งาน Con.Part I · Hazard Analysis & Critical Control Point (HACCP):...

550

Transcript of งาน Con.Part I · Hazard Analysis & Critical Control Point (HACCP):...

  •  

    The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate XIII  

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล

     

    สารบัญ หน้ากําหนดการประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที่ ๒ Iคํากล่าวรายงาน คณบดีวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บรรพต วิรุณราช IIคํากล่าวเปิดงานอธิการบดี : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ เรืองประเทืองสุข IVรายชื่อคณะกรรมการดําเนินงานฯ VIรายชื่อคณะกรรมการพิจารณาการเสนอผลงานวิจัย XIรายชื่อคณะกรรมการกลั่นกรอง (peer review) XIIการนําเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยาย การมีส่วนร่วมในความสําเร็จการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ

    Hazard Analysis & Critical Control Point (HACCP): กรณีศึกษาบรษิัทผลิตโกโก้ผงและไขมันโกโก้แห่งหนึ่ง ในจังหวัดฉะเชิงเทรา: เป่ียมศักด์ิ ไข่มุกข์, สุรัติ สุพิชญางกูร....................................................................................................... 1

    การเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรในอุตสาหกรรมการผลิตรถจักรยานยนต์เพื่อรองรับความร่วมมือประชาคมเศรษฐกจิอาเซียน (AEC): กรณีศึกษา บริษทั หง ซี อินเตอร์เนชั่นแนล: แสนญากร อ่อนเสมอ, ฤทธี ชูเกียรติ......................................... 15

    ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารแรงงานสัมพันธ์ในสถานประกอบการที่มีสหภาพแรงงานในนิคมอุตสหากรรมอีสเทริน์ซีบอรด์: โยษิตา หลวงสุรินทร์, กฤช จรินโท... 28

    การศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบริหารโครงการการเตรียมการผลิตช้ินส่วน ยานยนต์รุ่นใหม่: กรณีศึกษา บริษัทผลิตช้ินส่วนยานยนต์แห่งหนึ่งในอมตะนคร : กมลทิพย ์เตชนันท์, สุรัติ สพิุชญางกูร…………………………………………………………. 48

    ความสําเร็จของสถานประกอบกิจการในการบริหารแผนงานด้านความปลอดภัยที่มีผลต่อระดับการปลอดอุบัติเหตุจากการทํางาน กรณีศึกษา:สถานประกอบกิจการที่ได้รับรางวัลสถานประกอบการดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในการทํางานระดับประเทศในภาคตะวันออก: กัญญารัตน์ ทองแดง, กฤช จรินโท

    63

    ประสิทธิผลของการใช้กลยุทธ์สื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ: ประกันชีวิตใน สปป. ลาว (นครหลวงเวียงจันทน์): ปัทมนันท์ หิรญัธีรวัฒน์, สุชนนี เมธิโยธิน…….. 81

       

  •  

    XIV  The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate

     

     

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล 

     

    สารบัญ (ต่อ) หน้า การประยุกต์ใช้ระบบการบริหารองค์กรแบบ World Class Manufacturing

    (WCM) กรณีศกึษา: การผลิตเชิงประสิทธิผลของกลุ่มบริษทั Saint-Gobain ในประเทศไทย: มานพ แสงจํานงค์, บรรพต วิรุณราช…………………………………………… 95

    การปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยการรวมสายการไหลของชิ้นงาน: กรณีศึกษา บริษัทผลิตช้ินส่วนรถยนต์แหง่หนึ่ง ในจังหวัดชลบุรี: ยศศิร ิพาณิชย์กิจไพศาล, สุรัติ สุพิชญางกูร………………………………………………………………………………………….. 116

    กลยุทธการสรา้งโอกาสและช่องทางการจัดจําหน่ายธุรกิจประกันชีวิตใน สปป. ลาว (นครหลวงเวียงจันทน์): รภัสศา สิทธิราช, สุชนนี เมธิโยธิน…………………………. 132

    การปรับตัวทางด้านวัฒนธรรมการทํางานของลูกจ้างไทยต่อนายจ้างต่างชาติ: วทันย์เกียรต์ิ สนัตกิจ, สุชนนี เมธิโยธิน…………………………………………………………… 144

    ความพึงพอใจของพนักงานบริษัท ABC จํากัด ต่อการให้บริการของฝ่ายบริการ Facility แผนกวิศวกรรม: วิสันต์ ลมไธสง, สุรัติ สุพิชญางกูร……………………………. 158

    ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับนวัตกรรมและความรู้ความเข้าใจ ระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส(์E-form) ที่นํามาใช้ในการควบคุมระบบการจัดการ เอกสาร ของบริษัทแห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี: อดิสร เนื่องจํานงค์, สุรัติ สุพิชญางกูร.......................................................................

    174

    ปัจจัยที่มีผลต่อเกณฑ์ในการคัดเลือกสรรหาผู้จําหน่ายปัจจัยในการผลิต:กรณีศึกษา บริษัทที่ได้รับสง่เสริมการลงทนุ (BOI): อิทธิเดช ลิขิตดารา, ธีรวัฒน์ ไพบูลย์กุลกร 188

    อิทธิพลของสื่อโทรทัศน์ของไทยต่อการบริโภคสินค้าของผู้บริโภคใน สปป.ลาว กรณีศึกษา นครหลวงเวียงจันทน์: ศิริญญา วิรุณราช, ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์……… 201

    แนวทางการปรับปรุงการผลิตน้ําด่ืมตามหลัก GMP ในด้านสถานที่ต้ังอาคารผลิตสุขาภิบาล บุคลากรและสขุลกัษณะผู้ปฏิบัติงาน: กรณีศึกษา โรงผลิตน้ําด่ืมชุมชนเขาไผ่ อําเภอเมือง จังหวัดระยอง: สมชาย เพิ่มศรีบูรสุข……………………………………

    219

    ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกผู้ให้บริการโลจิสติกส์ของผู้ประกอบการคลังสินค้าทัณฑ์บนแห่งหนึ่ง ในนิคุอตสาหกรรมอีสเทิร์น ซบีอร์ด ระยอง: สุธิมา นิลละออ, สุรัติ สุพิชญางกูร………………………………………………………………….

