ึกษา ิทยาลัิลปากรยศ 2556 · PATTARAPORN PUISUWAN : THE...

346
แนวทางการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผูปกครองและครูที่เหมาะสมกับ สังคมไทย โดย นางสาวภัธรภร ปุยสุวรรณ วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2556 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Transcript of ึกษา ิทยาลัิลปากรยศ 2556 · PATTARAPORN PUISUWAN : THE...

  • แนวทางการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผูปกครองและครูที่เหมาะสมกับ

    สังคมไทย

    โดย นางสาวภัธรภร ปุยสุวรรณ

    วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา

    บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2556

    ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

  • THE APPROPRIATE TO THAI SOCIETY GUIDELINES FOR PARTICIPATION IN SCHOOL ADMINISTRATION OF PARENT TEACHER ASSOCIATION

    By

    Miss Pattaraporn Puisuwan

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree

    Doctor of Philosophy Program in Educational Administration

    Department of Educational Administration

    Graduate School, Silpakorn University

    Academic Year 2013

    Copyright of Graduate School, Silpakorn University

  • บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเรื่อง “ แนวทางการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผูปกครองและครูที่เหมาะสมกับสังคมไทย” เสนอโดย นางสาวภัธรภร ปุยสุวรรณ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

    ….……........................................................... (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ)

    คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย วันที่..........เดือน.................... พ.ศ...........

    อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 1. ผูชวยศาสตราจารย วาที่พันตรี ดร.นพดล เจนอักษร 2. ดร.ปลัญ ปฏิพิมพาคม คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ .................................................... ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ อินทรรักษ) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (พลตํารวจโท ดร.ประวุฒิ ถาวรศิริ) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย วาที่พันตรี ดร.นพดล เจนอักษร) (ดร.ปลัญ ปฏิพิมพาคม) ............/......................../.............. ............/......................../..............

  • 53252932 : สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คําสําคัญ : การมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษา สมาคมผูปกครองและครู ภัธรภร ปุยสุวรรณ : แนวทางการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผูปกครองและครูที่เหมาะสมกับสังคมไทย. อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ : ผศ. วาที่ พ.ต.ดร.นพดล เจนอักษร และ ดร.ปลัญ ปฏิพิมพาคม. 331 หนา.

    การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อทราบ 1) องคประกอบการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผูปกครองและครูที่เหมาะสมกับสังคมไทย 2) รูปแบบการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผูปกครองและครูที่เหมาะสมกับสังคมไทย และ 3) แนวทางการมีสวนรวม ในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผูปกครองและครูที่เหมาะสมกับสังคมไทย ประชากรที่ใช ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ประกอบดวย สมาคมผูปกครองและครูจํานวน 280 สมาคม ผูใหขอมูล ไดแก นายกสมาคม อุปนายกสมาคมและเลขานุการสมาคมผูปกครองและครู เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก 1) แบบสัมภาษณกึ่งโครงสราง 2) แบบสอบถามความคิดเห็น 3) แบบสอบถามเพ่ือตรวจสอบและยืนยันแนวทางที่เหมาะสม สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาความถี่ คารอยละ คามัชฌิมเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะหปจจัยเชิงสํารวจ (exploratory factor analysis) วิเคราะห หาความสัมพันธเชิงสาเหตุ (path analysis) และการวิเคราะหเนื้อหา (content analysis)

    ผลการวิจัยพบวา 1. องคประกอบของการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผูปกครองและครูที่

    เ หม า ะสมกั บ สั ง คม ไทย ประกอบด ว ย 6 อ งค ป ระกอบ คื อ 1 ) กา รส ร า ง ภ า คี เ ค รื อ ข า ย 2) บรรยากาศองคการ 3) ความสัมพันธระหวางโรงเรียนและชุมชน 4) การมีสวนรวมของสมาชิก 5) การประเมินผล 6) การสนับสนุนทรัพยากร

    2. รูปแบบการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผูปกครองและครูที่เหมาะสมกับสังคมไทยที่ไดวิเคราะหองคประกอบมีความสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ โดยมีความสัมพันธทางตรงระหวาง ความสัมพันธระหวางโรงเรียนและชุมชน (factors3) การประเมินผล (factors5) การสนับสนุนทรัพยากร (factors6) กับ การสรางภาคีเครือขาย (factors1) บรรยากาศองคการ (factors2) การมีสวนรวมของสมาชิก (factors4) และความสัมพันธทางออมระหวาง บรรยากาศองคการ (factors2) และการสรางภาคีเครือขาย (factors1)

    3. พบแนวทางที่เหมาะสมในทางการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผูปกครองและครูที่เหมาะสมกับสังคมไทย จํานวน 28 แนวทาง และผลการตรวจสอบแนวทาง ที่ เหมาะสมในทางการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผูปกครองและครู ที่เหมาะสมกับสังคมไทยโดยผูเชี่ยวชาญ พบวามีความเหมาะสมกับบริบท เปนไปไดในการนําไปใช มีความถูกตองเชิงทฤษฎี และเปนประโยชนตอการนําไปพัฒนาสถานศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ลายมือชื่อนักศึกษา................................................ ปการศึกษา 2556 ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 1. .................. ....................... 2…......................................

  • 53252932 : MAJOR : (EDUCATIONAL ADMINISTRATION)

    KEY WORD : PARTICIPATION IN SCHOOL ADMINISTRATION PARENT TEACHER ASSOCIATION

    PATTARAPORN PUISUWAN : THE APPROPRIATE TO THAI SOCIETY GOIDELINES FOR PARITICIPATION IN SCHOOL ADMINISTRAION OF PARENT TEACHER ASSOCIATION. THESIS ADVISORS: ASST.PROF.MAJ.NOPADOL CHENAKSARA.,RTAR., Ph.D. AND MR. PILAN PATIPIMPAKOM. ,Ph.D. : 331 pp.

