บทที่ 3 - TATC · Web view2.3 ช ดเฟ องบร วาร เป นช...

17
บบบบบ 3 บบบบบบ 3.1 บบบบบบบบบบบบ (Transmission) บบบบบบบบบ 1. โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ 2. โโโโโโโโโโโโโโโโ 3. โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโ โโโโโ โโโโโโโโโโโโ

Transcript of บทที่ 3 - TATC · Web view2.3 ช ดเฟ องบร วาร เป นช...

Page 1: บทที่ 3 - TATC · Web view2.3 ช ดเฟ องบร วาร เป นช ดเฟ องท ประกอบเฟ องฟ นนอกและเฟ องฟ

บทท่ี 3ตอนท่ี 3.1

กระปุกเกียร ์(Transmission)

หัวเรื่อง1. โครงสรา้งสว่นประกอบของกระปุกเกียร์2. หน้าท่ีของเกียร์3. หลักการทำางานของเกียรธ์รรมดา

สระสำ�คัญก�รเรยีนรู้เกียรเ์ป็นตัวรบักำาลังของเครื่องยนต์จากคลัตช ์ สง่ไปยงัเพลา

กลางหรอืเพลาขบัและเป็นตัวเพิม่กำาลังฉดุลากของเครื่องยนต์ เพิม่ความเรว็ของรถยนต์ใหต้รงกับสภาพการใชง้าน เชน่ ขณะที่เริม่ออกรถ แรงเฉื่อนจากนำ/าหนักตัวรถมมีาก เครื่องยนต์ยงัมกีำาลังไมม่ากพอ จงึต้องใชเ้ฟอืงเกียรช์ุดที่มอีัตราทดตำ่า เมื่อรถเคลื่อนที่เรว็ขึ/น จงึเปลี่ยนไปใชอ้ัตราทดตำ่า เมื่อรถเคลื่อนที่เรว็ขึ/น จงึเปลี่ยนไปใช้อัตราลดที่สงูขึ/นกวา่จะถึงเกียรชุ์ดสดุท้ายที่เหมาะสมกับความเรว็ที่ใช้อยู ่ ปัจจุบนัรถยนต์นัง่และรถบรรทกุเล็กและรถบรรทกุเล็กจะใช้กระปุกเกียรซ์งิโครเมชสมบูรณ์แบบเปล่ียนเกียรง์่าย เบาแรง และมีเสยีงดังน้อย

จุดประสงค์ก�รเรยีนรู้1. อธบิายโครงสรา้งสว่นประกอบของกระปุกเกียรไ์ด้ถกูต้อง2. อธบิายหน้าที่ของเกียรไ์ด้ถกูต้อง3. อธบิายหลักการทำางานของเกียรธ์รรมดาได้ถกูต้อง

Page 2: บทที่ 3 - TATC · Web view2.3 ช ดเฟ องบร วาร เป นช ดเฟ องท ประกอบเฟ องฟ นนอกและเฟ องฟ

โครงสร�้งสว่นประกอบของกระปุกเกียร์กระปุกเกียรใ์นระบบสง่กำาลังของรถยนต์ประกอบด้วยสว่น

หลักๆ ท่ีสำาคัญดังนี/1. เพล� (Shaft) เป็นสว่นประกอบท่ีสำาคัญของกระปุก

เกียร ์ แบง่ออกได้ดังนี/ 1.1 ชุดเพลาคลัตช ์(Clutch Shaft) เป็นเพลาที่รบั

กำาลังงานจากเครื่องยนต์สง่กำาลังขบัไปใหก้ับ เฟอืงของเพลาคลัตช์สง่กำาลังต่อไปยงัเฟอืงของเพลารอง

1.2 ชุดเพลารอง (Counter Shaft) เป ็นเพลาที่ม ีเฟอืงเกียรต์ิดอยูใ่นเพลาเดียวกันทำาหน้าที่ชว่ยชุดเฟอืงเพลาหลักถ่ายทอดอัตราทดในแต่ละความเรว็ตามขนาดของเฟอืงเกียรต์่างๆ เพลารองยงัมเีพลาเกียรถ์อยหลังมาต่ออยูก่ับเฟอืงถอยหลัง

