บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง...

29
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดทาเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-1 สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บทที2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิค 2.1 การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิค 2.1.1 ความสาคัญของเอเปค กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจแห่งภูมิภาค เอเชียแปซิฟิค หรือ เอเปคประกอบด้วยเขตเศรษฐกิจสมาชิกที่ตั้งอยู่ใน ภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิครวมทั้งสิ้น 21 เขตเศรษฐกิจ ( ประกอบด้วยสหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก ชิลี ปาปัวนิวกีนี เปรู จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ฮ่องกง จีนไทเป ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ รัสเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ อินโ ดนิเซีย เวียดนาม บรูไน และไทย ) เอเปคเป็นเขตเศรษฐกิจที่มีขนาดใหญ่เป็นลาดับที่หนึ่ง ของโลกในแทบทุกมิติ ทั้งในด้านผลผลิตมวลรวมของกลุ่ม มูลค่าการค้าระหว่างประเทศ และจานวนประชากร ดังแสดงในแผนภาพที2-1 1 แผนภาพที2-1 ขนาดของเอเปคเปรียบเทียบกับเขตเศรษฐกิจอื่นๆ 2 ที่มา APEC (2009) จากข้อมูลของ APEC (2009) เอเปคมีจานวนประชากรถึง 2,700 ล้านคน เป็นสัดส่วนสูงถึง 41% ของประชากรทั้ง โลกและสูงที่สุดเมื่อเทียบกับเขตเศรษฐกิจอื่นๆ มีผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) รวมถึง 27 ล้านล้านดอลล่าร์ สหรัฐอเมริกา เป็นสัดส่วนสูงถึง 55% เมื่อเทียบกับ GDP ของทั้งโลก มีมูลค่าการค้ารวม 11 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา หรือคิดเป็น 45% ของมูลค่าการค้าทั้งโลก อย่างไรก็ดีจากเมื่อพิจารณาจากมูลค่าการเคลื่อนย้ายเงินทุนจะเห็นได้ว่าเอเปคมีทั้ง มูลค่าเงินลงทุนไหลเข้าและไหลออกน้อยกว่าสหภาพยุโรป และกรอบความร่วมมือ ASEM (EU และ ASEAN+3)

Transcript of บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง...

Page 1: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-1

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

2.1 การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

2.1.1 ความส าคัญของเอเปค

กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจแห่งภูมิภาค เอเชียแปซิฟิค หรือ เอเปคประกอบด้วยเขตเศรษฐกิจสมาชิกท่ีตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิครวมทั้งสิ้น 21 เขตเศรษฐกิจ (ประกอบด้วยสหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก ชิลี ปาปัวนิวกีนี เปรู จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ฮ่องกง จีนไทเป ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ รัสเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ อินโ ดนิเซีย เวียดนาม บรูไน และไทย ) เอเปคเป็นเขตเศรษฐกิจท่ีมีขนาดใหญ่เป็นล าดับท่ีหนึ่ง ของโลกในแทบทุกมิติ ท้ังในด้านผลผลิตมวลรวมของกลุ่ม มูลค่าการค้าระหว่างประเทศ และจ านวนประชากร ดังแสดงในแผนภาพที่ 2-1

1 แผนภาพที่ 2-1 ขนาดของเอเปคเปรียบเทียบกับเขตเศรษฐกิจอื่นๆ

2 ที่มา APEC (2009)

จากข้อมูลของ APEC (2009) เอเปคมีจ านวนประชากรถึง 2,700 ล้านคน เป็นสัดส่วนสูงถึง 41% ของประชากรทั้งโลกและสูงที่สุดเมื่อเทียบกับเขตเศรษฐกิจอ่ืนๆ มีผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) รวมถึง 27 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา เป็นสัดส่วนสูงถึง 55% เมื่อเทียบกับ GDP ของทั้งโลก มีมูลค่าการค้ารวม 11 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา หรือคิดเป็น 45% ของมูลค่าการค้าทั้งโลก อย่างไรก็ดีจากเมื่อพิจารณาจากมูลค่าการเคลื่อนย้ายเงินทุนจะเห็นได้ว่าเอเปคมีทั้งมูลค่าเงินลงทุนไหลเข้าและไหลออกน้อยกว่าสหภาพยุโรป และกรอบความร่วมมือ ASEM (EU และ ASEAN+3)

Page 2: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-2

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

เอเปคยังมีแนวโน้มการเติบโตของเศรษฐกิจและการค้าโดยเฉลี่ยสูงกว่าภูมิภาคอื่นๆ แผนภาพท่ี 4-2 (ก) แสดงให้เห็นถึงการเพิ่มขึ้นของสัดส่วนของ GDP รวมของประเทศในกลุ่มเอเชียและโอเชเนียจากประมาณ 15% ในปี ค.ศ. 1969 เป็น 25% ในปี ค.ศ.2009 และเมื่อก าหนดให้มูลค่าการส่งออกและน าเข้าในปี ค.ศ. 1970 เป็นปีฐาน จากแผนภาพท่ี 4-2 (ข) และ (ค) จะเห็นได้ว่ามูลค่าการส่งออกและน าเข้าระหว่างเขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค (Intra-APEC) มีการเติบโตที่สูงกว่า มูลค่าการส่งออกและน าเข้ารวมทั้งหมดของเอเปค (Total-APEC) และมูลค่าการส่งออกและน าเข้ารวมของทั้งโลก

3 แผนภาพที่ 2-2 แนวโน้มการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการค้าของกลุ่มประเทศเอเปค

(ก) สัดส่วน GDP ต่อ GDP โลก (ข) ดัชนีมูลค่าการส่งออก (ค) ดัชนีมูลค่าการน าเข้า

ที่มา : USTR (2009)

นอกจากน้ีเอเปคยังมีอัตราการพึ่งพากันในด้านการค้าระหว่างเขตเศรษฐกิจสมาชิก สูงถึง 68.9% สูงกว่าเขตเศรษฐกิจอื่นๆ อย่างเห็นได้ชัด ดังแสดงในแผนภาพที่ 2-3 ลักษณะดังกล่าวท าให้ประเทศนอกกลุ่มเอเปคเกิดข้อกังวลถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการพัฒนาการไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิคอันจะมีผลให้เกิดการเบี่ยงเบนกระแสการค้าระหว่างประเทศให้กระจุกตัวอยู่ในภูมิภาคนี้มากขึ้น และเกิดเส้นแบ่งแยกและความเหลื่อมล้ าที่ชัดเจนระหว่างประเทศในเอเปคกับประเทศอื่นๆนอกเอเปค

4 แผนภาพที่ 2-3 มูลค่าและสัดส่วนการค้าภายในเขตเศรษฐกิจต่างๆ

5 6 ที่มา APEC (2009)

1970 (based year) = 100 1970 (based year) = 100

Page 3: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-3

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

จากความส าคัญในเชิงขนาดเศรษฐกิจท่ีใหญ่ของเอเปค ส่งผลให้ผลลัพธ์จากการเจรจาที่เกี่ยวข้องกับการค้าของเอเปคมีผลกระทบต่อการเจรจาการค้าในระดับที่สูงกว่าคือ WTO และระดับที่ต่ ากว่า เช่น RTAs/FTAs ของเขตเศรษฐกิจสมาชิก และผลดังกล่าวเป็นไปในทางกลับกันเช่นกัน ดังจะเห็นได้จากการเปลี่ยนแปลงของ APEC ในอดีตซึ่ง เขตเศรษฐกิจสมาชิก มักให้ความส าคัญกับประเด็นการเปิดเสรีอย่างจริงจังหลังเกิดความล้มเหลวในการเจรจาการค้าระดับ WTO และเมื่อ WTO จัดตั้งขึ้นหรืออยู่ในช่วงเริ่มต้นของรอบการเจรจาใหม่ หัวข้อดังกล่าวในเวทีประชุม APEC จะมีความส าคัญในล าดับรอง ในส่วนของผลกระทบระหว่างกันของความส าเร็จในการเจรจาการค้าของ APEC และความส าเร็จในการเจรจาการค้าระหว่างเขตเศรษฐกิจสมาชิกในลักษณะทวิภาคีนั้น หากกรอบการเจรจาการค้าเสรีเอเปค บรรลุผล เขตเศรษฐกิจสมาชิกก็มิต้องมีความจ าเป็นต้องด าเนินการเจรจาเพื่อจัดท าข้อตกลงเปิดเสรีการค้าในระดับทวิภาคีอีกต่อไปโดยทุกเขตเศรษฐกิจสมาชิกจะได้รับการปฏิบัติระหว่างกันอย่างเท่าเทียมกัน ในทางกลับกันหากกรอบข้อตกลงทวิภาคีระหว่าง เขตเศรษฐกิจ สมาชิก ที่จัดท าข้ึนมีความคล้ายคลึงกัน (แตกต่าง) ก็จะเป็นปัจจัยสนับสนุน (อุปสรรค) ต่อการบรรลุข้อตกลงการค้าเสรีของ APEC

2.1.2 ขนาดเศรษฐกิจของเขตสมาชิกเอเปค

ประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับหนึ่งของโลกยังคงเป็นประเทศท่ีมี GDP สูงสุดที่ในกลุ่มเอเปคในปี ค.ศ. 2008 ดังแสดงในแผนภาพท่ี 2-4 (ก) และ (ข) ประเทศญี่ปุ่นและจีนเป็นประเทศท่ีมี GDP เป็นล าดับที่สองและสามตามล าดับ (แผนภาพท่ี 2-4 (ก))อย่างไรก็ตามเมื่อน า GDP มาปรับด้วยดัชนีราคาสินค้าเพื่อพิจาณาถึงอ านาจซื้อจะเห็นได้ว่าประเทศจีนเป็นประเทศท่ีมี Real GDP เป็นล าดับที่สองและประเทศญี่ปุ่นจะอยู่ในล าดับท่ีสาม (แผนภาพท่ี 2-4 (ข)) ซึ่งจากโครงสร้างเศรษฐกิจดังกล่าวจึงส่งผลให้ 3 ประเทศดังกล่าวมีภาพลักษณ์เป็นผู้น าในกลุ่มเขตเศรษฐกิจเอเปค

แผนภาพที่ 2-4 ขนาดเศรษฐกิจของเขตสมาชิกเอเปคในปี 2008

(ก) (ข)

Page 4: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-4

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

(ค) (ง)