    The purposes of this research were to determine 1) the components appropriate to thai society guidelines for participation in school administration of parent teacher association, 2) The model of appropriate to thai society guidelines for participation in school administration of parent teacher association, and 3) the appropriate to thai society guidelines for participation in school administration of parent teacher association. The sample consisted of 280 the parent teacher associations. Data is given by the president of the parent teacher association, vice president of the parent teacher association (school directors) and the secretary of the parent teacher association. The research instrument used were 1) simi-structured interview 2) questionnaire for checking opinion 3) questionnaire for checking and confirming the appropriate guidelines of participation of parent teacher association in the administration management of educational institute for thai society. The statistical used for data analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, exploratory factor analysis path analysis and content analysis

    The research findings revealed that: 1. The components of a model of the of six components which were

    1) network participant 2) organization environment 3) relationship between schools and communities 4) members participation 5) evaluation 6) resource support.

    2. The model of appropriate to thai society guidelines for participation in school administration of parent teacher association by exploratory factor analysis consisted of, were well fitted with the empirical data considering the consistency index such as the highest direct effect variables were relationship between schools and communities (factors3) evaluation (factors5) resource support (factors6) with network participant (factors1) organization environment (factors2) members participation (factors4). The highest indirect effect variables were members participation (factors4) and network participant (factors1)

    3. The results showed 28 guidelines for 6 factor components and the appropriate guidelines of participation of parent teacher association in the administration management of educational institute for thai society were suitable for school context, possibility for implementation, accuracy of conceptual frameworks and useful for school development.

    Department of Educational Administration Graduate School, Silpakorn University Student's signature ............................................................... Academic Year 2013

    Thesis Advisors' signature 1.…………………………………...………………………. 2. ……………………………..…………..................

  • กิตติกรรมประกาศ

    ดุษฎีนิพนธฉบับนี้ สําเร็จลุลวงไปไดดวยความกรุณาอยางยิ่งจาก ผูชวยศาสตราจารย วาที่พันตรี ดร.นพดล เจนอักษร ดร.ปลัญ ปฏิพิมพาคม และผูชวยศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ อินทรรักษ กรรมการตรวจสอบดุษฎีนิพนธ ที่กรุณาใหคําปรึกษาขอเสนอแนะที่เปนประโยชน สนับสนุนชวยเหลือ และคอยชวยแกไขขอบกพรองตาง ๆ ดวยความเอาใจใส และใหกําลังใจตลอดระยะเวลาในการศึกษาวิจัย ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณในความเมตตา เปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้ และขอกราบขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ อินทรรักษ ประธานตรวจสอบ และ พลตํารวจโท ดร.ประวุฒิ ถาวรศิริ ผูทรงคุณวุฒิ ที่ไดใหความรูแนวคิด และแนะแนวทางในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้

    ขอกราบขอบพระคุณ ดร.นิลุบล คงเกตุ ดร.สําเริง กุจิรพันธ ดร.วิทยา สีชมพู ดร.สถาพร พฤฑฒิกุล และดร.บํารุง ชํานาญเรือ ที่ใหความกรุณาตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และใหคําแนะนําในการพัฒนาเครื่องมือที่ใชในการวิจัยในครั้งนี้ ขอขอบคุณผูบริหารสถานศึกษา และผูใหขอมูลทุกทาน ที่กรุณาใหขอมูล และตอบแบบสอบถามในการวิจัยในครั้งนี้

    ขอขอบคุณเพ่ือน ๆ นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากรทุกคนที่เปนกําลังใจใหกับผูวิจัยอยางตอเนื่องที่คอยใหความชวยเหลือมาตลอด และขอขอบคุณครอบครัว “ปุยสุวรรณ” ที่คอยเปนกําลังใจกับผูวิจัยเปนอยางดียิ่งตลอดมา

  • สารบัญ หนา

    บทคัดยอภาษาไทย ............................................................................................................................................. ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ ...................................................................................................................................... จ กิตติกรรมประกาศ ............................................................................................................................................. ฉ สารบัญตาราง .................................................................................................................................................... ฎ สารบัญภาพ ....................................................................................................................................................... ฏ บทที ่ 1 บทนาํ ..................................................................................................................................................... 1 ความเปนมาและความสาํคัญของปญหา ....................................................................................... 2 ปญหาของการวิจัย ........................................................................................................................ 6 วัตถุประสงคของการวิจัย ............................................................................................................ 11 ขอคําถามของการวิจัย ................................................................................................................ 11 สมมติฐานของการวิจัย ................................................................................................................ 11 กรอบแนวคิดของการวิจัย ........................................................................................................... 12 นิยามศัพทเฉพาะ ........................................................................................................................ 22 2 วรรณกรรมท่ีเกี่ยวของ ......................................................................................................................... 23 การมีสวนรวมของชุมชน ............................................................................................................. 23 ความหมายของชุมชน ........................................................................................................ 23 ความหมายของการมีสวนรวม ........................................................................................... 25 ความสําคัญของชุมชนและการมีสวนรวมในการจัดการศึกษา ........................................... 28 ประเภทของการมีสวนรวม ................................................................................................ 32 การมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการศึกษา ..................................................................... 36 การสรางความความพันธระหวางสถานศึกษากับชุมชน .................................................... 45 แนวทางการมีสวนรวมในการปฏิรูปการศึกษา .................................................................. 51 งานวิจยัที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวม ................................................................................. 52 การบริหารจัดการสถานศึกษา .................................................................................................... 64 แนวคิดการบริหารและการบริหารสถานศึกษา .................................................................. 65 ความสําคัญของการบริหารสถานศึกษา ............................................................................. 67 การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ...... 70 ดานบริหารทั่วไป. ............................................................................................................... 70

