บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต...

32
บทที10 การโตเถียงกันในเรื่องของนโยบายการเงิน สารบัญ ประเด็น : เราควรละทิ้งนโยบายการรักษาเสถียรภาพหรือไม ความเร็วและทฤษฎีปริมาณเงิน (the Quantity Theory of Money) ปจจัยที่กําหนดความเร็วของการหมุนเวียน MONETARISM: ทฤษฎีปริมาณเงินสมัยใหม นโยบายการคลัง อัตราแลกเปลี่ยน และความเร็วของการหมุนเวียน การประยุกต : การพิจารณาสูตรตัวคูณใหมอีกครั้ง การประยุกต : การลดการขาดดุล และการลงทุน การโตเถียง : นโยบายการรักษาเสถียรภาพนั้น ควรใชนโยบายการคลัง หรือนโยบายการเงิน การโตเถียง : ธนาคารกลางควรควบคุมปริมาณเงิน หรือ ควบคุมอัตราดอกเบี้ย ทางเลือกที่ไมสมบูรณสองทาง จริงๆ แลวธนาคารกลางทําอะไร การโตเถียง : รูปรางของเสนอุปทานรวม การโตเถียง : รัฐบาลควรแทรกแซงหรือไม ความลาชาและการโตเถียงในเรื่องการปฏิบัติตามกฎหรือการใชนโยบายแทรกแซง การโตเถียงในแงมุมตางๆ เกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎที่กําหนดไวแนนอนและการใชมาตรการตางๆ ในเชิงรุก (ใช เมื่อพิจารณาเห็นวาควรจะตองใช) กลไกการปรับตัวดวยตัวเองของเศรษฐกิจนั้นทํางานเร็วเพียงใด ความลาชาของนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพนั้นยาวนานเทาไร การพยากรณสถานการณทางเศรษฐกิจนั้นมีถูกตองแคไหน รัฐบาลควรมีขนาดใหญ หรือเล็ก อยางไร ความไมแนนอนที่เกิดจากนโยบายของรัฐบาล วัฏจักรธุรกิจทางการเมือง ตอบประเด็น : ควรจะทําอะไร มาจนถึงกระทั่งในขณะนีการอธิบายของเราในเรื่อง นโยบายการรักษาเสถียรภาพ เปนเรื่องทางทฤษฎี และทางเทคนิคทั้งหมด ในความพยายามที่จะเขาใจวา เศรษฐกิจของประเทศทํางานอยางไร และนโยบายของ รัฐบาลมีผลกระทบตออะไรบางนั้น เรายังไมมีการนํา การโตเถียงไมวาจะเปนทางดานเศรษฐศาสตร หรือ การเมืองในเรื่องผลที่เกิดขึ้นจริงๆ ของการใชนโยบายการรักษาเสถียรภาพมากลาวถึงเลย ดังนั้นในบทนีและ ตอไปอีก 2 บท เราจะนําเอาประเด็นความเห็นตางๆ นีมาอธิบาย

Transcript of บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต...

Page 1: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

บทท่ี 10 การโตเถียงกันในเรื่องของนโยบายการเงิน

สารบัญ ประเด็น : เราควรละท้ิงนโยบายการรักษาเสถียรภาพหรือไม

ความเร็วและทฤษฎีปริมาณเงิน (the Quantity Theory of Money)

ปจจัยที่กําหนดความเร็วของการหมุนเวียน

MONETARISM: ทฤษฎีปริมาณเงินสมัยใหม

นโยบายการคลัง อัตราแลกเปล่ียน และความเร็วของการหมุนเวียน

การประยุกต : การพิจารณาสูตรตัวคูณใหมอีกคร้ัง

การประยุกต : การลดการขาดดุล และการลงทุน

การโตเถียง : นโยบายการรักษาเสถียรภาพน้ัน ควรใชนโยบายการคลัง หรือนโยบายการเงิน

การโตเถียง : ธนาคารกลางควรควบคุมปริมาณเงิน หรือ ควบคุมอัตราดอกเบี้ย

ทางเลือกที่ไมสมบูรณสองทาง

จริงๆ แลวธนาคารกลางทําอะไร

การโตเถียง : รูปรางของเสนอุปทานรวม

การโตเถียง : รัฐบาลควรแทรกแซงหรือไม

ความลาชาและการโตเถียงในเร่ืองการปฏิบัติตามกฎหรือการใชนโยบายแทรกแซง

การโตเถียงในแงมุมตางๆ เก่ียวกับการปฏิบัติตามกฎท่ีกําหนดไวแนนอนและการใชมาตรการตางๆ ในเชิงรุก (ใช

เม่ือพิจารณาเห็นวาควรจะตองใช)

กลไกการปรับตัวดวยตัวเองของเศรษฐกิจนั้นทํางานเร็วเพียงใด

ความลาชาของนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพนั้นยาวนานเทาไร

การพยากรณสถานการณทางเศรษฐกิจนั้นมีถูกตองแคไหน

รัฐบาลควรมีขนาดใหญ หรือเล็ก อยางไร

ความไมแนนอนที่เกิดจากนโยบายของรัฐบาล

วัฏจักรธุรกิจทางการเมือง

ตอบประเด็น : ควรจะทําอะไร

มาจนถึงกระทั่งในขณะน้ี การอธิบายของเราในเร่ือง นโยบายการรักษาเสถียรภาพ เปนเร่ืองทางทฤษฎี

และทางเทคนิคทั้งหมด ในความพยายามที่จะเขาใจวา เศรษฐกิจของประเทศทํางานอยางไร และนโยบายของ

รัฐบาลมีผลกระทบตออะไรบางนั้น เรายังไมมีการนํา การโตเถียงไมวาจะเปนทางดานเศรษฐศาสตร หรือ

การเมืองในเรื่องผลท่ีเกิดขึ้นจริงๆ ของการใชนโยบายการรักษาเสถียรภาพมากลาวถึงเลย ดังนั้นในบทนี้ และ

ตอไปอีก 2 บท เราจะนําเอาประเด็นความเห็นตางๆ นี้ มาอธิบาย

Page 2: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 240

ในบทนี้เราจะเร่ิมจาก การอธิบายถึงทฤษฎีอีกทฤษฎีหนึ่งที่บอกวาเงินจะมีผลตอเศรษฐกิจอยางไร และ

ในเร่ืองของแนวคิดของนักการเงินและเคนส ซึ่งดูเหมือนวาเปนแนวคิดที่ตรงกันขามกันนั้น ดูจะเปนความรูสึก

มากกวาเปนส่ิงที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งความไมเห็นพองกันนั้น เปนเหมือนกับ การที่ไดยินคนอังกฤษบอกวา “Yes” แต

คนฝรั่งเศสบอกวา “Oui” ซึ่งคนที่ไดยินแลวก็จะบอกวาแตกตางกัน แตผูฟงที่รูเร่ืองภาษาดีก็จะเขาใจวา คําทั้ง

สองนั้นมีความหมายเหมือนกัน

อยางไรก็ตาม ถึงแมวาทฤษฎีของกลุมนักการเงิน (monetarist) และทฤษฎีของกลุมเคนส (Keynesian)

จะไมแตกตางกันมาก แตความแตกตางที่สําคัญนั้นเกิดขึ้นระหวางนักเศรษฐศาสตร ในเร่ืองเก่ียวกับ รูปแบบที่

เหมาะสม และการดําเนินการของนโยบายการเงิน ความแตกตางในเร่ืองทั้งสองนี้ คือประเด็นหลักของเนื้อหาใน

บทนี้ เราจะเรียนรูเก่ียวกับการโตเถียงที่ยังคงดําเนินอยูในเร่ืองของลักษณะของอุปทานรวม ในเร่ืองขอดีของ

นโยบายการเงินเม่ือเปรียบเทียบกับนโยบายการคลัง และในเร่ืองที่วาธนาคารกลาง ควรพยายามควบคุม

ปริมาณเงินหรืออัตราดอกเบี้ย และเราจะไดเห็นวาคําตอบของประเด็นตางๆ เหลานี้เปนส่ิงที่สําคัญมาก ในการท่ี

จะใชนโยบายการเงินไดเหมาะสม และนอกจากนั้น อาจเปนเร่ืองที่ใชพิจารณา หรือตัดสินใจวา รัฐบาลควร

พยายามใชนโยบายการรักษาเสถียรภาพหรือไม

ประเด็น : เราควรละทิ้งนโยบายการรักษาเสถียรภาพหรือไม

เราไดแนะนําหลายคร้ังในหนังสือเลมนี้แลววา การใชนโยบายการคลังและนโยบายการเงินในเวลาที่

ถูกตอง จะสามารถชวยลดขนาดการเคล่ือนไหวขึ้นลงของเงินเฟอและการวางงานได และเราไดอธิบายเปน

จํานวนหลายหนากระดาษ และเน้ือหาสวนใหญของบทที่ 7 และ 9 เพื่อบอกวาการใชนโยบายการเงินและ

นโยบายการคลังนั้นควรทําอยางไร อยางไรก็ตามถึงแมวา การตรวจสอบความซับซอนของนโยบายการรักษา

เสถียรภาพในรายละเอียดนั้น จําเปนตองมีความรูทางวิชาการท่ีสูงกวานี้ แตหลักการพื้นฐานนั้นงายพอที่จะ

เรียนรูได ซึ่งก็หวังวาทานยังคงจดจําส่ิงที่ไดเรียนรูมาแลวนั้นได

แตนักเศรษฐศาสตรบางคนโตเถียงวา บทเรียนตางๆท่ีเรียนมานั้น สามารถลืมไดเลย พวกเขากลาววา

ในทางปฏิบัติแลว ความพยายามในการรักษาเสถียรภาพนั้น ทําใหเกิดผลเสียมากกวาผลดี เพราะฉะน้ันทางที่ดี

ที่สุดนั้นควรแนะนําใหผูกําหนดนโยบาย ทําตามกฎท่ีกําหนดไวแนนอน/ตายตัว มากกวาที่จะใชวิจารณญาณท่ีดี

ที่สุด ในการตัดสินใจในนโยบายแตละกรณีไป

ส่ิงที่เราไดกลาว/อธิบายมาต้ังแตตนนั้น ไมมีส่ิงใดเลยที่บอกวาควรจะไดขอสรุปดังขางตน แตเราก็ยัง

ไมไดกลาวถึงเร่ืองตางๆ ทั้งหมด ดังนั้นเม่ือถึงตอนทายๆ ของบทนี้เราจะไดพบกับเหตุผล/ขอโตแยง หลายๆอยาง

ที่บงวาเราควรจะทําตามกฎที่กําหนดไวแลว และ ณ จุดนั้นทานจะอยูในสถานะท่ีจะพิจารณาตัดสินโดยตัวของ

ทานเองวา ทานจะคิดอยางไรกับการอภิปรายโตเถียงในประเด็นที่สําคัญนี้

ความเร็วและทฤษฎีปริมาณเงิน (Velocity and the Quantity Theory of Money)

ในบทที่ผานมา เราไดศึกษาทัศนะของเคนสแลววา เงินมีผลตอผลผลิตที่แทจริง และระดับราคาอยางไร

แตมีทฤษฎีหรือแบบจําลองอื่นที่เกากวาที่ไดใหวิธีการมองถึงอิทธิพลของเงินในทางที่แตกตางกันออกไป

Page 3: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

บทที่ 10

การโตเถียงกันในเร่ืองของนโยบายการเงิน

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 241

แบบจําลองนี้รูกันโดยทั่วๆ ไปวา คือ ทฤษฎีปริมาณเงินหรือ The Quantity Theory of Money เปนทฤษฎีที่

งายที่จะเขาใจ หลังจากที่เราทราบถึงแนวคิดใหมอีกประการหนึ่ง คือ แนวคิดเก่ียวกับความเร็ว (Velocity)

เราไดเรียนในบทที่ 8 แลววา การแลกเปล่ียนสินคากันโดยตรงเปนเร่ืองที่ยุงยาก ธุรกรรมทางเศรษฐกิจ

เกือบทั้งหมดที่เกิดในประเทศพัฒนาแลว ในปจจุบันนั้น ใชเงินเปนส่ือกลางการแลกเปล่ียน ซื้อ/ขาย ซึ่ง

หมายความวา สมมติวาถามีปริมาณธุรกรรมทางเศรษฐกิจเกิดขึ้นในประเทศหนึ่ง ในชวงเวลาหนึ่งปมีมูลคา

5,000 พันลานบาท แตมีปริมาณ/จํานวนเงินที่ใชหมุนเวียนโดยเฉล่ีย (average money stock) ในชวงเวลา

เดียวกันเพียง 1,000 พันลานบาท ดังนั้นเงินแตละบาทจะถูกนํามาใชโดยเฉล่ียแลว 5 คร้ังในรอบปนั้น

จํานวนการถูกนํามาใช 5 คร้ังตามตัวอยางนี้ เราเรียกวา “ความเร็วของการหมุนเวียน(the velocity of

circulation)” หรือเรียกส้ันๆ วา “ความเร็ว (velocity)” ทั้งนี้เนื่องจากตัวเลขดังกลาว เปนตัวช้ีถึง ความเร็วของ

การหมุนของเงิน ตัวอยางเชน เงินหนึ่งบาทของเรา ถูกใช/นําไปซื้อกวยเต๋ียวในเดือนมกราคม เงินบาทเดียวกันนี้

พอคากวยเต๋ียว นําไปซื้อเส้ือผาในเดือนมีนาคม พอคาขายเส้ือผานําเงินที่ไดมาไปซ้ือวิทยุในเดือนพฤษภาคม

พอคาวิทยุนําเงินไปซื้อของถวายพระในเดือนตุลาคม และพอคาที่ขายสังฆทานนําเงินไปเล้ียงฉลองกับครอบครัว

ในเดือนธันวาคมตอนปใหม จะเห็นไดวาเงินบาทน้ันถูกนํามาใช 5 คร้ังในระหวางรอบป ถาถูกนํามาใชเพียง 4

คร้ัง ในรอบ 1 ป ความเร็วก็จะเทากับ 4 ในทํานองเดียวกัน เงิน 100 บาท ถาถูกนํามาใชโดยมีความเร็วเทากับ 8

เงิน 100 บาท จํานวนน้ันจะถูกนํามาใชในธุรกรรมตางๆ คิดเปนมูลคาไดทั้งส้ิน 800 บาทในระหวางปนั้น

ไมมีผูใดมีขอมูลหรือทราบแนนอนวา จํานวนธุรกรรมทั้งหมดที่เกิดขึ้นในชวงเวลาหนึ่งๆ ของประเทศใด

ประเทศหนึ่งเปนเทาไร เพื่อจะใหแนวคิดเก่ียวกับความเร็วของการหมุนเวียน เปนไปไดในทางปฏิบัติ นัก

เศรษฐศาสตรจําเปนตองกําหนดคํานิยามของการทําธุรกรรมในทางปฏิบัติที่สามารถจะวัดไดจริง ซึ่งแนวทางท่ี

นิยมกันมากท่ีสุดคือ การกําหนดวา ปริมาณหรือมูลคาธุรกรรม คือ มูลคาที่เปนตัวเงิน ณ ราคาประจําป ของ

ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (nominal gross domestic product) ทั้งนี้ถึงแมวา คาดังกลาวไมไดนับรวมถึง

การทําธุรกรรมอีกเปนจํานวนมากที่มีการใชเงินเปนส่ือ เชน การขายสินทรัพยที่มีอยูแลวในขณะปจจุบัน ถาเรา

ยอมรับกันวา จะให nominal GDP เปนเคร่ืองวัดมูลคาที่เปนตัวเงินของการทําธุรกรรม ก็จะทําใหเราสามารถ

กําหนดคํานิยามของความเร็วของการหมุนเวียนไดชัดเจนขึ้น ซึ่งความเร็วของการหมุนเวียน ก็คือ อัตราสวน

ระหวาง nominal GDP กับ ปริมาณเงิน (บาท ดอลลาร ยูโร ฯลฯ) ที่เปน money stock อยางไรก็ตามเนื่องจาก

nominal GDP คือผลคูณของ ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศที่แทจริง (real GDP) กับ ระดับราคา เราจึงสามารถ

เขียนคํานิยามในรูปสัญลักษณตางๆ ไดดังตอไปนี้

ความเร็วของการหมุนเวียน = มูลคาของธุรกรรม / ปริมาณเงิน

= ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ตามราคาประจําป

ปริมาณเงิน

= nominal GDP / M

= P × Y / M

เม่ือคูณทั้งสองดานของสมการดวย M เราจะไดส่ิงที่เรียกวา “สมการของการแลกเปล่ียน” (equation of

exchange) ซึ่งเช่ือมโยงปริมาณเงินและ nominal GDP เขาดวยกันดังนี้

Page 4: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 242

ปริมาณเงิน × ความเร็วของการหมุนเวียน = nominal GDP

เม่ือเขียนโดยใชสัญลักษณแทนจะได

M × V = P × Y

จากสมการนี้ เราจะไดการเช่ือมโยงที่เห็นไดชัดระหวาง ปริมาณเงิน M กับ มูลคาของผลผลิตของ

ประเทศตามราคาประจําป แตการเช่ือมโยงดังกลาวนี้เปน การเช่ือมโยงทางคณิตศาสตร ไมใชทางเศรษฐศาสตร

ตัวอยางเชน ไมไดหมายความวา ธนาคารกลางสามารถจะเพิ่ม GDP ตามราคาประจําปได โดยการเพิ่ม M ซึ่ง

เหตุผลก็คือ ในขณะเดียวกันกับที่ธนาคารกลางเพ่ิมปริมาณเงิน ความเร็วของการหมุนเวียนอาจลดลงมากจนทํา

ใหคาของ M × V ไมสูงขึ้น หรืออีกนัยหนึ่ง ถามีจํานวนธนบัตรหมุนเวียนในตลาดมากขึ้นกวาแตกอน แตธนบัตร

แตละใบเปล่ียนมือชาลง การใชจายทั้งหมดอาจไมเพิ่มขึ้น ดังนั้นเราจึงจําเปนตองมีขอสมมติเพิ่มเติม เพื่อจะทํา

ใหการเปล่ียนแปลงตามสมการคณิตศาสตร เปนจริงตามทฤษฎีเศรษฐศาสตร ดังนี้

ทฤษฎีปริมาณเงิน (The quantity theory of money) เปล่ียนรูปสมการของการแลกเปล่ียน จากการ

แสดงความสัมพันธทางคณิตศาสตร ใหเปนแบบจําลองทางเศรษฐศาสตร โดยการกําหนดขอสมมติให

การเปล่ียนแปลงความเร็วนั้นมีคานอยมาก จนสามารถระบุไดวา ความเร็วของการหมุนเวียนนั้นมี

คาคงท่ี

เราสามารถจะเห็นไดวา ถาหาก V ไมมีการเปล่ียนแปลง สมการของการเปล่ียนแปลงจะเปน

แบบจําลองของการกําหนดคาหรือระดับของ GDP ณ ราคาประจําป (nominal GDP) ที่งายมากๆ งายกวา

แบบจําลองของเคนสมาก เพื่อจะใหเห็นไดชัดขึ้น เราจะแปลงและเขียนสมการของการแลกเปล่ียนใหม ใหอยูใน

รูปของอัตราการเติบโต

%ΔM + %Δ V = %Δ P + %Δ Y

ถา V มีคาคงท่ี (ซึ่งหมายความวา รอยละของการเปล่ียนแปลง %Δ V จะมีคาเปนศูนย) สมการขางตน

อาจกลาวไดวา ถาหากธนาคารกลาง (ธนาคารแหงประเทศไทย) ตองการให nominal GDP หรือ GDP ตาม

ราคาประจําป เพิ่มขึ้นรอยละ 8.0 ตอป ธนาคารกลางก็เพียงแตเพิ่มอุปทานของเงิน (money supply) ขึ้นรอยละ