ที่มา : รวบรวมจาก APEC (www.apec.org)

อย่างไรก็ดีเมื่อพิจารณารายได้ต่อหัวประชากรหรือ GDP per Capita จะเห็นได้ว่าประเทศออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และแคนาดาเป็นประเทศท่ีมีรายได้ต่อหัวประชากรสูงสุด เป็นล าดับที่ 1 2 และ 3 ตามล าดับ ส่วนสิงคโปร์เป็นประเทศท่ีมีรายได้ที่แท้จริงต่อหัวประชากรสูงที่สุดในกลุ่มเอเปค ดังแสดงในแผนภาพท่ี 2-4 (ค) และ (ง)

2.1.3 ระดับการเปิดประเทศ (Degree of Openess)

จากข้อมูลการค้าระหว่างประเทศของเขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปคในด้านระดับการเปิดประเทศและพึ่งพิงการค้าระหว่างประเทศ (openness ratio) ซึ่งค านวณจากสัดส่วนระหว่างมูลค่าส่งออกและน าเข้าของประเทศเทียบผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ ดังแสดงในภาพประกอบท่ี 2-5 จะเห็นได้ว่าประเทศในกลุ่มที่มีค่ าสัดส่วนดังกล่าวสูงกว่า 0.5 ส่วนใหญ่ เป็นประเทศในกลุ่มเอเชีย สะท้อนให้เห็นว่าประเทศในกลุ่มนี้มีการพึ่งพาการค้าระหว่างประเทศสูงมาก ดังนั้นวาระเรื่องการเปิดเสรีการค้าจึงเป็นสิ่งท่ีมีความส าคัญกับประเทศเหล่านี้สูงมาก

Page 5: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-5

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

แผนภาพที่ 2-5 ระดับการเปิดประเทศของเขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค ในปี 2009

ที่มา: รวบรวมจาก Trade Map

เมื่อพิจารณาถึงความส าคัญของเอเปคในการเป็น ตลาดส่งออกสินค้าและบริการของแต่ละเขตเศรษฐกิจ สมาชิก โดยพิจารณาจากสัดส่วนระหว่างมูลค่าการส่งออกไปยังเขตเศรษฐกิจในกลุ่มเอเปค กับประเทศอ่ืนๆนอกกลุ่มเอเปคเมื่อเทียบกับมูลค่าส่งออกรวมของแต่ละเขตเศรษฐกิจ (ดังแสดงในภาพประกอบท่ี 2-6) จะเห็นได้ว่าทุกเขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปคมีสัดส่วนการส่งออกไปยังเขตเศรษฐกิจสมาชิกอ่ืน สูงกว่าสัดส่วนการส่งออกไปยั งภูมิภาคอื่น ยกเว้นประเทศรัสเซีย และปาปัวนิกินี ซึ่งจากสถานการณ์ดังกล่าวสามารถสรุปได้ว่าเอเปคเป็นตลาดส่งออกท่ีใหญ่ที่สุดของแต่ละเขตเศรษฐกิจสมาชิก ดังนั้น จึงคาดการณ์ได้ว่าเขตเศรษฐกิจสมาชิกต่างๆ ย่อมให้ความส าคัญและต้องการมีบทบาทต่อการเปิดเสรีการค้าเอเชีย -แปซิฟิค เนื่องจากมีผลกระทบโดยตรงและระดับสูงต่อมูลค่าการส่งออกของตน

แผนภาพที่ 2-6 สัดส่วนการส่งออกไปยังกลุ่มเอปคและนอกกลุ่มเอเปคในปี 2009

ที่มา: รวบรวมจาก Trade Map

Page 6: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-6

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

2.1.4 คู่ค้าที่ส าคัญของเขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค

ในด้านการเป็นคู่ค้าท่ีส าคัญระหว่างเขตเศรษฐกิจสมาชิกต่างๆ เมื่อพิจารณา อันดับในการเป็นคู่ค้ารายใหญ่กับเขตเศรษฐกิจสมาชิกต่างๆ ตารางที่ 2-1 แสดงถึงคู่ค้ารายใหญ่ 8 อันดับแรก โดยเรียงล าดับตาม สัดส่วนมูลค่าการค้าระหว่างประเทศกับเขตเศรษฐกิจนั้น ตามข้อมูลการค้าระหว่างประเทศในปี 2009 ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าประเทศท่ีเป็นคู่ค้ารายใหญ่ของเขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปคโดยรวมคือ จีน สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า นอกจากความส าคัญในด้านการเป็นเขตเศรษฐกิจท่ีใหญ่ 3 ล าดับแรกแล้ว ประเทศทั้งสามยัง มีอิทธิพลสูง ในเชิงการเป็นคู่ ค้าหลักกับเขตเศรษฐกิจสมาชิกจึงมีอิทธิพลต่อทั้งความเป็นไปได้และขอบเขตของการพัฒนาเขตการค้าเสรีเอเชีย-แปซิฟิค

ตารางที่ 2-1 เขตเศรษฐกิจที่เป็นคู่ค้าท่ีส าคัญท่ีสุด 8 ล าดับแรกตามมูลค่าการค้าปี 2009

1st 2nd 3rd 4th 5th 6th 7th 8th

Brunei Japan R.O.K Indonesia Australia India New Zealand China Thailand

47.65% 13.90% 9.17% 7.98% 7.01% 4.49% 4.05% 1.57%

Indonesia Japan China U.S. Singapore R.O.K India Malaysia Ch Taipei

15.94% 9.87% 9.35% 8.81% 6.99% 6.38% 5.85% 2.90%

Malaysia Singapore China U.S. Japan Thailand Hong Kong R.O.K Australia 13.95% 12.15% 10.96% 9.84% 5.40% 5.21% 3.81% 3.61%

Philippines U.S. Japan Netherlands Hong Kong China Germany Singapore R.O.K

17.68% 16.15% 9.74% 8.36% 7.63% 6.52% 6.45% 4.76%

Singapore Hong Kong Malaysia China Indonesia U.S. R.O.K Japan Australia

11.58% 11.46% 9.75% 9.68% 6.56% 4.66% 4.55% 3.92%

Thailand U.S. China Japan Hong Kong Australia Malaysia Singapore Viet Nam

10.94% 10.57% 10.32% 6.22% 5.63% 5.03% 4.97% 3.07%

Vietnam U.S. Japan China Australia R.O.K Singapore Malaysia Philippines

22.03% 11.75% 8.02% 4.17% 4.00% 3.84% 3.49% 2.37%

China U.S. Hong Kong Japan R.O.K Germany Netherlands U.K. Singapore

18.42% 13.83% 8.15% 4.47% 4.15% 3.05% 2.60% 2.50%

Japan China U.S. R.O.K Ch Taipei Hong Kong Thailand Singapore Germany

18.88% 16.43% 8.14% 6.27% 5.49% 3.83% 3.57% 2.87%

Replubic of Korea

China U.S. Japan Hong Kong Singapore Mar. Islands Ch Taipei Germany 23.85% 10.40% 5.99% 5.41% 3.75% 2.66% 2.61% 2.43%

Australia China Japan R.O.K India U.S. U.K. New Zealand Ch Taipei

21.61% 19.53% 7.97% 7.38% 4.89% 4.60% 4.04% 3.31%

India U.A.E. U.S. China Hong Kong Area Nes Singapore U.K. Netherlands

14.38% 10.82% 5.87% 4.05% 3.88% 3.86% 3.69% 3.66%

New Zealand Australia U.S. China Japan U.K. R.O.K Singapore Indonesia 23.03% 9.97% 9.14% 7.11% 4.28% 3.13% 2.77% 2.43%

U.S. Canada Mexico China Japan U.K. Germany Netherlands R.O.K 19.37% 12.21% 6.58% 4.84% 4.33% 4.09% 3.06% 2.71%

Canada U.S. U.K. China Japan Mexico Germany R.O.K Netherlands

74.98% 3.37% 3.11% 2.31% 1.34% 1.03% 0.98% 0.77%

Chile China U.S. Japan R.O.K Brazil Netherlands Area Nes Mexico

23.24% 11.28% 9.20% 5.84% 5.07% 3.81% 3.45% 2.71%

Mexico U.S. Canada Germany Colombia Spain Brazil China Netherlands

80.65% 3.62% 1.39% 1.09% 1.08% 1.07% 0.96% 0.75%

Peru U.S. China Switzerland Canada Japan Germany Chile R.O.K

17.22% 15.25% 14.79% 8.64% 5.15% 3.90% 2.81% 2.80%

Russia Area Nes Netherlands Italy China Germany Poland Turkey Ukraine 17.26% 12.33% 7.12% 5.65% 4.17% 3.79% 3.60% 3.41%

Chinese Taipei China Hong Kong U.S. Japan Singapore R.O.K Viet Nam Germany

26.62% 14.46% 11.61% 7.12% 4.22% 3.59% 2.94% 2.31%

Papua New Guinea

Australia Japan China Philippines Germany R.O.K Spain Malaysia 46.43% 12.40% 7.18% 5.06% 4.40% 4.28% 2.42% 2.22%

Hong Kong China China U.S. Japan U.K. Germany Ch Taipei India R.O.K

49.87% 11.19% 4.29% 3.85% 3.11% 2.26% 2.17% 1.88%

ที่มา: รวบรวมจาก Trade Map

Page 7: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-7

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

ตารางที่ 2-2 สัดส่วนมูลค่าการส่งออก/น าเข้าของแต่ละประเทศไปยัง/จากแต่ละตลาดเมื่อเทียบกับมูลค่าการส่งออก/น าเข้าระหว่างสมาชิก APEC

สิง

คโปร

นิวซีแ

ลนด์

ชิลี

บรูไน

อเมร

ิกา

ออสเ

ตรเล

ีย

เปร ู

เวียดน

าม

มาเล

เซีย

แคนน

าดา

ญี่ปุ่น

เกาห

ลีใต ้

จีน

ฟิลิปป

ินส ์

เม็กซ

ิโก

ฮ่องก

ไต้หวั

ไทย

อินโด

นีเซีย

รัสเซ

ีย

ปาปัว

นิวกิน

รวม

% E

x in

FTAs

สิงคโปร์ - 0.0 0.0 0.0 0.5 0.3 0.0 0.2 0.3 0.1 0.3 0.3 0.7 0.1 0.0 0.8 0.1 0.3 0.7 0.0 0.0 5.4 4.3

