เหตุผลที่ผูเขารวมสัมมนารอยละ 63.35 มีความเห็นวาสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพที่จะดําเนินการจัดตั้งขึ้นควรอยูภายใตการดูแลของกระทรวงแรงงาน โดยกรมพัฒนาฝมือแรงงาน เนื่องจาก

Page 87: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

146

ความคิดเหน็เกี่ยวกับการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชพีวาควรอยูภายใตการดูแลของหนวยงานใด

หนวยงาน จํานวน คิดเปนเปอรเซ็นต

กระทรวงแรงงาน 33 67.35

กระทรวงศกึษาธิการ 2 4.08

กระทรวงอุตสาหกรรม 1 2.04

องคกรอิสระ/สภาวิชาชีพ 10 20.41

องคกรมหาชน/องคกรกลาง 3 6.12

รวม 49 100

0

10

20

30

40

50

60

7067.35

4.08 2.04

20.41

6.12

Page 88: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

147

1. พ.ร.บ.คุณวุฒิวิชาชีพ และ พ.ร.บ.สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 มีความซํ้าซอนกันคอนขางมาก มีงานซ้ําซอนกันถึง 70%

2. กรมพัฒนาฝมือแรงงานไดมีการจัดทําและทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน ตลอดจนรับรองความรู ความสามารถ ทักษะการทํางานในสาขาตางๆ โดยผูเชี่ยวชาญในแตละสาขาวิชาชีพมาฝกสอนและทดสอบมาตรฐานอยูแลว

3. กรมพัฒนาฝมือแรงงานมีความเขาใจเปนอยางดี และสอดคลองกับภารกิจกระทรวงแรงงาน สามารถดําเนินการไดทันที โดยรวมมือกับสถาบันการศึกษา และสถานประกอบการเอกชน อันเปนการประหยัดงบประมาณ แตก็ตองมีการปรับปรุงพัฒนา และปรับตัวในการทํางานใหเร็วขึ้น ใชบุคลากรที่มีความรูความสามารถใหตรงกับงาน และมีบุคลากรมากพอ งบประมาณเพียงพอ ขยายบทบาทของกรมพัฒนาฝมือแรงงานใหครอบคลุม Certificate ของงาน เปล่ียนบทบาทเปนกรมพัฒนาวิชาชีพและฝมือแรงงานเพื่อใหครอบคลุมมากขึ้น หรือยุบรวมหนวยงานเขาดวยกัน แตงตั้งเปนสถาบันเพื่อไมกอใหเกิดภารกิจที่ซํ้าซอน และควรทําเปน One Stop Service เพื่อจะไดไมลําบากกับภาคเอกชน โดยข้ึนกับกระทรวงแรงงาน หนวยงานที่จะจัดตั้งนี้ตองมีความคลองตัวไมติดระบบราชการ และจะตองมีหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของรวมดําเนินการดวย โดยมีองคกรวิชาชีพเปนผู รับรอง คณะกรรมการหลักมาจากกระทรวงศึกษาธิการ สภาอุตสาหกรรม สภาหอการคาไทย เปนตน แตการจัดตั้งควรเอาผูเกี่ยวของมารวมกันเปน Committee ซ่ึงไมใชแคกระทรวงศึกษาธิการกับกระทรวงแรงงาน หรือสภาหอการคาไทย เพราะยังไมครอบคลุม และไมจําเปนตองเปนของรัฐเพียงอยางเดียว รัฐอาจสนับสนุนใหเอกชนที่มีศักยภาพเปนผูทํา เพื่อประหยัดงบประมาณรัฐ เพราะเอกชนมีความรูในเรื่องที่ทํา จะทําใหเอกชนเขมแข็งมากขึ้น แตภารกิจตองไมซํ้าซอนกับหนวยงานอื่น เพราะจะทําใหเกิดความสับสนและเสียงบประมาณ และควรเปนที่ยอมรับของหนวยงานอื่น

