กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด...

41
i'"

Transcript of กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด...

Page 1: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

i'"

Page 2: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

คํานํา

วารสารวิชาการ เปนสื่อความรูประเภทหนึ่งที่มีความสําคัญตอการศึกษาคนควา อางอิง ที่ทันตอเหตุการณ ทําใหทราบถึงความกาวหนา และผลงานใหมๆ ในแขนงวิชาตางๆ กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ ไดคัดเลือกบทความที่นาสนใจจากวารสารที่มีใหบริการในหองสมุด มาจัดทําสาระสังเขปรายเดือนเพื่อชวยอํานวยความสะดวกใหกับสมาชิกรัฐสภาและผูใช ไดเขาถึงวารสารและเปนคูมือในการติดตามเลือกอานบทความที่สนใจจากวารสารที่ตองการไดอยางรวดเร็วและมากที่สุด สาระสังเขปบทความวารสาร ฉบับนี้ไดดําเนินเขาสูปที่ 5 หากผูใชทานใดมีความประสงคจะอานบทความ หรือวารสารฉบับใด โปรดติดตอที่เคานเตอรบริการสารสนเทศ หองสมุดรัฐสภา สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร อาคารรัฐสภา 3 ช้ัน 1 ถนนอูทองใน เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 หมายเลขโทรศัพท 0 2244 1287, 0 2244 1375 หรือ e-mail : [email protected], และ [email protected]

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

กรกฎาคม 2551

Page 3: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

คําช้ีแจง

สาระสังเขปบทความวารสารเลมนี้ เปนการสรุปยอเนื้อหาของบทความจากวารสารตางๆ ทั้งวารสารภาษาไทยและวารสารภาษาอังกฤษ โดยจัดเรียงตามลําดับชื่อวารสาร ภายใตช่ือวารสารจัดเรียงตามลําดับอักษรชื่อบทความ ตั้งแต ก-ฮ หรือ A-Z รายละเอียดประกอบดวย

ช่ือวารสาร

วิชาการศาลปกครอง

1. “เขตอํานาจศาลปกครองตามรัฐธรรมนญูแหงราชอาณาจักรไทย พทุธศักราช 2550”. / โดย กาญจนารัตน ลีวิโรจน. ว.วชิาการศาลปกครอง. ปที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2551) : 47-65.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง การเปลี่ยนแปลงเขตอํานาจศาลตามบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โดยเฉพาะการเปลีย่นแปลงอํานาจศาลปกครองซึ่งเรื่องที่มีการเปลี่ยนแปลงและมีผลโดยตรงกับศาลปกครองนั้นมีดวยกัน 3 เรื่อง คือ เร่ืองที่ 1 เขตอํานาจศาลปกครอง ไดบัญญัติเนื้อหาเกี่ยวกับเขตอํานาจศาลปกครองแตกตางไปจากเดิมหลายประการ อาทิเชน การปรับปรุงความหมายของคําวาหนวยงานหรือองคกรที่อยูในเขตอํานาจศาลปกครองใหชัดเจนขึ้น การกําหนดบทยกเวนวาเขตอํานาจศาลปกครองไมรวมถึงการวินิจฉยัช้ีขาดขององคกรตามรัฐธรรมนูญที่เปนการใชอํานาจโดยตรงตามรัฐธรรมนูญขององคกรนั้น เปนตน เร่ืองท่ี 2 จํานวนตุลาการศาลปกครอง โดยบญัญัติใหการกาํหนดจาํนวนตุลาการศาลปกครองในแตละชั้นศาลเปนอํานาจของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง และ เร่ืองที่ 3 การประชมุคณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง โดยบัญญัติเกีย่วกับจํานวนกรรมการผูทรงคุณวุฒิในการประชุม คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองในกรณีที่เปนเรื่องดวน นอกจากนี้ในสวนทายยังไดอธิบายความเปลี่ยนแปลงของเขตอํานาจของศาลยุติธรรมและเขตอํานาจของศาลรัฐธรรมนูญตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

Page 4: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สารบญั

หนา คํานํา.............................................................................................................................................................ก

คําชี้แจงวิธีใช............................................................................................................................................... ข

สารบัญ ......................................................................................................................................................ค-ง

กฎหมายใหม ................................................................................................................................................ 1

ดอกเบี้ย ........................................................................................................................................................ 3

ผูสงออก ....................................................................................................................................................... 6

FOR QUALITY........................................................................................................................................... 8

วิชาการศาลปกครอง .................................................................................................................................. 10

ศาลยุติธรรมปริทัศน................................................................................................................................... 13

ศาลรัฐธรรมนูญ ......................................................................................................................................... 15

เศรษฐกิจและสังคม .................................................................................................................................... 18

เศรษฐศาสตรธรรมศาสตร ......................................................................................................................... 21

สงเสริมการลงทุน ...................................................................................................................................... 23

สารคดี ........................................................................................................................................................ 27

อีคอนนิวส.................................................................................................................................................. 29

ภาคผนวก

“มรดกโลกของไทย”

Page 5: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

1

กฎหมายใหม

1. “กฎหมายการดูแลประโยชนของคูสัญญา”. / โดย ฤทธิชัย งดงาม. ว.กฎหมายใหม. ปที่ 6 ฉบับที่ 95 (พฤษภาคม 2551) : 34-38.

การเขาทําธุรกรรมทางธุรกิจหรือการคาทุกประเภท คูสัญญายอมมีประเด็นที่ตองพิจารณาใน เร่ืองความเสี่ยงที่สําคัญ ไดแก ความเสีย่งในการชําระราคา และความเสี่ยงในการปฏบิัติหนาที่ตามสัญญา ในการนี้ การวางโครงสรางและขั้นตอนการทําธุรกรรมทางธุรกิจหรือการคาจึงเปนสิ่งที่จําเปนอยางยิ่ง บทความเร่ืองนี้จึงไดนําเสนอ Escrow Arrangement เพื่อเปนการลดความเสี่ยงในการชําระราคา และความเสี่ยงในการปฏิบัติหนาที่ตามสัญญา โดยคูสัญญาสามารถตกลงใหมีคนกลางเขามาชวยถือและดูแลทรัพยสิน (รวมถึงเงิน) ที่เกีย่วของกับธุรกรรมนั้นๆ ในระหวางที่ธุรกรรมยังไมเสร็จสิ้น หรือในระหวางที่รอการปฏิบัติหนาที่ตามสัญญาบางประการหรือรอเงื่อนไขบางขอมีผล หรือรอใหถึงเงื่อนเวลาที่กําหนดได โดยบทความไดกลาวถึงประโยชนของ Escrow Arrangement ในทางธุรกิจและการคา และสาระสําคัญของกฎหมายการดแูลผลประโยชนของคูสัญญา ไดแก พระราชบัญญัติการดูแลผลประโยชนของคูสัญญา พ.ศ. 2551 ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวนัที่ 20 กุมภาพนัธ 2551 และจะมีผลบังคบัใชเมื่อพนกําหนด 90 วัน นับแตวันประกาศในราชกิจจานเุบกษาเปนตนไป โดยกลาวถึงประเด็นและขอพิจารณาที่สําคัญของพระราชบัญญัติฉบับดังกลาว 2. “กฎหมายใหมสําหรับคุมครองผูผิดปกติทางจิต”. / โดย กรกฎ ทองขะโชค. ว.กฎหมายใหม. ปที่ 6 ฉบับที่ 95 (พฤษภาคม 2551) : 39-43.

ผูมีอาการผิดปกติทางจิตเกิดขึ้นเนื่องจากปจจัยหลายสาเหตุ ซ่ึงอาจเกดิจากการปวยเพราะความ บกพรองทางกาย หรือเกดิจากจิตใจ แตเมื่อถูกจํากัดจากการที่ไมสามารถปรับตัวเขากับสังคม จึงทําใหมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไมอาจอยูรวมกับสังคมได ซ่ึงอาจจะกระทําความผิดอาญาตอไปได ปญหาดังกลาวหนวยงานรัฐไดใหความสนใจในการพัฒนากฎหมายสุขภาพจิตของประเทศไทยในการรวมพัฒนารางกฎหมายสุขภาพจิต จนเปนผลสําเร็จ ซ่ึงมีช่ือวา “พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551” กฎหมายฉบับนี้ เปนแนวทางในการคุมครองสิทธิของผูปวยจติเวชใหไดรับการรักษา โดยบทความไดกลาวถึงเหตุผลในการตรากฎหมายฉบับนี้และสาระสําคัญของพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พรอมทั้งเสนอถึงแนวทางการปฏิบัติตามโครงสรางกฎหมายฉบับนี้อยางมีประสิทธิภาพ

Page 6: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

2

3. “คดีคลิตี้ : ชาวบานชนะรฐั”. / โดย กองบรรณาธิการ. ว.กฎหมายใหม. ปที่ 6 ฉบับที่ 95 (พฤษภาคม 2551) : 4-17.

คดีคลิตี้ เปนคดีที่เกิดจากบรษิัทตะกั่วคอนเซนเตรทส (ประเทศไทย) จาํกัด ไดขอสัมปทานจาก กรมทรัพยากรธรณีเดิมเขาไปขุดและแตงแรในพืน้ที่ตําบลชะแล อําเภอทองผาภูมิ จังหวดักาญจนบุรี ตั้งแตป พ.ศ. 2540 โดยภายหลังบริษัทดังกลาวไดปลอยน้ําเสียจากการแตงแร ซ่ึงมีสารตะกั่วปนเปอนสูลําหวยคลิตี้ ทําใหชาวบานซึ่งเปนคนไทยเชื้อสายกะเหรีย่งที่อาศัยอยู ในหมูบานคลติี้ลาง ซ่ึงดํารงชีวิตโดยใชแหลงน้ําดังกลาวเกิดอาการเจ็บปวย ซ่ึงตอมาหลายฝายไดเขาไปตรวจสอบ ทําใหเชื่อวาการเจ็บปวยของชาวบานมาจากตนเหตุของโรงแตงแรดงักลาว คดีนี้ชาวบาน 22 คน จึงเปนโจทกฟองรองบริษัทที่แตงแรเปนคดีแพงที่ศาลยุติธรรมและฟองกรมควบคุมมลพิษที่ศาลปกครอง ในสวนของคดีแพงคดีอยูทีศ่าลอุทธรณ แตโอกาสบังคับคดีคอนขางยากที่จะไดรับการชดใชเพราะบริษัทดงักลาวปดเหมืองไปแลว ในสวนของคดีที่ศาลปกครองนั้น ที่สุดศาลปกครองกลางพิพากษาใหผูถูกฟองคดีชดใชคาเสียหายแกชาวบานผูฟองคดีรายละ 33,783 บาท โดยทั้งสองฝายอยูระหวางการยื่นอุทธรณ บทความเรือ่งนี้ จึงไดนาํเสนอรายงานคําพิพากษาศาลปกครองกลางเฉพาะสวนที่กลาวถึงคําฟองและคําวนิิจฉัย เพื่อประโยชนในการศึกษาติดตามแกผูที่สนใจ 4. “คนไทยจะบริหารความขัดแยงทางการเมืองวันนี้กันอยางไร?”. / โดย ณรงคฤทธิ์ ศรีรัตโนภาส.

ว.กฎหมายใหม. ปที่ 6 ฉบับที่ 95 (พฤษภาคม 2551) : 72-74. บทความเรื่องนี้ กลาวถึงสถานการณปจจบุันของสังคมไทย ซ่ึงมีความขัดแยงทางการเมืองอยาง

รุนแรงเกิดขึน้อีกครั้ง จากการที่พรรครวมรัฐบาลไดยื่นขอแกไขรัฐธรรมนูญทําใหสถานการณบานเมืองกลับไปสูการเผชิญหนาคลายภาวการณกอนเกดิการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 แตหากบริหารความขดัแยงทางการเมืองครั้งนี้ไมดี ผลลัพธที่เกิดขึ้นอาจจะหนกัหนากวาที่เคยผานมา เหตุผลสําคัญเนื่องมาจากความขัดแยงวันนีเ้กิดขึน้ทามกลางลักษณะพิเศษและสภาพแวดลอมเฉพาะหลายประการ โดยอาจประมวลได 5 ประการ คือ 1) ความขัดแยงครั้งนีเ้กิดขึ้นในภาวการณที่สังคมเกิดความแตกแยกราวลึก 2) ความขัดแยงครั้งนี้เกิดขึ้นในภาวการณทีส่ถาบันทหารมีความพรอมและสามารถอาศัยความขัดแยงในหมูประชาชนกลับมากอรัฐประหารอีกครั้งหนึ่ง 3) ความขัดแยงครั้งนี้เกดิขึ้นในภาวการณที่สังคมขาดผูมีบารมีที่พอจะพูดใหทุกฝายยอมรับได 4) ความขัดแยงครั้งนี้มีความพยายามกลับไปใชวิธีการเดมิๆ มาโจมตีซ่ึงกันและกัน และ 5) สถาบันพรรคการเมืองใมเคยเปนที่พึ่งของสังคมไดเลยในยามบานเมืองเกิดวิกฤตหรือเกิดการรัฐประหารพรอมทั้งมีบทวิเคราะหวาเบือ้งหนาลักษณะพิเศษและสภาพแวดลอมเฉพาะทั้งหาประการนั้นคนไทยจะบริหารความขัดแยงทางการเมืองกนัอยางไร โดยแยกพิจารณาเปนรายประเดน็

Page 7: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

3

5. “ภัยธรรมชาติกับการชวยเหลือทางมนุษยธรรม”. / โดย เอกชยั ไชยนุวตัิ และ ยทุธนา ศรีสวัสดิ์. ว.กฎหมายใหม. ปที่ 6 ฉบับที่ 95 (พฤษภาคม 2551) : 18.

ตามกฎหมายระหวางประเทศ มนุษยทกุคนยอมมีสิทธิประจําตัวทีไ่มอาจถูกละเมิดหรือพรากไป ได สิทธินั้นคอื สิทธิมนุษยชน ซ่ึงสามารถจําแนกไดหลายประเภท แตสิทธิมนุษยชนที่ยิ่งใหญทีสุ่ด มีคุณคามากที่สุด และไมอาจใหใครสามารถละเมิดไดอยางเดด็ขาด สิทธินัน้เรียกวาสิทธิที่จะมีชีวิตรอด ดังนั้น เมื่อสถานการณส่ิงแวดลอมในปจจุบัน มีความแปรปรวนของสภาพดินฟาอากาศเกดิขึ้นบอยครั้ง ความแปรปรวนเชนนี้ยังรวมไปถึงภัยธรรมชาติที่ไดคราชีวติมนุษยและมผูีประสบความเดือดรอนตองไรที่อยูเปนจาํนวนมาก จึงไมใชเร่ืองนาแปลกหากเพือ่นมนุษยกลุมหนึ่งไดรับความเดือดรอนแลว เพื่อนมนษุยดวยกนัจะไมนิ่งดูดาย แตจะพยายามสงความชวยเหลือไปใหเทาที่จะสามารถทําได ซ่ึงเปนความชวยเหลือทางมนุษยธรรมเพื่อใหผูเดือดรอนเหลานั้นยังคงมี ชีวิตรอดตอไปได แมบางเหตุการณความชวยเหลือจะหลั่งไหลเขามาแตการปฏิบัติการก็เปนไปอยางนาผิดหวัง อยางไรก็ตาม ทกุครั้งที่เกิดวิกฤตเรามักจะพบวาไมไดมีแตเร่ืองรายๆ เสมอไป เพราะอีกมุมหนึ่งจะทําใหเราไดเห็นวาน้ําใจเพือ่นมนุษยมีอยูจริงและมีอยูทัว่โลก โดยมไิดเกิดจากการบังคับ หากแตเกิดจากความรูสึกวาส่ิงนี้คือส่ิงที่ควรทํา

ดอกเบีย้

1. “กินอยูอยางไรในยุคขาวยากหมากแพง”. / โดย อัศวนิ จินตกานนท. ว.ดอกเบี้ย. ปที่ 26 ฉบับที่ 323 (พฤษภาคม 2551) : 75.