1.3 ชุดเพลากำาลังหรอืเพลาหลัก (Main Gear) เป็นเพลาท่ีทำาหน้าท่ี 2 อยา่ง คือ ปรบั เปล่ียนอัตราทด และสง่กำาลังขบัออกไปยงัล้อ โดยผ่านเพลากลาง (อยูน่อกชุดเฟอืงสง่กำาลัง) และเฟอืงท้าย

1.4 ชุดเฟอืงถอยหลัง (Reverse Gear) มเีพยีงหน้าที่เดียวคือ กลับทิศทางการหมุนท่ีชุดเฟอืงหลัก สง่มาใหห้มุนยอ้นทาง เพื่อใชส้ำาหรบัการถอยหลัง

ซงิโครเมทเกียร์ 3 และ4

ซงิโครเมทเกียร์ 1 และ2

เพลาคลัตช์

ซงิโครเมทเกียร์ 5เฟอืง

รอง

เพลากำาลัง

Page 3: บทที่ 3 - TATC · Web view2.3 ช ดเฟ องบร วาร เป นช ดเฟ องท ประกอบเฟ องฟ นนอกและเฟ องฟ

รูปท่ี 3.1 ตำาแหน่งของเพลาต่าง ๆ

2. เฟอืง ในกระปุกเกียรร์ถยนต์ทัว่ไปจะทำาหน้าท่ีสง่กำาลังและเพิม่หรอืลดอัตราทดของเกียรไ์ด้ตามความต้องการของการเปล่ียนแปลงความเรว็ของรถยนต์ ลักษณะของฟงัเฟอืงในชุดเกียร์แบง่ออกได้ 3 ชนิด คือ

2.1 เฟอืงฟนัตรง ลักษณะของฟนัเฟอืงตรงพบเหน็ในงานสง่กำาลังขบัทัว่ ๆ ไป ใชก้ ับงานหนัก ตัวฟนัเฟอืงสมัผัสอยู่ตลอดเวลา ผิวสมัผัสของรอ่งฟนัเฟอืงจบัได้เต็มฟนัของเฟอืงรบัแรงขบัได้สงู เมื่อความเรง่สงูจะเกิดการกระแทกเต็มหน้าฟนัจงึทำาให้มเีสยีงดัง เหมาะที่จะใชง้านที่ใหฟ้นัเฟอืงยดืติดไมน่ิยมใชใ้นระบบเกียรร์ถยนต์

รูปท่ี 3.2 ฟนัเฟอืงแบบตรง รูปท่ี 3.3 ฟนัเฟอืงแบบเฉียง

2.2 เฟอืงฟนัเฉียง เป็นเฟอืงที่ได้ดัดแปลงมาจากฟนัเฟอืงตรงใหม้รี ูปรา่งตัวฟนัของเฟอืงใหเ้อียงหรอืเฉียง ใชง้านความเรว็สงูได้ดี ฟนัต่อฟนัของเฟอืงสมัผัสกันได้ดีตลอดแนว การ

Page 4: บทที่ 3 - TATC · Web view2.3 ช ดเฟ องบร วาร เป นช ดเฟ องท ประกอบเฟ องฟ นนอกและเฟ องฟ

เลื่อนเฟอืงเขา้และออกง่ายไมม่เีสยีงดัง นิยมใชก้ับเกียรร์ถยนต์ในปัจจุบนั

2.3 ชุดเฟอืงบรวิาร เป็นชุดเฟอืงที่ประกอบเฟอืงฟนันอกและเฟอืงฟนัใน ใชใ้นหอ้งเกียรอั์ตโนมติั ชุดเฟอืงบรวิารมขีนาดกะทัดรดั มอีัตราการทดหลายค่า รวมทั /งเกียรถ์อยหลังการทำางานของเฟอืงเงียบ

ก�รเพิม่อัตร�เรว็รอบ ก�รหมุนกลับทิศท�ง

รูปท่ี 3.4 ชุดเฟอืงบรวิาร

หน้�ท่ีของเกียร์เม ื่อเร ิม่ออกรถ การขบัข ึ/นเน ินหรอืบรรทกุส ิง่ของหนัก

รถยนต์ต้องการแรงขบัมาก เมื่อรถยนต์วิง่ด้วยความเรว็บนพื/นราบ ความต้องการใหล้้อหมุนด้วยความเรว็สงูจงึมมีากกวา่แรงขบัสว่นแรงขบั คือแรงที่ถ่ายทอดจากเครื่องยนต์มายงัล้อ แรงขบัสามารถเพิม่ขึ/นได้โดยการเพิม่แรงแรงบดิดังนั /นจงึต้องมกีารติดตั /งอุปกรณ์เพิม่แรงบดิใหก้ับรถยนต์ใหส้ามารถทำางานได้ตามความต้องการ ซึ่งจะติดตั /งอยูร่ะหวา่งเคร ื่องยนต์กับเพลาขบัของรถยนต์ นอกจากนั /นยงั