นิวซีแลนด์ 0.0 - 0.0 0.0 0.1 0.2 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.5 0.3

ชิลี 0.0 0.0 - 0.0 0.2 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.1 0.1 0.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.9 0

บรูไน 0.0 0.0 0.0 - 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.1 0.0 0.0 0.2 0.5

อเมริกา 0.6 0.1 0.2 0.0 - 0.5 0.1 0.1 0.3 5.4 1.4 0.8 1.9 0.2 3.4 0.6 0.4 0.2 0.1 0.1 0.1 16.4 10.4

ออสเตรเลีย 0.1 2.0 0.0 0.0 0.2 - 0.0 0.0 0.1 0.0 0.8 0.3 0.9 0.0 0.0 0.1 0.1 0.1 0.1 0.0 0.0 3.1 0.4

เปร ู 0.0 0.0 0.0 0.0 0.1 0.0 - 0.0 0.0 0.1 0.0 0.0 0.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.4 0.3

เวียดนาม 0.1 0.0 0.0 0.0 0.3 0.1 0.0 - 0.0 0.0 0.2 0.0 0.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 1.0 0.6

มาเลเซีย 0.7 0.0 0.0 0.0 0.5 0.2 0.0 0.1 - 0.0 0.4 0.2 0.7 0.1 0.1 0.2 0.1 0.2 0.1 0.0 0.0 3.6 2.6

แคนาดา 0.0 0.0 0.0 0.0 6.3 0.0 0.0 0.0 0.0 - 0.2 0.1 0.3 0.0 0.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 7.2 6.4

ญี่ปุ่น 0.6 0.0 0.0 0.0 2.5 0.3 0.0 0.2 0.3 0.2 - 1.3 2.9 0.2 0.2 0.0 0.9 0.6 0.2 0.1 0.0 11.4 2.3

เกาหลีใต ้ 0.3 0.0 0.1 0.0 1.0 0.1 0.0 0.2 0.1 0.1 0.5 - 2.5 0.1 0.3 0.3 0.3 0.1 0.2 0.1 0.0 6.4 1.1

จีน 0.8 0.1 0.1 0.0 5.9 0.5 0.1 0.4 0.5 0.5 2.6 1.4 - 0.2 0.3 4.4 0.6 0.4 0.4 0.5 0.0 19.7 7.4

ฟิลิปปินส ์ 0.1 0.0 0.0 0.0 0.2 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.2 0.1 0.3 - 0.0 0.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 1.0 0.7

เม็กซิโก 0.0 0.0 0.0 0.0 4.9 0.0 0.0 0.0 0.0 0.2 0.0 0.0 0.1 0.0 - 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 5.7 5.2

ฮ่องกง 0.1 0.0 0.0 0.0 1.0 0.1 0.0 0.1 0.1 0.1 0.4 0.1 4.3 0.1 0.0 - 0.0 0.1 0.1 0.0 0.0 6.6 4.3

ไต้หวัน 0.2 0.0 0.0 0.0 0.6 0.1 0.0 0.2 0.1 0.0 0.4 0.2 1.4 0.1 0.0 0.8 - 0.1 0.1 0.0 0.0 4.4 0

ไทย 0.2 0.0 0.0 0.0 0.4 0.2 0.0 0.1 0.2 0.0 0.4 0.1 0.4 0.1 0.0 0.3 0.1 - 0.1 0.0 0.0 2.7 1.9

อินโดนีเซีย 0.3 0.0 0.0 0.0 0.3 0.1 0.0 0.0 0.1 0.0 0.5 0.2 0.3 0.0 0.0 0.1 0.1 0.1 - 0.0 0.0 2.3 1.7

รัสเซีย 0.0 0.0 0.0 0.0 0.2 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.2 0.1 0.4 0.0 0.0 0.0 0.1 0.0 0.0 - 0.0 1.2 0

ปาปัวนิวกินี 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 - 0.1 0.1

รวม 4.2 0.5 0.6 0.1 25.3 2.9 0.3 1.6 2.3 7.0 8.8 5.3 17.7 1.3 4.7 8.6 2.9 2.2 2.3 0.1 0.1 100 51.3

% Ex in FTAs 3.8 0.3 0.6 0.0 12.2 1.5 0.2 1.2 2.3 5.8 2.2 1.0 7.3 0.9 3.8 4.4 0.0 1.8 1.9 0.0 0.0 51.3

ที่มา : JETRO (2010)

เมื่อพิจารณาสถิติการส่งออกและน าเข้าระหว่างเขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปคในปี 2009 ดังตารางที่ 2-2 โดยคิดเป็นสัดส่วนเทียบกับมูลค่าการส่งออกหรือน าเข้ารวมระหว่างเขตเศรษฐกิจสมาขิก จะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าระหว่างเขตเศรษฐกิจสมาชิก 51.3% เป็นการค้าระหว่างเขตเศรษฐกิจท่ีมีการท า FTAs ระหว่างกัน เมื่อพิจารณาในแนวนอนสังเกตเห็นว่าเขตเศรษฐกิจท่ีมีสัดส่วนมูลค่าส่งออกรวมสูงสุด 3 ล าดับแรกคือ จีน สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น คือส่งออกคิดเป็นสัดส่วนเมื่ อเทียบกับมูลค่าการส่งออกรวมของเอเปคเท่ากับ 19.7% 16.4% และ11.6% ตามล าดับ ถึงแม้ว่าการส่งออกส่วนใหญ่ของจีนและญี่ปุ่นจะเป็นการส่งออกไปยังเขตเศรษฐกิจเอเปคที่ไม่ได้ท า FTAs ด้วยก็ตาม เมื่อพิจารณาในแนวดิ่งจะเห็นได้ว่าเขตเศรษฐกิจท่ีเป็นตลาดน าเข้าหลักจากสมาชิกเอเ ปค คือ สหรัฐอเมริกา จีน และญี่ปุ่น โดยมีมูลค่าน าเข้าคิดเป็นสัดส่วนเมื่อเทียบกับมูลค่าการน าเข้ารวมของเอเปคเท่ากับ 25.3% 17.7% และ 8.8% ตามล าดับ และสังเกตเห็นได้ว่าประเทศสหรัฐอเมริกาส่งออกสินค้าส่วนใหญ่ไปยังเขตเศรษฐกิจท่ีท า FTAs ด้วย ในขณะที่น าเข้าสินค้าจากเ ขตเศรษฐกิจท่ีท า FTAs ด้วยเมื่อเทียบกับการน าเข้ารวมจากเอเปคทั้งหมด นอกจากน้ียังเห็นได้ว่าเขตเศรษฐกิจท่ีมีขนาดเล็กอย่างเช่น สิงคโปร์ ฮ่องกง และไต้หวัน มีสัดส่วนดังกล่าวสูงกว่าเขตเศรษฐกิจท่ีมีขนาดใหญ่กว่าอย่างเห็นได้ชัด

EXPORT To

IMPORT From

Page 8: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-8

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

2.2 โครงสร้างการค้าระหว่างประเทศของไทยกับภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

2.2.1 โครงสร้างการค้าระหว่างไทยกับกลุ่มเอเชีย-แปซิฟิคในปัจจุบัน

ประเทศคู่ค้าท่ีส าคัญของไทย

ในการวิเคราะห์ประเทศคู่ค้าท่ีส าคัญของไทย ในส่วนของตลาดส่งออกท่ีส าคัญของประเทศไทย เมื่อพิจารณาจากมูลค่าการส่งออกท้ังหมดของประเทศไทยในปี 2009 ในตารางที่ 2-2 จะเห็นได้ว่าตลาดในภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิคเป็นตลาดส่งออกท่ีส าคัญที่สุดของประเทศไทยโดยมีส่วนแบ่งถึง 67.35% ของมูลค่าการส่งออกท้ังหมดของประเทศไทย ในจ านวนนี้เกือบครึ่งหนึ่งเป็นตลาด สหรัฐอเ มริกา จีน และญี่ปุ่นตามล าดับ ดังน้ันจึงกล่าวได้ว่าไทยควรให้ความส าคัญกับการเจรจาเปิดเสรีการค้ากับประเทศกลุ่มดังกล่าวให้มีระดับการเปิดเสรีการค้าในสินค้าส่งออกหลักของไทยให้มากขึ้น นอกจากน้ีจากตารางที่ 2-3 จะเห็นได้ว่าในบรรดา 9 ประเทศท่ีเป็นตลาดส่งออกล าดับต้นของไทย มีเพียงสหรัฐอเมริกาเพียงประเทศเดียวเท่านั้นที่ไทยยังไม่มีการลงนามข้อตกลงเขตการค้าเสรีด้วย ประเทศไทยจึงควรส่งเสริมการเจรจาเพื่อเปิดเสรีการค้ากับสหรัฐอเมริกาในประเด็นที่ประเทศไทยมีความพร้อมเปิดเสรี

ตารางที่ 2-3 ตลาดส่งออกที่ส าคัญของประเทศไทย (หน่วย: ล้านเหรียญ สรอ.)

มูลค่าส่งออก (2009) %

United States of America 1,668 10.94% China 1,612 10.57% Japan 1,573 10.32% Hong Kong (SARC) 948 6.22% Australia 858 5.63% Malaysia 766 5.03% Singapore 757 4.97% Viet Nam 468 3.07% Indonesia 467 3.06% Switzerland 326 2.14%

APEC 10,271 67.35% Total Export 15,250

ที่มา : รวบรวมจาก Trade Map

เมื่อพิจารณาถึงแนวโน้มการขยายตัวของมูลค่าสินค้าส่งออกของไทยในตลาดภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิคระหว่างปี 2001 ถึง 2009 ตามแผนภาพท่ี 2-7 จะเห็นได้ว่าตลาดอาเซียนเป็นตลาดที่มีการเติบโตสูงสุด สะท้อนถึงผลลัพธ์จากการเปิดเสรีการค้าตามกรอบ ASEAN นอกจากน้ีตลาดที่มีการเติบโตของการน าเข้าสินค้าจากไทยในอัตราที่เพิ่มขึ้นสูงคือ จีน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น และตลาดอื่นๆในกลุ่มเอเชีย- แปซิฟิค ส่วนตลาดส หรัฐอเมริกานั้นจะเห็นได้ว่ามีการเติบโตของมูลค่าการน าเข้าสินค้าจากไทยที่น้อยกว่าตลาดอื่นๆอย่างชัดเจน

Page 9: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-9

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

แผนภาพที่ 2-7 ตลาดส่งออกที่ส าคัญของประเทศไทยในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

ที่มา : รวบรวมจาก Trade Map

เมื่อพิจารณาด้านการน าเข้าสินค้าจากต่างประเทศจากมูลค่าการน าเข้าท้ังหมดของประเทศไทยในปี 2009 ในตารางที่ 2-4 จะเห็นได้ว่าตลาดในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคเป็นแหล่งผลิตที่ไทยน าเข้าสินค้ามากที่สุดโดยมีส่วนแบ่งถึง 69.42% ของมูลค่าการน าเข้าทั้งหมดของประเทศไทย ในจ านวนนี้ เกือบครึ่งหน่ึงเป็นการน าเข้าสินค้าจากญี่ปุ่นและจีน ตามล าดับ ท้ังนี้อาจเป็นเพราะประเทศดังกล่าวได้มีการลงนามเปิดเสรีการค้าร่วมกับประเทศไทยแล้ว ส าหรับสหรัฐอเมริกานั้น ในปี 2009 ประเทศไทยน าเข้าสินค้าจากสหรัฐอเมริกาเป็นล าดับท่ี 4 รองจากประเทศมาเลเซียซึ่งอยู่ในล าดับที่ 3

ตลาดน าเข้า

ตารางที่ 2-4 ประเทศท่ีไทยน าเข้าสินค้า 10 ล าดับแรก (หน่วย: ล้านเหรียญ สรอ.)