8.0 ตอปเทานั้นเอง ในแบบจําลองแบบงายๆ นี้ นักเศรษฐศาสตรสามารถใชสมการการแลกเปล่ียน เพื่อจะ

พยากรณอัตราการเติบโตของ GDP ตามราคาประจําปไดงายๆ โดยการพยากรณอัตราการเพิ่มขึ้น/ขยายตัวของ

อุปทานของเงิน และผูกําหนดนโยบายสามารถจะ “ควบคุม” อัตราการเติบโตของ GDP ตามราคาประจําปได

อยางงายๆ โดยการควบคุมอัตราการขยายตัวของอุปทานของเงิน

Page 5: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

บทที่ 10

การโตเถียงกันในเร่ืองของนโยบายการเงิน

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 243

ในโลกของความเปนจริง ส่ิงตางๆ ไมงายเชนนั้น เพราะวา ความเร็วของการหมุนเวียนไมใชคาที่คงที่

แตความจริงนี้ก็ไมไดทําลายคุณคาหรือประโยชนของทฤษฎีปริมาณเงินอยางส้ินเชิง เราเคยอธิบายขางตนแลว

วา เหตุใดแบบจําลองทางเศรษฐศาสตรทั้งหมด จึงมีการกําหนดขอสมมติ ซึ่งไมคอยจะตรงกับความเปนจริง

เทาไร แตถาไมมีขอสมมติเหลานั้น เราก็จะไมสามารถสรางแบบจําลองไดเลย ส่ิงตางๆ ก็จะเปนเพียงการอธิบาย

ปรากฏการณจริงๆ ที่เกิดขึ้น ไมมีการอธิบายในลักษณะที่เปนเหตุเปนผลกัน ในกรณีนี้คําถามก็คือ ขอสมมติที่

กําหนดให ความเร็วของการหมุนเวียนมีคาคงที่นั้น เปนส่ิงที่จะทําใหเรามองภาพความสัมพันธไดดีขึ้นหรือไม

โดยละเวนไมมองรายละเอียดทั้งหมด หรือจะเปนส่ิงที่จะทําใหขอเท็จจริงถูกบิดเบือนไป

รูปที่ 10-1 จะชวยใหเราตอบคําถามนี้ไดดีขึ้น รูปนี้แสดงถึงขอมูลเก่ียวกับความเร็วของการหมุนเวียน

ต้ังแตป 2472 เราจะเห็นไดวา การวัดความเร็วของการหมุนเวียนนั้นทําได 2 วิธีซึ่งเขียนออกมาเปน V1 และ V2

เหตุผลก็คือ ถานึกยอนไปในบทที่ 8 ซึ่งอธิบายวา เราสามารถจะวัดเงินไดหลายทาง ซึ่งส่ิงที่ใชกันมากคือ M1 และ

M2 และเน่ืองจากความเร็วของการหมุนเวียน (V) คือ การหาร GDP ตามราคาประจําป ดวยปริมาณเงิน (M)

เพราะวาเราสามารถวัดปริมาณเงินไดทั้งในรูปของ M1 และ M2 ดังนั้นเราจึงสามารถวัด V ใหสอดคลองกันเปน V1

และ V2 ได รูปที่ 10-1 แสดงความเร็วของการหมุนเวียนของ M1 และ M2

เราจะสังเกตเห็นลักษณะเดนหลายๆ ประการ คือ ประการแรกจะเห็นพฤติกรรมที่แตกตางกันของ V1

และ V2 โดย V1 มีแนวโนมลดลง ต้ังแตป 2472 ถึงป 2489 และมีแนวโนมสูงขึ้น ไปจนกระท่ังป 2524 และไมมี

แนวโนมที่แนนอน หลังจากนั้นเปนตนมา ซึ่งจะเห็นไดชัดวา ความเร็วของการหมุนเวียนของ M1 นั้นในชวง

ระยะเวลายาวแลวมีคาไมคงที่ ในทางตรงกันขาม ความเร็วของการหมุนเวียนของ M2 มีคาคอนขางคงท่ีมากกวา

แตมีคาสูงขึ้นอยางเห็นไดชัด ต้ังแตทศวรรษที่ 2523 เปนตนมา นอกจากนั้นถาตรวจสอบใหมากข้ึน โดยพิจารณา

จากขอมูลรายเดือนหรือรายไตรมาสของทั้ง V1 และ V2 จะพบวา ความเร็วของการหมุนเวียน มีการเปล่ียนแปลง

เคล่ือนไหวขึ้นลงมาก การเคล่ือนไหวในลักษณะดังกลาวชักนําใหนักเศรษฐศาสตรเปนจํานวนมาก สรุปวา

ในชวงระยะเวลาส้ัน ความเร็วของการหมุนเวียนมีคาไมคงที่ ดังนั้น การพยากรณอัตราการเติบโตของ GDP ตาม

ราคาประจําป ซึ่งต้ังอยูบนขอสมมติที่วา ความเร็วของการหมุนเวียนมีคาคงท่ี จึงไดผลที่ไมดีนัก ไมวาจะวัด M

รูปที่ 10-1 ความเร็วของการหมุนเวียน 2472-2541

ที่มา: Baumol and Blinder. 2000

Page 6: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 244

ในรูปของ M1 หรือ M2 ก็ตาม ดังนั้น จึงดูเหมือนวา ทฤษฎีปริมาณเงิน (the quantity theory of money) ที่ยังไมมี

การปรับปรุงนั้น จะเปนแบบจําลองของอุปสงครวมที่ไมดีนัก

ปจจัยที่กําหนดความเร็วของการหมุนเวียน

เนื่องจากเปนส่ิงที่เห็นไดชัดเจนแลววา ความเร็วของการหมุนเวียนเปนคาที่เปล่ียนแปลงไมคงที่ ซึ่งทําใหการใช

สมการการแลกเปล่ียน เพื่อเปนแบบจําลองที่ใชกําหนดหรือหาคา GDP จะใชไดก็ตอเม่ือเราสามารถอธิบายการ

เปล่ียนแปลงความเร็วของการหมุนเวียนได เราตองอธิบายใหไดวา ปจจัยอะไรที่ทําให V1 หรือ V2 มีคาเปน 4 หรือ

5 หรือ 6 หรืออีกนัยหนึ่งคือ เงิน 1 บาท จะถูกนําไปใชซื้อสินคาและบริการ 4 หรือ 5 หรือ 6 คร้ังในรอบ 1 ป

ความถ่ีของการไดรับเงิน บางคร้ังปจจัยที่สําคัญคือ ความถ่ีที่คนจะไดรับเงินเดือน เราสามารถจะ

อธิบายแนวคิดนี้ไดดีที่สุด โดยการยกตัวอยางที่เปนตัวเลขใหพิจารณาตัวอยางที่วา คนคนหนึ่งไดรับเงินคาจาง

960,000 บาทตอป จายใหเปนเงินเดือน เดือนละ 80,000 บาท สมมติตอไปวา คนงานคนนั้นใชจายเงินเดือน

จํานวนดังกลาวออกไปหมดในชวงระยะเวลา 1 เดือน อยางไรก็ตามเขาจะเก็บเงินเอาไวที่ธนาคารในบัญชีเงิน

ฝาก เปนจํานวนอยางนอย 20,000 บาทเปนประจํา ดังนั้นในวันที่เงินเดือนออก ยอดเงินในบัญชีเงินฝากจะเพ่ิม

เปน 100,000 บาท และจะคอยๆ ลดลงเร่ือยๆ เม่ือคนงานคอยๆ ถอนเงินออกไปเพื่อซ้ือสินคาและบริการมา

บริโภค และในวันหลังสุดของเดือนกอนที่จะมีการโอนเงินเดือนเขามา ยอดเงินในบัญชีเงินฝากจะลดลงเหลือ

20,000 บาท ดังนั้นในชวงระยะเวลาที่เปนปกติ ดังกลาว เงินฝากเฉล่ียในธนาคารจะเทากับ 60,000 บาท

(จํานวนก่ึงกลางระหวาง 100,000 บาทกับ 20,000 บาท)

ตอไปสมมติวา นายจางตองการจะเปล่ียนระบบการจายเงินเดือนเปน 2 คร้ังตอเดือน แทนที่จะเปน

เดือนละครั้งเหมือนเดิม จํานวนครั้งที่ลูกจางไดรับเงินเดือนจะเพิ่มเปน 2 เทา แตจํานวนเงินจะลดลงเหลือคร้ังละ

40,000 บาท ถาไมมีสาเหตุอะไรที่ทําใหพฤติกรรมการใชเงินของลูกจางเปล่ียนไปจากเดิม จํานวนยอดเงินฝาก

เฉล่ียจะเปล่ียนไป ตามระบบใหมในวันที่เงินเดือนออก ยอดเงินฝากจะเปน 60,000 บาท (คือยอดเงิน 20,000

บาทที่ตองการใหมีประจํา เงินเดือนอีก 40,000 บาท) และเม่ือลูกจางใชเงินเพื่อบริโภคออกไปเร่ือยๆ ยอดเงิน

ฝากก็จะคอยๆ ลดลงจนเหลือ 20,000 บาท ดังนั้นยอดเงินฝากเฉล่ียก็จะลดลงเหลือ 40,000 บาท (จุดก่ึงกลาง

ระหวาง 60,000 บาทและ 20,000 บาท) เพราะวา เงินเดือนจะเขามาเร็วกวาเดิม จึงไมมีความจําเปนอะไรที่

จะตองถือเงินไวเพื่อทําธุรกรรมตางๆ ในจํานวนท่ีมากเทาเดิม

การเปล่ียนแปลงดังกลาวจะมีผลตอความเร็วของการหมุนเวียนอยางไร จะเห็นไดวา เม่ือมีการจาย

เงินเดือนเดือนละครั้ง ความเร็วของการหมุนเวียนเงินของลูกจางคนนี้ เทากับ

V = รายไดตอป = 960,000 = 16

จํานวนเงินฝากเฉล่ีย 60,000

และเม่ือไดรับเงินเดือน เดือนละสองคร้ัง ความเร็วของการหมุนเวียนจะเพิ่มขึ้นเปน

Page 7: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

บทที่ 10

การโตเถียงกันในเร่ืองของนโยบายการเงิน

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 245

V = รายไดตอป = 960,000 = 24

จํานวนเงินฝากเฉล่ีย 40,000

ดังนั้น ส่ิงที่เราเรียนรูจากตัวอยางนี้ คือ

เม่ือมีการจายคาจางมากขึ้น หมายความวา ประชาชนสามารถจะทําธุรกรรมตางๆ ของเขาไดดวย

จํานวนเงินที่ถือ(ฝาก)เฉล่ียลดลง ดังนั้นเม่ือเขาถือเงินนอยลง เงินจึงตองมีการหมุนเวียนเร็วขึ้น หรืออีก

นัยหนึ่งคือ ความเร็วของการหมุนเวียนจะสูงขึ้น

ประสิทธิภาพของระบบการจายเงิน(การชําระเงิน) ปจจัยประการสองที่มีอิทธิพลตอความเร็วของการ

หมุนเวียน คือ ลักษณะและประสิทธิภาพของกลไกการชําระเงิน ซึ่งรวมถึงความรวดเร็วของถอนเงินเม่ือนําฝาก

เช็ค การใชเครดิตการด และวิธีการอื่นของการโอนเงิน ซึ่งเปนเร่ืองที่งายมากที่จะรูวากลไกตางๆ ทํางานอยางไร

ตัวอยางของเราสมมติวา คนงานถือเงินทั้งหมดไวในบัญชีเงินฝากกระแสรายวันจนกวาจะมีความจํา

เปนที่จะตองใชเงินเพื่อใชซื้อสินคา แตโดยปกติบัญชีเงินฝากกระแสรายวันไดรับอัตราดอกเบี้ยนอยมากหรือไมได

เลย พฤติกรรมดังกลาวจึงดูไมมีเหตุผลนัก ดังนั้นถาเปนไปไดที่จะโอนยายเงินฝากประเภทอื่นๆ หรือทรัพยสิน

อื่นๆ ไดโดยเร็ว และเสียคาใชจายตํ่าแลว ก็จะเปนการกระทําที่มีเหตุผลที่คนงานจะนําเงินเดือนที่ไดมาไปฝากใน

บัญชีเงินฝากประเภทอื่น หรือซื้อสินทรัพยที่สามารถเปล่ียนเปนเงินไดเร็ว และใชเครดิตการด เพื่อจับจายซ้ือขาว

ของตางๆ และก็โอนเงินเขาไปยังบัญชีเงินฝากกระแสรายวันเปนชวงๆ ตามความจําเปน ดวยจํานวนเงินที่ทํา

ธุรกรรม ทั้งหมดจํานวนเทาเดิม คนงานคนเดิมยอมมีความตองการถือเงินสดเปนจํานวนนอยลง ซึ่งยอม

หมายความวา เงินจะมีการหมุนเวียนเร็วขึ้น หรือ ความเร็วของการหมุนเวียนจะสูงขึ้น

ส่ิงที่จูงใจที่จะทําใหจํานวนเงินสดที่ถือลดลง ขึ้นอยูกับความยาก/งาย หรือความสะดวกและความ

รวดเร็วที่จะแลกเปล่ียนเงินสดกับสินทรัพยอื่นๆ ซึ่งส่ิงนี้เปนส่ิงที่เราเรียกวา “ประสิทธิภาพของระบบการจายเงิน”

การใชคอมพิวเตอรทําใหการเก็บ หรือการบันทึกยอดเงินฝากของระบบธนาคารเร็วขึ้น และเม่ือการคิดคนส่ิง

ใหมๆ ทําใหมีความเปนไปไดที่จะเคล่ือนยายเงินระหวางยอดท่ีอยูในบัญชีกระแสรายวันกับสินทรัพยอื่นๆ ได

อยางรวดเร็ว และการท่ีมีการใชเครดิตการดแทนเงินสดกันมากขึ้น จึงทําใหความจําเปนที่จะตองถือเงินสดลดลง

ดังนั้นตามคําจํากัดความนี้ ความเร็วของการหมุนเวียนจึงสูงขึ้น

ในทางปฏิบัติ การเปล่ียนแปลงของกลไกหรือระบบการจายเงิน ทําใหเกิดหรือไดสรางปญหาในทาง

ปฏิบัติใหแกนักวิเคราะหที่ตองการพยากรณความเร็วของการหมุนเวียนอยางมาก นวัตกรรมทางการเงินตางๆ ที่

เร่ิมเกิดขึ้น ต้ังแตเร่ิมทศวรรษ 2513 มาจนกระทั่งปจจุบัน ทําใหอาชีพการพยากรณความเร็วของการหมุนเวียน

ตกอยูในสภาวะลอแหลมอันตรายอยางย่ิง และตามความเปนจริงแลว นักเศรษฐศาสตรหลายๆ คนคิดวา การ

พยากรณนั้นเปนส่ิงที่เปนไปไมได และไมควรจะลองทําดวยซํ้า

อัตราดอกเบ้ีย ปจจัยตัวที่สามที่มีผลตอความเร็วของการหมุนเวียน คือ อัตราดอกเบี้ย ส่ิงจูงใจพื้นฐานที่จะ

ทําใหคนถือเงินสดนอยลงคือ การถือเงินสด (อยางนอยตามความหมายของ M1) นั้นไมไดรับดอกเบี้ยหรือไดรับ

นอยมาก แตการเก็บรักษาเงินในรูปแบบอื่นๆ นั้นไดดอกเบี้ย ดังนั้นย่ิงอัตราดอกเบี้ยของทางเลือกอื่นๆ สูงขึ้น

Page 8: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 246

เทาใด จะทําใหการจูงใจใหถือเงินสดลดลงย่ิงมีมากขึ้นเทานั้น ดังนั้น เม่ืออัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น คนจะถือเงินสด

นอยลง จํานวนเงินสดที่ถือจะหมุนเร็วมากขึ้น และความเร็วของการหมุนเวียนจะสูงขึ้น

ปจจัยอัตราดอกเบี้ยนี่เอง ที่มีผลโดยตรงมากที่สุด ที่ลดประสิทธิผลของการใชทฤษฎีปริมาณเงิน เพื่อ

เปนแนวทางในการกําหนดนโยบายการเงิน ในบทที่ผานมา เราไดเรียนรูแลววา การใชนโยบายการเงิน

แบบขยายตัว โดยการเพิ่มปริมาณเงิน M โดยปกติจะทําใหอัตราดอกเบี้ยลดลง เม่ือกําหนดใหส่ิงอื่นๆ

คงที่ การที่อัตราดอกเบี้ยลดลง จะทําใหความเร็วของการหมุนเวียนลดลงดวย ดังนั้นเม่ือธนาคารกลาง

เพิ่มอุปทานของเงิน (M) ผลคูณของ M×V จะเพิ่มขึ้นเปนจํานวนรอยละที่นอยกวาการเพิ่มขึ้นของ M

สวนประกอบของอัตราดอกเบี้ย ประการหนึ่งที่ควรจะใหความสนใจเปนพิเศษ คือ “อัตราเงินเฟอที่

คาดคะเน (the expected rate of inflation)” ดังที่เคยอธิบายไวในบทที่ 1 แลววา เหตุใด “คาชดเชยเงินเฟอ

(inflation premium)” ซึ่งมีคาเทากับอัตราเงินเฟอที่คาดคะเนวาจะเกิดขึ้น จึงถูกนําเขาไปรวมไวอยูในอัตรา

ดอกเบี้ยตลาด ดังนั้นการมีอัตราเงินเฟอในระดับสูง จึงเปนสาเหตุหลัก ที่ทําใหอัตราดอกเบี้ยมีคาสูงตามไปดวย

นอกจากนั้นการมีอัตราเงินเฟอสูงซึ่งทําใหอํานาจการซื้อของเงินลดลง จะเปนตัวชักนําใหทั้งบุคคลทั่วไปและ

ธุรกิจ ถือเงินสดในจํานวนท่ีนอยลงเทาที่มีความจําเปน ซึ่งการกระทําดังกลาว จะทําใหความเร็วของการหมุนเงิน

สูงขึ้น การอธิบายถึงตัวแปรตางๆ ที่มีผลหรือเปนตัวกําหนดความเร็วของการหมุนเวียน จึงสรุปไดดังนี้

ความเร็วของการหมุนเวียนมีคาไมคงที่ แตขึ้นอยูกับส่ิงตางๆ เชน ความถ่ีของการจายเงิน (เงินเดือน

คาจาง) ประสิทธิภาพของระบบการเงิน อัตราดอกเบี้ย และอัตราเงินเฟอ เม่ือเราศึกษาถึงปจจัยที่

กําหนดความเร็วของการหมุนเวียนตางๆ เหลานี้แลวเทานั้น จึงจะทําใหเราหวังไดวา จะสามารถ

พยากรณ อัตราการเติบโตของ GDP ตามราคาประจําป จากความรูที่เรามีเก่ียวกับ อัตราการเติบโต

ของอุปทานของเงินได

MONETARISM: ทฤษฎีปริมาณเงินสมัยใหม

Monetarism เปนวิธีการวิเคราะหวิธีหนึ่ง ที่ใชสมการการแลกเปล่ียน เปนแนวทางในการจัดระบบและวิเคราะห

ขอมูลเศรษฐศาสตรมหภาค ตามแนวคิดของสํานักที่เรียกวา monetarism นั้น พยายามท่ีจะทําส่ิงตอไปนี้ คือ นัก

เศรษฐศาสตรในสํานักนี้ (Monetarists) ยอมรับวา ความเร็วของการหมุนเวียนนั้นไมคงที่ แตนักเศรษฐศาสตร

เหลานี้เช่ือวา การเปล่ียนแปลงของความเร็วนั้น อยูในวิสัยที่จะพยากรณได (fairly predictable) โดยเฉพาะอยาง

ย่ิงในระยะยาวหรือแมแตในระยะส้ันก็ตาม พวกเขาจึงสรุปวา ทางที่ดีที่สุดที่จะศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจ คือ