  • บทที่ หนา สมาคมผูปกครองและครู ............................................................................................................ 78 ประวัติการจัดตั้งสมาคมผูปกครองและครู ......................................................................... 78 ประวัติการจัดตั้งสมาคมผูปกครองและครูในประเทศไทย ................................................. 80 ความหมายของสมาคม ...................................................................................................... 81 สภาผูปกครองและครูแหงประเทศไทย .............................................................................. 95 รูปแบบการบริหารสมาคมผูปกครองและครู...................................................................... 98 งานวิจยัที่เกี่ยวของ ............................................................................................................ 99 งานวิจยัในประเทศ ............................................................................................................ 99 งานวิจยัตางประเทศ. ....................................................................................................... 106 สรุป ........................................................................................................................................... 109 3 วิธีดําเนินการวิจัย ............................................................................................................................... 110 ขั้นตอนการดําเนนิการวิจัย ....................................................................................................... 110 ระเบียบวิธีวิจัย .......................................................................................................................... 113 แผนแบบการวิจัย ............................................................................................................. 113 ประชากร ......................................................................................................................... 113 กลุมตัวอยาง ..................................................................................................................... 114 ตัวแปรที่ศึกษา ................................................................................................................. 118 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย .................................................................................................. 118 การสรางและพัฒนาเครื่องมือ .......................................................................................... 119 การเก็บรวบรวมขอมูล ..................................................................................................... 120 การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิจัย .................................................................... 121 สรุป ........................................................................................................................................... 122 4 ผลการวิเคราะหขอมูล ....................................................................................................................... 124 ตอนที่ 1 การศึกษาวิเคราะหและกําหนดองคประกอบของการวิจัย ....................................... 125 ตอนที่ 2 การวิเคราะหความเปนไปได และพัฒนารปูแบบ ..................................................... 150 ตอนที่ 3 การวิเคราะหเสนทางความสัมพันธเชิงเหตุและผล (path analysis) ...................... 170

    ตอนที่ 4 การตรวจสอบแนวทางการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผูปกครองและครูที่เหมาะสมกับสังคมไทย .............................................................. 205

    5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ................................................................................................... 209 สรุป ........................................................................................................................................... 210

  • บทที่ หนา อภิปรายผล ............................................................................................................................... 218 ขอเสนอแนะ ............................................................................................................................. 235 ขอเสนอแนะท่ัวไป ........................................................................................................... 235 ขอเสนอแนะการวิจัยคร้ังตอไป ........................................................................................ 235 รายการอางอิง ............................................................................................................................................... 236 ภาคผนวก ...................................................................................................................................................... 248 ภาคผนวก ก รายชื่อผูเชี่ยวชาญและผูทรงคุณวุฒ ิ ...................................................................... 248 ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญเพื่อกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจยั .. 259 ภาคผนวก ค รายชื่อผูทรงคณุวุฒิตรวจเคร่ืองมือวิจัยแบบสอบถามตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 261 ภาคผนวก ง รายชื่อสมาคมทดลองเครื่องมือวิจัย .......................................................................... 273 ภาคผนวก จ ผลการวิเคราะหคาความเชื่อมั่นของเคร่ืองมือวิจัย ................................................ 276 ภาคผนวก ฉ รายชื่อสมาคมในการเก็บรวบรวมขอมูล ................................................................. 282 ภาคผนวก ช แบบสอบถามการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผูปกครอง และครูที่เหมาะสมกับสังคมไทย ................................................................................. 291 ภาคผนวก ซ หนังสือขอความอนุเคราะหในการแสดงความคิดเห็นตรวจสอบ และรายชื่อผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบ...................................... 303 ประวัติผูวิจยั .................................................................................................................................................. 331

  • สารบัญตาราง ตารางที ่ หนา 1 แสดงประชากร กลุมตัวอยาง และผูใหขอมูล ........................................................................ 115 2 ผลการวิเคราะหองคประกอบการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคม ผูปกครองและครูที่เหมาะสมกับสังคมไทยดวยการวิเคราะหเอกสารจากแนวคิดทฤษฎี โดยการศึกษาจากเอกสาร ตํารา วารสาร บทความ รายงานการวิจัยท่ีเก่ียวของ ............ 152 3 สรุปผลความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญและผูทรงคุณวฒุิเก่ียวกับองคประกอบของการมีสวน รวมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผูปกครองและครูที่เหมาะสมกบั สังคมไทย ............................................................................................................................ 169 4 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ........................................................................................... 178 5 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและคาระดบัความคิดเห็นของแตละตัวแปรที่เปน องคประกอบของการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผูปกครอง และครูที่เหมาะสมกับสงัคมไทย ........................................................................................ 179 6 คา Kaiser-Meyer-Olkin Measure of Sampling Adequacy ................................................ 162 7 แสดงจํานวนองคประกอบและคาแปรปรวนของตัวแปร Eigenvalues ...................................... 163 8 คาน้ําหนักขององคประกอบ และจํานวนกลุมขององคประกอบ ................................................. 164 9 องคประกอบท่ี 1 “องคประกอบดานการสรางภาคีเครือขาย” ................................................. 165 10 องคประกอบท่ี 2 “องคประกอบดานบรรยากาศองคการ” ....................................................... 166 11 องคประกอบท่ี 3 “องคประกอบดานความสัมพันธระหวางโรงเรียนและชุมชน” ...................... 167 12 องคประกอบท่ี 4 “องคประกอบดานการมีสวนรวมของสมาชิก. .............................................. 167 13 องคประกอบท่ี 5 “องคประกอบดานการประเมินผล” ............................................................... 168 14 องคประกอบท่ี 6 “องคประกอบดานการสนบัสนุนทรัพยากร” ................................................. 168 15 คาสถิติวัดความคลาดเคลื่อนสอดคลองกลมกลืนระหวางโมเดลและขอมูลเชิงประจักษ ............. 199 16 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจยัการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษาของ สมาคมผูปกครองและครูที่เหมาะสมกับสังคมไทย .......................................................... 200 17 คาความถี่และคารอยละของความคิดเห็นจากผูทรงคุณวฒุิที่มีตอองคประกอบการมีสวนรวม ในการบริหารจัดการสถานศึกษาของสมาคมผูปกครองและครูที่เหมาะสมกับ สังคมไทย ดานความเหมาะสม ดานความเปนไปได ดานความเปนประโยชน และดาน ความถูกตองครอบคลุม ..................................................................................................... 206