เฟอืงพระอาทิตย์

(ตรงึอยูก่ับที่)

เฟอืงพระอาทิตย์

เฟอืงฟนัในเฟอืงฟนัใน

เฟอืงพระอาทิตย์

(ตรงึอยูก่ับที่)

แขนเฟอืงบรวิาร

Page 5: บทที่ 3 - TATC · Web view2.3 ช ดเฟ องบร วาร เป นช ดเฟ องท ประกอบเฟ องฟ นนอกและเฟ องฟ

สามารถหมุนกลับทิศทางได้เมื่อต้องการขบัเคลื่อนรถใหถ้อยหลัง อุปกรณ์ดังกล่าวได้แก่ กระปุกเกียร์

รูปท่ี 3.5 แสดงทิศทางการขบัของเฟอืง

หน้�ท่ีของเกียร ์สรุปได้ดังนี/1. การเพิม่แรงบดิเมื่อเริม่ออกรถ รถยนต์ต้องการแรงบดิ

อยา่งมากเพื่อใหร้ถยนต์เคล่ือนท่ี โดยใชอั้ตราทดของเกียรต์ำ่าเพื่อเพิม่แรงบดิใหก้ับเพลากลางซึ่งจะทำาใหร้ถมกีำาลังในการขบัเคล่ือนในระยะเริม่ต้น

2. การเปล่ียนอัตราทด เครื่องยนต์ไมส่ามารถสง่แรงขบัใหก้ับรถยนต์ได้โดยตรง การสง่กำาลังใหก้ับรถยนต์สามารถใหร้ถยนต์เคลื่อนที่ได้จงึต้องมกีารเปลี่ยนอัตราทดของเฟอืง ซึ่งเป็นการนำาเฟอืงมาทดกำาลัง ทำาใหม้กีำาลังและเพิม่แรงบดิใหก้ับเพลา ทำาให ้รถยนต์วิง่เรว็ขึ/น

การเปลี่ยนอัตราอัตราทดจงึเป็นการเพิม่แรงบดิใหก้ับรถยนต์ เกียรจ์ะทำาการเปลี่ยนอัตราทดจากเกียรต์ำ่าไปเป็นเกียรส์งูเป็นการเปล่ียนแปลงการสง่กำาลังจากเฟอืงทดมากมาเป็นเฟอืงทดน้อยซึ่งจะทำาใหร้ถวิง่เรว็ขึ/น เครื่องยนต์จะทำางานลดแรงบดิน้อยลงจงึชว่ยให้ประหยดันำ/ามนัเชื/อเพลิง

3. การขบัเคล่ือนถอยหลังเครื่องยนต์ไมส่ามารถหมุนกลับทางได้ เกียรจ์ะเป็นตัวปรบัทิศทางการหมุนของเพลา จงึทำาใหร้ถยนต์เคล่ือนที่ถอยหลังได้โดยการเขา้เกียรถ์อยหลัง

เฟอืงตัวใหญ่ เฟอืงตัว

เล็ก

Page 6: บทที่ 3 - TATC · Web view2.3 ช ดเฟ องบร วาร เป นช ดเฟ องท ประกอบเฟ องฟ นนอกและเฟ องฟ

4. การตัดกำาลังรถยนต์ เมื่อเหยยีบคลัตชใ์หค้ลัตชจ์าก โดยเล่ือนคันเกียรใ์หอ้ยูท่ี่เกียรว์า่งการสง่กำาลังจากใหเ้ฟอืงเพลาคลัตชไ์ปยงัเฟอืงเพลารองดำาเนินไปตามปกติ แต่เฟอืงเพลารองจะไมส่ง่กำาลังใหเ้ฟอืงเพลากำาลัง จงึไมเ่กิดการขบัเคลื่อน จุดนี/จะเป็นตำาแหน่งเกียรว์า่ง หรอืเป็นการตัดกำาลังระยนต์