บทความเรื่องนี้นําเสนอวิธีการใชชีวิตในยคุขาวยากหมากแพง หรือภาวะเงินเฟอที่รุนแรงสําหรับ ประเทศไทย แมสถานการณในปจจุบนัอาจจะไมด ี หากเรารูจกัแนวทางแกไขก็สามารถทําใหเราอยูในสถานการณนัน้ได ผูเขียนไดแบงปญหาออกเปน 2 ประการ คือ 1) ปญหาที่เราไมสามารถควบคุมแกไขได เชน ปญหาเศรษฐกิจชะลอตัวของสหรัฐอเมริกา ปญหาราคาสินคาบริโภคเพิ่มขึ้น อัตราดอกเบี้ย ราคาน้ํามัน เปนตน ปญหาเหลานี้เราไมมีความสามารถที่จะแกไขได หากกังวลกับสถานการณเหลานั้นมากจนเกิดไปอาจนําไปสูปญหาอื่นๆ อีกมากมาย 2) ส่ิงที่ควรพยายามทํา ไดแก ไมควรตกใจกับขาวและกระแสตางๆ จนเกินเหตุ รูจักจดัลําดับความสําคัญและมีเปาหมายในการดาํเนินชวีิต โดยเฉพาะคาใชจายดานการเงิน การลดคาใชจายทีไ่มจําเปน ลดการกอหนีแ้ละทําแผนการใชเงนิ เปนตน

Page 8: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

4

2. “จุดประกายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ”. ว.ดอกเบี้ย. ปที ่26 ฉบับที่ 323 (พฤษภาคม 2551) : 59. นําเสนอมุมมองเกี่ยวกับการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ซ่ึงในอดีตการแปรรูปรัฐวิสาหกจิไทยมีปญหา

มากจนทําใหเกิดความขดัแยงทั้งในวงการวิชาการ และประชาชน สําหรับบทความนี้ไดนําเสนอในแงของการแปรรูปที่ถูกทําอยางรอบคอบถูกตองและสามารถสรางประโยชนใหกับสวนรวมไดอยางมีประสิทธิภาพ ปจจุบันรัฐวิสาหกิจของไทยมีอยู 58 แหง หลายรายมีปญหาดานการบริหารจัดการจนทําใหเกดิปญหาขาดทุนอยางตอเนื่อง และเปนภาวะของรัฐในการจัดสรรงบประมาณใหเพื่อนําเงินมาหมุนเวยีนในรัฐวิสาหกิจ หากมีการแปรรูปโดยกระบวนการที่ถูกตองและมุงใหเกิดการจัดการที่มีประสิทธิภาพก็เปนแนวทางหนึ่งที่จะสามารถแกไขปญหารัฐวิสาหกิจที่กําลังประสบปญหาอยูได โดยมีแนวทาง ดังนี้ 1) รัฐบาลจะตองมีทิศทางในการดําเนินนโยบายตอรัฐวิสาหกิจอยางชัดเจน 2) ตองมีการกําหนดกรอบระยะเวลาที่ศึกษาใหชัดเจน และ 3) รัฐวิสาหกิจที่ดําเนินธุรกจิในเชิงพาณิชยจะตองเรงปรบัปรุงใหเปนเอกชน 3. “ชะตากรรมคนไทยขาวแพง-คาแรงถูก”. ว.ดอกเบีย้. ปที่ 26 ฉบับที่ 323 (พฤษภาคม 2551) : 36.

นําเสนอสถานการณของประเทศไทยในภาวะที่คาครองชพี โดยเฉพาะการขึ้นราคาของขาวที่เปน อาหารหลักของคนไทย ทําใหประชาชนไดรูวากําลังตกอยูในภาวะขาวยากหมากแพงอยางแทจริง รวมทั้งมีผลกระทบตอสินคาที่เกี่ยวเนื่องอื่นๆ อีกมากมาย และมีความจําเปนตองการบริโภคทั้งส้ิน ผูเขียนไดสะทอนถึงปญหาที่คนไทยกําลังเผชญิอยู ทั้งคาน้ํามันแพง สินคาแพง คาแรงถูก ทาํใหมีรายไดไมเพียงพอกับคาใชจายและปญหานี้ยังมแีนวโนมที่จะรนุแรงมากยิ่งขึน้ โดยเฉพาะราคาน้ํา มันซึ่ ง เปนตนตอที่ทําใหเกิดปญหาทั้งดานเศรษฐกิจสังคม และการเมอืงตามมา พรอมกันนี้ผูเขียนไดเสนอมุมมองที่เปนโอกาสดีสําหรับประเทศไทย ในการพลิกวิกฤตใหเปนโอกาส โดยหนัมาใหความสาํคัญกับจุดแขง็ของประเทศในเรื่องของเกษตรกรรมใหมอีกครั้ง โดยการวางกรอบนโยบายของประเทศที่ชัดเจน ทั้งเรือ่งของพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน หากมกีารจัดการที่ดีประเทศไทยจะสามารถยืนอยูไดอยางมั่นคงในอนาคต 4. “ดูไบ : ศูนยกลางการเงนิเชื่อมตะวันตก-ออก”. / โดย แสงอุทัย เคาภไูทย. ว.ดอกเบี้ย. ปที่ 26 ฉบับที่

323 (พฤษภาคม 2551) : 23. ดูไบเปนรัฐเจาครองแควนหรืออีมีรรัฐหนึ่งใน 7 รัฐที่รวมตัวกันขึ้นเปนสหพันธรัฐอาหรับเอมิเร็ตส

มีเจาครองรัฐองคปจจุบัน คอื มูฮัมหมัด บิน ราชิด อัล มักตูม ซ่ึงทรงดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีและรองประธานาธิบดขีองสหพันธรัฐในเวลาเดยีวกัน ปจจุบนัดไูบกําลังเปนเปาสายตาของวงการการเงนิโลก เมื่อเจาผูครองรัฐใหบริษัทตัวแทนรัฐบาลซื้อกิจการตลาดเงนิ ตลาดทุนสําคัญที่สุดในโลกไมวาจะเปนแนสแด็กหรือลอนดอนโดยไมคํานึงถึงราคา ทําใหดูไบกลายเปนศูนยการเงนิที่เติบโตเร็วที่สุดในยานอาวเปอรเชีย และยังมีเปาหมายที่สําคัญคือการเปนศูนยกลางทางการเงินของโลก นอกจากนี้ดไูบยังมคีวามพยายามที่จะพิสูจนใหนานาชาติเห็นวา สามารถดํารงอยูไดโดยไมตองพึง่พารายไดจากน้ํามันดิบในอนาคต ทําใหดไูบขยายกําลัง

Page 9: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

5

ผลิตในดานตางๆ โดยเฉพาะดานบริการในภาคการผลิต เพื่อใหรายไดตอหัวประชากรเปน 44,000 ดอลลาร (ประมาณ 1,400,000 บาท) ตอป จากเดิม 30,000 ดอลลาร (ประมาณ 975,000 บาท) ตอป ดูไบไดสรางสิ่งอํานวยความสะดวกใหแกนกัลงทุนทุกดาน ไมวาจะเปนศูนยธุรกจิการคา การลงทุน ตลาดหุน ธนาคาร และสถานที่ทองเที่ยว รวมทั้งเมอืงไอที หรือ Dubai Internet City ซ่ึงเปนเมืองที่ทันสมัยที่สุดในโลก ส่ิงเหลานี้สะทอนใหเหน็วาดไูบไดเตรียมพรอมเพือ่รับมือกับความเปลี่ยนแปลงในอนาคต เมื่อมีการนําพลังงานทดแทนเขามาใชแทนน้ํามันดิบ และขณะนี้พลังงานชีวภาพไดเร่ิมมีการพัฒนาและนํามาใชไดแลว รวมทั้งยังมีการพัฒนาพลังงานทดแทนอื่นๆ อีก เมือ่มีทางเลือกดานพลังงานมากขึ้น ชาติที่มีรายไดจากน้ํามันดิบจึงตองหาทางออกใหกับตนเองมากยิ่งขึ้น 5. “สาวไสอภมิหาโปรเจ็กตรุกปาเขาสอยดาวหยิกเล็บกลัวเจ็บเนื้อ”. / โดย สมชาย พิงตะคุ. ว.ดอกเบี้ย. ปที่ 26 ฉบับที่ 323 (พฤษภาคม 2551) : 65.

นําเสนอรายละเอียดเกีย่วกับการเปดประเดน็ของ ร.ต.อ. เฉลิม อยูบํารุง รัฐมนตรีวาการกระทรวง มหาดไทยถึงกรณีการรุกที่เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาสอยดาว และเขตปาสงวนแหงชาติในจังหวัดจนัทบุรี เพื่อทําอภิมหาโปรเจกต 4,500 ไร ของตระกูลโสภณพนิช ซ่ึงการบุกรุกปาในครั้งนี้ชาวบานในพืน้ที่ไดรองเรียนตอกรมปาไมมาเปนเวลานานแลว และผลการรองเรียน ทําใหในชวงปลายป 2548 ป.ป.ช. มีผลวินิจฉัยออกมาวามีมูลความผดิจริง แตเปนการชี้มูลความผิดเฉพาะในสวนการบกุรุกพื้นที่จํานวน 298 ไรที่ยังไมเคยมีการออกเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดมากอน อยางไรก็ตาม หนวยงานของรัฐไมกลาเขาไปยดึที่ดินคืน เนือ่งจากกลุมนายทุนมีผูใหญคุมครองอยู การเขามาตรวจสอบของ ร.ต.อ.เฉลิม อยูบํารุง ทําใหสามารถดาํเนินการใชกฎหมายเพิกถอนเอกสารสิทธิ์ที่ดินกวา 3,000 ไร ของบริษัทในตระกูลโสภณพนิชแลว แตยังคงมีปญหาเรื่องสนามกอลฟ โรงแรม รีสอรต ที่ลงทุนกอสรางเสร็จสิ้นแลว ซ่ึงยังเปนปญหาที่ยังคงรอการดําเนินการอยู 6. “โอลิมปก 2008 ปกก่ิงเกมส-กีฬาแหงเสรีภาพ”. ว.ดอกเบี้ย. ปที่ 26 ฉบับที่ 323 (พฤษภาคม 2551) : 43.

โอลิมปก เปนกีฬาแหงมนษุยชาติและยังเปนกีฬาเพื่อสันติภาพ เสรีภาพ ความสมานฉันท และ การเคารพศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย ดังนั้น ประเทศใดที่ไดรับการคดัเลือกใหเปนเจาภาพจัดการแขงขัน จึงมีความภาคภูมใิจอยางยิ่ง และยังมีเบื้องหลังของโอลิมปกที่ประเทศเจาภาพจะไดรับ คือเม็ดเงินจํานวนมากที่จะสรางความเจริญรุงเรืองใหกับประเทศเจาภาพ สําหรบักีฬาโอลิมปก 2008 ครั้งที่ 29 นี้ ประโยชนที่จีนจะไดรับมีหลายประการดวยกนั คือ 1) การไดแสดงศักยภาพของจีนวามีความพรอมในการจัดงานทีย่ิ่งใหญได 2) เปนโอกาสในการพัฒนาประเทศโดยเฉพาะระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานตางๆ เพื่อรองรับการแขงขัน 3) ผลพลอยไดดานการทองเที่ยว ทําใหเกิดธุรกิจที่เกี่ยวเนือ่งกับการทองเที่ยวซ่ึงจะสรางรายไดใหแกประเทศและชุมชน ประเทศจีนไดใชเวลาในการเตรียมพรอมดานตางๆ มานาน เพื่อเกยีรติแหงความเปนเจาภาพกีฬาโอลิมปก 2008

Page 10: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

6

ผูสงออก

1. “ใบรับรองสินคาอาหารปลอดภัย (Food Safety)”. / โดย เนตรปรียา ชุมไชโย. ว.ผูสงออก. ปที่ 21 ฉบับที่ 499 (ปกษหลัง พฤษภาคม 2551) : 19.

บทความเรื่องนี้นําเสนอรายละเอียดเกี่ยวกบัใบรับรองสินคาอาหารปลอดภัย เพื่อ เปนการสราง มาตรฐานและความนา เชื่อถือในการทําธุรกิจระหวางประเทศ หนวยงานที่ใหการรับรอง คือ กรมวิทยาศาสตรการแพทยหรือหนวยงานทีไ่ดรับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุข จะเปนผูใหเครื่องหมาย (Logo) “อาหารปลอดภัย” (Food Safety) แกผูประกอบการที่จําหนายอาหารตามหลักเกณฑที่กําหนดไว เชน ผูประกอบการตองมีแหลงจําหนายอาหารทีแ่นนอน ประเภทอาหารที่ใหการรับรองจะเปนอาหารทั่วไปที่ไมมีเลขทะเบียน อย. กํากับ เปนตน นอกจากนี้ยังไดใหรายละเอียดที่เกีย่วของอื่นๆ ไดแก สถานทีย่ืน่ใบสมัคร เกณฑการตัดสิน การใหใบรับรอง และขอปฏิบัติหลังการรับรอง 2. “รายงานความตื่นตัวดานสิ่งแวดลอมของสหราชอาณาจักร ประเด็นการตรวจสอบปริมาณการปลอยสาร

เรือนกระจก (Carbon Foot Print)”. / โดย สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ. ว.ผูสงออก. ปที่ 21 ฉบับที่ 499 (ปกษหลัง พฤษภาคม 2551) : 17.

สหราชอาณาจกัรเปนประเทศหลักในสหภาพยุโรปที่มีความตื่นตวัดานสิ่งแวดลอมในระดับสูง และมีบทบาทสําคัญในการกาํหนดระเบียบกฎเกณฑทั้งภายในประเทศและในกลุมสหภาพยุโรป และประเด็นที่กําลังไดรับความสนใจอยางสูง คือ สภาวะการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ หรือโลกรอน อันเปนผลมาจากการปลอยสารเรือนกระจกโดยเฉพาะอยางยิ่งสารคารบอนไดออกไซดในชั้นบรรยากาศ ซ่ึงสงผลใหอุณหภูมิโลกสูงขึ้น และเกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในทุกภูมภิาคของโลก ทั้งนี้ภาครัฐของสหราชอาณาจักรกําลังดําเนินการออกกฎหมายและระเบียบออกมาบังคับใชเพื่อลดปริมาณการปลอยสารเรือนกระจกขณะที่ภาคเอกชนไดดําเนินการโดยความสมัครใจอยางกวางขวาง โดยไดรวมกันกําหนดมาตรฐานในการวดัปริมาณการปลอยคารบอนไดออกไซด และสารที่กอใหเกิดภาวะเรือนกระจกในสวนที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย เชน การติดตราสัญลักษณบนผลิตภัณฑเพื่อรณรงคการลดการปลอยสารเรือนกระจก การกําหนดแนวทางปฏิบัติในการควบคุมการปลอยควนัเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม และการเกบ็คาธรรมเนียมเพิ่มจากรถยนตที่ปลอยสารคารบอนไดออกไซดระดับสูง เปนตน

Page 11: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

7

3. “แรงกดดนัเงินเฟอโลกผลกระทบตอเศรษฐกิจไทย”. / โดย บริษัท ศูนยวิจัยกสิกรไทย จํากดั. ว.ผูสงออก. ปที่ 21 ฉบับที่ 499 (ปกษหลัง พฤษภาคม 2551) : 79.

บทความเรื่องนี้นําเสนอบทวิเคราะหภาวะเงินเฟอ ซ่ึงเ กิดขึ้นในหลายประเทศไดสรางความ ซับซอนตอการดําเนินนโยบายการเงิน ซ่ึงบทความนี้ไดสรุปประเด็นที่เกี่ยวของกับแนวโนมเงินเฟอ ไดแก 1) แนวโนมเงนิเฟอในป 2551 ทําใหธนาคารกลางของสหรัฐฯ เผชิญกับขอจํากัดในการปรับลดอัตราดอกเบี้ย 2) จากการที่ธนาคารกลางตางๆ ทั่วโลกเผชิญกับขอจํากดัในการปรับลดอัตราดอกเบีย้จากแนวโนมเงินเฟอที่เพิ่มสูงขึ้น ทําใหบทบาทการกระตุนเศรษฐกิจตองตกอยูที่นโยบายการคลัง 3) การที่หลายประเทศเผชิญกบัขอจํากัดในการดําเนินนโยบายการเงินและการคลังแบบผอนคลายนั้นภาวะเงินเฟอที่บั่นทอนกําลังซ้ือของผูบริโภค รวมทั้งปญหาการชะลอตัวจากวิกฤตสินเชื่อ อาจสงผลตอแนวโนมการขยายตวัของเศรษฐกิจของหลายประเทศทั่วโลก 4) เศรษฐกิจไทยกบัการเผชิญกับความเสี่ยงจากภาวะเงินเฟอ 5) ความเสี่ยงจากภาวะเงินเฟอที่เปนผลมาจากราคาน้ํามันในชวงที่เหลือของป 2551 4. “วิกฤตอาหารโลก”. ว.ผูสงออก. ปที่ 21 ฉบับที่ 499 (ปกษหลัง พฤษภาคม 2551) : 39.