มูลค่าการน าเข้า (2009) %

Japan 2,502 18.71% China 1,703 12.73% Malaysia 858 6.41% United States of America 844 6.31% United Arab Emirates 667 4.98% Singapore 572 4.28% Republic of Korea 542 4.05% Chinese Taipei 483 3.61% Saudi Arabia 399 2.98% Indonesia 380 2.84%

APEC 9,287 69.42% Total Imported value 13,377

Page 10: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-10

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

รายการสินค้าส าคัญที่ไทยค้ากับประเทศกลุ่มเอเชีย-แปซิฟิค

จากแผนภาพที่ 2-8 จะเห็นได้ว่าอุตสาหกรรมในกลุ่มชิ้นส่วนไฟฟ้าและอิเล็กโทรนิคส์ และกลุ่มเครื่องจักร เป็นอุตสาหกรรมส่งออกหลักที่ส าคัญของประเทศไทย ส่วนอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมยางนั้นมีการเติบโตเพิ่มขึ้นของการส่งออกอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งสินค้ากลุ่มเหล่านี้เป็นรายการสินค้าอุ ตสาหกรรมที่ประเทศส่วนใหญ่ได้ด าเนินการลดอัตราศุลกากรตามกรอบความตกลงการค้าต่างๆ จึงนับเป็นโอกาสในการส่งออกท่ีส าคัญของประเทศไทย

แผนภาพที่ 2-8 สินค้าส่งออกที่ส าคัญของประเทศไทยไปยังภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

ที่มา : รวบรวมจาก Trade Map

Page 11: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-11

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

2.2.2 สถานการณ์การเจรจาการค้าในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคของไทย

จากข้อมูลการเปิดเสรีการค้าของประเทศไทยกับเขตเศรษฐกิจสมาชิก APEC ดังแสดงในตารางที่ 2-5 จะเห็นได้ว่าประเทศไทยได้มีการลงนามความตกลงการค้าเสรีกับทุกประเทศในกลุ่ม ASEAN+3 และ ASEAN+6 ครบทุกประเทศแล้ว ดังนั้นการจัดท าความตกลงเขตการค้าเสรีเอเชียแปซิฟิคโดยใช้กรอบความตกลง ASEAN+ เป็นฐาน จะท าให้ประเทศไทยมิต้องมีการปรับตัวใน การเจรจามากนักในระยะสั้น อย่างไรก็ดี เนื่องจากกรอบความตกลง ASEAN+ เป็นกรอบความตกลงที่มีข้อจ ากัดส าคัญสามประการคือ ความแตก ต่างระหว่างความตกลงย่อยทวิภาคีระหว่างประเทศต่างๆ สมาชิกใน ASEAN และ ASEAN+6 บางประเทศมิได้เป็นสมาชิกเอเปค และขอบเขตของตกลงที่มีความเข้มข้นน้อยกว่าความคาดหวังต่อลักษณะกรอบความร่วมมือทางการค้าในยุคศตวรรษท่ี 21

ในกรณีที่กรอบความตกลง TPP ถูกเลือกใช้เป็นฐานในก ารพัฒนาสู่ความตกลงการค้าเสรีเอเชียแปซิฟิค ประเทศไทยอาจไม่สูญเสียประโยชน์จากการค้ามากนักทั้งนี้เนื่องจากในปัจจุบันไทยได้มีการลงนามความตกลงการค้ากับประเทศสมาชิกในกลุ่ม TPP แล้ว 7 จาก 9 ประเทศ ยกเว้น สหรัฐอเมริกา และชิลี ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยก าลังอยู่ในระหว่า งการเตรียมเจรจาเปิดการค้าเสรีกับประเทศชิลี ส่วนสหรัฐอเมริกานั้น ประเทศไทยก็มีสนธิสัญญาทางไมตรีที่ยังมีผลบังคับใช้ในปัจจุบัน

ตารางที่ 2-5 สถานะการเปิดเสรีการค้าระหว่างไทยกับเขตเศรษฐกิจสมาชิก APEC เขตเศรษฐกิจสมาชิก

APEC สมาชิก

ASEAN + สมาชิก TPP

สถานะ FTA กับไทย

มาเลเซีย ลงนามแล้ว อินโดนีเซีย ลงนามแล้ว ฟิลิปปินส ์ ลงนามแล้ว สิงคโปร ์ ลงนามแล้ว บรูไน ลงนามแล้ว เวียดนาม ลงนามแล้ว จีน ลงนามแล้ว ญี่ปุ่น ลงนามแล้ว เกาหลีใต ้ ลงนามแล้ว ออสเตรเลีย ลงนามแล้ว นิวซีแลนด ์ ลงนามแล้ว อินเดีย* ลงนามแล้ว เปร ู ลงนามแล้ว สหรัฐอเมริกา พักการเจรจา แคนาดา ไม่มีแผนเจรจา รัสเซีย ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได ้เม็กซิโก ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได ้ชิลี มีแผนเริ่มการเจรจา ไต้หวัน ไม่มีแผนเจรจา ฮ่องกง ไม่มีแผนเจรจา ปาปัวนิวกินี ไม่มีแผนเจรจา

ที่มา : รวบรวมโดยคณะวิจัย

Page 12: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-12

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

ในส่วนของยุทธศาสตร์การเจรจาการค้าเสรีของประเทศไทยนั้น กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ได้ก าหนดเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของการเจรจาการค้าไว้ดังต่อไปนี้

เพื่อเพ่ิมการส่งออก (Export expansion)

เพื่อหาแหล่งเงินทุน และแหล่งออกไปลงทุน (Investment inflow and outflow)

เพื่อหาแหล่งวัตถุดิบ (Resource-seeking) เพื่อลดต้นทุน

เพื่อหาแนวทางพัฒนาบุคลากร และเทคโนโลยี (Human Resource & Technology Development)

นอกจากน้ีโครงการศึกษายุทธศาสตร์การท า FTA ของไทยยังได้เสนอแนวทางการเจรจาการค้าระหว่างประเทศของไทย ในช่วงปี 2552 – 2556 ต่อกระทรวงพาณิชย์ดังต่อไปนี้

การเจรจาระดับพหุภาคี ร่วมผลักดันให้การเจรจารอบโดฮาส าเร็จโดยเร็ว

การเจรจาระดับภูมิภาค ให้ความส าคัญกับการเจรจาร่ วมกับอาเซียนเป็นล าดับแรก ท้ัง ASEAN Economic Community (AEC) และการเจรจา FTA ของอาเซียนกับคู่เจรจา (ASEAN FTA)

การเจรจาระดับทวิภาคี o ให้ความส าคัญกับการเจรจาที่ค้างอยู่ โดยประเมินประโยชน์และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น เพื่อ

เตรียมพร้อมปรับตัวรองรับ o เจรจากับประเทศใหม่ท่ีมีศักยภาพ ได้แก่ GCC Mercosur และชิลี o สร้างความสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศท่ีมีศักยภาพ เช่น รัสเซีย แอฟริกาใต้ เป็นต้น

2.3 ขีดความสามารถในการแข่งขันของเขตเศรษฐกิจต่างๆในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

2.3.1 ขีดความสามารถในการแข่งขันในภาพรวมของเขตเศรษฐกิจสมาชิก

เมื่อพิจารณาขีดความสามารถในการแข่งขันของเขตเศรษฐกิจต่างๆในภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิคจากส่วนแบ่งตลาดของการส่งออก และอัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกในช่วงระหว่างปี 2001-2009 ดังแสดงในแผนภาพที่ 2-9 สหรัฐอเมริกา จีน และญี่ปุ่น ยังคงเป็นประเทศผู้ส่งออกหลักของภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิค อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาถึงอัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออก จะเห็นได้ว่าประเทศในกลุ่มที่มีการจัดท าความตกลงเขตเสรีการค้าจ านวนมากกับประเทศคู่ค้าเช่น ชิลี ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ และไทยมีอัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกไปยังตลาดในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคสูงกว่าประเทศอื่นๆอย่างเห็นได้ชัด จึงสามารถสรุปได้ว่า ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันในด้านการส่งออกสินค้าที่ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศอ่ืนในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

Page 13: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-13

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

แผนภาพที่ 2-9 ส่วนแบ่งตลาดการส่งออกและอัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกของประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

ที่มา : รวบรวมจาก Trade Map

ในรายงานการวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆ ในรายงาน Global Competitiveness 2010-11 โดย World Economic Forum ได้มีการแบ่งองค์ประกอบของขีดความสามารถในการแข่งขันออกเป็น 3 ส่วนหลักคือ ปัจจัยพื้นฐาน ปัจจัยด้านประสิทธิภาพ และปัจจัยด้านนวัตกรรมของภาคธุรกิจ ซึ่งแต่ละด้านมีองค์ประกอบย่อยตามหัวข้อที่น าเสนอในแผนภาพที่ 2-10

แผนภาพที่ 2-10 องค์ประกอบในการวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขัน

ที่มา WEF (2010)