5. การเบรกด้วยเครื่อง (Engine Brake) สามารถใชเ้กียร์ตำ่า เพื่อลดอัตราเรว็ของรถยนต์ได้โดย เฉพาะในการขบัขีร่ถยนต์ลงทางลาดชนัมาก ๆ

หลักก�รทำ�ง�นระบบเกียรธ์รรมด� (MT)หลักการทำางานของเกียรธ์รรมดา (MT) นั/นเริม่ที่เหยยีบแป้น

คลัตชเ์พื่อตัดกำาลังขบัจากเครื่องยนต์ ดังนั/นในหอ้งชุดเฟอืง จงึไมม่ีแรงมากระทำาท่ีเฟอืงทกุชุด เป็นจงัหวะที่เราโยกคันบงัคับไปท่ีตำาแหน่ง เกียร ์(1) ในชุดเฟอืงเพลาหลักนั/นเป็นเฟอืงที่มอัีตราทดสงูสดุ (มจีำานวนฟนัมากที่สดุเพื่อใหไ้ด้แรงขบั หรอื แรงบดิมากๆ สำาหรบัการเคล่ือนท่ีในครั /งแรก) จะขบกับเฟอืงเพลาของระบบ คลัตช์จากนั/นแรงขบันี/ก็จะสง่ผ่านไปยงัชุดเฟอืงเพลารอง และวนขึ/นไปยงัชุดเฟอืงเพลาหลักอีกครั/งที่ด้านท้าย เมื่อปล่อยคลัตชใ์หจ้บักับล้อชว่ยแรงของเครื่องยนต์ เพลาต่างๆ ก็จะเริม่หมุน และแรงบดิที่เกิดขึ/นก็จะถกูสง่ถ่ายไปตามลำาดับ

ต่อมาเมื่อรถเริม่แล่นได้ความเรว็พอสมควร ซึ่งรอบเครื่องยนต์จะสงูเพิม่ขึ/นไปเรื่อยๆ จนไมอ่าจเพิม่ความเรว็ไปได้มากกวา่นี/ จำาเป็นที่จะต้องปรบัเปลี่ยนอัตราทดในชุดเฟอืงสง่กำาลัง เพื่อเพิม่ความเรว็ให้รถเรา จงึเหยยีบคลัตช ์อีกครั/งเพื่อตัดกำาลังของเครื่องยนต์ แต่ในครั/งนี/จะมผีลต่างจากครั /งแรกเพราะเฟอืงต่างๆ ในหอ้งเฟอืงยงัคงหมุนต่อไปเรื่อยๆ ตามแรงเฉื่อยที่ได้รบัจากล้อ แทนจากเครื่องยนต์

Page 7: บทที่ 3 - TATC · Web view2.3 ช ดเฟ องบร วาร เป นช ดเฟ องท ประกอบเฟ องฟ นนอกและเฟ องฟ

ดังนั/น ในชุดเฟอืงเพลาหลักจงึมอุีปกรณ์อีกชิ/นหนึ่งที่ชว่ยใหร้ะบบสามารถปรบัเปลี่ยนเฟอืงได้ในขณะที่มนัหมุน อุปกรณ์นั /นก็คือ ชุดเฟอืงความฝืด หรอื Synchromesh Gears ชุดเฟอืงความฝืดนี/สรา้งจากทองเหลือง (วสัดเุดียวกับที่ใชใ้นผ้าคลัตชบ์างชนิด) ซึ่งมนัจะอยูร่ะหวา่งกลางของเฟอืงเพลาหลัก 2 เฟอืง เมื่อเราโยกคันบงัคับไปที่ตำาแหน่งเกียร ์(2) เฟอืงของตำาแหน่งเกียร ์(1) จะถกูปลดออก จากนั/นกลไกนี/ก็จะไปเลื่อนเฟอืงของเกียร ์(2) ที่อยูด่้านหลังใหเ้ขา้มาขบกับเฟอืงตัวต่อไป ซึ่งต้องอาศัยแหวนความฝืดนี/ค่อยๆ ปรบัความเรว็ใหเ้ท่าๆ กันทั/ง 2 เฟอืงก่อน เฟอืงเกียร ์(2) จงึจะเขา้ไปขบกับชุดเฟอืงเพื่อรบักำาลังจากชุดเฟอืงเพลารองได้อีกครั/งจากนั/นการสง่ถ่ายแรงขบัจะม ลี ัก ษ ณ ะ เ ด ีย ว ก ับ ค ร ั /ง แ ร ก ท กุ ป ร ะ ก า ร ชุดเฟอืงความฝืดนี/จะมอียูท่ี่ชุดเฟอืงเกียร ์(2) (3) (4) และ (5) เท่านั /น สว่นเกียร ์(1) และ เกียรถ์อยหลัง ไมจ่ำาเป็นต้องใช้เฟอืงความฝืดใหก้ารทำางาน เพราะเฟอืงต่างๆ ในหอ้งชุดเฟอืงจะหยุดน่ิงในขณะใชง้าน เกียร ์(1) หรอืเกียรถ์อยหลัง