ตองเร่ิมตนจาก สมการการแลกเปล่ียนที่แสดง/เขียนในรูปอัตราการเติบโต ซึ่งก็คือ

%ΔM + %Δ V = %Δ P + %Δ Y

จากจุดนี้เม่ือศึกษาถึงปจจัยที่กําหนดการเติบโต/เพิ่มขึ้นของเงินอยางรอบคอบ (ซึ่งเราไดกลาวถึงแลวในสองบทที่

ผานมา) และปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของความรวดเร็วของการหมุนเวียน(ซึ่งเพิ่งจะอธิบายเสร็จขางตน)

Page 9: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

บทที่ 10

การโตเถียงกันในเร่ืองของนโยบายการเงิน

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 247

เราสามารถจะนํามาใชในการพยากรณ อัตราการเติบโตของ GDP ตามราคาประจําปได ในทํานองเดียวกัน

สมมติวาเราเขาใจหรือทราบการเคล่ือนไหวของ V การควบคุม M ก็จะทําใหธนาคารกลางสามารถควบคุม GDP

ตามราคาประจําปได

ส่ิงที่กลาวถึงนี้เปนหัวใจสําคัญของ monetarism เม่ือเกิดอะไรข้ึนในระบบเศรษฐกิจ นักเศรษฐศาสตร

สํานักการเงิน (monetarists) จะถามคําถาม 2 ขอ คือ

1. ส่ิงที่เกิดขึ้นนั้น มีผลตออัตราการเติบโตของปริมาณเงินอยางไร

2. ส่ิงที่เกิดขึ้น มีผลตอความเร็วของการหมุนเวียนอยางไร

เม่ือไดคําตอบ นักเศรษฐศาสตรสํานักการเงิน จะบอกวา เขาสามารถจะพยากรณไดวา อัตราการเติบโตของ

GDP ตามราคาประจําป จะถูกกระทบอยางไร

เม่ือเปรียบเทียบแนวคิด (approach) ของสํานักการเงินและสํานักเคนสที่ไดอธิบายไวแลวในบทกอนๆ

เราสามารถนําเอาแนวคิดทั้งสองมาเปรียบเทียบกัน เพื่อจะเขาใจถึงขอจํากัดของแตละแนวคิด ดังที่เราเคยกลาว

ไวแลวขางตนวา แนวคิดขางตนแตกตางกันในเร่ืองของภาพลักษณ/การนําเสนอมากกวา ในเร่ืองเนื้อหา ทางดาน

ของเคนสนั้นไดแบงความรูทางเศรษฐศาสตรออกเปนส่ีสวน แยกออกจากกันอยางเห็นไดชัด ซึ่งไดแก C I G และ

(X-M) และรวมสวนตางๆ เขาดวยกัน เพื่อใหไดดุลยภาพภายใตเงื่อนไข Y = C+I+G+(X-M) ในการวิเคราะหของ

เคนส เงินจะมีผลกระทบตอเศรษฐกิจ โดยมีผลตออัตราดอกเบี้ยในอันดับแรก

สวนในแนวคิดของสํานักการเงินนั้น ไดจัดระบบความรูของกลุมเขาออกเปนสองสวน คือ M และ V

และไดใชสมการงายๆ ที่ระบุวา M × V = P × Y และแนวคิดของพวกเขาในการพยากรณอุปสงครวม ใน

แบบจําลองของนักเศรษฐศาสตรสํานักการเงิน บทบาทของเงินในเศรษฐกิจของประเทศน้ันไมไดจํากัดบทบาท

การทํางานผานเฉพาะทางอัตราดอกเบี้ยแตเพียงอยางเดียว

เนื้อหาของคณิตศาสตรที่นํามาใชกับ M x V เพื่อใหได P x Y ก็ไมไดลึกซ้ึง อะไรมากไปกวาในสวนที่

นําเอา C I G และ (X - M) มาบวกกันเพื่อใหได Y และในดานกลไกของคณิตศาสตรแลว การคูณและการบวก ก็

เปนส่ิงที่ถูกตองทั้งสองวิธี ส่ิงที่แตกตางกันมากของทั้งสองแนวความคิด คือ สมการของทางสํานักการเงิน จะ

นําไปใชในการทํานาย GDP ตามราคาประจําป (nominal GDP) ในขณะท่ีสมการของทางสํานักเคนส จะ

นําไปใชในการทํานาย GDP ตามราคาปฐาน (real GDP)

ดังนั้นจึงมีคําถามตามมาวา ทําไมเราจึงไมนําทฤษฎีทั้งสองมาใชรวมกัน โดยใชแนวคิดของสํานัก

การเงินเพื่อศึกษา GDP ณ ราคาประจําป และใชแนวคิดของสํานักเคนสเพื่อศึกษา GDP ณ ราคาปฐาน ซึ่งการ

กระทําดังนี้ เราสามารถใชการวิเคราะห GDP ณ ราคาประจําป และ GDP ณ ราคาปฐาน เพื่อทํานายระดับราคา

ซึ่งอันที่จริงแลวก็คือ อัตราสวนระหวาง GDP ณ ราคาประจําป และ GDP ณ ราคาปฐาน

เหตุผลที่ไมไดทําดังขางตน ก็คือ การกระทําดังกลาวจะไมชวยช้ีใหเห็นถึงขอจํากัดที่สําคัญๆ ของแตละ

ทฤษฎี ซึ่งเม่ือพิจารณาแตละทฤษฎีแลวไมมีทฤษฎีใดเลยที่สมบูรณ แตละทฤษฎีอธิบายใหเราเห็นภาพเฉพาะ

แตทางดานอุปสงคของเศรษฐกิจเทานั้น โดยแตละทฤษฎีไมไดกลาวถึงดานอุปทานของเศรษฐกิจแตอยางใด

ความพยายามท่ีจะทํานายทั้งระดับราคาและผลผลิตที่แทจริง (real output) จากแบบจําลองที่อธิบายเฉพาะ

ทางดานอุปสงคของทั้งสองทฤษฎี ก็เหมือนกับความพยายามที่จะทํานายราคาขาวโดยศึกษาแตพฤติกรรมของ

ผูบริโภค โดยไมไดพิจารณาพฤติกรรมของเกษตรกร/ชาวนาเลย ซึ่งผลก็คือจะทํานายไมได ดังนั้น

Page 10: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 248

การวิเคราะหของทั้งสํานักการเงินและสํานักเคนส เปนวิธีที่จะใชศึกษาเสนอุปสงครวม การวิเคราะห

ของแตละสํานักจะไมทําใหเราสามารถเรียนรูส่ิงตางๆ เก่ียวกับทั้งผลผลิต และระดับราคาไดเลย ถาไม

มีการศึกษาถึงเสนอุปทานรวม

นักเศรษฐศาสตรจึงจําเปนตองเลือกเอาระหวางแนวคิดของสํานักใดสํานักหนึ่ง เพื่อใชในการทํานายอุป

สงครวม นักเศรษฐศาสตรที่เลือกแนวทางของสํานักการเงิน ก็จะใชความเร็วของการหมุนเวียน และอุปทานของ

เงิน เพื่อการศึกษาอุปสงครวมในรูปของราคาประจําป หลังจากนั้นก็จะตองหันไปพิจารณาอุปทานรวม เพื่อจะกะ

ประมาณวา การเปล่ียนแปลงของอุปสงครวม ณ ราคาประจําปจะเปนผลมาจากการเปล่ียนแปลงของการผลิต

เทาไร และมาจากการเปล่ียนแปลงของราคาเทาไร ภาพที่แสดงในบทที่ผานมา ซึ่งเนนใหความสําคัญกับอัตรา

ดอกเบี้ย จะมีบทบาทนอยมากในการวิเคราะหของสํานักการเงิน ที่ใชศึกษาวานโยบายการเงินจะมีผลอยางไรตอ

เศรษฐกิจ

ในทางตรงกันขาม นักเศรษฐศาสตรที่ทํางานตามแนวคิดของเคนส จะเร่ิมจากการใชภาพเดียวกัน (ใน

บทที่ผานมา) เพื่อจะทํานายวานโยบายการเงินจะมีผลอยางไรกับอุปสงครวม ณ ราคาปฐาน (real Terms) หรือ

จะมีผลอยางไรตอ GDP ณ ราคาปฐาน หลังจากนั้นก็จะหันไปหาเสนอุปทานรวมเพื่อจะดูผลที่มีตอราคา (ผลตอ

เงินเฟอ) จากการเปล่ียนแปลงของอุปสงค ณ ราคาปฐานที่เกิดขึ้น

วิธีของสํานักใดจะทํางานไดดีกวากัน ในขณะปจจุบันยังไมมีคําตอบท่ีถูกตอง หรือยังไมสามารถบอกได

อยางแนนอน วาผลการทํานาย เม่ือใชในประเทศตางๆ ในแตละชวงเวลาที่แตกตางกันไดผลอยางไร ตัวอยางเชน

ในอเมริกาและประเทศตางๆ ทั่วโลก ในระหวางทศวรรษที่ 2503 และตนๆ ทศวรรษที่ 2513 ความเร็วของการ

หมุนเวียนมีคาที่ไมเปล่ียนแปลงมาก สามารถทํานายไดใกลเคียง ดังนั้น วิธีการวิเคราะหตามแนวคิดของสํานัก

การเงินดูจะเปนวิธีที่ดีกวา แตเม่ือใดที่ความเร็วของการหมุนเวียนเปล่ียนแปลงมาก ไมสามารถทํานายไดอยาง

ใกลเคียงแลว นักเศรษฐศาสตรสวนมากก็จะทิ้งแบบจําลองของสํานักการเงิน หันมาใชแบบจําลองของสํานัก

เคนสแทน

นโยบายการคลัง อัตราดอกเบ้ียและความเร็วของการหมนุเวียน

มาถึง ณ จุดนี้ เราเกือบจะสมานทัศนะของเคนส และสํานักการเงินในเร่ืองที่อธิบายวาเศรษฐกิจทํางาน

อยางไรไดอยูแลว เนื่องจาก G ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ C+I+G+(X-M) ในการวิเคราะหของสํานักเคนสนั้น เปนสวน

ที่ทําใหเราสามารถใชศึกษานโยบายการคลังได แตเราก็ไดเรียนในบทที่ผานมาแลวเชนกันวา ตามแนวคิดของ

เคนสนั้นนโยบายการเงินก็เปนปจจัยที่ทรงพลังและมีบทบาทสําคัญเชนกัน กลาวคือ การเพิ่มอุปทานของเงินทํา

ใหอัตราดอกเบี้ยลดลง ซึ่งจะเปนตัวที่กระตุนความตองการลงทุนตอไป

การวิเคราะหของสํานักการเงินไดใหแนวคิดทางท่ีตรงและเห็นไดชัดเจนวานโยบายการเงินนั้นมีผลตอ

ผลผลิตและราคา แตคําถามก็คือแนวคิดของสํานักการเงินสามารถจะนํานโยบายการคลังมาใชดวยไดหรือไม

คําตอบคือ สามารถใชได ทั้งนี้เพราะวานโยบายการคลังจะมีผลสําคัญที่ทําใหอัตราดอกเบี้ยเปล่ียน ซึ่งจะได

อธิบายตอไปวาส่ิงนี้เกิดไดอยางไร

คําถามคือ จะมีอะไรเกิดขึ้นกับ ผลิตที่แทจริงและระดับราคา หลังจากที่รัฐบาลการใชจายเพื่อซ้ือส้ินคา

และบริการมากข้ึน เราไดเรียนจากบทที่ 7 แลววาเม่ือทั้งGDP ณ ราคาปฐาน (real GDP) หรือ Y และระดับราคา

Page 11: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

บทที่ 10

การโตเถียงกันในเร่ืองของนโยบายการเงิน

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 249

P สูงขึ้น ก็ยอมจะแนนอนวา GDP ณ ราคาประจําปจะเพิ่มขึ้นดวย แตการวิเคราะหเร่ืองความตองการหรืออุป

สงคของเงินในบทที่ผานมา สอนเราวา เม่ือ GDP ณ ราคาประจําปสูงขึ้น ก็จะผลักดันใหเสนอุปสงคของเงินขยับ

ออกไปทางดานขวามือ แตถาหากเสนอุปทานของเงินอยูคงที่ การขยับออกของเสนอุปสงคของเงิน จะมีผลทําให

อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น ดังนั้นการใชนโยบายการเงินแบบขยายตัว จะทําใหอัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น

ถารัฐบาลใชเคร่ืองมือ/มาตรการ ทางดานการใชจายและการเก็บภาษีไปในทิศทางตรงกันขามกัน

ขบวนการเปล่ียนแปลงตางๆ ก็จะเกิดในทิศทางตรงกันขามกัน การลดลงของผลผลิต และการลดลงของราคา (ที่

อาจเกิดขึ้นดวย) จะทําใหเสนอุปสงคของเงินขยับเขามาทางดานซายมือ และถาเสนอุปทานของเงินอยูคงที่แลว

ดุลยภาพในตลาดเงินที่เกิดขึ้นจะเปนตัวที่ทําใหอัตราดอกเบี้ยลดลงดังนั้น

นโยบายการเงินจึงไมเปนเพียงนโยบายชนิดเดียวที่มีผลตออัตราดอกเบี้ย นโยบายการคลังก็มีผลตอ

อัตราดอกเบี้ยเชนกัน กลาวคือ การเพิ่มขึ้นของการใชจายของรัฐบาล หรือการลดภาษีลงโดยปกติจะ

ผลักดันใหอัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น ในขณะที่การใชนโยบายการคลังแบบหดตัวโดยปกติจะดึงอัตรา

ดอกเบี้ยลดลง

จากขอเท็จจริงที่วานโยบายการคลังที่มีผลตออัตราดอกเบี้ย ทําใหนโยบายการคลังการคลังมีบทบาท

เชนกันในแบบจําลองสํานักการเงิน ทั้งนี้ถึงแมวาในสมการการแลกเปล่ียน M x V = P x Y นั้นไมปรากฏตัวแปร

การใชจายของรัฐบาล (G) หรือการเก็บภาษี (T) อยูเลยก็ตาม นโยบายการคลังใดก็ตามที่ทางสํานักเคนสเรียกวา

เปน นโยบายการคลังแบบขยายตัว -เชนการใชจายเพิ่มขึ้น หรือการลดภาษี หรืออื่นๆ - จะผลักดันใหอตัรา

ดอกเบี้ยสูงขึ้น และอัตราดอกเบ้ียที่สูงขึ้นจะทําใหความเร็วของการหมุนเวียนสูงขึ้น เพราะคนจะมีความตองการ

ถือเงินลดลง ดังนั้นนโยบายการคลังจะทํางานในแบบจําลองของสํานักการเงิน ผานทางตัวแปร V ของ M x V

ดังนั้นสมการแลกเปล่ียนจึงบงวา GDP ณ ราคาประจําป จะตองสูงขึ้นเม่ือ – สมมติวา-การใชจายของรัฐบาล

สูงขึ้น ถึงแมวา M จะมีคาคงท่ีก็ตาม ทั้งนี้เนื่องจากความเร็วของการหมุนเวียนสูงขึ้น

ในทางตรงกันขาม การใชนโยบายการคลังแบบหดตัว เชนการเพิ่มภาษีหรือการลดการใชจายลง จะลด

อุปสงคของเงินลง ซึ่งจะทําใหอัตราดอกเบี้ยลดตามลงมาดวย และผลท่ีเกิดขึ้นตามมาคือ ความเร็วของการ

หมุนเวียนจะลดลง และสมการแลกเปล่ียนบอกตอไปวารายได ณ ราคาประจําปจะลดลง

คําอธิบายขางตนไดเสร็จสมบูรณลง ต้ังแตนี้ตอไปเราสามารถบอกเร่ืองราวของแนวคิดของสํานักเคนส

ไดวา นโยบายการคลังทํางานไดอยางไรโดยใชภาษาของสํานักการเงิน และในทํานองเดียวกันสํานักการเงินก็

สามารถจะบอกเร่ืองราวของนโยบายการเงินโดยใชภาษาของทางสํานักเคนสไดเชนเดียวกัน นอกจากนั้น

แนวทางการวิเคราะหของทั้งสองสํานัก ไดชวยอธิบายความลึกลับของอุปสงครวม ซึ่งจะตองการวิเคราะหควบคู

ไปกับอุปทานรวม จึงจะทําใหการวิเคราะหโดยรวมสมบูรณ ดังนั้นเราสามารถสรุปไดวา

ความแตกตางระหวางแนวคิดของสํานักเคนส และสํานักการเงินเปนส่ิงที่ส่ือสารมวลชนตางๆ นํามา

เขียนยํ้ากันมากเกินไป ซึ่งแทจริงแลวเม่ือพิจารณาเนื้อหาสาระของทฤษฎีเศรษฐศาสตรแลว แนวคิดทั้ง

สองไมมีความแตกตางกันเลย

Page 12: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 250

ความจริงที่วานโยบายการคลัง ทําใหอัตราดอกเบ้ียเคล่ือนไหวขึ้นลง ทําใหเกิดผลที่สําคัญตามมาสอง

ประการซ่ึงควรจะนํามากลาวถึงไว ณ ที่นี้

การประยุกต : การพิจารณาสูตรตัวคูณใหมอีกครั้ง เราเพิ่งกลาวถึงขางตนวา การใชนโยบายการคลังแบบขยายตัวจะทําใหอัตราดอกเบี้ยสูงขึ้นและเราก็ทราบวา

อัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้นจะชลอ/ลด การลงทุนของภาคเอกชนลง ดังนั้นเม่ือรัฐบาลเพิ่มขนาดของ G ใน

สวนประกอบของ C+I+G+(X-M) ผลขางเคียงประการหนึ่งที่จะเกิดขึ้น คือ จะทําใหขนาดของสวนประกอบ I

ลดลง ผลที่ตามมาคือ การใชจายทั้งหมดจะเพ่ิมขึ้นนอยกวาจํานวนท่ีไดจากการวิเคราะห คาตัวคูณแบบงาย

จากความจริงที่วา การเพิ่มขึ้นของการใชจายของรัฐบาล G ทําใหการลงทุนของภาคเอกชน (I) ลดลงเปนเหตุผล

อีกประการหน่ึงที่บอกไดวาสูตรการคํานวณคาตัวคูณแบบงายซ่ึงไดแก 1/(1-MPC) เปนสูตรที่ใหคาตัวคูณที่มาก

เกินไป

เพราะวาการเพิ่มขึ้นของ G (หรือ การเพิ่มโดยอัตโนมัติของตัว/สวนประกอบอื่นๆ ของการใชจาย

ทั้งหมด) จะทําใหอัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น ซึ่งการที่อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้นจะทําใหคาใชจายลงทุนลดลง และ

ผลที่ตามมาคือ การเพิ่มขึ้นของผลรวมของ C+I+G+(X-M) จะนอยกวาจํานวนท่ีสูตรคาตัวคูณแบบงาย

ทํานายไว

เม่ือรวมส่ิงที่ไดกลาวถึงนี้กับ การวิเคราะหคาตัวคูณที่เคยทํามาในอดีต เราจะไดรายการที่สมบูรณ

ดังตอไปนี้:

เหตุผลตางๆ ที่สูตรตัวคูณแบบงายไมถูกตอง:

1. สูตรตัวคูณไมครอบคลุมถึงกรณีที่การนําเขาเปล่ียนแปลงตามรายได ซึ่งจะทําใหคาของตัวคูณ

ลดลง (ดูภาคผนวก ของบทที่ 5)

2. สูตรตัวคูณไมครอบคลุมถึงกรณีที่ระดับราคามีการเปล่ียนแปลง ซึ่งจะทําใหคาของตัวคูณลดลง

เชนกัน (ดูบทที่ 6)

3. สูตรตัวคูณไมครอบคลุมถึงกรณีที่มีการคิดภาษีเงินได ซึ่งจะทําใหคาของตัวคูณลดลงดวยเชนกัน