Page 14: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-14

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

เมื่อพิจาณาถึงระดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านปัจจัยพื้นฐาน ซึ่งครอบคลุมทั้งปัจจัยด้านสถาบัน ด้านสาธารณูปโภค ด้านสภาพแวดล้อมเศรษฐศาตร์มหภาค และด้านสาธารณสุขและการศึกษา ดังแสดงใน แผนภาพท่ี 2-11 จะเห็นได้ว่าประเทศไทยมีระดับขีดความสามารถในการแข่งขันดังกล่าวไม่สูงนักเมื่อเปรียบเทียบกับเขตเศรษฐกิจอ่ืนๆ ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค โดยไทยมีระดับคะแนนเป็นล าดับที่ 6 จากท้ายสุด

แผนภาพที่ 2-11 ระดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านปัจจัยพ้ืนฐานของเขตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

ที่มา: รวมรวมจาก WEF (2010)

ในส่วนของระดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านประสิทธิภาพ ซึ่งครอบคลุมปัจจัยด้านการฝึกอบรมและการศึกษาระดับอุดมศึกษา ประสิทธิภาพของกลไกตลาดสินค้า ประสิทธิภาพของกลไกตลาดแรงงาน การพัฒนาตลาดเงิน ความพร้อมด้านเทคโนโลยีและขนาดตลาด จากแผนภาพท่ี 2-12 จะเห็นได้ว่า ประเทศไทยมีระดับขีดความสามารถในการแข่งขันดังกล่าวในระดับปานกลางเมื่อเปรียบเทียบกับเขตเศรษฐกิจอ่ืนๆ ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค โดยไทยมีระดับคะแนนเป็นล าดับที่ 9 จากท้ายสุด

แผนภาพที่ 2-12 ระดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านประสิทธิภาพของเขตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

ที่มา: รวมรวมจาก WEF (2010)

ในส่วนของระดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านนวัตกรรม ซึ่งครอบคลุมปัจจัยด้านความยากในการลอกเลียนแบบ และด้านนวัตกรรรมของภาคธุรกิจ จาก แผนภาพท่ี 2-13 จะเห็นได้ว่า ประเทศไทยมีระดับขีดความสามารถในการแข่งขันดังกล่าวในระดับค่อนข้างต่ าเมื่อเปรียบเทียบกับเขตเศรษฐกิจอ่ืนๆ ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค โดยไทยมีระดับคะแนนเป็นล าดับที่ 7 จากท้ายสุด

Page 15: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-15

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

แผนภาพที่ 2-13 ระดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านนวัตกรรมของเขตเศรษฐกิจในภูมภิาคเอเชีย-แปซิฟิค

ที่มา: รวมรวมจาก WEF (2010)

นอกจากน้ีเมื่อพิจารณาถึงระดับขีดความสามารถในการแข่งขันเป็นรายข้อทั้ง 12 ข้อตามกรอบการวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันของ WEF โดยเปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศอื่นๆในอนุภูมิภาคต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค เป็นดังแผนภาพท่ี 2-14

แผนภาพที่ 2-14 ระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยเทียบกับประเทศในกลุ่ม APEC

ASEAN C-J-K

Oceania America

(1) สถาบัน (2) สาธารณูปโภค (3) สภาพแวดล้อมเศรษฐศาตร์มหภาค (4) สาธารณสุขและการศึกษา (5) การฝึกอบรมและการศึกษาระดับอุดมศึกษา (6) ประสิทธิภาพของกลไกตลาดสินค้า (7) ประสิทธิภาพของกลไกตลาดแรงงาน (8) การพัฒนาตลาดเงิน

(9) ความพร้อมด้านเทคโนโลยี (10) ขนาดตลาด (11) ความยากในการลอกเลียนแบบ และ (12) นวัตกรรรมของภาคธุรกิจ

ที่มา: รวมรวมจาก WEF (2010)

Page 16: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-16

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

จากแผนภาพท่ี 2-14 จะเห็นว่าได้ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันโดยรวมเมื่อเทียบเทียบกับประเทศสมาชิกอาเซียนที่เป็นสมาชิกเอเปคในระดับกลาง โดยสิงค์โปร์เป็นประเทศท่ีมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงที่สุดในกลุ่มอย่างค่อนข้างเด่นชัด (ยกเว้นด้านสภาพแวดล้อมทางเศรษฐศาสตร์มหภาค และด้านขนาดตลาด) ส่วนมาเลเซียและเวียดนามเป็นประเทศท่ีมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงกว่าและต่ ากว่าประเทศไทยตามล าดับ โดยมีความแตกต่างไม่มากนัก

เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มประเทศญี่ปุ่น จีน และเกาหลีใต้ จะเห็นได้ว่าในภาพรวมประเทศไทยมีระดับขีดความสามารถในการแข่งขันค่อนข้างใกล้เคียงกับประเทศจีนและต่ ากว่าประเทศเกาหลี ใต้และญี่ปุ่น ส่วนประเทศญี่ปุ่นยังคงเป็นประเทศท่ีมีระดับขีดความสามารถในการแข่งขันสูงที่สุดในกลุ่มเป็นส่วนใหญ่ ส าหรับประเทศในกลุ่มโอเชเนียนั้น ปร ะเทศไทยมีระดับขีดความสามารถในการแข่งขันในภาพรวมด้อยกว่าประเทศอ อสเตรเลียและนิวซีแลนด์ นอกจากนี้จะเห็นได้ว่าประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนนาดามีระดับขีดความสามารถในการแข่งขันสูงกว่าประเทศอื่นในแถบทวีปอเมริกาอย่างเห็นได้ชัด โดยประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันไม่ต่างจากประเทศชิลี เม็กซิโก และเปรูมากนัก

เมื่อเปรียบเทียบขีดค วามสามารถในการส่งออกสินค้าของเขตเศรษฐกิจสมาชิกต่างๆ เป็นรายสินค้า โดยพิจารณาจากสินค้าค้าส่งออกท่ีมีมูลค่าสูงสุด 5 อันดับแรกของแต่ละประเทศดังแสดงในตารางที่ 2-6 จะเห็นได้ว่ามีหลายเขตเศรษฐกิจท่ีมีการส่งออกสินค้ากลุ่มช้ินส่วนและเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็คโทรนิคส์ อยู่ใน 3 อันดับแรกของสินค้าส่งออกหลักได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย เวียดนาม จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย อเมริกา เม็กซิโก ไต้หวัน และฮ่องกง จึงสรุปได้ว่าประเทศส่วนใหญ่ในเอเปคมีสินค้ากลุ่มช้ินส่วนและเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็คโทรนิคส์เป็นสินค้าส่ งออกหลัก ซึ่งสามารถตีความได้ว่าประเทศกลุ่มดังกล่าวเป็นทั้งคู่แข่งและเครือข่ายการผลิตสินค้าในกลุ่มดังกล่าว

Page 17: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-17

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

ตารางที่ 2-6 สัดส่วนสินค้าส่งออก 5 ล าดับแรกของแต่ละเขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค 1st 2nd 3rd 4th 5th

Brunei 27 Mineral fuels, oils, distillation products, etc

71 Pearls, precious stones, metals, coins, etc

61 Articles of apparel, accessories, knit or crochet

84 Machinery, nuclear reactors, boilers, etc

72 Iron and steel

95.76% 2.20% 0.89% 0.20% 0.16%

Indonesia 27 Mineral fuels, oils, distillation products, etc

15 Animal,vegetable fats and oils, etc

85 Electrical, electronic equipment 26 Ores, slag and ash 40 Rubber and articles thereof

28.28% 10.49% 6.99% 4.98% 4.22%

Malaysia 85 Electrical, electronic equipment

84 Machinery, nuclear reactors, boilers, etc

27 Mineral fuels, oils, distillation products, etc

15 Animal,vegetable fats and oils, cleavage products, etc

40 Rubber and articles thereof

28.75% 16.69% 14.79% 7.62% 3.07%

Philippines 85 Electrical, electronic equipment

84 Machinery, nuclear reactors, boilers, etc

87 Vehicles other than railway, tramway

90 Optical, photo, technical, medical, etc apparatus

44 Wood and articles of wood, wood charcoal

40.45% 22.59% 4.08% 3.06% 2.25%

Singapore 85 Electrical, electronic equipment

84 Machinery, nuclear reactors, boilers, etc

27 Mineral fuels, oils, distillation products, etc

99 Commodities not elsewhere specified

29 Organic chemicals

32.74% 16.75% 15.24% 6.78% 4.36%

Thailand 84 Machinery, nuclear reactors, boilers, etc

85 Electrical, electronic equipment

87 Vehicles other than railway, tramway

71 Pearls, precious stones, metals, coins, etc

40 Rubber and articles thereof

17.20% 14.68% 7.87% 6.40% 5.91%

Vietnam 27 Mineral fuels, oils, distillation products, etc

64 Footwear, gaiters and the like, parts thereof

85 Electrical, electronic equipment 62 Articles of apparel, accessories, etc

61 Articles of apparel, accessories, knit or crochet

13.79% 11.01% 8.89% 8.52% 7.33%

China 85 Electrical, electronic equipment

84 Machinery, nuclear reactors, boilers, etc

61 Articles of apparel, accessories, knit or crochet

62 Articles of apparel, accessories, etc crochet

94 Furniture, lighting, signs, prefabricated buildings

25.06% 19.64% 4.47% 3.89% 3.24%

Japan 85 Electrical, electronic equipment

87 Vehicles other than railway, tramway

84 Machinery, nuclear reactors, boilers, etc

99 Commodities not elsewhere specified

90 Optical, photo, technical, medical, etc

18.48% 17.72% 17.57% 5.89% 4.93%

Replubic of Korea (R.O.K.)