นําเสนอเกี่ยวกับภาวะราคาอาหารเฟอ (Food Inflation) โดยราคาเฉลี่ยอาหารพุงสูงขึ้นเปน ประวัติการณกอใหเกิดวิกฤตราคาอาหาร โดยมีสาเหตุหลัก คือ ความไมสมดลุระหวางผลผลิตและความตองการใชที่เพิ่มมากขึ้น สงผลใหราคาสินคาอาหารสําคัญมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยมีปจจยัสําคัญๆ คือ 1) ปญหาโลกรอน 2) ความมัง่คั่งทางเศรษฐกิจ 3) พืชพลังงานแยงพื้นทีผ่ลิตพืชอาหาร และ 4) การเก็งกําไร นอกจากนีไ้ดกลาวถึงผลกระทบระยะสัน้และระยะยาวที่อาจเกิดขึ้น โดยแยกเปนประเทศที่ไมไดเปนผูผลิตอาหาร และประเทศที่เปนแหลงผลิตอาหาร สําหรับประเทศไทยไดรับผลกระทบในครั้งนี้คอนขางนอยเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ เนือ่งจากเปนประเทศที่สงออกอาหารสุทธิที่สําคัญของโลก อยางไรก็ดี ในระยะยาวนั้นรัฐบาลและผูที่เกี่ยวของจําเปนตองเรงปรับระบบการผลิต และการตลาดใหเปนระบบยิ่งขึ้น เพื่อรับมือกับภาวะที่ราคาสินคาอาหารผันผวน โดยเฉพาะการวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยทางการเกษตร เพือ่เพิ่มผลผลิตเฉลี่ยตอไรใหมากยิ่งขึ้น 5. “สถานการณขาวในอาเซยีน”. ว.ผูสงออก. ปที่ 21 ฉบับที่ 499 (ปกษหลัง พฤษภาคม 2551) : 108.

บทความเรื่องนี้ นําเสนอรายงานสถานการณขาวในประเทศตางๆ ไดแก กัมพูชา สิงคโปร อินโดนีเซีย และ ฟลิปปนส โดยนําเสนอขอมูลเกี่ยวกบัการผลิต การบริโภคในประเทศและราคาขายปลีกภายในประเทศ ทั้งนี้สถานการณขาวในแตละประเทศมคีวามคลายคลึงกัน คือ ไดรับผลกระทบจากราคาขาวสูงขึ้น ทําใหแตละประเทศมีนโยบายทีเ่ขมงวดเกี่ยวกบัสตอคขาวภายในประเทศ เพื่อใหมปีริมาณขาวเพียงพอตอการบริโภค

Page 12: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

8

6. “เสริมโอกาส สรางการยอมรับ สงออกอาหารฮาลาลไทย”. / โดย ศูนยวิจยักสกิรไทย. ว.ผูสงออก. ปที่ 21 ฉบับที่ 499 (ปกษหลัง พฤษภาคม 2551) : 29.

นําเสนอขอมูลเกี่ยวกับอาหารฮาลาลและแนวทางในการพัฒนาอาหารฮาลาลเพื่อการสงออก ของไทย ทั้งนี้ตลาดอาหารฮาลาล เปนตลาดที่มีขนาดใหญและมีแนวโนมเติบโตไดดี ครอบคลุมประเทศตางๆ ในหลายภูมภิาค ไดแก ตะวันออกกลาง เอเชียใต อาเซียน แอฟริกา เอเชียกลาง ยุโรป และ อเมริกาใต รวมทั้งกลุมผูบริโภคที่เนนเรื่องสุขภาพ แมตลาดอาหารฮาลาลโลกจะมีขนาดใหญ แตการสงออกอาหารฮาลาล ของไทยยังมีสัดสวนคอนขางนอย (ไมถึงรอยละ 1) ทัง้นี้ประเทศไทยซึ่งเปนผูผลิตและสงออกสินคาเกษตรและอาหารที่สําคัญเปนอันดบัที่ 7 ของโลก และเปนอนัดบั 1 ของเอเชีย ทําใหประเทศไทยมีศักยภาพเพียงพอในการผลิตอาหารฮาลาลเพื่อสงออกใหมากยิ่งขึ้น โดยประเทศไทยตองมีการพัฒนาการผลิตและรูปแบบของผลิตภัณฑใหหลากหลายและสอดคลองกับความตองการของตลาดมากขึ้น ซ่ึงจะเปนผลดีในการขยายตลาดสงออกอาหารฮาลาลของไทยในอนาคต

FOR QUALITY

1. “การพัฒนาบุคลากร หองปฏบิัติการสอบเทียบ”. / โดย ประเวศน มหารัตนสกุล. ว.For Quality. ปที่ 15 ฉบับที่ 127 (พฤษภาคม 2551) : 61.

ปจจุบันการคาขายมีปจจัย เงื่อนไขที่เปนการสรางภาระใหกับผูขายและผูผลิตเปนอยางมาก เนื่องจากการคาระหวางประเทศไดนํา เอาเงื่อนไขของความเปนประชาธิปไตยของรัฐเปนขอกําหนดทางการคาดวย หรือผลิตโดยแยกขายตามกําลังซ้ือ และคานยิมของแตละสังคม เพราะแตละสังคมมีมาตรฐานที่ไมเทากัน บทความเรื่องนี้มุงเนนเกี่ยวกับกระบวนการผลิตที่ตองอาศัยความรูความเขาใจในกระบวนการผลิต โดยเฉพาะการผลิตเพื่อการสงออกจะตองสรางหลักประกนัใหไดวาผลิตภัณฑทุกชิ้นตองไดมาตรฐาน ตามแบบที่กําหนดไวโดยไมใหมขีอบกพรอง ดงันั้นกระบวนการผลิตจึงตองมีความแมนยาํ บริษัทหรือโรงงานจึงตองมีหองปฏิบัติการสอบเทียบเปนของตนเอง หรือถาไมมีก็ตองนําเครื่องมือวัดและทดสอบไปเทียบคามาตรฐานกับหองปฏิบัติการสอบเทียบภายนอก ที่มีทั้งของรัฐและเอกชน ส่ิงสําคญัของหองปฏิบัติการสอบเทียบนอกจากเครื่องมือตางๆ แลวบุคลากรที่ปฏิบัติมีความสําคัญเปนอยางยิ่ง เนื่องจากตองอาศัยบคุลากรที่มีความรูความสามารถเฉพาะทางในการปฏบิัติงาน หองปฏิบัติการสอบเทียบจึงตองมีการสรรหาบุคลากรใหไดตามมาตรฐานที่กําหนดไวเพื่อปองกนัความเสียหายทีอ่าจจะเกิดขึ้น

Page 13: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

9

2. “การจัดการบรรจุภัณฑ เพื่อเปนมิตรกบัสิ่งแวดลอม”. / โดย พรามร ศรีปาลวิทย. ว.For Quality. ปที่ 15 ฉบับที่ 127 (พฤษภาคม 2551) : 25.

ภาวะโลกรอนเปนกระแสทีท่ั่วโลกกําลังใหความสําคัญ องคการทั่วโลกไมวาจะเปนภาครัฐ หรือเอกชนตางดําเนินการจดัตั้งโครงการที่ชวยในเรื่องของสภาวะแวดลอม บทความเรื่องนี้ไดนําแนวคิดเกี่ยวกับความเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑอาหาร และแนวทางในการรณรงคเพื่อใหเกิดการพัฒนาบรรจุภณัฑใหเปนมติรกับสิ่งแวดลอม โดยมีหัวขอที่สําคัญๆ ไดแก การเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมดานบรรจุภณัฑอาหารในป พ.ศ. 2550 ความเปนมาของสถาบันการจัดการบรรจุภณัฑเพื่อส่ิงแวดลอม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย โครงการที่กําลังดําเนินงานของสถาบันฯ และปญหาอุปสรรคในการดําเนินงาน และการดําเนินงานที่เกีย่วกับบรรจุภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 3. “บรรจุภัณฑพลาสติกสําหรับใชกับอาหารเปนมาตรฐานบงัคับ”. / โดย กรรณกิาร โตประเสริฐพงศ.

ว.For Quality. ปที่ 15 ฉบับที่ 127 (พฤษภาคม 2551) : 35. มาตรฐานบังคับ เปนมาตรฐานที่กําหนดขึ้นเพื่อความปลอดภัย และเพื่อปองกันความเสียหาย

ที่อาจจะเกิดกบัประชาชน มาตรฐานบังคับมีผลทําใหผูผลิต ผูจําหนาย และผูนําเขา จําเปนตองทาํผลิตภัณฑใหไดมาตรฐานตามที่ สมอ.ประกาศกําหนด บรรจุภณัฑพลาสติกเปนวัสดุที่ใชกนัมากในปจจบุัน แตอาจกอใหเกิดอันตรายกับอวยัวะภายในรางกายของมนุษยได เพราะสารเคมีในเนื้อพลาสติกละลายมาปะปนกับอาหาร บรรจุภัณฑพลาสติกจึงเปนผลิตภณัฑที่ตองควบคุมและพลาสติกที่ใชกันในปจจุบันไดกอใหเกิดปญหาขยะเพิ่มขึน้ทกุป และสงผลกระทบตอส่ิงแวดลอม การใชพลาสติกอยางถูกวธีิจึงเปนเรื่องทีผู่บริโภคควรทราบ เพื่อใหสามารถเลือกซ้ือภาชนะพลาสติกสําหรับเปนบรรจุภณัฑอาหารไดอยางถูกตอง 4. “หลากมาตรฐานเพื่ออุตสาหกรรมอาหารไทย”. ว.For Quality. ปที่ 15 ฉบับที่ 127 (พฤษภาคม

2551) : 29. นําเสนอความรูในการนํามาตรฐานดานอาหารมาใชกับอตุสาหกรรมไทย เนื่องจากผูบริโภคมี

ความตื่นตวัในการเลือกสินคาอยางพิ ถีพิ ถันมากขึ้น ทําใหมีขอกําหนดกฎหมายทางดานมาตรฐานความปลอดภัยในอาหารหลายประเทศมีความรดักุมและซับซอนมากขึ้น ภาคอุตสาหกรรมดานอาหารจึงมีการสรางเครื่องมือสําคัญในการทําการวิเคราะหอันตรายและความเสี่ยง เพื่อสรางความมั่นใจตอผูบริโภคและเพื่อใหสามารถแขงขันกับนานาประเทศได ดังนั้นหากผูผลิต ผูสงออก และผูประกอบการมีการพัฒนาสรางมาตรฐานใหเปนที่ยอมรับ การสงสินคาออกไปขายในตางประเทศก็จะไดรับความสะดวกมากขึน้

Page 14: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

10

5. “เหตุใดระบบ Competency จึงมีปญหาในองคการ”. / โดย ธํารงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์. ว.For Quality. ปที่ 15 ฉบับที่ 127 (พฤษภาคม 2551) : 89.

ปจจุบันองคการตางๆ ทั้งในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน ไดมีการนําระบบสมรรถนะ ความสามารถ หรือ Competency มาใชกนัอยางแพรหลาย บทความนี้จึงไดรวบรวมปญหาในภาคปฏิบัติมานําเสนอ เพื่อใหฝายที่เกี่ยวของไดศึกษาและหาแนวทางแกไข โดยมหีัวขอตางๆ ดงันี้ 1) ทั้งผูบริหารและพนักงานในองคการไมเขาใจวา Competency คืออะไร 2) พนักงานโดยเฉพาะผูบริหารไมรวมมือในการทํา Competency เทาที่ควร และ 3) ขาดการกําหนดเปาหมายและการวางแผนอยางชัดเจนวาจะนําผลไปใชอะไรบาง พรอมกันนีย้ังไดสรุปหัวขอการพัฒนาบุคลากรตาม Competency ซ่ึงถือเปนเรื่องสําคัญที่จะทําใหเกิดประโยชนตอองคการ ไดแก 1) จัดทํา Training Roadmap ตาม Competency 2) นําขอมูลพนักงานที่ยังม ีCompetency Gap มาวางแผนพัฒนาบุคลากรทั้งภาพรวมและเปนรายหนวยงาน 3) ออกแบบหลักสูตรการพัฒนา 4) จดัทําแผนการพัฒนาบุคลากรทั้งระยะยาวและรายบุคคล 5) ดําเนนิการพัฒนา 6) สรางระบบประเมินและตดิตามผลการพัฒนาบุคลากร 7) นําขอมูลไปใชประโยชนในการจัดทาํแผนการพัฒนาความ กาวหนาในสายงานตอไป

วิชาการศาลปกครอง

1. “เขตอํานาจศาลปกครองตามรัฐธรรมนญูแหงราชอาณาจักรไทย พทุธศักราช 2550”. / โดย กาญจนารัตน ลีวิโรจน. ว.วชิาการศาลปกครอง. ปที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2551) : 47-65.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง การเปลี่ยนแปลงเขตอํานาจศาลตามบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โดยเฉพาะการเปลีย่นแปลงอํานาจศาลปกครองซึ่งเรื่องที่มีการเปลี่ยนแปลงและมีผลโดยตรงกับศาลปกครองนั้นมีดวยกัน 3 เรื่อง คือ เร่ืองที่ 1 เขตอํานาจศาลปกครอง ไดบัญญัติเนื้อหาเกี่ยวกับเขตอํานาจศาลปกครองแตกตางไปจากเดิมหลายประการ อาทิเชน การปรับปรุงความหมายของคําวาหนวยงานหรือองคกรที่อยูในเขตอํานาจศาลปกครองใหชัดเจนขึ้น การกําหนดบทยกเวนวาเขตอํานาจศาลปกครองไมรวมถึงการวินิจฉยัช้ีขาดขององคกรตามรัฐธรรมนูญที่เปนการใชอํานาจโดยตรงตามรัฐธรรมนูญขององคกรนั้นเปนตน เร่ืองที่ 2 จํานวนตุลาการศาลปกครอง โดยบญัญัติใหการกาํหนดจํานวนตุลาการศาลปกครองในแตละชั้นศาลเปนอํานาจของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง และ เร่ืองที่ 3 การประชุมคณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง โดยบัญญัติเกีย่วกับจํานวนกรรมการผูทรงคุณวุฒิในการประชุม

Page 15: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

11

คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองในกรณีที่เปนเรื่องดวน นอกจากนี้ในสวนทายยังไดอธิบายความเปลี่ยนแปลงของเขตอํานาจของศาลยุติธรรมและเขตอํานาจของศาลรัฐธรรมนูญตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 2. “ความเห็นทางกฎหมายของคณะกรรมการกฤษฎีกา”. / โดย ธีรวฒัน ขวัญใจ. ว.วิชาการศาลปกครอง.

ปที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2551) : 88-98. บทความเรื่องนี้ เปนการคัดเลือกความเหน็ทางกฎหมายของคณะกรรมการกฤษฎีกาบางเรื่องที่

นาสนใจและมีประเด็นทีเ่กีย่วของกับกฎหมายปกครองและศาลปกครองมานําเสนอจํานวน 5 เร่ือง คือ เร่ืองท่ี 1 การกลับเขาดํารงตําแหนงสมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวดักรณีศาลปกครองมีคําพิพากษาใหเพิกถอนคําส่ังที่ส่ังใหส้ินสุดสมาชิกภาพ (เร่ืองเสร็จที่ 15/2551) เร่ืองที่ 2 ผลของการปฏิบัติหนาที่ของผูบริหารและสมาชิกสภาเทศบาลภายหลังพนจากตําแหนง เนื่องจากคณะกรรมการการเลือกตัง้ส่ังใหมีการเลือกตั้งใหม (เร่ืองเสร็จที่ 70/2551) เร่ืองที่ 3 การแตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด กรณีเจาหนาทีก่ระทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐแหงอ่ืนและบุคคลภายนอก (เร่ืองเสร็จที่ 807/2550) เรื่องที่ 4 สถานะที่ดินทีใ่ชในราชการกรมทางหลวง (เร่ืองเสร็จที่ 738/2550) และ เร่ืองที่ 5 สถานะทางกฎหมายลําดับรองที่ออกตามพระราชบัญญัติซ่ึงมีการแกไขเพิ่มเติมหรือถูกยกเลิกในภายหลัง (เร่ืองเสร็จที่ 909/2550) 3. “คําวินิจฉยัชี้ขาดอํานาจหนาท่ีระหวางศาล”. / โดย จิดาภา มุสิกธนเสฏฐ และคณะ. ว.วิชาการศาล ปกครอง. ปที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2551) : 116-126.

