โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7....

42
โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง โลกเปนดาวเคราะหดวงหนึ่งในระบบสุริยะ (Solar System) เมื่อมองจากยานอวกาศแลว จะเห็นไดชัดเจนวาวา มีสัณฐานกลมและมีสีน้ําเงินเปนสวนใหญ ทั้งนี้โลกยังเปนดาวเคราะหเพียง ดวงเดียวในระบบสุริยะที่มีชั้นบรรยากาศหอหุซึ่งทําใหสิ่งมีสามารถดํารงชีวิตดํารงชีวิตและมี วิวัฒนาการมาเปนลําดับ ภาพที1. ภาพถายโลก จากยานอวกาศ (ที่มา : http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/936/1936/images/earth01.gif) มนุษยเปนสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่อาศัยอยูในโลกนี้ที่อาจนับไดวามีขนาดของสมองเมื่อเทียบ เปนสัดสวนตอรางกายแลวมีขนาดใหญกวาสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น มนุษยจึงใชความสามารถจาก มันสมองของตนพัฒนาสติปญญาและความคิดสรางความรูในศาสตรตางๆ เพื่อใหเผาพันธุของตน มีชีวิตที่สะดวกสบาย กระนั้นมนุษยก็ยังคงมีความสงสัยเกี่ยวกับที่มาและที่ไปของโลกซึ่งตนอาศัย อยู และพยายามอยางยิ่งที่จะตั้งสมมติฐาน ขอสังเกต และสรางแนวคิดตางๆ เพื่อคนควาเกี่ยวกับ

Transcript of โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7....

Page 1: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง โลกเปนดาวเคราะหดวงหนึง่ในระบบสุริยะ (Solar System) เมื่อมองจากยานอวกาศแลวจะเหน็ไดชัดเจนวาวา มีสัณฐานกลมและมีสีน้าํเงนิเปนสวนใหญ ทัง้นี้โลกยังเปนดาวเคราะหเพยีงดวงเดียวในระบบสุริยะที่มชีัน้บรรยากาศหอหุม ซึง่ทาํใหส่ิงมีสามารถดํารงชีวิตดํารงชีวิตและมีวิวัฒนาการมาเปนลําดับ

ภาพที่ 1. ภาพถายโลก จากยานอวกาศ (ที่มา : http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/936/1936/images/earth01.gif) มนุษยเปนส่ิงมีชีวิตชนิดหนึง่ที่อาศัยอยูในโลกนีท้ี่อาจนบัไดวามีขนาดของสมองเม่ือเทียบเปนสัดสวนตอรางกายแลวมีขนาดใหญกวาส่ิงมีชีวิตชนดิอ่ืน มนุษยจงึใชความสามารถจากมันสมองของตนพัฒนาสตปิญญาและความคิดสรางความรูในศาสตรตางๆ เพื่อใหเผาพนัธุของตนมีชีวิตที่สะดวกสบาย กระนั้นมนุษยก็ยงัคงมีความสงสัยเกี่ยวกับที่มาและที่ไปของโลกซึ่งตนอาศัยอยู และพยายามอยางยิง่ที่จะต้ังสมมติฐาน ขอสังเกต และสรางแนวคิดตางๆ เพื่อคนควาเกี่ยวกับ

Page 2: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

วิวัฒนาการของโลกที่มีมาต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน เพือ่ที่จะใชอธิบายปรากฏการณทางธรรมชาติตางๆที่เกิดข้ึนบนโลก สรรพส่ิงในโลกนี้ลวนมกีารเปล่ียนแปลง การเปล่ียนแปลงบางอยางที่เกิดข้ึนนั้น ใชระยะเวลายาวนานนับแสนหรือนับลานป เชน ววิัฒนาการของสัตวเพื่อใหมีความสามารถในการดํารงชีพที่ดีข้ึน ในขณะทีก่ารเปล่ียนแปลงบางอยางเพยีงรอยหรือสิบปเทานัน้ เชน การผุพงัของบานเรือนส่ิงกอสราง โบราณสถานตางๆ ซึ่งปรากฏการณในลักษณะดังกลาวนีส้ามารถเหน็ไดในเวลาไมนาน การเปล่ียนแปลงในลักษณะตางๆของโลกนี้แสดงใหเหน็ถึงความเปนอนิจจังของโลก อยางไรก็ดี เนื่องจากการเปล่ียนแปลงของโลกในระดับพื้นผิว (global scale) นั้น เปนกระบวนการทีใ่ชระยะเวลายาวนานจนมนุษยไมอาจจะสังเกตเห็นไดในชวงระยะเวลาส้ันๆ ดังนัน้หากจะศึกษาความเปล่ียนแปลงของโลก ทวีป และมหาสมุทร ก็จําเปนจะตองศึกษายอนกลับไปในอดีตโดยใชหลักฐานทางวิทยาศาสตรมาอธบิายเพื่อสนับสนุนสมมติฐานหรือทฤษฎีเหลานั้นอยางเปนรูปธรรม โครงสรางโลกในสมัยโบราณ

หากศึกษาแผนที่โลกโบราณของชาวตะวันตก อยาง Herodotus นักประวัติศาสตรชาวกรีกซ่ึงดํารงชีวิตอยูในชวง 484-425 ปกอนคริสตกาล จะพบวาสัณฐานของโลกตามความเชื่อของชาวตะวันตกในยุคนั้น มีลักษณะแบน โดยมีมหาสมุทรลอมรอบและทวีปตางๆก็เชื่อมติดตอกันเปนผืนแผนดินเดียว ทวีปตางๆในสมัยนั้น ไดแก ทวีปยุโรป เอเชีย และลิเบีย

จากความเชื่อดังกลาวทําใหมนุษยในยุคนั้นไมกลาเดินเรืออกไปนอกชายฝงมากนักเพราะเกรงวาจะตกขอบโลกได

ในขณะที่โลกทางฝงตะวันออกนั้น ก็เชื่อวาโลกมีสัณฐานแบนและมีมหาสมุทรลอมรอบเชนเดียวกันกับชาวตะวันตก คติความเช่ือดังกลาวปรากฏเปนหลักฐานในพระไตรปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค และ ขุททกนิกาย ชาดก โดยไดกลาวในรายละเอียดวา ใตแผนโลกนั้นมีปลาขนาดใหญ ชื่อปลาอานนทหนุนอยูใตผืนโลก คราวใดที่ปลาอานนทขยับตัวหรือพลิกตัว ก็จะทําใหเกิดแผนดินไหวข้ึนไดนั่นเอง

Page 3: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 2. แผนที่โลกที่วาดโดย Herodotus นักประวัติศาสตรชาวกรีก ประมาณ 484-425 ป กอนคริสตกาล (ที่มา Harold, 1994) โครงสรางและสัณฐานของโลกในปจจุบัน ความเช่ือในสมัยโบราณที่เชื่อวาโลกแบน ไดรับการพิสูจนวาไมเปนความจริงเมื่อ คริสโตเฟอร โคลัมบัส (Christopher Columbus) ซึ่งเช่ือวาโลกนั้นมีรูปรางเปนทรงกลม และมนุษยสามารถไปถึงตะวันออกไกล (Far East) โดยการเดินเรือไปทางทิศตะวันตกแทนที่จะแลนไปทางทิศตะวันออกได คริสโตเฟอร โคลัมบัสไดทําการพิสูจนความเชื่อวาโลกกลมโดยการแลนเรือรอบโลก โดยใชลูกเรือทั้งส้ิน 88 คนจากเกาะคานารีเมื่อ 3 สิงหาคม 1492 ไปทางทิศตะวันตก ไปคนพบทวีปอเมริกา และออมทวีปอเมริกาใตออกไปทางตะวันตก และกลับข้ึนฝงที่เกาะ San Salvador Island เมื่อ 12 ตุลาคม 1492 และจากการเดินเรือในคร้ังนั้นของคริสโตเฟอร โคลัมบัส ทําให เฟอรดินาน มาเกลลาน (Ferdinand Magellan) ไดตัดสินใจออกเดินเรือโดยใชเสนทางใกลเคียงกับเสนทางที่ไดระบุไวในการเดินเรือของคริสโตเฟอร โคลัมบัส ในภายหลังอีกคร้ัง

Page 4: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพท่ี 3. เสนทางเดินเรือของเฟอรดินาน แมกเกลแลน (Voyage of Magellan) (ที่มา Harold, 1994) จากผลการพิสูจนทั้งสองคร้ัง ของโคลัมบัส และแมกเกลแลน ความเช่ือวาโลกกลมจึงเปนที่ยอมรับมากข้ึน เปนลําดับ โดยภายหลังยังมีหลักฐานและเหตุผลสนับสนุนมากมายดังตอไปนี้ หลักฐานที่แสดงวาโลกมีสัณฐานกลม - การสังเกตเรือที่แลนเขาหาชายฝง หากเรายืนอยูที่ชายฝงใชกลองสองทางไกลสองดูเรือที่กําลังแลนเขาหาชายฝง ภาพแรกที่จะเห็นคือสวนที่สูงที่สุดของเรือนั่นคือเสากระโดงของเรือ จากนั้นจึงจะมองเห็นสวนอ่ืนๆของเรือที่มีความสูงลดลงมาเชนดาดฟา จนกระทั่งเห็นเรือทั้งลํา

ภาพที่ 4 การมองเห็นเสากระโดงของเรือที่แลนเขาหาฝงกอนที่จะเห็นเรือทั้งลํา

Page 5: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

- การเกิดจันทรุปราคา ในชวงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น เงาของโลกจะทอดบังดวงจันทร ขอบเงาที่ปรากฏใหเห็นนั้นมีลักษณะโคงเหมือนเปนสวนหนึ่งของวงกลม

ภาพที่ 5 เงาของโลกที่บดบังดวงจันทรในการเกิดจันทรุปราคา (ที่มา : วาสนา ศรีรักษ) - ภาพถายของโลกจากยานอวกาศ ทุกภาพ จะเห็นอยางชัดเจนวาโลกมีสัณฐานกลม