85 Electrical, electronic equipment

89 Ships, boats and other floating structures

84 Machinery, nuclear reactors, boilers, etc

87 Vehicles other than railway, tramway

90 Optical, photo, technical, medical, etc

24.42% 11.69% 10.51% 10.05% 8.05%

Australia 27 Mineral fuels, oils, distillation products, etc

26 Ores, slag and ash 71 Pearls, precious stones, metals, coins, etc

99 Commodities not elsewhere specified

02 Meat and edible meat offal

29.46% 20.24% 8.25% 4.29% 3.35%

India 71 Pearls, precious stones, metals, coins, etc

27 Mineral fuels, oils, distillation products, etc

85 Electrical, electronic equipment 99 Commodities not elsewhere specified

84 Machinery, nuclear reactors, boilers, etc

18.44% 13.59% 5.44% 4.37% 4.05%

New Zealand 04 Dairy products, eggs, honey, edible animal

02 Meat and edible meat offal 44 Wood and articles of wood, wood charcoal

27 Mineral fuels, oils, distillation products, etc

84 Machinery, nuclear reactors, boilers, etc

20.47% 12.96% 5.84% 4.77% 4.18%

U.S. 84 Machinery, nuclear reactors, boilers, etc

85 Electrical, electronic equipment

99 Aircraft, spacecraft, and parts thereof

87 Vehicles other than railway, tramway

90 Optical, photo, technical, medical, etc

14.49% 11.82% 7.85% 6.97% 6.16%

Canada 27 Mineral fuels, oils, distillation products, etc

87 Vehicles other than railway, tramway

84 Machinery, nuclear reactors, boilers, etc

85 Electrical, electronic equipment 99 Commodities not elsewhere specified

22.87% 10.69% 8.40% 4.50% 4.07%

Chile 74 Copper and articles thereof 26 Ores, slag and ash 08 Edible fruit, nuts, peel of citrus fruit, melons

03 Fish, crustaceans, molluscs, aquatic invertebrates nes

47 Pulp of wood, fibrous cellulosic material, etc

35.60% 20.38% 6.49% 4.95% 3.69%

Mexico 85 Electrical, electronic equipment

87 Vehicles other than railway, tramway

27 Mineral fuels, oils, distillation products, etc

84 Machinery, nuclear reactors, boilers, etc

90 Optical, photo, technical, medical, etc

26.52% 14.74% 13.27% 12.66% 3.76%

Peru 71 Pearls, precious stones, metals, coins, etc

26 Ores, slag and ash 74 Copper and articles thereof 27 Mineral fuels, oils, distillation products, etc

23 Residues, wastes of food industry, animal

26.33% 25.29% 8.30% 7.74% 5.66%

Russia 27 Mineral fuels, oils, distillation products, etc

72 Iron and steel 99 Commodities not elsewhere specified

76 Aluminium and articles thereof 84 Machinery, nuclear reactors, boilers, etc

66.71% 5.17% 4.84% 2.03% 1.96%

Chinese Taipei 85 Electrical, electronic equipment

84 Machinery, nuclear reactors, boilers, etc

90 Optical, photo, technical, medical, etc apparatus

39 Plastics and articles thereof 27 Mineral fuels, oils, distillation products, etc

36.99% 9.73% 7.74% 7.18% 5.55%

Papua New Guinea

71 Pearls, precious stones, metals, coins, etc

26 Ores, slag and ash 27 Mineral fuels, oils, distillation products, etc

15 Animal,vegetable fats and oils, cleavage products, etc

44 Wood and articles of wood, wood charcoal

33.24% 19.34% 18.16% 7.63% 7.50%

Hong Kong China 85 Electrical, electronic equipment

84 Machinery, nuclear reactors, boilers, etc

71 Pearls, precious stones, metals, coins, etc

95 Toys, games, sports requisites 61 Articles of apparel, accessories, knit or crochet

43.27% 12.83% 8.14% 4.07% 3.58%

Page 18: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-18

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

2.3.1 ขีดความสามารถในการแข่งขันในกลุ่มสินค้าทีส่ าคัญของเขตเศรษฐกิจสมาชิก

กลุ่มสินค้าเกษตร

ในด้านอุปสงค์ จากการวิเคราะห์ประเทศท่ีเป็นตลาดน าเข้าสินค้าเกษตรในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคตามสัดส่วนมูลค่าการน าเข้าของประเทศนั้นเทียบกับสัดส่วนมูลค่าการน าเข้ารวมของกลุ่มเอเปคเปรียบเทียบระหว่างปี 2001 และ 2009 จะเห็นได้ชัดเจนจากแผนภาพที่ 2-15 ว่า จีนเป็นตลาดที่มีการขยายตัวของสัดส่วนการน าเข้าสินค้าเกษตรสูงเมื่อเทียบกับญี่ปุ่นหรือกลุ่มประเทศอื่นๆ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะจีนเป็นประเทศท่ีมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงในระยะที่ผ่านมาและมีขนาดประชากรมาก ส่วนญี่ปุ่นยังคงมีมาตราการป้องการการน าเข้าสินค้าเกษตรจากต่างประเทศค่อนข้างเด่นชัด

แผนภาพที ่2-15 สัดส่วนมูลค่าน าเข้าสินค้าเกษตรของประเทศต่างๆเทียบกับมูลค่าการน าเข้าสินค้าเกษตรรวมของ APEC

ที่มา: รวบรวมจาก Trade Map

ในด้านอุปทานและการแข่งขัน เมื่อพิจารณาถึงมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตร สัดส่วนการส่งออกเมื่อเทียบกับการส่งออกท้ังหมดของเอเปค และอัตราการเติบโตของการส่งออกสินค้าเกษตรของเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค ระหว่ างปี 2001 – 2009 ดังแผนภาพท่ี 2-16 จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศท่ีมีสัดส่วนการส่งออกสินค้าเกษตรสูงมากเมื่อเทียบกับเขตเศรษฐกิจอ่ืนๆ สอดคล้องกับท่าทีของสหรัฐอเมริกาที่ต้องการให้ประเทศต่างๆ เร่งรัดการเปิดเสรีการค้าในกลุ่มสินค้าเกษตร ในส่วนของอัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรไปยังตลาดในภูมิภาคเอเชีย -แปซิฟิคนั้น จากแผนภาพดังกล่าว จะเห็นได้ว่าไทยมีอัตราการเติบโตของการส่งออกสินค้าดังกล่าวเป็นล าดับต้นๆ ถึงแม้จะมีความแตกต่างจากเขตเศรษฐกิจอ่ืนๆ ไม่มากนักก็ตาม

Page 19: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-19

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

แผนภาพที ่2-16 สัดส่วนมูลค่าส่งออกสินค้าเกษตร และอัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรของประเทศต่างๆเทียบกับมูลค่าการน าเข้าสินค้าเกษตรรวมของ APEC

ที่มา: รวบรวมจาก Trade Map

กลุ่มสินค้าผลิตภัณฑ์ยา

ในด้านอุปสงค์ จากการวิเคราะห์ประเทศท่ีเป็นตลาดน าเข้าสินค้าผลิตภัณฑ์ยาในภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิคตามสัดส่วนมูลค่าการน าเข้าของประเทศนั้นเทียบกับสัดส่วนมูลค่าการน าเข้ารวมของกลุ่มเอเปคเปรียบเทียบระหว่างปี 2001 และ 2009 จะเห็นได้ชัดเจนจากแผนภาพท่ี 2-17 ว่า สหรัฐอเมริกาเป็นตลาดที่มีการขยายตัวของสัดส่วนการน าเข้าสินค้าผลิตภัณฑ์ยาสูงเมื่อเทียบกับกลุ่มประเทศอื่นๆ

แผนภาพที่ 2-17 สัดส่วนมูลค่าน าเข้าสินค้าผลิตภัณฑ์ยาของประเทศต่างๆเทียบกับมูลค่าการน าเข้าสินค้าผลิตภัณฑ์ยารวมของ APEC

ที่มา: รวบรวมาก Trade Map

Page 20: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-20

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

ในด้านอุปทานและการแข่งขัน เ มื่อพิจารณาถึงมูลค่าการส่งออกสินค้าผลิตภัณฑ์ยา สัดส่วนการส่งออกเมื่อเทียบกับการส่งออกท้ังหมดของเอเปค และอัตราการเติบโตของการส่งออกสินค้าผลิตภัณฑ์ยาของเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค ระหว่างปี 2001 – 2009 ดังแผนภาพท่ี 2-18 จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศ ที่มีสัดส่วนการส่งออกสินค้าผลิตภัณฑ์ยาสูงมากเมื่อเทียบกับเขตเศรษฐกิจอ่ืนๆ สอดคล้องกับท่าทีของสหรัฐอเมริกาที่ต้องการให้ประเทศต่างๆ เร่งรัดการเปิดเสรีการค้าในกลุ่มสินค้าผลิตภัณฑ์ยา ในส่วนของอัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกสินค้าผลิตภัณฑ์ยาไปยังตลาดในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคนั้น จากแผนภาพดังกล่าว จะเห็นได้ว่าไทยมีอัตราการเติบโตของการส่งออกสินค้าดังกล่าวในล าดับปานกลาง ถึงแม้จะมีความแตกต่างจากเขตเศรษฐกิจอ่ืนๆ ไม่มากนักก็ตาม

แผนภาพที ่2-18 สัดส่วนมูลค่าส่งออกสินค้าผลิตภัณฑ์ยา และอัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกสินคา้ผลิตภัณฑ์ยาของประเทศต่างๆเทียบกับมูลค่าการน าเข้าสินค้าผลิตภัณฑ์ยารวมของ APEC

ที่มา: รวบรวมจาก Trade Map

Page 21: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-21

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

กลุ่มสินค้าผลิตภัณฑ์ยาง

ในด้านอุปสงค์ จากการวิเคราะห์ประเทศท่ีเป็นตลาดน าเข้าสินค้าผลิตภัณฑ์ยางในภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิคตามสัดส่วนมูลค่าการน าเข้าของประเทศนั้นเทียบกับสัดส่วนมูลค่าการน าเข้ารวมของกลุ่มเอเปคเปรียบเทียบระหว่างปี 2001 และ 2009 จะเห็นได้ชัดเจนจากแผนภาพท่ี 2-19 ว่า จีนเป็นตลาดที่มีการขยายตัวของสัดส่วนการน าเข้าสินค้าผลิตภัณฑ์ยางสูงเมื่อเทียบกับกลุ่มประเทศอ่ืนๆ

แผนภาพที่ 2-19 สัดส่วนมูลค่าน าเข้าสินค้าผลิตภัณฑ์ยางของประเทศต่างๆเทียบกับมูลค่าการน าเข้าสินค้าผลิตภัณฑ์ยางรวมของ APEC