บทความเรื่องนี้ เปนการนาํเสนอคําวินิจฉยัของคณะกรรมการวินจิฉัยช้ีขาดอํานาจหนาที่ระหวาง ศาล จํานวน 3 เร่ือง ซ่ึงแตละเรื่องมีความนาสนใจแตกตางกันออกไป โดย เร่ืองแรก คณะกรรมการวินิจฉยัช้ีขาดไดวินิจฉยัช้ีขาดไดวินิจฉยัถึงสัญญาจางเหมาดแูลรักษาความปลอดภยัสํานักงานเขตที่กรุงเทพมหานครไดทํากับบริษัทเอกชน (คําวนิิจฉัยช้ีขาดอํานาจหนาที่ระหวางศาลที่ 9/2550 วันที่ 18 พฤษภาคม 2550) เร่ืองท่ีสอง การซื้อที่ดิน น.ส.3 ทีอ่อกโดยไมชอบดวยกฎหมายจากการขายทอดตลาดตามคําพิพากษาของศาล (คําวินิจฉยัช้ีขาดอาํนาจหนาที่ระหวางศาลที่ 21/2550 วันที่ 29 สิงหาคม 2550) และ เร่ืองสุดทาย เปนเรื่องที่เจาหนาที่ของรัฐขับรถชนรถเอกชน (คาํวินิจฉยัช้ีขาดอํานาจหนาที่ระหวางศาลที่ 29/2550 วันที่ 28 พฤศจิกายน 2550)

Page 16: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

12

4. “วัฒนธรรมทางการเมือง อํานาจการเมืองและรัฐธรรมนูญ”. / โดย เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน. ว.วิชาการศาลปกครอง. ปที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2551) : 1-24.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง ความสัมพันธของวัฒนธรรมทางการเมือง อํานาจการเมืองและรัฐธรรมนูญ ซ่ึงวัฒนธรรมทางการเมืองเปนสิ่งที่สะทอนใหเห็นถึงพฤติกรรมทางสังคมของมนุษยและมี อิทธิพลอยูเหนือรัฐธรรมนูญ รัฐใดที่มีการบญัญัติรัฐธรรมนูญใหมีความสอดคลองกับวฒันธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยก็ยอมแสดงใหเห็นพฤติกรรมทางสังคมของชนชาตินั้นวาตระหนกัถึงสิทธิเสรีภาพเปนอยางมากและรัฐธรรมนูญก็จะมีสถานะที่มั่นคงและถาวร สามารถปรับเปลี่ยนใหเปนพลวัตกับสังคมไดตลอดเวลา ดังนั้นรัฐธรรมนูญของประเทศไทยจึงตองเนนวฒันธรรมการเมืองแบบประชาธิปไตย เพื่อแกไขปญหาวัฒนธรรมการเมืองแบบอุปถัมภ จงึจะทําใหเกดิการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอยางแทจริง รวมทั้งมีรัฐธรรมนูญที่เปนถาวรดวย 5. “สัญญาเปนโมฆะเพราะลงนามโดยเจาหนาท่ีท่ีไมมีอํานาจ”. / โดย บุบผา อัครพิมาน. ว.วิชาการศาล ปกครอง. ปที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2551) : 86-87.

บทความเรื่องนี้กลาวถึงคําพพิากษาของศาลสิทธิมนุษยชนแหงยุโรปในประเดน็เรื่องสัญญาที่มี ผลผูกพันคูสัญญาฝายปกครองตองเปนสัญญาที่ลงนามโดยเจาหนาทีท่ี่มีอํานาจตามกฎหมายและตองเปนกฎหมายทีใ่ชบังคับอยูในขณะที่มกีารลงนามในสัญญาและสัญญาที่ลงนามโดยเจาหนาที่ทีไ่มมีอํานาจมีผลเปนโมฆะ สวนการที่เจาหนาที่ซ่ึงไมมีอํานาจตามกฎหมายแตโดยพฤติการณทําใหคูสัญญาฝายเอกชนเขาใจผิดวาเปนผูมีอํานาจตามกฎหมาย ไมมีผลทําใหสัญญาเปนโมฆะเพราะลงนามโดยเจาหนาที่ที่ไมมีอํานาจกลับมาเปนสัญญาที่สมบูรณได 6. “เสรีภาพในการรวมกลุมของเจาหนาท่ีของรัฐ”. / โดย วิจติรา (ฟุงลัดดา) วิเชียรชม. ว.วิชาการศาล ปกครอง. ปที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2551) : 25-46.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง เสรีภาพในการรวมกลุมเปนสหภาพแรงงานของเจาหนาที่รัฐซึ่งในอดีต เปนไปในขอบเขตที่จํากัด โดยกฎหมายกาํหนดใหมกีารรวมตัวไดอยางชัดเจนเพียงในหนวยงานของรัฐที่เปนรัฐวิสาหกจิเทานั้น เจาหนาที่ของรัฐในหนวยงานของรัฐที่เปนสวนราชการหรือองคกรมหาชนไมสามารถรวมตัวกันจดัตั้งเปนองคกรทางแรงงานไดในลักษณะเดียวกับที่เจาหนาที่ของรัฐในรัฐวิสาหกิจกระทําได จนกระทั่งมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ที่ไดบัญญัติรับรองเสรีภาพในการรวมกลุมของขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐเปนครั้ งแรก เพื่อใหสอดคลองกับหลักการดานสิทธิมนุษยชน และหลักการขจัดการเลือกปฏิบัติหรือหลักความเสมอภาคของบุคคลภายใตกฎหมายแตตองไมกระทบประสทิธิภาพในการบริหารราชการแผนดินและความตอเนื่องในการจดัทําบริการสาธารณะตามที่กฎหมายบัญญตัิ ดังนั้นรัฐจงึควรออกกฎหมายมารองรบั เพื่อรับรองการจัดตั้งองคกรของเจาหนาที่ของรัฐ

Page 17: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

13

และคุมครองสิทธิในการรวมกลุมของเจาหนาที่ของรัฐ รวมถึงจัดใหมหีนวยงานเพื่อทําหนาที่รับผิดชอบดูแลในภาพรวมเกีย่วกับการวางนโยบาย การดําเนินการโดยเนนประสิทธิภาพ โปรงใส และตรวจสอบได การประเมินประสทิธิภาพ การติดตามผล ตลอดถึงการประชาสัมพันธเพื่อความเขาใจ และสามารถปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพตอไปใหสมกับเจตนารมณที่แทจรงิ

ศาลยุติธรรมปริทัศน

1. ตามรอยทีป่ระทับ “พระตําหนักเอ้ืองเงนิ” รําลึกทรงงานอนุรักษ. / โดย ปราการ พรประสาท. ว.ศาลยุติธรรมปริทัศน. ปที่ 2 ฉบับที่ 3 (กมุภาพันธ-มีนาคม 2551) : 59-63.

พระตําหนักเอือ้งเงิน ตั้งอยูบริเวณอุทยานแหงชาติหวยน้ําดัง เขตติดตอ อ.แมแตง จ.เชียงใหม กับ อ.ปาย จ.แมฮองสอน ซ่ึงกรมปาไมสรางขึ้นเพื่อใชเปนที่ประทับและทรงงานของสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณวิัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร เมื่อ พ.ศ. 2536 ซ่ึงพระองคไดเสด็จเยี่ยมและชวยเหลือราษฎรที่อยูหางไกลและทุรกนัดารเปนประจําทุกป ชวงปลายเดือนมกราคมถึงตนเดือนกุมภาพันธ เพื่อเยี่ยมเยือนราษฎรชาวไทยพื้นราบและชาวไทยภเูขา และโปรดใหชาวไทยภเูขาเผาลีซอ กระเหรีย่ง มง ที่อยูใกลเคียงเขาเฝา และกราบพระองคทุกครั้ง เพื่อรับสั่งกับราษฎร สวนราชการและองคกรปกครองสวนทองถ่ิน หลังส้ินพระชนม อุทยานฯ จะสานตอพระปณธิานพระองคทาน รวมกับ วปท. ผูนําชุมชน ผูนําชนเผา และหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมมือรวมใจสนองพระดํารัสจัดทําแผนบูรณาการพัฒนาคุณภาพชีวิตราษฎร ในปจจุบนัพระตําหนกัเอื้องเงิน ยังไมเปดใหประชาชนเขาไปเยี่ยมชม เพราะเปนทีป่ระทับสวนพระองค แตอุทยานแหงชาติหวยน้ําดังจะดูแลรักษาใหคงสภาพเดิม เหมือนที่พระองคเคยเสด็จประทับ ซ่ึงอนาคตขึ้นอยูกบัสํานักพระราชวังและกรมอุทยานฯ จะดําเนินการอยางไรกับพระตําหนักแหงนี ้ 2. “บทบาทศาลยุติธรรมกับการคุมครองผูบริโภค”. / โดย สราวุธ เบญจกุล. ว.ศาลยตุิธรรมปริทัศน. ปที่ 2 ฉบับที่ 3 (กมุภาพันธ-มีนาคม 2551) : 111-115.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง บทบาทศาลยุติธรรมกับการคุมครองผูบริโภค เนื่องจากในปจจุบันสภาพ การคาและระบบเศรษฐกิจมกีารขยายตวัอยางรวดเร็ว ประกอบกับมกีารนําเทคโนโลยีสมัยใหมมาใชมากขึน้ ในขณะที่ผูบริโภคสวนใหญยังขาดความรู ทั้งยังขาดอํานาจตอรองทําใหผูบริโภคถูกเอารัดเอาเปรยีบอยูเสมอ ทําใหมีการตราพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ. 2551 ซ่ึงจะมีผลบังคับใชตั้งแตวนัที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2551 โดยมีสาระสําคัญมุงเนนใหผูบริโภคมีโอกาสเขาถึงความยุติธรรมไดสะดวกรวดเร็วขึ้น ขจัดปญหาและอุปสรรคตางๆ ในชั้นพจิารณา นอกจากนี้ยังทําใหผูประกอบธุรกิจผลิตสินคาที่มีคุณภาพและ

Page 18: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

14

ใหบริการที่มมีาตรฐานเปนประโยชนตอผูบริโภคในภาพรวม อยางไรก็ตาม คดีผูบริโภคตองเปนกรณีพิพาทระหวาง “ผูบริโภค"”และ “ผูประกอบธุรกิจ” เทานั้น หากเปนกรณอ่ืีนจะตองเปนไปตามประมวลกฎหมายแพงและพาณชิย ซ่ึงเปนกฎหมายที่บังคับใชกันอยูทั่วไป 3. “ประมวลภาพกิจกรรมศาลยุติธรรม เพื่อรวมแสดงความอาลัยแดสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟา

กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิทร”. ว.ศาลยุติธรรมปริทัศน. ปที่ 2 ฉบับที่ 3 (กุมภาพันธ-มีนาคม 2551) : 33-46.

ประมวลภาพกิจกรรมศาลยตุิธรรมนี้ ไดรวบรวมภาพกจิกรรมสําคัญๆ ของศาลยุติธรรมในงาน พิธีตางๆ ดังนี้ คือ 1) พิธีสมโภชและพระราชทานพระไตรปฎกสากล (11 ธันวาคม 2550) 2) การรวมลงนามถวายสักการะ แสดงความอาลัยแดสมเดจ็พระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณวิัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ณ ศาลาสหทัยสมาคม พระบรมมหาราชวัง (7 มกราคม 2551) 3) กิจกรรมทาํบญุตักบาตรเพื่อถวายเปนพระราชกศุล ในโอกาสครบรอบ 7 วันการสิ้นพระชนมของสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณวิัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ณ บริเวณหนาอาคารศาลฎีกา (9 มกราคม 2551) 4) กิจกรรมทําบุญตักบาตรเพื่อถวายเปนพระราชกุศล ในพิธีพระราชทานพระศพสมเด็จพระเจาพีน่างเธอ เจาฟากลัยาณิวฒันา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ณ บริเวณหนาอาคารศาลฎีกา (20 กุมภาพนัธ 2551) 5) ศาลยตุิธรรมวางพวงมาลาเคารพพระศพ สมเด็จพระเจาพีน่างเธอ เจาฟากลัยาณวิัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง (17 มกราคม 2551) และ 6) ชมรมภริยาตุลาการรวมวางพวงมาลา และลงนามแสดงความอาลัยแดสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณวิัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ณ พระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง (16 มกราคม 2551) 4. “พระราชพิธีในงานพระศพ สมเด็จพระเจาพี่นางเธอฯ ”. / โดย วฒันรักษ. ว.ศาลยุติธรรมปริทัศน.

ปที่ 2 ฉบับที่ 3 (กุมภาพันธ-มีนาคม 2551) : 87-95. บทความเรื่องนี้ กลาวถึงพระราชพิธีสําคัญตางๆ ในงานพระศพ สมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟา

กัลยาณวิัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ซ่ึงสามารถจําแนกไดดังนี้ 1) ทรงสางพระเกศาขึ้น-ลง 1 คร้ัง แลวทรงหักพระสางทิ้ง 2) บรรจุพระศพลงหีบพระศพแทนพระโกศ 3) เศวตฉัตรแขวนเหนือพระโกศแบงตามลําดับชั้นพระอิสริยยศ 4) ประโคมย่ํายามทุก 3 ช่ัวโมง 5) สมเด็จพระเจาพี่นางเธอฯ อยูในลําดับพระอิสริยยศชัน้เจาฟา จะเรยีกวา พระศพ 6) พระมหากษัตริยและพระบรมวงศานวุงศ ฉลองพระองคไวทุกข 2 แบบ 7) ขบวนรถอัญเชิญพระศพมาพระบรมมหาราชวังจะเปนแบบเรียบงาย และ 8) ประชาชนปฏิบัติตนไวทกุขตามประเพณี และบําเพ็ญกุศลตามคตินยิมในศาสนาของตนไดทุกอยาง

Page 19: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

15

5. “พระราชประวัติสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิทร”. ว.ศาลยุติธรรมปริทัศน. ปที่ 2 ฉบับที่ 3 (กมุภาพันธ-มีนาคม 2551) : 5-16.

บทความเรื่องนี้ กลาวถึงพระราชประวัติของสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ซ่ึงทรงเปนพระธิดาพระองคแรกในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ประสูติเมื่อวนัอาทติยที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ สถานพยาบาล กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ โดยบทความจะกลาวถึงพระราชประวัติตั้งแตทรงพระเยาว พระราชประวัติดานการศึกษา และดานการทรงงาน นอกจากนีย้ังมีบทความเฉลิมพระเกยีรติเร่ือง เจาฟาดวงใจไทย พระเกยีรติคุณเลศิลํ้า ... อเนกอนันต ซ่ึงกลาวถึงพระกรณุาธิคุณของพระองคที่มีตอพสกนิกรชาวไทยและพระปรีชาหลากหลายในดานตางๆ ของพระองค 6. “เศวตฉัตร 7 ชั้น สถาปตยกรรมพระเมรุ “สมเด็จเจาฟา”. / โดย ปราการ พรประสาท. ว.ศาลยตุิธรรม ปริทัศน. ปที่ 2 ฉบับที่ 3 (กมุภาพันธ-มีนาคม 2551) : 71-76.

พระเมรุมาศ พระเมรุ เครื่องประกอบถวายพระเพลิงพระบรมศพหรือพระศพตามฐานศุักดิ์ของ เจานายชัน้สูง ในสมัยตนกรุงรัตนโกสินทรไดใชลานกวางที่เรียกวา “ทุงพระเมร”ุ หรือ ทองสนามหลวงในปจจุบัน ในการสรางพระเมรุมาศ พระเมรุ จะมีขนาดและแบบงดงาม ความวจิิตรแตกตางกันตามยุคสมัย และตามความฐานศุักดิ์ของชั้นเจานายชั้นสูง โดยชางออกแบบสถาปตยกรรมพระเมรุนั้นจะยึดแนวความคดิจําลองรูปเขาพระสุเมรุ โดยเปนงานสถาปตยกรรมชั้นสูงที่ตองเรียนรูการสรางอาคารหมูและอาคารหลังเดี่ยวทั้งเล็กและใหญ รูกระบวนการชางไทยทกุสาขา ทั้งดานศิลปกรรม และสถาปตยกรรมรวมกันทุกกระบวน โดยบทความไดกลาวถึงววิัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงในการสรางพระเมรุมาศ พระเมรุ รวมทัง้กลาวถึงการสรางพระเมรุมาศ พระเมรุ ถวายพระเพลิงพระบรมศพ หรือพระศพในปจจุบัน รวมทั้งพระเมรุสมเด็จพระเจาพีน่างเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ซ่ึงหนวยงานที่ดําเนนิการสรางพระเมรุเปนหลักจะอยูที่กรมศิลปากร ทั้งดําเนนิการออกแบบและกอสราง

Page 20: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

16

ศาลรัฐธรรมนูญ

1. “การเยียวยาความเสียหาย : หนาท่ีหรือความสงสาร (Duty or Pity)”. / โดย วิชช จีระแพทย. ว.ศาลรัฐธรรมนูญ. ปที่ 9 ฉบับที่ 27 (กันยายน-ธันวาคม 2550) : 51-66.