(ดูบทที่ 7)

4. สูตรตัวคูณไมครอบคลุมถึงกรณีที่อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น ซึ่งเกิดขึ้นจากการที่การใชจายเพิ่มขึ้นโดย

อัตโนมัติ และจะทําใหคาตัวคูณลดลง (บทนี้)

จะสังเกตไดวาการเปล่ียนแปลงทั้ง 4 ประการที่กลาวถึงขางตนนี้ชี้ไปถึงการลดลงของคาตัวคูณ จึงไม

เปนที่นาแปลกใจเลยวา คาตัวคูณที่แทจริง (ที่มีการกะประมาณวาของเมริกามีคานอยกวา 2) จึงมีคานอยกวาที่

คํานวณไดโดยใชสูตรแบบงายมาก

Page 13: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

บทที่ 10

การโตเถียงกันในเร่ืองของนโยบายการเงิน

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 251

การประยุกต : การลดการขาดดุลและการลงทุน เราจะพิจารณาเร่ืองการขาดดุลงบประมาณของรัฐบาลโดยละเอียดมากขึ้นในบทตอไปแตขอโตเถียงที่สําคัญ

ประการหนึ่งของการขาดดุล ก็คือ การลดการขาดดุลจะทําใหระดับการลงทุนของภาคเอกชนสูงขึ้น ซึ่งมาถึงใน

ขณะน้ีแลวจะเปนเร่ืองงายสําหรับเราท่ีจะเขาใจไดวาเปนเพราะเหตุใด กลาวคือ การที่รัฐบาลสามารถจะลดการ

ขาดดุลงบประมาณไดโดยใชนโยบายการคลังแบบหดตัว-โดยการลดการใชจายหรือเพิ่มภาษีนั้น ส่ิงที่เราเพิ่ง

อธิบายผานมา กลาวไววา การกระทําดังกลาวจะลดอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงลง และการลดลงของอัตราดอกเบี้ย

จะกระตุนใหมีการใชจายลงทุนมากขึ้น

การโตเถียง : นโยบายการรักษาเสถียรภาพนั้น ควรใชนโยบายการคลังหรือ นโยบายการเงิน

เราไดเรียนผานมาแลววา แนวคิด/วิธีการของสํานักเคนสและสํานักการเงินนั้นเปนเหมือนการพูดถึงส่ิง

เดียวกันโดยใช สองภาษา มากวาเปนสองทฤษฎีที่แตกตางกัน อยางไรก็ตามเปนที่ทราบกันดีวา ภาษาที่แตกตาง

กันก็อาจทําใหเกิดทัศนะท่ีแตกตางกันได ตัวอยางเชนในภาษาของเคนส จะมีความเอนเอียงที่จะคิดถึงนโยบาย

การคลังเปนเร่ืองแรก ทั้งนี้เพราะวา G เปนสวนประกอบหนึ่งของ C+I+G+(X-M) ในขณะท่ี M จะทํางาน

ทางออม ในทางตรงกันขามทางดานสํานักการเงิน จะคิดเปนเร่ืองแรกถึง สมการการแลกเปล่ียนหรือ MxV = PxY

ซึ่งทําใหผลของเงินที่มีตออุปสงครวมเห็นไดชัดเจนและโดยตรง

ในอดีตที่ผานมาหลายๆ ปนักเศรษฐศาสตรไดมีการโตถียงกัน ซึ่งฝายที่สนับสนุนสํานักการเงินอยาง

สุดขั้วบอกวานโยบายการคลังนั้นใชไมไดผล ในขณะที่ฝายที่สนับสนุนสํานักเคนสอยางสุดขั้วก็บอกวานโยบาย

การเงินนั้นใชไมไดผล อยางไรก็ตามมีหลักฐานที่เห็นไดชัดชี้ขัดแยงกับความคิดพวกสุดขั้วกลุมตางๆ ดังนั้นขอ

โตเถียงของพวกสุดขั้วทั้งหลายจึงมักจะไมคอยไดพบในปจจุบัน

แทนที่จะทําการโตเถียงกันวา นโยบายใดมีพลังมากกวากัน นักเศรษฐศาสตร ในยุคปจจุบันกลับ

โตเถียงกันวา ยาชนิดใด-นโยบายการคลัง หรือนโยบายการเงิน สามารถจะรักษาคนไขไดเร็วกวากัน การอธิบาย

ของเราต้ังแตตนมาจนถึงในขณะนี้ไดละเลยที่จะพิจารณาถึงคําถามเก่ียวกับระยะเวลา และถือเสมือนหรือสมมติ

วา ผูมีอํานาจที่เก่ียวของไดแจงความประสงความีความตองการ หรือมีความจําเปนจะตองใชนโยบายเพื่อรักษา

เสถียรภาพอยางทันทีทันใด มีการตัดสินใจเพื่อใชมาตรการแกไขทันทีทันใดและมีการจัดการเพื่อดําเนินการใชยา

อยางใดอยางหน่ึงทันทีทันใดเชนกัน ซึ่งตามความเปนจริงแลว การดําเนินงานในแตละขั้นตอนตองใชเวลา

ชวงหนึ่งทั้งส้ิน

ประการแรก มีความลาชาเกิดขึ้นในการรวบรวมขอมูล ซึ่งหมายความวาขอมูลเศรษฐศาสตรมหภาคที่

มีอยูในปจจุบัน เปนขอมูลที่อธิบายสภาพเศรษฐกิจที่เปนอยูเม่ือหลายๆ เดือนที่ผานมา ประการที่สอง ราคา

(ตนทุน) ของการอยูในระบบประชาธิปไตยคือ รัฐบาลมักตองใชระยะเวลายาวนานมากเพ่ือจะตัดสินใจวา ควร

จะทําอะไร เพื่อจะหาเสียงสนับสนุนทางการเมือง และเพื่อดําเนินการใชมาตรการที่ตัดสินใจไป ประการสุดทาย

การที่เศรษฐกิจของประเทศมีขนาดใหญมาก เปรียบเสมือนชาง/ยักษที่กําลังหลับอยู การตอบสนองตอนโยบาย

การคลังหรือการเงินที่ใชไปจะเปนไปอยางเชื่องชามาก และผลท่ีเกิดขึ้นคือ ความลาชาของนโยบายเพื่อรักษา

Page 14: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 252

เสถียรภาพ (lags in stabilization policy) จึงเปนตัวกําหนดที่สําคัญในการเลือกระหวางนโยบายการคลังหรือ

นโยบายการเงิน ซึ่งเหตุผลจะไดกลาวถึงดังตอไปนี้

เคร่ืองมือทางนโยบายท่ีสําคัญที่จะจัดการ/ควบคุม การใชจายของผูบริโภค (C) คือภาษีรายไดของ

บุคคล และดังที่กลาวถึงในบทที่ 3 แลววาเหตุใดผูที่วางแผนนโยบายการคลัง จึงรูสึกวามีความม่ันใจ

คอนขางมากวา แตละบาทของภาษีที่ลดลง ในที่สุดแลว จะชักนําใหมีการใชจายเพิ่มขึ้นประมาณ 90 ถึง 95

สตางค อยางไรก็ตาม การเพิ่มขึ้นของการใชจายนั้นคอยเปนคอยไป ไมได เพิ่มขึ้นทั้งหมดในคร้ังเดียว

ประการแรก ผูบริโภคจะมีการเรียนรูวา มีการเปล่ียนแปลงของภาษี ตอไปจําเปนจะตองทําใหผูบริโภค

มีความม่ันใจวา การเปล่ียนแปลงของภาษีเปนการเปล่ียนอยางถาวร และประการสุดทาย จะเปนเร่ืองของนิสัย

หรือ พฤติกรรม กลาวคือครัวเรือนหรือผูบริโภคตองการเวลาในการปรับนิสัยพฤติกรรม เม่ือสภาพแวดลอม

เปล่ียนแปลงไปดวยเหตุผลตางๆ เหลานี้ ผูบริโภคอาจเพิ่มการใชจายของเขาเพียง 30 ถึง 50 สตางค สําหรับ

รายไดเพิ่มขึ้น 1 บาท ในระยะ 2-3 เดือน แรกหลังจากที่มีการลดภาษี หลังจากนั้นจะคอยๆ เพิ่มการใชจายขึ้น

เร่ือยๆ จนกวาจะถึงระดับ 90 ถึง 95 สตางค จากรายไดที่เพิ่มขึ้น 1 บาท

ความลาชาหรือระยะเวลาของการปรับตัวจะยาวนานขึ้นไปอีก สําหรับกรณีของการลงทุน(I) ซึ่งเปน

เคร่ืองมือสําคัญ หรือเปนเคร่ืองมือหลัก ที่จะทําใหนโยบายการเงินมีผลถึงอุปสงครวม การวางแผนเพื่อขยาย

กําลังการผลิตของกิจการขนาดใหญจะเปนขบวนการท่ีตองใชระยะเวลาในการพิจารณาตัดสินใจยาว แนวคิด

หรือโครงการจะตองมีการนําเสนอเพื่อพิจารณาอนุมัติ หลังจากนั้นจะตองมีการวางแผนดําเนินการ การจัดหา

แหลงเงิน การส่ังซื้อส่ังทําเคร่ืองจักรกล และการวาจางการจัดสรางโรงงาน อาคารตางๆ ซึ่งขั้นตอนตางๆ เหลานี้

สวนมากจะเกิดขึ้นกอน การใชจายเงินจริงๆ จะเกิดขึ้น นักเศรษฐศาสตรเคยทําการศึกษาและพบวา การ

ตอบสนองของการลงทุนตอการเปล่ียนแปลงของอัตราดอกเบี้ย หรือภาษีนั้น ใชเวลาหลายป

จากขอเท็จจริงที่วา การบริโภค (C) ตอบสนองเร็วกวาการลงทุน (I) มากทําใหมีผลตอการตัดสินใจ

ระหวางทางเลือกตางๆ ของนโยบายการรักษาเสถียรภาพ ซึ่งเหตุผลก็คือ ทางเลือกตางๆ เกือบทั้งหมดของ

นโยบายการคลัง จะมีผลกระทบตออุปสงครวมโดยตรง-กลาวคือ G เปนสวนประกอบหนึ่งของ C+I+G+(X-M)

หรือจะมีผลผานทางการบริโภค ซึ่งจะมี Time lag (ระยะเวลาท่ีจะเกิดผล) โดยเปรียบเทียบแลวเร็วกวา การใช

นโยบายการเงิน ซึ่งขณะท่ีนโยบายการเงินจะมีผลกระทบเร่ิมแรกผานทางการลงทุน เพราะฉะน้ัน

การใชนโยบายการคลังในรูปแบบด้ังเดิม เชน การเปล่ียนแปลง G หรือภาษีรายไดสวนบุคคล มักจะมี

ผลกระทบตออุปสงครวมรวดเร็วกวา การใชนโยบายการเงิน

ขอเท็จจริงที่สําคัญนี้ มีอยูคร้ังหนึ่งที่ถูกนําไปกลาวอางวานโยบายการคลังควรจะถูกนําไปใชเปน

เคร่ืองมือหลักในการรักษาเสถียรภาพของเศรษฐกิจ แตการสรุปดังกลาวขางตนนั้นรวดเร็วเกินไป ซึ่งความลาชา

ในการปรับตัวที่กลาวขางตน ซึ่งเปนส่ิงที่อยูนอกเหนือการควบคุมของผูกําหนดนโยบายไมใชปจจัยเพียงประการ

เดียวที่มีผลตอความลาชาของนโยบายการรักษาเสถียรภาพ ทั้งนี้เพราะความลาชา เกิดขึ้นที่ตัวผูกําหนด

นโยบายเองดวยเชนกัน ในที่นี้หมายถึงวา เปนความลาชาที่เกิดขึ้น เม่ือผูกําหนดนโยบายตองใชเพื่อศึกษา

สถานะของเศรษฐกิจ เพื่อพิจารณาวาขั้นตอนอะไรตางๆ ที่ควรทําบาง และขั้นตอนสุดทายคือ เพื่อดําเนินการให

Page 15: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

บทที่ 10

การโตเถียงกันในเร่ืองของนโยบายการเงิน

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 253

การตัดสินใจเกิดผลขึ้นมา ซึ่งเม่ือพิจารณา ความลาชาตางๆ ของการใชนโยบายการคลังที่กลาวถึงในชวงหลังนี้

แลว การใชนโยบายการเงินอาจไดเปรียบอยางมากมาย กลาวคือ

โดยปกติแลวความลาชาทางนโยบายของนโยบายการเงินนั้นส้ันกวาของนโยบายการคลังมาก

มีเหตุผลหลายๆ ประการที่เห็นไดชัดคือ คณะกรรมการนโยบายการเงินมีการประชุมกันทุกเดือน หรือ

อาจบอยกวาถาหากมีความจําเปน ดังนั้นการตัดสินใจเก่ียวกับนโยบายการเงิน มีการทํากันบอยคร้ัง เม่ือ

คณะกรรมการไดพิจารณาตัดสินใจแลววาจะทําอะไร ก็จะดําเนินการทันทีโดยการซื้อหรือขายพันธบัตรในตลาด

ซื้อคืน

ในทางตรงกันขาม วิธีปฏิบัติในการจัดทํางบประมาณ มีการพิจารณาเพียงปละ 1 คร้ังนอกเหนือจาก

กรณีที่พิเศษตางๆ ซึ่งเกิดขึ้นนอยมาก การริเร่ิมที่สําคัญๆ ของนโยบายการคลังจะเกิดขึ้นในตอนการจัดทํา

งบประมาณประจําป โดยหลักการแลวกฎหมายเก่ียวกับภาษี สามารถจะถูกเปล่ียนแปลงเม่ือไรก็ได แตการ

พิจารณาของรัฐสภาเปนไปอยางเชื่องชา และจะเปนการตอรองกันระหวางหลายๆ กลุม ดังนั้น จะตองใชเวลา

หลายเดือนกวารัฐสภาจะเปล่ียนแปลงนโยบายการคลัง ตัวอยางที่เกิดขึ้นที่อเมริกาคือ ในการจัดทํางบประมาณ

ปแรกของประธานาธิบดีคลินตัน ซึ่งผานรัฐสภาอยางรวดเร็วเปนประวัติการณ ตองใชเวลาทั้งหมด 6 เดือน นับ

จากการเร่ิมเสนอไปจนถึงมีการออกกฎหมาย (ออกพระราชบัญญัติงบประมาณประจําป) และในป 2538-9

รัฐสภาไมผานงบประมาณอะไรเลย แมจะเร่ิมตนในปงบประมาณแลวก็ตาม ซึ่งทําใหตองปด การทํางานของ

สถานที่ราชการบางแหงเปนบางสวน ดังนั้นโดยรวมแลว เปนการมองโลกในแงดีเกินไปที่จะเชื่อวารัฐบาล

สามารถ จะดําเนินการนโยบายการคลังที่สําคัญๆ ไดในระยะเวลาส้ันๆ

ดังนั้นเม่ือพิจารณาถึงผลกระทบจากความลาชาของการใชจายและความลาชาในการดําเนินนโยบาย

โดยรวมแลว เราจะมีทางออกหรือทางเลือกอะไรบาง ซึ่งโดยหลักการแลวเรากลัววา เราจะไมสามารถสรุปอะไรได

อยางไรก็ตามในทางปฏิบัติผูที่เฝาดูอเมริกาในยุคใหมๆ นี้ เช่ือวา/คิดวา การใชนโยบายการคลังเพื่อวัตถุประสงค

ในการรักษาเสถียรภาพในเชิงรุก (อยาง active) เปนเร่ืองที่ยากลําบากมาก โดยเฉพาะอยางย่ิงในระบบการเมือง

ที่ประกอบดวยหลายกลุมผลประโยชน ดังนั้นในสภาพปจจุบัน นโยบายการเงินจึงดูเหมือนจะเปนส่ิงเดียว ที่จะ

นํามาใชใหเกิดผลได ถึงแมวาจะไมใชตลอดไปก็ตาม

การโตเถียง : ธนาคารกลางควรควบคุมปริมาณเงิน หรือควบคุมอัตราดอกเบ้ีย

หลังจากที่เรายอมรับกันแลววานโยบายการเงินจะดูเหมือนจะเปนเคร่ืองมือหลักที่จะรับภาระ ในการ

รักษาเสถียรภาพในปจจุบัน ก็มีคําถามอื่นๆ เกิดตามมาคือ ประการแรกการโตเถียงที่สําคัญ ที่เกิดขึ้นในชวง

ระยะเวลาหลายสิบปที่ผานมาคือ ธนาคารกลางควรดําเนินนโยบายการเงินอยางไร นักเศรษฐศาสตรบางคนให

ความเห็นวา ธนาคารกลางควรใชการดําเนินการในตลาดซ้ือคืน เพื่อควบคุมอัตราดอกเบี้ย (r) ในขณะท่ีนัก

เศรษฐศาสตรอีกหลายๆ คนโดยเฉพาะนักเศรษฐศาสตรสายการเงิน (monetarist) ยืนยันวา ธนาคารกลางควร

เนนควบคุมอุปทานของเงิน (M) เพื่อจะใหเขาใจเนื้อหา หรือลักษณะของการโตเถียง เราจะตองเร่ิมตนจากการ

เขาใจวา เหตุใดธนาคารกลางจึงควบคุมทั้ง M และ r ในเวลาเดียวกันไมได

Page 16: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 254

รูปที่ 10-2 จะชวยใหเราเขาใจงายขึ้นวาเปนเพราะเหตุใด ในรูปแสดงวาดุลยภาพเร่ิมตนของตลาดเงิน

อยูที่จุด E ที่ซึ่งเสนอุปสงคของเงิน M0D0 ตัดกันเสนอุปทานของเงิน MS ณ จุดนี้อัตราดอกเบี้ยจะอยูที่ระดับรอย

ละ 5 และปริมาณเงิน M มีคาเทากับ 830 พันลาน ใหเราสมมติวา จํานวนท้ังสองคือ เปาหมายของธนาคารกลาง

ในดาน M และ r และสมมติวา ธนาคารกลางตองการรักษาอุปทานของเงินและอัตราดอกเบี้ยไวที่ระดับนี้

ถาเสนอุปสงคของเงินอยูคงที่ ธนาคาร

กลางก็จะรักษาระดับเปาหมายตางๆ ไวไดอยาง

ดีแตถาหากวาอุปสงคของเงินไมคอยจะเชื่อฟง

ดังนั้นจึงสมมติวา เสนอุปสงคของเงินขยับออก

สมมติใหไปอยูตําแหนงที่แสดงโดยเสนสีแดง

M1D1 ซึ่งเราเคยเรียนในบทที่ผานๆ มาแลววา

การขยับนี้อาจเกิดขึ้นไดเพราะวา ผลผลิตสูงขึ้น

หรือระดับราคาสูงขึ้น หรืออาจเกิดขึ้นเนื่องจาก

ประชาชนตันสินใจที่จะถือเงินไวมากขึ้น จะดวย

เหตุผลใดก็ตาม ธนาคารกลางจะไมสามารถ

บรรลุเปาหมายท้ังสองดานที่กําหนดไวได

ถาธนาคารกลางไมทําอะไรเลย การขยับออกไปของเสนอุปสงคของเงิน จะทําใหปริมาณเงินและอัตรา

ดอกเบี้ยสูงขึ้น การแสดงในรูป 10-2 คือดุลยภาพจะเคล่ือนจากจุด E ไปยังจุด A ซึ่งถาเงินอุปสงคของเงินขยับ

ออก คือเปล่ียนจากเสน MoDo เปนเงิน M1D1 และนโยบายการเงินไมเปล่ียนแปลง (ซึ่งก็คือ เสนอุปทานของเงนิจะ

ไมขยับ) ที่จุดดุลยภาพใหม ปริมาณเงินจะเพิ่มเปน 840 ลาน และอัตราดอกเบี้ยจะขยับขึ้นไปอยูที่ระดับรอยละ 7