ที่มา: รวบรวมจาก Trade Map

ในด้านอุปทานและการแข่งขัน เมื่อพิจารณาถึงมูลค่าการส่งออกสินค้าผลิตภัณฑ์ยาง สัดส่วนการส่งออกยาง เมื่อเทียบกับการส่งออกยางทั้งหมดของเอเปค และอัตราการเติบโตของการส่งออกสินค้าผลิตภัณฑ์ยาง ของเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค ระหว่างปี 2001 – 2009 ดังแผนภาพท่ี 2-19 จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และไทยเป็นประเทศท่ีมีสัดส่วนการส่งออกสินค้าผลิตภัณฑ์ยางสูงมากเมื่อเทียบกับเขตเศรษฐกิจอ่ืนๆ ในส่วนของอัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกสินค้ายางไปยังตลาดในภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิคนั้น จากแผนภาพดังกล่าว จะเห็นได้ว่าไทยมีอัตราการเติบโตของการส่งออกสินค้าดังกล่าวในล าดับค่อนข้างสูง และมีคู่แข่งในภูมิภาคเดียวกันท่ีมีการเติบโตของการส่งออกท่ีสูงกว่าเช่น จีน อินโดนีเซีย และเวียดนาม หรือใกล้เคียงกันเช่น มาเลเซีย

Page 22: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-22

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

แผนภาพที ่2-20 สัดส่วนมูลค่าส่งออกสินค้าผลิตภัณฑ์ยาง และอัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกสินค้าผลิตภณัฑ์ยางของประเทศต่างๆเทียบกับมูลค่าการน าเข้าสินค้าผลิตภัณฑ์ยางรวมของ APEC

ที่มา: รวบรวมจาก Trade Map

กลุ่มสินค้าผลิตภัณฑ์สิ่งทอ

ในด้านอุปสงค์ จากการวิเคราะห์ประเทศท่ีเป็นตลาดน าเข้าสินค้าผลิตภัณฑ์สิ่งทอในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคตามสัดส่วนมูลค่าการน าเข้าสิ่งทอของประเทศนั้นเทียบกับสัดส่วนมูลค่าการน าเข้าสิ่งทอรวมของกลุ่มเอเปคเปรียบเทียบระหว่างปี 2001 และ 2009 จะเห็นได้ชัดเจนจากแผนภาพท่ี 2-21 ว่า ตลาดสิ่งทอมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประเทศผู้ซื้อค่อนข้างน้อยโดยตลาดที่มีการขยายตัวของสัดส่วนการน าเข้าผลิตภัณฑ์สิ่งทอคือตลาดญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา

แผนภาพที่ 2-21 สัดส่วนมูลค่าน าเข้าสินค้าผลิตภัณฑ์สิ่งทอของประเทศต่างๆเทียบกับมูลค่าการน าเข้าสินค้าผลิตภัณฑ์สิ่งทอรวมของ APEC

ที่มา: รวบรวมจาก Trade Map

Page 23: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-23

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

ในด้านอุปทานและการแข่งขัน เมื่อพิจารณาถึงมูลค่าการส่งออกสินค้าผลิตภัณฑ์สิ่งทอ สัดส่วนการส่งออกสิ่งทอเมื่อเทียบกับการส่งออกสิ่งทอท้ังหมดของเอเปค และอัตราการเติบโตของการส่งออกสินค้าผลิตภัณฑ์สิ่งทอของเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค ระหว่างปี 2001 – 2009 ดังแผนภาพท่ี 2-22 จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าจีนเป็นประเทศท่ีมีขีดความสามารถในการส่งออกผลิตภัณฑ์ดังกล่าวสูงมากทั้งในด้านส่วนแบ่งตลาดการส่งออกเมื่อเทียบกับเขตเศรษฐกิ จสมาชิกเอเปคอื่นๆ หรือในด้านการเติบโตของมูลค่าการส่งออกสินค้าสิ่งทอไปยังตลาดในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค ส่วนประเทศไทยนั้นมูลค่าการส่งออกสินค้าหมวดดังกล่าวมีอัตราการเติบโตและส่วนแบ่งตลาดการส่งออกท่ีน้อย

แผนภาพที่ 2-22 สัดส่วนมูลค่าส่งออกสินค้าผลิตภัณฑ์สิ่งทอ และอัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกสินค้าผลิตภัณฑ์สิ่งทอของประเทศต่างๆเทียบกับมูลค่าการน าเข้าสินค้าผลิตภัณฑ์สิ่งทอรวมของ APEC

ที่มา: รวบรวมจาก Trade Map

Page 24: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-24

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

กลุ่มสินค้าเคร่ืองจักรกล

ในด้านอุปสงค์ จากการวิเคราะห์ประเทศท่ีเป็นตลาดน าเข้าสินค้าเครื่องจักรกลในภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิคตามสัดส่วนมูลค่าการน าเข้าสิ่งทอของประเทศนั้นเทียบกับสัดส่วนมูลค่าการน าเข้าเครื่องจักรกลรวมของกลุ่มเอเปคเปรียบเทียบระหว่างปี 2001 และ 2009 จะเห็นได้ชัดเจนจาก แผนภาพท่ี 2-23 ว่า ตลาดสินค้าเครื่องจักรกลมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประเทศผู้ซื้อค่อนข้างน้อยโดยตลาดที่มีการขยายตัวของสัดส่วนการน าเข้าสินค้าเครื่องจักรกลคือตลาดจีน และตลาดมีสัดส่วนดังกล่าวลดลงคือตลาดสหรัฐอเมริกา

แผนภาพที่ 2-23 สัดส่วนมูลค่าน าเข้าสินค้ากลุ่มเคร่ืองจักรกลของประเทศต่างๆเทียบกับมูลค่าการน าเข้าสินค้ากลุ่มเคร่ืองจักรกลของ APEC

ที่มา: รวบรวมจาก Trade Map

ในด้านอุปทานและการแข่งขัน เมื่อพิจารณาถึงมูลค่าการส่งออกสินค้าเครื่องจักรกล สัดส่วนการส่งออกสินค้าเครื่องจักรกลเมื่อเทียบกับการส่งออกสินค้าเครื่องจักรกลทั้งหมด ของเอเปค และอัตราการเติบโตของการส่งออกสินค้าเครื่องจักรกลของเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค ระหว่างปี 2001 – 2009 ดังแผนภาพท่ี 2-24 จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าจีนเป็นประเทศท่ีมีขีดความสามารถในการส่งออกผลิตภัณฑ์ดังกล่าวสูงมากทั้งในด้านส่วนแบ่งตลาดการส่งออกเมื่อเทียบกับเขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปคอื่นๆ หรือในด้านการเติบโตของมูลค่าการส่งออกสินค้าสิ่งทอไปยังตลาดในภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิค ส่วนสหรัฐอเมริ กาและญี่ปุ่นยังคงเป็นประเทศผู้ส่งออกหลักในภูมิภาคนี้ถึงแม้ว่าจะมีการอัตราการเติบโตค่อนข้างต่ าก็ตามนั้น ส่วนประเทศไทยนั้นมีขีดความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมดังกล่าวค่อนข้างสูงในเชิงของการเติบโตของมูลค่าการส่งออกสินค้าดังกล่าว

Page 25: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-25

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

แผนภาพที่ 2-24 สัดส่วนมูลค่าส่งออกสินค้ากลุ่มเคร่ืองจักรกลและอัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกสินค้ากลุ่มเคร่ืองจักรกลของประเทศต่างๆเทียบกับมูลค่าการน าเข้าสินค้ากลุ่มเคร่ืองจักรกลรวมของ APEC

ที่มา: รวบรวมจาก Trade Map

กลุ่มสินค้าชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้า

ในด้านอุปสงค์ จากการวิเคราะห์ประเทศท่ีเป็นตลาดน าเข้าสินค้าชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคตามสัดส่วนมูลค่าการน าเข้าสินค้าช้ินส่วนและผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าของประเทศนั้นเทียบกับสัดส่วนมูลค่าการน าเข้าสินค้าช้ินส่วนและผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ ไฟฟ้ารวมของกลุ่มเอเปคเปรียบเทียบระหว่างปี 2001 และ 2009 จะเห็นได้ชัดเจนจากแผนภาพท่ี 2-25 ว่า ตลาดสินค้าช้ินส่วนและผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้ามีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประเทศผู้ซื้อโดยตลาดที่มีการขยายตัวของสัดส่วนการน าเข้าสินค้าเครื่องจักรกลคือตลาดจีน และตล าดมีสัดส่วนดังกล่าวลดลงคือตลาดสหรัฐอเมริกา

แผนภาพที่ 2-25 สัดส่วนมูลค่าน าเข้าสินค้ากลุ่มชื้นส่วนและผลิตภัณฑ์คร่ืองใช้ไฟฟ้าของประเทศต่างๆเทียบกับมูลค่าการน าเข้าสินค้ากลุ่มชื้นส่วนและผลิตภัณฑ์คร่ืองใช้ไฟฟ้าของ APEC

ที่มา: รวบรวมจาก Trade Map

Page 26: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-26

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

ในด้านอุปทานและการแข่งขัน เมื่อพิจารณาถึงมูลค่าการส่งออกสินค้าชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า สัดส่วนการส่งออกสินค้าสินค้าช้ินส่วนและผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าเมื่อเทียบกับการส่งออกสินค้าชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหมดของเอเปค และอัตราการเติบโ ตของการส่งออกสินค้าชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าของเขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค ระหว่างปี 2001 – 2009 ดังแผนภาพท่ี 2-26 จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าจีนเป็นประเทศท่ีมีขีดความสามารถในการส่งออกผลิตภัณฑ์ดังกล่าวสูงมากทั้งในด้านส่วนแบ่งตลาดการส่งออกเมื่อเทียบกับเขต เศรษฐกิจสมาชิกเอเปคอื่นๆ หรือในด้านการเติบโตของมูลค่าการส่งออกสินค้าสิ่งทอไปยังตลาดในภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิค ส่วนสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นยังคงเป็นประเทศผู้ส่งออกหลักในภูมิภาคนี้ถึงแม้ว่าจะมีการอัตราการเติบโตค่อนข้างต่ าก็ตามนั้น นอกจากนี้จะเห็นได้ว่าไทยมีขี ดความสามารถในการแข่งขันทั้งสองด้านไม่สูงมากนักเมื่อเทียบกับประเทศอ่ืนๆ