ภาพที่ 6 ภาพถายจากยานอวกาศ (ที่มา : http://203.172.208.244/web/stu29/site1/images/A129p1x2.jpg)

Page 6: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

- การชั่งวัดส่ิงของ ไมวาจะทําการช่ังส่ิงของส่ิงเดียวกันที่ใดใดบนโลกก็จะมีน้ําหนักเทากัน เนื่องจากแรงดึงดูดของโลกท่ีกระทําตอมวลสารมีคาเทากัน เมื่อวัตถุนั้นอยูหางจากศูนยกลางของโลกเทากัน - การสังเกตจากตําแหนงดาวเหนือ ผูที่อยูในบริเวณใกลเสนศูนยสูตรจะเห็นตําแหนงของดาวเหนืออยูที่แนวระนาบของขอบฟา แตเมื่อตําแหนงบนพื้นโลกที่ผูสังเกตยืนอยูนั้นเล่ือนข้ึนไปทางข้ัวโลกเหนือมากข้ึนเร่ือยๆก็จะพบวาตําแหนงของดาวเหนือที่สังเกตไดนั้นจะสูงข้ึนจากแนวขอบฟาเร่ือยๆ และผูที่อาศัยอยูแถบข้ัวโลกเหนือจะเห็นดาวเหนืออยูที่ตําแหนงตรงศีรษะพอดี จากลักษณะดังกลาวแสดงใหเห็นวาถาตําแหนงของดาวเหนือสูงจากแนวระนาบข้ึนไป 1 องศา จะเทากับระยะทางบนพื้นโลกที่ผูสังเกตตองเดินทางข้ึนไปทางเหนือ 111 กิโลเมตร(69 ไมล)(วิชัย เทียนนอย 2536) นักวทิยาศาสตรเชื่อวาโลกมีอายุประมาณ 4500-4600 ลานป โดยที่ไมมีผูใดทราบวาในขณะนั้นโลกมรูีปรางเปนเชนใด แตคาดเดาวาในขณะนัน้โลกนาจะมีลักษณะเปนมวลหินหลอมเหลว ตอมาเมื่อโลกมอุีณหภูมิลดลง หนิหลอมเหลวนัน้จะมกีารเรียงตัวกนั แบงเปน 3 ชั้นโดยช้ันนอกสุดเปนของแข็ง และมีสัณฐานกลมโดยรอบ มีสวนแบนเลก็นอยบริเวณขั้วโลก บริเวณเสนศูนยสูตร(Equator)จะโปงกวาสวนอ่ืนๆ (Oblate Spheroid หรือ Asymmetrical circle) เนื่องจากโลกมีการหมุนรอบตัวเองทาํใหเกิดแรงหนีศูนยกลางทาํให ของเหลวที่อยูใตเปลือกโลกเคล่ือนตัวตามทิศทางของแรงที่เกิดข้ึน ดังนั้นหากทาํการวัดเสนรัศมีของโลกตามแนวข้ัวโลก (Polar Radius)จะไดระยะทาง 6356.9 กิโลเมตร นอยกวาความยาวของเสนรัศมีตามแนวศูนยสูตร (Equatorial Radius)ซึ่งมีระยะทาง 6378.4 กิโลเมตร

โครงสรางของโลก โครงสรางของโลกแบงออกเปน 3 ชั้น โดยแบงออกเปนชัน้แกนโลก(Core) ซึ่งอยูภายในสุด ถัดข้ึนมาเปนช้ันแมนเทิล(Mantle)ที่เต็มไปดวยหนิหนดืหลอมเหลว หรือที่เรียกวาแมกมา(Magma) และช้ันภายนอกสุด (Crust) หรือที่เรียกกนัโดยทั่วไปวาวาช้ันเปลือกโลก

Page 7: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 7 สัณฐานและโครงสรางของโลกช้ันแกน ชัน้แมนเทิล และช้ันเปลือกโลก (ทีม่า : Harold, 1994)

Page 8: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 8 โครงสรางของโลกในชั้นตางๆ และ โครงสรางของช้ันเปลือกโลก (ที่มา : Harold, 1994)

โครงสรางโลกช้ันแกน (core)

เปนโครงสรางโลกที่อยูชั้นในสุดมีความหนาวัดจาดจุดศูนยกลางได 3473-3486 กิโลเมตร

โดยประมาณแบงไดเปน 2 สวน คือ แกนโลกช้ันใน และแกนโลกช้ันนอก

แกนโลกชั้นใน หรือ แกนพิภพภายใน (Inner Core) เปนโครงสรางของโลกที่อยูดานในสุด ประกอบดวยโลหะที่มีสถานะเปนของแข็ง มีเหล็กและนิเกิลเปนองคประกอบสวนใหญ มีความหนาจากจุดศูนยกลาง 1216 กิโลเมตร โดยประมาณ หรืออยูลึกลงไปจากเปลือกโลกประมาณ 5100-6370 กิโลเมตร มีความหนาแนน 16.8-17.2 กรัม/ลูกบาศกเซนติเมตร

Page 9: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

แกนโลกชั้นนอก หรือ แกนพิภพภายนอก (Outer Core) เปนโครงสรางที่อยูถัดจากแกนโลกช้ันในข้ึนมา มีสถานะเปนของเหลวประกอบดวยเหล็กและนิเกิลหลอมละลายอยูเปนสวนใหญ มีความหนาประมาณ 2270 กิโลเมตรหรืออยูลึกลงไปจากเปลือกโลกประมาณ 2900-5100 กิโลเมตร มีความหนาแนน 9.4-14.2 กรัม/ลูกบาศกเซนติเมตร รวมมวลสารทั้งแกนโลกช้ันในและช้ันนอกคิดเปนรอยละ 31.5 ของมวลโลก โครงสรางโลกช้ันแมนเทลิ(Mantle)หรอืชั้นกลาง(Intermediate Zone)

เปนโครงสรางของโลกทีเ่ปนของเหลว ประกอบดวยหินหนืดคลายพลาสติกในสวนที่อยูดานนอกติดกนักับชัน้เปลือกโลก (Asthenosphere) และหินหลอมเหลว (Magma) ซึ่งเกิดจากพลังงานความรอนจํานวนมหาศาลเนื่องจากการสลายตัวของสารกมัมนัตรังสี ซึ่งกอใหเกิดความรอนตามขบวนการทางนิวเคลียร (Thermonuclear Reaction) มแีรธาตุประกอบที่สําคัญละลายอยู คือ ซิลิเกตของเหล็กและแมกนีเซียมรวมกัน มีอุณหภูมิและความดันสูง เปนชั้นที่อยูถัดจากแกนโลกช้ันนอกข้ึนมา มคีวามหนา 2865-2895 กิโลเมตรโดยประมาณ หรืออยูลึกลงไปจากเปลือกโลกประมาณ 65-2900 กิโลเมตรจากเปลือกโลก มีความหนาแนน 3.3-5.7 กรัม/ลูกบาศกเซนติเมตรมีมวลทัง้หมดคิดเปนรอยละ 68.1 ของมวลโลก ในระหวางชั้นนี้และเปลือกโลกจะมีแนวชั้นหนิซ่ึงอยูในชั้นเปลือกโลกแทรกอยูอีกช้ันหนึง่เรียกวา โมโฮโรวิซิค หรือแนวความไมตอเนื่องของโมโฮ (Mohorovicic Discontinuity) โครงสรางโลกช้ันนอก หรอื เปลือกโลก(Crust)

เปนโครงสรางชั้นนอกสุดมีความหนาประมาณ 5 - 65 กโิลเมตรมีลักษณะเปนหินแข็ง(Lithosphere) แยกจากช้ันแมนเทลิที่แนวความไมตอเนื่องของโมโฮโรวิซคิที่ระดับความลึกประมาณ 5-6 กิโลเมตรจากผิวโลก แตในบางแหงจะลึกถึง 30-70 กิโลเมตร ประกอบดวยหินที่สําคัญ 3 ชนิด คือ หินอัคน ี(Igneous Rock) หินช้ันหรือตะกอน (Sedimentary Rock) และหินแปร(Metamorphic Rock) เปลือกโลกแบงออกเปน 2 ชนิด คือ เปลือกโลกทวีปและเปลือกโลกมหาสมุทร ซึ่งมีความแตกตางกนั ดังนี ้

Page 10: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 9 โครงสรางและองคประกอบของเปลือกโลกทวีป และเปลือกโลกมหาสมทุร (ที่มา : Harold, 1994) ตารางที ่1 ความแตกตางขององคประกอบและคุณสมบัติของเปลือกโลกทวีปและเปลือกโลกมหาสมุทร

เปลือกโลกทวปี เปลือกโลกมหาสมุทร ชนิดของหนิ สวนใหญเปนหินแกรนิต (Granite) สวนใหญเปนหินบะซอลท ( B a s a l t )

ความหนาแนน เฉล่ีย 2.65กรัม/ลูกบาศกเซนติเมตร เฉล่ีย 3 . 0 กรัม/ลูกบาศกเซนติเมตร

แรธาตุและสี แรซิลิกา (Si) และอลูมิเนียม (Al) เปนสวนประกอบสําคัญ มีสีออน (Sial)

แรซิลิกา (Si) และแมกนีเซียม (Mg) เปนสวนประกอบสําคัญ มีสีเขม (Sima)

ความหนา 5-65 กิโลเมตร เฉล่ีย 35 กิโลเมตร (หนากวา)

3.6-10.8 กิโลเมตร เฉล่ีย 7.2 กิโลเมตร (บางกวา)

ดุลยเสมอภาค (Isostasy) ดุลเสมอภาค หมายถงึสภาพการวางตัวของเปลือกโลกทวีป (หนิแกรนิต) และเปลือกโลกมหาสมุทร (หนิบะซอลท) บนหนิหนืด (Magma) ในสภาพสมดุล คลายกับน้าํแข็งทีล่อยอยูในน้ํา หรือการลอยตัวของภูเขาน้าํแข็งในทะเล โดยระละ 93 ของเปลือกโลกทวีปจมอยูในชั้นแมนเทิล ในทาํนองเดียวกันรอยละ 92 ของภูเขาน้ําแข็งก็จมอยูใตทะเล ตัวอยางการวางตัวหรือการลอยของเปลือกโลกทวปีและภูเขาน้ําแข็ง ตางก็เปนของแข็งที่ลอยตัวอยูเหนือของเหลว และมสีวนของของแข็งที่จมลงในของเหลวที่รองรับอยูเบ้ืองลาง การลอยตัวเชนนี้เปนการลอยตัวที่อยูในระดับสมดุล (Isostatic Level) ทวปีตางๆ ประกอบดวยหนิทีม่มีวล รูปรางและขนาดตางกนั ดังนัน้การลอยอยูของทวีปแตละทวปีบนชั้นแมนเทลิ ยอมจะมีสวนที่จมอยูในชั้นแมนเทิลไมเทากัน นัน่หมายถงึทวีปตางๆ ยอมทีจ่ะลอยตัวอยูในระดับสมดุลที่ไมเทากนั เราเรียกการลอยตัวของทวีปบนชั้นแมนเทิลวา Isostasy หรือ “Continental Flotation” จากการศึกษาพบวา ในสมัยโบราณบริเวณที่มีน้าํแข็งปกคลุมอยางหนาแนนตลอดเวลาเชนบริเวณคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย จะมีการจมตัวลง

Page 11: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ของเปลือกโลกทวีปบริเวณนั้น เมื่อน้ําแข็งมีการละลาย ก็จะทําใหมวลน้ําแข็งที่ปกคลุมอยูลดลงสงผลใหมนี้ําหนกัน้าํแข็งทีก่ดทับอยูนอยลง เปลือกโลกทวีปในบริเวณนั้นจะมีการลอยตัวสูงข้ึน ประมาณ 1 เซนติเมตรตอป เพื่อปรับตัวเขาสูสมดุลใหมและจะหยุดเมือ่การปรับตัวนัน้ไดเขาสูดุลยเสมอภาค (Isostatic Equilibrium)

ภาพที่ 10 การลอยตัวของเรือเมื่อมีน้ําหนกับรรทุก เรือจะมีการเปล่ียนแปลงสมดุลในการลอยตัวใหมเมื่อมนี้ําหนักบรรทุกมากข้ึน (ที่มา : Tom, 2006)

Page 12: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที ่11 การปรับตัวในการลอยตัวของช้ันโลกเปลือกที่มีความหนาแตกตางกนัทีล่อยตัวอยูเหนอื ชั้นแมนเทิล เปรียบเทียบกบัการลอยตัวของน้าํแข็งในแตละขนาด (ทีม่า : William and Sternberg, 1981) การกาํหนดตําแหนงบนพืน้โลก จากการที่โลกมีขนาดใหญมหึมา ทําใหมนุษยมีปญหาในการกาํหนดตําแหนงของสถานที่ตางๆ บนโลก นักวิทยาศาสตรจึงไดประยุกตวธิีการทางคณิตศาสตรมาใชในการกําหนดตําแหนง พื้นที่ตางๆ ของโลก โดยอาศัยการลากเสนรอบโลกซ่ึงแบงการลากเสนรอบโลกเหลานั้นเปน 2 ชนดิดวยกนัไดแก วงกลมวงใหญ (Great Circle) เปนการลากเสนวงกลมรอบโลก โดยใหวงกลมนั้นมแีนวระนาบตัดผานจุดศูนยกลางของโลก คือ เสนศูนยสูตร และ เสนลองติจูด(Longitude) วงกลมวง

Page 13: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ใหญนี้จะมีขนาดความยาวเทากนัถาหากลากเสนรอบวงโดยมีระนาบในแนวต้ัง และจะมีวงกลมวงใหญที่มีเสนรอบวงยาวที่สุด คือ เสนศูนยสูตร วงกลมวงเลก็ (Small Circle) เปนการลากเสนวงกลมรอบโลก โดยกาํหนดระยะทางเชิงมุมบนพื้นโลกเปนจํานวนองศาจากจุดศูนยกลางของโลก โดยนับเสนศูนยสูตรเปนระยะทางเชิงมุมที่ศูนยองศา การกาํหนดตําแหนงดังกลาวเปนองศานี้ เมื่อนาํแตละตําเหนงบนพืน้โลกมาตอกันก็จะไดเสนรอบวงรอบโลก ซึ่งขนานกันไปกับเสนศูนยสูตร และทุกๆ เสนจะมีความยาวลดลงเมื่อระยะทางเชิงมุมเพิ่มข้ึน ไดแก เสนละติจูด(Latitude) ซึ่งบางคร้ังเรียกวา เสนขนานแหงละติจดู(Parallels of Latitude) เสนละติจูด (Latitude) หรือเรียกกันโดยทั่วไปวา เสนรุง เปนเสนกําหนดระยะทางเชิงมุมบนโลกเปนจํานวนองศาจากจุดศูนยกลางของโลก เสนละติจูดจัดเปนวงกลมวงเล็ก (ยกเวนเสนศูนยสูตร เสนละติจูดนับเปนปจจัยกําหนดอุณหภูมิปจจัยหนึ่ง เนื่องจากเมื่อละติจูดสูงข้ึนจะทําใหระยะทางท่ีแสงเดินทางมายังโลกเพิ่มข้ึน เสนลองติจูด (Longtitude) หรือที่เรียกกนัโดยทั่วไปวา เสนแวง เปนเสนกําหนดระยะทางเชิงมุมทวีัดจากจุดศูนยกลางของโลกไปทางตะวันออกหรือตะวันตก ในบางคร้ังเรียกวาเสนเมอริเดียน (Meridian) การกําหนดทิศทางไปทางตะวันออกหรือตะวันตกนัน้ วัดจากเสน เมอริเดียนยานกลาง หรือ (Prime Meridian) ซึ่งที่ประชุมนานาชาติ เมื่อป ค.ศ.1884 กําหนดใหเสนลองติจูด 0 องศา ผานหอดูดาวเมืองกรีนิซ ใกลกับมหานครลอนดอน และมีเสนลองติจูดอ่ืนๆ เปนแนวรัศมีไปทางตะวนัออกและตะวันตกดานละ 180 องศา ดังนัน้ เสนละติจูดจงึเปนปจจัยที่ใชกําหนดเวลาบนโลก

Page 14: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 12 การลากเสนละติจูดและลองติจูด เพื่อใชบอกพิกัดบนโลก (ที่มา : Tom, 2006)

ดังนัน้การกาํหนดตําแหนง ตําบลพืน้ที่บนโลกจึงใชแนวตัดกันของเสนละติจูดและเสนลองติจูด เชน ตําแหนงตําบลพื้นที่ของกรุงเทพอยูที่ ละติจูด 13 องศา 45 ลิปดา เหนือ ลองติจูด 100 องศา 29 ลิปดาตะวนัออก การกาํเนิดของทวีปและมหาสมุทร สมมติฐานเกีย่วกับการเลือ่นลอยของทวีป หรือทฤษฎีทวีปจร (Continental Drift) สมมติฐานนี้ต้ังข้ึนเมื่อป ค.ศ. 1912 โดย Alfred Wegener นักวิทยาศาสตรชาวเยอรมันซ่ึงทําการศึกษาสภาพภูมิอากาศในยุคดึกดําบรรพ โดยอาศัยหลักฐานจากหินใตทะเล

ภาพที่ 13 ทวปี Pangaea ซึ่งมีแผนดินเช่ือมติดกันทัง้หมด และมีทะเล Tethys Sea เพียงทะเล

เดียวตามทฤษฎี Continental Drift (ที่มา : Harold, 1994)

Page 15: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

สมมติฐานนีก้ลาววา เมื่อ 200 ลานปกอน โลกมีทวีปอยูเพียงทวีปเดียวซ่ึงมีขนาดใหญมากช่ือ Pangaea เมื่อเวลาผานไปจนกระทั่ง 180 ลานปที่ผานมา ทวีป Pangaea ไดแยกจากกันเปน 2 ทวีป คือ Laurasia อยูทางเหนือ และ Gondwanaland อยูทางใตโดยมีทะเล Tethys Sea ขวางกั้นอยูเพยีงทะเลเดียว จากนั้นทวีปตางๆ ไดเคล่ือนที่จนกลายเปนทวีปตางๆดังที่ปรากฏอยูในปจจุบันนี้ สมมติฐานนี้ไมไดรับการยอมรับจากนักวทิยาศาสตรในสมัยนั้นเพราะ ไมสามารถอธิบายกลไก และขบวนการที่สามารถทําใหแผนดินขนาดใหญมหึมาเคล่ือนที่แยกจากกนัได เนื่องจากการเคล่ือนที่ของทวีปตองใชพลังงานมากมายมหาศาล

ภาพที่ 14 การนําขอบทวีปตางๆมาเรียงตอกันจนตอกนัเกือบสนิทโดยใชคอมพิวเตอรของ Sir

Edward Bullard แหงมหาวิทยาลัยเคมบริดจ เมื่อป ค.ศ. 1960 (ที่มา : Tom, 2006) แนวความคิดนี้เกิดจากการศึกษารูปรางลักษณะของทวปีตางๆ โดยเฉพาะบริเวณขอบทวีป เมื่อนํามาประกบกนัแลวจะเขากันไดดี คลายกับการตอชิ้นสวนของภาพ(Jigsaw) สมมติฐานนี้มีหลักฐานสนับสนนุ คือ การกระจายของซากส่ิงมีชวีิตตางๆ (Fossil) ที่อยูในชัน้หนิที่มีอายุเทากัน ในบริเวณทีน่าจะเคยเปนแผนดินที่เชื่อมติดกนั จะเหมือนกนั แมจะอยูหางไกลกันมากถึงคนละทวีป โดยมีมหาสมทุรกวางใหญขวางกั้น จนไมอาจทําใหสัตวนัน้วายน้ําขามไปได การ

Page 16: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

กระจายของสัตวชนิดตางๆ ที่แมวาจะมวีิวฒันาการไปเปนคนละชนิดแลวตามในแตละทวีป แตยังมีรองรอยหรือหลักฐานที่บงบอกใหเห็นวา เดิมเคยเปนส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกนัและอาศัยอยูในบริเวณเดียวกนั ซึง่ในเวลาตอมาแผนดินไดแยกออกจากกันจนสัตวเหลานั้นไมสามารถเดินทางขามไปหากันได ทําใหไมสามารถถายทอดและดํารงลักษณะทางพันธกุรรมไวไดเกิดการวิวัฒนาการเปลี่ยนรูปรางไป

ภาพที่ 15 ความคลายคลงึกันของชนิดซากดึกดําบรรพ ในบริเวณขอบทวีปที่อยูหางกนัโดยมีทะเล ขวางกัน้ ในชัน้หนิที่มีอายุเทากนั (ที่มา : Harold, 1994)

สมมติฐานเกีย่วกับการแผขยายตัวออกของพ้ืนมหาสมุทร (Sea-floor Spreading) เปนสมมติฐานต้ังข้ึนโดย Harry Hess ซึ่งทําการศึกษาแนวแมเหล็กโบราณในหนิ และพบวาช้ันหนิที่อยูหางจากแนวสันเขาใตน้าํเปนระยะทางใกลเคียงกนั จะมีแนวแมเหล็กโบราณเหมือนกนั และมีอายุเทาๆ กนั ในป ค.ศ.1950

Page 17: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 16 แนวแรงแมเหล็กโบราณในช้ันหนิที่อยูหางจากแนวสันเขาใตน้ําเปนระยะเทาๆ กันและมีอายุเทากนั ซึ่งปรากฏการณนี้สามารถใชอางอิงสนับสนนุทฤษฎี Sea-Floor Spreading (ที่มา : Harold, 1994)

สมมติฐานนีก้ลาววา พืน้ทองทะเลมีการเคล่ือนตัวโดยการแผขยายตัวออกชา ๆ ตามแนว

สันเขาใตน้าํกลางมหาสมุทร (Mid-Oceanic Ridge) โดยมีแรงดันมหาศาลของหนิหนืดจากชั้นแมนเทิล ดันข้ึนมาบริเวณยอดแนวสันเขาและแข็งตัวเมือ่เย็นลง ทําใหเกิดเปนแผนดินใหมผุดข้ึนในบริเวณดังกลาว ดันแผนดินที่มีอยูเดิมไปทางดานขางตามแนวสันเขาใตน้ํากลางมหาสมุทร เกิดผลทําใหทาํใหแผนดินมกีารเคลื่อนที่ 2-3 เซนติเมตร/ป

Page 18: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 17 การแตกออกของเปลือกโลกโดยมีแรงดันของหินหนืดที่หลอมเหลวในช้ันแมนเทิลดันออกใหแผขยายไปทางดานขางทั้ง 2 ดาน (ที่มา : Tom, 2006)

การที่เปลือกโลกแตกออกโดยมีแรงดันหนิหนืดทีห่ลอมเหลวอยูในช้ันแมนเทิล ดันใหแผขยายออกไปทางดานขางทัง้สองขางดังกลาวนี้ และแผนดินที่เกาแกที่สุดก็จะถูกทาํลายที่บริเวณเหวมหาสมุทร (Trench) สมมติฐานนี้สามารถอธิบายสมมติฐานเกี่ยวกับการเล่ือนลอยของทวีป หรือทวีปจรไดหลายประการ เชน การตอกันอยางสนทิของทวีปที่อยูทัง้ 2 ขางของมหาสมทุรแอตแลนติกซ่ึงอาจเกิดการแยกจากกันเปนคนละทวีปตามแนวการแผออกของพืน้ทองทะเล

Page 19: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 18 การแผออกพื้นทองทะเลตามแนวสันเขาใตทะเล ในภาพแผนดินที่เกาแกที่สุดจะถกูทําลายที่บริเวณ Trench (ทีม่า : Harold, 1994)

นอกจากนีก้ารมีกอนน้ําแข็งบนทวีปขนาดใหญเมื่อประมาณ 200 ลานปมาแลวที่เคล่ือนไปทางเหนือสูอัฟริกา (Africa) และอินเดีย (India) ซึ่งในปจจุบันบริเวณนี้เปนแองมหาสมทุรลึก เนื่องจากกอนน้ําแข็งขนาดใหญในลักษณะธารน้าํแข็ง(Glacier) มีตนกําเนิดจากพื้นดิน(Antarctica) มากกวามหาสมุทร จงึเช่ือไดวาทัง้อัฟริกาและอินเดียเคยเชื่อมติดกันเปนแผนดินเดียวกนั (พิชาญ สวางวงศ. 2527) ในป ค.ศ. 1963 สมมติฐานนีไ้ดเปนที่ยอมรับกันอยางมากเมื่อ Frederick Vine ไดศึกษาแนวแมเหล็กโบราณที่อยูในชั้นหนิทั้ง 2 ขางของแนวสันเขาใตน้ําทีมีระยะหางจากสันเขาเทาๆ กัน และมีการชี้ไปทางเดียวกัน ในบางบริเวณก็มีการสลับข้ัวเหนือเปนข้ัวใต และสลับข้ัวใตเปนข้ัวเหนือ ในช้ันหินที่อยูหางจากแนวสันเขาเปนระยะทางเทาๆ กันและมีอายุเทากัน สมมติฐานนี้สามารถอธิบายการเคล่ือนตัวของเปลือกโลกไดเปนอยางดีและมักจะใชอธิบายควบคูกับสมมติฐานเกี่ยวกับแผนเทคโทนิค (Plate Techtonic) หรือ ทฤษฎีของแผนเทคโทนิค สมมติฐานเกีย่วกับแผนเทคโทนิค (Plate Techtonic) ทฤษฎีนี้กลาววาเปลือกโลกไมไดเปนแผนเดียวกนัทัง้หมด แตประกอบดวยแผนเปลือกโลกตางๆ ทั้งที่มีขนาดใหญและเล็กไมนอยกวา 16 แผน เรียกแผนเปลือกโลกดังกลาวนี้วา แผนเทคโทนิค แผนเทคโทนิคเหลานี้เชื่อม

Page 20: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ติดกันคลายตะเข็บของลูกเบสบอล แผนเทคโทนิคแตละแผนมีแนวสันเขาใตมหาสมุทรและเหวมหาสมุทรเปนขอบเขต ดังนั้น แผนเทคโทนิคแตละแผนจึงเช่ือมติดกนัที่บริเวณแนวสันเขาใตน้ําและเหวมหาสมุทร เมื่อเกิดแรงดันจากหนิหนืด (Magma) จากชัน้แมนเทิลดันข้ึนมา จงึทาํใหแผนเทคโทนิคมีการเคล่ือนที่ ซึง่การเคล่ือนที่นีห้ากเกิดข้ึนรุนแรงก็จะเกิดแผนดินไหว

ภาพที่ 19 แผนเทคโทนิคตางๆที่ประกอบกันเปนช้ันเปลอืกโลกทัง้ 16 แผน (ทีม่า : Harold, 1994) จากแนวสมมติฐานที่กลาวมาท้ังหมดขางตน จะเหน็วา โลกมีการสรางแผนดินใหมตลอดเวลาที่บริเวณแนวสันเขาใตมหาสมทุร โดยแมกมาที่อยูในชัน้แมนเทิลดันข้ึนมาและแข็งตัวแรตางๆ ที่อยูในหนิหนืดนีก้็จะจัดเรียงตัวตามทิศทางแนวแมเหล็กโลกในเวลานัน้ การแข็งตัวของแมกมาบริเวณแนวสันเขาใตมหาสมทุรนี ้ทําใหเกิดแรงดันไปทั้ง 2 ขางของแนวสันเขา แรงดันนี้จะทําใหแผนเทคโทนิคเคล่ือนทีไ่ปได และเมื่อแผนเทคโทนิคเคล่ือนที ่ขอบของแตละแผนที่มกีารชนกัน ก็จะมีแผนหนึง่แผนใดทีแ่ข็งกวาหรือมแีรงมากกวามดุลงสูชั้นเมนเทิลเสมอ และจะถูกทําลาย

Page 21: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ใหกลายเปนหนิหนืด (Magma) โดยความรอนในช้ันแมนเทิลอยูตลอดเวลาทีช่ั้นนีเ้อง การเคล่ือนที่ของแผนเทคโทนิคแตละแผนนัน้มีอยู 3 ลักษณะคือ การเคลื่อนทีใ่นแนวแยกจากกัน เปนการเคล่ือนทีท่ี่เกิดในบริเวณแนวสันเขาใตน้าํ การเคลื่อนที่แบบนี้เกิดจากแรงดันจากหนิหนืดในช้ันแมนเทิลทําใหเกิดเปลือกโลกใหมข้ึนตลอดเวลา และการแผขยายของทองทะเล

ภาพที ่20 การเคล่ือนที่ในแนวแยกจากกนัของเปลือกโลก การเคล่ือนที่แบบนี้จะพบในบริเวณแนวสันเขาใตทะเล (ที่มา : Harold, 1994) การเคลื่อนทีใ่นแนวเขาหากัน(ชนกัน) เกิดข้ึนในบริเวณเหวสมุทร บริเวณภูเขาและเทือกเขาสูงที่มีเชนเทือกเขาหิมาลัย และบริเวณเทอืกเขาที่ประกอบดวยภูเขาไฟขนานไปกับชายฝงทะเล (Volcanic Arc)

ภาพที่ 21 การเคล่ือนที่ในแนวชนกันของเปลือกโลก (ทีม่า : Harold, 1994)

Page 22: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

- การเคลื่อนทีเ่ขาหากันของ Oceanic Plate กับ Oceanic Plate แผนเทคโทนิคทีม่คีวามหนาแนนมากกวา (แข็งกวา) หรือมีความเร็วในการเคล่ือนที่ของแผนเทคโทนคิมากกวา จะมดุตัวลงดานลางลงสูชั้นแมนเทิล ทําใหเกิดเหวมหาสมุทรข้ึนที่บริเวณทีม่ีการมุดตัวลงของแผนเทคโทนิค (Subduction Zone) สวนแผนเทคโทนิคที่มีความหนาแนนนอยกวาก็จะถกูดันข้ึนไปเปนภูเขาไฟใตน้ํา หรือหมูเกาะภูเขาไฟแนวโคง (Volcanic Island Arc หรือ Island Arc) ตัวอยางของกรณีนี้คือการชนกนัของ Philippine Plate กับ Eurasian Plate เกิดเปนหมูเกาะฟลิปปนสและเหวฟลิปปนส

ภาพที่ 22 การเคล่ือนที่เขาหากันของ Oceanic Plate กับ Oceanic Plate (ที่มา : Harold, 1994) - การเคลื่อนทีเ่ขาหากันของ Oceanic Plate กับ Continental Plate ในกรณีนี้ Oceanic Plate ซึ่งมคีวามหนาแนนมากกวา (แข็งกวา) จะมุดตัวลง เกิดเปนเหวมหาสมุทรเปนแนวยาวขนานกับชายฝง และเกิดเทือกเขาทีม่ีภูเขาไฟ (Volcanic Arc) เปนแนวยาวตามชายฝงดวย ตัวอยางของกรณีนี้คือ การชนกันของ South American Plate กับ Nazca Plate เกิดเปนเหวเปรู-ชิลี (Peru-Chili Trench) และเทอืกเขาแอนดีส (Andes Mountain)

Page 23: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 23 การเคล่ือนที่เขาหากันของ Oceanic Plate กับ Continental Plate (ที่มา : Harold, 1994) - การเคลื่อนทีเ่ขาหากันของ Continental Plate กับ Continental Plate เชน การเคลื่อนที่เขาหากันของประเทศอินเดีย กับ Eurasian Plate ทําใหเกิดเทือกเขาสูงเชนเทือกเขาหิมาลัยซ่ึงมยีอดเขา Everest ซึ่งเปนยอกเขาท่ีสูงที่สุดในโลก (ในบริเวณทีม่ีการชนกันของแผนเทคโทนิคแผนดินจะมกีารยนตัว มุดลง และดันข้ึนมาทาํใหเกิดภูเขาสูง)

ภาพที ่24 การเคล่ือนที่เขาหากันของ Continental Plate กับ Continental Plate (ที่มา : Harold, 1994) การเคลื่อนทีใ่นแนวเฉียดกัน (Faulted Block) เกิดข้ึนที่บริเวณสนัเขาใตมหาสมทุรที่มีแนวสันไมเช่ือมตอถึงกนั

Page 24: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 25 การเคล่ือนที่เฉียดกันของเปลือกโลก (ดัดแปลงมาจาก : Harold, 1994 ; William and Sternberg, 1981 ) จากทั้ง 3 สมมติฐานดังกลาว ทาํใหสามารถสรุปไดวา ชั้นเปลือกโลก ไมไดเปนแผนดินแผนใหญแผนเดียว แตจะประกอบดวยแผนเปลือกโลกเล็กๆ (แผนเทคโทนิค) หลายๆ แผนประกอบกัน โดยมีพลังงานความรอนในปริมาณมหาศาลจากช้ันแมนเทิลในรูปของแมกมา เปนตัวขับเคลื่อนใหแผนเปลือกโลกตางๆ มกีารเคล่ือนตัวอยูตลอดเวลา เกิดเปนปรากฏการณ แผนดินไหวและภูเขาไฟระเบิด การทีท่วปีและมหาสมทุรเรียงตัวกันอยางที่เห็นในปจจุบัน ก็เปนผลจากพลังงานความรอนจากช้ันแมนเทิลที่มีแรงดันข้ึนตามรอยแตกของเปลือกโลก ดันใหแผนดินมีการเคลื่อนที ่โดยใชเวลานาน ในปจจุบันทวีปและมหาสมุทรตางๆ ก็ยังมกีารเคลือ่นที่อยางชาๆ อยูตลอดเวลา

Page 25: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 26 การเคล่ือนตัวของทวีปตางๆ จากที่เคยเปนแผนดินทีม่ีอาณาเขตเช่ือมติดกัน จะคอยๆ แยกตัวออกจากกันเมื่อเวลาผานไปในแตละยุค เร่ิมจากยุค Triassic เมื่อ 210 ลานปกอน จากนัน้เมื่อเวลาผานไปทวีป Pangaea จึงมีการแยกตัวออกเปน Laurasia อยูทางเหนือ และ Gondwanaland อยูทางใตในปลายยุค Triassic จะเหน็วาประเทศอนิเดียนัน้ ในปลายยุค Cretaceous เมื่อ 65 ลานปกอน ก็ยงัไมไดเชื่อมตอกับทวีปเอเชียเหมือนกับในปจจุบัน (ที่มา : Tom, 2006) และถาหากเรานาํสมมติฐานทัง้ 3 มารวมกันแลวเร่ิมใชสมมติฐานทัง้ 3 มาประมวลความคิด และจินตนาการการเกิดทวปีและมหาสมทุรต้ังแตเร่ิมแรกที่มทีวีปเปนทวีปเด่ียวช่ือวา Pangaea แลวคอยๆ มีววิฒันาการมาจนเปน ทวีปและมหาสมทุรมรูีปรางเหมือนเชนปจจุบัน กจ็ะไดภาพเชนเดียวกนักับภาพที่ 26 สรุปโดยรวมกคื็อ การใชสมมติฐานทั้ง 3 สมมติฐานนัน้ ตองใชรวมกันจึงจะสมบูรณไมสามารถแบงแยกในการอธิบายได ทําใหเราสามารถระบุข้ันตอนในวฏัจักรของการเกิดมหาสมทุรไดโดย Wilson cycle ดังภาพที ่27

Page 26: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 27 Wilson cycle ซึ่งสามารถอธิบายข้ันตอนของวิวฒันาการของมหาสมทุร ต้ังแตเร่ิมเกิดมหาสมุทร และมีการเปล่ียนแปลง จนกระทั่งมหาสมุทรมีการดับสูญ (ที่มา : Tom, 2006)

จากที่กลาวมาแลวขางตน สมมติฐานการเกิดทวีปและมหาสมุทรทั้ง 3 ตองใชอธิบายรวมกันจึงจะสมบูรณ โดยพบวามหีลักฐานมากมายที่สนับสนนุเชน 1. ที่สวนยอด (Crest) ของแนวสันเขาใตมหาสมทุร (Ridge) เปนบริเวณที่มีความรอนร่ัวไหลจากภายในโลก (ชั้นแมนเทลิ) ตลอดเวลา ทาํใหบริเวณดังกลาวมีอุณหภูมิสูง สัตวทะเลบางชนิดไมสามารถขามไปได ทําใหไมมีการถายทอดลกัษณะทางพนัธุกรรม จนทาํใหเกิดวิวัฒนาการกลายเปนชนิดใหม

Page 27: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 28 ความรอนจากหนิหนืดทีห่ลอมเหลวอยูในช้ันแมนเทิล ทีม่กีารร่ัวไหลออกมาในรูปของแมกมาในบริเวณยอดของแนวเขาใตมหาสมุทร (ที่มา : Tom, 2006) 2. หนิที่อยูหางจากยอดของแนวสันเขาใตมหาสมุทรในระยะทางท่ีใกลเคียงกนัจะมีอายุเทากัน และมีแนวแรงแมเหล็กเหมือนกนั บริเวณยอดสันเขาจะมีหินที่อายุนอยที่สุด อายุของหินจะมากข้ึนตามระยะหางจากแนวสันเขาที่เพิ่มข้ึน

ภาพที ่29 ชัน้หินที่อยูหางจากแนวสันเขาใตมหาสมทุรเปนระยะทางเทาๆ กนัจะมีอายุเทากนั และมีแนวแมเหล็กโบราณช้ีไปในแนวทางเดียวกันกนั (ดัดแปลงมาจาก : Tom, 2006) 3. บริเวณแนวขอบแผนเทคโทนิคจะเปนบริเวณที่มีการกระจายและอัตราการเกิดแผนดินไหวสูง และแนวที่แผนเทคโทนิคเคล่ือนที่ออกจากกัน เขาหากัน หรือเฉียดกันจะมีความถี่ในการเกิดแผนดินไหวสูง

Page 28: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 30 การกระจายของการเกิดแผนดินของโลก (ทีม่า : Harold, 1994) 4. พื้นทองทะเลมีการแผขยายออกในอัตราเฉล่ีย 1-5 เซนติเมตรตอป ตารางที ่ 2 อัตราการแผขยายตัวของพื้นมหาสมุทร (ดัดแปลงมาจาก William and Sternberg, 1981 )

มหาสมุทร Half-rate (cm/yr) Northern Atlantic Ridge 1.6 Southern Atlantic Ridge 1.5

East Pacific Rise 8.9

Antarctic Rise 6.4 Juan De Fuca Ridge 4.8

North Indian Ocean 1.9

Page 29: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ขนาด และรูปรางของพื้นมหาสมุทร เนื่องจากทะเลมหาสมุทรเปนแหลงน้ําที่ขนาดใหญที่สุดของโลก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 70% ของพื้นที่ผิวของโลก หรือคิดเปนพื้นที่ไดประมาณ 361 ลานตารางกิโลเมตร มหาสมุทรมีน้ําทะเลเปนวัตถุของไหลบรรจุอยู และน้ําทะเลก็มีสารละลายและตะกอนแขวนลอยอยูมากมาย

ภาพที่ 31 สัดสวนของปริมาณน้ําจากแหลงตางๆ ของโลก (ที่มา : Tom, 2006)

อีกทั้งมหาสมทุรยังเปนปจจยักําหนดปรากฏการณธรรมชาติตางๆ ทีเ่กิดข้ึนบนโลก เชนการเกิดลมประจําถิน่ การเกดิพายุ การระบายและถายเทความรอนระหวางทวีปและมหาสมุทร และลักษณะทางภูมิศาสตรของพืน้มหาสมทุรและชายฝง ก็เปนปจจัยกาํหนดทิศทางของการไหลของน้ํา การทบัถมของตะกอน และการเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญเชน เปนแหลงพลังงานจากกาซธรรมชาติ และปโตรเลียม ในสมัยโบราณการศึกษาในดานนี้ยงัทําไดไมมากและไมดีพอ เนื่องจากเคร่ืองมือที่ใชในการศึกษา วิทยาการและเทคโนโลยียังไมไดมีการพัฒนาใหมีประสิทธิภาพเชนในปจจุบัน ซึ่งอุปกรณในการศึกษาโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการวัดความลึกของ

Page 30: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

มหาสมุทรไดรับการพัฒนาไปมาก ทาํใหสามารถวัดความลึกของมหาสมุทรไดอยางตอเนื่อง โดยบันทกึไวเปนเสนกราฟของบริเวณตางๆ ที่เรือแลนผานไป หรือแมกระทั่งการใชเทคโนโลยีใหมๆเชน ดาวเทยีม ในการสํารวจ การทํา Remote Sensing ซึ่งจากการสํารวจพบวา ลักษณะทางภูมิศาสตรที่จมอยูใตผืนน้าํทะเลนั้น มีความคลายคลงึกับทีพ่บอยูบนพืน้ทวีป เชน มีภูเขาสูง ที่ราบ หุบลําน้ํา หนาผาเหว และบางแหงเปนภูเขาไฟท่ียงัครุกรุนอยู การวัดความลึกของมหาสมุทร การใชสายหยั่งความลึก (Sounding) เปนวิธกีารศึกษาที่ใชมาต้ังแตเร่ิมมีการศึกษาความลึกของน้ํา โดยการใชเชือกหรือเสนลวดที่มีลูกตุมถวงวัดเปนจุดๆไป การวัดความลกึโดยวธินีี้มีขอจํากัด คือ ไมสามารถไดขอมูลที่ละเอียดตอเนื่อง ไมสามารถวัดในบริเวณที่มีความลึกมากๆได และบริเวณที่วดัตองไมมีกระแสน้ําและกระแสลมรุนแรง เพราะจะทาํใหคาความลึกทีว่ัดไดคลาดเคล่ือนไปจากความเปนจริง เนื่องจากกระแสน้าํและลมจะพัดเรือใหเคล่ือนที่ทาํใหเกิดการเคล่ือนยายตําแหนงของเรือทําใหพิกัดที่ไดคลาดเคล่ือน รวมทัง้ทาํใหเสนลวดหรือเชือกที่ใชวัดไมอยูในแนวด่ิง ทําใหไดคาความลึกมากกวาที่เปนจริง

ภาพที่ 32 การหยั่งความลึกโดยการใชสายหยั่งความลึก ทําใหไดคาความลึกที่ไมแนนอนเนื่องจากมีกระแสน้ํารบกวน (ดัดแปลงมาจาก : Harold, 1994)

Page 31: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

การใชเสยีงสะทอน (Echo Sounder) เปนวิธวีัดความลึกที่ละเอียด และแมนยํามากข้ึน โดยวิธีการสงสัญญาณคล่ืนเสียงจากเรือ เมื่อคล่ืนเสียงเดินทางถึงพืน้มหาสมุทรก็จะสะทอนกลับมาที่เคร่ืองตรวจรับบนเรือ ทําใหสามารถคํานวณกลับมาเปนระยะทางที่เสียงเดินทางไปและสะทอนกลับมาได แตกระนัน้ในทางปฏิบัติวิธีการนี้ก็ยงัมีปญหา เชน เมื่อทองทะเลมีคล่ืนสูงมากๆ จะทําใหการคํานวณผิดพลาดได ความแตกตางของอุณหภูมิ ความเค็มและความกดดันของน้าํสงผลใหเกิดการหักเหของคล่ืนเสียง ปจจยัตางๆเหลานีท้ําใหน้าํทะเลซ่ึงเปนตัวกลางที่เสียงเดินทางผานมีความหนาแนนเปล่ียนไป ความเร็วที่เสียงเดินทางผานตัวกลางแตละชนดิมีดัชนีการหกัเหไมเทากนัตามความหนาแนนจึงไมเทากัน ดังนัน้การวัดโดยวิธนีี้จงึจําเปนตองใชคาแก(correction) เพื่อใหไดขอมูลที่มีความถกูตองแมนยาํมากข้ึน

ภาพที่ 33 การหยัง่ความลึกโดยใชคล่ืนเสียงสะทอน (ที่มา : Tom, 2006) การวัดโดยการใชคลืน่สั่นสะเทือน (Seismic Shooting Sounder) เปนการวัดความลึกของน้าํโดยใชคล่ืนส่ันสะเทือนจากการจุดระเบิด โดยใชเรือลําเดียว หรือสองลํา หากเปนการใชเรือลําเดียวในการวัดก็จะทาํการจุดระเบิดจากทุนที่อยูบริเวณไกลกันกบัเรือ หากเปนการใชเรือ สองลําก็จะทาํการจุดระเบิดจากบริเวณขางเรือลําใดลําหนึ่ง ซึ่งมีระยะจากเรือพอสมควร เมื่อคล่ืนส่ันสะเทือนเดินทางลงสูพืน้มหาสมุทรในระดับความลึกตางๆ จะสะทอนกลับมาที่เคร่ืองรับ

Page 32: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

สัญญาณบนเรือ ขอมูลในการเดินทางของคลื่นส่ันสะเทอืนสามารถนาํมาคํานวณหาความลึกได นอกจากความลึกแลวยงัไดขอมูลความหนา ชนิด และการเรียงตัวของหนิและตะกอนในช้ันตางๆ ดวย

ภาพที่ 34 การหยั่งความลึกโดยใชคล่ืนส่ันสะเทือน (ที่มา : Harold, 1994) เขตชายฝงทะเล(Coastal Zone)

ชายฝง (Shore) คือ บริเวณพื้นที่ปกคลุมสวนของแนวนํ้าลงตํ่าสุด(Low-tide Shoreline) ถึงบริเวณที่คล่ืนสามารถเคล่ือนที่ไปถงึ โดยสวนดานแผนดินเปนอาณาเขตที่เปล่ียนแปลงไดบาง แนวชายฝง (Shoreline) เปนสวนของพ้ืนดินที่ติดกับทะเล และมีการเปล่ียนแปลงเนื่องจากการกระทําของทะเล ไดแก คล่ืนและกระแสน้ํา ชายหาดเปนแนวกาํหนดชายฝงดานพื้นดินสวนดานทะเลชายฝงส้ินสุดที่ระดับน้ําลงตํ่าสุด (มหรรณพ บรรพพงศ , 2533) ชายหาด (Beach) เปนบริเวณชายฝงซึง่มีความลาดเอียงลงสูพืน้น้าํ ไดรับอิทธิพลจากคล่ืน ลม และอิทธิพลของน้าํข้ึนน้าํลง เปนบริเวณที่ปกคลุมดวยกรวด ทราย หรือในบางคร้ังอาจถูกปกคลุมดวยโคลน บริเวณเหนือชายหาดขึ้นไปมักเปนเนินทราย (Sand Dune) หรือหนาผาอันเปนการบอกถงึขอบเขตของสวนชายหาด

Page 33: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

การแบงบริเวณของหาด สวนนอกชายฝง (Offshore) คือ บริเวณที่อยูถัดจากบริเวณที่ยอดคลื่นเร่ิมแตก (Breaker line) ลงไป บางแหงมีสันดอนนอกฝง(Offshore Bar) สวนใกลชายฝง (Nearshore) คือ บริเวณระหวางแนวนํ้าลงตํ่าสุด (Low-tide Shoreline) กับ Breaker line สวนหนาชายฝง (Foreshore) คือ เปนบริเวณที่อยูระหวางแนวน้าํลงตํ่าสุดไปจนถึงแนวน้ําข้ึนสูงสุด (High-tide Shoreline) หรืออาจกลาวไดวาเปนเขตน้ําข้ึนน้าํลง (Tidal Zone or Littoral Zone) สวนหลังชายฝง (Backshore) คือ บริเวณที่อยูถัดจากแนวน้าํข้ึนสูงสุดไปบนแผนดิน เปนบริเวณที่ไดรับอิทธิพลบางสวนจากชายหาด เชน ในกรณีทะเลมีคล่ืนจัด ก็จะไดรับละลองคลื่นจากทะเล อาจเปนบริเวณที่ลุม หรือปาละเมาะ หรือเปนหนาผาก็ได

ภาพที่ 35 การแบงเขตชายฝงทะเล (ที่มา : Harold, 1994)

Page 34: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ขอบทวีป (Continental Margin)

การกําหนดขอบเขตของทวปีออกจากมหาสมุทรนั้นจําเปนตองมหีลักเกณฑที่แนนอนในทางธรณีวทิยาใชแนวความไมตอเนื่องโมโฮโรวิซิคเปนตัวกาํหนด แตในทางสมทุรศาสตรนั้นสวนใหญจะกาํหนดขอบทวีปที่ความลึก 200 เมตรอันเปนความลึกของไหลทวีป (Continental Shelf) แตจากการศึกษาพบวาบริเวณที่อยูลึกกวา 200 เมตรเชนบริเวณลาดทวีป (Continental Slope) และ ฐานทวีป (Continental Rise) ก็ยงัไดรับอิทธิพลจากทวีปอยางชดัเจน เชนไดรับตะกอนสวนใหญมาจากทวีป และน้ําทะเลยังไดรับอิทธิพลจากแมน้าํลําคลองซ่ึงเปนแหลงน้าํจืดบนพืน้ทวีปอยู ทําใหนกัวทิยาศาสตรหลายคนเรียกบริเวณนี้วาเขตตอเนื่อง (Transitional Zone)

ดังนัน้ขอบทวีปจึงนาจะเปนธรณีสัณฐานที่มีลักษณะลาดเอียงลงสูพืน้มหาสมทุรโดยมีโครงสรางที่เดนชัดดังนี ้

ไหลทวีป (Continental Shelf) หรือ ลาดหิ้งไหลทวีป คือสวนทีจ่มอยูใตน้ําที่ความลึก

เฉล่ีย 130 เมตร และสวนใหญมักจะมีความลึกไมเกิน 200 เมตร มีความกวางไมแนนอน โดยเฉลี่ยแลวจะมีความกวางประมาณ 65-75 กิโลเมตร มีความชันเฉลี่ย 0.1 องศา หรือประมาณ 1: 500 ในบางพืน้ทีท่ีช่ายฝงมีความชันมาก และมชีายหาดแคบ ทําใหเกือบจะไมมีไหลทวีปเลย เชน หมูเกาะฮาวาย และในบริเวณชายฝงทางดานทิศตะวันตกของทวีปอเมริกาใต ซึ่งเปนบริเวณที่มีเหวเปรู-ชิลี (Peru-Chili Trench) พืน้ที่ดังกลาวมีความกวางของไหลทวีปเพียงไมกี่กิโลเมตร แตในบางบริเวณเชน บริเวณนอกฝงไซบีเรีย (Siberia) ในทะเลอารคติก ไหลทวีปอาจมีความกวางถงึ 1800 กิโลเมตร จุดส้ินสุดของไหลทวีปสังเกตไดเดนชัดโดยดูจากความลาดชันที่เปล่ียนแปลงไปอยางกระทนัหนั สําหรับบริเวณอาวไทยพืน้ที่ทัง้หมดต้ังอยูบนสวนที่เปนไหลทวีป พืน้ทะเลสวนที่เปนไหลทวีปจะเปนทราย และโคลนปนทราย บริเวณไหลทวีปนับเปนบริเวณที่สําคัญตอการประมงโดยเฉพาะการประมงหนาดิน (Demersal Fisheries) ไหลทวีปทั้งหมดมีเนื้อที่ประมาณ 29 ลานตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 5.7 ของพ้ืนที่ผิวโลกทั้งหมด และรอยละ 8 ของพ้ืนทีท่ะเลทั้งหมด

ลาดทวีป (Continental Slope) เปนบริเวณที่อยูลึกลงไปจากไหลทวปีมีความชันเฉล่ีย 3

องศา หรือประมาณ 1: 200 ในบางบริเวณอาจชันถึง 50 องศา ความลึกเฉลี่ย 2000 เมตร ลาดทวีปมีอาณาเขตส้ินสุดที่พืน้มหาสมุทร (Abyssal Plain) ซึ่งมพีืน้ทะเลสวนใหญเปนโคลน และมีหนิปะปนอยูบาง ลาดทวีปในบางแหงอยูในบริเวณที่มีแมน้าํสายใหญไหลลงสูทะเล เชน บริเวณปาก

Page 35: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

แมน้ําฮัดสัน และปากแมน้ําโคลัมเบีย ซึง่จะมีหุบเขาใตน้าํเปนรองลึกรูปตัวV มีผนงัทัง้ 2 ขางชัน (Submarine Canyon) หุบเขาใตน้ํานี้บางแหงลึกถึง 1200 เมตร ในบางแหงแตกสาขาคดเค้ียวคลายหุบเขาบนแผนดิน นกัวิทยาศาสตรบางคนเชื่อวา เกิดจากการกดัเซาะของกระแสโคลน หรือกระแสขุนขนที่มาจากแมน้าํสายใหญ (Turbidity Current) และตรงปลายหบุเขาจะมีตะกอนขุนขน(Turbidite)สะสมตัวอยู ลาดทวปีทั้งหมดมเีนื้อที ่26 ลานตารางกิโลเมตร หรือคิดเปนรอยละ 5 ของพ้ืนที่โลกทั้งหมด หรือคิดเปนรอยละ 8 ของพ้ืนทีท่ะเลทั้งหมด

Submarine canyon

ภาพที่ 36 Submarine canyon (ที่มา : Harold, 1994)

ฐานทวีป (Continental Rise) คือ ธรณีสัณฐานที่ไมไดพบโดยทั่วไป มีลักษณะเปนเนินดินซ่ึงเกิดจากการทับถมของตะกอน ดังนัน้ ฐานทวีปจึงเปนแหลงเก็บรักษาตะกอนไวถึงรอยละ 40 ของตะกอนทั้งหมด ฐานทวปีเปนธรณีสัณฐานที่พบในบริเวณที่มีแมน้าํสายใหญไหลลงสูทะเล และหุบเขาใตน้ํา บริเวณนีม้กีารสะสมของตะกอนขุนขนอยูมากมายจนทาํใหไมสามารถเหน็พืน้และโครงสรางอ่ืนๆ ฐานทวีปเปนธรณีสัณฐานที่มีความชนัเฉลี่ยประมาณ 1 องศา อยูที่ความลึกประมาณ 1400 - 5100 เมตร บางแหงมีความกวางถงึ 600 กโิลเมตร พบมากในมหาสมทุรแอตแลนติก และมหาสมทุรอินเดียทางตอนเหนือ

Page 36: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 37 ไหลทวีป ลาดทวปี ฐานทวีป และพื้นมหาสมทุร (ทีม่า : William and Sternberg,1981) ตารางที่ 3 การเปรียบเทียบความแตกตางของ ไหลทวีป ลาดทวีป และฐานทวีป

ธรณีสัณฐาน ความชัน(องศา) ความลึก(เมตร) ความกวาง(กิโลเมตร) ไหลทวีป 0.1 130-200 ไมแนนอน ลาดทวีป 3 ในบางแหง 50 2000 ไมแนนอน ฐานทวีป 1 1400-5100 ไมแนนอน

พื้นมหาสมุทร และธรณีสัณฐานอ่ืนๆที่อยูบนพื้นมหาสมุทร พื้นมหาสมุทร (Abyssal Plain) เปนสวนที่มีพืน้ที่มากทีสุ่ดและไดรับอิทธิพลจากพืน้ทวีปนอยมากมีความลึกอยูในชวง 3000 – 6000 เมตร มีความชันนอยกวา 0.05 องศา คิดเปนรอยละ 42 ของพื้นมหาสมุทรทั้งหมด พื้นมหาสมทุรไมไดมีความราบเรียบเหมือนที่ราบบนพื้นดิน แตยังประกอบดวยธรณีสัณฐานอ่ืนๆอีกมากมาย เชน แนวสนัเขาใตทะเล (Oceanic Ridge) เปนแนวเขาท่ีมคีวามสูงไมมากนัก หรือประมาณ 1-4 กิโลเมตรยอดสันเขาจะอยูลึกลงไปจากผิวน้าํประมาณ 2500 เมตร เปนบริเวณทีม่ีความชันเพิ่มข้ึนอยางกระทันหัน เปนธรณีสัณฐานที่ทอดยาวไปตลอดทุกมหาสมุทร ต้ังแตตอนเหนือของ

Page 37: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

มหาสมุทรแอตแลนติก พาดผานกลางมหาสมทุร แผเขาไปถึงมหาสมุทรแปซิฟกและมหาสมุทรอินเดีย มีความยาวทัง้หมดประมาณ 65000 กิโลเมตร หรือประมาณ 1.5 เทาของระยะทางรอบโลกหรือประมาณรอยละ 33 ของพ้ืนมหาสมุทรทัง้หมด ตลอดแนวสันเขามีรอยแยกอยูตรงกลางรูปตัว V เปนชองทางใหหนิหนืด (Magma) จากชั้นแมนเทิลไหลออกมาเกิดเปนหนิบะซอลทที่เกิดใหมตลอดเวลา กอใหเกิดการแผขยายตัวของพืน้ทองทะเล ตามทฤษฎี Seafloor Spreading and Plate Tectonics นอกจากนีแ้ลวยังมีรอยแยกขวางแนวสันเขาเปนชวงๆเรียกรอยแยกนี้วา Fracture Zone แนวสันเขาใตน้ําในมหาสมุทรแอตแลนติก และมหาสมุทรอินเดียจะอยูตรงกลางมหาสมุทรจงึเรียกวา Mid Oceanic Ridge สวนมหาสมทุรแปซิฟกจะเกิดข้ึนทางตะวนัออก คอนขางจะชิดกับทวปีอมเริกาเหนือจึงเรียกวา East Oceanic Ridge or East Oceanic Rise แนวสันเขาใตน้าํมชีื่อเรียกตามช่ือมหาสมุทรดังนี้คือ

1. Mid Atlantic Ridge มีอัตราการแผขยายตัวเฉลีย่ประมาณ 2.5-3.5 เซนติเมตร / ป

2. Mid Indian Ridge มีอัตราการแผขยายตัวเฉลี่ยประมาณ 2-7 เซนติเมตร / ป

3. East Pacific Ridge or East Pacific Rise มีอัตราการแผขยายตัวเฉลี่ย ประมาณ 5-16.5 เซนติเมตร / ป

Page 38: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 38 ภาพวาดแนวสันเขาใตทะเลบริเวณ Mid Atlantic Ridge (ทีม่า : Tom, 2006)

เหวมหาสมุทรหรือรองมหาสมุทร (Oceanic Trench) คือธรณีสัณฐานที่มีโครงสรางเปนรองลึกลงไปเปนรูปตัว V หรือ U มีผนงัทัง้ 2 ขางสูงชันมีความลึกเฉล่ีย 8000 เมตร มักเกิดข้ึนรอบๆ มหาสมทุรใกลฝง ตามขอบแองมหาสมุทรและหมูเกาะที่มีแนวยาวติดตอกนั(Island Arcs) เปนบริเวณทีม่ีการจมตัวลงของเปลือกโลกที่เปนพืน้มหาสมุทรลงสูชัน้แมนเทิล (Subduction Zones) ดังนัน้ในบริเวณนีจ้ึงเปนบริเวณทีม่ีการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึนอยูเสมอ มักจะเกดิแผนดินไหวและการระเบิดของภูเขาไฟอยูเปนประจํา เหวมาเรียนา (Mariana Trench) เปนเหวมหาสมุทรที่มีความลึกมากที่สุดโดยลึกถงึ 11000 เมตร

ภาพที่ 39 ภาพถายจากดาวเทยีม เหวมหาสมุทรจะเหน็เปนรองลึกกวาบริเวณอื่นๆ (ที่มา : Harold, 1994) แองสมุทร(Oceanic Basin) เปนบริเวณที่ลึก มีลักษณะเปนหลุมลึกลงไป มีรูปรางกลมหรือรีเปรียบไดกับหนองบึง หรือทะเลสาบน้ําจืดบนแผนดิน มีเนื้อทีก่วางขวางมากคิดเปนรอยละ 30 ของผิวหนาโลกทั้งหมด หรือรอยละ 42 ของพ้ืนที่มหาสมุทรทั้งหมด มหาสมทุรแปซิฟกมีแองสมุทรกระจายอยูทั่วไป สวนมหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรอินเดีย มักมีแองสมุทรเกิดข้ึนทางดานตะวนัออกและตะวนัตก ไมพบวามีอยูในบริเวณตรงกลาง

ภูเขาใตน้ํา (Sea Mount) คือ ภูเขาหรือสวนสูงที่เกิดข้ึนโดดเด่ียวใตทะเล มีความสูงอยางนอย 700 เมตร หากมียอดแหลมเรียกวา Seapeak แตถามียอดคอนขางแบนราบจะ

Page 39: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

เรียกวา Guyot หรือ Table Mount ในบางคร้ังอาจเรียกวา Bank ภูเขาใตทะเลนัน้หากมีความสูงไมมากนักเปนเพยีงสวนนูนเต้ียๆ ทั่วไปจะเรียกวา Knoll หรือ Seaknoll หากเปนที่ราบสูงสมุทรดานบนแบนราบ ดานขางอาจชันหรือคอยๆ เอียงลาด เปรียบเทียบไดกับที่ราบสูงบนแผนดินเรียกธรณีสัณฐานชนิดนี้วา Plateau

ภาพที่ 40 ภูเขาใตน้ํา ทัง้ในสวนที่เปน Submarine Volcanoes, Sea mount และ Guyot (ที่มา : Tom, 2006)

ภูเขาไฟใตทะเล (Submarine Volcanic) คือ ภูเขาไฟทีเ่กิดข้ึนใตทะเล ซึ่งอาจเกิดข้ึนหลายลูกเปนแนวโคงติดตอกัน และหากแนวภูเขาไฟใตน้ําโผลพนผิวน้ํากลายเปนหมูเกาะแนวโคงเรียกวา Island Arcs หากภูเขาไฟที่อยูบนเกาะเกิดการระเบิดข้ึนทาํใหสวนยอดหายไปและคอยๆ ปรับตัวเขาสูดุลยเสมอภาคโดยการจมตัวลง กจ็ะกลายเปนภูเขาทีม่ียอดแบนราบอยูใตน้ําไดเชนกนั

Page 40: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 41 ภูเขาไฟใตน้ํา และความสูง (ที่มา : Tom, 2006) การเกิดเกาะปะการัง ปะการังเปนสัตวไมมีกระดูกสันหลัง ที่สามารถเจริญเติบโตไดในบริเวณที่น้ํามีอุณหภูมิไมตํ่ากวา 20 องศาเซลเซียส การกระจายของปะการังจะอยูในบริเวณศูนยสูตรและบริเวณใกลเคียง เกาะที่ภูเขาไฟที่ยังไมระเบิดในบริเวณดังกลาวจะมีปะการังเจริญเติบโตอยูลอมรอบเกาะ เรียกวา Fringing Reef ตอมาเมื่อภูเขาไฟระบิดและจมตัวลงเพื่อเขาสูสมดุลแหงดุลเสมอภาค ระดับน้ําจะสูงข้ึน ทําใหปะการังที่อาศัยอยูรอบๆ เกาะตองปรับตัวโดยเพิ่มการเจริญเติบโตในแนวด่ิงเพื่อใหทันระดับน้ําที่เพิ่มข้ึน ทําใหเกิดแนวปะการังแบบแนวกั้นเรียกวา Barrier Reef โดยมีพื้นที่น้ําทะเลอยูระหวางภูเขาไฟที่จมตัวลงกับแนวปะการังเรียกพื้นน้ําสวนนี้วา Lagoon เมื่อภูเขาไฟมีการจมตัวลงใตน้ําก็จะกลายเปนเกาะปะการังที่มีลักษณะคอนขางกลม (Atoll) น้ําลึกประมาณ 50 – 75 เมตร

Page 41: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

ภาพที่ 42 วิวัฒนาการของ เกาะปะการัง ตามทฤษฎีของ Darwin (ที่มา : Harold, 1994)

ที่กลาวมาแลวทั้งหมดนี ้ก็เพือ่ที่จะอธิบายการเกิดทวีป มหาสมุทร รวมถึงรูปราง และโครงสรางของโลกโดยใชเหตุผลทางวทิยาศาสตร เพื่อทีจ่ะตอบไดวาโลกมีที่มาและที่ไปอยางไร และตอบคําถามไดวาเพราะเหตุใดประเทศหลายประเทศ เชน ญ่ีปุน ฟลิปปนส อินโดนีเซีย จึงมีลักษณะเปนเกาะซ่ึงมีแนวโคงและมีภูเขาไฟอยูมากมายมีแผนดินไหวเกิดข้ึนบอยครั้ง ธรณีสัณฐานตางๆ ที่มีอยูบนโลกนี้เกิดข้ึนไดอยางไร และจะระวังภัยที่เกิดข้ึนจากการเปลีย่นแปลงของธรณีสัณฐานเหลานั้นไดอยางไร

ในการอธิบายการเกิดคล่ืนยกัษ (Tsunami) ก็เชนกนั จาํเปนตองมีความรูในเร่ืองความเปนมา และการเกิด โลก ทวีป และมหาสมุทร ซึง่ตองใชสมมติฐานขางตนในการอธบิายจึงจะเขาใจ และอธบิายไดวาเพราะเหตุใดจงึมกีารเกิดคล่ืนยกัษทีม่ีขนาดใหญและมีความรุนแรง

การเปล่ียนแปลงทางธรณีสัณฐานต้ังแตอดีตมาจนถึงปจจุบัน นอกจากจะทาํใหขนาดและรูปรางของทวปีและมหาสมทุรมีการเปล่ียนแปลงแลว ยงัทาํใหเกิดวิวฒันาการของสัตวอีกดวย

Page 42: โลก ทวีป และมหาสมุทร นําเรื่อง · 2010. 7. 9. · - การเกิดจันทรุปราคา ในช วงที่กําลังเกิดจันทรุปราคานั้น

เนื่องจากเมื่อทวีปแยกตัวออกจากกัน จะมีมหาสมทุรขวางกั้น ทําใหสัตวตางๆ ไมสามารถเดินทางไปมาหากนัได ไมสามารถถายทอดพันธุกรรมใหแกกันได เมื่อเวลาผานไป ก็จะมีววิฒันาการเปนชนิดพนัธุใหม เชน สัตวเล้ียงลูกดวยนมในกลุมที่มกีระเปาะหนาทองสําหรับเล้ียงลูก (Marsupial Mammals) ซึ่งเปนสัตวทีม่ีอยูมากจนกลายเปนสัญลักษณของทวีปออสเตรเลีย ซึ่งอยูไกลจากทวีปอเมริกาใตและเอเชียมาก สามารถพบเจอในทะเลทรายในประเทศจีน ทิเบต และทวปีอเมริกาใต เชนหนูจงิโจ (Jerboa) นั่นกเ็พราะทวีปเหลานัน้เคยเช่ือมติดกันมากกอนในอดีต ทําใหยังมีสัตวเล้ียงลูกดวยนมในกลุมที่มกีระเปาะหนาทองสําหรับเล้ียงลูก (Marsupial Mammals) หลงเหลืออยู หลังจากที่ทวปีออสเตรเลียใตเคล่ือนที่แยกออกไปแลว

ดังนัน้การทําความรูจักกับโลกที่เราอาศัยอยูนี้ จึงเปนส่ิงจําเปนที่ควรรูเปนอยางยิง่ เพื่อที่จะไดอาศัยอยูบนโลกไดอยางรูทนั และสามารถระวังภัยที่อาจเกดิข้ึนได เอกสารอางอิง http://203.172.208.244/web/stu29/site1/images/A129p1x2.jpg วาสนา ศรีรักษ. 2550. จนัทรุปราคาเต็มดวง. แหลงทีม่า : http://thaiastro.nectec.or.th/gal/gal3/259.html วิชัย เทียนนอย. 2536. ภูมิศาสตรกายภาพ เลม1.สํานักพิมพโอเดียนสโตร กรุงเทพ. 255 หนา. Harold, V.T. 1994. Introductory Oceanography. Macmillan Publishing Company,

New York. 550 pp. Tom,G. 2006. Essentials of Oceanography. Thomson Brook/Cole. USA. 368 pp. William A,A. and Sternberg R,W.1981. The World Ocean an introduction to

Oceanography. Prentice-Hall,In. London.513 pp.