ฉะนั/นแล้วก็เป็นขอ้ควรจำาประการหนึ่งวา่ หากจะใชเ้กียร ์(1) หรอื เกียรถ์อยหลัง ต้องใหร้ถหยุดสนิทเสยีก่อนจงึจะโยกคันบงัคับไปที่เกียร ์(1) หรอื เกียรถ์อยหลังได้ ซึ่งหากเราจะสงัเกตแล้ว มกัพบวา่เวลาที่รถไมห่ยุดนิ่งจะโยกคันบงัคับค่อนขา้งลำาบากที่ตำาแหน่งเกียร ์(1) หรอื เกียรถ์อยหลัง

ก�รสง่กำ�ลังเกียรแ์บบธรรมด�เกียรแ์บบธรรมดาอาจจะติดตั/งตามขวาง (ด้านซา้ยไปด้านขวา)

หรอืตามแนวยาว (ด้านหน้าไปด้านหลัง) สำาหรบัการติดตั/งเกียรต์ามขวางจะมใีชก้ับรถยนต์ขบัเคล่ือนล้อหน้า มเีครื่องยนต์ด้านหน้า (FF) ในขณะที่เกิดตั /งเกียรต์ามแนวยาวจะติดตั /งในรถยนต์ขบัเคลื่อนล้อ

Page 8: บทที่ 3 - TATC · Web view2.3 ช ดเฟ องบร วาร เป นช ดเฟ องท ประกอบเฟ องฟ นนอกและเฟ องฟ

หลังเครื่องยนต์ (FR) แนวของการสง่กำาลังจะแตกต่างกันขึ/นอยูก่ับประเภทของการสง่กำาลังแบบตามขวางหรอืตามแนวยาวซึ่งมรีายละเอียดตามรูปด้านล่างเป็นประเภทของการติดตั /งเพลา ตามแนวขวางเป็นการติดตั/งเพลาตามแนวยาวของการสง่กำาลัง

ก�รสง่กำ�ลังเกียรแ์บบธรรมด� อาจจะติดตั/งตามขวาง (ด้านซา้ยไปด้านขวา) ขบัเคล่ือนล้อหน้า มเีครื่องยนต์ด้านหน้า (FF) ดังนี/

1. ตำ�แหน่งเกียรว์�่ง

2. ตำ�แหน่งเกียร ์1

เพลาคลัตช ์(เฟอืงขบัสำาหรบัเกียร ์1 และ 2)

เกียร ์1 และ เกียร ์2

เพลาคลัตช ์(เฟอืงขบัสำาหรบัเกียร ์1)

เฟอืงเกียร ์1

ปลอกดมุคลัตชแ์ละดมุตัวท่ี 1

เพลาสง่กำาลัง (เฟอืงเดือยหมู)

เฟอืงบายศร ี

ชุดเฟอืงท้าย

เพลารบักำาลัง

เฟอืงขบัเกียร ์1

เฟอืงขบัเกียร ์2

เกียร ์1เกียร ์2

เพลาคลัตช์

เฟอืงขบัเพลาสง่กำาลัง

เฟอืงขบัเกียร ์1

ชุดเฟอืงท้ายเฟอืง

บายศรี

เฟอืงเกียร ์1

ปลอกและดมุคลัตชตั์วท่ี 1

Page 9: บทที่ 3 - TATC · Web view2.3 ช ดเฟ องบร วาร เป นช ดเฟ องท ประกอบเฟ องฟ นนอกและเฟ องฟ