เมื่อมีอาชญากรรมเกิดขึ้น หากมีผูไดรับบาดเจ็บหรือตายไมวาความผดิเกิดจากคูกรณีฝายใด คูกรณีฝายใดฝายหนึ่งหรือทั้งสองฝายมักจะถูกดําเนินคด ี แตส่ิงที่ตามมาซึ่งถือเปนปญหาที่นาสงสัยเชนกนั คือ ความเสยีหายที่เกดิกับผูไดรับความเสียหาย จะเรียกรองใหผูใดรับผิดชอบและจะมกีารใหหลักประกันความปลอดภยัในชวีิต รางกายแกประชาชนอยางไร อีกทั้งจะเยยีวยาความเสยีหายไดอยางไร และการเรียกรองใหเยยีวยาความเสยีหายเชนนี้ เปนเรื่องหนาทีห่รือความสงสาร จะเหน็ไดวาเมื่อพิจารณาจากวงจรความยุติธรรมตามนโยบายสงัคม ในสังคมอุดมคตินั้นการใหความยุตธิรรมและความเทาเทียมกนัเกิดขึ้นไดตองมีตัวจกัรฟนเฟองที่เกี่ยวของดวย คือ องคกรรัฐบาล ที่มีสวนในการบริหารจัดการองคกร ในกรณีเชนนี ้การใหความยตุิธรรมแกคูกรณีทั้งสองฝาย รัฐหรือองคกรรัฐบาลจะตองเขาไปเปนคูกรณีฝายที่สาม เพื่อใหความยุติธรรมเกิดขึ้นตามนโยบายสังคม บทความเรื่องนี้ จึงไดกลาวถึงแนวคิดทีว่า ความยตุิธรรมคืออะไร เหตุใดรัฐหรือองคกรรัฐบาลจึงตองเปนคูกรณีฝายที่สาม พรอมทั้งสรุปแนวทางแกไขตามหลักรัฐสวัสดิการ เนื่องจากเมื่อมีอาชญากรรมเกิดขึ้นกับประชาชน ก็เทากบัรัฐกระทําผิดหนาที่ตามสัญญา โดยการไมสามารถใหความคุมครองชีวิตและทรพัยสินแกประชาชนใหเกิดความสงบสุขได จึงตองเยียวยาชดใชคาเสยีหายใหแกเหยื่ออาชญากรรมตามหลักรัฐสวัสดิการ ซ่ึงเปนหนาที่ทีรั่ฐพึงตองกระทํา ไมใชเร่ืองของมนุษยธรรมอยางที่เคยเขาใจกันมา 2. ชนชัน้นําไทยกับกระบวนการทําใหประชาธิปไตยและการสรางความมั่นคงของประชาธิไตย (Thai

Elites and Democratization to Democratic Consolidate)”. / มนตรี กนกวารี. ว.ศาลรัฐธรรมนูญ. ปที่ 9 ฉบับที่ 27 (กนัยายน-ธันวาคม 2550) : 109-125.

ในปจจุบนั ชนชั้นนําธุรกิจมีผลกระทบตอความมั่นคงของระบอบประชาธิปไตยคอนขางมาก หากกลุมอ่ืนในชนชั้นนํา อาทิ นักวิชาการ ขาราชการ ปญญาชน ยงัไมสามารถเขามามีบทบาทเพื่อถวงดุลและตรวจสอบชนชั้นนําธุรกิจ หรือกลุมภาคประชาสังคมไมเขมแข็งพอในการเขามามีสวนรวมใชอํานาจทางการเมอืง บทบาทชนชั้นนําธุรกิจจะยังคงดําเนินตอไปและมีความเขมแข็งตอไปเรื่อยๆ อาจนําไปสูการชะงักงันของกระบวนการประชาธปิไตย และนาํไปสูการปกครองแบบอํานาจนิยมโดยชนชั้นนําธุรกิจแตเพียงฝายเดียว ดังนัน้การหมุนเวยีนของชนชั้นนําทางการเมืองโดยชนชั้นอื่นๆ ในสังคม จึงเปนสิ่งจําเปนตอการทําใหประชาธิปไตยของไทยเขมแข็งในอนาคต โดยเนื้อหาสาระสําคัญของบทความเรื่องนี้แบงออกเปน 4 สวน คือ

Page 21: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

17

1) กรอบแนวคิดในเรื่องของชนชั้นนําและประชาธิปไตย 2) ชนชัน้นําของไทยกับกระบวนการทําใหเปนประชาธิปไตย 3) ชนชั้นนํากับความมั่นคงของระบอบประชาธิปไตยของไทย และ 4) บทสรุป 3. “ระบบการตรวจสอบความชอบดวยรัฐธรรมนูญทางกฎหมายในประเทศตางๆ ท่ัวโลก”. / โดย วุฒิชัย

จิตตานุ. ว.ศาลรัฐธรรมนูญ. ปที่ 9 ฉบับที่ 27 (กันยายน-ธันวาคม 2550) : 67-93. ระบบการตรวจสอบความชอบดวยรัฐธรรมนูญมีแนวคิดวิวัฒนาการมาตั้งแตสมัยโรมนั จนเกิด

ทฤษฎีแนวความคิดรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดเปนความคิดพื้นฐานของประเทศตางๆ ทั่วโลกนําไปปรับใชในการรางรัฐธรรมนูญใหมตามแนวความคิดรัฐธรรมนูญนิยม ระบบการตรวจสอบความชอบดวยรัฐธรรมนูญของประเทศตางๆ ของโลกมีสองระบบ ไดแก ระบบไมรวมศูนย และระบบรวมศูนย การตรวจสอบความชอบดวยรัฐธรรมนูญมีความสําคัญมาก เนื่องจากทาํใหบทบาทของศาลรัฐธรรมนูญในการคุมครองรัฐธรรมนูญ การพิทักษความเปนกฎหมายสูงสุด การถวงดุลอํานาจระหวางองคกรตามรัฐธรรมนูญการแกไขปญหาทางรัฐธรรมนูญ การสรางพื้นฐานทางการเมืองและการคุมครองสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนญูไดอยางสมบูรณและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4. “ศาลรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550”. / โดย สถาบัน

รัฐธรรมนูญศึกษา สํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ. ว.ศาลรัฐธรรมนูญ. ปที่ 9 ฉบับที่ 27 (กันยายน-ธันวาคม 2550) : 19-50.

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกัรไทย พุทธศกัราช 2550 ซ่ึงมีผลใชบังคับตั้งแตวนัที่ 24 สิงหาคม 2550 เปนตนมา ไดบัญญัติใหมีศาลรัฐธรรมนูญขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งเพื่อทําหนาที่คุมครองหลักความเปน กฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ และศาลรัฐธรรมนูญยังเปนองคกรที่ทําหนาที่รับรองและคุมครองสิทธิและเสรีภาพใหเปนจริงไดในทางปฏิบัติโดยคําวินิจฉยัของศาลรัฐธรรมนูญอีกทางหนึ่ง บทความเรื่องนี้ จึงไดนําเสนอความรูเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เปน 4 สวน คือ 1) องคประกอบของศาลรัฐธรรมนญู 2) อํานาจหนาที่ของศาลรัฐธรรมนูญ 3) คําวินิจฉัยและผลของคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ และ 4) วิธิพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ 5. “หลักประชาธิปไตยของพรรคการเมืองไทย”. / โดย บุญเสริม นาคสาร. ว.ศาลรัฐธรรมนูญ. ปที่ 9

ฉบับที่ 27 (กนัยายน-ธันวาคม 2550) : 126-146. พรรคการเมือง (political party) เปนสถาบันการเมืองที่มคีวามสําคัญและขาดเสียมิไดในระบอบ

ประชาธิปไตย โดยเฉพาะอยางยิ่งในระบบรัฐสภา เนื่องจากพรรคการเมืองเปนเพยีงสถาบันเดียวที่มีบททาทนําในการดําเนินภารกิจทางการเมืองครอบคลุมทั้งระบบทุกกระบวนการ นับตั้งแตการเลือกตัง้เขาสูอํานาจไปจนถึงการใชอํานาจปกครองประเทศทั้งอํานาจนิติบัญญัติและอํานาจบริหาร ดังนัน้ พรรคการเมืองจึงเปน

Page 22: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

18

องคกรที่มีอิทธิพลสูงสุดตอระบบการเมืองและตอประเทศ บทความเรื่องนี้ไดแบงเนื้อหาออกเปน 4 สวน คอื 1) บทนํา 2) บทบัญญัติของกฎหมายกบัการสงเสริมและพัฒนาพรรคการเมือง 3) หลักประชาธิปไตยของพรรคการเมือง และ 4) สรปุและขอเสนอแนะ

เศรษฐกิจและสังคม

1. “กระจายการพัฒนาและบริการทางสังคม : เสนทางที่ยาวไกลในการใหอํานาจที่แทจริงแกชุมชนทองถิ่น”. / โดย สํานักพฒันาสังคมและสุขภาพชวีิต. ว.เศรษฐกิจและสังคม. ปที่ 44 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2550) : 37-44.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง การศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการกระจายอํานาจจาก ภาครัฐสวนกลางไปสูองคกรปกครองสวนทองถ่ิน โดยใหความสนใจในประเด็นการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวของกับงานดานการพัฒนาและการจดับริการทางสังคม โดยเปนการศึกษาที่อยูในความรวมมือของสํานักงานคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และกองทุนเพื่อเดก็แหงสหประชาชาติ โดยคาดวาผลจากการศึกษาครั้งนี้จะเปนประโยชนตอการกําหนดนโยบายการพัฒนาและการจัดบริการทางสังคมในอนาคต โดยอธิบายตั้งแตขอบเขตของการศึกษา แนวทางการศึกษา และผลการศกึษา พรอมดวยบทสรุปและขอเสนอแนะ 2. “การขับเคลื่อนยุทธศาสตรอยูดีมีสุขระดับจังหวัด”. / โดย สํานักพฒันาสังคมและคุณภาพชวีิต.

ว.เศรษฐกิจและสังคม. ปที่ 44 ฉบับที่ 4 (ตลุาคม-ธันวาคม 2550) : 31-36. บทความเรื่องนี ้กลาวถึงยุทธศาสตรอยูดีมีสุขระดับจังหวัด โดยอธิบายตั้ งแตที่มาและเหตุผล

แนวทางและหลักการทํางาน ไปจนถึงแผนงานในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรดังกลาว กลไกการบริหารจัดการ

โดยยุทธศาสตรนี้เปนยุทธศาสตรที่รัฐบาลกําหนดขึน้เพื่อใชในการพัฒนารากแกวตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Page 23: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

19

3. “การจัดทําตัวชี้วัดความเขมแข็งของชมุชนเพื่อพัฒนายุทธศาสตรการเสริมสรางชุมชนเขมแข็ง”. / โดย สํานกัพฒันาเศรษฐกิจชุมชนและการกระจายรายได. ว.เศรษฐกิจและสังคม. ปที่ 44 ฉบับที่ 4

(ตุลาคม-ธันวาคม 2550) : 12-21. บทความเรื่องนี้นําเสนอการจัดทําตัวช้ีวัดความเขมแข็งของชุมชนเพื่อพัฒนายุทธศาสตรการ

เสริมสรางชุมชนเขมแข็ง อธิบายตั้งแตขั้นตอนการพัฒนาตัวช้ีวัดความเขมแข็งของชุมชนพรอมแผนภาพประกอบ นยิามคําศัพทที่เกี่ยวของ การศึกษาปจจยัความเขมแข็งในพื้นที่ตัวอยาง ตารางรายละเอียดและนยิามของตัวช้ีวัดความเขมแข็งของชุมชน สูตรการคํานวณคาความเขมแข็งของชุมชน ระดับความเขมแข็งของชุมชน ปจจัยที่มีผลตอความเขมแข็งของชุมชน พรอมทั้งขอเสนอแนะยุทธศาสตรเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน

4. “การศึกษาหวงโซการผลติ (Value Chain) ของแรยิปซัม”. / โดย เอนก มีมงคล. ว.เศรษฐกิจและ สังคม. ปที่ 44 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2550) : 74-79.

บทความเรื่องนี้นําเสนอการศึกษาวจิัย เร่ือง หวงโซการผลิต (Value Chain) ของแรยิปซัมโดย กลาวถึงตั้งแตภาพรวมของยปิซัมในประเทศไทย อธิบายหวงโซการผลิตและการสรางมูลคาเพิ่มของแรยิปซัม ปญหาและขอเสนอแนะที่ไดจากการศึกษาครั้งนี ้ 5. “ความพอเพียงในธุรกิจเอกชน”. / โดย สุทิน ล้ีปยะชาติ นริสา พิชัยวรุตมะ และ อาทิสุดา ณ นคร.

ว.เศรษฐกิจและสังคม. ปที่ 44 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-สิงหาคม 2550) : 4-11. บทความเรื่องนี้กลาวถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในแงของการบริหารธุรกิจ โดยเริ่มตนอธิบาย

ตั้งแตความหมายของคําวา “ธุรกิจ” ประเภทของธุรกิจ และคุณคาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยีงความสัมพันธระหวางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภาคธุรกิจ ความจําเปนของปรชัญาเศรษฐกิจพอเพียงภาคธุรกิจ รวมไปถึงแนวทางการประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกจิพอเพียงในการดําเนินธุรกจิ พรอมกนันี้ยังมีตวัอยางแสดงการประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการธุรกิจขององคกรเอกชนตางๆ ดวย 6. “บัญชีประชาชาติระบบใหม : เคร่ืองมือสําหรับการวิเคราะห วิจัย เพื่อการวางแผนและกําหนดนโยบาย

พัฒนาของประเทศ”. / โดย วรรณภา คลายสวน. ว.เศรษฐกิจและสังคม. ปที่ 44 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2550) : 80-88.

บทความเรื่องนี้ กลาวถึงระบบบัญชีประชาชาติระบบใหม โดยอธิบายถึงความสําคัญของระบบ บัญชีสหประชาชาต ิ กรอบแนวคิดทางทฤษฎีของระบบบญัชีใหม พรอมกันนี้ยงักลาวระบบบัญชใีหมที่เรียกวา “1993 SNA System of National Accounts” ซ่ึงเปนระบบที่มีการพัฒนารวมกันขององคกรระหวางประเทศ

Page 24: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

20

ทั้งขั้นตอนการพัฒนาและผลการศึกษาตามระบบ 1993 SNA เบื้องตน และการใชประโยชนจากระบบ 1993 SNA นี้ 7. “ผลกระทบการใชพลังงานตามมาตรการประหยัดพลังงานในภาคครัวเรือนและภาครัฐบาล”. / โดย

สุรพล ศรีเฮือง. ว.เศรษฐกิจและสังคม. ปที่ 44 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2550) : 66-73. บทความฉบับนี้ เปนรายงานการศึกษาผลกระทบของมาตรการประหยัดพลังงานตามมติ

คณะรัฐมนตรี (มิถุนายน 2547) คือ ผลกระทบตอการใชไฟฟาประเภทที่อยูอาศยั และผลกระทบตอการใชน้ํามันเชื้อเพลิงสําเร็จรูป โดยใชขอมูลจากการรายงานการใชพลังงานของหนวยงานราชการและรัฐวิสาหกจิที่เกี่ยวของ รวมทั้งขอมูลจากการสํารวจเปนการเฉพาะสาํหรับการศึกษา เนื้อหามุงเนนชี้ใหเห็นถึงผลกระทบที่แทจริงที่วดัไดในเชิงตวัเลข พรอมดวยขอเสนอแนะในการปรับแนวโนมการใชพลังงานในยะยะยาวโดยการปรับโครงสรางการผลิต และการใชอุปกรณที่มีประสทิธิภาพ 8. “แผนพฒันาระบบขอมูลโลจิสติกสของไทย”. / โดย นพจิตร เหลืองชอสิริ และ สุกิตต ศิวนันทสกุล.

ว.เศรษฐกิจและสังคม. ปที่ 44 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2550) : 56-65. บทความเรื่องนี้มุงเสนอรายละเอียดของแผนการพัฒนาระบบขอมูลโลจิสติกส และแนวทาง

การพัฒนาระบบขอมูลในระดับตางๆ หลังจากที่หนวยงานทีเ่กี่ยวของไดมีโอกาสทบทวนแผนปฏิบัติการพัฒนาระบบขอมูลโลจิสติกสของประเทศที่เสนอโดย สศช. พรอมทั้งอธิบายความสําคัญของการมีระบบขอมูล โดยสรุป แผนการพฒันาระบบขอมูลดานโลจิสติกสนี้ มีขึ้นเพื่อใหหนวยงานที่เกีย่วของมีแนวทางในการสรางระบบขอมูลของตน โดยแบงระบบขอมูลออกเปน 3 ระดับ คือ 1) ระบบขอมูลสําหรับวิเคราะหภาพรวมการพฒันาระบบโลจิสติกสของประเทศ 2) ระบบขอมูลสําหรับวิเคราะหรายยุทธศาสตร 3) ระบบขอมูลสําหรับวิเคราะหในระดับสถานประกอบการ 9. “รูปแบบใหมในการดูแลสขุภาวะผูสงูอายุอยางยั่งยืนหลังไทยกาวสูสงัคมผูสงูอาย”ุ. / โดย สํานักพัฒนา

สังคมและคุณภาพชีวติ. ว.เศรษฐกิจและสังคม. ปที่ 44 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2550) : 45-55. บทความเรื่องนี้กลาวถึง งานศึกษาวจิัย เร่ือง รูปแบบการดูแลสุขภาพสาํหรับผูสูงอายุในระยะยาว

โดยชุมชน โดยอธิบายถึงทีม่าและความสาํคัญ กรอบแนวคิดการศึกษาวิจยั ตวัอยางที่แตกตางกันไปตามสภาพความแตกตางกันของภมูิสังคมในแตละพื้นที่ อันทาํใหมีรูปแบบการดูแลผูสูงอายุที่แตกตางกนัไป สรุปบทเรียนทีไ่ดจากตัวอยางการศกึษา แนวทางการพฒันารูปแบบการดูแลสุขภาวะผูสูงอายใุนระยะยาว ขอเสนอเชิงนโยบาย และสรุปยุทธศาสตรที่สําคัญ 4 ดาน ในการขับเคลื่อนงานดานการบริหารสุขภาวะผูสูงอายุในระยะยาวโดยชุมชนอยางยั่งยืน

Page 25: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

21

10. “วิถีพอเพียงในชุมชน : กรณีศึกษา 13 ชุมชนเขมแข็ง”. / โดย สุทิน ล้ีปยะชาติ ไพชุมพล นิ่มเฉลิม และ อริศรา บุญลี. ว.เศรษฐกิจและสังคม. ปที่ 44 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2550) : 22-30.