ประการแรก สมมติวา ธนาคารกลางไดกําหนดเปาหมายของอุปทานเงินไว และไมมีความปรารถนาที่

จะปลอยใหปริมาณเงิน (M) สูงขึ้น ในกรณีนี้ ธนาคารกลางจะตองใช การดําเนินการในตลาดซ้ือคืนแบบหดตัว

(contractionary) เพื่อปองกันไมใหปริมาณเงินสูงขึ้น แตการกระทําดังกลาว จะเปนการผลักดันให r ย่ิงสูงไปอีก

ดังที่แสดงใหเห็นในรูปที่10-2 หลังจากที่เสนอุปสงคของเสนขยับออกไป จุด E ก็จะคงสถานดุลยภาพไมไดอีก

ตอไป ธนาคารจะตองตัดสินใจเลือกจุดดุลยภาพใหม ซึ่งเปนจุดตางๆ ที่อยูบนเสนสีแดง M1D1 ณ จุด W ซึ่งอยู

บนจุดที่อยูบนเสนที่รักษาระดับปริมาณเงินที่ไวที่ 830 พันลาน โดยการผลักใหเสนอุปทานของเงินขยับเขา(มา

ทางซาย) จนกระทั่งเงินอุปทานตัดผานจุด W ธนาคารกลางจะสามารถกําหนดปริมาณเงินไวที่ 830 พันลานบาท

ได แตอัตราดอกเบี้ยจะสูงขึ้นมาก จะไปอยูในระดับรอยละ 9

ทางเลือกอีกทางหน่ึงคือ ถาหากธนาคารกลางตองการจะรักษาเปาหมายทางดานอัตราดอกเบี้ย ซึ่งคือ

ธนาคารกลางคิดวาอาจหรือนาจะหลีกเล่ียงการเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ยได ในกรณีนี้ ธนาคารกลางจะถูกบังคับ

ใหตองใชนโยบายการเงินแบบขยายตัว (Expansionary) เพื่อปองกันไมใหการขยับออกของเสนอุปสงคของเงิน

จะผลักดันใหอัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น เม่ือพิจารณาจากรูปที่ 10-2 เราจะสามารถรักษาระดับอัตราดอกเบี้ยไวที่ระดับ

รอยละ 5 ได โดยการขยับเสนอุปทานของเงินออกไปจนกระท่ังผานจุด Z แตการกระทํานี้ ธนาคารกลางจะตอง

ยินยอมให ปริมาณเงินเพิ่มขึ้นเปน 850 พันลาน ดังนั้นจึงสามารถสรุปการอธิบายไดดังนี้

S

E5

Money in Billions of Dollars

D1

M

รูปที่ 10-2 The Federal Reserve’s Policy Dilemma

7 A

Z

830 850

Money Demand Shift out

D0

9 W

M1

M0

840

For given Fed policy

10%

Page 17: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

บทที่ 10

การโตเถียงกันในเร่ืองของนโยบายการเงิน

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 255

เม่ือเสนอุปสงคของเงินขยับออก ธนาคารกลางจะตองเผชิญกับการสูงขึ้นของอัตราดอกเบี้ย หรือการ

เพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน หรือทั้งสองประการ ธนาคารกลางไมสามารถจะควบคุมทั้งอุปทานของเงินและ

อัตราดอกเบี้ยในเวลาเดียวกัน ถาธนาคารกลางพยายามจะรักษา M ใหคงที่ อัตราดอกเบี้ยจะตอง

สูงขึ้นมาก ในทางตรงขาม ถาธนาคารกลางพยายามท่ีจะรักษาเสถียรภาพของอัตราดอกเบี้ย ปริมาณ

เงินจะตองสูงขึ้น

ทางเลือกที่ไมสมบูรณสองทาง เปนเวลาตอเนื่องกันมาหลายปที่นักเศรษฐศาสตรโตเถียงกันวาธนาคารกลางควรจะทําอยางไรกับการที่ไม

สามารถจะควบคุมทั้งอุปทานของเงินและอัตราดอกเบี้ยไดทั้งสองอยางในเวลาเดียวกัน ธนาคารกลางควรจะยึด

ม่ันกับเปาหมาย การกําหนดอัตราการเติบโต หรือ การเพิ่มขึ้นของอุปทานของเงิน โดยไมคํานึงถึงผลที่จะเกิด

ขึ้นกับอัตราดอกเบี้ย หรือธนาคารกลางควรดําเนินการใหอัตราดอกเบี้ยอยูคงที่ ถึงแมปริมาณเงินจะตองเพิ่มหรือ

ลดลงอยางมากมายก็ตาม หรือ มีทางสายกลางอยางใดอยางหนึ่งที่เหมาะสม เราจะสํารวจประเด็นปญหาท่ี

กลาวถึงนี้กอน หลังจากนั้นจึงจะไปดูวาจริงๆ แลวธนาคารกลางทําอยางไร

ปญหาหลักที่สําคัญของการกําหนดเปาหมายอัตราการเพิ่มของอุปทานของเงินไวคงที่ ก็คือ อุปสงค

ของเงินไมใหความรวมมือ โดยจะไมคอยๆ เพิ่มขึ้น และไมสามารถคาดคะเนได จากเดือนหนึ่งไปยังเดือนหนึ่ง

โดยส่ิงที่เกิดขึ้นจริงๆ คือ อุปสงคของเงินมีลักษณะการเพิ่มที่ไมแนนอน โดยเฉพาะอยางย่ิงในชวงระยะส้ัน ซึ่งจะ

ทําใหการแนะนําใหการควบคุมอุปทานของเงิน ตองเผชิญกับปญหา 2 ประการคือ

1. เกือบจะเปนไปไมที่จะบรรลุเปาหมายที่กําหนด ทั้งนี้เนื่องจากปริมาณเงินที่มีอยูในขณะใด

ขณะหน่ึง ขึ้นอยูกับ “ทั้ง” เสนอุปสงคและอุปทาน การรักษาให M อยูที่ระดับเปาหมาย ในขณะท่ี

อุปสงคของเงินเปล่ียนมากนั้น มีเงื่อนไขที่สําคัญคือ ธนาคารกลางจะตองมีความชํานาญ และ

ความฉลาดมากๆ

2. ดวยเหตุผลที่กลาวถึงขางตน การยึดม่ันกับเปาหมาย การกําหนดปริมาณเงินใหคงที่ อาจนําไปสู

หรืออาจทําใหอัตราดอกเบี้ยแกวงหรือเปล่ียนแปลงมาก ซึ่งอาจเปนการสรางบรรยากาศที่ไม

เหมาะสม ในการตัดสินใจของธุรกิจ

ดวยเหตุผลในทํานองเดียวกัน จะมีการตอตานไมเห็นดวยที่มากกวา กับการเนนกําหนดอัตราดอกเบี้ย

เปาหมาย เพราะการเพิ่มขึ้นของ GDP ตามราคาประจําป (nominal GDP) จะทําใหเสนอุปสงคของเงินขยับออก

(ดังแสดงในรูปที่ 10-2) การที่ธนาคารกลางพิจารณาที่จะรักษาระดับอัตราดอกเบี้ยไวที่ระดับหนึ่งนั้น ธนาคาร

กลางจะตองเพิ่มอุปทานของเงินดวย ในทางตรงกันขามถาหากเกิดการหดตัวของ GDP ตามราคาประจําป

ธนาคารกลางก็มีความจําเปนตองลดอุปทานของเงินลง ทั้งนี้เพื่อรักษาอัตราดอกเบี้ยใหคงที่ ดังนั้นการกําหนด

อัตราดอกเบี้ยใหคงที่ จะทําใหอุปทานของเงนิขยายตัว เพิ่มมากขึ้นเม่ือใดก็ตามที่เศรษฐกิจขยายตัว (boom)

และ ลดลงเม่ือใดก็ตามที่เศรษฐกิจหดตัว ซึ่งการกระทําดังกลาวมีโอกาสมากๆ ที่จะทําใหเกิดความไมมี

เสถียรภาพของเศรษฐกิจ และส่ิงนี้ก็คือจุดสําคัญที่ธนาคารกลางตองการที่จะปองกันไมใหเกิดขึ้น ดังนั้นถา

Page 18: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 256

ธนาคารกลางตองการที่จะควบคุมอัตราดอกเบี้ย ก็ควรจะกําหนดเปาหมายที่ยืดหยุนได แทนที่จะกําหนดใชที่

ระดับใดระดับหนึ่ง

จริงๆ แลวธนาคารกลางทําอะไร ในระยะแรกๆ หลังจากที่สงครามโลกคร้ังที่ 2 ส้ินสุดลงนั้นแนวคิดของเคนสเปนส่ิงที่ยอมรับกันโดยทั่วไป ซึ่ง

แนวคิดดังกลาวช้ีวาเปาหมายในเร่ืองอัตราดอกเบี้ยนั้นเปนเร่ืองที่มีความสําคัญกวาเปาหมายดานปริมาณเงิน/

อุปทานของเงิน เหตุผลคือการเปล่ียนแปลง หรือ ความไมแนนอนของอัตราดอกเบ้ีย จะทําใหการลงทุนสะดุด ซึ่ง

จะเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเศรษฐกิจโดยรวมไมมีเสถียรภาพ ดังนั้นจึงมีความเชื่อวา การรักษาหรือทําใหอัตรา

ดอกเบี้ยไมเปล่ียนแปลงมากเปนวิธีที่ดีที่สุดที่จะทําให GDP มีเสถียรภาพ ถาการกระทําดังกลาวจําเปนตองทําให

อุปทานของเงินเปล่ียนแปลงมากบาง นอยบาง ก็ตองยอม และการกระทําที่เกิดขึ้นในขณะนั้นคือ ธนาคารกลาง

เนนการควบคุมอัตราดอกเบี้ยโดยไมใหความสนใจเทาไรกับอุปทานของเงิน

ในทศวรรษ 2003 ศาสตราจารย Milton Friedman และนักเศรษฐศาสตรสายการเงินตางๆ

(monetarists) ไดโจมตีแนวคิดดังกลาว และกลาววาการกระทําของธนาคารกลางเพื่อจะรักษาอัตราดอกเบี้ย

ความจริงแลวทําใหเศรษฐกิจไมมีเสถียรภาพ ซึ่งเกิดจากการที่อุปทานของเงินเปล่ียนแปลงบอย/มาก เกินไป

แนวคิดของนักเศรษฐศาสตรสายการเงินนั้นงายๆ คือ ธนาคารกลางควรหยุดกังวลกับการเปล่ียนแปลงของอัตรา

ดอกเบี้ย และใหอุปทานของเงินเติบโตในอัตราท่ีคงที่จากเดือนหน่ึงไปเดือนตอไปและจากปหนึ่งไปยังอีกปหนึ่ง

แนวคิดสายการเงิน เร่ิมไดรับการยอมรับในธนาคารกลางในชวงที่เกิดภาวะเงินเฟอ ในชวงทศวรรษ

2513 ในระยะแรกๆ ของทศวรรษ ธนาคารกลางเร่ิมรักษาระดับอุปทานของเงินมากขึ้นกวาที่เคยทํามาในอดีต

(ซึ่งไมไดใหความสนใจ) และที่สําคัญกวา คือในเดือนตุลาคม 2522 ประธานธนาคารกลางในขณะน้ัน ซึ่งไดแก

นาย Paul Volcker ไดประกาศเปล่ียนแปลงวิธีการดําเนินการนโยบายการเงิน คือ ต้ังแตเดือนดังกลาวเปนตนมา

เขาประกาศวา ธนาคารกลางจะยึดอยูกับเปาหมายอัตรา

การเติบโตของปริมาณเงินโดยไมสนใจวา ผลที่เกิดกับอัรา

ดอกเบี้ยจะเปนอยางไร อัตราดอกเบี้ยจะอยูที่ระดับไหนให

ขึ้นอยูกับอุปสงค และอุปทานในขณะน้ันๆ

การวิเคราะหของเรามาถึงจุดนี้ บงวาการ

เปล่ียนแปลงนโยบายของธนาคารกลางดังกลาว จะทําให

อัตราดอกเบี้ยเคล่ือนไหวเปล่ียนแปลงมาก และก็เกิดขึ้น

จริง แตโชครายที่ธนาคารกลางตองเผชิญกับส่ิงที่ไมเคย

คาดคิดไวกอน ในชวงระยะเวลา 3 ป ของการดําเนิน

นโยบายดังกลาว นั่นคืออเมริกาตองพบกับการแปรปรวนท่ี

ผิดปกติของอุปสงคของเงิน นอกจากนั้นการเปล่ียนแปลง

ขึ้นลงของอัตราดอกเบี้ยก็รุนแรงกวาที่ทุกคนเคยคาดคิดไว

รูปที่ 10-3 แสดงใหเห็นวาอัตราดอกเบี้ยมีความออนไหวอยางไร ในระหวางชวงหลังๆ ของป 2522 จนถึงชวง

หลังของป 2525 ซึ่งก็จะทําใหทานสามารถจินตนาการไดวา ปรากฎการณนี้ทําใหเกิดการวิพากยวิจารณ การ

ดําเนินงานของธนาคารกลางอยางรุนแรง

รูปที่ 10-3 The Behavior of Interest Rates,1979-1985

ที่มา: Baumol and Blinder. 2000

Page 19: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

บทที่ 10

การโตเถียงกันในเร่ืองของนโยบายการเงิน

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 257

และในเดือนตุลาคม 2525 นาย Volcker ประธานธนาคารกลาง ไดประกาศวาธนาคารกลางจะเลิกใช

ความพยายามท่ีจะยึดติดอยูกับเปาหมายการกําหนดอัตราการเติบโตของอุปทานของเงินเปนการช่ัวคราว

ถึงแมวาเขาจะไมไดกลาวออกมาตรงๆ แตการประกาศของเขาก็ทําใหสามารถสันนิษฐานไดวา ธนาคารกลางจะ

เร่ิมตนใหความสนใจกับการกําหนดอัตราดอกเบ้ียเปาหมายอีกคร้ังหนึ่ง ซึ่งเราสามารถเห็นไดจากรูปที่ 10-3

เชนกันวา อัตราดอกเบี้ยมีความเสถียร หรือไมคอยแปล่ียนแปลงมากหลังจากที่มีการเร่ิมใชนโยบายดังกลาว

และผูที่เฝาติดตามดูสวนมากระบุวา การเคล่ือนไหวของอัตราดอกเบี้ยที่ลดลงนั้นไมใชเร่ืองบังเอิญ

หลังจากป 2525 ธนาคารกลางก็คอยๆ กําหนดนโยบายของตนออกหางจากการกําหนดใหอุปทานของ

เงินเติบโตในอัตราคงที่เร่ือยๆ ในที่สุดในป 2537 นาย Alan Greenspan ไดออกมายืนยันอยางเปนทางการ ซึ่ง

หลายคนทราบกันดีแลววาธนาคารกลางจะเลิกใชการควบคุมอุปทานของเงิน ประเภทตางๆ เปนแนวทางในการ

กําหนดนโยบาย เขาไดบอกเปนนัยๆ อยางชัดเจนวา ธนาคารกลางจะใชการกําหนดอัตราดอกเบี้ย โดยเฉพาะ

อยางย่ิง อัตราดอกเบี้ยที่แทจริง (real interest rate) แทนและมีการกลาวเปนนัยๆ ซ้ําอีกหลายคร้ังต้ังแตนั้นมา

อันที่จริงแลวธนาคารกลางมีทางเลือกไมมากนั้น ทั้งนี้เพราะเสนอุปสงคของเงิน เคล่ือนไหวผิดปกติ และไม

สามารถคาดได ทั้งในชวงทศวรรษ 2523 และ 2533 ซึ่งจะทําใหปริมาณเงินมีเสถียรภาพนั้น เปนส่ิงที่เกือบจะทํา

ไมไดเลย หรือ ไมเปนส่ิงที่พึงปราถนาเลย ซึ่งสถานการณจะเปนเชนนี้ตอไปหรือไม ก็เปนส่ิงที่แตละคนจะตองเดา

กันเอง แตจนถึงกระทั่งประมาณป 2543 แลว ธนาคารกลางก็ยังไมแสดงความสนใจที่จะกลับไปใชนโยบายการ

ควบคุมอุปทานของเงิน

การโตเถียง : รูปรางของเสนอุปทานรวม

การโตเถียงในเร่ืองนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพ มีอีกประเด็นที่ยังโตเถียงกันอยูคือ เร่ืองรูปรางของเสน

อุปทานรวมของเศรษฐกิจ/ของประเทศ นักเศรษฐศาสตรหลายคนคิดวา เสนอุปทานรวมนั้น คอนขางจะแบนราบ

ตัวที่แสดงในรูปที่ 10-4 (a) ซึ่งหมายถึงวาสามารถจะเพิ่มผลผลิตไดเปนจํานวนมากโดยทําใหเกิดเงินเฟอขึ้นเพียง

เล็กนอย แตมีนักเศรษฐศาสตรอีกจํานวนหนึ่งมองวา เสนอุปทานรวมนั้นมีความลาดชนัมาก ดังที่แสดงในรูปที่

10-4 (b) ดังนั้น ราคาจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วเม่ือผลผลิตเพิ่มขึ้น ซึ่งความคิดเห็นที่แตกตางกันนี้เปนเร่ืองที่สําคัญ

เม่ือจะนํามาใชในการกําหนดนโยบาย

Page 20: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 258

ถาเสนอุปทานรวมแบนราบ การใชนโยบายการคลังหรือการเงินแบบขยายตัว ซึ่งจะทําใหเสนอุปสงค

รวมขยับสูงขึ้นนั้นสามารถจะทําให GDP ที่แทจริงเพิ่มขึ้นไดเปนจํานวนมาก โดยที่ทําใหหรือตองยอมใหเกิด

ภาวะเงินเฟอขึ้นเล็กนอย ในรูปที่ 10-5 (a) การกระตุนอุปสงค จะผลักดันใหเสนอุปสงครวมขยับออก/เพิ่มขึ้น

จากเสน D0D0 เปนเสน D1D1 ซึ่งจะทําใหจุดดุลยภาพของเศรษฐกิจเคล่ือนจากจุด E ไปยังจุด A ผลผลิตจะ

เพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก (ในรูปคือ 400 พันลาน) ในขณะท่ีเงินเฟอจะเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอย (รอยละ 1) ซึ่งจะทําให

การดําเนินนโยบายเพื่อตอตานเศรษฐกิจตกต่ํา/หดตัวเกิดเปนผลสําเร็จ

อยางไรก็ตาม เม่ือเสนอุปทานรวมแบนราบ การใชนโยบายการรักษาเสถียรภาพ ก็จะเปนนโยบายที่ไม

มีประสิทธิผลที่จะดึงใหอัตราเงินเฟอลดลง ซึ่งผลที่จะเกิดขึ้นคือผลผลิตที่แทจริงจะลดลงมาก ตัวที่แสดงในรูปที่

10-5(b) จะเห็นไดวาการขยับมาทางซายของเสนอุปสงครวมจาก เสน D0D0 เปน D2D2 ทําใหจุดดุลยภาพเคล่ือน

จากจุด E ไปยังจุด B ทําให GDP ที่แทจริงลดลงถึง 400 พันลาน แตทําใหระดับราคาลดลงเพียงรอยละ 1 ดังนั้น

ถาหากเสนอุปทานรวมมีลักษณะแบนราบ การตอสูเพื่อลดอัตราเงินเฟอ โดยการทําใหอุปสงครวมหดตัว เปน

ตนทุนที่ตองจายแพงมาก

ส่ิงตางๆ จะเปนไปในทางตรงกันขาม ถาเสนอุปทานรวมลาดชัน ในกรณีนี้ การใชนโยบายการคลังหรือ