4. องคกรที่ทําหนาที่นี้จะตองมีผูมีความรูที่เหมาะสม ไมใชแคเสมียน ตองดําเนินการรวดเร็ว ชาจะยิ่งเสียหาย ควรใหกระทรวงแรงงานรับผิดชอบโดยแกไขปญหาความขัดแยงตางๆ มีอิสระ และมุงมั่นใหเกิดประโยชนตอประเทศชาติ

อยางไรก็ดี ผูเขารวมสัมมนาอีกรอยละ 13.8 มีความเห็นวาควรจัดตั้งเปนหนวยงานหรือ

องคกรอิสระ เนื่องจากเห็นวาองคกรอิสระจะสามารถประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของได และเปนอิสระ เปนกลางจากการชี้นําของหนวยงานที่เกี่ยวของในการประเมินและใหการรับรอง โดยมีภาคเอกชนหรือสถานประกอบการที่มีคุณภาพหรือประสบการณที่ภาครัฐ และสถานศึกษายอมรับ

Page 89: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

148

เกิดความคลองตัว โดยมีหลายภาคีรวมกัน ทั้งองคกรภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ และรัฐบาล มีความยืดหยุนในการใชงบประมาณ และมีหนวยงานตรวจสอบ

สวนผูสัมมนาอีกรอยละ 10.3 เห็นวาหนวยงานใดก็ไดที่จะมาดูแลหนวยงานที่ตั้งขึ้นใหมนี้ แตขอใหทําอยางจริงจัง ชัดเจน และวัดไดจริง แบงภารกิจใหชัดเจนลงตัว เพื่อประเทศชาติ บูรณาการงานได ไมซํ้าซอน

นอกจากนี้ผูสัมมนาสวนนอยมีความเห็นวาควรจัดตั้งหนวยงานใหมเปนองคการมหาชน เนื่องจากมีความคลองตัวในการบริหารงาน โดยรวมมือกันระหวางกระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ และผูประกอบการ รวมเปนคณะกรรมการ โดยมีผูนําคือกระทรวงแรงงาน

8. ความคิดเห็นเก่ียวกับการจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพวาควรจัดรูปแบบองคกรเปนองคการ

มหาชน (Public Organization : Po) หรือหนวยบริการรูปแบบพิเศษ (Service Delivery Unit : SDU) พรอมเหตุผล

ผูเขารวมสัมมนารอยละ 28.3 เห็นวาควรจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพในรูปแบบของหนวย

บริการพิเศษ อีกรอยละ 26.4 เห็นวาควรจัดตั้งในรูปแบบขององคการมหาชน ในขณะที่อีกรอยละ 13.2 เห็นวาจะเปนรูปแบบใดก็ได รวมทั้งควรอยูในกํากับของหนวยงานราชการ และคณะกรรมการรวมหลายองคกร ตามลําดับ

เหตุผลที่ผูเขารวมสัมมนาเห็นวาควรจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพในรูปแบบของหนวยบริการพิเศษ เนื่องจากจะไดสามารถรับรองความรู ความสามารถ และทักษะในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานอาชีพใหมีมาตรฐานเดียวกัน เพื่อใหเกิดความคลองตัวในการดําเนินการ โดยใหรัฐรวมกบัเอกชน มีความโปรงใสในการดําเนินงาน ไมควรมีผลประโยชนมาเกี่ยวของ มีการควบคุมดูแลเรื่องงบประมาณ มีความเปนเอกเทศ ไมอยูภายใตการควบคุมของหนวยงานใด มุงเนนการพัฒนาอยางยั่งยืน มีคณะกรรมการบริหาร

สําหรับผูสัมมนาอีกรอยละ 26 ที่มีความเห็นวาควรจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพในรูปแบบขององคการมหาชน เนื่องจากจะไดมีความเปนอิสระคลองตัว โดยอยูภายใตการสนับสนุนของรัฐ ดําเนินงานโดยผูบริหารมืออาชีพ มีคาตอบแทน มีแนวความคิดใหมๆ นํานโยบายของรัฐมาเปนสวนนําในการปฏิบัติงานและโยงไปสูเอกชน มีคณะกรรมการจากภาคเอกชน มีความยืดหยุนในการใชจายงบประมาณ และมีสวนรวมจากภาคเอกชน