3. ตำ�แหน่งเกียร ์ 2

4. ตำ�แหน่งเกียร ์ 3

เพลาคลัตช ์(เฟอืงขบัสำาหรบัเกียร ์2)

เฟอืงตามเกียร ์2

ปลอกดมุคลัตชแ์ละดมุตัวท่ี 1

เพลาสง่กำาลัง (เฟอืงเดือยหมู)

เฟอืงบายศร ี

ชุดเฟอืงท้าย

เพลาคลัตช ์

เฟอืงขบัเกียร ์3

ปลอกดมุคลัตช์และดมุตัวที่ 2

เพลาสง่กำาลัง (เฟอืงเดือยหมู)

เฟอืงบายศร ี

ชุดเฟอืงท้าย

เฟอืงตามเกียร ์3

เฟอืงบายศรี

เพลาสง่กำาลัง

ชุดเฟอืงท้าย

เฟอืงขบั

เพลาคลัตช์

เฟอืงเกียร ์2

ปลอกและดมุคลัตชตั์วท่ี 1

เฟอืงขบัเกียร ์2

เฟอืงบายศรี

ชุดเฟอืงท้าย

ปลอกและดมุคลัตชตั์วท่ี 2

เฟอืงเกียร ์3

เพลาสง่กำาลัง

เฟอืงขบั

เพลาคลัตช์เฟอืงขบัเกียร ์3

Page 10: บทที่ 3 - TATC · Web view2.3 ช ดเฟ องบร วาร เป นช ดเฟ องท ประกอบเฟ องฟ นนอกและเฟ องฟ

5. ตำ�แหน่งเกียร ์ 4

6. ตำ�แหน่งเกียร ์5

7. ตำ�แหน่งเกียรถ์อยหลัง

เพลาคลัตช ์

เฟอืงขบัเกียร ์4

ปลอกดมุคลัตช์และดมุตัวที่ 2

เพลาสง่กำาลัง (เฟอืงเดือยหมู)

เฟอืงบายศร ี

ชุดเฟอืงท้าย

เฟอืงตามเกียร ์4

เพลาคลัตช ์

เฟอืงขบัเกียร ์5

ปลอกดมุคลัตชแ์ละดมุตัวท่ี 3

เพลาสง่กำาลัง (เฟอืงเดือยหมู)

เฟอืงบายศร ี

ชุดเฟอืงท้าย

เฟอืงตามเกียร ์5

เพลาคลัตช ์(เฟอืงขบัเกียรถ์อย)

เฟอืงเกียร์ถอย

ปลอกดมุคลัตชแ์ละดมุตัวท่ี 1

เพลาสง่กำาลัง (เฟอืงเดือยหมู)

เฟอืงบายศร ี

ชุดเฟอืงท้าย

เพลาคลัตช์

เพลาสง่กำาลัง

เฟอืงขบัเกียร ์4ปลอกดมุคลัตชแ์ละดมุตัวท่ี 2

เฟอืงขบั

เฟอืงเกียร ์4

เฟอืงบายศรีชุดเฟอืงท้าย

เฟอืงบายศรีชุดเฟอืงท้าย

เฟอืงขบัเพลาสง่กำาลัง

เฟอืงเกียร ์5

เฟอืงขบัเกียร ์5ปลอกดมุคลัตช์และดมุตัวที่ 3

เพลาคลัตช์

Page 11: บทที่ 3 - TATC · Web view2.3 ช ดเฟ องบร วาร เป นช ดเฟ องท ประกอบเฟ องฟ นนอกและเฟ องฟ

ก�รสง่กำ�ลังต�มแนวย�ว (ด้�นหน้�ไปด้�นหลัง)1.ตำ�แหน่งเกียรว์�่ง

2.ตำ�แหน่งเกียร ์ 1

เพลาคลัตช ์

เฟอืงรอง

เฟอืงขบัหลัก (เฟอืงเกียร ์4)

เพลาคลัตช ์

เฟอืงรอง

เฟอืงขบัหลัก (เฟอืงเกียร ์4)