การเงินแบบขยายตัวจะมีผลตอเงินเฟอมาก โดยท่ีจะไมทําให GDP ที่แทจริงเพิ่มขึ้นเทาไร ดังที่แสดงในรูปที่ 10-

6 (a) ซึ่ง การใชนโยบายแบบขยายตัวจะขยับเสนอุปสงครวมออกไป จากเสน D0D0 เปน D1D1 และจะขยับจุด

ดุลยภาพจากจุด E ไปยังจุด A ผลผลิตจะเพิ่มขึ้นเพียง 100 พันลาน แตราคาตางๆ จะสูงขึ้นถึงรอยละ 10

ในทํานองเดียวกันการใชนโยบายแบบหดตัว จะทําใหระดับราคาลดลงมาก โดยผลผลิตไมตองลดมาก

ซึ่งจะเห็นไดจากการเคล่ือนของจุดดุลยภาพจากจุด E ไปยังจุด B ในรูปที่ 10-6 (b) ในกรณีนี้เรายอมสูญเสีย

ผลผลิตเพียง 100 พันลาน แตจะ “ซื้อ” หรือลดเงินเฟอไดถึงรอยละ 10

ดังนั้นการพิจารณาวาเสนอุปทานรวมเปนเสนที่มีความลาดชันมาก หรือเปนเสนที่แบนราบ จึงเปนส่ิงมี

ความสําคัญมาก ตอการใชนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพที่เหมาะสม ถาเสนอุปทานรวมแบนราบ นโยบายการ

รักษาเสถียรภาพแบบขยายตัว จะมีประสิทธิผลในการใชตอสูกับภาวะเศรษฐกิจหดตัว (recession) มากกวาใช

ตอสูกับภาวะเงินเฟอ แตถาเสนอุปทานรวมลาดชันมาก การใชนโยบายเพื่อตอสูกับเงินเฟอจะมีประสิทธิผลมาก

Page 21: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

บทที่ 10

การโตเถียงกันในเร่ืองของนโยบายการเงิน

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 259

แตทําไมการโตเถียงจึงยังคงปรากฏอยู ทําไมนักเศรษฐศาสตรจึงไมศึกษาและระบุรูปรางของเสน

อุปทานรวมออกมาใหชัดเจนและเลิกโตเถียงกันเสียที คําตอบคือการระบุเสนอุปทานรวมในโลกของความจริงนั้น

ยุงยากกวาที่เราเขียนในรูปมาก อุตสาหกรรมบางประเภทมีเสนอุปทานท่ีแบนราบ ในขณะท่ีอุตสาหกรรม

ประเภทอื่นๆ อาจมีเสนอุปทานที่ลาดชัน นอกจากนั้นดังที่กลาวถึงในบทที่ 6 วาเสนอุปทานรวมขยับอยู

ตลอดเวลา และไมเหมือนการทดลองของนักวิทยาศาสตร ในโลกของความเปนจริง นักเศรษฐศาสตรไมสามาถ

ควบคุมตัวแปรตาง เพื่อจะหารูปรางของเสนอุปทานออกมาใหชัดเจนได นักเศรษฐศาสตรตองใชวิชาการทางดาน

คณิตศาสตรและสถิติศาสตร และทําการคาดเดาโดยอยูบนพื้นฐานของวิชาการ

ถึงแมวาการคนควาวิจัยยังคงดําเนินตอไปเร่ือย แตความเขาใจของเราเก่ียวกับเสนอุปทานรวมกันยัง

นอยกวา ความรูความเขาใจที่มีกับเสนอุปสงครวม อยางไรก็ตาม นักเศรษฐศาสตรจํานวนมากเช่ือวา ความรูที่

เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไป คอยๆ เร่ิมปรากฏใหเห็นแลว ความเห็น/แนวคิด ที่ยอมรับในปจจุบัน คือ “ความลาด

ชันของเสนอุปทานรวมนั้น ขึ้นอยูกับชวงเวลาที่พิจารณา”

ในชวงระยะเวลาท่ีส้ันมากๆ เสนอุปทานรวมจะเปนเสนที่แบนราบ ซึ่งจะทําใหรูปที่ 10-5 เปนรูปที่

เหมาะสมที่ใชเปนตัวแทนของความเปนจริง เพราะฉะนั้นในชวงระยะเวลาส้ัน การเปล่ียนแปลงของอุปสงครวม

จะมีผลทางดานผลผลิตมากแตจะมีผลเล็กนอยตอราคา อยางไรก็ตามในระยะยาวแลว เสนอุปทานรวม จะลาด

ชันมากๆ หรือบางทีอาจจะเปนเสนต้ัง(ฉาก) เลยก็ไดในกรณีนี้รูปที่ 10-6 จะเปนตัวแทนที่ดีของความเปนจริง

ดังนั้นการเปล่ียนแปลงของอุปสงครวมจะมีผลกระทบตอราคา ไมใชผลผลิต ดังนั้นจากความรูนี้จะกลาวไดวา

การเปล่ียนแปลงใดๆ ก็ตามของอุปสงครวม จะมีผลตอ “ผลผลิต” ในชวงระยะส้ัน แตจะมีผลตอ

“ราคา” ในระยะยาว

Pric

e Le

vel

Pric

e Le

vel

Page 22: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 260

การโตเถียง : รัฐบาลควรแทรกแซงหรือไม

เราถึงสวนที่อาจกลาวไดวาเปนเร่ืองพื้นฐานที่สุดและโตเถียงกันมากท่ีสุด ซึ่งเปนเร่ืองที่เปนประเด็นที่

กลาวถึงในตอนตนของบท คือ เปนไปไดมากนอยแคไหนที่นโยบายของรัฐบาลจะสามารถรักษาเสถียรภาพของ

เศรษฐกิจไดสําเร็จจริง หรือความพยายามของความต้ังใจทําดี ดูเหมือนจะทําใหเกิดผลเสีย ซึ่งหมายถึงวานาจะ

เปนส่ิงที่ดีกวาหรือไม ที่จะทําตามกฎระเบียบที่กําหนดไวแลว

การโตเถียงดังกลาวเกิดมีมาเปนเวลาหลายทศวรรษแลว และดูเหมือนวายังมองไมเห็นการส้ินสุดใน

อนาคตอันใกลนี้ การโตเถียงนี้บางสวนเปนเร่ืองทางการเมือง บางสวนก็เปนเร่ืองทางปรัชญา ทั้งนี้เพราะนัก

เศรษฐศาสตรตางๆ ก็เปนเหมือนกับคนอื่นๆ ทั่วไป คือมีทั้งกลุมเสรีนิยม(liberal) และกลุมอนุรักษนิยม

(conservative) นักเศรษฐศาสตรสายเสรีนิยมมีแนวโนมมีจิตใจ ความคิด ความเห็นที่ชอบใหแทรกแซง ดังนั้นนัก

เศรษฐศาสตรกลุมนี้จึงมีความพอใจมากกวาในการที่จะใชนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพตามท่ีเห็นควร

(discretionary stabilization policy) สวนนักเศรษฐศาสตรสายอนุรักษนิยม มีความพึงพอใจมากกวาที่จะไมให

รัฐบาลเขาไปแตะตองยุงเก่ียวกับเศรษฐกิจ ดังนั้นจึงมักแนะนําใหรัฐบาลปฏิบัติตามกฎ ระเบียบที่ไดกําหนดไว

แลว(fixed rules) ความแตกตางระหวางสองกลุมนี้ ถาเปนนักการเมืองก็คงจะไมเปนที่แปลกประหลาดแตอยาง

ใด แตการโตเถียงกันของนักเศรษฐศาสตรนั้น เปนเร่ืองที่มากกวาแนวคิดที่แตกตางกัน ลัทธิที่แตกตางกัน เรามี

ความจําเปนที่จะตองเขาใจเศรษฐศาสตร

การวิพากษวิจารณนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพไดชี้ไปที่ความลาชา และความไมแนนอน(lags and

uncertainties) ที่เกิดขึ้นจากการใชนโยบาย ทั้งนโยบายการเงินและนโยบายการคลัง ซึ่งเปนความลาชาและ

ความไมแนนอนตางๆ ที่เราไดเนนยํ้าแลวยํ้าอีก ในบทนี้และบทอื่นๆ กอนหนานี้ เชนการกระทําของธนาคารกลาง

จะทําใหเกิดผลตออุปทานของเงินตามที่ตองการหรือไม หรือการกระทําตางๆ ของธนาคารกลาง จะทําใหเกิดผล

อะไรกับอัตราดอกเบี้ย และการใชจาย หรือ การใชนโยบายการคลังสามารถทําไดโดยรวดเร็วหรือไม หรือขนาด

คาตัวคูณของคาใชจายนั้นมากนอยแคไหน คําถามตางๆ เหลานี้สามารถเขียนตอไปไดอีกมากมาย

พวกเขามองถึงความยุงยาก ความไมแนนอนตางๆ เหลานี้ นอกจากนั้นยังมีความสงสัยเก่ียวกับ

ความสามารถของเราที่จะสามารถพยากรณสถานการณเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นในอนาคต(ซึ่งจะกลาวถึงภายหลัง)

และมีความวิตกกังวลวา นโยบายการรักษาเสถียรภาพนั้นอาจทําใหเกิดผลรายมากกวาผลดี กลุมนัก

เศรษฐศาสตรที่มีความสงสัยนี้จึงแนะนําใหผูที่มีหนาที่ที่ใชนโยบายการเงิน และนโยบายการคลัง ใชนโยบาย

แบบไมทําอะไร หรือใชเม่ือเกิดเหตุการณแลว (passive) มากกวาการใชแบบแข็งขัน หรือใชบนพื้นฐานของการ

คาดการณ (active) กลาวคือใหยึดม่ันกับกฎ ระเบียบที่กําหนดไวแลว ถึงแมวาจะไมสามารถลดขนาดการแกวง

ไกวของเศรษฐกิจลง แตก็นาจะทําใหเศรษฐกิจอยูในชองทาง หรือแนวทางที่ควรจะเปนในระยะยาว

กลุมผูที่สนับสนุนใหใชนโยบายการรักษาเสถียรภาพอยางแข็งขนั ยอมรับวาการจะใหทุกส่ิงทุกอยาง

ถูกตองสมบูรณทั้งหมดนั้น เปนส่ิงที่เปนไปไมได แต พวกเขามองในแงดีวาโอกาสท่ีจะเกิดผลสําเร็จนั้นเปนไปได

สูง และในทางตรงกันขามก็มองวาการจะใหเศรษฐกิจคอยๆ เติบโตอยางเรียบรอยโดยปราศจากการจัดการ

ทางดานอุปสงคนั้นเปนส่ิงที่ไมนาจะเปนไปได ดังนั้นพวกเขาจึงสนับสนุนการใชนโยบายที่ตัดสินใจใช / ใหมี การ

เพิ่มการใชจายของรัฐบาล(หรือการลดภาษี) และการลดอัตราดอกเบี้ย เม่ือเศรษฐกิจเกิดมีชองวางเศรษฐกิจ

ตกตํ่า (recessionary gap) เขาทั้งหลายเช่ือวานโยบายตางๆ นั้น ทําใหเศรษฐกิจเติบโตอยู ณ ระดับที่ใกลกับ

การจางงานเต็มที่ได

Page 23: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

บทที่ 10

การโตเถียงกันในเร่ืองของนโยบายการเงิน

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 261

โดยธรรมชาติแลว แตละคายสามารถชี้ถึงหลักฐานที่แสดงถึงความสําเร็จของแนวคิดของพวกตนได

พวกที่สนับสนุนการตัดสินใจใชนโยบายตางๆ อยางแข็งขัน ก็จะกลาวอางอยางภาคภูมิวา การลดภาษีในป 2507

ที่พวกตนมีสวนชวยผลักดันไดทําใหเศรษฐกิจเติบโตอยางตอเนื่องในชวงเวลาหน่ึง และช้ีตอไปอีกวาการลดภาษี

ในป 2518 ซึ่งนํามาใชในชวงที่เศรษฐกิจที่ตกตํ่าอยางรุนแรง อยูในชวงเวลาที่ตกตํ่าที่สุด(trough) ในรอบวัฏจักร

ธุรกิจขณะนั้นก็ไดผลดี หรือการที่ธนาคารกลางเปล่ียนมาใชนโยบายการเงินแบบขยายตัวในป 2525 และ

โดยเฉพาะอยางย่ิงการที่ผูเช่ียวชาญของธนาคารกลาง ไดดําเนินการใชนโยบายตางๆ เพื่อปรับทิศทางของ

เศรษฐกิจเร่ือยมาต้ังแตป 2535 นั้นเปนตัวอยางที่สนับสนุนแนวคิดของพวกตน ในขณะท่ีนักเศรษฐศาสตรกลุมที่

ไมชอบใหมีการแทรกแซง ชอบใหทําตามกฎที่กําหนดไว ก็จะช้ีถึงความลมเหลวของการแทรกแซง และไมปฏิบัติ

ตามกฎ เชนกรณีที่รัฐบาลปฏิเสธท่ีจะลดการใชจายในชวงสงครามเวียดนามในชวงป 2509-2511 ซึ่งทําใหอุป

สงครวมของเศรษฐกิจสูงขึ้นมากๆ หรือการใชนโยบายการเงินที่ทําใหเกิดเศรษฐกิจตกตํ่าอยางรุนแรงในป 2524-

2525 หรือการใชนโยบายตอตานภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าที่ไมเพียงพอในชวงระยะแรกๆ ของทศวรรษ 2533

จะเห็นไดวาขอมูลตางๆท่ีเปนประวัติศาสตรของการใชนโยบายการเงินและนโยบายการคลังนั้นเปน

ภาพที่ไมสวยงามนัก ขอมูลชี้ใหเห็นวาถึงแมวามีหลายคร้ังที่รัฐบาลและธนาคารกลาง ตัดสินใจใชนโยบายที่

เหมาะสมในชวงเวลาที่ถูกตองเพื่อรักษาเสถียรภาพของเศรษฐกิจไดเปนอยางดี แตก็มีหลายคร้ังที่ใชผิดนโยบาย

หรือผิดจังหวะ หรือบางครั้งก็ไมทําอะไรเลย ดังนั้นคําถามที่วารัฐบาลควรยอมรับนโยบายการปฏิบัติตามกฎ หรือ

จะแทรกแซงเพื่อรักษาเสถียรภาพอยางแข็งขัน จึงเปนส่ิงที่ควรติดตามอยางใกลชิดตอไป และดังที่เราจะไดเห็น

กันตอไปวา ความลาชาของการเกิดผลของการใชนโยบาย ซึ่งเคยกลาวถึงแลวในตอนตนๆ ของบทนี้จะเปนตัว

แปร หรือปจจัยที่สําคัญของการโตเถียง

ความลาชาและการโตเถียงในเรื่องการปฏิบัติตามกฎหรือการใชนโยบายแทรกแซง เหตุผลหลักที่อธิบายวาเหตุใดความลาชาจึงนําไปสูความยุงยากพ้ืนฐานของการใชนโยบายเพื่อรักษา

เสถียรภาพ-ซึ่งเปนความยุงยากที่ยากจะหลีกเล่ียงได และเปนส่ิงที่ชักนําใหนักเศรษฐศาสตรบางคนสรุปวา

ความพยายามท่ีจะรักษาเสถียรภาพของกิจกรรมทางเศรษฐกิจเปนส่ิงที่จะทําใหเกิดผลรายมากกวาผลดี-

สามารถพิจารณาไดจากรูปที่ 10-7 ซึ่งมีเสนสองเสนเสน

หนึ่งแสดงถึง GDP ตามศักยภาพและอีกเสนหนึ่งเปน

GDP ที่เกิดขึ้นจริงๆ เสนทั้งสองแสดงถึงพฤติกรรมของ

GDP ตามศักยภาพ และ GDP ที่เกิดขึ้นจริงๆ เม่ือเกิด

มีวัฏจักรธุรกิจ (a business cycle) ในสถานการณ ที่ไม

มีการใชนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพ ณ จุด A เปนจุดที่

เศรษฐกิจเร่ิมเขาสูภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า/ถดถอย และจะ

ยังไมพื้นตัวเขาสูภาวะการจางงานเต็มที่จนกวาจะถึงจุด

D และระหวางจุด D และ E เปนชวงที่ระดับ GDP ที่

แทจริง สูงกวา GDP ตามศักยภาพ ซึ่งเปนชวงที่

เศรษฐกิจบูมและเกิดภาวะเงินเฟอ

Page 24: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 262

กรณีการใชนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพ จะมีลักษณะดังนี้คือ ผูกําหนดนโยบาย(policymakers) จะ

เร่ิมตระหนักวาภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าจะเปนปญหาที่รายแรงท่ีจุด B และจะเร่ิมใชมาตรการที่เหมาะสม มาตรการ

ตางๆ นั้นจะเร่ิมมีประสิทธิผลที่จุด C ซึ่งจะเปนการลดความรุนแรง และชวงเวลาของภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า

แตถาสมมติวา หากมีความลาชา(lags) หรือชวงเวลาที่กวามาตรการจะแสดงผลนั้นยาวนานกวาที่คาด

ไว(ที่จุด C) และไมสามารถพยากรณไดแนนอนตัวอยางเชน มาตรการตางๆ ที่กะวาจะดําเนินการที่จุด B นั้น กวา

จะดําเนินการไดจริงระยะเวลาก็ลวงเลยมาท่ีจุด C แลว และผลของมาตรการกวาจะเกิดขึ้นก็เลยจุด D ไปแลว

(แทนที่จะเปนจุด C) ถาเปนดังนี้ นโยบายและมาตรการตางๆ นั้น จะไมไดชวยแกปญหาเศรษฐกิจตกตํ่าเทาใด

เลย และในทางตรงกันขาม จะเปนการกระตุนเศรษฐกิจมากเกินไปในชวงเศรษฐกิจบูมที่จะเกิดตามมา ซึ่งจะเปน

ผลเสีย ดังนั้น

ในกรณีที่ความลาชา (ชวงเวลากวามาตรการตางๆ จะเกิดผล) ยาวนานมาก ความพยายามที่จะรักษา

เสถียรภาพของเศรษฐกิจนั้น อาจทําใหเกิดเศรษฐกิจไมมีเสถียรภาพมากขึ้น

ดวยเหตุนี้เศรษฐศาสตรบางคนจึงใหความเห็นวา นาจะเปนส่ิงที่ดีกวาที่จะใหเศรษฐกิจปรับตัวแกไข

ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า และภาวะเงินเฟอ ดวยตัวเองตามธรรมชาติ (natural self-corrective forces) แทนที่จะใช

มาตรการตางๆ ของนโยบายการเงินและนโยบายการคลังในชวงเวลาตางๆ เพื่อกระตุน หรือลด กิจกรรมทาง

เศรษฐกิจ นักเศรษฐศาสตรเหลานั้นแนะนําผูกําหนดนโยบายตางๆ วา ควรยึดม่ันอยูกับกฏที่กําหนดไวแนนอน

หรือ สูตรที่กําหนดไวแนนอน โดยไมตองใหความสนใจกับเหตุการณทางเศรษฐกิจที่เปนอยู ณ ขณะปจจุบันนั้นๆ

ในกรณีของนโยบายการเงิน เราไดกลาวถึงกฏท่ีกําหนดไวแนนอนของนโยบายการเงินที่นัก

เศรษฐศาสตรดานการเงินระบุไวไปแลวขางตน คือ ธนาคารกลางควรดําเนินการโดยใหอุปทานของเงินขยายตัว

ในอัตราคงท่ี สวนในกรณีของนโยบายการคลัง นักเศรษฐศาสตรที่เสนอใหใชกฏที่กําหนดไวแนนอนเสนอวา

รัฐบาลควรจะยับย้ังความพยายาม/ความต้ังใจที่จะใชมาตราการเพื่อควบคุม อุปสงครวมในเชิงรุก และใหยึดม่ัน

ที่จะใหหรือปลอยให ส่ิงที่จะรักษาเสถียรภาพโดยอัตโนมัติ(the economy automate stabilizers) ที่เคยกลาวถึง

ในบทที่ 7 นั้นแลว ทํางาน

การโตเถียงในแงมุมตางๆ เกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎที่กําหนดไวแนนอนและการใชมาตรการตางๆ

ในเชิงรุก (ใชเมื่อพิจารณาเห็นวาควรจะตองใช)

การวิพากษวิจารณตางๆ นั้นเปนส่ิงที่ถูกตองหรือไม เราควรจะลืมเร่ืองที่ใชมาตรการในเชิงรุก และ

ปลอยใหเคร่ืองปรับตัวโดยอัตโนมัติ ปลอยให automatic stabilizers หรือกลไกการปรับตัวดวยตัวเองตาม

ธรรมชาติของเศรษฐกิจทํางานหรือไม คําตอบจะเปนเหมือนเร่ืองอื่นๆ คือ คําตอบนั้นขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ

จํานวนมาก คือ

Page 25: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

บทที่ 10

การโตเถียงกันในเร่ืองของนโยบายการเงิน

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 263

กลไกการปรับตัวดวยตัวเองของเศรษฐกิจนั้นทํางานเร็วเพียงใด

เราไดเนนในบทท่ี 6 แลววา เศรษฐกิจมีกลไกการปรับตัวดวยตัวเอง ภาวะเศรษฐกิจตกต่ําและภาวะเงินเฟอ

สามารถจะถูกกําจัดใหหมดไปดวยตัวเอง การแทรกแซงของรัฐบาลและธนาคารกลาง ก็จะไมมีความจําเปน

เทาใด ถาปญหาภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า หรือการเกิดภาวะเงินเฟอเกิดขึ้นเปนชวงระยะเวลาไมนานนัก ก็จะ

หมายความวาผลของการแทรกแซงในการใชนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพนั้น จะเกิดผล เม่ือปญหาตางๆ จบลง

หรือผานพนไปแลว ถาจะอางอิงถึงรูปที่ 10-7 ก็คือกรณีที่จุด D อยูไมหางจากจุด A เทาใดนัก

ถึงแมวาผูที่สนับสนุนการใชกฎที่แนนอนตายตัวอยางสุดขั้ว กลาวอางวา ส่ิงนี้คือสถานการณที่เกิดขึ้น

จริง แตนักเศรษฐศาสตรสวนมากกลับมีความเห็นวากลไกการปรับตัวดวยตัวเองของเศรษฐกิจนั้น ทํางานชา

และนอกจากนั้นยังเช่ือถือไมคอยจะได (ยังไมแนนอนวาจะปรับตัวเองได) ถึงแมวาจะมีการปรับตัวโดยอัตโนมัติ

(automatic stabilizers) ทํางานรวมอยูดวยก็ตาม ดังนั้นถาเปนตามความเห็นนี้ การใชนโยบายและมาตรการ

ตางๆ แทรกแซงดูจะเปนส่ิงที่ถูกตอง

ความลาชาของนโยบายเพ่ือรักษาเสถียรภาพนั้นยาวนานเทาไร เราเพิ่งอธิบายถึงขางตนนี้วา ความลาชาที่ยาวนานและไมสามารถพยากรณไดในการกําหนดและดําเนินการ

มาตรการเพื่อรักษาเสถียรภาพน้ัน จะไมทําใหเกิดผลดีกับการรักษาเสถียรภาพ ซึ่งหมายความวา ถาความลาชา

นั้นไมยาวนานนักและสามารถพยากรณไดแลวจะใหผลดีกวา ดังนั้นผูที่สนับสนุนการใชกฎที่แนนอนตายตัว จึง

ยํ้าเตือนถึงชวงระยะเวลาของความลาชาอยูเปนประจํา ในขณะท่ีผูที่เสนอใชนโยบายในเชิงรุก ไมใหความสําคัญ

กับความลาชาเทาไร

ใครเปนฝายถูก คําตอบคือขึ้นอยูกับตัวแปรหรือส่ิงตางๆ บางคร้ังผูกําหนดนโยบายใชมาตรการอยาง

รวดเร็วทันทีทันใด และเศรษฐกิจก็ไดรับผลจากการกระตุนของการใชนโยบายแบบขยายตัวเปนจํานวนมาก

ภายในชวงระยะเวลาเพียงไมถึง 1 ป หลังจากที่เศรษฐกิจเร่ิมแสดงภาวะการถดถอย ถึงแมผลของนโยบายจะไม

สมบูรณเสียทั้งหมด แตการดําเนินการที่ทันกับเวลานั้น แนนอนวาจะทําใหเกิดผลดีไดบาง อยางไรก็ตาม ตามท่ี

เราเคยมีประสบการณไดเห็นมา การใชมาตรการตางๆ อยางเชื่องชานั้น อาจทําใหความไมมีเสถียรภาพเกิดขึ้น

ได เพราะวาประวัติศาสตรมีตัวอยางที่แสดงใหเราเห็นไดวา อาจเกิดสถานการณไดทั้งสองทาง ดังนั้นเราจึงไม

สามารถใหขอสรุปโดยทั่วไปได

การพยากรณสถานการณทางเศรษฐกิจนั้นมถูีกตองแคไหน มีอยูทางหน่ึงที่เราสามารถจะลดความลาชาของนโยบายการรักษาเสถียรภาพไดอยางมาก คือการพยากรณ

เหตุการณทางเศรษฐกิจอยางถูกตอง ถาเรามองเห็นวาจะเกิดเศรษฐกิจถดถอยแนๆ ในอีก 1 ป ขางหนานี้ (ซึ่งใน

ความเปนจริงแลวเปนส่ิงที่ไมสามารถทําได) ถึงแมวา การนํานโยบาย/มาตรการเพื่อรักษาเสถียรภาพออกมาใช

เปนไปอยางเชื่องชา ก็จะยังเปนการดําเนินการท่ีทันเวลา เม่ือพิจารณาโดยใชรูปที่ 10-7 เหตุการณที่กลาวถึงนี้

คือ การที่เราสามารถพยากรณไดวาจะเกิดเศรษฐกิจถดถอยเปนระยะเวลานานกอนถึงจุด A

Page 26: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 264

เปนชวงระยะเวลาที่ยาวนานมากแลวที่นักเศรษฐศาสตรในมหาวิทยาลัย หนวยงานราชการ และ

หนวยงานเอกชนตางๆ ไดพัฒนาเทคนิคตางๆ ขึ้นมาเพื่อชวยในการพยากรณสถานการณเศรษฐกิจในอนาคต

แตยังไมมีเทคนิคใดเลยที่มีความถูกตองมากๆ ตัวอยางของความคลาดเคล่ือนในการพยากรณอัตราเงินเฟอ หรือ

อัตราการขยายตัวของ GDP ที่แทจริง ที่จะเกิดในอีก 1 ปขางหนา ที่ทําไดในขณะปจจุบันนี้นั้น โดยปกติมักจะมี

ความคลาดเคล่ือน บวกหรือลบ รอยละ 43 ถึง 1 และในบางปการพยากรณแยมากๆ การคลาดเคล่ือนรอยละ

2 ถึง 3 นั้นเปนเร่ืองปกติ

ผลการพยากรณที่เราไดเรียนรูนั้นดีเพียงพอหรือไม คําตอบคือขึ้นอยูกับวาการพยากรณนั้นถูกนําไปใช

อยางไร แนนอนวาผลการพยากรณนั้นยังไมดีเพียงพอ ถาหากเปนการนําไปใชในลักษณะที่เปนการปรับใน

รายละเอียด(fine tuning) ซึ่งหมายถึงวาเปนความพยายามท่ีจะรักษาใหระดับเศรษฐกิจอยูใกลเคียงมากๆ กับ

ระดับการจางงานเต็มที่อยูตลอดเวลา อยางไรก็ตาม ผลการพยากรณอาจถือไดวาดีเพียงพอในกรณีที่ผูกําหนด

นโยบายมีความสนใจที่จะใชนโยบาย/มาตราการเพื่อรักษาเสถียรภาพ เพื่อจะลดชองวางระหวาง GDP ที่เกิดขึ้น

จริงกับ GDP ตามศักยภาพ ที่มีขนาดกวางมากและเกิดตอเนื่องเปนระยะเวลานาน

รัฐบาลควรมีขนาดใหญ หรือเล็ก อยางไร มีส่ิงที่มักนํามากลาวอยูเร่ือย ๆ คือ การใชนโยบายการคลังในเชิงรุกนั้น หลีกเล่ียงไมไดวาจะทําใหขนาดของ

ภาครฐัโตขึ้นเร่ือยๆ ทั้งนี้กลุมผูนิยมเสนอแนะใหมีการปฏบัติตามกฎท่ีกําหนดไวแนนอน มีแนวโนมไมเห็นดวยกับ

การมีภาครัฐที่มีขนาดใหญ โดยกลุมนี้ระบุวามีการภาครัฐใหญ เปนส่ิงที่ไมพึงปราถนา ซึ่งแนนอนวาผูที่เสนอให

ใชนโยบายการคลังในเชิงรุก ก็จะบอกวาการมีภาครัฐใหญ เปนส่ิงที่สังคมตองการ

อยางไรก็ตาม การกลาวอางดังกลาว อันที่จริงแลวเปนส่ิงที่ไมตรงประเด็นเลย ทั้งนี้เพราะเราเคย

กลาวถึงในบทที่ 7 วา “ความคิดเห็นของใครก็ตาม ที่เก่ียวกับขนาดที่เหมาะสมของภาครัฐ เปนส่ิงที่ไมเก่ียวของ

กันเลยกับทัศนะของแตละคนเก่ียวกับนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพ อยานํามาปนกัน ตัวอยางเชน

ประธานาธิบดี โรนัล รีแกน จัดไดวาเปนกลุมที่อนุรักษนิยมอยางย่ิง และทุมเทใหกับความพยายามที่จะลดขนาด

ของภาครัฐลง แตการริเร่ิมการลดภาษีที่เร่ิมในตอนตนทศวรรษ 2523 แสดงใหเห็นวาเขาเปนผูใชนโยบายการ

คลังตัวยงที่ตองการกระตุนภาวะเศรษฐกิจ คือเปนการกระทําที่จะเปนผลใหภาครัฐโต ย่ิงกวานั้นนโยบายเพื่อ

รักษาเสถียรภาพที่ใชอยูในปจจุบันเปนนโยบายการเงินเสียเปนสวนมาก ซึ่งเปนนโยบายที่ไมทําใหขนาดของ

ภาครัฐโตขึ้นหรือเล็กลง

ความไมแนนอนที่เกิดจากนโยบายของรัฐบาล ผูที่สนับสนุนใหปฏิบัติตามกฏท่ีกําหนดไวแนนอนจะอยูในฐานะทีดีกวาเม่ือเขาโตเถียงวา การเปล่ียนแปลง

บอยๆ ไมวาจะในเร่ืองของ(กฎหมาย) ภาษี โครงการการใชจายตางๆ ของรัฐ หรือแมวาในเร่ืองนโยบายการเงิน

จะทําใหการกําหนด และการปฏิบัติตามแผนของทั้งภาคธุรกิจ และผูบริโภคยากลําบากขึ้น เขากลาววา ผูกําหนด

นโยบาย ควรจัดหรือดําเนินการใหสภาพแวดลอมตางๆ อยูหรือมีเสถียรภาพ ลดความไมแนนอนลง โดยการ

ปฏิบัติตามกฏท่ีกําหนดไวแนนอน ซึ่งการกระทําดังกลาวจะทําใหทั้งภาคธุรกิจ และผูบริโภค คาดคะเนได

(ถูกตองมากขึ้น) วาอะไรจะเกิดขึ้น

Page 27: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

บทที่ 10

การโตเถียงกันในเร่ืองของนโยบายการเงิน

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 265

ซึ่งก็ไมมีผูใดโตเถียงวาการมีสภาพแวดลอมที่มีเสถียรภาพเปนส่ิงดีกวาในการวางแผนของภาคเอกชน

แตผูที่สนับสนุนใหใชนโยบายตางๆ ตามความจําเปน ไมทําตามกฏท่ีกําหนดไวแนนอนยํ้าวา การมีเสถียรภาพ

ของเศรษฐกิจนั้น (economy) นั้น มีความสําคัญมากกวา การมีเสถียรภาพของงบประมาณของรัฐ(government

budget) หรือการดําเนินงานของธนาคารกลาง การใชนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพนั้นมีวัตถุประสงคเพื่อ

ปองกัน การเกิดภาวะเศรษฐกิจที่ไมพึงประสงคอยางตอเนื่องที่เกิดจากการใชงบประมาณของรัฐบาล หรือ

แมกระท่ังการใชนโยบายการเงิน ที่ทําตามกฏที่กําหนดไวแนนอน ผูที่สนับสนุนการใชนโยบายในเชิงรุก กลาว

ถามตอไปวา สภาพแวดลอมแบบไหนที่จะดีกวากันสําหรับธุรกิจ ในกรณีแรกคือ การใชนโยบายการคลังและ

การเงินตามกฏท่ีกําหนดไวแนนอน ซึ่งทําใหมีความสุขเกิดขึ้นกับรัฐบาล รัฐสภา และธนาคารกลาง แตอาจทําให

เกิดมีเศรษฐกิจตกต่ํา หรือเงินเฟอขึ้นกับเศรษฐกิจ หรืออีกกรณีหนึ่งที่รัฐบาลเปล่ียนนโยบายอยางรวดเร็วตาม

สถานการณ และเศรษฐกิจเติบโตอยางตอเนื่อง ม่ันคง ซึ่งคําตอบก็คงจะเห็นไดชัดเจนวา ธุรกิจ จะเลือกแนวทาง

ใด

วัฏจักรธุรกิจทางการเมือง ขอโตเถียงขอสุดทายที่ผูสนับสนุนใหปฏิบัติตามกฎท่ีกําหนดไวแนนอน นํามากลาวอางนั้นเปนเร่ืองทางการเมือง

มากกวาทางเศรษฐกิจ โดยพวกเขากลาววานโยบายการคลัง เปนส่ิงที่นกัการเมืองที่ไดรับเลือกต้ังมาเปนผูตัดสิน

คือ คณะรัฐมนตรี และรัฐสภาเปนผูตัดสิน เม่ือการเลือกต้ังกําลังใกลเขามา (โดยเฉพาะอยางย่ิง กับ

สมาชิกสภาผูแทนราษฏร) นักการเมืองจะมองถึงการรักษางาน หรือตําแหนงของตัวเอง มากกวาที่จะพิจารณาวา

อะไรเปนเร่ืองที่ถูกตองสําหรับเศรษฐกิจ ซึ่งจากขอกลาวอางนี้ จะหมายความวา นโยบายการคลังตางๆ จะถูก

บิดเบือนไปเพื่อผลทางการเมือง สมาชิกรัฐสภาจะพิจารณาทําส่ิงตางๆ ที่อาจไมเหมาะสมเพื่อเปาหมายทาง

การเมืองในระยะส้ันๆ นั้น ซึ่งผูที่สนับสนุนการใหทําตามกฎที่กําหนดไวแนนอน กลาววา การทําตามกฎนั้น

เคร่ืองมือที่รักษาเสถียรภาพโดยอัตโนมัติ (automatic stabilizer) จะทํางาน และจะปองกันผลเสียที่อาจเกิดขึ้น

จากการตัดสินใจของฝายการเมือง

เปนส่ิงที่เปนไปไดที่นักการเมือง เจตนา หรือจงใจทําใหเศรษฐกิจไมมีเสถียรภาพ เพื่อชวยในการหา

เสียงเลือกต้ังของตนและมีหลายๆ คนท่ีกลาววา “วัฏจักรธุรกิจทางการเมือง (วัฏจักรธุรกิจที่นักการเมืองเจตนา

ทําใหเกิด)” ทําใหประธานาธิบดีหลายคนไดประโยชนในการเลือกต้ัง นอกจากนั้นถึงแมวาจะไมมีเจตนาแอบแฝง

นักการเมืองอาจตัดสินใจผิดได ซึ่งการตัดสินใจในแวดวงการเมืองนั้นไมมีอะไรชัดเจน และสามารถจะหา

ตัวอยางการใชนโยบายการคลัง ที่ผิดผลาดของนักการเมืองในอดีตที่ผานมาไดงายมาก

ดังนั้นเม่ือพิจารณาโดยรวมแลว ขอโตแยงที่ไมสนับสนุนการใชนโยบายการคลังที่ไมทําตามกฎท่ี

กําหนดไว(discretionary fiscal policy) เม่ือพิจารณาวาเปนการใชดวยเหตุผลทางดานการเมืองดูจะเปนขอ

โตแยงที่ฟงขึ้น แตคําถามก็คือเราจะทําอะไรกับมัน กลาวคือ มันเปนส่ิงที่เปนไปไมได ที่จะบอก/เช่ือวาการ

ตัดสินใจใชนโยบายการคลังควรจะทําโดยกลุมนักวิชาการที่เปนกลางไมฝกใฝฝายใด ทําอยางตรงไปตรงมา

นโยบายเก่ียวกับภาษีและงบประมาณตางๆ นั้น จําเปนตองใชการตัดสินใจทางดานการเมือง ซึ่งในระบบ

ประชาธิปไตย ผูที่จะทําการตัดสินใจจึงควรเปนผูที่ไดมาจากการเลือกต้ัง

Page 28: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 266

เม่ือพิจารณาจากความจริงขางตน การที่กลาวอางวามีโอกาสที่เปนไปไดที่จะเปนการใชเลหเพทุบาย

ในทางการเมือง จึงเปนส่ิงที่อาจทําใหเกิดความวิตกกังวลได แตมันไมควรจะทําใหเรารําคาญจิตใจมากหรือนอย

ไปกวาการกําหนดนโยบายในดานอื่นๆ ไมวาจะเปนเร่ืองของความสัมพันธระหวางประเทศ การปองกันประเทศ

การออกกฏหมาย หรือ การบังคับใชกฎหมาย การศึกษา หรือในดานส่ิงแวดลอมเปนตน นักการเมืองเปนผูท่ี

ตัดสินใจแทนเรา แตเขาก็จะตองเปนผูรับผิดชอบทุกๆ คร้ังที่มีการเลือกต้ัง เม่ือคิดในดานน้ี หรือในแนวน้ีแลว จึง

ไมมีเหตุผลอะไร ที่เราจะตองใหความสนใจกับ การตัดสินใจเก่ียวกับนโยบายการคลังใหแตกตางไปจากนโยบาย

ดานอื่นๆ

แตนโยบายการเงินนั้นแตกตางออกไป เพาะวารัฐสภา(ในอเมริกา) เกรงกลัววา คณะรัฐมนตรีที่มาจาก

การเลือกต้ัง จะใหความสําคัญกับผลในระยะส้ัน และอาจจะใชนโยบายการเงินไปในทิศทางที่จะกอใหเกิดเงิน

เฟอมากเกินไป จึงไดมอบอํานาจในการใชนโยบายการเงินใหแกนักวิชาการที่ไมไดมากจากการเลือกต้ัง ที่ทํางาน

อยูที่ธนาคารกลางเปนผูพิจารณาใชมาเปนเวลานานมากแลว อยางไรก็ตาม การเมืองก็มีผลตอการใชนโยบาย

การเงินไดเชนกัน แตเปนทางออมๆ คือ ธนาคารกลางจะตองรายงานตอรัฐสภา แตประธานาธิบดีก็มีอํานาจ ที่จะ

แตงต้ังผูที่ประธานาธิบดีเห็นชอบ/เห็นควรใหเปนผูวาการ หรือประธาน ธนาคารกลางได

ตอบประเด็น : ควรจะทําอะไร

หลังจากที่ไดอานเนื้อหาตางๆ มาจนหมดบทแลว ทานจะตอบคําถามที่ถามไวในตอนตนบทอยางไร เราควรจะให