สวนผู สัมมนาที่ เห็นวาจะจัดตั้งในรูปแบบใดก็ได เนื่องจากเห็นวานาจะคํานึงถึงผลประโยชนของตลาดแรงงานและทุกภาคสวน การบริหารงานคลองตัว มีอิสระในการบริหาร

Page 90: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

149

จัดการ เปนอิสระ เปนที่ยอมรับของทุกฝาย มีคณะกรรมการจากหลายสาขา เปาหมายชัดเจน การตรวจสอบตองดี มีอํานาจในการตัดสินใจ

การจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพควรจัดรปูแบบองคกรในรูปแบบใด เพราะเหตุใด

รูปแบบขององคกร จํานวนคําตอบ %

องคการมหาชน (Public Organization : Po) 14 26.4

หนวยบริการรูปแบบพิเศษ (Service Delivery Unit : SDU) 15 28.3

คณะกรรมการรวมหลายองคกร 4 7.5

หนวยงานราชการ 6 11.3

รูปแบบใดก็ได 7 13.2

อ่ืนๆ 7 13.2

รวม 53 100.00

Page 91: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

150

9. ความคิดเห็นอื่นๆ ของผูเขารวมสัมมนา

ผูเขารวมสัมมนาไดเสนอความคิดเห็นเพิ่มเติม ดังนี้ 1. สถาบันการศึกษา (โรงเรียน มหาวิทยาลัย) ควรมีความชัดเจนในปรัชญาการศึกษาของ

แตละแหง และทําหนาที่ใหสมบูรณในเรื่องการเรียนการสอน พัฒนาคนใหเปนมนุษยที่สมบูรณ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานควรเรงรัดทําแผนงานใหทันกับความตองการของตลาดแรงงาน และวางแผนพัฒนาองคกรใหเปนที่เชื่อถือของผูประกอบการ

2 . ไม ค ว รตั้ ง หน ว ย ง านอะไรขึ้ นม าอี ก ควร เป นคว ามร ว มมื อกั น ระหว า งกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงอื่นๆ ที่มีความเกี่ยวของกัน โดยเริ่มตั้งแตปรับโครงสรางหลักสูตรการเรียนการสอนใหสอดคลองตอการประกอบอาชีพนั้นๆ ไดจริง โดยมีการหารือรวมกันกับภาคเอกชนวาตองการแรงงานที่มีมาตรฐานการทํางานอยางไร และรวมฝกใหสวนของสถานศึกษามีความสามารถในการปฏิบัติงานไดจริง ตรงตามความตองการ มีการทดสอบและประเมินรวมกัน มีการแบงระดับมาตรฐานฝมือแรงงาน เชน โครงการ ทวิภาคีของสํานักคณะกรรมการกรมอาชีวศึกษารวมกับสมาคมตางๆ โดยผานการรับรองจาก กรมพัฒนาฝมือแรงงานในการทดสอบเพื่อออกใบรับรองให

3. กรมพัฒนาฝมือแรงงานเปรียบเสมือน HR ของผูใชแรงงานระดับประเทศ หรือเปนฝายบุคคลของประเทศ ควรใหกรมพัฒนาฝมือแรงงานเปนเลขานุการของคณะกรรมการชุดนี้

4. ควรแบงแยกงานของทั้งสองหนวยงานใหชัดเจน สอดคลอง และเกื้อหนุนกัน โดยมีเปาประสงคที่แตกตางกัน คือ มาตรฐานอาชีพ สงเสริมใหบุคลากรในอาชีพมีพัฒนาดานการเรียนรู เพื่อใหสามารถประกอบอาชีพนั้นๆ ไดโดยเบ็ดเสร็จ มาตรฐานฝมือแรงงาน สงเสริมพัฒนาดานทักษะในการปฏิบัติงานที่สูง เพื่อสรางผลิตภาพในหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย ซ่ึงจะสงผลตอความกาวหนาในหนาที่ ตําแหนงงาน และผลตอบแทน