แผนภาพที่ 2-26 สัดส่วนมูลค่าส่งออกสินค้ากลุ่มชื้นส่วนและผลิตภัณฑ์คร่ืองใช้ไฟฟ้าและอัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกสินค้ากลุ่มชื้นส่วนและผลิตภัณฑ์คร่ืองใช้ไฟฟ้าของประเทศต่างๆเทียบกับมูลคา่การน าเข้าสินค้ากลุ่มชื้นส่วนและผลิตภัณฑ์คร่ืองใช้ไฟฟ้ารวมของ APEC

ที่มา : รวบรวมจาก Trade Map

Page 27: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-27

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

กลุ่มสินค้ายานยนต์และพาหนะอื่นๆ

ในด้านอุปสงค์ จากการวิเคราะห์ประเทศท่ีเป็นตลาดน าเข้าสินค้ายานยนต์และพาหนะอื่นๆในภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิค ตามสัดส่วนมูลค่าการน าเข้าสินค้ายานยนต์และพาหนะอื่นๆของประเทศนั้นเทียบกับสัดส่วนมูลค่าการน าเข้าสินค้ายานยนต์และพาหนะอื่นๆรวมของกลุ่มเอเปคเปรียบเทียบระหว่างปี 2001 และ 2009 จะเห็นได้ชัดเจนจาก แผนภาพท่ี 2-27 ว่า ตลาดสินค้ายานยนต์และพาหนะอื่นๆมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประเทศผู้ซื้อโดยตลาดที่มีการขยายตัวของสัดส่วนการน าเข้าสินค้ายานยนต์และพาหนะอื่นๆ คือตลาดจีน และตลาดมีสัดส่วนดังกล่าวลดลงคือตลาดสหรัฐอเมริกา

แผนภาพที่ 2-27 สัดส่วนมูลค่าน าเข้าสินค้ายานยนต์และพาหนะอื่นๆของประเทศต่างๆเทียบกับมูลค่าการน าเข้าสินค้ายานยนต์และพาหนะอื่นๆของ APEC

ที่มา: รวบรวมจาก Trade Map

ในด้านอุปทานและการแข่งขัน เมื่อพิจารณาถึงมูลค่าการส่งออกสินค้ายานยนต์และพาหนะอื่นๆ สัดส่วนการส่งออกสินค้าสินค้ายานยนต์และพาหนะอื่นๆเมื่อเทียบกับการส่งออกสินค้ายานยนต์และพาหนะอื่นๆทั้งหมดของเอเปค และอัตราการเติบโตของการส่งออกสินค้ายานยนต์และพาหนะอื่นๆของเขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค ระหว่างปี 2001 – 2009 ดังแผนภาพท่ี 2-28 จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นเป็นประเทศท่ีมีขีดความสามารถในการส่งออกผลิตภัณฑ์ดังกล่าวสูงมากในด้านส่วนแบ่งตลาดการส่งออกเมื่อเทียบกับเขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปคอื่นๆ ส่วนในด้านการเติบโตของมูลค่าการส่งออกสินค้าสิ่งทอไปยังตลาดในภูมิภาคเอเชีย- แปซิฟิคนั้น ไทยเป็นประเทศท่ีมีอัตราการเติบโตดังกล่าวสูงมากเมื่อเทียบกับเขตเศรษฐกิจอ่ืนๆ โดยมีเวียดนาม จีน อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และมาเลเซีย เป็นประเทศท่ีมีอตัราการเติบโตดังกล่าวใกล้เคียงกับไทย

Page 28: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-28

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

แผนภาพที่ 2-28 สัดส่วนมูลค่าส่งออกสินค้ายานยนต์และพาหนะอื่นๆและอัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกสินค้าสินค้ายานยนต์และพาหนะอื่นๆของประเทศต่างๆเทียบกับมูลค่าการน าเข้าสินค้ายานยนต์และพาหนะอื่นๆของ APEC

ที่มา : รวบรวมจาก Trade Map

2.4 สรุปสภาพแวดล้อมการค้าและการแข่งขันในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

เอเปค

เอเปคเป็นกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศท่ีใหญ่ที่สุดในโลกท้ังในมิติของจ านวนประชากร รายได้ และมูลค่าการค้า สมาชิกยังมีความแตกต่างของระดับการพัฒนาและรายได้ระหว่างเขตเศรษฐกิจท่ีพัฒนาแล้วเศรษฐกิจท่ีก าลังพัฒนาอยู่ ถึงแม้ว่าเขตเศรษฐกิจก าลังพัฒนาจะมีอัตร าการเติบโตทางเศรษฐกิจท่ีสูงกว่าในระยะหลังก็ตาม โดยในบรรดาเขตเศรษฐกิจสมาชิกท้ังหมด ประเทศสหรัฐอเมริกายังคงเป็นสมาชิกที่มีอิทธิพลสูงมาก แม้ว่าประเทศจีนจะเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วก็ตาม ตลาดส่งออกของเศรษฐกิจสมาชิกส่วนใหญ่ (โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออก) กระจุกตัวอยู่ในตลาดหลัก 3 ประเทศคือ สหรัฐอเมริกา จีน และญี่ปุ่น ส่งผลให้ประเทศท้ังสามมีอิทธิพลต่อแนวทาง และความก้าวหน้าในการเปิดเสรีการค้าและการลงทุนสูงในภูมิภาคมาก

เขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปคมีรายการสินค้าส่งออกหลักที่ใกล้เคียงกัน ในบางรายการ โดยเฉพาะรายการชิ้นส่วนและเครื่องใช้ไฟฟ้า กับรายการชิ้นส่วนเครื่องจักร สะท้อนให้เห็นถึงการเป็นท้ังคู่แข่ง (การค้าสินค้ากลุ่ม Final Products) และเป็นเครือข่ายการผลิตที่ส าคัญร่วมกัน (การค้าในสินค้ากลุ่ม Intermediate Products) เขตเศรษฐกิจสมาชิกมีความก้าวหน้าในการเปิดเสรีการค้า ค่อนข้างสูง สะท้อนจากจ านวน FTAs ของภูมิภาคที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม กรอบความตกลง FTAs ที่ได้มีการจัดท าขึ้นน้ันยังมีความครอบคลุมไม่มากนัก เนื่องจากจัดท าขึ้นเพื่อส่งเสริมการค้าสินค้าและการเป็นโซ่อุ ปทานการผลิตระดับภูมิภาคเป็นประเด็นหลัก และมีการจ ากัดระดับการเปิดเสรีการค้าในกลุ่มสินค้าท่ีสมาชิกยังมีความอ่อนไหวสูง

Page 29: บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่าง ...thaifta.com/trade/study/ftaap2554_chap2.pdf · 2014-08-29 · บทที่ 2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าเขตการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิคและผลกระทบต่อไทย หน้า | 2-29

สถาบนับณัฑติบรหิารธุรกจิศศนิทรแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

ซึ่งมีการเปิดเสรีในลักษณะดังกล่าวในอดีตเป็นปัจจัยสนับสนุนต่อความก้าวหน้าในการเปิดเสรีการค้าและการลงทุนในอนาคต เนื่องจากเขตเศรษฐกิจต่างๆ เริ่มมีความพร้อมในเชิงระบบและสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการเปิดเสรีฯเพิ่มมากข้ัน แต่ก็อาจเป็นปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการเปิดเสรีการค้าในอนาคตเนื่องจากประเด็นการเปิดเสรีที่เหลืออยู่ ล้วนมีความซับซ้อน มีความอ่อนไหว หรือมีความขัดแย้งในเชิงผลประโยชน์ระหว่างคู่เจรจาสูงกว่ากรอบความตกลงท่ีได้มีการจัดท าในอดีต

ประเทศไทย

เอเปคมีความส าคัญกับการค้าระหว่างประเทศของไทยสูงมาก การส่งออกและน าเข้าสินค้าของไทยประมาณ 2 ใน 3 เป็นการส่งออกไปยังเอเปคหรือน าเข้าจากเอเปค นอกจากน้ีอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออกของประเทศไทยหลายอุต สาหกรรมก็มีการเชื่อมโยงเป็นโซ่อุปทานในระดับภูมิภาคร่วมกับเขตเศรษฐกิจสมาชิกอ่ืนๆของเอเปค โดยโครงสร้างการส่งออกของไทย ได้มีการปรับตัวจากการที่ตลาดส่งออกในอาเซียน จีน และญี่ปุ่น มีการขยายตัวสูงกว่าสหรัฐอเมริกา

เมื่อพิจารณาถึงขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ความได้เปรียบด้านฐานทรัพยากรและราคาทรัพยากรยังคงเป็นความได้เปรียบหลักของ ประเทศไทย จึงท าให้ประเทศไทยมีต าแหน่งการแข่งขันอยู่ตรงกลาง (Struggling in the Middle) คือต้องเผชิญกับการแข่งขันของคู่แข่งที่มีราคาของทรัพยากรต่ ากว่า (เช่น จีนและเวียดนาม ) และการแข่งขั นจากคู่แข่งที่มีทรัพยากรคุณภาพสูงกว่าหรือมีประสิทธิภาพการผลิตสูงกว่า (เช่น มาเลเซียและสิงคโปร์)

นอกจากน้ีประเทศไทยยังมีขีดความสามารถในการแข่งขันไม่สูงนักในกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าเพิ่มสูง มีแนวโน้มเติบโตในอนาคตสูง และมีแนวโน้มถูกผลักดันให้เกิดการเปิดเสรีสูง โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทรัพย์สินทางปัญญาเทคโนโลยี และการบริการ ดังจะเห็นได้จากอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศไทยซึ่งอยู่ในอันดับ 7 จากสุดท้ายเมื่อเทียบกับเขตเศรษฐกิจสมาชิกอ่ืนๆ ของเอเปค

ประเทศไทยมีความก้าวหน้าในการเปิดเสรีการค้าในเชิงจ านวน FTAs เป็นล าดับต้นของภูมิภาค แ ม้ว่าจากผลการส ารวจยังพบว่ามีการใช้ประโยชน์จากกรอบความตกลงดังกล่าวไม่มากนักก็ตาม โดยประเทศไทยได้มีการลงนาม FTAs กับ 11 เขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค (จากจ านวน 20 เขตเศรษฐกิจท่ีไทยท า การค้าด้วย ) ซึ่งล้วนเป็นตลาดส่งออกสินค้าหลักของประเทศไทย ยกเว้นเพียงประเทศสหรัฐอเมริกาเพียงประเทศเดียวท่ีเป็นตลาดส่งออกอันดับหนึ่งที่ประเทศไทยยังไม่สามารถจัดท า FTAs ด้วยได้