เฟอืงเกียร ์1

ปลอกดมุคลัตชแ์ละดมุตัวท่ี 1

เพลาสง่กำาลัง

เฟอืงขบัหลักเฟอืงเกียร ์4เพลาคลัตช์

เฟอืงเพลารอง

เพลาสง่กำาลัง

เพลาคลัตช์เฟอืงขบัหลักเฟอืงเกียร ์4

เฟอืงเพลารอง

เพลาสง่กำาลัง

เฟอืงเกียร ์1ปลอกดมุคลัตช์และดมุตัวที่ 1

เพลาสง่กำาลังเฟอืงขบั

เพลาคลัตช์เฟอืงขบัสำาหรบัเปล่ียนทิศทาง

ปลอกดมุ (เฟอืง) และดมุตัวท่ี 1

เฟอืงเกียรถ์อย (เปล่ียนทิศทาง)

เพลาคลัตช ์(สำาหรบัเฟอืงเปล่ียนทิศทาง)

ปลอกดมุตัวท่ี 1ชุดเฟอืงท้ายเฟอืง

บายศรี

Page 12: บทที่ 3 - TATC · Web view2.3 ช ดเฟ องบร วาร เป นช ดเฟ องท ประกอบเฟ องฟ นนอกและเฟ องฟ

3.ตำ�แหน่งเกียร ์ 2

4.ตำ�แหน่งเกียร ์ 3

เพลาคลัตช ์

เฟอืงรอง

เฟอืงขบัหลัก (เฟอืงเกียร ์4)

เฟอืงเกียร ์2

ปลอกดมุคลัตชแ์ละดมุตัวท่ี 1

เพลาสง่กำาลัง

เพลาคลัตช ์

เฟอืงรอง

เฟอืงขบัหลัก (เฟอืงเกียร ์4)

เฟอืงเกียร ์3

ปลอกดมุคลัตชแ์ละดมุตัวท่ี 2

เพลาสง่กำาลัง

เฟอืงเพลารอง

เพลาคลัตช์เฟอืงขบัหลักเฟอืงเกียร ์4

ปลอกดมุคลัตช์และดมุตัวที่ 1

เฟอืงเกียร ์2

เพลาสง่กำาลัง

เฟอืงเกียร ์3ปลอกดมุคลัตชแ์ละดมุตัวท่ี 1เฟอืงขบัหลัก

เฟอืงเกียร ์4เพลาคลัตช์ เพลาสง่กำาลัง

เฟอืงเพลารอง

Page 13: บทที่ 3 - TATC · Web view2.3 ช ดเฟ องบร วาร เป นช ดเฟ องท ประกอบเฟ องฟ นนอกและเฟ องฟ

5.ตำ�แหน่งเกียร ์ 4

6.ตำ�แหน่งเกียร ์ 5

เพลาคลัตช ์

ปลอกดมุคลัตชแ์ละดมุตัวท่ี 2

เฟอืงเกียร ์4

เพลาสง่กำาลัง

เพลาคลัตช ์

เฟอืงรอง

เฟอืงขบัหลัก (เฟอืงเกียร ์4)

เพลาสง่กำาลัง

ปลอกดมุคลัตชแ์ละดมุตัวท่ี 2

เฟอืงตามเกียร ์5

เฟอืงขบัเกียร ์5

เพลาคลัตช์เฟอืงเกียร ์4

ปลอกดมุคลัตชแ์ละดมุตัวท่ี 2

เพลาสง่กำาลัง

เพลาคลัตช์เฟอืงขบัหลักเฟอืงเกียร ์4

เฟอืงเพลารองปลอกดมุคลัตชแ์ละ

ดมุตัวท่ี 3

เฟอืงรองเกียร ์5

เพลาสง่กำาลัง

Page 14: บทที่ 3 - TATC · Web view2.3 ช ดเฟ องบร วาร เป นช ดเฟ องท ประกอบเฟ องฟ นนอกและเฟ องฟ

7.ตำ�แหน่งเกียรถ์อยหลัง

เพลาคลัตช ์

เฟอืงรอง(เฟอืงขบัเกียรถ์อย)

เฟอืงขบัหลัก (เฟอืงเกียร ์4)

เพลาสง่กำาลัง

เฟอืงกลับทิศทาง

เฟอืงตามเกียร ์ถอย

เพลาคลัตช์เฟอืงขบัหลักเฟอืงเกียร ์4

เฟอืงเพลารอง

เพลาสง่กำาลังเฟอืงเกียร์

ถอย

เฟอืงกลับทิศทาง

เฟอืงเพลารอง

Reverse gear