5. ในอนาคตควรแยกกรมพัฒนาฝมือแรงงานใหเปนองคกรที่มีอิสระในการบริหารจัดการ แตอยูในกํากับของกระทรวงแรงงาน

6. การกําหนดมาตรฐานไมควรเปน Double Standard จากความซ้ําซอนของหลายหนวยงาน

7. สถาบันที่จะจัดตั้ง ควรมีบทบาทสําคัญในการประสานงานใหบริการ และจัดทําฐานขอมูลเพื่อใชในการวางยุทธศาสตรในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย และการพัฒนาประเทศ

8. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาแหงชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชนก็เชนเดียวกัน ใหการศึกษา อบรม

Page 92: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

151

มีเครื่องมือ อุปกรณ และครูอาจารยพรอม ควรทํางานดานการสอนและฝกอบรม รัฐควรสนับสนุนงบประมาณ และเพิ่มอัตรากําลังครูอาจารย จะทํางานไดในงบประมาณประหยัด และไมเปนการทํางานซ้ําซอน

9. ควรใหมีเจาหนาที่จาก ก.พ.ร. และกฤษฎีกาเขารวมฟงความคิดเห็นใหขอเสนอแนะหรือเปนผูรวมอภิปราย

10. กรมพัฒนาฝมือแรงงานควรทํางานในเชิงรุกกับกระทรวงศึกษาธิการบาง ใหเปนที่ยอมรับของสถานประกอบการ และพัฒนาเจาหนาที่อยูตลอดเวลา เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงทุกๆ ดาน เชน การศึกษาตอในระดับสูง หรือการฝกอบรมเพื่อมาปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพ

11. ตองการใหมีการจัดสัมมนาเพื่อรับทราบความกาวหนาของการจัดสัมมนาในหัวขอนี้ตอไป รวมทั้งมีการติดตามผลของการสัมมนา และการสรุปผลเมื่อมีการปฏิบัติเพิ่มขึ้นจริง 4.8 นโยบายของรัฐบาลปจจุบัน รัฐบาลชุดปจจุบัน (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี) ไดแถลงนโยบายตอรัฐสภาเมื่อ วันจันทรที่ 29 ธันวาคม พ.ศ.2551 โดยไดแถลงนโยบายไวอยางชัดเจนในประเด็นที่เกี่ยวของ กับมาตรฐานฝมือแรงงานดังนี้ หมวด 3 นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต

3.1 นโยบายการศึกษา ขอที่ 3.1.5 ระบุวา ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษาไปสูความเปนเลิศ โดยการจัดกลุมสถาบันการศึกษาตามศักยภาพ ปรับเงินเดือนคาตอบแทนของผูสําเร็จการศึกษาระดับอาชีวศึกษาใหสูงขึ้น โดยภาครัฐเปนผูนําและเปนแบบอยางของการใชทักษะอาชีวศึกษาเปนเกณฑกําหนดคาตอบแทนและความกาวหนาในงานควบคูกับการพัฒนาองคความรูและนวัตกรรมดวยการเพิ่มขีดความสามารถดานการวิจัยและพัฒนา

3.2 นโยบายแรงงาน ขอที่ 3.2.3 ระบุวา พัฒนาและฝกอบรมแรงงานทุกระดับใหมีความรูและทักษะฝมือที่มีมาตรฐานสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน โดยการเพิ่มขีดความสามารถของสถาบันและศูนยพัฒนาฝมือแรงงานที่มีอยูทั่วประเทศใหมีศักยภาพเพิ่มขึ้นในการฝกอบรม ดวยการระดมการมีสวนรวมจากภาคเอกชนในลักษณะโรงเรียนในโรงงานและการบูรณาการกับสถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาฝมือแรงงาน จากนโยบายการศึกษา และนโยบายแรงงานของรัฐบาลนั้น แสดงใหเห็นวา รัฐบาลชุดนี้มีความประสงคใหกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงเปนหนวยงานหลักดานการศึกษา เปนผูผลักดันคุณภาพ