    230

    การวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาดของพืชสมุนไพรแกน่ตะวัน: สุพรชัยศรีศักดา, บรรพต วิรุณราช…………………………………………………………………

    239

  •  

    The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate XV  

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล

     

    สารบัญ (ต่อ) หน้า เทคนิคการปรบัปรุงการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลติของแผนกผลติชุดแปรงถ่านของ

    โรงงานแห่งหนึ่ง: เอกเถกิง กนกศิริมา, สุรัติ สุพิชญางกูร…………………………………… 254 แนวทางการปรับปรุงการผลิตน้ําด่ืมให้เข้าสู่ระบบมาตรฐาน GMP ในด้านสถาน

    ที่ต้ังและอาคารผลิต เครื่องมอื เครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิตและการสขุาภิบาล: กรณีศึกษา โรงผลิตน้ําด่ืมชุมชนมาบชลูด ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง: ทองใบ อุดหนุน, ศรณัยา เลิศพุทธรักษ์………………………………………………

    270

    การตอบสนองของผู้ซื้อประกันชีวิตใน สปป.ลาว (นครหลวงเวียงจันทน์): วรพจน์ วรจารุพงค์, สุชนนี เมธีโยธิน…………………………………………………………..... 282

    ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมองค์กรกับผลการปฏิบัติงานของพนักงาน กรณีศึกษาบริษัทพีไอ อินดัสทรี จาํกัด: ไพรินทร์ ใสขาว,กฤษณา โพธิสารัตนะ…………………………………………………………………………………... 296

    ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้บรรยากาศองค์กรแห่งการเรยีนรู้กับพฤติกรรมการถ่ายทอดความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคลของบริษัท เอ จํากัด: รัชฎาภรณ์ แพงจักร, กฤษณา โพธิสารัตนะ………………………………………………………………………………….. 310

    การเปรียบเทียบผลผลิตและการวิเคราะห์ต้นทุนการปลูกข้าวระหว่างการใช้ เครื่องหว่าน กับการปักดําแบบใช้รถดํานา: กรณีศึกษาแปลงเกษตรกร อําเภอบางน้ําเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา: วิไลรัตน์ เง็กเอี่ยม, สุรัติ สุพิชญางกูร…………………….

    322

    การลดต้นทุนการผลิตโดยใช้แนวคิดระบบการผลิตแบบลีนมาประยุกต์ ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตกรณีศึกษา: บริษัท XYZ จํากัด: พัฒนพงศ์ ก่ิงแก้ว, สุรัติ สุพิชญางกูร………………………………………………………………………………………..... 338

    แนวทางการปรับปรุงการผลิตน้ําด่ืมให้เข้าสู่ระบบมาตรฐาน GMP ในด้านการปรับคุณภาพน้ํา การควบคุมคุณภาพมาตรฐาน: กรณีศึกษาโรงผลิตน้ําด่ืมชุมชนมาบชลูดตําบลมาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง: ระพีพรรณ อุดหนุน, สุรัติ สุพิชญางกูร....................................................................................................... 351

    การยอมรับเทคโนโลยีระบบ Picking lamp และประสทิธิภาพการจัดส่งชิ้นส่วนเข้าสู่สายการผลิตในโรงงานผลิตรถยนต์: กรณีศึกษา บริษทั ออโต้ อัลลายน์แอนซ์(ประเทศไทย)จํากัด: ปทิตตา ตรีศิริโชติ, สรุัติ สุพิชญางกูร…………….………………… 362

       

  •  

    XVI  The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate

     

     

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล 

     

    สารบัญ (ต่อ) หน้า การเปรียบเทียบผลผลิตและการวิเคราะห์ต้นทุนการเพาะเห็ดระหว่างโรงเรือน

    แบบแขวนก้อนเชื้อเห็ด กับโรงเรือนแบบวางแผงก้อนเชื้อเห็ด: กรณีศึกษาโรงเพาะเห็ด อําเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี: ปทิตตา เจียมดีกนกกุล, สุรัติ สุพิชญางกูร……… 374

    อัตมโนทัศน์ในการทํางานการรับรู้วัฒนธรรมองค์การและความผูกพันต่อองค์การที่มีผลต่อประสทิธิภาพการทํางานของพนักงานในบริษัทญีปุ่่นแห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี: จุฑาทิพย์ ชัยกิตติภรณ์, กฤช จรินโท……….. 389

    การรับรู้ต่อผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมของชุมชนรอบเขตประกอบการอุตสาหกรรม กรณีศึกษา เขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี จังหวัดระยอง : เบ็ญจวรรณ ป้องนพภา, รัฐวุฒิ รู้แทนคณุ……………………….………………………........ 401

    ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการระบบ ERP ขององค์กรที่ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม: กรณีศึกษา บรษิัท ABC ประเทศไทย จํากัด: เฟื่องรัฐ สุวรรณพฤกษ์, รัฐวุฒิ รู้แทนคุณ……………………………………………………………………………………… 412

    การรับรู้ปัจจัยการพัฒนาเพื่อมุ่งสู่อุตสาหกรรมเชิงนิเวศของพนักงานไออาร์พีซี กรณีศึกษา เขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี: เริงชัย พาสนาโสภณ………… 421

    การพัฒนากลยุทธ์การตลาดสําหรับร้านอาหารประเภทอาหารทั่วไป: เอี่ยมศิริ สายวิลัย………………………………………………………………………………………… 428

    ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการทํางานของพนักงานบริษัทฯ ในกลุ่มบรษิัทไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน): กิจติพงษ์ สระทองล้อม……………………… 446

    ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเห็ดของผู้บริโภค ณ จุดขายในเขตอําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา: ณัฐพล ขวัญจันทร…์…………………… 454