มีการใชนโยบายตางๆ ไดตามที่ผูกําหนดนโยบายเห็นควร (discretionary policy) และตองทําใจ หรือรูอยูเต็มอก

วา อาจมีทางเลือกที่ดีกวา ที่จะใหการใชนโยบายเปนไปตามกฎที่กําหนดไวแนนอน (fixed rules) และการรักษา

เสถียรภาพโดยอัตโนมัติ (automatic stabilizers)

การพิจารณา ขอดี ขอเสีย หรือ ขอเดน ขอดอย ของทัศนะตางๆ เก่ียวกับเศรษฐกิจในขณะนั้นๆ เปน

เร่ืองที่สําคัญ นักเศรษฐศาสตรบางคนเช่ือวา เศรษฐกิจถาปลอยไปเร่ือยๆ โดยไมมีการควบคุมแลว จะมีการ

เคล่ือนไหวขึ้นๆ ลงๆ ตอเนื่องกันไป และพยากรณไดยาก แตมันก็จะมีการแกไขปรับตัวดวยตนเองในระยะส้ันๆ

นักเศรษฐศาสตรกลุมนี้ จึงสรุปวา การที่ผลของนโยบายท่ีตองใชเวลานานกวาจะเกิด (long lags) และการ

พยากรณที่ไมแมนยํานั้น ทําใหความสามารถของเราที่จะทํานายหรือคาดลวงหนาวาเศรษฐกิจในขณะนั้นๆ

ตองการกระตุน หรือตองการการเหนี่ยวร้ังนั้นทําไดคอนขางจํากัด ดังนั้นพวกนักเศรษฐศาสตรกลุมนี้จึงสนับสนุน

การปฏิบัติตามกฎท่ีกําหนดไวแนนอน

นักเศรษฐศาสตรอีกกลุมหนึ่งมองวาเศรษฐกิจของประเทศน้ันเปรียบไดเสมือนกับภูเขาน้ําแข็งขนาด

มหึมาซ่ึงมีแรงเฉ่ือยจํานวนมหาศาล ซึ่งหมายถึงวา ถาเรามองเห็นวา มีอาการของชวงวางเงินเฟอ หรือชองวาง

เศรษฐกิจตกต่ําในขณะปจจุบัน สภาพชองวางนี้จะอยูกับเราไปอีกอยางนอยหนึ่งถึงสองปในอนาคต ทั้งนี้

เพราะวา กลไกการปรับตัวดวยตัวเอง (self-correcting mechanism) นั้นทํางานอยางชาๆ และในลักษณะของ

การมองภาพเศรษฐกิจแบบนี้ การพยากรณที่ถูกตองเปนส่ิงที่ไมมีความจําเปนเทาไร ถึงแมวาความลาชา (lag)

ของผลการใชนโยบาย จะมีระยะเวลายาวนานก็ตาม ถาเรากําหนดนโยบายอยูบนขอสมมติ ที่ไดจากการ

พยากรณวาจะมีชองวางระหวาง GDP ที่แทจริงและ GDP ตามศักยภาพเทากับรอยละ 2 ในอีก 1 ป ขางหนา

และถึงแมวาอันที่จริงแลวชองวางมีคาเพียงรอยละ 1 เทานั้น ส่ิงที่เราทําลงไป(นโยบายที่ใชไป) ก็ยังเปนส่ิงที่

Page 29: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

บทที่ 10

การโตเถียงกันในเร่ืองของนโยบายการเงิน

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 267

ถูกตอง ถึงแมวาการพยากรณจะผิดพลาดไปก็ตาม นักเศรษฐศาสตรในกลุมที่มองวาเศรษฐกิจของประเทศเปน

เสมือนภูเขาน้ําแข็งขนาดมหึมานี้ จึงสนับสนุนการใชนโยบายตามที่เห็นเหมาะสม (discretionary policy)

ซึ่งแนนอนวาในประเด็นที่รูปแบบการใชนโยบายที่กลาวถึงขางบนนี้ ยังไมมีมติที่เด็ดขาด (เอกฉันท)

ออกมา ไมวาจะเปนในหมูของนักเศรษฐศาสตรหรือนักการเมืองก็ตาม และในท่ีสุดแลวปญหา หรือคําถามจะ

ขึ้นอยูกับ ปรัชญา (Ideology) ทางดานการเมืองและเศรษฐศาสตร พวกเสรีนิยม (liberals) มักจะมองวารัฐบาล

จะตองเขาไปแกปญหาของสังคม ในขณะท่ีพวกอนุรักษนิยม (conservatives) บอกวามีตัวอยางจํานวนมากที่ชี้

วาความพยายามของรัฐบาลนั้นลมเหลว ถึงแมจะเกิดจากความปรารถนาดีก็ตาม ดังนั้นเราอาจจะกลาวอยาง

ระมัดระวังไดวา

กรณีของการใชนโยบายตามความเหมาะสมในเชิงรุก นาจะเปนส่ิงที่ควรทําเม่ือขนาดของอุปสงครวม

นั้นขาดไปมากๆ อยางไรก็ตาม การใชนโยบายท่ีปฏิบัติตามกฎที่กําหนดไว นาจะเปนส่ิงที่ถูกตอง ใน

กรณีที่ GDP ที่แทจริงไมแตกตางไปจาก GDP ตามศักยภาพมาก คือไมจําเปนที่จะตองใชนโยบายตาม

ความเหมาะสมในทุกๆ กรณี

แตมีหนึ่งส่ิงที่แนนอนคือ การโตเถียงกันในเร่ืองนี้ (rules-versus-discretion) จะยังคงมีตอไปอีกนานใน

อนาคต

สรุป

1. การวิเคราะหของนักเศรษฐศาสตรสายการเงินและสายเคนส เปนเพียงวิธีสองวิธีที่จะศึกษาถึงการ

กําหนด(ขนาดของ) อุปสงครวม ทฤษฏีของแตละกลุมไมมีทฤษฎีใดเลยที่เปนทฤษฎีที่สมบูรณ ที่จะ

อธิบายพฤติกรรมของเศรษฐกิจ ทั้งนี้เพราะไมมีทฤษฎีไดเลยที่กลาวถึงอุปทานรวม

2. ความเร็ว(velocity หรือ v) คืออัตราสวนระหวาง GDP ตามราคาประจําป(nominal GDP) กับจํานวน

เงิน (stock of money หรือ M) V เปนตัวช้ีที่บอกวา เงินหมุนเร็วชาขนาดไหน

3. ตัวแปรที่สําคัญที่เปนตัวกําหนดขนาดของ V คือ อัตราดอกเบี้ย (r) เม่ืออัตราดอกเบี้ยอยูในระดับสูง คน

ทั่วไปจะพบวาเปนส่ิงที่ไมสูจะดีนักที่จะถือเงินสดไวในมือ ทั้งนี้เพราะเงินสดที่ถือในมือนั้นไมได

ผลตอบแทน หรืออัตราดอกเบี้ยแตอยางใด ดังนั้น เม่ืออัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น เงินจะหมุนเร็วขึ้นหรือ V จะ

สูงขึ้น

4. monetarism เปนรูปแบบของการวิเคราะหที่เนนความสนใจไปท่ี ความเร็วของการหมุนเวียนของเงิน

(V) และอุปทานของเงิน (M) ถึงแมวานักเศรษฐศาสตรในกลุมนี้(สายการเงิน : monetarists) จะ

ตระหนักวา V นั้นมีคาไมคงที่ แตเขาเช่ือวา จะสามารถคาดประมาณไดใกลเคียงเพียงพอที่จะนําไปใช

ประโยชน ในการวิเคราะหนโยบายและพยากรณได

5. เพราะวาการใชนโยบายการคลังแบบขยายตัว จะทําใหผลผลิตและระดับราคาสูงขึ้น ซึ่งหมายถึงวา อุป

สงคของเงินจะสูงขึ้นดวย ดังนั้นนโยบายน้ีจึงมีผลในการผลักดันใหอัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น เหตุผลดังกลาว

Page 30: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 268

เปนส่ิงที่นักเศรษฐศาสตรสายการเงิน ใชอธิบายผลที่เกิดจากการใชนโยบายการคลัง เพราะวาเม่ือ r

สูงขึ้นจะชักนําให V สูงขึ้น ซึ่งหมายถึงวา M*V ก็จะสูงขึ้นดวย ทั้งๆ ที่ M ไมไดเปล่ียนแปลงเลย

6. เพราะวาในการปฏิบัติการใชนโยบายการคลังนั้น จะมีผลตออุปสงครวมโดยตรงผานทาง G มีผล

ทางออมผานทาง C ความลาชาที่เกิดขึ้น หรือกวาที่ผลของการใชนโยบายจะเกิดขึ้นจริง นาจะเปนชวง

ระยะเวลาท่ีไมนานนัก แตในทางตรงกันขาม การดําเนินงานของนโยบายการเงินนั้น จะมีผลตออุปสงค

รวมผานทางตัว I ซึ่งตอบสนองชามาก(ใชเวลานานมาก) ตอการเปล่ียนแปลงของอัตราดอกเบี้ย

7. อยางไรตาม ความลาชาที่เกิดขึ้นในขั้นตอนการตัดสินใจ/พิจารณา ใชนโยบายการคลังนั้นยาวนานกวา

การใชนโยบายการเงินมาก ดังนั้นเม่ือนําความลาชาที่เกิดจากการใชนโยบายทั้งสองมาเปรียบเทียบกัน

จึงไมสามารถบอกไดอยางชัดเจนวา นโยบายใด จะใหผลเร็วกวากัน

8. เพราะวาไมสามารถจะควบคุมเสนอุปสงคของเงินได ธนาคารกลางจึงไมสามารถควบคุมไดทั้ง M และ

r ถาอุปสงคของเงินเกิดเปล่ียนแปลง ธนาคารกลางมีทางเลือกที่จะพิจารณาวาตองการควบคุมให M

อยูคงที่ หรือจะให r อยูคงที่ หรือจะใหอยูระหวางทางเลือกทั้งสองน้ี

9. นักเศรษฐศาสตรสายการเงิน เนนความสําคัญของการศึกษาเสถียรภาพของอัตราการเติบโตของ

อุปทานของเงิน ในขณะท่ีนกัเศรษฐศาสตรสายเคนสจะเนนรักษาระดับอัตราดอกเบี้ยใหอยูที่ระดับ

เปาหมาย

10. ในทางปฏิบัติ ธนาคารกลางไดเปล่ียนแนวทางในการดําเนินนโยบายระหวางทัศนะท้ังสอง กลับไป

กลับมาหลายคร้ัง เปนเวลาหลายทศวรรษท่ีธนาคารกลางใหความสําคัญ กับการรักษาระดับอัตรา

ดอกเบี้ย แตในระหวางป 2522 ถึง 2525 ไดเปล่ียนจุดเนน มาใหความสําคัญกับการรักษาเสถียรภาพ

ของอัตราการเติบโตของอุปทานของเงิน แตหลังจากนั้นอีกไมนานก็ไดเปล่ียนมาใหความสําคัญกับ

อัตราดอกเบี้ยอยางชัดเจนใหมอีกคร้ังหนึ่ง

11. เม่ือเสนอุปทานรวมอยูในลักษณะที่แบนราบ (very flat) การเพิ่มอุปสงครวมจะทําใหผลผลิตของ

ประเทศเพิ่มขึ้นมาก ในขณะท่ีจะทําใหระดับราคาเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอย ภายใตสถานการณในลักษณะ

นี้ การใชนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพจะใหผลดีในการแกปญหาเศรษฐกิจตกตํ่า แตจะใชไมไดผลใน

การแกปญหาเงินเฟอ

12. ในทางตรงกันขาม เม่ือเสนอุปทานรวม อยูในลักษณะสูงชัน (steep) การเพิ่มขึ้นของอุปสงครวม จะทํา

ใหผลผลิตที่แทจริงเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอย แตจะมีผลทําใหราคาสูงขึ้นมาก ดังนั้นภายใตสถานการณใน

ลักษณะนี้ การใชนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพ จะใหผลดีกับการตอสูกับภาวะเงินเฟอ แตจะใหผลไมดี

ในการแกปญหาเศรษฐกิจตกต่ํา และการวางงาน

13. เสนอุปทานรวมน้ัน มักจะมีลักษณะเปนเสนที่แบนราบในระยะส้ัน แตในระยะยาวแลวมีลักษณะเปน

เสนที่ชันต้ัง ดังนั้นนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพ จะมีผลตอผลผลิตในระยะส้ัน แตในระยะยาวแลวจะมี

ผลตอราคาเปนหลัก

14. เม่ือชวงเวลาของการเกิดผลกระทบ (lags) ไมวาจะเปนของการดําเนินนโยบายการเงิน หรือนโยบาย

การคลังนั้น มีชวงเวลายาวนานและไมสามารถคาดคะเนไดแนนอน ความพยายามที่จะรักษา

เสถียรภาพของกิจกรรมเศรษฐกิจ มักจะทําใหไมมีเสถียรภาพมากขึ้น

Page 31: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

บทที่ 10

การโตเถียงกันในเร่ืองของนโยบายการเงิน

ดร. สาโรช อังสุมาลิน ๒๕๔๙ 269

15. นักเศรษฐศาสตรบางคนเช่ือวา การที่ความรูของเราเก่ียวกับการทํางานของนโยบายเพื่อรักษา

เสถียรภาพท่ีไมสมบูรณ การที่ lags มีชวงเวลายาว และการท่ีการพยากรณทําไดไมคอยจะถูกตองนัก

ดังนั้น การใชนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพ แบบที่เลือกใชตามที่เห็นควร (discretionary) จึงมักไม

ประสบผลสําเร็จ

16. นักเศรษฐศาสตรยอมรับขอบกพรองดังกลาว แตไมเช่ือวาจะเปนขอบกพรองที่รายแรงดังที่กลาวอาง

นอกจากนั้นพวกเขาไมเช่ือวาเศรษฐกิจจะสามารถรักษาเศรษฐกิจตกตํ่าหรือเงินเฟอดวยตัวเองได

เพราะฉะน้ันพวกเขาจึงคิดวา การใชนโยบายแบบ discretionary ยังเปนส่ิงที่พวกเขายังจะแนะนํา และ

ยังเปนส่ิงที่จําเปนอีกดวย

17. การใชนโยบายเพ่ือรักษาเสถียรภาพโดยใชนโยบายการคลังนั้น ไมไดหมายความวาจะตองหมายถึง

การมีภาครัฐที่มีขนาดใหญ (big government) เสมอไป

คําสําคัญ

ทฤษฏีปริมาณการเงิน Quantity theory of money

ความเร็ว Velocity

สมการแลกเปล่ียน Equation of exchange

ผลของอัตราดอกเบี้ยที่มีตอความเร็ว Effect of interest rate on velocity

แนวคิดของนักเศรษฐศาสตรสายการเงิน Monetarism

ผลของนโยบายการคลังที่มีตออัตราดอกเบี้ย Effect of fiscal policy on interest rates

ชวงเวลาของการเกิดผลกระทบของนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพ Lags in Stabilization policy

การควบคุม M กับ การควบคุม r Controlling M versus controlling r

การใชนโยบายตามกฎท่ีกําหนดไวแนนอน กับการใชนโยบายตามที่เห็นควร

Rules versus discretionary policy

คําถามเพ่ือทบทวน

1. โดยปกติในชวงขณะใดขณะหนึง่ ทานมีเงิน(รวมทั้งเงินสดและเงินในบัญชีกระแสรายวัน) เปนจํานวน

มากนอยเทาใด หารเงินจํานวนนี้ดวยรายไดที่ทานไดรับมาท้ังหมดในชวง 12 เดือนที่ผานมา ก็จะได

ความเร็วของการหมุนเวียนเงินของตัวทานเอง (own personal velocity) คาของตัวทานเองน้ีแตกตาง

จากคาเฉล่ียของประเทศอยางไร

2. ในตารางขางลางนี้ เปนขอมูลของ GDP ตามราคาประจําปและอุปทานของเงิน (M1) ที่เกิดขึ้นในแตละ

ปที่ระบุ ใหคํานวณหาความเร็วในแตละป ทานสังเกตเห็นแนวโนมหรือไม

Page 32: บทที่ 10 p.239-270 - Kasetsart University · บทที่ 10 การโต เถียงกันในเร ื่องของนโยบายการเง

เศรษฐศาสตรมหภาคสําหรับผูบริหาร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 270

หนวย : พันลานบาท

ป อุปทานของเงินเม่ือส้ินป(M) GDP ตามราคาประจําป

2539 43,240 306,480

2540 43,000 324,440

2541 43,720 340,440

3. ใหใชแนวคิดของคาเสียโอกาสเพ่ืออธิบายวาเหตุใด V จึงมีคาสูงกวา ณ อัตราดอกเบี้ยที่สูงกวา

4. แนวคิดของนักเศรษฐศาสตรสายการเงิน (monetarism) แตกตางไปจาก ทฤษฎีปริมาณการเงิน (the

quantity theory of money) อยางไร

5. จากลักษณะของคา V ที่ปรากฏตามตารางที่ 10-1 จะเปนส่ิงที่มีเหตุผลหรือไม ที่ธนาคารกลาง

พยายามจะกําหนดระดับเปาหมายของ M1 และ M2

6. จงแยกใหเห็นความแตกตางระหวาง the expenditure lag กับ the policy lag ในการใชนโยบายเพื่อ

รักษาเสถียรภาพ expenditure lag ของนโยบายการคลัง และนโยบายการเงินอะไรส้ันกวากัน และ

กรณีของ policy lag เปนอยางไร

7. จงอธิบายวา ความเห็นที่แตกตางกันในเร่ืองลักษณะ/รูปรางของเสนอุปทานรวม จึงทําใหนัก

เศรษฐศาสตรกลุมหนึ่งเนนแนะนําใหใชนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพ เพื่อตอสูกับภาวะเศรษฐกิจ

ตกตํ่า และการวางงาน ในขณะท่ีอีกกลุมหนึ่งเนนแนะนําใหใชเพื่อตอสูกับภาวะเงินเฟอ

8. ใหใชเสนอุปสงคและอุปทาน เหมือนที่แสดงในรูปที่ 10-2 เพื่อแสดงถึงทางเลือกที่เปดใหธนาคารกลาง

นํามาใช หลังจากที่อุปสงคของเงินลดลงโดยที่ไมไดคาดคิดไวกอน ถาธนาคารกลางทําตามนโยบาย

ของนักเศรษฐศาสตรสายการเงิน ที่ใหทําตามกฎท่ีกําหนดไว จะมีผลอะไรเกิดขึ้นกับอัตราดอกเบ้ีย

9. จงอธิบายวาเหตุใด lags ที่เกิดจากการใชนโยบายที่มีจุดประสงค เพื่อรักษาเสถียรภาพกลับทําให

เศรษฐกิจไมมีเสถียรภาพมากขึ้น

10. ในสถานการณตอไปนี้สถานการณใด จะสนับสนุนการใชนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพตามท่ีเห็นควร

สถานการณใดที่สนับสนุนการใชนโยบายตามกฎท่ีกําหนดไวแลว

ก. การเปล่ียนแปลงทางโครงสราง ทําใหกลไกลการปรับตัวดวยตัวเองของเศรษฐกิจทํางานได

เร็วขึ้นและนาเช่ือถือมากขึ้นกวาแตเดิม

ข. มีการคนพบวิธีการทางสถิติใหม ที่ทําใหสามารถพยากรณสภาพทางเศรษฐกิจไดถูกตองมาก

ขึ้น

ค. ประธานาธิบดีที่ไดมาจากพรรคการเมืองหนึ่ง แตเสียงสวนมากในรัฐสภามาอีกจากพรรค

การเมืองหนึ่ง ซึ่งประธานาธิบดีและเสียงสวนมากในรัฐสภามีความคิดเห็นที่ตรงกันขามกัน

เลยในการจัดการกับเศรษฐกิจของประเทศ