Page 93: บทที่ 4 ผลการศึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JGdLQ09/04JGdLQ09.pdf · บทที่ 4 ... 4.1.3 ระบบคุณวุฒิวิชาชีพในประเทศฝร

152

มาตรฐานการศึกษาของระดับอาชีวศึกษา โดยมุงหวังใหภาครัฐเปนผูนําและแบบอยางของการใชทักษะอาชีวศึกษาเปนเกณฑกําหนดคาตอบแทนและความกาวหนาในงาน ขณะเดียวกัน นโยบายแรงงานก็ระบุไวอยางชัดเจน ใหกระทรวงแรงงานเปนหนวยงานหลัก พัฒนาและฝกอบรมแรงงานทุกระดับ ใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและความตองการของตลาดแรงงาน โดยเพิ่มขีดความสามารถของสถาบันและศูนยพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยการระดมการมีสวนรวมจากภาคเอกชนในลักษณะโรงเรียนในโรงงานและการบูรณาการกับสถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาฝมือแรงงาน ผลของนโยบายดังกลาวท้ัง 2 ขอ ทําใหประจักษวา 1. ง านด านรั บรองคุณภาพมาตรฐานการศึ กษาระดับอาชี ว ศึ กษา เป นของกระทรวงศึกษาธิการ โดยสรางโอกาสใหแกผูใชแรงงานที่ประสงคจะใชความรูและประสบการณอันเกิดจากการทํางานในลักษณะตางๆ สามารถเทียบโอนไปสูคุณวุฒิทางการศึกษาไดอยางถูกตองเหมาะสม เพื่อรองรับนโยบายการใชทักษะอาชีวศึกษาไปเปนเกณฑกําหนดความกาวหนาในงานและคาตอบแทนในภาครัฐ 2. งานดานการกําหนดมาตรฐานอาชีพ (Occupational Standard) หรือมาตรฐานฝมือ (Skill Standard) ยังคงเปนงานของกระทรวงแรงงาน เพราะมีความเชี่ยวชาญและความชํานาญ รวมถึงความพรอมมากกวา รวมทั้งการกําหนดมาตรฐานฝมือ การจําแนกระดับมาตรฐานฝมือ การทดสอบและการรับรองมาตรฐานฝมือ รวมทั้งการบูรณาการใหมีการใชแรงงานที่มีมาตรฐานฝมือ เชน ชางเชื่อม ชางไฟฟา ชางกอสราง ชางกลโรงงาน ฯลฯ 3. การตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ จึงไมใชนโยบายรัฐบาลแตเปนความพยายามที่จะผลักดันตั้งสถาบันที่ไมมีหนาที่มาทําหนาที่ซํ้าซอนกับการกําหนดมาตรฐานอาชีพ ทําใหเกิดปญหาของการนําไปสูการปฏิบัติที่ไมสอดคลองกับสภาพความเปนจริงของตลาดแรงงาน และเจาของกิจการ ซ่ึงพิสูจนไดจากผลผลิตของกําลังคนดานอาชีวศึกษาในปจจุบันที่ผลิตออกมายัง ไมสอดคลองกับตลาดแรงงาน 4. ควรแยกแยะภารกิจและพันธกิจของสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพใหม ใหมีความชัดเจนวา มีขอบเขตเฉพาะดานการรับรองคุณวุฒิทางการศึกษา การตอยอดใหเชื่อมกับการศึกษาในและนอกระบบ การพัฒนาและวางหลักสูตรการศึกษาตอเนื่องใหกับผูใชแรงงานในระดับตางๆ โดยแยกงานฝกอบรม การรับรองทักษะฝมือแรงงาน และการรับรองความสามารถและสมรรถนะ (Competency) ของผูใชแรงงานใหอยูในการกํากับดูแลและดําเนินการโดยกระทรวงแรงงาน