บทความเรื่องนี้กลาวถึงแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยีงกับชุมชน พรอมกับรายงานการประเมิน ชุมชนถึงการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน อธิบายกรอบการประเมิน วธีิการประเมินและผลการประเมิน และอธิบายถึงการดําเนินวิถีพอเพียงจากชุมชนตัวอยาง พรอมตารางอธิบายการดําเนินกจิกรรมของชุมชนเขมแข็ง 4 ชุมชน จากการประเมนิมีขอสรุปที่ชัดเจนวาการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพยีง คนพบไดในชุมชนเขมแข็ง ชุมชนจึงสามารถเปนกลไกและเครื่องมอืสําคัญในการเผยแพร และขยายผลการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงในระดับชุมชน

เศรษฐศาสตรธรรมศาสตร

1. “Competition Strategy between Proprietary and Open Source Software in the Presence of Software

Piracy and Network Externalities”. / โดย Panadda Pradniwat. ว.เศรษฐศาสตรธรรมศาสตร. ปที่ 26 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2551) : 128-164.

บทความเรื่องนี้ นําเสนอแบบจําลองเพื่ออธิบายพฤติกรรมการแขงขันและดุลยภาพตลาดระหวาง ซอฟแวรระบบปดและระบบเปด ซ่ึงคํานงึถึงผลกระทบของสินคาละเมิดลิขสิทธิ์และผลกระทบภายนอกของเครือขายในตลาดซอฟแวร โดยประยกุตใชทฤษฎีความแตกตางของสินคาในแนวราบ ผลการศึกษาจากแบบจําลองพบวาการที่บริษทัผูผลิตซอฟแวรระบบปดยอมใหมีซอฟแวรละเมิดลิขสิทธิ์ในตลาดเปนกลยุทธสําคัญซึ่งสงผลกระทบตอโครงสรางการแขงขันในตลาดภายใตระบบซอฟแวรทีแ่ตกตางกัน การใหบริการหลังการขายทีม่ากขึ้นเปนกลยุทธหนึ่งที่ชวยในการแขงขนักับซอฟแวรระบบเปดและขจัดสินคาละเมดิลิขสิทธิ์ออกจากตลาด และผูผลิตซอฟแวรระบบเปดจะดํารงอยูในตลาดไดก็ตอเมื่อสามารถสรางฐานผูใชัที่ใหญพอหรือเสนอสินคาที่มีประโยชนสูงตอผูบริโภค แตหากผลกระทบดังกลาวมีผลมากตอผูบริโภคผลิตซอฟแวรระบบปดจะยอมใหมีการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟแวร เพื่อสรางฐานผูใชและใชประโยชนจากผลกระทบภายนอกของเครือขายในภายหลัง

Page 26: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

22

2. “The Effect of Music Piracy on CDs Purchases”. / โดย Siwat Auampradit. ว.เศรษฐศาสตร ธรรมศาสตร. ปที่ 26 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2551) : 25-46.

งานศึกษานี้มีเปาหมายเพื่อวดัขนาดผลกระทบของเพลงละเมิดลิขสิทธิ์ตอการซื้อซีดีเพลงลิขสิทธิ์ ของผูบริโภคในประเทศไทย โดยใชวิธีการทางเศรษฐมติิเพื่อประเมินคาแบบจําลองที่เปน Simultaneous Tobit ผลการศึกษาพบวาเพลงละเมิดลิขสิทธิ์มีผลทดแทนการซื้อซีดีเพลงลิขสิทธิ์ อยางไรก็ตาม ผลดังกลาวไมมีนัยสําคัญทางสถิติจึงอาจสรุปไดวา เพลงละเมิดลิขสิทธิ์ไมมีผลตอการซื้อซีดีเพลงลิขสิทธิ์ โดยปจจยัที่มีอิทธิพลในการกําหนดการซื้อซีดีเพลงลิขสิทธิ์มากที่สุดคือความสนใจในดนตรี ซ่ึงมคีวามสัมพันธเปนไปในทิศทางเดียวกนั ผลการศึกษาพบวา การลดลงของการซื้อซีดีเพลงลิขสิทธิ์เกิดจาก 1) ไมมีอัลบั้มของศิลปนที่ผูบริโภคชื่นชอบออกมาจําหนาย 2) ผูบริโภคพึงพอใจในการฟงเฉพาะเพลงที่ตนชืน่ชอบมากกวาจะฟงเพลงทั้งอัลบั้ม 3) เพลงไมเพราะเทาที่ผูบริโภคคาดหวัง 4) การบังคับใชกฎหมายและความแตกตางระหวางเพลงลิขสิทธิ์และเพลงละเมิดลิขสิทธิ์ ไมมีความหมายสําหรับผูบริโภค 5) ราคาซีดีเพลงลิขสิทธิ์สูงเกินไป

3. “Optimal Consumption Tax and Redistributive Impacts in Thailand : A Theoretical Exploration and

Exercise”. / โดย Euamporn Phijaisanit. ว.เศรษฐศาสตรธรรมศาสตร. ปที่ 26 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2551) : 78-103.

ในการศึกษาเรือ่งการเก็บภาษีทางออม หลักการสําคัญที่เกี่ยวของคือความมีประสิทธิภาพและ ความเทาเทียม ดวยความตระหนักวาบทบาทของภาษีทางออมในการจัดสรรรายไดนั้นมีขอจํากัดในทางทฤษฎีและการศึกษาเพื่อพฒันาทฤษฎีสําหรับประยกุตใชในกรณีประเทศไทยยังไมปรากฏอยางเดนชัดในวรรณกรรมปริทัศน งานวิจยันี้จึงทําการศกึษาในเชิงลึก ภายใตขอสมมติตอระบบอุปสงคลักษณะตางๆ เพื่อคํานวณคาตวัแปรทางภาษีทีส่งผลใหสวัสดิการในบริบทของ “แรมซีประยุกต” (Modified Ramsey) อยูในระดับดีที่สุดในอุดมคติหรือระดับใกลเคียงกับสภาวะดังกลาวมากที่สุดภายใตสภาวะที่เปนอยู ทายที่สุดผลของการกระจายรายไดโดยอัตราภาษีที่ไดจากการคํานวณในงานวิจยันี ้ จะนํามาเปรียบเทียบกับอัตราภาษีที่เปนอยูจริงในประเทศไทยในชวงสิบปที่ผานมาเพื่อประเมินสถานการณภาษีอุปโภคบริโภคในประเทศไทยที่เปนอยูในปจจบุัน 4. “การขับเคล่ือนสูวิถีเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ : กรณีการปลูกพืชผกั”. / โดย วราภรณ ปญญาวดี.

ว.เศรษฐศาสตรธรรมศาสตร. ปที่ 26 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2551) : 107-125. การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคหลักในการวิเคราะหปจจยัที่มีผลตอการยอมรับเทคโนโลยีเกษตร

ปลอดภัยจากสารพิษในการปลูกผัก เพื่อเสนอแนวทางในการผลิตสินคาปลอดภัยในประเทศใหเพิ่มสูงขึ้น โดยไดทําการเก็บขอมูลที่เกี่ยวของในการผลิตพืชผักในรอบปเพาะปลูก 2548/49 จากเกษตรกรที่ปลูกผักในจังหวดัเชยีงใหม จํานวน 300 ตัวอยาง ผลการศึกษาโดยใชแบบจําลองถดถอยโลจิสติก พบวาปจจยัที่มีผลใน

Page 27: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

23

เชิงบวกตอการยอมรับเทคโนโลยีการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ ไดแก ตวัแปรความสัมพันธระหวางการสังกัดกลุมโดยกลุมมีการทําตลาดพืชผักทีผ่ลิตได การไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกับเทคโนโลยีเกษตรปลอดภัยจํานวนแรงงานในครัวเรือนที่มีการทําการเกษตรเต็มเวลา อายุ และระดับการศึกษา สวนปจจยัที่มผีลตอการยอมรับในทิศทางตรงขาม ไดแก พืน้ที่ในการปลูกผักและความจําเปนในการจางแรงงานเพิ่ม 5. “ปจจัยในการกําหนดการจัดสรรงบประมาณรายจายของกรุงเทพมหานคร”. / โดย ศาสตรา สุดสวาสดิ์. ว.เศรษฐศาสตรธรรมศาสตร. ปที่ 26 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2551) : 1-12.

การศึกษานีเ้ปนการศึกษาวิจยัเชิงประจกัษถึงความสัมพันธระหวางงบประมาณรายจายที่จัดสรร โดยตรงไปยังสํานักงานเขตของกรุงเทพมหานครกับระดับความยากจนในแตละเขตพื้นที่ นอกจากนี้ยังศกึษาถึงปจจัยสําคญัที่กําหนดการจัดสรรงบประมาณของกรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาที่ไดพบวา การจัดสรรงบประมาณของกรุงเทพมหานครไมมีความสัมพันธกบัระดับความยากจนแตมีความสัมพันธกบัจํานวนประชากร ขนาดพื้นที่ และสัดสวนประชากรผูสูงอายุ นอกจากนี้ยังพบวาพื้นทีก่ลุมเขตเมืองไดรับการจัดสรรงบประมาณสงูกวาพืน้ที่กลุมชนบท สําหรับพรรคการเมืองที่สมาชิกสภากรุงเทพมหานครสังกัดอยู การศึกษานี้ไมพบวามีอิทธิพลตอการจัดสรรงบประมาณของกรุงเทพมหานคร 6. “อาชญากรรมทางเศรษฐกิจในแบบจําลองการเจริญเติบโตภายใตกระบวนการเรียนรูจากการกระทํา”.

/ โดย ปรัชญา ปนมณี. ว.เศรษฐศาสตรธรรมศาสตร. ปที่ 26 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2551) : 50-74. บทความเรื่องนี้ ไดเพิ่มเติมแบบจําลองของอาชญากรรมทางเศรษฐกิจลงไปในแบบจําลองการ

เจริญเติบโต ภายใตกระบวนการเรียนรูจากการกระทํา ขอคนพบที่นาสนใจ คือ เราไมสามารถระบุความ สัมพันธเชิง เหตุและผลระหวางอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจกับขนาดอาชญากรรมทางเศรษฐกิจได ทั้งนี้เพราะตวัแปรทั้งคูตางถูกกําหนดขึ้นมาภายในระบบ และไดรับอิทธิพลจากความเร็วในการปรับปรุงกลไกการปองกันและปราบปรามอาชญากรรม และอัตราสวนของอาชญากรตอพลเมือง การเพิ่มความเร็วในการปรับปรุงกลไกการปองกันและปราบปรามฯ จะชวยเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและลดขนาดของอาชญากรรมทางเศรษฐกิจในขณะที่การลดอัตราสวนของอาชญากรตอพลเมือง การเพิ่มความเร็วในการ ปรับปรุงกลไกการปองกันและปราบปรามจะชวยเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและลดขนาดของอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ในขณะที่การลดอัตราสวนของอาชญากรตอพลเมือง จะทําใหอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น

Page 28: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

24

1. เจาะลึก 8 มาตรการ “ปแหงการลงทุน”. / โดย นฤตม เทอดสถีรศักดิ์. ว.สงเสริมการลงทุน. ปที่ 19

สงเสริมการลงทนุ

ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2551) : 9. ในชวง 1-2 ปขางหนานี้ เศรษฐกิจไทยอาจตกอยูในภาวะสุมเสี่ยงทีจ่ะประสบกับปญหาและ

อุปสรรคตอการพัฒนาประเทศหลายประการ ทั้งภาวะเศรษฐกิจทําใหโลกผันผวน ตลาดภายในประเทศมีอัตราขยายตวัต่ํา ปญหาคาเงินบาท ตนทุนพลังงานที่สูงขึ้น และวิกฤติการเมือง นอกจากนี้ยังตองแขงขันแยงชิงการลงทุนจากประเทศตางๆ ที่มีความรุนแรงมากขึ้น ในขณะที่ไทยยังมีปญหาขาดแคลนแรงงานมีฝมือ โดยเฉพาะวิศวกรและชางเทคนิค ขาดความพรอมของอุตสาหกรรมสนับสนุนในกลุมเทคโนโลยีช้ันสูง และขาดพื้นที่และโครงสรางพื้นฐานที่จะรองรับการลงทุนของอุตสาหกรรมขนาดใหญในอนาคต ทั้งหมดเปนความทาทายทีป่ระเทศไทยตองฟนฝาไปใหได ดังนั้นรัฐบาลจึงไดประกาศนโยบายเรงดวนใหป 2551-2552 เปนปแหงการลงทุน เพื่อเรงฟนฟูความเชือ่มั่นของนักลงทุน สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนจึงไดประกาศ 8 มาตรการสําคัญที่จะดําเนนิการในชวงปแหงการลงทุน ไดแก 1) พฒันาตอยอดอตุสาหกรรมไทยที่มีศักยภาพ 2) สรางฐานอุตสาหกรรมแหงอนาคต 3) ผลักดันใหเกิดการลงทุนในอุตสาหกรรมผลิตเหล็กขั้นตนคณุภาพสูง 4) สงเสริมการปรับตัวเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน 5) สงเสริมการลงทุนในตางประเทศ 6) จัดกจิกรรมชักจูงการลงทุนเชิงรุกอยางตอเนื่อง 7) เรงปรับปรุงแกไข พ.ร.บ. สงเสริมการลงทุนใหเหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน 8) จัดตั้งกองทุน 2. “เดนมารกเจาแหงพลังงานลม”. / โดย ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์. ว.สงเสริมการลงทุน. ปที่ 19 ฉบับที่ 5

(พฤษภาคม 2551) : 67. พลังงานลม เปนพลังงานทางเลือกที่มีความกาวหนาในดานการวจิัยพัฒนา จนสามารถนํามาใช

ทดแทนพลังงานจากฟอสซิลไดอยางแพรหลาย ปจจบุันเดนมารกเปนประเทศที่มีการกอสรางโรงไฟฟาพลังงานลมมากที่สุดในทวีปยุโรป โดยมวีิวัฒนาการมาตั้งแตป 2434 และประสบปญหามากมายในชวงเร่ิมแรกเพราะเปนชวงที่น้ํามนัยังมีราคาถูก จนกระทั่งในป 2516 ธุรกิจพลังงานลมของเดนมารกกไ็ดรับการเฟองฟูขึ้นมาอกีครั้งดวยเหตผุลสําคัญ 4 ประการ คือ 1) รัฐบาลและบริษัทเอกชนของเดนมารกใหความสําคัญอยางตอเนื่อง 2) มีการจดัสรรงบประมาณในดานงานวิจยัและพฒันาอยางมีประสิทธิภาถพ 3) มกีารปรับปรุงวัสดุโดยใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยเขามาใชไดอยางมีประสิทธิภาพ 4) มกีารรวมมือกันระหวางผูประกอบธุรกิจผลิตอุปกรณพลังงานลม เปนตนวาการกอตั้งสมาคมอุตสาหกรรมลมแหงเดนมารก เพื่อรวมมือและสนับสนุนซ่ึงกันและกัน

Page 29: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

25

3. “เดนมารก ... ตัวอยางความสําเร็จจากการพัฒนาอยางยั่งยนื”. / โดย ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์. ว.สงเสริม การลงทุน. ปที่ 19 ฉบับที่ 5 (พฤษภาคม 2551) : 62.

จากรายงาน Global Competitiveness Report 2007-2008 ของ World Economic Forum เดนมารกไดรับการจัดอันดับให เปนประเทศที่มีความสามารถในการแขงขันมากเปนอันดับ 3 ของโลก นับเปนตวัอยางความสําเร็จในดานเศรษฐกจิจากการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน ชาวเดนมารกมีจดุเดนที่สําคัญ คือ มีความคดิเปนอิสระซ่ึงเอื้อตอการพัฒนานวัตกรรมใหมๆ ดังนัน้ แมเดนมารกจะเปนประเทศขนาดเล็ก แตบริษัทเดนมารกจํานวนมากเปนผูนําของโลกในหลายธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจทีใ่ชฐานความรู พรอมกันนี้รัฐบาลเดนมารกยังไดดําเนนินโยบายพัฒนาอยางยั่งยืนในหลายดานเพื่อใหเกิดผลในระยะยาว ไมวาจะเปนการเนนการใชจายงบประมาณในดานสวสัดิการสังคม การใหความสําคัญอยางมากกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยเฉพาะดานการศกึษารัฐบาลไดตั้งเปาหมายพฒันาคุณภาพการศึกษาใหไดระดับมาตรฐานโลก รวมถึงความเขมงวดในดานสิ่งแวดลอม โดยรัฐจะเก็บภาษีส่ิงแวดลอมในดานตางๆ ดังนั้นผูกอใหเกิดมลพิษจึงตองเปนผูจายภาษี ไมวาจะเปนภาษีการปลอยน้ําเสีย การปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ภาษีไฟฟา และภาษีบรรจภุัณฑ เปนตน ส่ิงสําคัญที่เปนจุดเดนของเดนมารก คือ เปนประเทศตัวอยางที่ประสบผลสําเร็จอยางมากในดานพลังงาน โดยมตีัวช้ีวดัหลายประการ คือ 1) เปนประเทศที่มีสัดสวนการบริโภคพลังงานตอ GDP ในอัตราที่ต่ําทีสุ่ดในสหภาพยุโรป 2) เปนประเทศที่ใชพลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟาสูงที่สุดในยุโรป และ 3) ประชาชนมีความตื่นตัวในดานการประหยัดพลังงานตั้ งแตระดับประชาชนถึงผูบริหารประเทศ ดังนั้นจึงเปนเรื่องธรรมดาหากจะเห็นรัฐมนตรีหรือนักการเมืองขี่รถจักรยานไปทํางาน 4. “บมเพาะ SMEs ใหเขมแข็ง กรณีศึกษาจากไตหวัน”. / โดย วนินทร หงสกุล. ว.สงเสริมการลงทุน. ปที่ 19 ฉบับที่ 5 (พฤษภาคม 2551) : 28.

บทความเรื่องนี้นําเสนอเกี่ยวกับการบมเพาะวิสาหกิจของไตหวนั ซ่ึง SMEs ของไตหวันนัน้ม ีความแข็งแกรงมาก เนื่องจากไดรับการสนับสนุนอยางจริงจังและตอเนื่องจากภาครัฐ โดยการตั้งหนวยงานที่ทําหนาที่บมเพาะ SMEs ขึ้นมาทําหนาที่คอยใหคําแนะนําและชวยเหลือในดานตางๆ แก SMEs โดยตรง จนกระทั่งปจจบุันไตหวันมีศนูยบมเพาะฯ แลวเกือบ 100 แหง โดยแบงเปน 2 ประเภท คือ 1) ศูนยบมเพาะฯ ในสังกัดมหาวิทยาลัย เกดิขึ้นจากแนวคดิการนําความรูทางวิชาการ ผลงานวิจัย ในมหาวิทยาลัยมาตอยอดประยุกตใชในเชิงพาณิชย 2) เปนศนูยบมเพาะฯ ที่ทําการวิจยัและพฒันาเฉพาะดานสําหรับแตละประเภทอุตสาหกรรม ทั้งนี้ไตหวนัไดตั้งเปาหมายการดําเนินงานดานบมเพาะวิสาหกิจเอาไววาในอนาคตอันใกลนี้ไตหวนัจะตองมีสถานะเปนศูนยบมเพาะวสิาหกิจระดับภูมิภาค ซ่ึงขอมูลที่นําเสนอทําใหสามารถเห็นความเจริญเติบโตอยางเดนชดัของไตหวนั ซ่ึงไมไดเกิดขึ้นเพราะโชคชะตา แตเปนเพราะไตหวันมวีสัิยทัศนที่ดีและมีระบบการจัดการที่มีประสิทธิภาพ และภาครัฐเล็งเห็นถึงความสําคัญของการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ

Page 30: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

26

ยกระดับภาคอตุสาหกรรมของประเทศ รวมทั้งการดําเนินงานของหนวยงานตางๆ มีความเชื่อมโยงกันอยางบูรณาการ ทําใหเปนปจจยัทีสํ่าคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาวิสาหกจิไดอยางมีศักยภาพ 5. “บีโอไอรวมสราง SMEs ไทย”. / โดย อารีย งามศิริพัฒนกุล. ว.สงเสริมการลงทุน. ปที่ 19 ฉบับที่ 5

(พฤษภาคม 2551) : 11. หลังจากประเทศไทยเกดิวกิฤติเศรษฐกิจอยางรุนแรงเมื่อป 2540 ทางการจึงหันมาใหความสําคัญ

กับการพัฒนา SMEs เพื่อสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจในระยะยาว จึงไดอนมุัติยุทธศาสตรการพัฒนา SMEs ของประเทศ ซ่ึงประกอบดวย 3 ยทุธศาสตรหลัก คือ 1) การฟนฟู SMEs ที่ไดรับผลกระทบจากภาวะวิกฤติเศรษฐกจิ 2) การทําให SMEs สามารถเขา ถึง ส่ิงอํานวยความสะดวกที่เปนโครงสรางพื้นฐานและ บริการรัฐ 3) การเสริมสราง SMEs ใหเติบโตอยางยั่งยืนและสรางผูประกอบการใหม บีโอไอ ซ่ึงเปนหนวยงานหนึง่ที่เปนกลไกสาํคัญภายใตยุทธศาสตรนี้ เห็นวาการพฒันา SMEs ใหเตบิโตอยางยั่งยนื ควรตองมีมาตรการสนับสนุนในหลายๆ ดาน เชน ดานนวัตกรรม การออกแบบ การวิจยัและพัฒนา การพฒันาทักษะผูประกอบการและพนกังาน การสนับสนุนดานการเงนิ ความชวยเหลือดานการตลาดและสิทธิประโยชนดานภาษีอากรที่เหมาะสม นอกจากนีย้ังไดใหแนวทางในการสนับสนุน SMEs และมาตรการที่เปนรูปธรรม คือ ออกประกาศกําหนดประเภทกจิการและเพิ่มสิทธิประโยชนเพื่อสงเสริมการประกอบธุรกิจของ SMEs ได แก กลุมผลิตภณัฑเกษตรแปรรูป กลุมอุตสาหกรรมเชิงสรางสรรค และกลุมบริการ 6. “มาสเตอร เทาเวอร โรงไฟฟาพลังงานลมที่หัวไทร”. / โดย สังวรณ สุขสําราญ. ว.สงเสริมการลงทุน.

ปที่ 19 ฉบับที่ 5 (พฤษภาคม 2551) : 40. พลังงานลม เปนพลังงานทดแทนจากธรรมชาติที่สามารถนํามาผลิตกระแสไฟฟาได แตใชวาทกุ

ที่ที่มีลมพัดแรงจะนาํพลังงานลมมาใชไดเสมอไป เพราะในการผลิตกระแสไฟฟานั้นลมที่นํามาใชตองพัดแรงอยางตอเนือ่งตลอดทั้งป และมีความเร็วลมที่สม่ําเสมอ ดังนั้น ในโลกนีจ้งึมีเพียงบางแหงเทานั้นที่สามารถนําพลังงานลมมาใชไดอยางมีประสิทธิภาพ สําหรับประเทศไทยมีศักยภาพดานพลังงานลมบางแตคอนขางนอย ในการติดตัง้กังหันลมเพื่อผลิตไฟฟา จึงตองหาแหลงที่มีความเร็วลมในระดับที่กาํหนด คือ ตองมีกําลังลมเฉลี่ยทั้งปไมนอยกวาระดับ 3 คือ 6.4-7.0 เมตร/วินาท ีหรือ 300-400 กิโลวัตต/ตารางเมตร ที่ความสูง 50 เมตร ในประเทศไทยแหลงที่มีความเร็วลมในระดับดังกลาว คือ ภาคใตบริเวณชายฝงทะเลตะวนัออก เร่ิมตั้งแตจังหวดันครศรีธรรมราช สงขลา ปตตานี และทีอุ่ทยานแหงชาติดอยอินทนนท ดังนัน้หากเปรียบเทยีบถึงปจจัยดานความเร็วลมที่สม่ําเสมอแลว การลงทุนเพื่อผลิตกระแสไฟฟาในประเทศไทยจึงไมมีความคุมทุนทางการเงนิ การลงทุนจะเกดิขึ้นไดเฉพาะกรณีที่รัฐใหการสนับสนุน ดังเชน โครงการสาธิตการผลิตไฟฟาจากกังหันลมขนาดใหญ ที่อําเภอหวัไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช ซ่ึงกรมพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน เปนหนวยงานที่ไดรับผิดชอบเพื่อเปนการสาธิตนํารองและสราง

Page 31: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

27

ความมั่นใจในการใชกังหันลมผลิตไฟฟา และสรางประสบการณการจัดหาและติดตั้งใหกับภาคเอกชนภายในประเทศในอนาคต 7. “ยุทธศาสตรและกลยุทธการสงเสริมSMEs”. / โดย สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ว.สงเสริมการลงทุน. ปที่ 19 ฉบับที่ 5 (พฤษภาคม 2551) : 14. บทความเรื่องนี้นําเสนอรายละเอียดยุทธศาสตรการฟนฟู SMEs เพือ่ใหการดาํเนินการตางๆ

ผลักดันใหแผนการสงเสริม SMEs สัมฤทธิ์ผล สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม จึงไดกําหนดยุทธศาสตรขึ้นรองรับและเพื่อใชเปนแนวทางการผลักดัน SMEs ใหเกดิขึ้นอยางมีคุณภาพสามารถดําเนินธุรกจิไดอยางเข็มแข็ง ยุทธศาสตรดังกลาวไดผานความเห็นชอบจากคณะรฐัมนตรี เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2550 ประกอบดวย 6 ยุทธศาสตร ไดแก 1) การสรางและพัฒนาผูประกอบการ 2) การเพิ่มประสิทธิภาพและขีดความสามารถดานนวตักรรมของ SMEs ในภาคการผลิต 3) การเพิ่มประสิทธิภาพและลดผลกระทบในภาคการคา 4) การสงเสริมการบริการในการสรางคุณคาและมูลคาเพิ่ม 5) การสงเสริม SMEsในภูมภิาคและทองถ่ิน และ 6) การพัฒนาปจจัยเอ้ือในการดําเนินธุรกจิ

สารคดี

1. “ตะลุยมาดากัสการ ตามหาเบาบับและลีเมอร”. / โดย วันชยั ตันตวิิทยาพิทกัษ. ว.สารคดี. ปที่ 24 ฉบับที่ 279 (พฤษภาคม 2551) : 62.

เกาะมาดากัสการ ตั้งอยูกลางมหาสมุทรอินเดีย เร่ิมเปนทีรู่จักของคนทัว่โลกในสมัยสงครามโลก คร้ังที่ 2 โดยอยูภายใตการปกครองของรัฐบาลหุนฝร่ังเศสที่มีเยอรมนี ชักใยอยูเบื้องหลัง มาดากัสการมีประชากร 17 ลานคน สวนใหญนับถือศาสนาอิสลามกับศาสนาคริสตโรมันคาทอลิก มีเชื้อสายมาจากอินโดนีเซีย มาเลเซีย และแอฟริกัน รวมถึงอาหรับและโปรตุเกส ทําใหมาดากัสการมีความหลากหลายทางเชื้อชาติโดยมปีระชากรถึง 18 เผาพันธุ ชาวมาลากาซีรอยละ 80 เปนเกษตรกร และนิยมกินอาหารแบบคนเอเชียตะวันออกเฉียงใต เพราะเปนมรดกทางวัฒนธรรมสืบทอดมาตั้งแตสมัยชาวอินโดนีเซีย และมาเลเซียอพยพมาตั้งรกรากที่นี่ มาดากัสการไดรับการขนานนามวาเปนทวีปแหงที่ 8 ของโลกมีพื้นที่ ใกล เคียงกับประเทศไทย แตมีส่ิงมีชีวิตกวา 200,000 ชนิด ซ่ึง 150,000 ชนิด ไมพบในที่อ่ืนนอกจากบนเกาะแหงนี ้นอกจากนี้ยังมี สัตว เปนจํานวนมากและรอยละ 90 ไมสามารถพบไดในที่อ่ืนๆ ของโลก ทําใหมาดากัสการเปนดินแดนทีม่ีความหลากหลายทางชีวภาพ ปจจุบันปาไมสวนใหญในมาดากัสการกําลังถูกทําลายตลอดเวลา ทําใหพืชพนัธุและสัตวปาหลายชนิดกําลังเผชิญกับภาวะใกลสูญพันธุมากขึ้นทุกท ี

Page 32: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

28

2. “ประชาธิปไตยแยมกลีบในดินแดนแหงมังกรสายฟา”. / โดย อาทิตย ประสาทกุล. ว.สารคดี. ปที่ 24 ฉบับที่ 279 (พฤษภาคม 2551) : 24.

บทความเรื่องนี้นําเสนอการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรครั้งปฐมฤกษของภูฏาน ซ่ึงมีขึ้น เมื่อวันที่ 24 มนีาคม 2551 การเลือกตั้งครั้งนี้เปนผลมาจากพระราชดาํริของสมเด็จพระราชาธิบดีจกิมี ซิงเย วังชุก ที่ตองการใหภูฏาน เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยเปนระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข โดยกอนหนานี้รัฐบาลภูฏานไดรางรัฐธรรมนูญฉบับใหม เพื่อจัดใหมีการเลือกตั้งโดยศึกษารูปแบบรัฐธรรมนูญจากประเทศตางๆ รวมทั้งไทยมานานกวา 2 ป สําหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรครั้งนี้มีทั้งหมด 47 เขตเลือกตั้งแบงตามสัดสวนของผูมีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง โดยมีคณะกรรมการการเลือกตั้งเปนองคกรกลางจัดการเลือกตั้ง พรรคการเมืองที่สงผูสมัครรับเลือกตั้งในคร้ังนี้มี 2 พรรค คือ 1) พรรคพีดีพี (People’s Democratic Party) มีนายนีดับ (Sangay Ngedup) พระมาตุลาในสมเด็จพระราชาธิบดีจิกม ี เคเซอร นัมเกล วังชุก เปนหัวหนาพรรค 2) พรรคดีพีที (Druk Phuensum Tshogpa) ซ่ึงมีความหมายวาพรรคภูฏานรวมเปนหนึ่ง มนีายวาย ทนิเลย (Y. Thinley) เปนหัวหนาพรรค ผลการเลือกตั้งปรากฎวาพรรคดีพีทีไดรับคะแนนเสยีง 44 ที่นั่ง จาก 47 ที่นั่ง ทําใหนายวาย ทินเลย ไดสิทธิการจัดตั้งรัฐบาลและขึ้นดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีคนแรกของภูฏานภายใตระบบประชาธิปไตย 3. “รอยไทยในแดนซากุระ และ 620 ปความสัมพันธไทย-ญ่ีปุน”. / โดย สุเจน กรรพฤทธิ์. ว.สารคดี. ปที่ 24 ฉบับที่ 279 (พฤษภาคม 2551) : 142.

บทความเรื่องนี้นําเสนอเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางไทยกับญี่ปุน คนไทยสวนใหญรูจักประเทศ ญี่ปุนในฐานะผูนําทางเศรษฐกิจ ทีย่ากจะหาชาติใดในเอเชียเทียบได และไดมกีารเฉลิมฉลองครบรอบ 120 ป ความสัมพันธไทย-ญี่ปุนเมื่อป 2550 โดยยดึตามหนังสือปฏิญญาวาดวยทางพระราชไมตรีและการคาขายระหวางประเทศไทยกับญี่ปุนในป 2430 แตในดานประวัติศาสตรเชือ่วาการติดตอระหวางสยาม (อาณาจกัรอยุธยาตอนตน) กับญี่ปุน (อาณาจกัรริวกิว) มีมาตั้งแต 620 ปกอน ซ่ึงการคาขายระหวางสองอาณาจักรมีความเฟองฟมูากในรัชสมัยสมเด็จพระเจาทรงธรรม กอนหยุดชะงักลงในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ผูเขียนไดมุงสะทอนใหเหน็วา แมความสัมพันธไทย-ญี่ปุนจะมีมาอยางยาวนาน แตการพัฒนาประเทศของญี่ปุนกลับทิ้งหางไทยอยางสิ้นเชิง โดยไดเปรียบเทยีบการพัฒนารถไฟของญี่ปุน ซ่ึงถือวามีความทันสมัยมากและสามารถผลิตสงออกไปยังตางประเทศได ทําใหการรถไฟของญี่ปุนมีช่ือเสียงเปนที่รูจักไปทัว่โลก หากมองยอนอดีตรถไฟญี่ปุนมีพัฒนาการใกลเคียงกับประเทศไทย แตการรถไฟไทยยังคงมีปญหารอบดาน นอกจากนี้ยังไดเปรียบเทยีบใหเห็นการบรหิารจัดการเมอืงเกา ซ่ึงญี่ปุนสามารถทําใหเมืองเกาสามารถอยูในโลกสมัยใหมไดอยางลงตัวแตกตางกับอยุธยาของไทยอยางสิ้นเชิง ทั้งนี้การมองยอนอดีตของไทยกับญี่ปุน อาจทําใหไดเรียนรูบทเรียนบางอยางที่จะกาวตอไปขางหนา

Page 33: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

29

4. แอนดรูว คารเนกี ตนแบบ “นายทุนใจบุญผูเต็มไปดวยความยอนแยง”. / โดย สฤณี อาชวานนัทกุล. ว.สารคดี. ปที่ 24 ฉบับที่ 279 (พฤษภาคม 2551) : 125.

บทความเรื่องนี้นําเสนอเรือ่งราวของแอนดรูว คารเนกี (Andrew Carnege) มหาเศรษฐีชาว อเมริกัน ซ่ึงมชีีวิตอยูระหวาง ค.ศ. 1835-1919 เปนชาวสกอตอพยพที่มาสรางธุรกิจเหล็กกลาในสหรัฐอเมริกา โดยเริ่มตนจากศูนยจนเปนผูครองตลาดอันดบัหนึ่ง เร่ืองราวของคารเนกีเปนแรงบนัดาลใจใหกับคนที่อยากประสบความสําเร็จในฐานะนักธุรกิจผูยิ่งใหญ นอกจากนี้ชาวอเมริกนัยังยกยองวาคารเนกี คือ “บิดาแหงการกุศล” ผูมอบมรดกมหาศาลใหแกสังคมที่มีตํานานเปนรูปธรรม เชน หองสมุดคารเนกี สถาบนัคารเนก ีสถาบันวิจัยวทิยาศาสตรอิสระชั้นนําของโลก และมูลนธิิคารเนกีเพื่อสันติภาพระหวางประเทศ เปนตน คารเนกีไดช่ือวาเปน “นายทุนใจบุญ” คนแรกๆ ของโลก โดยมีความเชื่อวาคนรวยทกุคนมี “หนาที่ทางศีลธรรม” ที่จะมอบความมั่นคงกลับคืนสูสังคม และความเชื่อนี้ไดกลับคืนสูสังคมของสหรัฐอเมริกาอยางมากมาย ทั้งในรูปแบบสถาบัน อาคกร และมูลนิธิตางๆ ที่ตกทอดมาจนถึงปจจุบนั แตในอกีดานหนึ่งของคารเนกีกลับไมใชผูที่เปยมไปดวยศีลธรรม โดยเฉพาะการเปนนักธุรกิจที่เต็มไปดวยเลหเหล่ียม หลายกรณแีมอาจไมถึงกับผิดกฎหมายแตก็เปนเรือ่งผิดจรรยาบรรณและศีลธรรม นอกจากนี้ยังไมเคยใชชีวิตอยางสมถะ ทั้งๆ ที่เปนผูเรียกรองใหเศรษฐีคนอืน่ๆ ทําความดีเพื่อสังคม ดังนั้นการยกยองใหคารเนกีเปนนักบุญจึงไมสนิทใจนักแมวาจะเปนผูมอบมรดกอันมีคามหาศาลใหแกสังคมก็ตาม

อีคอนนิวส

1. ขาวราคาแพง วิกฤตอาหารลามทั่วโลกโอกาส “ชาวนาไทยรวย” ฝนท่ียังไมเปนจริง. / โดย เกรยีงไกร โลหะจรูญ. ว.อีคอนนิวส. ปที่ 18 ฉบับที่ 492 (เมษายน 2551) : 19.

บทความเรื่องนี้นําเสนอสถานการณขาวราคาแพง ซ่ึงมีผลกระทบไปทั่วโลก หลายประเทศม ีการขาดแคลนขาวจนทําใหเกิดการจราจล รัฐบาลหลายประเทศเริม่ใชนโยบายแทรกแซงตลาดขาวเพื่อลดราคาขาวในประเทศ บางประเทศหามการสงออก ผลที่ตามมา คือ ราคาขาวในระยะยาวอาจผันผวนมากขึ้น และจะกลายเปนปญหาใหญของชาวนาไทย ถึงแมราคาขาวในปจจบุันจะสูงขึ้น แตที่ผานมาชาวนายังปลูกขาวอยางไรทศิทาง โดยไมสามารถกําหนดอนาคตของตนเองไดเลยวา เก็บเกี่ยวผลผลิตแลวจะมีกําไร เนื่องจากตนทนุการทํานาตอไร เพิ่มสูงขึ้น และผลผลิตของชาวนาตอไรยังไมดีพอ หากประสบปญหาภัยธรรมชาติและภูมิอากาศเปลีย่นแปลงผลผลิตก็จะลดลงอกีปญหาตนทนุการปลูกขาว ความยากจน และหนี้สินจึงอยูคูกับชาวนาไทยเสมอมา

Page 34: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

30

2. “จับตาวิกฤตอาหารโลก (โอกาสของไทย)”. ว.อีคอนนวิส. ปที่ 18 ฉบับที่ 492 (เมษายน 2551) : 38. จากราคาอาหารทั่วโลกมีราคาสูงขึ้นอยางมากจนกลายเปนปญหาใหญ ทําใหองคกรระหวาง

ประเทศตางหนัมาใหความสาํคัญกับการแกปญหารวมกนัของประเทศตางๆ ทั่วโลก สาเหตุหลักของวิกฤตอาหาร คือ ความไมสมดุลระหวางผลผลิตและความตองการใช โดยมีปจจัยสําคัญ คือ ปญหาโลกรอน ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจทําใหมกีารนําพื้นที่สําคัญทางการเกษตรไปสรางโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งการนําพื้นที่ไปปลูกพืชพลังงานทดแทน เพื่อแกปญหาราคาน้ํามันราคาสูง สําหรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากราคาอาหารสูง ที่กระทบมากที่สุด คือ ประเทศที่ไมมีกําลังซ้ือ ไดแก กลุมประเทศใแอฟริกา ถาในระยะ 2-3 ปนี้ราคาอาหารยังมีแนวโนมเพิม่ขึ้นจะทําใหมีคนอดอยากเพิ่มมากขึ้นถึงขั้นรุนแรง หนวยวิจยั เศรษฐกิจของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกาเตือนวาราคาธัญพืชทั่วโลกจะยังคงปรับขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 1 ทุกป ไปจนถึงป 2559 ซ่ึงทําใหปลายป 2559 ราคาธัญพืชจะเพิ่มขึ้นไมต่ํากวารอยละ 8.3 จากระดับปลายป 2551 หากเปนไปตามการคาดการณนี้ จะทําใหพื้นที่ของโลกที่ประสบปญหาขาวราคาแพงอยูแลว คงจะตองเผชิญปญหาทั้งวิกฤตการเมืองและวกิฤตสังคมตามมา 3. “แจงเกิด Eco Car ฐานการผลิตรถเล็กของโลกหวังสรางมูลคาอตุสาหกรรมตอเนื่องนับแสนลานบาท”. ว.อีคอนนวิส. ปที่ 18 ฉบับที่ 492 (เมษายน 2551) : 24.

หลังจากพจิารณากันมาหลายรัฐบาล ในทีสุ่ด Eco Car รถยนตนั่ งขนาดเล็กประหยัดพลังงานก ็ไดรับอนุมัติจากรัฐบาล และบีโอไออนุมตัิสงเสริมโครงการลงทุน Eco Car ไปแลวจํานวน 6 ราย และคาดวาจะเริ่มการผลติและจําหนายในประเทศไดภายในอีก 1-2 ปขางหนา Eco Car ถือเปนตลาดใหมซ่ึงคาดวาจะสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจและมูลคาเพิ่มทางอุตสาหกรรมไดเปนอยางดี ซ่ึงภาครัฐไดใหความสําคัญในระดับนโยบาย เพื่อเรงพัฒนาผูประกอบการไทยใหสามารถคิดคน และเปนเจาของความคิดการผลิตไดเองโดยเร็ว และถือเปนโอกาสดขีองผูประกอบการในประเทศในการสรางมูลคาเพิ่มในอุตสาหกรรมรถยนตและอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนตที่ตองมีสวนสําคัญในการปอนชิ้นสวนใหกับบรษิัทผูผลิต 4. “ไทยไดประโยชนเพิ่มจาก FTA อาเซียน-ญ่ีปุน/จีน แตอาจตกขบวนเกาหลีใต”. ว.อีคอนนวิส. ปที่ 18 ฉบับที่ 492 (เมษายน 2551) : 27.

การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกจิอาเซียน ถือเปนกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจที่มคีวามสําคัญ และใกลชิดกบัไทยมากที่สุด โดยมเีปาหมายภายในป 2558 เพื่อใหการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน และแรงงานระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนดวยกัน เปนไปอยางเสรีมากที่สุดเทาที่จะเปนไปได ที่ผานมาไทยในฐานะสมาชิกอาเซียนไดรับผลประโยชนทั้งจากขอตกลงการคาเสรีอาเซียน-จีน และที่กํา ลังจะมีผลบังคับใชตอไปคือการคาเสรีอาเซียน-ญี่ปุน แตสําหรับความตกลงการคาเสรีอาเซียน-เกาหลีใต ไทยยังไมไดลงนามและคาดวาจะตองมีการดําเนินการใหสําเร็จภายในปนี้เพื่อไมใหเสียเปรียบในการแขงขันทางการคา

Page 35: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สาระสังเขป บทความวารสาร

31

และยอมใหสมาชิกอาเซียนประเทศอื่นไดรับประโยชนจากการลดภาษีและเปดตลาดการคากับเกาหลีใตไปกอน ทั้งนีก้ารทํา FTA ไมจาํเปนตองไดเปรียบทางการคาเสมอไป แตควรเปดตลาดทั้งการนําเขาและสงออกไปพรอมกัน หรือแมวาการนําเขามากๆ อาจทําใหขาดดลุ แตก็ทําใหเกิดความรวมมอืทางเศรษฐกจิที่จะสงผลดีในดานอื่นๆ ตอไปในอนาคต 5. สหภาพยุโรปมุงสูผูนํานวัตกรรม ระวัง!กฎระเบียบดานสิง่แวดลอมยิ่งเขมขึ้น”. / โดย คณะผูแทนไทย ประจําประชาคมยุโรป. ว.อีคอนนิวส. ปที่ 18 ฉบับที่ 492 (เมษายน 2551) : 41.

สหภาพยุโรปไดเสนอแผน Lead Markets Initiative for Europe (LMI) เพื่อรองรับยุทธศาสตร กระตุนการสรางนวัตกรรม เพื่อผลักดันใหยุโรปเปนผูนําใน 6 สาขา คือ e-health การกอสราง เครื่องนุงหม อัจฉริยะ สินคาไบโอ การนําของเสียกลับมาใชใหม และพลังงานหมุนเวยีน ซ่ึงภาคธุรกิจกําลังจับตาวาอาจนําไปสูการมีกฎระเบียบส่ิงแวดลอมที่เขมงวดขึ้น ซ่ึงประเทศไทยกต็องระวังในเรื่องดงักลาว และตองติดตามอยางใกลชิดเพื่อใหสามารถหาแนวทางรองรับมาตรฐานที่สูงขึ้นภายในอียูได

Page 36: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู
Page 37: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู
Page 38: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู
Page 39: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

4. b l I 4 ~ ~ ~ ~ 5 1 6 ~ f l ~ ~ l f d ~ ~ ~ 9

I I M i i - 1 ~ ~ ~ i ~ f l ~ ~ i ~ 1 ~ ~ ~ ~ i l ~ ~ ~ ~ i i ~ 0 i r ~ u 5 ~ ~ ~ 1 l f i ~ ~ d ~ ~ a " ~ a i ~ m ~ ~ ~ a s h ~ $ u u ~ i s A 9 d a

dunns%nmunsin~~sum~iiis~3~w"~~~u~~u"~w n ~ u Y d a w

rioudr:?Gaian;ni? s,ooo YIJILLB-J ~ ~ n n t l ~ ~ w u n . r ~ u u u s ~ s % ~ ~ ~ n ~ ~ w " ~ u i a i i ~ ~ ~ ~ ~ ~ ~ l u ~ n ~ u ~

h u ~ u i i a w i ~ h u r n i u f p l a i % ~ ~ ( ~ % ~ i ~ o ~ ~ o ~ ~ ~ ~ ~ i $ ~ l f i u l n i a c i o ~ ~ ~ ~ i i a u ~ ~ ~ n u ~ u ~ n E u

rnlnsniisG?m n&sdqnu - a h ~ i ~ u a s ~ ~ u o ~ ~ y ~ ~ ~ ~ u ~ d ~ ~ ~ ~ ~ ~ ~ i ~ 3 u ~ ~ ~ ~ ~ a a i u i ~ u i u

~ ~ U ~ S S U ~ I U I ~ U . I ~ ~ R ~ B ~ R ~ U ~ S ~ I W ~ . I ~ E I S I ~ ~ ~ ~ ~ ~ U ~ ~ R ~ ~ ~ ' ~ O O ~ L ~ U ~ ~ ~ O ~ ~ ~ ~ ~ ~ O U ~ ~ ~ ~ &ih

A d d ~ 3 ~ a m ~ ~ n n u u u a ~ ~ ~ ~ ~ ~ ~ ~ ~ i ~ ~ i ~ ~ ~ k ~ ~ ~ d ~ a ~ t l w ' ~ ~ ~ ~ ~ i a * ~

~nd:m~crdu~umi ueau~lui9udu aiuirolihoonln'du 3 yn I6116 - r n l r u ~ u ~ w i n ~ u ~ u o i y s,600-3,ooo 7 m~u:ijrintlni.-iaul~4~du~ ri3ulnG~iiuiiii

d ~ ~ ~ l u w n ~ i d s A ~ u ~ n " u 5 ~ ~ ~ u a i u ~ a i ? d d ~ ~ n n l ~ i ~ X a u a i u ~ ? ~ f i m ~ u &mniilfluda~tpi

- mvu~n'uiwiorjunrns oiy 3,000 3-2,300 3 ~f Iu i l l j~~~~~iUYid~n~ap.p: ~ ~ ~ I s ~ ~ B I ~ R ~ u miriim<s.pu"odi.rq lin:ihirn~l4~nadn i%iin~tll:~~~n~~u~ij111 Si~tluir'utYn~ u i i? i i .v i? ui.rnh

nnaaF is6aua1u~~wn%1n '9~a~~ i~uuZ~ i~~

- mru:n'u~wiau'udil,u a y 2,300 3-1,800 1 ~ u ~ n ~ i ; m ~ 1 ~ ~ ~ 6 n l u f i ~ ~ . i i 1 1 ~ 8 ~ ~ ~ 0 i i ~ ~ u a

nri-isimiir mu i i n v ~ ~ ~ i u s o . m i a u ~ ~ n i ~ ~ 4 ~ 1 i ~ ~ ~ ~ u ~ ~ ~ u a a ~ a 1 t l ~ u w ' u ~ ( ~ i a u s3liA9rnX a

i~oun~mil1u~i~R~uuY;Ua~iRa fioui~:i;m5~muiuil~uni~uz~uiw iFnuii~uont;~uii~nau+iA~q

1163G1riu d - r ~ n ? l j i i ~ u ~ n A m . a ~ z ~ a a m a ~ u ~ ( a u ~ i % ~ ~ ~ ~

~ina~lunolnkGiu~?u~ ~$uurnn~ands:mmu~~nw1~a'wu~55~1 in~~umi$un-~duulflu 4 d 4

urnnInil d o w.n. 2535 ~u~~n~warnummcn"W"oi~mi AD ~guisnuutuirro4~,~~n~~upI~~~wwn5~u

N ~ ~ ~ I T O E ~ s u d d s i n B ~ ~ ~ ~ u ~ ~ ~ ~ ~ ~ P ~ ~ ~ ~ ~ ~ l ~ ~ ~ f l B ~ ~ d i ~ a * ~

Page 40: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู
Page 41: กลุ มงานห ุด · กลุ มงานห ุด สํานัองสมิชาการกวสํานั กงานเลขาธิการสภาผู

คณะผูจัดทํา

ที่ปรึกษา

นายจเร พันธุเปรื่อง รองเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

นางวิจิตรา วัชราภรณ ผูอํานวยการสํานักวิชาการ

นางสาวอารีรัตน วิชาชาง ผูอํานวยการกลุมงานหองสมุด

จัดทําสาระสังเขป

นางณิชานี ฉุนฉลาด บรรณารักษ ๘

นางสาวสุนิดา บุญญานนท บรรณารักษ ๘

นางสาวพจพิณ พรมเอี่ยม บรรณารักษ ๖

นางสาววิจิตรา ประยูรวงษ บรรณารักษ ๔

นางสาววัชราพร ยอดมิ่ง นิติกร ๔

นางสาวรติกร เจือกโวน นิติกร ๓

ออกแบบปก

นายบัณฑิต อุทาวงค บรรณารักษ ๕

จัดพิมพ

นางสาววศินี มัน่กลัด เจาหนาที่บันทกึขอมูล ๖

จัดทํารูปเลม

นางสาวญานิกา เฟองฟุง เจาพนักงานธุรการ ๕

นางสาวสุพัณดา สุภาพ เจาหนาที่ธุรการ ๓

นางสาวปรมาภรณ คงสุวรรณ เจาหนาที่ธุรการ ๒

นางสารภี ชางพลี เจาหนาที่หองสมุด ๔

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

พิมพที่ สํานักการพิมพ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร