เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป...

65
รายงานฉบับสมบูรณ โครงการการพัฒนาและออกแบบแมพิมพขึ้นรูปโลหะแผนดวยน้ําสําหรับชิ้นงานจานฉาย (Hydromechanical Deep Drawing Die Design and Development for Light Reflector) โดย นาย สุวัฒน จีรเธียรนาถ (ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ) นาย กฤษดา ประภากร (ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ) เสนอ สถาบันเหล็กและเหล็กกลาแหงประเทศไทย 16 กันยายน 2553

Transcript of เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป...

Page 1: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

รายงานฉบับสมบูรณ

โครงการการพัฒนาและออกแบบแมพมิพขึน้รูปโลหะแผนดวยน้ําสําหรับชิ้นงานจานฉาย

(Hydromechanical Deep Drawing Die Design and Development for Light Reflector)

โดย

นาย สุวัฒน จีรเธียรนาถ (ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ)

นาย กฤษดา ประภากร (ศูนยเทคโนโลยโีลหะและวสัดุแหงชาติ)

เสนอ

สถาบันเหล็กและเหล็กกลาแหงประเทศไทย

16 กันยายน 2553

Page 2: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 2 -

สารบัญ

บทที่ 1 – บทนํา

บทที่ 2 – การออกแบบแมพิมพขึ้นรูปโลหะแผนดวยน้ําสําหรับช้ินงานจานฉาย

2.1 การออกแบบหนาทีก่ารทํางานของแมพิมพ

2.2 การออกแบบความแข็งแรงของ Counter Pot

2.3 การออกแบบรายละเอียดของแมพิมพ

บทที่ 3 – การทดสอบคุณสมบัติของโลหะแผนดวย Hydraulic Bulge Test และ การทดสอบการดึง

3.1 การทดสอบดวย Hydraulic Bulge Test

3.2 การทดสอบดวย Tensile Test

บทที่ 4 – การจําลองเพื่อเปรียบเทียบชิ้นงานของบริษัทเจริญลาภกับชิ้นงานจานฉาย

บทที่ 5 – การจําลองเพื่อศึกษาพฤติกรรมของการขึ้นรูปชิ้นงานจานฉาย

5.1. การจําลองการขึ้นรูปโลหะแผนดวยน้ําสําหรับชิ้นงานจานฉาย

5.2 ลักษณะของแรงดันและแรงจับยึด

5.3 การศึกษาพฤตกิรรมการขึน้รูปโลหะแผนดวยน้ําสําหรบัชิ้นงานจานฉาย

5.4 การหาแรงดันและแรงจับยึดที่เหมาะสมในการขึ้นรูปชิน้งานจานฉาย

บทที่ 6 – การทดลองการขึ้นรูปชิ้นงานจานฉาย

6.1 การทดสอบการจําลองกับผลการทดสอบจริงเบื้องตน

6.2 การทดสอบแรงดันและแรงจับยึดที่เหมาะสมที่ไดการจาํลองกับผลการทดสอบจริง

บทที่ 7 – การวิเคราะหทางดานเศรษฐศาสตร

บทที่ 8 – สรุปผลการดําเนินงาน

Page 3: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 3 -

บทที่ 1

บทนํา

ชิ้นงาน Light Reflector ของไฟสองสวางสวนใหญจะมีลักษณะรูปรางเปนแบบ Parabola ดัง

แสดงในรูปที่ 1.1 เพื่อใหการกระจายของลําแสงเปนไปในทิศทางตรง โดยไมมีการกระเจิงออกนอก

แนวทําใหไดแสงที่มีความสวางตามตองการโดยใชกําลังไฟท่ีนอยลง

รูปที่ 1.1 – ชิ้นงานรูปรางของ Reflector

ชิ้นงานรูปทรง Parabolic นั้นมีลักษณะเปนแบบ Taper สงผลใหการขึน้รูปดวยกระบวนการแบบดั้งเดิม

(Deep Drawing) ตองขึ้นรูปทั้งหมด 6 ขั้นตอนดังแสดงในรูปที่ 1.2 ดังนั้นในขอเสนอโครงการนี้

กระบวนการ Hydromechanical Deep Drawing (HMD) จึงถูกนํามาประยกุตใชเพื่อทําการขึ้นรูปถวย

ทรง Parabolic โดยอาศัยประโยชนจากแรงดันน้ํามาชวยยับยั้งการเกิดรอยยนบริเวณผนงั (Side wall

wrinkle; SWW) พรอมทั้งชะลอการเกิดการฉีกขาดใหชาลงได ซึ่งนาจะสงผลใหสามารถขึ้นรูปชิ้นงานนี้

ไดในขั้นตอนเดียวดวยแมพิมพชุดเดียว โดยชิ้นงานรูปถวยทรง Parabolic ที่ใชในงานวิจยันี้มีรูปรางและ

ขนาดแสดงดังรูปที่ 1.3 การขึ้นรูปดวยกระบวนการ HMD นั้นแรงดันน้ํา (Pressure) เปนปจจัยหนึ่งที่

สําคัญกลาวคือถาแรงดันน้ํามากเกินไปจะสงผลใหชิ้นงานเกิดผิวบาง (Thinning) หรืออาจจะฉกีขาดได

ในทางกลับกันถาแรงดนัน้ํานอยเกินไปชิ้นงานกจ็ะเกดิรอยยนที่ผนังได และปจจัยที่สําคัญอีกประการ

หนึ่งคือแรงจับยึด (Blank holder force; BHF) ถาแรงจับยึดมากเกินไปจะสงผลใหชิน้งานเกดิผิวบาง

หรืออาจจะฉีกขาดได ในทางตรงกันขามถาแรงดันน้ํานอยเกินไปชิ้นงานกจ็ะเกดิรอยยนที่ปก (Flange

Page 4: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 4 -

wrinkle; FW) ได ดังนั้นลักษณะของแรงดันและแรงจับยึดจึงมีความสําคญัตลอดการขึ้นรูป โดยลักษณะ

ของปญหาในการขึ้นรูปถวยทรง Parabolic ดวยกระบวนการ HMD แสดงดังรูปที่ 1.4

รูปที่ 1.2 – การขึน้รูปชิ้นงานที่มีลักษณะเปนแบบ Taper ดวยกระบวนการแบบดั้งเดิมตองขึ้นรูปทั้งหมด

6 ขั้นตอน

Focus

(mm)

Width

(mm)

Height

(mm)

Blank Dia.

(mm)

Parabolic 20.0 178.89 100.00 320.00

รูปที่ 1.3 – รูปรางและขนาดของถวยทรง Parabolic

Focus H

Width

F

Page 5: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 5 -

รูปที่ 1.4 – ลักษณะของปญหาในการขึน้รูปถวยทรง Parabolic ดวยกระบวนการ HMD

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคดวยกัน 2 ขอ คือ

1. การออกแบบแมพิมพขึ้นรูปโลหะแผนดวยน้ําสําหรับชิ้นงานจานฉาย

2. การออกแบบลักษณะของเสนโคงความสัมพันธระหวาง Pressure และ Blank Holder Force

ที่ตองใชในการขึ้นรูปดวยน้ําของถวยทรง Parabolic

ในขั้นตอนแรกของงานวิจัยนี้จะมุงเนนในการออกแบบแบบแมพิมพเปนลําดับแรก

R=5

h=20

Steel: SPCC, t = 1, = 320

Stroke = 100+10+20

H R h

P

Sealing

BHF (kN)

Time

BBHHFF==??

3.02e-2 1e-2

2255

P (MPa)

Time

3

1e-2 3.02e-2

PMax= ?

Page 6: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 6 -

บทที่ 2

การออกแบบแมพิมพขึ้นรูปโลหะแผนดวยน้ําสําหรับช้ินงานจานฉาย

2.1 การออกแบบหนาที่การทํางานของแมพิมพ

แมพิมพของกระบวนการขึ้นรูปแบบ HMD จะประกอบดวย สวนตางๆ ที่สําคัญ 3 สวนดวยกัน

คือ

1. Punch มีลักษณะเปนแทงเหล็กที่มีรูปรางเหมือนกับชิ้นงานที่เราตองการในที่นี้คือรูปทรง

Parabolic

2. Counter Pot เปนอางสําหรับเก็บกักน้ําพรอมกับเพิ่มแรงดันน้ําและรองรับการเคลื่อนที่ของ

Punch และ โลหะแผน ที่แทรกสอดเขามา Counter Pot สามารถใชไดกับ Punch หลากหลายรูปแบบที่มี

ขนาดไมใหญและลึกเกินกวาที่ออกแบบไว ดังนั้นกระบวนการขึ้นรูปโลหะแผนแบบ HMD จะประหยัด

การสราง Counter Pot ลงได

3. Binder หรือ Blank Holder เปนสวนที่จับยึดโลหะแผนใหเขากับ Die นอกจากนั้นยังทํา

หนาที่ในการควบคุมการไหลของโลหะแผนเขาสู Die รูปที่ 2.1 แสดงองคประกอบของแมพิมพแบบ

HMD

Page 7: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 7 -

รูปที่ 2.1 – องคประกอบของแมพิมพหนึ่งชุด ดวยกระบวนการ HMD

2.2 การออกแบบความแข็งแรงของ Counter Pot

เนื่องจากวา Counter Pot เปนชิ้นสวนที่รองรับแรงดันน้ําเปนสวนใหญจึงพิจารณา

ความแข็งแรงเปนกรณีพิเศษ โดยกําหนดคาของแรงดันน้ําสูงสุดที่มากระทํากับ Counter Pot ที่ 500 Bars

(50 MPa) และ แรงจับยึดขนาด 100 Tons (1,000 kN) ดังแสดงในรูปที่ 2.2

ไดใชระเบียบวิธีไฟไนตเอลิเมนตชวยในการวิเคราะหความแข็งแรงของ Counter Pot พบวาการกระจาย

ตัวของคาVonMises Stress แสดงดังรูปท่ี 2.3 โดยมีคาสูงสุดอยูบริเวณรัศมีความโคงของอางมีคาเทากับ

143.2 MPa และมีคาการเคลื่อนตัวสูงสุดอยูบริเวณขอบในของปากอางดานบนมีคา 0.042 mm โดยวัสดุ

ที่ใชทําแมพิมพมีคา Yield อยูประมาณ 500 MPa สรุปวา Counter Pot ดังกลาวมีความแข็งแรงเพียงพอ

คือมีคา Factor of Safety ประมาณ 3.5

Punch

Binder

Binder Ring

Counter Pot Ring

Counter Pot

Seal

Water Tube

Page 8: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 8 -

รูปที่ 2.2 – ลักษณะของภาระแรงที่มากระทํากับ Counter Pot

รูปที่ 2.3 – การกระจายตัวของความเคนบน Counter Pot

2.3 การออกแบบรายละเอียดของแมพิมพ

แสดงรูปรางและขนาดของแมพิมพดังรูปที่ 2.4 และเมื่อไปประกอบกับ Die Shoe และ

Guide Post ไดแสดงขั้นตอนการขึ้นรูปดังรูปที่ 2.5

Force 250,000 N (25 Ton)

P = 50 MPa

Fix at Bottom

Max. Stress = 143.2 MPa Max. Deform = 0.042 mm

Page 9: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 9 -

รูปที่ 2.4 – รูปรางและขนาดของแมพิมพโดยละเอียด

Page 10: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 10 -

รูปที่ 2.5 – ขั้นตอนการขึ้นรูปเมื่อนํามาตดิตั้งกับ Die Set

Step1 – Before insert blank Step2 – Insert blank

Step3 – Pre-bulge, Tooling stationary but pressure

active

Step4 – Forming

Step4 – Forming (Counter pot opened)

Page 11: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 11 -

บทที่ 3

การทดสอบคุณสมบัติของโลหะแผนดวย Hydraulic Bulge Test และ การ

ทดสอบการดงึ

3.1 การทดสอบดวย Hydraulic Bulge Test

แบบรางของ Hydraulic Bulge Test แสดงไดดังรูปที่ 3.1 โดยกําหนดใหเสนผาศูนยกลางของ

แมพิมพ (Die) มีขนาดเทากับ 100 มิลลิเมตร และมีรัศมีของดายเทากับ 5 มิลลิเมตร การที่ให

เสนผาศูนยกลางของดายมีขนาดใหญเพื่อใหผลของ Bending Stress มีคานอย

phd

dc = 105.7 mm = 4.161"

td

t0

Rc = 6.35 mm = 0.25"

Rd

dsheet = 140 mm = 5.512" = constant

รูปที่ 3.1 – การรางแบบเพื่อเตรียมพรอมสําหรับ Hydraulic Bulge Test

Hydraulic Bulge Test (HBT) เปนการทดสอบเพื่อหาความสามารถในการขึ้นรูป (Formability)

ของวัสดุ โดยนําโลหะแผนมาขึ้นรูปเปนรูปโดมครึ่งทรงกลม โดยในขณะขึ้นรูป ชิ้นงานตองพยายาม

รักษารูปรางทรงกลมใหได พรอมกันนั้น Bending Stress ที่เกิดขึ้นจะตองมีคานอยมากหรือไมมีเลย

ดังนั้นเสนผานศูนยกลางของครึ่งทรงกลมควรมีขนาดใหญเมื่อเทียบกับความหนาของโลหะแผน

ขอสมมติฐานในการขึ้นรูปโดมจะตองเปนสวนของทรงกลมตลอดและไมมี Bending Stress

รวมถึง Stress ในแนวความหนา จึงใชทฤษฎีของ Membrane เขามาพิจารณา ดังแสดงในสมการที่ 1

D = 100mm

R=5mm

Chamber opening =D+2R = 110

400 mm

Page 12: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 12 -

t

p

RR

2

2

1

1 (1)

โดยที่

1 และ 2 คือ คา Principle Stress ในแกนของพื้นผิว

R1 และ R2 คือ คารัศมีของทรงกลมที่เกิดขึ้นขณะขึ้นรูป

p คือ แรงดัน

t คือ คาความหนาบนยอดโดม

จากรูปรางที่เปนรูปทรงกลมอยางสมบูรณแบบทําใหรูปรางของ HBT เปน Axisymmetrtic สงผลให

= 1 = 2 และ R = R1 = R2 ทําใหสมการที่ (1) เปน

d

d

t

pR

2 (2)

โดยที่

คือ คา Principle Stress ในแกนของพื้นผิว

Rd คือ คารัศมีของทรงกลมที่เกิดขึ้นขณะขึ้นรูป

p คือ แรงดัน

td คือ คาความหนาบนยอดโดม

กรณีไมแรงจากภายนอกมากระทํากับโดมคาความเคนโดยเฉลี่ยท่ีเกิดขึน้บนผิวโดม ในแนวตั้งฉาก

(Average Normal Stress; n) แสดงดังสมการที่ (3)

ppn2

1)0(

2

1 (3)

คา Effective Stress สามารถคํานวณจาก Tresca’s Plastic Flow Criterion ดังนี ้

22

p

t

pR

d

dMinMax

(4)

Page 13: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 13 -

สามารถจัดรูปใหมไดดังนี ้

1

2 d

d

t

Rp (5)

ในสวนของคา Effective Strain สามารถคํานวณจาก Hydraulic Bulge Test จากความหนาของโลหะ

แผน (Sheet Thickness) ไดดังนี ้

dt

t

tln 0 (6)

จากสมการที ่5 และ 6 ถาเราสามารถหาคา Rd, td ,t0 และ p ไดตลอดการขึ้นรูปจะทําใหเราสามารถหาคา

ความสัมพันธระหวางความเคนและความเครียด (Flow Curve) ได ซึ่งจะทําใหเราไดคา Flow Curve ที่คา

Strain มากกวา 25% โดยคา Rd สามารถหาไดจากสมการที่ 7 ดังนี ้

d

dcdcc

dh

hRhRd

R2

2)2

( 22 (7)

โดยที่

dc คือ คาเสนผาศูนยกลางของปากแมพิมพ

Rc คือ คารัศมี Fillet ของแมพิมพ

hd คือ ความสูงของโดมขณะขึ้นรูป

โดยคาความสูงของโดมขณะขึ้นรูปสามารถวัดไดจากเครื่องวัด Linear Variable Differential

Transformer (LVDT) สวนคา Pressure สามารถหาได Pressure Sensor ที่ติดตั้งบนแมพิมพ สวนคา

ความหนาที่ยอดโดมสามารถหาไดจากสมการที่ 8 ดังนี้

2

20

)2

(1

1

c

dd

d

htt (8)

หลังจากกําหนดรูปรางของแมพิมพไดจําเปนตองมีการทดสอบกอนวา แมพิมพที่ออกแบบไวสามารถ

ขึ้นรูปชิ้นงานรูปทรงกลมไดหรือไม ผานการจําลองดวยระเบียบวิธีไฟไนตเอลิเมนตแบบ Dynamic

Explicit ดวยโปรแกรม LS-Dyna

Page 14: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 14 -

3.1.1 การกําหนดคาในการจําลอง

ทําการสรางรูปแบบไฟไนตเอลิเมนตของแมพิมพและโลหะแผน และกําหนดคาในการจําลอง

ดังรูปที่ 11 หลังจากนั้นทําการคาในการจําลอง ในสวนของ Tooling ถือวาเปนวัสดุแข็งเกร็ง จึงกําหนด

คุณสมบัติเปน Rigid Material โดยใช Material หมายเลข 20 ในโปรแกรม LS-Dyna สวนโลหะแผนนั้น

มีการเสียรูปและมีอิทธิผลของ Anisotropy จึงเลือกใช 3-Parameters Balat Material โดยใช Material

หมายเลข 36 ในโปรแกรม LS-Dyna และประเภทของเอลิเมนตแบบ Belytschko – T Say โดย

กําหนดใหมี Integration Point ตลอดความหนาเทากับ 5 การกําหนดแรงดันใหเริ่มหลังจากกระบวนการ

ปดพิมพ (Closing) สิ้นสุดลง โดยคอยๆ เพิ่มขึ้นแบบเสนตรงจนถึงที่แรงดัน 15 MPa หรือ 150 Bars ที่

เวลา 43 วินาที โดยขอบเขตของแรงดันที่กําหนดนั้นจะอยูภายใน Lock Bead เขามา เนื่องจากการ

คํานวณเปนแบบ Explicit การกําหนดเวลาในการจําลองตองนอยกวาความเปนจริง 1,000 เทา สงผลให

เวลาที่ใชในการทดลองจริงจาก 43 วินาทีเปน 0.043 วินาที ในเวลาคํานวณ ซึ่งเวลาที่ใชทั้งหมด

ประกอบดวยเวลาในการปดพิมพ 3 วินาที (0.003 s) และเวลาในการขึ้นรูป (Forming) 40 วินาที (0.040

s) โดยมีเงื่อนไขการสัมผัสแบบ Coulomb Friction และมีสัมประสิทธิแรงเสียดทานสถิตเทากับ 0.06

รูปที่ 3.2 – แบบการจําลองการทาํ HBT และการกําหนดคาในการจําลอง

BBHHFF:: LLoocckk BBeeaadd

06.0s

PPrreessssuurree:: 1155 NN//mmmm22 (150Bars)

Time Scaling = 1,000 Binder Vel. = 5,000 mm/s (5 mm/s) Closing Time = 0.003 s (3 s) Forming Time = 0.04 s (40 s) Total Time = 0.043 s (43 s)

t = 3.9e-7

Sheet Thickness = 0.8 mm

0.4

9.2 0.4

Time(s)

P (MPa) 15

0.003 0.043

Page 15: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 15 -

3.1.2 ผลการวิเคราะหโลหะแผน SPCC

3.1.2.1 คาความสัมพันธระหวางแรงดนั (Pressure) กับ ความสูงโดม (Height)

กอนอื่นทําการพิจารณาความดันที่ทําใหโลหะแผนเกิดการฉีกขาด จากการจําลองพบวาที่เวลา

0.030135 s โลหะแผนเกิดการฉกีขาด เทียบไดกับความดันที่ 10.157 MPa ดังแสดงในรูปที ่3.3 หลังจาก

นั้นจึงทําหาความสัมพันธระหวางความสูงกับความดันที่อยูในชวงของความดันสูงสุดที่ทําใหชิ้นงานเกิด

การฉกีขาด ดังแสดงในรูปที่ 3.4

จากรูปที่ 3.4 พบวาความสัมพันธของแรงดัน กับ ความสูงโดม มีความสัมพันธทางคณิตศาสตร

แบบโพลีโนเมียนกําลังสองดังสมการ hhP 4163.00034.0 2 ที่ระดับความเชื่อมั่น 9813.02R

รูปที่ 3.3 – ความดนัสูงสุดที่ทําใหชิ้นงานเกิดการฉีกขาด

Time (s)

P (MPa)

15

0.003 0.043

0.030135

10.157

Page 16: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 16 -

Height-Pressure y = -0.0034x2 + 0.4163x

R2 = 0.9813

0.00

2.00

4.00

6.00

8.00

10.00

12.00

14.00

0 10 20 30 40 50

Height (mm)

Pre

ss

ure

(M

Pa

)

รูปที่ 3.4 – ความสัมพันธระหวางแรงดัน (Pressure) กับ ความสูงโดม (Height)

3.1.2.2 คาความสัมพันธระหวางความหนาต่ําสุด กับ ความสูงโดม

ความสูงของโดมพิจารณาจาก Node สูงสุดของโดม สวนคาของความหนาพิจารณาเอลิเมนตที่มี

คาความหนานอยท่ีสุด ความสัมพันธระหวางความหนาต่ําสุด กับ ความสูงโดม แสดงดังรูปที่ 3.5

Height-Thickness y = -0.0003x2 - 0.0005x + 0.7983

R2 = 0.9996

0.00

0.10

0.20

0.30

0.40

0.50

0.60

0.70

0.80

0.90

0 10 20 30 40 50

Height (mm)

Th

ick

ne

ss

(m

m)

รูปที่ 3.5 – ความสัมพันธระหวางความหนาต่ําสุด กับ ความสูงโดม

Node ที่มีความสูงสูงสุด

Element ที่มีความหนาต่ําสุด

Page 17: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 17 -

จากรูปที่ 3.5 พบวาความสัมพันธระหวางความหนาต่ําสุด กับ ความสูงโดม มีความสัมพันธทาง

คณิตศาสตรแบบโพลีโนเมียนกําลังสองดังสมการ 7983.00005.00003.0. 2 hhThicknessMin ที่

ระดับความเช่ือม่ัน 9996.02 R

3.1.2.3 คาความสัมพันธระหวาง Thinning สูงสุด กับ ความสูงโดม

ความสูงของโดมพิจารณาจาก Node สูงสุดของโดม สวนคาของ Thinning พิจารณาเอลิเมนตที่

มีคา Thinning มากที่สุด ความสัมพันธระหวาง Thinning สูงสุด กับ ความสูงโดม แสดงดังรูปท่ี 3.6

จากรูปที่ 3.6 พบวาความสัมพันธระหวาง Thinning สูงสุด กับ ความสูงโดม มีความสัมพันธ

ทางคณิตศาสตรแบบโพลีโนเมียนกําลังสองดังสมการ hhThinningMax 0811.00421.0. 2 ที่ระดับ

ความเช่ือม่ัน 9995.02 R

Height-Thinningy = 0.0421x

2 + 0.0811x

R2 = 0.9995

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

0 10 20 30 40 50

Height (mm)

Th

inin

g (

%)

รูปที่ 3.6 – ความสัมพันธระหวาง Thinning สูงสุด กับ ความสูงโดม

3.1.2.4 คาความสัมพันธระหวาง Effective Plastic Strain กบั ความสูงโดม

ความสูงของโดมพิจารณาจาก Node สูงสุดของโดม สวนคาของ Effective Plastic Strain

พิจารณาเอลิเมนตที่มีคา Effective Plastic Strain มากที่สุด ความสัมพันธระหวาง Effective Plastic

Strain สูงสุด กับ ความสูงโดม แสดงดังรูปท่ี 3.7

Node ที่มีความสูงสูงสุด

Element ที่มีคา Thinning มากที่สุด

Page 18: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 18 -

Height-Eff.Plastic Strainy = 0.0007x

2 - 0.0018x

R2 = 0.9953

-0.10

0.00

0.10

0.20

0.30

0.40

0.50

0.60

0.70

0.80

0.90

1.00

0 10 20 30 40 50

Height (mm)

Eff

.Pla

sti

c S

tra

in

รูปที่ 3.7 – ความสัมพันธระหวาง Effective Plastic Strain กับ ความสูงโดม

จากรูปที่ 3.7 พบวาความสัมพันธระหวาง Effective Plastic Strain สูงสุด กับ ความสูงโดม มี

ความสัมพันธทางคณิตศาสตรแบบโพลีโนเมียนกําลังสองดังสมการ

hhStrainPlasticEff 0018.00007.0.. 2 ที่ระดับความเชื่อมั่น 9953.02 R

3.1.2.5 คาความสัมพันธระหวาง Strain Rate กับ ความสูงโดม

ความสูงของโดมพิจารณาจาก Node สูงสุดของโดม สวนคาของ Strain Rate พิจารณาเอลิเมนต

ที่มีคา Strain Rate มากที่สุด ความสัมพันธระหวาง Strain Rate สูงสุด กับ ความสูงโดม แสดงดังรูปที่

3.8

Node ที่มีความสูงสูงสุด

Element ที่มีคา Eff.

Plastic Strain มากที่สุด

Page 19: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 19 -

Height-Strain Ratey = 0.026x

3 - 0.8334x

2 + 7.053x

R2 = 0.9239

0

50

100

150

200

250

300

350

400

450

500

0 10 20 30 40 50

Height (mm)

Str

ain

Rate

รูปที่ 3.8 – ความสัมพันธระหวาง Strain Rate กับ ความสูงโดม

จากรูปที่ 3.8 พบวาความสัมพันธระหวาง Strain Rate สูงสุด กับ ความสูงโดม มีความสัมพันธ

ทางคณิตศาสตรแบบโพลีโนเมียนกําลังสามดังสมการ hhhRateStrain 053.78334.0026.0. 23 ที่

ระดับความเช่ือม่ัน 9239.02 R

3.1.2.6 คาความสัมพันธระหวางแรงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นตอแมพิมพสูงสุด กับ ความดัน

การปดพิมพเพื่อไมใหแมพิมพเปดออกตองพิจารณา แรงกระทําที่กระทํากับแมพิมพซึ่งเกิดจาก

แรงดันที่มากระทําโดยตรง จึงตองทําการหา ความสัมพันธระหวางแรงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นตอแมพิมพ

สูงสุด กับ ความดัน แสดงดังรูปที่ 3.9

จากรูปที่ 3.9 พบวาแรงปฏิกิริยาสูงสุดที่เกิดขึ้นกับแมพิมพอยูที่ 508,724 N หรือประมาณ 51

ตัน

Node ที่มีความสูงสูงสุด

Element ที่มีคา Strain Rate มากที่สุด

Page 20: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 20 -

Pressure-Z-Force

0

100000

200000

300000

400000

500000

600000

0 2 4 6 8 10 12

Pressure (MPa)

Fo

rce

(N

)

รูปที่ 3.9 – ความสัมพันธระหวาง แรงกระทําที่ทํากับแมพมิพ กับ ความดัน

3.1.2.7 คาความสัมพันธระหวาง ปริมาตรของโดม กับ ความสูง

การพิจารณาปริมาตรของน้ําที่เพ่ิมขึ้นเมื่อความสูงเพิ่มขึ้นเพื่อพิจาณาอัตราการไหลของน้ําจาก

ปมน้ํา ซ่ึงความสัมพันธระหวางปริมาตรของโดม กับ ความสูง แสดงดังรูปที่ 3.10

Height-Volumey = 4662.4x

R2 = 0.9995

-

50,000

100,000

150,000

200,000

250,000

0 10 20 30 40 50

Height (mm)

Vo

lum

e (

mm

3)

รูปที่ 3.10 – ความสัมพันธระหวาง ปริมาตรของโดม กับ ความสูง

Page 21: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 21 -

จากรูปที่ 3.10 พบวาความสัมพันธระหวาง ปริมาตรของโดม กับ ความสูงโดม มีความสัมพันธ

ทางคณิตศาสตรแบบเสนตรงดังสมการ hVolume 4.4662 ที่ระดับความเช่ือม่ัน 9995.02 R

3.1.2.7 คาความสัมพันธระหวาง รัศมีของชิน้งานกับ ความสงู

ชิ้นงานในขณะขึ้นรูปจะมีรัศมีที่แตกตางกันคารัศมคีวามโคงเปนคาหนึ่งทีต่องทราบเพ่ือหาคา

Flow Curve ซึ่งความสัมพันธระหวางรัศมขีองชิ้นงานกับความสูง แสดงดังรูปที่ 3.11

Height-Dome Radiusy = 1348.7x-0.9311

R2 = 0.9962

0

100

200

300

400

500

600

700

0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50

Height (mm)

Rad

ius (

mm

)

รูปที่ 3.11 – ความสัมพันธระหวางรัศมีของช้ินงานกับความสูง

จากรูปที่ 3.11 พบวาความสัมพันธระหวาง ปริมาตรของโดม กับ ความสูงโดม มีความสัมพันธ

ทางคณิตศาสตรแบบยกกําลังดังสมการ 9311.07.1348 hRadius ที่ระดับความเช่ือม่ัน 9962.02 R

3.1.3 ผลการทดสอบโลหะแผน SPCC ดวย HBT

3.1.3.1 เครื่องจักรและอุปกรณ

เครื่องจักรและอุปกรณที่ใชในการทดสอบการขึ้นรูปโลหะแผนในครั้งนี้ ใชเครื่องปมไฮโดร

ลิกขนาด 200 ตัน พรอมกับเครื่องสรางแรงดันน้ํา (Pressure Intensifier) โดยแมพิมพดานบน

ประกอบดวยเครื่องวัดการเปล่ียนระยะเชิงเสนตรง (LVDT) และแมพิมพดานลางประกอบไปดวย อาง

น้ําพรอมท้ังเครื่องวัดความดันไดทําการติดตั้งเขาดวยกันบนเครื่องปม

Page 22: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 22 -

รูปที่ 3.12 - แมพิมพดานบนติดตั้งกับ LVDT

รูปที่ 3.13 - อางน้ําดานลางติดตั้งกับเครื่องวัดความดัน

3.1.3.2 ขั้นตอนการทดสอบการขึ้นรูปโลหะแผน

- ทําการตดิตั้งเครื่อง

- ทําการทาน้ํามันที่แมพิมพดานบนและแมพิมพดานลาง โดยในการทาน้ํามันจะทําการทาเปน

วงกลม 1 รอบ

- นําเหล็กเกรด SPCC ที่ตัดเปนรูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัส ขนาด 250250 มิลลิเมตรมาวางที่แมพิมพ

ดานลาง โดยวางใหตรงกับตําแหนง (Position Blank) ที่กําหนด ดังรูปที่ 3.14

Page 23: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 23 -

รูปที่ 3.14 - นําเหล็ก ขนาด 250250 มิลลิเมตรมาวางที่แมพิมพดานลาง โดยวางใหตรงกับตําแหนง

(Position Blank)

- เริ่มทําการขึ้นรูปโลหะ โดยจะใชแรงดันน้ําในการทําใหโลหะเปล่ียนรูปรางครึ่งวงกลม ซึ่ง

ในขณะเดียวกันจะใชเครื่องวัดการเปลี่ยนระยะเสนตรง (LVDT) วัดความสูงของโดมที่

เปล่ียนแปลงไป โดยผลของความดันและความสูงของโดมจะถูกบันทึกไวในคอมพิวเตอร ดัง

รูปที่ 3.15

รูปที่ 3.15 - แสดงการทํางานของเครื่องขณะทําการขึน้รูป

Page 24: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 24 -

- ทําการหยดุเครื่องเม่ือช้ินงานเกดิความเสียหายหรือเกิดการฉีกขาด ดังรูปที่ 3.16 และ ดังรูป

ที่ 3.17

รูปที่ 3.16 - แสดงการหยุดการทํางานของเครื่อง เมื่อชิ้นงานเกิดความเสียหาย

รูปที่ 3.17 – แสดงช้ินงานที่เกดิความเสียหาย

Page 25: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 25 -

3.1.3.3 การบันทกึผลการทดสอบ

- การบันทึกแรงดันในอุปกรณวัดความดัน (Pressure Sensor) ดังรูปที่ 3.18 โดยเซ็นเซอรวัดแรงดัน

จะทําการวัดแรงดันเมื่อเครื่องเริ่มทําการขึ้นรูป และจะหยุดการบันทึกแรงดันเมื่อชิ้นงานเกิดความ

เสียหาย โดยจะมีการบันทึกขอมูลไวในคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลที่ไดจะอยูในรูปของเวลาและความดันที่

เปล่ียนไป

รูปที่ 3.18 – เซ็นเซอรวัดแรงดัน

- การบันทกึความสูงของโดมโดยใช เครื่องวัดการเปลี่ยนระยะเสนตรง (LVDT) ในขณะขึ้นรูป

โลหะแผนจะสูงขึ้นเรื่อยๆ การวัดความสูงของโดมที่เปล่ียนแปลงไปเมื่อเทียบกับความดนัเปนส่ิงสําคัญ

ดังนั้น จึงมีอุปกรณสําหรับการวัดระยะทาง คือ เครื่องวดัการเปล่ียนระยะเสนตรง (Linear Variable

Differential Transformer; LVDT) ดังรูปที่ 3.19

รูปที่ 3.19 – ลักษณะของอุปกรณวัดความสูงของโดมขณะทําการข้ึนรูป

Page 26: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 26 -

ซึ่งในการบันทึกขอมูลความสูงของโดมที่ เปลี่ยนแปลงไปจะถูกบันทึกไวในเครื่อง

คอมพิวเตอร

3.1.3.4 การตรวจสอบขอมูล

จากการทดสอบการขึ้นรูปโลหะแผนดวยแรงดันน้ํา (Hydraulic Bulge Test; HBT) ขอมูลที่ไดจา

การทดสอบการขึ้นรูปจะอยูในรูปของความสัมพันธระหวางเวลากับความดัน ดังรูปที่ 3.20 และ

ความสัมพันธระหวางเวลากับ LVDT ดังรูปที่ 3.21

กราฟความสัมพันธระวางเวลาและความดัน

-0.2

0

0.2

0.4

0.6

0.8

1

1.2

1.4

0 20 40 60 80 100

เวลา (วินาท)ี

ความ

ดัน

(V

olt

ag

e)

รูปที่ 3.20 – แสดงความสัมพันธระหวางเวลาและความดนั

Page 27: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 27 -

กราฟความสัมพันธระหวางเวลากับ LVDT

0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

0 20 40 60 80 100

เวลา (วินาท)ี

LV

DT

(V

olt

ag

e)

รูปที่ 3.21 – แสดงความสัมพันธระหวางเวลาและ LVDT

จากรูปที่ 3.20 และรูปที่ 3.21จะเห็นไดวากราฟทั้ง 2 เปนการแสดงชวงการขึ้นรูปทั้งหมด ซึ่ง

งานวิจัยนี้จะสนใจเพียงแคการขึ้นรูปในชวงพลาสติก เพราะฉะนั้นจึงตองทําการตัดขอมูลในชวงอื่นๆ

ออก ดังแสดงในรูปที่ 3.22 และรูปที่ 3.23

กราฟความสัมพันธระหวางความดันและเวลาในชวงพลาสติก

0

0.2

0.4

0.6

0.8

1

1.2

1.4

0 20 40 60 80 100

เวลา (วินาที)

ความ

ดัน

(V

olt

ag

e)

รูปที่ 3.22 - กราฟความสัมพันธระหวางเวลาและความดันในชวงพลาสติก

Page 28: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 28 -

กราฟความสัมพนัธระหวางเวลาและ LVDT ในชวงพลาสติก

0

1

2

3

4

5

6

7

8

0 20 40 60 80 100

เวลา (วินาที)

LV

DT

(V

olt

ag

e)

รูปที่ 3.23 - กราฟความสัมพันธระหวางเวลากับ LVDT ในชวงพลาสติก

3.1.3.5 ผลการทดสอบ

Flow Curve

y = 662.81x0.1819

R2 = 0.9765

0

100

200

300

400

500

600

700

0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9

Strain (mm/mm)

Str

ess (

MP

a)

รูปที่ 3.24 - กราฟความสัมพันธระหวางคาความเคนจริงและความเครียดจริงของตัวอยางที่ทําการ

ทดสอบ

Page 29: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 29 -

นําคาความดันจากเครื่องวัดความดันและคาความสูงของโดมขณะทําการขึ้นรูปมาแทนคาใน

สมการ (5) - (8) ทําใหไดกราฟความสัมพันธระหวางความเครียดจริงและความเคนจริง หลังจากนั้น

นํามาทดสอบการเขากันไดกับสมการ Power Law ดังแสดงดังรูปที ่3.24

จากการทดสอบการเขากันไดพบวา ไดคา K = 662.81 MPa และคา n = 0.1619 ที่ระดับความ

เชื่อมั่น 0.9765 ไดทําการทดสอบจํานวน 30 ชิ้น และวิเคราะหการเขากันไดกับสมการ Power Law ถา

การทดสอบใดมีระดับความเช่ือม่ันของการเขากันไดต่ํากวา 0.95 จะไมนํามาพิจารณา จากการทดสอบ

ไดคา K เฉลี่ยเทากับ 664.082 MPa และคา n เฉลี่ยเทากับ 0.18

3.2 การทดสอบดวย Tensile Test

การทดสอบสมบัติทางกลของเหล็กแผนไดดําเนินการทดสอบตาม มาตรฐาน ASTM E8M-93

และทดสอบหาคุณสมบัติ r (Anisotropy) ของเหล็กแผนตามวิธีการของ ASTM E517 vol.01.03. (1993)

รูปที่ 3.25 ถึง 3.29 แสดงขั้นตอนอยางเปนลําดับ

1 นําเหล็กแผนที่ตองการทดสอบมาเตรียมชิ้นงานทดสอบ โดยใช Blanking Tooling ที่ออกแบบ

และสรางขึ้นในโครงการนี้ รูปที่ 3.25

2 ตัดเหล็กแผนตามแนวที่กําหนดในรูปที่ 3.26

3 ทดสอบดึงชิ้นงานที่เตรียมไวโดยทําการเก็บขอมูล ระยะยืดและแรงดึงที่ใช โดยใชเครื่องดึง

Instron ขนาด 10 ตัน รวมกับกลองวัดการคาความเครียด (Video Strain) ซึ่งสามารถวัดคา

ความเครยีดตามยาว (Axial) และ แนวขวาง (Transverse) ไปพรอมๆ กันดังแสดงในรูปที่ 3.27

ในสวนของชิ้นทดสอบตองทําการกําหนดจุดในแนวยาว 2 จุด และแนวขวาง 2 จุด เพื่อเปน

จุดอางอิงเริ่มตน

4 นําขอมูลที่เก็บไดจากการทดสอบมาวาดเสนความสัมพันธระหวางความเคนและความเครียด

ในชวงพลาสติก เพื่อคํานวณหาคา K และ n ดังแสดงในรูปที่ 3.28 และ เสนความสัมพันธ

ระหวางความเครียดในแนวขวางกับความเครียดตามความหนา เพื่อคํานวณหาคา r ดังแสดงใน

รูปที่ 3.29

Page 30: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 30 -

รูปที่ 3.25 – แมพิมพตัดชิ้นงานทดสอบ

รูปที่ 3.26 – จํานวนและการวางตัวของชิ้นงานทดสอบ

Page 31: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 31 -

รูปที่ 3.27 - ความสัมพันธระหวางความเคนและความเครยีดในชวงพลาสติก

Plastic

y = 508.71x0.1611

R2 = 0.9707

0

50

100

150

200

250

300

350

400

450

500

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35

Strain (mm/mm)

Str

ess (

MP

a)

รูปที่ 3.28 - การติดตั้งอุปกรณวัดระยะการยืดของเหล็กแผน

Page 32: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 32 -

R-Value

y = 1.2589x

R2 = 0.981

-0.25

-0.2

-0.15

-0.1

-0.05

0

-0.18 -0.16 -0.14 -0.12 -0.1 -0.08 -0.06 -0.04 -0.02 0

Thickness Strain (mm/mm)

Wid

th S

tra

in (

mm

/m

m)

รูปที่ 3.29 - ความสัมพันธระหวางความเครียดในแนวขวางกับความเครียดตามความหนา

ในการทดสอบหาคา K และ n จะทดสอบเฉพาะในแนวรดี ซ่ึงไดคาเฉลี่ยของ K = 502.793 MPa และคา

n = 0.1634 การทดสอบคา r พบวาคา r ในแนวรีด (r00) มีคาเทากับ 1.2746 คา r ในแนว 45 องศา (r45) มี

คาเทากับ 1.2191 และคา r ในแนวตั้งฉากกับแนวรีด (r90) มีคาเทากับ 1.4099

Page 33: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 33 -

บทที่ 4

การจําลองเพ่ือเปรียบเทียบชิ้นงานของบรษิัทเจริญลาภกับชิ้นงานจานฉาย

บริษัท เจริญลาภออโตพารท จํากัด และบริษัท วิเชียรไดนามิคส จํากัด เปนบริษัทที่เขารวม

โครงการ โดยมีชิ้นงานที่ทําการผลิตอยูเดิมเปน Light Reflector ของไฟสองสวาง ดังแสดงในรูปที่ 4.1

ซึ่งมีกระบวนการขึ้นรูปแบบ Deep Drawing ในขั้นตอนเดียว แตจําเปนตองใชโลหะแผนชนิดที่เหมาะ

สําหรับการขึ้นรูปลึก คือ SPCEN ซึ่งมีราคาสูง ทางบริษัทมีความสนใจที่จะศึกษาวามีกระบวนอะไรที่

สามารถขึ้นรูปชิ้นงานดังกลาวดวยวัสดุที่ถูกกวาอยางเชน SPCC ไดเพียงขั้นเดียว

รูปที่ 4.1 – ชิ้นงาน Reflector ที่ทางบริษัทผลิตอยูเดิม

4.1 การจําลองการขึ้นรูปช้ินงานของบริษัทดวยกระบวนการ Deep Drawing

เริ่มจากการจําลองการขึ้นรูปของชิ้นงาน Reflector ของบริษัทดวยวัสดุ SPCC ซึ่งเริ่มจากการทํา

สรางรูปแบบไฟไนตเอลิเมนตใหกับเครื่องมือตางๆ ไดแก พั้นช ดาย และแผนจับยึด หลังจากนั้นจึงทํา

การสรางรูปแบบไฟไนตเอลิเมนตใหกับโลหะแผน และกําหนดแรงจับยึดที่กระทําตอการขึ้นรูปเทากับ

20 ตัน ดังแสดงในรูปที่ 4.2

Page 34: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 34 -

รูปที่ 4.2 – รูปแบบไฟไนตเอลิเมนตของชิ้นงาน Reflector ดวยกระบวนการ Deep Drawing

จากผลการจําลองคาความสามารถในการขึ้นรูป (Formability) ของชิ้นงาน Light Reflector ของบริษัท

ดวยกระบวนการ Deep Drawing พบวา ชิ้นงานเกิดการฉีกขาดบริเวณต่ํากวาจุดยอดของชิ้นงาน

เนื่องจากบริเวณที่เกิดการฉีกขาดมีการกระจายตัวของความเครียดหลักและรองเกินกวาเสน FLC ดังรูป

ที่ 4.3 และเมื่อพิจารณาผลลัพธการกระจายความหนา (Thickness) พบวาบริเวณที่ฉีกขาดเปนบริเวณที่

บางที่สุดซึ่งมีคาความหนาเพียง 0.0052 มิลลิเมตร ซึ่งหมายความวาชิ้นงานเกิดการฉีกขาดกอนถึง

ตําแหนงสูงสุด ดังรูปที่ 4.4

BHF = 50*4 kN

Page 35: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 35 -

รูปที่ 4.3 – ผลการจําลองความสามารถในการขึ้นรูป (Formability) ของชิ้นงาน Reflector ดวย

กระบวนการ Deep Drawing

รูปที่ 4.4 – ผลการจําลองการกระจายความหนาของชิน้งาน Reflector ดวยกระบวนการ Deep

Drawing

Crack

อยูเหนือเสน FLC

ตําแหนงฉีกขาด

เสน FLC

Page 36: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 36 -

4.2 การจําลองการขึ้นรูปช้ินงานของบริษัทดวยกระบวนการ Hydromechanical Deep

Drawing (HMD)

เริ่มจากการทําสรางรูปแบบไฟไนตเอลิเมนตใหกับเครื่องมือตางๆ ไดแก พั้นช ดาย และแผนจับ

ยึด โดยรูปแบบของดายจะเปนลักษณะของอางน้ําหรือดายแบบเปดแทน หลังจากนั้นจึงทําการสราง

รูปแบบไฟไนตเอลิเมนตใหกับโลหะแผน และกําหนดแรงจับยึดที่กระทําตอการขึ้นรูปเทากับ 20 ตัน

เหมือนกับกระบวนการ Deep Drawing แตมีการเพิ่มแรงดันน้ําแบบเสนตรงขนาด 27 MPa กระทําสวน

กับทิศทางการขึ้นรูป ดังแสดงในรูปที่ 4.5

รูปที่ 4.5 – รูปแบบไฟไนตเอลิเมนตของชิ้นงาน Reflector ดวยกระบวนการ Hydromechanical

Deep Drawing

BHF = 50*4 kN

Pressure = 27 MPa

Page 37: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 37 -

จากผลการจําลองคาความสามารถในการขึ้นรูป (Formability) ของชิ้นงาน Light Reflector ของบริษัท

ดวยกระบวนการ Hydromechanical Deep Drawing พบวา ชิ้นงานไมเกิดการฉีกขาด เนื่องจากไมมี

ชิ้นงานใดมีการกระจายตัวของความเครียดหลักและรองเกินกวาเสน FLC ดังรูปที่ 4.6 และเมื่อพิจารณา

ผลลัพธการกระจายความหนา (Thickness) พบวาบริเวณที่บางที่สุดซึ่งมีคาความหนาถึง 0.8462

มิลลิเมตร ซึ่งหมายความวาชิ้นงานไมเกิดการฉีกขาด ดังรูปที่ 4.7

รูปที่ 4.6 – ผลการจําลองความสามารถในการขึ้นรูป (Formability) ของชิ้นงาน Reflector ดวย

กระบวนการ Hydromechanical Deep Drawing

เสน FLC

Page 38: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 38 -

รูปที่ 4.7 – ผลการจําลองการกระจายความหนาของชิน้งาน Reflector ดวยกระบวนการ

Hydromechanical Deep Drawing

4.3 ชิ้นงานที่ใชสําหรับทํางานวิจัยเทียบกับชิ้นงานของบริษัท

รูปที่ 4.8 เปนการเปรียบเทียบรูปทรงชิ้นงาน Light Reflector ของบริษัทเทียบกับชิ้นงาน Light

Reflector ที่ทํางานในงานวิจัยนี้ พบวาชิ้นสวนที่ใชสําหรับทํางานวิจัยมีลักษณะที่หัวแหลมกวา พรอมทัง้

สวนลําตัวก็จะแคบกวาและสูงกวา ทําใหชิ้นงานที่ทํางานวิจัยมีการขึ้นรูปที่ยากกวาและทาทายกวา ใน

การขึ้นรูปดวยกระบวนการ Hydromechanical Deep Drawing

รูปที่ 4.8 – ชิ้นงานทีใ่ชสําหรับทํางานวิจยัเทียบกับชิ้นงานของบริษัท

Min Thickness = 0.8462 mm

CAP-Part

Research-Part

Page 39: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 39 -

บทที่ 5

การจําลองเพ่ือศึกษาพฤติกรรมของการขึ้นรูปชิ้นงานจานฉาย

5.1. การจําลองการขึ้นรูปโลหะแผนดวยน้ําสําหรับชิ้นงานจานฉาย

รูปที่ 5.1 - รูปแบบไฟไนตเอลิเมนตของการขึ้นรูปชิน้งานรปูทรงพาราโบลา

ทําการสรางรูปแบบไฟไนตเอลิเมนตของแมพิมพและโลหะแผน และกําหนดคาในการจําลอง ดังรูปที่

5.1 หลังจากนั้นทําการคาในการจําลอง ในสวนของ Tooling ถือวาเปนวัสดุแข็งเกร็ง จึงกําหนด

คุณสมบัติเปน Rigid Material โดยใช Material หมายเลข 20 ในโปรแกรม LS-Dyna สวนโลหะแผนนั้น

มีการเสียรูปและมีอิทธิผลของ Anisotropy จึงเลือกใช 3-Parameters Balat Material โดยใช Material

หมายเลข 36 ในโปรแกรม LS-Dyna และประเภทของเอลิเมนตแบบ Belytschko – T Say โดย

กําหนดใหมี Integration Point ตลอดความหนาเทากับ 5 โดยขอบเขตของแรงดันที่กําหนดนั้นจะอยู

ภายใน Counter Pot Radius เขามา ในการขึ้นรูปพันชจะเคลื่อนที่ลงมาลึก 125 mm ดวยความเร็ว 6750

mm/s เนื่องจากการคํานวณเปนแบบ Explicit การกําหนดเวลาในการจําลองตองนอยกวาความเปนจริง

1,000 เทา สงผลใหเวลาที่ใชในการจําลองเปน 0.0302 วินาที ในเวลาคํานวณ ซึ่งเวลาที่ใชทั้งหมด

ประกอบดวยเวลาในการ Pre-Bulge 0.01 วินาที และเวลาในการขึ้นรูป (Forming) 0.0202 วินาที โดยมี

เงื่อนไขการสัมผัสแบบ Coulomb Friction และมีสัมประสิทธิแรงเสียดทานสถิตระหวางพันชกับโลหะ

Punch

Blank holder

Blank

Counter Pot 8000 elements, 8161 nodes

Page 40: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 40 -

แผนเทากับ 0.12 และมีสัมประสิทธิแรงเสียดทานสถิตระหวาง Binder, Counter Pot กับโลหะแผน

เทากับ 0.06

5.2 ลักษณะของแรงดันและแรงจับยึด

ในการรูปพาราโบลาดวยกระบวนการ HMD ลักษณะของแรงดันที่มากระทําจะมีลักษณะเปน

เสนตรงและมีแรงจับยึดแบบคงที่ ดังแสดงในรูปที่ 5.2

รูปที่ 5.2 - ลักษณะของแรงดันและแรงจับยดึในการขึ้นรูปชิ้นงานรูปทรงพาราโบลา

5.3 การศึกษาพฤติกรรมการข้ึนรูปโลหะแผนดวยน้ําสําหรับช้ินงานจานฉาย

ในกระบวนการขึ้นรูปชิน้งานจานฉายรูปทรงพาราโบลานัน้ พบวามีพืน้ที่วางที่ไมถูกสนับสนนุ

โดยแมพิมพซ่ึงมีโอกาสในเกิดรอยยนบริเวณผนังขึน้ได โดยในขั้นตอนแรกโลหะแผนจะถูกเปาโปงขึ้น

ไปกอนหลังจากนั้น พัน้ชจะเคลื่อนที่ลงมาซ่ึงแรงจับยึดและแรงดันจะถูกควบคุมเพื่อใหไดชิน้งานที่ไม

เกิดความเสียหาย รูปที่ 5.3 ไดดังแสดงคุณลกัษณะของการขึ้นรูปถวยทรงพาราโบลาดวยวิธีการขึ้นรูป

โลหะแผนดวยน้ําแบบไฮโดรแมคแคนนิคอลดีปดอรอิ้ง

Page 41: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 41 -

รูปที่ 5.3 – คุณลักษณะของการขึ้นรูปถวยทรงพาราโบลาดวยวิธีการขึ้นรูปโลหะแผนดวยน้ําแบบไฮโดร

แมคแคนนคิอลดีปดอรอิ้ง

กระบวนการขึ้นรูปชิ้นสวนจานฉายดวยน้ํา ไดทําการเลือกวิธีการขึ้นรูปโลหะแผนดวยน้ําแบบไฮโดร

แมคแคนนิคอลดีปดอรอิ้ง (Hydromechanical Deep Drawing; HMD) ซึ่งกระบวนการขึ้นรูปดังกลาว

สามารถแบงไดเปน 4 ขั้นตอนใหญดังรูปที่ 5.4

ขั้นตอนที่ 1 – เปนขั้นตอนของการเปาโลหะแผนใหโปงออกสวนทางกับการขึ้นรูป (Pre-Bulge)

ขั้นตอนของการเปาโลหะแผนใหโปงออกสวนทางกับการขึ้นรูปมีหนาที่อยู 2 หนาที่ คือ หนึ่ง

เปนการสรางแรงดันในชวงเริ่มตนของกระบวนการ กับ สองเปนการเปล่ียนสถานะความเคนของโลหะ

แผนรอบๆ ที่สัมผัสกับพั้นช เพื่อหลีกเลี่ยงปญหาดานการฉีกขาดและรอยยนในชวงเริ่มตน ปจจัยในการ

กําหนด Pre-Bulge คือ แรงดัน แรงจับยึด และความสูง โดยมากปจจัยทั้งสามจะถูกกําหนดเพื่อทําให

โลหะแผนเกิดชวง Plastic Strain ที่ 2-8%

ขั้นตอนที่ 2 – ขั้นตอนที่ทําใหชิ้นงานมีความหนาลดลง (Thin-Out)

ขั้นตอนนี้จะเริ่มจากการที่พั้นชเริ่มเคลื่อนที่ลงมาสัมผัสกับโลหะแผน ผลจากรูปรางที่เปนโดม

สัมประสิทธ์ิแรงเสียดทานระหวางพั้นชกับโลหะแผน แรงดัน และแรงจับยึด ทําใหโลหะแผนบริเวณที่

สัมผัสกับพั้นชถูกดึงรั้ง จึงทําใหบริเวณดังกลาวมีความหนาที่ลดลงอยางตอเนื่อง การควบคุม

กระบวนการผลิตเพื่อใหชิ้นงานสุดทายในตําแหนงที่หนานอยที่สุด ใหมีคามากที่สุด ในขั้นตอนนี้ตอง

พยายามรักษาแรงดันและแรงจับยึดใหใกลเคียงกับคาเริ่มตนของกระบวนการ Pre-Bulge ถามีการเพิ่ม

แรงดันในขั้นตอนนี้มากเกินไปชิ้นงานจะเกิดการฉีกขาดได ขั้นตอนนี้การไหลของโลหะแผนจะมีไม

Thin-Out Area

Side Wall Wrinkling Area

Flange Wrinkling Area

Blank Holder Blank Holder

Counter Pot Counter Pot

Punch

Blank

Draw-in

Support by pressure

Page 42: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 42 -

รูปที่ 5.4 - ขั้นตอนการขึ้นรูปโลหะแผนดวยน้ําของชิ้นงานพาราโบลา

Blank Holder Blank Holder

Counter Pot Counter Pot

Stage 1 – Pre-Bulge

Blank Holder Blank Holder

Counter Pot Counter Pot

Stage 2 – Thin-Out

Blank Holder Blank Holder

Counter Pot Counter Pot

Stage 3 – Wrinkling

Blank Holder Blank Holder

Counter Pot Counter Pot

Stage 4 – Final

Page 43: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 43 -

รูปที่ 5.5 - กลไกการเกิดรอยยน

รูปที่ 5.6 - กลไกการเกิดรอยยนบริเวณปก

Flange Wrinkle

Binder

Counter Pressure Pot

ชองวางที่มากพอ

BHF

P Normal Force

A

A’

ทิศทางการไหล

ของโลหะแผน

SYM

SYM

Page 44: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 44 -

มากเนื่องจากพื้นที่โดมของขั้นตอน Pre-Bulge ชวยชดเชยใหโลหะแผนเขารูปกับพั้นชไดมากขึ้น

ขั้นตอนนี้จะสิ้นสุดเมื่อโลหะแผนเริ่มไหลเขาสู Counter Pressure Pot เร็วขึ้น

ขั้นตอนที่ 3 – ขั้นตอนที่ทําใหชิ้นงานเกิดรอยยน (Wrinkling)

ขั้นตอนนี้ เริ่มตนจากไหลของโลหะแผนเขาสู Counter Pot อยางรวดเร็ว ซึ่งเกิดการ

เปล่ียนแปลงเสนรอบวงที่มีขนาดใหญไปสูเสนรอบวงที่มีขนาดเล็กกวา เริ่มตั้งแตบริเวณขอบของโลหะ

แผนเขาสูบริเวณปก (Flange) และจากปกไปสูผนังถวย (Wall) ทําใหเกิด Compressive Stress ดังรูปที่

5.5 การกําจัด Compressive Stress ทําไดโดยการทําใหชิ้นงานตั้งแตปกจนถึงผนังมีความตึง (Stretching)

มากขึ้น ในกรณีที่เกิดรอยยนบริเวณปก (Flange Wrinkle) สามารถแกไดดวยการเพิ่มแรงจับยึด (Blank

holder force) ใหมากขึ้นเนื่องจากวาขณะเกิดรอยยนจะเกิดแรงตั้งฉากขึ้นในทิศสวนทางกับแรงจับยึด

ซึ่งถาแรงจับยึดไมมากพอรอยยนบริเวณปกจะมีขนาดใหญขึ้นเรื่อยๆ สงผลใหเกิดชองวางระหวาง

Binder กับ Counter Pressure Pot ขึ้น แสดงดังรูปที่ 5.6

ขั้นตอนที่ 4 – ขั้นตอนที่ทําอัดชิ้นงานใหเขากับรูปรางพันช (Re-strike)

ขั้นตอนนี้แรงจับยึดและแรงดันจะถูกเพิ่มขึ้นระดับหนึ่งเพื่อใหชิ้นงานมีขนาดใกลเคียงกับพันช

มากที่สุด

5.4 การหาแรงดันและแรงจับยึดที่เหมาะสมในการข้ึนรูปชิ้นงานจานฉาย

ในการหาคาแรงดันและแรงจับยึดที่เหมาะสมในที่นี้ไดกําหนดใหลักษณะของแรงดันเปนแบบ

เสนตรงและแรงจับยึดเปนแบบคงที่ ดังรูปที่ 5.7

โดยมีการกําหนดวัตถุประสงคของการขึ้นรูปใหไดคาความบางที่นอยที่สุดมากที่สุด โดยไมเกิดรอยยับ

ยนและการฉีกขาด

5.4.1 ขอกําหนดของขอบกพรองที่เกิดขึ้นกับชิ้นงานรูปทรงพาราโบลา

ชิ้นงานรูปทรงพาราโบลาที่ไดจากกระบวนการขึ้นรูปโลหะแผนดวยน้ํา จะพบลักษณะ

ของเสียหลักอยู 3 ลักษณะ คือ

1. การฉีกขาด (Crack)

2. รอยยนบริเวณปก (Flange Wrinkle)

3. รอยยนบริเวณผนัง (Side Wall Wrinkle)

Page 45: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 45 -

รูปที่ 5.7 - ลักษณะของปญหาในการหาคาแรงดันและแรงจับยึดที่เหมาะสม

5.4.1.1 การฉีกขาด (Crack) โดยทั่วไปขอกําหนดของการฉีกขาดของชิ้นงานมีดวยกันหลายวิธี

เชนการใชแผนภาพ FLD หรือ FLSDs แตที่ภาคอุตสาหกรรมนิยมใชกันจะเปนคาความบาง

(Thinning) ในการขึ้นรูป ในงานวิจัยนี้ไดใชความบางเปนเกณฑในการฉีกขาด โดยทําการเทียบ

กับ FLD พบวาคาความบางที่มากที่สุดที่ทําใหชิ้นงานฉีกขาดประมาณ 40 % ดังรูปที่ 5.8

5.4.1.2 รอยยนบริเวณปก (Flange Wrinkle) ในขณะที่โลหะแผนไหลเขาสูอางน้ํา โลหะแผน

บริเวณปกจะเกิดการบีบอัด (Compressive) ถาคา Compressive Stress เกิดขึ้นมากพอจะทําให

ชิ้นงานบริเวณปกเกิดการโกงตัวขึ้น (Buckling) ถาแรงจับยึดไมมากพอการโกงตัวนี้ก็จะมากขึน้

และดันให Binder รอยขึ้น จนทําใหเห็นรอยยนไดชัดขึ้น โดยระยะหางระหวาง Binder และ

Counter Pot (Die) หรือเรียกวา Flange Wrinkle Amplitude (FAM) ที่มากกวา 5% ของความ

หนา จะสังเกตเห็นรอยยนบริเวณปกได ดังรูปที่ 5.9 ดังนั้นเกณฑถาโลหะแผนหนา 1 mm การ

เกิดรอยยนบริเวณปกจะมีคา FAM 1.05 mm

Punch

Blank holder

Blank

Counter Pot

Stroke

FBH

??

Stroke

P

??

Page 46: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 46 -

รูปที่ 5.8 – คาความบางเทียบกับ FLD

รูปที่ 5.9 – เกณฑการวดัรอยยนบริเวณปก

Thinnest Area 40%

Crack allowance 1 = 0.39, 2 = 0.09 or Thinning = 40%

Crack area 1 = 0.39, 2 = 0.09

FAM = 1.05

Blank holder

Counter pot

Page 47: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 47 -

5.4.1.3 รอยยนบริเวณผนัง (Sidewall Wrinkle) เกิดจากแรงตึงของโลหะแผนไมมากพอ

โดยเฉพาะบริเวณที่ชิ้นงานไมมี Tooling มาสนับสนุน ทําใหชิ้นงานบริเวณผนังเกิดการบีบอัด

(Compressive) ซึ่งถาแรงบีบอัดมากพอชิ้นงานบริเวณผนังจะเกิดรอยยนซึ่งสามารถวัดไดจาก

ระยะหางของโลหะแผนกับ Punch ซึ่งจะเรียกวาคา SW ดังรูปที่ 5.10 ถาคาความหนาของ

โลหะแผนบริเวณนี้มากกวา 5% จะสังเกตเห็นรอยยนบริเวณผนัง เนื่องจากวาการวิเคราะหดวย

ไฟไนตเอลิเมนตจะใช Mid-Surface ในกรณีที่โลหะแผนหนา 1 mm เกณฑที่จะเกิดรอยยน

บริเวณผนังจะมีคา SW 0.525

รูปที่ 5.10 – เกณฑการวดัรอยยนบริเวณผนัง

5.4.2 วิธีการคนหาคําตอบ

วิธีการคนหาแรงดันและแรงจับยึดที่เหมาะสม แสดงดังรูปที่ 5.11 หลังจากทําการกําหนด

เงื่อนไขการเกิดขอบกพรองแลว ไดทําการกําหนดวัตถุประสงคของการหาคําตอบคือใหไดความบางที่

นอยที่สุดมากที่สุด โดยไมเกิดการฉีกขาดและรอยยน ขั้นตอนตอมาคือการกําหนดชวงของคนหา

คําตอบโดยกําหนดใหแรงดัน (P) และแรงจับยึด (BHF) ดังนี้

Li P Ui ; 22.00 MPa P 40.00 MPa

Li BHF Ui ; 50,000 N BHF 260,000 N

SW = MAX (Distancei) Punch Surface

(Reference)

Part Midplane (FE Mesh)

fif

if

i zyx ReReRe ,,

Distancei (Perpendicular with tangent at

punch surface)

nodi

nodi

nodi zyx ,,Nodei

Page 48: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 48 -

รูปที่ 5.11 – วิธีการคนหาแรงดนัและแรงจับยึดที่เหมาะสม

หลังจากนั้นจึงใชแบบแผน 2D-interval halving ในการกําหนด Neighborhood เพื่อทําการรันใน FEA

Simulation ดังแสดงในรูปที่ 5.12 คือทําการแบงพื้นที่รวมเปน 4 สวน และใชจุดกึ่งกลางเปนตัวแทนใน

การรัน หลังจากนั้นพิจารณาผลลัพธของขอบกพรองท้ัง 3 ประเภทที่เกิดจากการรันวาผลลัพธใดใหผล

ตอบท่ีดีที่สุด

Define constraints - No crack

- No wrinkle

Define crack and wrinkle criteria

Define search space

Create neighborhoods Pi , BHFi

FEA

Collect feasible points

Closed form equation by RSM

Optimal P and BHF

P/Pi < 5% or BHF/BHFi < 5%

2-D interval halving

Pold = 0, BHFold = 0

Check all solutions with constraints

No Yes

Feasible region definition

Criterion to determine the centers of the next search (Fig. 5.13)

Constraints from feasible region

Stop

Page 49: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 49 -

รูปที่ 5.12 – แผนการสราง Neighborhoods แบบ 2D-interval halving

การพิจารณาผลลัพธใดดีที่สุดแสดงแบบแผนดังรูปที่ 5.13 ถามี Neighborhood ใดผานเกณฑทั้งหมดถือ

วา Neighborhood นั้นใหคาแรงดันและแรงจับยึดที่สามารถขึ้นรูปชิ้นงานไดดี (Feasible Solution) ซึ่งใน

การรันครั้งตอไปตองนําไป Neighborhood นี้ไปสราง Neighborhood ใหมดวย แตถา Neighborhood ทั้ง

4 ไมมี Neighborhood ผานทุกเกณฑ ใหพิจารณาดังตอไปนี้

เริ่มจากการใชลําดับการพิจารณาจากเกณฑความบางกอนโดยพิจารณาคาความบางที่ไดเทียบกับเกณฑ

ความบางที่เกิดการฉีกขาดคือ 40% จากสูตร (5-1)

Lim

Limi

Thin

ThinThinDefectThin (5-1)

ตอมาพิจารณาเกณฑการเกิดรอยยนบริเวณปก โดยทําการเปรียบเทียบคา FAM กับเกณฑ FAM ที่ทําให

เกิดรอยยนบริเวณปกคือ 1.05 จาดสูตร (5-2)

Lim

Limi

FW

FWFWDefectFW (5-2)

Pressure (MPa)

BHF (N)

BHFMin BHFAvg BHFMax

PMin

PMax

PAvg

Iteration 1

Iteration 2

Iteration 3 The best from iteration 1

NB1 NB3

NB2 NB4

Page 50: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 50 -

ในลําดับสุดทายพิจารณาเกณฑการเกิดรอยยนบริเวณผนัง โดยทําการเปรียบเทียบคา SW กับเกณฑ SW

ที่ทําใหเกิดรอยยนบริเวณผนังคือ 0.525 จาดสูตร (5-3)

Lim

Limi

SW

SWSWDefectSW (5-3)

รูปที่ 5.13 – เกณฑตดัสินใจในการพิจารณาหา Neighborhood ที่ดีที่สุด

หลังจากทําการสราง Neighborhood ทั้งหมด 17 Neighborhoods จํานวน 3 Iterations จนถึงเงื่อนไขการ

หยุด ทําใหไดคา Feasible Solutions ท้ังหมด 9 คา นํามาพล็อตและสรางเปน Feasible Region ดังรูปที่

5.14

NB1 NB2 NB3 NB4

0DefectThin

0DefectFW

0DefectSW

The feasible solution and the centers of next search

The minimum thin defect is the representative to

comparing of the other defects to be the center of the next

search

No

Yes

Yes

Yes

No

No

The minimum FW defect is the representative to comparing of

the other defects to be the center of the next search

The minimum SW defect is the representative to comparing of

the other defects to be the center of the next search

Comparing values of all defects, the minimum is

chosen to be the center of next search

Page 51: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 51 -

รูปที่ 5.14 – พื้นที่ท่ีไดผลตอบท่ีดี (Feasible Region)

นํา Feasible Region ที่ไดไปสราง Response Surface ดวยสมการที่ (5-4) เพื่อหาความสัมพันธของ

Thinning กับ แรงดัน (P) และแรงจับยึด (BHF)

1

1 11

2

10

k

i

k

ijjiij

k

jjjj

k

jjj xxxxy (5-4)

ไดสมการ Thinning สัมพันธกับ แรงดัน (P) และแรงจับยึด (BHF) ดังสมการที่ (5-5) และมีเงื่อนไข

ขอบเขตดังสมการที่ (5-7) – (5-10)

P.BHF101.39969-.3Thinning -4 0322575064080

2106 10020621088183 BHF.5PBHF.4 (5-6)

โดยที:่

P 29.875 (5-7)

BHF 63125 (5-8)

20 40 60 80 100 120 140 160

P -5.17429E-05BHF + 31.232

P 29.875

P -1.28571E-04BHF + 41.366

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

BHF (kN)

BHF 63125

Pressure (MPa)

Page 52: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 52 -

P -1.28571E-04BHF + 41.366 (5-9)

P -5.17429E-05BHF + 31.232 (5-10)

คาพื้นผิวผลตอบโดยประมาณแสดงดังรูปที่ 5.15 คาแรงดนัและแรงจับยึดที่เหมาะสมสามารถหาไดดวย

วิธี Simplex ซ่ึงไดคา BHF ที่เหมาะสมเทากับ 63,125 N (1 ใน 4) และ P ที่เหมาะสมเทากับ 27.625 MPa

ซึ่งใหผลลัพธคาความบาง Thinning =33.21% (ไมขาด) FAM = 1.046 mm (ไมมีรอยยนบริเวณปก) และ

SW = 0.489 (ไมมีรอยยนบริเวณผนัง) ผลลัพธจากไฟไนตเอลิเมนตแสดงดังรูปที่ 5.16

รูปที่ 5.15 – พื้นที่ท่ีไดผลตอบท่ีดี (Feasible Region)

Pressure (MPa)

60 78

96 114

132

34

24.0 25.5

27.0 28.5

30.0

38

37

36

35

BHF (kN)

Th

inn

ing

(%

)

Min. Thinning 33.21%

Page 53: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 53 -

รูปที่ 5.16 – การกระจายความหนาของชิ้นงานทีไ่ดจากคาแรงดันและแรงจับยึดที่เหมาะสม

Thinnest is 33.21%

BHF (kN)

Stroke

6633..112255

125 20

2255

P (MPa)

Stroke 3

20 125

27.625

Page 54: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 54 -

บทที่ 6

การทดลองการขึ้นรูปชิ้นงานจานฉาย

6.1 การทดสอบการจําลองกับผลการทดสอบจริงเบื้องตน

6.1.1 การติดต้ังแมพิมพและทดสอบเบื้องตน

การติดตั้งแมพมิพ

หลังจากทําการออกแบบพิมพ และส่ังสรางแมพิมพจนแลวเสร็จ จึงนํามาติดตั้งเขากับเครื่องปม

ดังแสดงในรูปที่ 6.1

รูปที่ 6.1 – การตดิตั้งแมพิมพเขากับเครื่องปม

การวางโลหะแผนกลมใหอยูตําแหนงกึ่งกลางกับชุดแมพิมพจะทําไดยาก จึงไดจัดทําแผนไกดเพื่อเปน

การสะดวกในการจัดวาง แสดงดังรูปที่ 6.2 หลังจากนั้นทําการทดสอบการเคลื่อนที่ขึ้นลงของชุด

แมพิมพกับเครื่องปม โดยตําแหนงสุดทายของการขึ้นรูป ในขณะที่อางน้ําถูกยกขึ้น แสดงดังรูปที่ 6.3

Page 55: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 55 -

รูปที่ 6.2 – การจดัวางตําแหนงของโลหะแผนกลม

รูปที่ 6.3 – ตําแหนงสุดทายของการขึน้รูป ในขณะที่อางน้ําถูกยกขึน้

6.1.2 การทดสอบแมพมิพแบบไมมีแรงดันน้ํา

การทดสอบนี้เพื่อทดสอบความสามารถในการขึ้นรูปของโลหะแผนวาสามารถขึ้นรูปชิ้นงาน

ทรงพาราโบลิกไดภายในสโตรกเดียวโดยไมมีน้ําไดหรือไม พบวาผลลัพธจากการทดลองจริงชิ้นงานฉกี

ขาดที่ความสูง 88.5 มม. และเกิดการ Buckle ใกลกับรัศมีปากอางน้ํา โดยมีเสนผานศูนยกลางสุดทายที่

Punch Binder

Blank

Guide

Binder

Page 56: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 56 -

306 มม. ซึ่งผลลัพธดังกลาวใกลเคียงกับผลลัพธที่ไดจากการจําลองดวยระเบียบไฟไนตเอลิเมนต ดัง

แสดงในรูปที่ 6.4

รูปที่ 6.4 – ผลการขึ้นรูปชิ้นงานพาราโบลิกแบบไมมีแรงดนัน้ํา

89.8 mm

Crack

Buckle

88.5 mm

Buckle

306 mm 307.57 mm

Page 57: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 57 -

6.1.3 การทดสอบแมพมิพแบบแรงดันน้ําคงที่และแรงจับยึดคงที่

เนื่องจากยังไมทราบถึงลักษณะของแรงดันและแรงจับยึดที่เหมาะสมในการขึ้นรูปชิ้นงานทรง

พาราโบลา ในเบื้องตนจึงไดทําการกําหนดลักษณะของพารามิเตอรทั้งสองแบบคงที่ โดยเลือกแรงจับยึด

ที่ 63,125 N ในการวิเคราะหหนึ่งในสี่ สวนในการทดสอบจริงจะใชแรงจับยึดเต็มอยูที่ 25.25 ตัน โดย

กําหนดใหแรงดันน้ําคงที่เทากับคาในการเปาโปง (Pre-Bulge) การทดสอบนี้มีวัตถุประสงคเพื่อกําหนด

คาที่ใชในการจําลองใหไดผลลัพธที่ใกลเคียงกับการทดสอบจริง จะไดนําไปสูการหาคาของแรงจับยึด

และแรงดันในขั้นตอนตอไป ซ่ึงผลการจําลองและผลการทดสอบไดแสดงดังรูปที่ 6.5-6.8

รูปที่ 6.5 - ภาพดานบนของชิ้นงานที่ขึน้รูปแรงจับยึด 63,125 N (เต็มเทากับ 25.25 ตัน) และแรงดันคงที ่

3 MPa

รูปที่ 6.6 - ภาพดานหนาของชิน้งานที่ขึน้รูปแรงจับยดึ 63,125 N (เต็มเทากับ 25.25 ตัน) และแรงดัน

คงที่ 3 MPa

289 mm

284.15 mm

288.5 mm

107 mm 105 mm

285 mm

Page 58: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 58 -

รูปที่ 6.7 - ภาพเปรียบเทียบการเกดิรอยยนที่เกิดขึน้บนชิน้งานจากการทดสอบและการจําลอง

ผลการทดสอบพบวาชิ้นงานไดรับผลจากคุณสมบัติที่ไมเทากันทุกดาน (anisotropy) สงผลให

เสนผาศูนยกลางที่ส้ันที่สุดมีขนาด 285 mm และ เสนผาศูนยกลางที่ยาวที่สุดในแนว 45 ของเสนที่สั้นมี

ขนาด 289 mm ในขณะที่ผลการจําลองใหเสนผาศูนยกลางที่ส้ันที่สุดมีขนาด 284.15 mm และยาวที่สุดมี

ขนาด 288.5 mm โดยความสูงของช้ินงานที่ไดจากการทดสอบจริงมีความสูง 107 mm สวนการจําลองมี

ความสูง 105 mm และดวยคาพารามิเตอรที่กําหนดทั้งผลการทดสอบจริงและผลการจําลองแสดงถึงการ

เกิดรอยยนที่ผนังอยางชัดเจน ผลจากการจําลองจะไมแสดงรอยยนบริเวณปกแตการทดสอบจริงจะพบ

รอยยนบริเวณปกเพียงเล็กนอย

รูปที่ 6.8 - ภาพผาครึ่งของชิ้นงานจากการทดสอบจริง

Side wall wrinkle

Flange wrinkle No flange wrinkle

Page 59: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 59 -

Thickness Comparison

0

0.2

0.4

0.6

0.8

1

1.2

0 50 100 150 200 250

Curvilinear (mm)

Th

ick

ne

ss

(m

m)

FEM

Experiment

รูปที่ 6.9 – คาเปรียบเทียบการกระจายตวัของความหนาตลอดความยาวของชิ้นงานระหวางการทดสอบ

จริงกับการจําลอง

รูปที่ 6.9 แสดงผลการเปรียบเทียบการกระจายตัวของความหนาตลอดความยาวของชิ้นงาน

ระหวางการทดสอบจริงกับการจําลองซึ่งสอดคลองกันและมีคาความหนาที่นอยที่สุดอยูหางจาก

จุดสูงสุดที่ 25 mm

สามารถทําการสรุปไดวาคาพารามิเตอรตางๆ ที่กําหนดในการจําลองมีสภาวะใกลเคียงกับการ

ทดสอบจริง ดังนั้นในการหาคาแรงจับยึดและแรงดันที่เหมาะสมจะใชเงื่อนไขการจําลองนี้ทําการ

วิเคราะหหา

6.2 การทดสอบแรงดันและแรงจับยึดที่เหมาะสมทีไ่ดการจําลองกับผลการทดสอบจริง

ในการทดสอบแรงดันและแรงจับยึดที่ เหมาะสมพบวาแรงดันที่ไดจากเครื่อง Pressure

Intensifier แสดงดังรูปที่ 6.10 แรงดันที่ไดจะมีลักษณะคลายเสนตรงแตไมเปนเสนตรงเหมือนกับใน

Simulation นอกจากนั้นลักษณะของแรงจับยึดที่ไดจากเครื่องมีลักษณะแสดงดังรูปที่ 6.11 ซึ่งไมได

ลักษณะเปนเสนตรงคงที่เหมือนใน Simulation

Page 60: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 60 -

0

0.5

1

1.5

2

2.5

0 20 40 60 80 100Time

Pre

ssu

re (

x1

0M

Pa)

รูปที่ 6.10 – ลักษณะแรงดันที่ไดจากเครื่อง Pressure Intensifier

0

5

10

15

20

25

30

35

40

45

0 100 200 300 400 500 600

Ram Stroke (mm)

BH

F (

To

n)

รูปที่ 6.11 – ลักษณะแรงจับยดึที่ไดจากเครื่อง Press

Page 61: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 61 -

ผลลัพธจากการทดสอบแสดงดังรูปที่ 6.12

รูปที่ 6.12 – ชิ้นงานที่ไดจากแรงดันและแรงจับยดึที่เหมาะสม

จากชิ้นงานที่ไดยังพบรอยยนบริเวณผนังและรอยยนบริเวณปกเพียงเล็กนอย ซึ่งอาจจะมาจากแรงดัน

และแรงจับยึดที่ไมไดอยางที่ตองการ นอกจากนั้นสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานก็เปนปจจัยที่ยากที่จะ

ควบคุมได ทําใหผลลัพธท่ีไดไมตรงกับผล Simulation มากนัก

รอยยนบริเวณปก

รอยยนบริเวณผนัง

Page 62: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 62 -

บทที่ 7

การวิเคราะหทางเศรษฐศาสตร

กระบวนการเดิม กระบวนการใหมตนทุนการผลิต Deep Drawing Process หนวย (วินาที) Hydromechanical Deep Drawing หนวย (วินาที)

1. drawing step 1 40 1. hydroforming 120

2. drawing step 2 40 2. post part dry/clean 90

3. drawing step 3 40

4. drawing step 4 40

5. drawing step 5 40

หนวย ( - ) หนวย ( - )

* Production Lead Time (sec/part) 40 * Production Lead Time (sec/part) 120

* Production cap. (parts/work shift) 720 240

ตนทุนเครื่องจักร Deep Drawing Process หนวย (ล.บ.) Hydromechanical Deep Drawing หนวย (ล.บ.)

1. 60 Ton press 0.6 1. Pressure Intensifier and Controller 3.5

2. 60 Ton press 0.6 2. BHF control system 2

3. 60 Ton press 0.6 3. 200 Ton hydrualic press (1 M/C) 2

4. 60 Ton press 0.6

5. 60 Ton press 0.6

หนวย (ล.บ.) หนวย (ล.บ.)

* Total initial M/C cost 3 * Total initial M/C cost 7.5

ตนทุนพื้นที่โรงงาน Deep Drawing Process หนวย (ตารางเมตร) Hydromechanical Deep Drawing หนวย (ตารางเมตร)

1. Transfer press line (5x 60 ton presses) 45 1. 1x200 ton press 16

2. Pressure Intensifer and controller 4

หนวย (ตารางเมตร) หนวย (ตารางเมตร)

* Total plant area occupied 45 * Total plant area occupied 20

ตนทุนกระบวนการ Deep Drawing Process หนวย (ล.บ.) Hydromechanical Deep Drawing หนวย (ล.บ.)

1. 5 Deep Drawing die setS 1 1. 1 HMD die set 0.2

2. Electric X1 2. Electric X1

3. Lubricant X2 3. Water/Antirust solution/Lubricants ~ X2

4. Blank material X3 4. Blank material X3

หนวย (ล.บ.) หนวย (ล.บ.)

* Total processing cost 1 (+X) 0.2 (+X)

ตนทุนแรงงาน Deep Drawing Process (บาท/วัน) Hydromechanical Deep Drawing (บาท/วัน)

1. worker (on each press) x 5 1000 1. worker (on each press) x 1 200

หนวย ( - ) หนวย ( - )

* labor cost per part (baht/part) 1.39 * labor cost per part (baht/part) 0.83

กระบวนการเดิม กระบวนการใหมDeep Drawing Process Hydromechanical Deep Drawing

ตนทุนการผลิต better

ตนทุนเครื่องจักร better

ตนทุนพื้นที่โรงงาน better

ตนทุนกระบวนการ better

ตนทุนแรงงาน better

รูปที่ 7.1 – ตารางวิเคราะหและตารางสรุปผลการเปรียบเทยีบทางเศรษฐศาสตรของทั้งสองกระบวนการ

ผลิตชิ้นสวนจานฉาย

Page 63: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 63 -

ในบทนี้จะกลาวถึงการเปรียบเทียบความคุมทุนทางเศรษฐศาสตร ในการประยุกตใช

กระบวนการผลิตทั้งสองวิธี การขึ้นรูปจานฉายจากเหล็กแผนโดย 1. การลากขึ้นรูปลึก (Deep Drawing

Process) 2. การลากขึ้นรูปลึกดวยน้ําอัดความดันสูง (Hydromechanical Deep Drawing Process) ดังที่ได

สรุปไวในรูปที่ 7.1 จากที่ไดอธิบายไปแลวในบทตนๆถึงความแตกตางทางดานเทคโนโลยี และคุณภาพ

ของชิ้นงานที่ไดจากกระบวนการทั้งสอง รูปที่ 7.2 ไดสรุปขอแตกตางเหลานี้ไวดังตอไปนี้

Deep Drawing Process Hydromechanical Deep Drawing Process

1. ขึ้นรูปไดแตตองใชแมพิมพมากกวาหนึ่งชุด 1. ขึ้นรูปไดโดยใชแมพิมพเพียงชุดเดียว

2. ผิวของชิ้นงานอาจมีรอย (shock line, ขีดขวน) 2. ผิวของชิ้นงานสวยไมมีรอย

3. ไ มสาม าร ถ ใช ขึ้น รูป ได ห าก เห ล็ก แผ น มี

ความสามารถในการขึ้นรูปต่ํา

3. สามารถใชขึ้นรูปชิ้นงานที่เหล็กมีความสามารถ

ในการขึ้นรูปต่ําได

4. ไมตองการอุปกรณพิเศษเพิ่มเติม 4. ตองการ Pressure Intensifier และ blank holder

force control system

5. ควบคุมพารามิเตอรในการขึ้นรูปตัวเดียว (ขนาด

แรงหนีบ BHF)

5. ควบคุมพารามิเตอรในการขึ้นรูปสองตัว (ความ

ดันน้ํา PRESSURE และแรงหนีบ BHF)

รูปที่ 7.2 – ตารางเปรียบเทียบเทคโนโลยีของทั้งสองกระบวนการผลิตชินงานจานฉาย

จากผลการวิเคราะหเชิงเศรษฐศาสตรในแงตาง ดังรูปที่ 7.1 พบวาจุดเดนของกระบวนการผลิต

Hydromechanical Deep Drawing เหนือกระบวนการผลิต Deep Drawing คือ

ตนทุนกระบวนการผลิตตอจํานวนชิ้นงานจานฉายถูกกวา โดยมีสาเหตุหลักมาจากใน

กระบวนการผลิตแบบ HMD นั้นตองการแมพิมพเพียงชุดเดียวเทานั้น ในขณะที่ Deep Drawing

ตองการชุดแมพิมพถึง 5 ชุด

ตนทุนแรงงานตอจํานวนชิ้นงานจานฉายถูกกวา โดยมีสาเหตุมาจากจํานวนของคนงานที่

ตองการมีเพียงคนเดียวเพื่อท่ีจะควบคุมแมพิมพและเครื่องสรางความดันน้ํา

ตนทุนพื้นที่โรงงานมีราคาถูกกวา โดยมีสาเหตุมาจาก HMD ตองการเครื่องปมขึ้นรูปขนาด 200

ตันเพียงตัวเดียวเทานั้น ในขณะที่ Deep Drawing Process ตองใชเครื่องปมขนาดเล็กกวา 60 ตัน

เปนจํานวนถึง 5 เครื่องดวยกัน ดังนั้นพื้นที่โรงงานที่จําเปนตองเพื่อการตั้งลายการผลิตนั้นจึง

นอยกวา

ถึงอยางไรก็ตามกระบวนการ HMD นั้นก็มีขอดอยในเรื่องของเงินลงทุนเริ่มตน ที่ตองลงทุน

จัดสราง หรือจัดซื้อเครื่องสรางน้ําอัดความดัน (pressure intensifier) และระบบควบคุมแรงหนีบ (blank

holder force control system)

Page 64: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 64 -

บทที่ 8

สรุปผลการดําเนินงาน

จุดประสงคหลักของโครงงานวิจัยพัฒนาและออกแบบแมพิมพขึ้นรูปโลหะแผนดวยน้ําสําหรับ

ชิ้นงานจานฉาย นี้คือ

1. ออกแบบแมพิมพขึ้นรูปโลหะแผนดวยน้ําสําหรับช้ินงานจานฉาย

2. ออกแบบลักษณะของเสนโคงความสัมพันธระหวาง Pressure และ Blank Holder Force ที่

ตองใชในการขึ้นรูปดวยน้ําของถวยทรง Parabolic

โดยมีบริษัทรวมโครงการสองแหงคือ บริษัท เจริญลาภออโตพารท จํากัด และบริษัท วิเชียรไดนามิคส

ทางทีมผูวิจัยไดศึกษากระบวนการขึ้นรูปเหล็กแผนดวยน้ําอัดความดันสูง (Hydromechanical Deep

Drawing Process) ซึ่งเปนกระบวนการผลิตที่คอนขางใหมสําหรับประเทศไทย มาประยุกตทดแทนการ

ขึ้นรูปชิ้นงานจานฉายของบริษัท เจริญลาภออโตพารท จํากัด ซึ่งเดิมใชการขึ้นรูปแบบ Deep Drawing

Process โดยทางทีมวิจัยไดดําเนินการศึกษาทุกขั้นตอนตั้งแต สมบัติทางกลที่เหมาะสมของเหล็กแผน

การออกแบบแมพิมพ การออกแบบพารามิเตอรที่ใชในการขึ้นรูปชิ้นงาน และการทดสอบการขึ้นรูปจริง

ผลงานหลักๆที่ไดจากโครงงานวิจัยในครั้งนี้สามารถสรุปไดเปนขอๆดังตอไปนี้

ชิ้นงานจานฉายที่ทางบริษัทรวมวิจัย เจริญลาภออโตพารท จํากัด มีลักษณะเปนโดมครึ่งทรงกลม

ที่ไดนํามาเปน case study นั้นพบวาดวยกระบวนผลิตเดิม (Deep Drawing 1 step) ทางบริษัท

จําเปนตองใชเหล็กแผนเริ่มตนเกรดสูง (SPCEN) ที่มีความสามารถในการขึ้นรูปที่สูงที่สุดและ

ราคาสูง จึงจะสามารถขึ้นรูปชิ้นงานจานฉายนี้ได

จากการศึกษาดวยการวิเคราะห FEA ดวยกระบวนการผลิตแบบใหม (Hydromechanical Deep

Drawing) ชิ้นงานจานฉายเดียวกันนี้ของบริษัทสามารถขึ้นรูปได โดยใชเหล็กแผนเริ่มตนที่มีเกรด

ต่ํา ราคาถูกสุดได (SPCC) กระบวนการผลิตแบบ HMD นี้มีขอดีที่สามารถใชขึ้นรูปเหล็กแผนที่มี

ความสามารถในการขึ้นรูปต่ําๆได

ชิ้นงานจานฉายของบริษัทรวมวิจัย วิเชียรไดนามิคส มีลักษณะคลายโดมทรงพาลาโปลิกที่มีความ

ยากในการขึ้นรูปมากกวา ชิ้นงานจานฉายจากบริษัทรวมวิจัย เจริญลาภออโตพารท จํากัด ไดถูก

นํามาศึกษาเปนอีกหนึ่ง case study ในโครงการนี้เพื่อศึกษาขอดีและขอเสียของกระบวนการ

HMD อยางละเอียด

ทางทีมวิจัยไดดําเนินการทดสอบหาสมบัติทางกลของเหล็กแผนที่ใชในโครงการ โดยใชการ

ทดสอบแบบ Hydraulic Bulge Test (HBT) ที่สามารถใช flow stress curve ที่เหมาะสมสําหรับ

การขึ้นรูปแบบ Hydroforming เพื่อนําไปใชในการจําลองการขึ้นรูปที่แมนยํา

Page 65: เสนอ - ISIT · 2010-11-16 · รูปที่ 1.4 – ลักษณะของป ญหาในการขึ้นรูปถ วยทรง Parabolic ด วยกระบวนการ

- 65 -

โปรแกรม DYNAFORM ไดถูกนํามาใชในการจําลองกระบวนการขึ้นรูปชิ้นงานจานฉายนี้เพื่อ

ออกแบบ 1. แมพิมพ HMD ที่แข็งแรงเพียงพอและเหมาะสม 2. ขนาดของพารามิเตอรที่

เหมาะสมเพื่อใชในการควบคุการขึ้นรูปแบบ HMD (water pressure และ blank holder force)

สามารถขึ้นรูปชิ้นงานจานฉายดวยกระบวนการ HMD ไดดวยการทดลองการขึน้รูปจริง และ

พบวาชิ้นงานที่ไดมีคณุภาพพอใช หากแตยังมีปญหารอยยน (sidewall wrinkle) เล็กนอยท่ีบริเวณ

โคนของชิน้งาน โดยมีสาเหตุหลักเนื่องมาจากอุปกรณสรางและควบคุมความดนัของน้ํายังไม

สามารถควบคุมเสนโคงแรงดันที่แปรผนัตามระยะสะโตรกตามที่ออกแบบไวไดอยางแมนยํา

ทางทีมวิจัยไดดําเนินการวิเคราะหเปรียบเทียบทางเศรษฐศาสตรเบื้องตน เพื่อศึกษาความคุมคา

ของการลงทุนในการนํากระบวนการผลิตแบบ HMD นี้ไปใชทดแทนกระบวนการผลิตเดิมแบบ

Deep Drawing