    ทัศนคติและการมีส่วนร่วมของพนักงานระดับปฏิบัติการต่อการดําเนินกิจกรรม 5 ส ในโรงงานอุตสาหกรรม กรณีศึกษา บริษทั ABC จํากัด ในเขตนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง: นิทัศน์ แท่งทอง……………………………………………………………………... 469

    ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนํามาตรฐานระบบบริหารจัดการพลังงาน ISO50001: 2011ประยุกต์ใช้ในองค์กรกรณีศึกษา บริษัท ไบเออร์ไทย จํากัด โรงงานมาบตาพุด : พีรวัส ช่างเก็บ......................................................................................................... 477

    ปัจจัยจูงใจที่สง่ผลให้พนักงานทํางานอยู่กับองค์การกรณีศึกษาโรงงานอุตสาหกรรม ในเขต จังหวัดระยอง: วนาพร ผ่องศิร…ิ………………………………………………………… 485

  •  

    The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate XVII  

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล

     

    สารบัญ (ต่อ) หน้า ปัจจัยแรงจูงใจที่มีผลต่อการทาํงานของแรงงานฝีมือในจังหวัดระยอง:

    ศริญญา ศุภนราพงศ์…………………………………………………………………………………… 493 ปัจจัยการสื่อสารทางการตลาดแบบครบวงจร และปัจจัยด้านจิตวิทยาที่มีผลต่อ

    การตัดสินใจซือ้ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมของผูซ้ื้อกลุ่มเบบี้บูมเมอร์ในเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี: สุณิสา สุระเสถียร…………………………………………………………………… 501

    การรับรู้และการมีส่วนร่วมของชุมชนในกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ของบริษัทไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน): วิภารวี มณีแสง…………………………… 515

  •  

    The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate 1  

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล

     

    การมีส่วนร่วมในความสําเร็จการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคณุภาพ Hazard Analysis & Critical Control Point (HACCP): กรณีศึกษา บริษัทผลติโกโก้ผง

    และไขมันโกโก้แห่งหนึ่ง ในจังหวัดฉะเชิงเทรา Participation in the Success of Using Hazard Analysis & Critical Control

    Point on Production Quality Management: A Case Study of a Cocoa Powder and Cocoa Butter Production Industry in Chachoengsao Province

    เปี่ยมศักด์ิ ไข่มุกข์ 1 สุรัติ สุพิชญางกูร 2

    บทคัดย่อ การทําวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดบัการมีส่วนร่วมของพนักงานตอ่ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ของพนักงาน ที่มีปัจจัยส่วนบคุคลแตกต่างกนั และที่มีลักษณะงานแตกต่างกัน เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจเรื่องระบบคุณภาพ HACCP ของพนักงานมีผลต่อการมีส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA การศึกษาครัง้นี้เป็นการวิจยัเชิงสํารวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมขอ้มูลจากพนักงาน ได้จํานวน 130 ฉบับ ผลการศึกษาพบว่า พนักงาน มีส่วนร่วมต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ในระดับมากขึ้นไป ซึ่งมีค่าเฉลี่ยอยูท่ี่ 3.52 ซึ่งบริษัทต้องพัฒนาจัดการ ใหพ้นกังานมีส่วนร่วม มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.21 ขึ้นไป จะทําให้การมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จอยู่ในระดับมากที่สุด จะทําให้ส่งผลดีซึ่งอาจจะทําได้โดยการสร้างแรงจูงใจในรูปของผลประโยชน์ตอบแทนใหก้ับพนกังาน ปัจจัย ส่วนบุคคลแตกต่างกัน และลักษณะงานแตกตา่งกันไม่ส่งผลตอ่การมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ซึ่งจากผลการวจิัย ถา้ศึกษาถึงรายละเอียดจะพบว่า พนกังานที่มีอายุงาน 1-5 ปี พนักงานฝ่ายวางแผน พนักงานฝ่ายทรัพยากรมนษุยแ์ละธุรการ และพนักงานฝ่ายคลังสินค้า มีค่าเฉลี่ย 3.38, 3.38, 3.24, 3.22 ตามลําดับ ซึ่งระดับการมีส่วนรว่มต่อความสําเร็จ อยู่ในระดับปานกลาง ดงันั้นบรษิัทตอ้งรณรงค์โดยการส่งเสริมการทํากิจกรรมเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมตอ่ระบบ คําสําคัญ: การบริหารคุณภาพงานผลิต/ ระบบคุณภาพ HACCP

    1 บธ.ม. (บริหารธุรกจิมหาบัณฑติ สําหรับผู้บริหาร) วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2 อาจารย์ที่ปรึกษางานนิพนธ ์

  •  

    2  The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate 

     

     

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล 

     

    HACCP ให้อยู่ในระดับมากขึ้นไป ส่วนผลการทดสอบความรู้ความเข้าใจเรือ่งระบบคุณภาพ HACCP มีผลต่อ การมีส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ HACCP โดยใช้เทคนิค SDCA ดังนั้น ผู้บริหารของบริษัทต้องตระหนักและพัฒนาการจัดการเกี่ยวกับการให้ความรู้ความเข้าใจเรือ่งระบบคุณภาพ HACCP ของพนกังาน และสร้างแผนเกี่ยวกับการอบรมระบบคุณภาพ HACCP ซึ่งจะช่วยรักษาระบบ HACCP ให้สําเร็จและมีประสิทธิภาพต่อไปในอนาคต Abstract

    The present study aimed to examine level of participation of employees towards success of employing Hazard Analysis & Critical Control Point (HACCP) with SDCA technique on production quality management. Also, it compared the levels of participation towards success in using HACCP with SDCA technique among employees who had different personal factors and job characteristics. This was to study understanding about the quality system, HACCP, of employees towards participation. This study was a survey research. A questionnaire was employed to collect data from 130 employees. The findings showed that participants reported having participation in the success of

    production quality management in the high level ( X = 3.52). However, the company needed

    employees to participate in the highest level ( X = 4.21). Furthermore, different personal factors and job characteristics had no effect on participation with HACCP quality system. The employees reported working for 1-5 years. They were in planning department, human resource department, administration department, and warehouse. Their levels of participation were 3.38, 3.38, 3.24 and 3.22 respectively. Since the level of participation was in the moderate level, the company needed to encourage the employees to take part in HACCP system. Moreover, the hypothesis testing revealed that understanding on HACCP had effects on participation to use HACCP with SDCA technique. Therefore, the executives needed to manage the knowledge about HACCP quality system of the employees. There should be a training on HACCP. Keywords: Production Quality Management/ HACCP Quality System

  •  

    The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate 3  

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล

     

    ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ระบบ Hazard Analysis & Critical Control Point ( HACCP) อาศัยพื้นฐานหลักการทางวิทยาศาสตร์และมีการดําเนินการอย่างเป็นระบบ มีการระบุอนัตรายและกําหนดมาตรการในการควบคุม เพื่อให้เกดิความม่ันใจในปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหาร ระบบ HACCP ใช้เปน็เครื่องมอืในการประเมินอันตรายและกําหนดระบบการควบคุม โดยมุ่งเน้นการป้องกันอันตรายมากกว่าการเชื่อถือ เพียงแตผ่ลการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ระบบ HACCP ยังสามารถปรับเปลีย่นได้โดยสะดวก เช่น ความก้าวหน้าในเรื่องการออกแบบเครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต ขั้นตอนกระบวนการผลิต หรือการพัฒนาด้านเทคโนโลยีการผลิต (สํานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม [มอก.], 2549, หน้า 13) การนําระบบคุณภาพ HACCP มาใช้ในองค์กรที่ผลิตอาหาร จะเป็นการเน้นการบริหารคุณภาพงานผลิตให้อาหารปลอดภัยเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าเพือ่ให้ลูกค้าได้นําอาหารไปเป็นวตัถุดิบในการผลิต ขั้นต่อไป หรือ ทําการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณภาพ ซึ่งบรษิัทผลิตโกโก้ผงและไขมันโกโก้แห่งหนึ่งในจังหวดัฉะเชิงเทรา ผ่านการรับรองระบบคุณภาพ HACCP เมื่อป ีพ.ศ. 2546 แล้วอายุของการรบัรองจะมีเวลา 3 ปี นับจากวันที่ได้รับการรับรอง และ ตลอดระยะเวลา 3 ปี จะมีการตรวจประเมินระบบบริหารคุณภาพ HACCP จากหน่วยงานผู้ให้การรับรอง หรือการตรวจประเมินแบบเฝ้าระวัง (Serveillance Audit) ซึ่งหลงัจากได้การรับรองแล้วไม่ใช่ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต แต่เปน็จุดเริ่มต้นของการรักษาความสําเร็จในการบรหิารคุณภาพงานผลิตโดยระบบคุณภาพ HACCP ให้ดีขึ้น ซึง่หลาย ๆ บริษทัทีผ่่านการรับรองแล้ว ก็ยังพบปญัหาในการรักษาความสําเร็จ ดงันั้นจําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหาแนวทางหรือกลยุทธ์ต่าง ๆ เพื่อทําให้รกัษาระบบบริหารคุณภาพให้คงอยู่ได้ ซึ่งองค์ประกอบที่สําคัญที่จะรกัษาระบบบรหิารคุณภาพ HACCP ให้ประสบความสําเร็จ คือ พนักงานในองค์กร จากความสําคัญและปัญหาการประยกุต์ใชร้ะบบคุณภาพ HACCP ผู้วิจัย จึงมีความสนใจที่จะศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของพนกังานลักษณะงานของพนักงานและความรู้ความเข้าใจเรื่อง ระบบคณุภาพ HACCP ของพนักงานทีม่ีส่วนร่วมต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิตโดยระบบคุณภาพ HACCP ซึ่งผลการวิจัยจะเป็นประโยชน์ในการวางแผนงานปรับปรุง การประยุกตใ์ชร้ะบบคุณภาพอย่างมีประสิทธิผลและเป็นแนวทางในการพิจารณาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการประยุกตใ์ช้ระบบคณุภาพ HACCP ต่อไป วัตถุประสงค์ของการวจิัย 1. เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนรว่มของพนักงานต่อความสําเร็จในการบริหารคณุภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ Hazard Analysis & Critical Control Point (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA: Standard Do Check Action 2. เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ของพนกังาน ที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน 3. เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ของพนักงาน ที่มีลักษณะงานแตกต่างกัน

  •  

    4  The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate 

     

     

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล 

     

    4. เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจเรื่องระบบคุณภาพ (HACCP) ของพนักงานมผีลต่อการมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ขอบเขตการวจิัย 1. ขอบเขตด้านประชากร ประชากรทีใ่ช้ในการศึกษาคือ พนกังานบริษทัผลิตโกโก้ผง และ ไขมันโกโก้แหง่หนึ่ง ในจังหวัดฉะเชิงเทรา 2. ขอบเขตด้านเนื้อหา เป็นการศึกษาการมีส่วนร่วมของพนกังานตอ่ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA โดยคํานึงถงึลักษณะส่วนบุคคล ลักษณะงาน และ ความรู้ความเขา้ใจเรื่องระบบคุณภาพ (HACCP) ตามการประยุกตใ์ช้หลักการของระบบ (HACCP) 3. ขอบเขตระยะเวลาทําการวจิัยครั้งนี้ จัดทําในระหว่างเดอืนมีนาคม ถึง เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556

  •  

    The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate 5  

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล

     

    กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

             

    ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

    การมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จในการ บริหารคุณภาพงานผลิตโดยระบบ คุณภาพ Hazard Analysis & Critical Control Point (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA 1. การวางมาตรฐานการดําเนินงาน 2. การปฏิบัติตามมาตรฐาน 3. การตรวจสอบ 4. การปรับปรุง

    (Charantimath, 2009)

    ปัจจัยสว่นบุคคล 1. เพศ 2. อายุ 3. ระดับการศึกษา 4. ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน

    ลักษณะงาน 1. เวลาทํางาน 2. หน่วยงานที่สังกัด 3. ตําแหน่งงาน

    ความรู้ความเข้าใจเรื่อง ระบบคุณภาพ HACCP การประยุกต์ใช้หลักการของระบบ HACCP 1. การจดัตั้งทีมงาน HACCP 2. การอธบิายรายละเอียดผลติภัณฑ ์3. การชี้หาวัตถปุระสงค์ในการใช้ผลิตภัณฑ ์4. การจดัทําแผนภูมิกระบวนการผลิต 5. การตรวจสอบความถกูต้องของแผนภูม ิ กระบวนการผลติ 6. การดาํเนินการวิเคราะห์อันตราย 7. การหาจดุวิกฤตท่ีต้องการวจิัยครัง้นี้ได้จาํกัดขอบเขต ของประเด็นท่ีได้ทําการศึกษาไว ้คือควบคุม 8. การกาํหนดค่าวิกฤต 9. การกาํหนดการเฝ้าระวัง 10. การกําหนดวธิีการแก้ไข 11. การกําหนดวธิีการทวนสอบ 12. การกําหนดวธิีการทําเอกสารและการจัดเกบ็บันทึก ข้อมลู 13. การฝึกอบรม (มอก., 2549, หนา้ 17-20)

  •  

    6  The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate 

     

     

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล 

     

    สมมติฐานของการวิจัย 1. พนักงานบรษิัทผลิตโกโก้ผง และไขมันโกโก้แห่งหนึ่งในจงัหวัดฉะเชิงเทรา มีส่วนร่วมต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ในระดับมากขึ้นไป 2. พนกังานบรษิัทผลิตโกโก้ผง และไขมันโกโก้แห่งหนึ่งในจงัหวัดฉะเชิงเทรา ปัจจัยส่วนบุคคล แตกต่างกัน การมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA แตกต่างกัน 3. พนกังานบรษิัทผลิตโกโก้ผง และไขมันโกโก้แห่งหนึ่งในจงัหวัดฉะเชิงเทรา ลักษณะงานแตกต่างกัน การมีส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA แตกต่างกัน 4. ความรู้ความเข้าใจเรือ่งระบบคุณภาพ (HACCP) มีผลต่อการมีส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ในส่วนของพนักงานบรษิัท ผลิตโกโก้ผง และไขมันโกโก้แหง่หนึ่งในจงัหวัดฉะเชิงเทรา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจยั 1. ทราบปัจจัยส่วนบุคคล ลักษณะงาน ความรู้ความเข้าใจเรือ่งระบบคุณภาพ (HACCP) ของพนักงานทีแ่ตกต่างกัน มีผลต่อการมีส่วนรว่มต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ของบริษทัผลิตโกโกผ้ง และไขมันโกโก้แห่งหนึง่ ในจังหวดัฉะเชิงเทรา หรือไม ่ 2. เพื่อเป็นแนวทางให้บริษทัผลิตโกโก้ผง และไขมันโกโก้แหง่หนึ่งในจังหวดัฉะเชิงเทรา บรหิารพนักงานให้มีส่วนรว่มต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA อย่างตอ่เนื่อง 3. ผลที่ได้จากการศึกษา จะถกูนําไปใช้ประโยชน์ เพื่อเป็นขอ้มูลพื้นฐานสําหรับผู้บริหารในการรักษาระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใชเ้ทคนิค SDCA ภายในองคก์ารของบริษทัผลิตโกโก้ผง และไขมนัโกโก้แห่งหนึง่ ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ให้มีประสิทธิภาพหรือใชเ้ป็น แนวทางแกไ้ขหรอืปรับปรุงของบริษทัต่อไป แนวคิดและทฤษฎีระบบคุณภาพ HACCP สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) (2549) ได้กล่าวว่า กอ่นทีจ่ะนําระบบ HACCP มาใช้ในส่วนใดส่วนหนึ่งของวงจรการผลิตอาหาร ส่วนนั้น ๆ ควรจะได้มีการปฏิบัตติาม หลักเกณฑ์และข้อกําหนด ของโครงการมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศหรือโคเดก็ซ์ (Codex) ได้แก่ หลักเกณฑท์ั่วไปเกี่ยวกับสุขลักษณะอาหารและแนวทางในทางปฏิบัติของโคเด็กซ์ (Codex Codes of Practice) ที่เหมาะสม และข้อกําหนด ที่เหมาะสมต่อความปลอดภัยของอาหาร ที่มีโปรแกรมพื้นฐานเหล่านี้ รวมทัง้การฝึกอบรมทีน่ํามาใช้ในระบบ HACCP ควรมีการจัดทําขึ้นอย่างถกูต้อง มีการนําไปใช้ปฏิบัตคิรบถ้วน และมีการทวนสอบเพือ่ช่วยให้การจัดทํา และการนําระบบไปใช้ปฏิบัติประสบผลสําเร็จ ความตระหนักและการมีส่วนรว่มในการบรหิารจัดการ

  •  

    The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate 7  

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล

     

    เป็นสิ่งจําเป็นในการนําระบบ HACCP ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพในทกุประเภทของธรุกิจด้านอาหาร ความมีประสิทธิภาพยังขึ้นกับการที่ฝ่ายบริหารและพนักงานมีความรู้และทักษะในระบบ HACCP อีกด้วย แนวคิดและทฤษฎีวงจรการปฎิบัติงาน SDCA วงจร SDCA เปน็วงจรการทํางานเป็นการต่อยอดของวงจรการบริหารงาน PDCA เพื่อเพิ่มผลผลิต นั่นคือ เมื่อมีการทํางานครบวงจรแล้วต้องสร้างเป็นมาตรฐาน มาตรฐานที่ดีตอ้งมีการทํา ตรวจสอบ แก้ไขและพัฒนากันไปอยา่งต่อเนือ่ง ซึ่งอนันี้เป็นหลักการพื้นฐานที่สําคัญอย่างมาก Charantimath (2009) ได้กล่าวว่า PDCA เป็นกระบวนการที่มีการวางแผนตั้งค่ามาตรฐาน เพื่อปรับปรุงใหไ้ด้มาตรฐานใหม่ที่ดีกว่า วงจร PDCA เป็นเครือ่งมือที่จําเป็นสาํหรับกการพัฒนาและสร้าง ความมั่นใจว่ามปีระโยชน์จากการปรับปรุง ส่วนกระบวนการรกัษาเสถียรภาพจะเรียกว่า วงจร SDCA โดยมีความหมายดังนี ้ P หมายถึง Plan คือ การวางแผนการปฏิบัตงิาน S หมายถึง Standard คือ การวางมาตรฐานการดําเนินงาน D หมายถงึ Do คือ ทําตามแผน ตามมาตรฐาน C หมายถึง Check คือ การตรวจสอบการทํา A หมายถงึ Action คือ การแก้ไข เทคนิค SDCA หมายถึง วงจรการทาํงานอย่างมีระบบ ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ การวางมาตรฐานการดาํเนินงาน การปฏิบัติตามมาตรฐาน การตรวจสอบ และการปรับปรงุ วิธีดําเนินการวิจัย การวจิัยครัง้นี้เป็นการวจิยัเชงิปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยวิธกีารสํารวจ (Survey Research Method) และเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (Questionnaire) จํานวน 130 ชุด กลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยครั้งนี้คือ พนักงานบริษทั ผลิตโกโก้ผง และไขมันโกโก้แห่งหนึ่งในจังหวดัฉะเชิงเทรา ใชก้ารแบ่งชัน้ภูมิในการคํานวณแต่ละฝ่ายเพื่อใหแ้บบสอบถามกระจายไปทกุฝ่าย หลังจากได้กลุ่มตัวอย่างแต่ละฝ่ายแล้ว ทําการสุ่มตัวอย่างแต่ละฝ่ายแบบสะดวก (Convenience Sampling) โดยใช้สถิต ิt-test แบบ 1 กลุ่ม (One Sample t-test) t-test แบบ 2 กลุ่ม (Independent sample t-test) F-test แบบ One-way ANOVA (One-way Analysis of Variance F-test) และ (Simple Linear Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐาน ผลการวจิัย ผู้วิจัยได้นําขอ้มลูตัวอย่างที่เก็บรวบรวมมาได้จาํนวน 130 ชุด ที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้ว มาทําการวิเคราห์ด้วยวธิีการทางสถิติ โดยใช้โปรแกรมสําเร็จรปูทางสถติิ SPSS for Windows Version 11.5 กลุ่มตัวอย่างในการวจิัยครัง้นี้ จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบไปดว้ย เพศชายจํานวน 86 คน คิดเป็นร้อยละ 66.2 มีอายุ 30-39 ปี จํานวน 61 คน คิดเป็นร้อยละ 46.9 ระดับการศึกษาต่ํากว่าปริญญาตรี 113 คน คิดเปน็ร้อยละ 86.9 อายุงาน 1-5 ปี จํานวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 43.8

  •  

    8  The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate 

     

     

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล 

     

    กลุ่มตัวอย่างในการวจิัยครัง้นี้จาํแนกตามลักษณะงาน ประกอบไปด้วยจําแนกตามเวลาปฏิบัตงิานปกติ 8.00 น.-17.00 น. จํานวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 51.5 หน่วยงานที่สังกัดฝ่ายผลิต จํานวน 77 คน คิดเป็นรอ้ยละ 59.2 ตําแหน่งงานระดับปฏิบัตกิาร จํานวน 110 คน คิดเป็นรอ้ยละ 84.6 กลุ่มตัวอย่างในการวจิัยครัง้นี้ มีค่าเฉลี่ยความรู้ความเข้าใจเรือ่ง ระบบคุณภาพ (HACCP) การประยุกตใ์ชห้ลักการของระบบ (HACCP) อยู่ในระดับมากท่ีสุด โดยมีค่าเฉลี่ยความรู้ความเข้าใจเรื่อง ระบบคุณภาพ (HACCP) การประยุกตใ์ช้หลักการของระบบ (HACCP) เท่ากับ 4.46 กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จในการบรหิารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA อยู่ในระดบัมากโดยมีค่าเฉล่ียส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA เท่ากับ 3.52 ผลการทดสอบสมมติฐาน ผลการวิเคราะห์เพื่อทดสอบสมมติฐานงานวจิยั ได้กําหนดค่าระดับความเชื่อมั่นไว้ที่ 95% และ

    กําหนดค่านัยสําคัญทางสถติิ (α) ที่ระดับ 0.05 สามารถสรุปผลได้ดังนี ้ พนักงานบริษทัผลิตโกโก้ผง และไขมันโกโก้แหง่หนึ่งในจงัหวัดฉะเชิงเทรา มีส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จ ในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ในระดับมากขึ้นไป พนักงานบริษทัผลิตโกโก้ผง และไขมันโกโก้แหง่หนึ่งในจงัหวัดฉะเชิงเทราปัจจยัส่วนบุคคลแตกต่างกัน การมีส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ไม่แตกต่างกัน พนักงานบริษทัผลิตโกโก้ผง และไขมันโกโก้แหง่หนึ่งในจงัหวัดฉะเชิงเทราลักษณะงานแตกต่างกัน การมีส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ไม่แตกต่างกัน ความรู้ความเข้าใจเรื่องระบบคุณภาพ (HACCP) มีผลต่อการมีส่วนร่วมต่อความสาํเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA

  •  

    The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate 9  

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล

     

    ตารางที่ 1 ผล Simple Linear Regression Analysis ทดสอบความรู้ความเข้าใจเรือ่งระบบคุณภาพ HACCP มีผลต่อการมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิตโดยระบบคุณภาพ Hazard Analysis & Critical Control Point (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA

    Model Unstandardized

    Coefficients Standardized Coefficients t Sig. Tolerance VIF

    B SE Beta

    ค่าคงท่ี 2.185 0.412 5.301 0.000*

    ความรูร้ะบบ HACCP 0.299 0.092 0.277 3.265 0.001* 1.000 1.000

    R R Square Adjusted R Square

    0.277 0.077 0.070

    ตัวแปรอิสระ คือ การมสี่วนร่วมต่อความสําเรจ็ในการบริหารคุณภาพงานผลิตโดยระบบ HACCP ตัวแปรตาม คือ การมสี่วนรว่มต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิตโดยระบบ HACCP โดยใช้เทคนิค (SDCA)

    * P-value < 0.05

    สมการขอ้มูลดบิ Unstandardized คือ ระดับการมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จ = 2.185 + 0.299 (ระดบัความรู้ระบบ HACCP)* + e สมการขอ้มูลมาตรฐาน Standardized คือ ระดับการมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จ = 0.277 (ระดับความรู้ระบบ HACCP)* + e จากผลการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์พยากรณ์ (R Square) เท่ากบั 0.077 ซึ่งมีค่าน้อยหรอืใกล้ศูนย์ แสดงว่าความรูค้วามเข้าใจเรือ่งระบบคุณภาพ HACCP สามารถอธิบายความผันแปรการมีส่วนร่วม ต่อความสําเร็จในการบริหารคณุภาพงานผลิตโดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนคิ SDCA ในส่วนของพนักงานบริษทัผลิตโกโก้ผงและไขมันโกโก้แหง่หนึ่งในจงัหวัดฉะเชิงเทราได้นอ้ย

  •  

    10  The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate 

     

     

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล 

     

    สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน ตารางที่ 2 สรปุผลการทดสอบสมมติฐาน

    สมมติฐานที ่ สมมติฐาน ผลสรุป

    1 พนักงานบริษัทผลิตโกโก้ผง และไขมันโกโก้แห่งหนึ่งใน จังหวัดฉะเชิงเทรา มีส่วนร่วมต่อความสําเร็จในการบริหาร คุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ในระดับมากขึ้นไป

    ยอมรับสมมติฐานหลัก H0

    2.1 พนักงานเพศแตกต่างกัน การมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จ ในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA แตกต่างกัน

    ยอมรับสมมติฐานหลัก H0

    2.2 พนักงานอายุแตกต่างกัน การมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จ ในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA แตกต่างกัน

    ยอมรับสมมติฐานหลัก H0

    2.3 พนักงานระดับการศึกษาแตกต่างกัน การมีส่วนร่วม ต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิตโดยระบบ คุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA แตกต่างกัน

    ยอมรับสมมติฐานหลัก H0

    2.4 พนักงานอายุงานแตกต่างแตกต่างกัน การมีส่วนร่วม ต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิตโดย ระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA แตกต่างกัน

    ยอมรับสมมติฐานหลัก H0

    3.1 พนักงานเวลาปฏิบัติงานแตกต่างกัน การมีส่วนร่วม ต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดย ระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA แตกต่างกัน

    ยอมรับสมมติฐานหลัก H0

    3.2 พนักงานหน่วยงานแตกต่างกัน การมีส่วนร่วมต่อ ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA แตกต่างกัน

    ยอมรับสมมติฐานหลัก H0

    3.3 พนักงานตําแหน่งงานแตกต่างกัน การมีส่วนร่วมต่อ ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบ คุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA แตกต่างกัน

    ยอมรับสมมติฐานหลัก H0

     

  •  

    The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate 11  

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล

     

    ตารางที่ 2 (ต่อ) 

    สมมติฐานที ่ สมมติฐาน ผลสรุป

    4.1 ความรู้ความเขา้ใจเรื่องระบบคุณภาพ HACCP มีผลต่อ การมีส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) ส่วนการวางมาตรฐานการ ดําเนินงานระบบคุณภาพ (HACCP) ในส่วนของพนักงาน

    ปฏิเสธสมมติฐานหลัก H0

    4.2 ความรู้ความเขา้ใจเรื่องระบบคุณภาพ HACCP มีผลต่อ การมีส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) ส่วนการปฏิบัตติามมาตรฐาน ระบบคุณภาพ (HACCP) ในส่วนของพนักงาน

    ปฏิเสธสมมติฐานหลัก H0

    4.3 ความรู้ความเขา้ใจเรื่องระบบคุณภาพ HACCP มีผลต่อ การมีส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) ส่วนการตรวจสอบระบบ คุณภาพ (HACCP) ในส่วนของพนกังาน

    ปฏิเสธสมมติฐานหลัก H0

    4.4 ความรู้ความเขา้ใจเรื่องระบบคุณภาพ HACCP มีผลต่อ การมีส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) ส่วนการปรับปรงุระบบคุณภาพ (HACCP) ในส่วนของพนกังาน

    ปฏิเสธสมมติฐานหลัก H0

    4.5 ความรู้ความเขา้ใจเรื่องระบบคุณภาพ HACCP มีผลต่อ การมีส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ในส่วนของพนกังาน

    ปฏิเสธสมมติฐานหลัก H0

    อภิปรายผลการวิจัย จากผลการวิจัยสมมติฐานที่ 1 พนักงานมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใชเ้ทคนิค SDCA ในระดับมากขึ้นไป ดังนั้นผู้บริหารของบรษิัท ตอ้งให้ความสําคัญและรักษามาตรฐานการมีส่วนรว่มของพนักงานอย่างตอ่เนื่องเพื่อประโยชน์และความสําเร็จของระบบ HACCP ต่อไป จากผลการวิจัยสมมติฐานที่ 2 พนักงาน เพศแตกต่างกัน อายุแตกต่างกัน ระดับการศึกษาแตกต่างกัน อายงุานแตกต่างแตกกัน การมส่ีวนร่วมต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ไม่แตกต่างกนั

  •  

    12  The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate 

     

     

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล 

     

    จากผลการวิจัยสมมติฐานที่ 3 พนักงานเวลาปฏิบัติงานแตกต่างกัน หน่วยงานแตกต่างกัน ตําแหน่งงานแตกต่างกัน การมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ไม่แตกต่างกัน ดังนั้นจากสมมติฐานที่ 2 และ 3 จะเห็นว่า ปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน และลักษณะงาน แตกต่างกัน ไมส่่งผลต่อการมีส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จในการบรหิารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ผดุง เทพหัสดิน ณ อยุธยา (2549, หน้า 122) ได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องความคิดเห็นของพนักงานตอ่การนาํระบบ HACCP มาใช้ในโรงงานผลิตภัณฑ์นมเชียงใหม ่พบว่าพนักงานโรงงานผลิตภัณฑ์นมเชียงใหม่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน (เพศ อายุ ระดับการศกึษา และ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน) ลักษณะงานแตกต่างกัน (ตําแหน่งงาน) ไม่ส่งผลต่อความคิดเห็นต่อการประยุกตใ์ช้และการมีส่วนร่วมในการดําเนินตามระบบ HACCP ในโรงงานผลิตภัณฑ์นมเชียงใหม ่ซึ่งในการบริหารพนักงานของบริษัทผลิตโกโก้ผง และไขมันโกโก้แห่งหนึ่ง ในจังหวดัฉะเชิงเทรา ไปในทิศทางที่ถูกต้องแล้วต้องรักษาระดับและพัฒนายิ่งขึ้นไป ข้อค้นพบที่แตกต่างคือ ลักษณะงานแตกต่างกัน (เวลาทํางาน, หน่วยงานทีสั่งกัด) ไม่ส่งผลต่อ การมีส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA เพราะบริษทัเปน็อุตสาหกรรมที่ทําการผลิตอาหารต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง จีงให้ความสําคัญต่อพนักงานที่เวลาทาํงานแตกต่างกัน และหน่วยงานที่สังกัดแตกต่างกัน ต่อการมีส่วนร่วมต่อความสําเรจ็ เพื่อให้เกิดความม่ันใจ ในความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหาร จากผลการวิจัยสมมติฐานที่ 4 ความรู้ความเขา้ใจเรื่องระบบคุณภาพ HACCP ของพนักงาน มีผลต่อการมีส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ดังนั้นบริษัทต้องให้ความสําคัญในการจัดการเกี่ยวกับการให้ความรู้พนักงานและจัดอบรม เรื่องระบบคุณภาพ HACCP อย่างต่อเนือ่งเพื่อให้มั่นใจว่าพนักงานของบรษิัทมีความรู้ความเข้าใจเรือ่ง ระบบคุณภาพ HACCP อยู่ในระดับมากขึ้นไป เพื่อให้ช่วยในการจัดการและพฒันาระบบให้ประสบความสําเร็จอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ลูกค้าไดน้ําอาหารไปเปน็วัตถุดิบในการผลิตขั้นต่อไป หรือ ทําการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณภาพต่อไป ข้อเสนอแนะที่ได้จากงานวิจัย ข้อเสนอแนะสาํหรับบริษัทผลิตโกโก้ผง และไขมันโกโก้แหง่หนึ่ง ในจังหวดัฉะเชิงเทรา 1. พนกังานบรษิัท มีส่วนร่วมตอ่ความสําเรจ็ในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ในระดับมากขึ้นไป ซึ่งมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.52 ซึง่บริษัทต้องพัฒนาการจัดการเกี่ยวกับการให้พนักงานมีส่วนร่วม ให้ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.21 ขึ้นไป จะทําให้การมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จ อยู่ในระดับมากที่สุด จะทําให้ส่งผลดี ซึ่งอาจจะทําได้โดยการสร้างแรงจูงใจในรูปของผลประโยชน์ตอบแทน

  •  

    The 2nd Conference in Eastern Seaboard Industrial Estate 13  

    ประชุมสัมมนาวิชาการด้านบริหารธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในเขตชายฝั่งตะวันออก ครั้งที ่๒ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับมูลนิธิเสนาะ อูนากูล

     

    ให้กับพนักงานเมื่อบริษทัมีการพัฒนาและเกิดความสําเร็จ โดยอาจจะทําการวัดผลจากผลการตรวจประเมินระบบ (HACCP) จากหน่วยงานผูใ้ห้การรับรองและจากลูกค้ารวมทั้งการตรวจประเมินภายในองคก์รโดยพนกังาน ของบริษทั 2. พนกังาน ปจัจัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน และลักษณะงานแตกต่างกันไม่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วม ต่อความสําเร็จในการบริหารคณุภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค (SDCA) ซึ่งจากผลการวิจัยถ้าศึกษาถึงรายละเอียดจะพบว่าพนักงานที่มีอายงุาน 1-5 ปี พนักงานฝ่ายวางแผน พนักงานฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ และธุรการ และพนักงานฝ่ายคลังสินค้า มีค่าเฉลี่ย 3.38, 3.38, 3.24, 3.22 ตามลําดับ ซึ่งระดับการมีส่วนร่วมตอ่ความสําเร็จอยู่ในระดับปานกลาง ตามลําดับ ดังนั้น บรษิัทตอ้งรณรงค์ความสนใจของพนกังาน โดยการสง่เสริมการทํากิจกรรมเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมตอ่ระบบ (HACCP) โดยมีรางวัลในการทํากิจกรรม เป็นแรงจงูใจแกพ่นักงานของทัง้องค์กรโดยให้ความสนใจกับพนักงานกลุ่มดงักล่าวข้างต้นเป็นพิเศษ เพือ่ใหพ้ฒันาระดับการมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ให้อยูใ่นระดับมากขึ้นไปเพื่อเป็นประโยชน์ต่อองคก์ร 3. ความรู้ความเข้าใจเรือ่งระบบคุณภาพ HACCP ของพนกังาน มีผลต่อการมีส่วนร่วมต่อความสําเร็จในการบริหารคุณภาพงานผลิต โดยระบบคุณภาพ (HACCP) โดยใช้เทคนิค SDCA ดังนั้นผู้บริหารของบริษัท ต้องตระหนักและพัฒนาการจัดการเกี่ยวกับการให้ความรู้ความเข้าใจเรือ่งระบบคุณภาพ HACCP ของพนักงาน และสร้างแผนเกี่ยวกับการอบรมระบบคุณ