  • สารบัญภาพ ภาพที ่ หนา 1 กรอบแนวคิดของการวิจัย .............................................................................................................. 19 2 รูปแบบการบริหารที่ผูบริหารมตีําแหนงนายกหรืออุปนายก ......................................................... 98 3 รูปแบบการบริหารที่ผูบริหารโรงเรียนไมมีตําแหนงกรรมการบริหาร ............................................ 98 4 แสดงขั้นตอนการดาํเนินการวิจยั ................................................................................................. 112 5 สรุปผลการวิเคราะหองคประกอบของรูปแบบการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษา ของสมาคมผูปกครองและครูที่เหมาะสมกับสังคมไทย. ..................................................... 169 6 แสดงความสัมพันธระหวางปจจยัที่มีอิทธิพลตอการมีสวนรวมกับการมีสวนรวมของสมาชิก ..... 170 7 แสดงความสัมพันธระหวางปจจยัที่มีอิทธิพลตอการมีสวนรวมกับการบริหารจัดการ สถานศึกษา ....................................................................................................................... 171 8 แสดงความสัมพันธระหวางการสรางภาคีเครือขายกับการมีสวนรวมของสมาชิก ....................... 173 9 แสดงความสัมพันธระหวางการสรางภาคีเครือขายกับการประเมินผล........................................ 174 10 แสดงความสัมพันธระหวางการสรางภาคีเครือขายกับการสนบัสนุนทรัพยากร .......................... 175 11 แสดงความสัมพันธระหวางบรรยากาศองคการกับการสรางภาคีเครือขาย ................................. 177 12 แสดงความสัมพันธระหวางบรรยากาศองคการกับความสัมพันธระหวางโรงเรียนและชุมชน ..... 177 13 แสดงความสัมพันธระหวางบรรยากาศองคการกับการมีสวนรวมของสมาชิก ............................. 178 14 แสดงความสัมพันธระหวางบรรยากาศองคการกับการประเมินผล ............................................. 179 15 แสดงความสัมพันธระหวางบรรยากาศองคการกับการสนับสนุนทรัพยากร ................................ 180 16 แสดงความสัมพันธระหวางความสัมพันธระหวางโรงเรียนและชมุชน กับการสรางภาคีเครือขาย ............................................................................................... 181 17 แสดงความสัมพันธระหวางความสัมพันธระหวางโรงเรียนและชมุชน กับบรรยากาศองคการ.... 182 18 แสดงความสัมพันธระหวางความสัมพันธระหวางโรงเรียนและชมุชน กับการมีสวนรวมของสมาชิก ............................................................................................ 183 19 แสดงความสัมพันธระหวางความสัมพันธระหวางโรงเรียนและชมุชนกับการประเมินผล ........... 184 20 แสดงความสัมพันธระหวางความสัมพันธระหวางโรงเรียนและชมุชน กับการสนบัสนนุทรัพยากร ............................................................................................... 185 21 แสดงความสัมพันธระหวางการมีสวนรวมของสมาชิกกับการสรางภาคีเครือขาย ....................... 186 22 แสดงความสัมพันธระหวางการมีสวนรวมของสมาชิกกับบรรยากาศองคการ ............................. 187 23 แสดงความสัมพันธระหวางการมีสวนรวมของสมาชิกกับ ความสัมพันธระหวางโรงเรียน และชุมชน ......................................................................... 188

  • ภาพที ่ หนา 24 แสดงความสัมพันธระหวางการมีสวนรวมของสมาชิกกับการประเมินผล ................................... 188 25 แสดงความสัมพันธระหวางการมีสวนรวมของสมาชิกกับการสนบัสนนุทรัพยากร ...................... 189 26 แสดงความสัมพันธระหวางการประเมินผลกบัการสรางภาคีเครือขาย........................................ 190 27 แสดงความสัมพันธระหวางการประเมินผลกบับรรยากาศองคการ ............................................. 190 28 แสดงความสัมพันธระหวางการประเมินผลกบัความสัมพันธระหวางโรงเรียนและชุมชน ........... 191 29 แสดงความสัมพันธระหวางการประเมินผลกบัการมีสวนรวมของสมาชิก ................................... 192 30 แสดงความสัมพันธระหวางการประเมินผลกบัการสนับสนุนทรัพยากร ...................................... 193 31 แสดงความสัมพันธระหวางการสนับสนนุทรัพยากรกับการสรางภาคีเครือขาย .......................... 193 32 แสดงความสัมพันธระหวางการสนับสนนุทรัพยากรกับบรรยากาศองคการ ................................ 194 33 แสดงความสัมพันธระหวางการสนับสนนุทรัพยากรกับความสัมพันธระหวางโรงเรียนและชุมชน194 34 แสดงความสัมพันธระหวางการสนับสนนุทรัพยากรกับการมสีวนรวมของสมาชิก ...................... 195 35 แสดงความสัมพันธระหวางการสนับสนนุทรัพยากรกับการประเมิน ........................................... 196 36 การนําเสนอ (proposed model) รูปแบบการมีสวนรวมในการบริหารจัดการสถานศึกษา ของสมาคมผูปกครองและครูที่เหมาะสมกับสังคมไทยโดยการวิเคราะหเสนทาง ความสัมพันธเชิงเหตุและผล (path analysis) ............................................................... 197 37 แสดงรูปแบบความสัมพันธเชงิสาเหตุขององคประกอบของการมีสวนรวมในการบริหาร จัดการสถานศึกษาของสมาคมผูปกครองและครูที่เหมาะสมกับสงัคมไทยท่ีสอดคลอง กับขอมูลเชิงประจักษ ...................................................................................................... 201 38 แสดงรูปแบบความสัมพันธเชงิสาเหตุขององคประกอบการมีสวนรวมในการบริหารจัดการ สถานศึกษาของสมาคมผูปกครองและครูที่เหมาะสมกับสังคมไทยที่สอดคลองกับ ขอมูลเชิงประจักษและสอดคลองกบัแนวคิดทฤษฎีที่สนบัสนุนความสัมพนัธเชิงตรรกะ. 203

  • 1

    บทที่ 1

    บทนํา

    ภายใตการพัฒนาในสภาพโลกาภิวัตน การพัฒนาประเทศไทยใหมีความพรอมในการแขงขันใน เวทีโลกนั้น สิ่งที่อธิบายความสําเร็จของประเทศไดก็คือ คุณภาพของคนท่ีไดรับการศึกษา ประเทศใดมีกําลังคนที่มีการศึกษาสูงก็ยอมหวังสติปญญาความคิดและพลังสรางสรรคจากประชาชนไดมาก คุณภาพของคน ที่มีศักยภาพเทานั้นที่จะชวยพัฒนาประเทศแบบย่ังยืนการศึกษาเปนปจจัยสําคัญในการพัฒนาบุคคลใหเปน พลังในการเสริมสรางประเทศ ดังที่ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติไดอัญเชิญ พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชทานแนวพระราชดําริเกี่ยวกับความหมายของการศึกษา เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2520 ไวดังนี้ "การศึกษาเปนเครื่องมืออันสําคัญในการพัฒนาความรู ความคิด ความประพฤติ ทัศนคติ คานิยม และคุณธรรมของบุคคล เพ่ือใหเปนพลเมืองดีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ การพัฒนาประเทศ ก็ยอมทําไดสะดวกราบรื่น ไดผลที่แนนอนและรวดเร็ว"1 จะตองเพ่ิมคุณภาพของคนใหมีศักยภาพในการผลิต เพ่ือการแขงขันใหไดซึ่งการลงทุนทางการศึกษาเทานั้นที่จะชวยพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน แตกระบวนการลงทุนทางการศึกษาเปนกระบวนการท่ีซับซอน ใชทุนจํานวนมหาศาลและรูปแบบหลากหลาย ภาครัฐเองซึ่งเปนองคกรหลักที่มารับภาระในการลงทุนการศึกษาที่มีขอจํากัด ดานงบประมาณการจัดการศึกษาและไมมีหนวยงานใด ที่สามารถแบกรับภารกิจทั้งหมดและตอบสนองความตองการดานการเรียนรู อันหลากหลายของชุมชนได ดังนั้น การมีสวนรวมของประชาชนถือเปนหลักสากลท่ีอารยประเทศใหความสําคัญ และเปนประเด็นหลักที่สังคมไทย ใหความสําคัญเพ่ือพัฒนาการเมืองเขาสูระบอบประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมตามหลักธรรมาภิบาลที่สถานศึกษาจะตองเปดโอกาสใหประชาชนและผูที่เกี่ยวของทุกภาคสวน รับรู รวมคิด รวมตัดสินใจน้ันไดถูกกําหนดโดยรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 58 ไดบัญญัติเรื่องการมีสวนรวม ไววา บุคคลยอมมีสิทธิมีสวนรวมในกระบวนการพิจารณาของเจาหนาที่ของรัฐ ในการปฏิบัติราชการทางปกครองอันมีผลหรือ อาจมีผลกระทบตอสิทธิและเสรีภาพของตน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

    1สถาบนัสงเสริมและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู, พระราชดํารัสและพระบรมราโชวาทท่ีเกี่ยวกบั

    การศึกษา, เขาถึงเมื่อ 28 มิถุนายน 2554, เขาถึงไดจาก http://dnfe5.nfe.go.th/reign/Owat/0956.htm

  • 2 จึงกําหนดใหสถานศึกษา ที่จัดการศึกษาทุกระดับตองปฏิบัติตามโดยการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษา ทั้งนี้เพราะเม่ือผูปกครองควรมีสวนรวมในการจัดการศึกษายอมจะชวยขับเคล่ือนใหการบริหารจัดการสถานศึกษาดําเนินไปตามความตองการของผูปกครองและ ชุมชน ชวยใหสถานศึกษาไดรับการยอมรับจากชุมชน ชุมชนรักและหวงแหนสถานศึกษา ซึ่งสงผลใหผูปกครองและชุมชนสนับสนุนทรัพยากรการศึกษา และใหความรวมกับสถานศึกษาในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ดวยความเต็มใจและมาตรา 80(3) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การจัดการศึกษาในทุกระดับและทุกรูปแบบใหสอดคลองกับความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม จัดใหมีแผนการศึกษาแหงชาติ กฎหมายเพ่ือพัฒนาการศึกษาของชาติ จัดใหมีการพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาใหกาวหนาทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก รวมท้ังปลูกฝงใหผูเรียนมีจิตสํานึกของความเปนไทย มีระเบียบวินัย คํานึงถึงประโยชนสวนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข2

    ความเปนมาและความสําคัญของปญหา สังคมไทยภายใตอิทธิพลของกระแสโลกาภิวัตน (Globalization) ในปจจุบันนั้นกําลังเผชิญ

    กับภาวะความหลากหลายในเรื่องของสังคม วัฒนธรรม กระแสทุนนิยม เทคโนโลยี ขอมูลขาวสารหรือแมกระท่ังเรื่องของการศึกษา อิทธิพลของกระแสโลกาภิวัตนนั้นมีสวนทําใหพรมแดนทางวัฒนธรรม (Cultural Boundary) มีลักษณะท่ีเลื่อนไหล สังคมไทยกําลังเผชิญกับลักษณะสังคมพหุลักษณะทางวัฒนธรรม (Cultural Pluralism) ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประเด็นทางวัฒนธรรมและแนวคิดทางเศรษฐกิจและสังคมแบบตะวันตก ไดกอตัวและกําลังสรางแนวคิดและคานิยมใหมๆ ใหแกสังคมไทยอยางมากมาย

    มิติของความเปนสากลและกระแสโลกาภิวัตนทางวัฒนธรรมที่หลั่งไหลเขาสูสังคมไทย นอกเหนือจากการทองเท่ียว การคา เทคโนโลยีตลอดจนส่ือบันเทิงตางๆ การศึกษาเปนอีกมิติหนึ่งที่ตองยอมรับวาไดรับผลกระทบจากกระแสดังกลาว แนวคิดแบบทุนนิยมโลภิวัตนเปนเหตุปจจัยหนึ่งที่ผลักดันใหประชาชนไทยนั้น มีความตองการในการไดรับบริการดานการศึกษา เพราะเชื่อวาการศึกษาเปนเครื่องมือที่ชวยยกฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม

    2สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาแหงชาติ, “รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช

    2550,” 24 สิงหาคม 2550.

  • 3 เนื่องจากนิยามและแนวทางการจัดการศึกษาน้ันตองการใหการศึกษาเปนเครื่องมือสําคัญ ที่

    นํามาใชในการพัฒนาคนเพ่ือนําไปสูการพัฒนาประเทศ ดังนั้น มนุษยทุกคนจําเปนที่จะตองไดรับการศึกษาและการเรียนรูในรูปแบบตางๆ และจะตองเปนกระบวนการที่ไดรับอยางตอเนื่องไปตลอดชีวิต ดังนั้นกระบวน การศึกษาจึงเปนกระบวนการหรือวิธีการท่ีชวยใหคนไดรูจักโลก รูจักการดําเนินชีวิตในโลกและรูจักสรางสรรค สิ่งตางๆ ในโลกและเปนการรับมือกับสภาวะวัฒนธรรมสังคมทุนนิยมโลกาภิวัตนที่เขามามีบทบาทในสังคมไทย

    อิทธิพลของกระแสโลกาภิวัตนที่สําคัญประการหนึ่งที่มีผลตอระบบการศึกษาไทยในเชิงบวกคือ การเปดโลกทัศนและขยายพรมแดนเก่ียวกับแนวคิดการจัดการศึกษาแบบใหมใหกับสังคมไทยท้ังการเลือกรับหรือการจําใจรับเอารูปแบบการศึกษาตางๆ จากกลุมประเทศมหาอํานาจ3 เพ่ือจะไดพัฒนาประเทศใหทันตอกระแสแหงการเปลี่ยนแปลง และไมตกในสภาวะท่ีไมสมดุลและวิกฤตตางๆ เพ่ือความเหมาะสมกับบริบทและวัฒนธรรมการสรางสังคมความรูและสังคมภูมิปญญา คือแนวทางสําคัญของแผนการศึกษาแหงชาติ4 แตสังคมภูมิปญญาและสังคมความรูที่แทจริงควรมาจาก “ฐานรากของสังคม” และการพัฒนาอยางบูรณาการตองเอาพ้ืนที่เปนตัวตั้งเพราะชุมชนคือฐานรากของประเทศ ถาชุมชนทั้งหมดเขมแข็งทุกดาน ทั้งเศรษฐกิจ จิตใจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม สุขภาพ การศึกษา ประชาธิปไตย ประเทศไทยก็จะม่ันคง5

    ประเทศที่มีชุมชนเปนรากฐานท่ีมั่นคงและเขมแข็งเทานั้น ที่จะมีความพรอมในการแขงขัน ตอสู เพ่ือความอยูรอดและดํารงประเทศอยูได ตลอดจนมีความสามารถในการแขงขันกับนานาประเทศ จึงมี ความจําเปนอยางยิ่งที่ตองเรงยกระดับคุณภาพการศึกษาและคุณภาพชีวิตของคนไทย เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันใหเทาเทียมกับนานาอารยะประเทศ การศึกษาไดถูกใหความหมายในฐานะเครื่องมือที่จะนําไปสู

    3วรวุฒิ สุภาพ, "การศึกษาอัตลักษณและการใหความหมายของการศึกษาเพื่อการพัฒนาพ้ืนที่

    ทางการ ศึกษาในสังคมไทย:กรณีศึกษานักเรียนไทยที่ศึกษาโปรแกรมเตรียมความพรอมเพ่ือ สอบวัดระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของสหรัฐอเมริกาในประเทศไทย” (วิทยานิพนธดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเปนผูนําทางการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2552), 1.

    4สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาแหงชาติ, “แผนการศึกษาแหงชาติฉบับปรับปรุง พ.ศ. (2552-2559),” 24 สิงหาคม 2550.

    5ประเวศ วะสี, “จุดเปลี่ยนมหาวิทยาลัยไทย-จุดเปลี่ยนประเทศไทย,” โพสตทูเดย (31 กรกฏาคม 2555): 2.

  • 4 การบรรลุเปาหมายดังกลาว ดังนั้นหนวยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและทุกสวนของสังคม

    จะตองผนึกกําลังรวมกันที่จะเรงรัดจัดการศึกษา ใหประชาชนไดรับการศึกษาที่สูงขึ้น การศึกษาเปนตัวนําการพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ ซึ่งการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง พ.ศ. 2552-2561 รัฐบาลจะมุงเนนใหคนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิตอยาง มีคุณภาพโดยมีเปาหมายหลักสามประการ คือ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรูของคนไทย เพ่ิมโอกาสทางการศึกษา เรียนรูอยางทั่วถึง มีคุณภาพ และสงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนของสังคมใน การบริหารและจัดการศึกษาโดยระบบการศึกษาไดพยายามปรับเปลี่ยน โดยใหผูปกครองและชุมชนไดเขามามีบทบาททางการศึกษา

    การจัดการศึกษารวมกับโรงเรียน นับตั้งแตการมีสวนรวมในการสรางความรูความเขาใจรวมกัน การรวมคิด รวมวางแผน รวมระดมทุน การรวมติดตามและประเมินผล รวมรับประโยชนและการกระชับความสัมพันธกับชุมชนและโรงเรียนใหมากข้ึน การมีสวนรวมของชุมชนในกระบวนการจัดการศึกษาอยางแทจริง ดังที่กลาวมานั้นนับวาเปนปจจัย ที่สําคัญของการบริหารจัดการเพ่ือใหโรงเรียนบรรลุเปาหมายตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา สอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 ในการปฏิรูปการศึกษาไทยเปนภารกิจของคนไทยทุกคน เพ่ือเปนแนวรวมในการพัฒนาคนไทยและสรางสรรคพลังปญญาของสังคมไทย ดังที่กลาวใน มาตรา 8 ไดระบุวา “การของชาติ โดยสรางจัดการศึกษาเปนการศึกษาตลอดชีวิต โดยใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา พัฒนาทักษะและกระบวนการเรียนรูอยางตอเนื่อง” มาตรา 10 ระบุไววา “บุคคลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาข้ันพื้นฐานไมนอยกวาสิบสองปที่รัฐจะตองจัดใหอยางทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย” มาตรา 29 ไดระบุวา “ใหสถานศึกษารวมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืน สงเสริมความเขมแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการ เรียนรูภายในชุมชน เพ่ือใหชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรม มีการแสวงหาความรู ขอมูล ขาวสาร และรูจักเลือกสรรภูมิปญญาและวิทยาการตาง ๆ เพ่ือพัฒนาชุมชนใหสอดคลองกับ สภาพปญหาและความตองการ รวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนใหมี การแลกเปลี่ยนประสบการณการพัฒนาระหวางชุมชน” มาตรา 40 ใหมีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

    ซึ่งเปนการบริหารโดยองคคณะบุคคล เพ่ือทําหนาที่กํากับและสงเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษา ประกอบดวย ผูแทนผูปกครอง ผูแทนครู ผูแทนองคกรชุมชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูแทนศิษยเกาของสถานศึกษา ผูแทนพระภิกษุสงฆหรือผูแทนองคกรศาสนาอ่ืนในพ้ืนที่และผูทรงคุณวุฒิ

  • 5 นอกจากนี้ในพระราชบัญญัติดังกลาวยังระบุเกี่ยวกับ การมีสวนรวมของชุมชนไวใน มาตรา

    57 ใหหนวยงานทางการศึกษาระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชนใหมีสวนรวมในการจัดการศึกษาโดยนําประสบการณ ความรอบรู ความชํานาญ และภูมิปญญา ทองถิ่นของบุคคลดังกลาวมาใช เพ่ือใหเกิดประโยชนทางการศึกษาและยกยองเชิดชูผูที่สงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา มาตรา 58 ขอ 2 ระบุวา ใหบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกร การปกครองสวนทองถิ่น องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืน ระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา โดยเปนผูจัดและมีสวนรวมในการจัดการศึกษา บริจาคทรัพยสินและทรัพยากรอ่ืนใหแกสถานศึกษา และมีสวนรวมรับภาระคาใชจายทางการศึกษาตามความเหมาะสมและความจําเปน ซึ่งพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติเนนใหทุกสวนของสังคม คือ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืนมีสวนรวมในการจัดการศึกษา

    สังคมไทยใหเปนสังคมแหงการเรียนรูนอกจากนี้ยังมีแบบแผนการมีสวนรวมของประชาชนที่เปนแบบก่ึงทางการและ ไมเปนแบบทางการ เชน มูลนิธิ สมาคม ชมรมศิษยเกา กลุมพัฒนาในชุมชน และกลุมอาสาสมัคร เปนตน จากการท่ีกลาวมาแสดงใหเห็นวาการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการบริหารและจัดการศึกษามีความสําคัญตอกระบวนการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของคนไทย6

    การมีสวนรวมของพอแม ผูปกครอง ในการบริหารการศึกษานั้น ถือวาเปนหัวใจของการปฏิรูปการศึกษาท่ีหลายประเทศใหความเอาใจใสอยางจริงจังดวย ผลการวิจัยดานครอบครัวในรอบ 30 ปที่ผานมา พบวา ความสัมพันธอยางใกลชิดระหวางพอแม ผูปกครองและโรงเรียน นอกจากจะทําใหเด็กประสบผลสําเร็จในดานวิชาการแลวยังมีสวนชวยใหเด็กมีพัฒนาการท่ีสมบูรณทั้งทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ และสังคม ที่นําไปสูความกาวหนาของชีวิตตอไปในอนาคต ในประเทศตาง ๆ จึงมีองคกรมากมายที่สงเสริมบทบาทของพอแม ผูปกครอง ในการใหคําปรึกษาแนะนําวิธีการอบรมเล้ียงดู และการมีบทบาทในการเรียนของลูก รวมถึงองคกรที่ชวยใหคําปรึกษา แนะนํา รวมถึง อบรมพอแมเพ่ือใหมีความพรอมในการทําหนาที่เปนผูแทนเขารวมกิจกรรมตางๆ โดยในประเทศสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลียมีองคกรที่ทํา

    6กระทรวงศึกษาธิการ, “พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไขเพิ่มเติม (ฉบับ

    ที่ 2) พ.ศ. 2545,” 14 สิงหาคม 2542.

  • 6 หนาที่ดังกลาว เชน National Parent Association, National Center for Home Education, Pacific Institute for Community Organization, Parent without Partners เปนตน7

    การบริหารโดยท่ัวไป ผูปกครองและชุมชนควรจะตองเขามามีสวนรวมกับโรงเรียน ในการสรางพัฒนาการเด็กใหมีความเจริญงอกงามและการเรียนรูที่ดี การท่ีผูปกครองเขามามีสวนรวมยอมเปนโอกาสอันดี ที่ผูปกครองจะไดเรียนรูในบทบาทหนาที่ที่ควรจะเปนการมีสวนรวมของผูปกครองในกระบวนการศึกษาของเด็กและเยาวชนเกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา ป ค.ศ.1897 โดยกลุมผูปกครองไดตั้งสมาคมข้ึน ซึ่งตอมาเรียกวา สมาคมผูปกครองและครู (Parent Teacher Association – PTA) จุดมุงหมายของสมาคมก็คือการปรับสภาพแวดลอมของเด็กในโรงเรียนและที่บานใหดีขึ้นเพ่ือการเรียนรูที่ดี สหรัฐอเมริกาไดใหความสําคัญตอบทบาทของสมาคมน้ีอยางมาก สตีเวน กลาววา สหรัฐอเมริกาตั้งเปาหมายการขยายตัวของสมาคมวาภายใน ค.ศ. 2000 ทุกชุมชนจะตองมีสมาคมผูปกครองและครูเพ่ือใหผูปกครองและครูไดเรียนรูบทบาทที่จะสงผลตอนักเรียนและสราง ความรวมมือระหวางโรงเรียนกับชุมชน

    ในการท่ีผูปกครองจะเขามามีสวนรวมกับโรงเรียนอีกรูปแบบหนึ่งก็คือ การเขาเปนสมาชิกของสมาคมผูปกครองและครู สมาคมผูปกครองและครูเปนองคกรหน่ึงที่จัดตั้งขึ้นมา เพ่ือประสานความรวมมือระหวางโรงเรียนและผูปกครอง ซึ่งเปนชองทางหรือเปนเวทีที่จะใหผูปกครองและครู ไดมีสวนรวมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตลอดจนการจัดกิจกรรมตางๆ ที่จะเปนประโยชนแกผูปกครอง โรงเรียนและนักเรียน บทบาทท่ีสําคัญของสมาคมคือการจัดกิจกรรมการศึกษาที่หลากหลายซ่ึงมีจุดมุงหมาย คือ ความเจริญงอกงามของบุตรหลานของตนนั่นเอง การท่ีผูปกครองเขามาเปนสมาชิกของสมาคมผูปกครองและครู นับไดวาเปนการเขามามีสวนรวมในการสนับสนุนสงเสริมกิจกรรมตางๆ ที่จะเอ้ือประโยชนตอการเรียนรูของนักเรียน

    7ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย, "การพัฒนารูปแบบการจัดการประสบการณการเรียนรูแบบผูปกครอง

    มีสวนรวมเพื่อพัฒนาทักษางสังคม สําหรับนักเรียนปฐมวัย” (วิทยานิพนธดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2552), 8.

  • 7 ปญหาของการวิจัย

    การศึกษาของประเทศจะอยูในทิศทางใด ขึ้นอยูกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี ที่เปลี่ยนแปลงไป การศึกษาเปรียบเสมือนหัวใจที่ขับเคลื่อนโลหิตไมหลอเลี้ยงระบบตาง ๆ ของรางกายทําให มีชีวิตอยูไดในทํานองเดียวกัน การศึกษาตองพ่ึงพาระบบเศรษฐกิจ การเงิน การคลัง เหตุวา ระบบเศรษฐกิจ ของประเทศดี งบประมาณมีมากข้ึน รัฐสามารถจัดสรรงบประมาณสนับสนุนดานการศึกษาของประชาชนไดมาก การศึกษาท้ังในระบบ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จําเปนตองอาศัยงบประมาณแผนดินเปนปจจัยสําคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในขณะเดียวกันนโยบายของรัฐบาลเปนอีกปจจัยหนึ่งที่เปนแรงขับเคลื่อนทางการศึกษา การไดมาซึ่งนโยบายแหงรัฐยอมไดมาจากการเมือง โดยอาศัยการการเลือกตั้งที่สุจริต เที่ยงธรรม ทําใหไดนักการเมืองท่ีเขามาทําหนาที่ แทนประชาชนในการกําหนดนโยบายตาง ๆ เพ่ือพัฒนาประเทศ รวมทั้งนโยบายดานการศึกษาดวยเชนกัน การที่ไดผูแทนที่มีวิสัยทัศนกวางไกล มองภาพอนาคตของประเทศไทย ไดอยางชัดเจนในทามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลง สามารถกําหนดทิศทางของประเทศ ประกอบดวยยุทธศาสตรในการพัฒนาประเทศสูสังคมโลกไดอยางมีประสิทธิภาพ การไดนักการเมืองเชนนี้ยอมทําใหประเทศพัฒนา ปจจัยดังกลาวจะสําเร็จไดตองอาศัยการใหการศึกษาแกประชาชนที่มีสิทธิหนาที่ในการเลือกต้ัง เกิดความสํานึกรับผิดชอบตอสังคม ทั้งนี้เพ่ือใหไดบุคคลท่ีจะนําพาประเทศใหพัฒนาตอไป ทรัพยากรมนุษย จึงเปรียบเสมือนตนทุนของประเทศ ที่ตองไดรับการพัฒนา และการพัฒนาทรัพยากรมนุษยคือการใหการศึกษา8

    ในปจจุบันนี้งบประมาณเพ่ือการศึกษาของประเทศไทยในรอบ 5 ปที่ผานมา รัฐบาลไทยไดจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปใหกระทรวงศึกษาธิการเพ่ือบริหารการศึกษา มากเปนอันดับ 1 และจัดสรรงบประมาณเพ่ิมขึ้นทุกปมาโดยตลอด ดังตอไปนี้ ป 2551 จัดสรรงบประมาณ ให ฯ จํานวน 301,437,400 บาท คิดเปนรอยละ 18.2 ของงบประมาณประจําป ป 2552 จัดสรรงบประมาณ ใหฯจํานวน 350,556,591,200 บาท คิดเปนรอยละ 18 ของงบประมาณประจําป ป 2553 จัดสรรงบประมาณ ใหฯ จํานวน 346,713,093,300 บาท คิดเปนรอยละ 20.4 ของงบประมาณประจําป ป 2554 จัดสรรงบประมาณ ใหฯ จํานวน 392,454,037,800 บาท คิดเปนรอยละ 18.1 ของงบประมาณประจําป ป 2555 จัดสรรงบประมาณ ใหฯ จํานวน 420,490,032,600 บาท คิดเปนรอยละ 17.7 ของ

    8อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ, "การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนเอกชนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลใน

    ทศวรรษหนา,” (วิทยานิพนธดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา , 2551), เขาถึงเมื่อ 20 มิถุนายน 2554. บทคัดยอจากฐานขอมูล http://www.kamsondeedee.com/school /chapter-002/41-2008-12-11-13-35-24/70-2008-12-11-16-08-32

  • 8 งบประมาณประจําป ป 2556 จัดสรรงบประมาณใหฯ จํานวน 460,411,648,800 บาท คิดเปนรอยละ 19.18 ของงบประมาณประจําป (ขอมูลจาก: งบประมาณแผนดิน) รัฐบาลไทยไดทุมงบประมาณเพ่ือจัดการศึกษามาจนถึงปจจุบัน จํานวนมหาศาล

    จากผลการจัดอันดับความสามารถในการแขงขันดานการศึกษาท่ีจัดโดยสถาบันเพ่ือการพัฒนา การจัดการ หรือ IMD (Institute for Management Development) สําหรับประเทศไทยในป พ.ศ. 2554 นั้นถูกจัดอันดับความสามารถในการแขงขันเปนอันดับที่ 51 จาก 59 ประเทศ ดานโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาอยูที่อันดับ 52 จากทั้งหมด 59 ประเทศ สวนอัตราการไมรูหนังสือของผูใหญอายุ 15 ปขึ้นไป ไมเปลี่ยนแปลง โดยอยูที่รอยละ 5.9 อันดับ 44 ดานคุณภาพการศึกษา เปนอันดับ 43 45 46 ใน ป พ.ศ. 2552-2554 ตามลําดับและผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางคณิตศาสตรและวิทย