จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf ·...

198
สารบัญ หนา บทสรุปสําหรับผูบริหาร สารบัญ สารบัญตาราง ขอมูลพื้นฐานดานการคุมครองผูบริโภคในจังหวัดอุตรดิตถ 1 สรุปผลการปฏิบัติงานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพและบริการสุขภาพ ปงบประมาณ 2550 4 1. งานเภสัชสาธารณสุข การตออายุใบอนุญาต การเปลี่ยนแปลงแกไขรายการในใบอนุญาต การออกใบอนุญาตใหม และ การยกเลิกใบอนุญาต 2550 4 การดําเนินงานดานยา 4 การดําเนินงานดานเครื่องสําอาง 14 โครงการความปลอดภัยดานเครื่องสําอางจังหวัดอุตรดิตถ 2550 19 โครงการพัฒนาศูนยบริการผลิตภัณฑสุขภาพเบ็ดเสร็จจังหวัดอุตรดิตถ 2550 28 การตรวจสอบผลิตภัณฑ 29 การดําเนินคดี 30 2. งานประกอบโรคศิลปะ งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องรองเรียนในฐานะพนักงานเจาหนาที่ตาม พรบ.สถานพยาบาล ..2541 ปงบประมาณ 2550 36 งานแพทยแผนไทย 40 โครงการคุมครองและสงเสริมสิทธิภูมิปญญาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร จังหวัด อุตรดิตถ 2550 40 โครงการพัฒนามาตรฐานงานบริการการแพทยแผนไทย ในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ 2550 44 การอบรมหลักสูตรการรักษาทางการแพทยแผนไทยสําหรับเจาหนาที่สถานีอนามัย 2550 50 งานประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทยแผนไทย 52 งานประกอบโรคศิลปะ สาขารังสีเทคนิค 53 งานธุรกิจบริการสุขภาพ 53 การประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการตรวจประเมินสถานประกอบการธุรกิจ บริการสุขภาพ 2550 53 การปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด ผูตรวจราชการ 2550 งานแพทยแผนไทยและงานธุรกิจบริการสุขภาพ 57 โครงการประสิทธิผลของหมอพื้นบานในการรักษาผูปวยกระดูกหัก ประจําป 2550 58

Transcript of จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf ·...

Page 1: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

จ สารบัญ

หนา บทสรุปสําหรับผูบริหาร ก สารบัญ จ สารบัญตาราง ซ ขอมูลพื้นฐานดานการคุมครองผูบริโภคในจังหวดัอุตรดิตถ 1 สรุปผลการปฏิบัติงานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภณัฑสุขภาพและบริการสุขภาพ ปงบประมาณ 2550 4 1. งานเภสัชสาธารณสุข การตออายุใบอนุญาต การเปลี่ยนแปลงแกไขรายการในใบอนุญาต การออกใบอนุญาตใหม

และ การยกเลิกใบอนุญาต ป 2550 4

การดําเนินงานดานยา 4 การดําเนินงานดานเครื่องสาํอาง 14 โครงการความปลอดภัยดานเครื่องสําอางจังหวดัอุตรดิตถ ป 2550 19 โครงการพัฒนาศูนยบริการผลิตภัณฑสุขภาพเบ็ดเสร็จจังหวดัอุตรดิตถ ป 2550 28 การตรวจสอบผลิตภัณฑ 29 การดําเนินคด ี 30 2. งานประกอบโรคศิลปะ งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องรองเรียนในฐานะพนกังานเจาหนาที่ตาม พรบ.สถานพยาบาล พ.ศ.2541

ปงบประมาณ 2550 36

งานแพทยแผนไทย 40 โครงการคุมครองและสงเสริมสิทธิภูมิปญญาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร จังหวัด

อุตรดิตถ ป 2550 40

โครงการพฒันามาตรฐานงานบริการการแพทยแผนไทย ในสถานบรกิารสาธารณสุขของรัฐ ป 2550 44 การอบรมหลักสูตรการรักษาทางการแพทยแผนไทยสําหรับเจาหนาที่สถานีอนามัย ป 2550 50 งานประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทยแผนไทย 52 งานประกอบโรคศิลปะ สาขารังสีเทคนิค 53 งานธุรกิจบริการสุขภาพ 53 การประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการตรวจประเมินสถานประกอบการธุรกิจ

บริการสุขภาพ ป 2550 53

การปฏิบัติงานตามตัวช้ีวดั ผูตรวจราชการ ป 2550 งานแพทยแผนไทยและงานธุรกิจบริการสุขภาพ 57 โครงการประสิทธิผลของหมอพื้นบานในการรักษาผูปวยกระดูกหัก ประจําป 2550 58

Page 2: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ฉ สารบัญ

หนา 3. งานอาหาร ความปลอดภยัดานอาหาร 61 การเฝาระวังความปลอดภยัของผลิตภัณฑอาหารในทองตลาด 61 การตรวจสอบฉลากผลิตภัณฑอาหารในรานขายของชํา 62 ผลการตรวจสอบการจําหนายสินคาในรานขายของชํา 63 การตรวจสอบเฝาระวัง ตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหาร 64 การตรวจสอบเฝาระวัง ศูนยกระจายนมโรงเรียน 66 การตรวจเฝาระวังอาหารกลุมเสี่ยงในรานจําหนายอาหารสดใหปลอดภัยจากสาร

ปนเปอน 6 ชนิดและไดรับปายทอง(ปายอาหารปลอดภยั) 66

ผลการดําเนินงานตรวจสอบสารปนเปอน 6 ชนิด ในอาหารสด 67 การสงเสริม ยกระดับศกัยภาพ และองคความรูของผูผลิตอาหาร 69 การประชุม การพัฒนาสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ GMPผูผลิตน้ําแข็ง และน้ําบรโิภค

ในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท จงัหวัดอุตรดิตถ ป 2550 69

การอบรมและศึกษาดูงานสถานที่ผลิตหนอไมปปปรับกรด 71 การดําเนินงานการตรวจสอบเฝาระวังและเรื่องรองเรียน 75 การดําเนินคดี ตามพระราชบญัญัติอาหาร พ.ศ. 2522 82 โครงการพัฒนาศักยภาพเจาหนาที่เทศบาลเพื่อรองรับการกระจายอํานาจ ปงบประมาณ 2550 84 โครงการสํารวจสถานการณการใชวัตถุเจือปนอาหารโซเดียมไนเตรตและโซเดียมไน

ไตรตในอาหาร จังหวดัอุตรดิตถ 91

4. งานสงเสริมองคกรผูบริโภคในชุมชน การพัฒนาศักยภาพผูบริโภค 95 การรณรงคใหผูบริโภครูสิทธิ และรองเรียนหากถูกละเมดิสิทธิ 95 การเผยแพรความรู ประชาสัมพันธ และรณรงคเกี่ยวกับการเลือกซื้อและการบริโภค

ผลิตภัณฑสุขภาพ 107

สนับสนุนการรวมกลุมผูบริโภคและการสรางเครือขายการคุมครองผูบริโภค 108 ช่ือโครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสรางความเขมแข็งเครือขายชมรมผูบริโภคจังหวัดอุตรดิตถ 108 โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสรางความเขมแข็งเครือขายชมรมผูบริโภคระดับอําเภอ ป 2550 113 เสริมสรางความเขมแข็งในการดําเนินงานคุมครองผูบริโภคในโรงเรียน 119 งานอาหารปลอดภัยในโรงเรยีน ( อย.นอย ) 119 โครงการคายพฒันาเยาวชนคุมครองผูบริโภค (อย.นอย) เครือขายจงัหวดัอุตรดิตถ 121

Page 3: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ช สารบัญ

หนา ผลการประเมนิความพึงพอใจในการจัดกจิกรรมโครงการคายพัฒนาเยาวชนคุมครองผูบริโภค อย นอย 126 โครงการประกวดกิจกรรม อย.นอย จังหวดัอุตรดิตถ ป 2550 129 โครงการถายทอดเทคโนโลยี่เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งอาหารปลอดภัยในโรงเรียน 141 การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน 144 โครงการสนับสนุนกิจกรรมเพื่อวิสาหกจิผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนสมบูรณแบบ ป 2550 146 สรุปผลการประเมินกลุมวิสาหกิจผลิตภณัฑสุขภาพชุมชน ป 2550 151 โครงการอบรมสัมมนามาตรฐานสถานที่วิสาหกจิผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน ป 2550 154 โครงการฟนฟูระบบการผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนในพื้นที่ประสบอุทกภัย จังหวัดอุตรดิตถ 159 5. ภาคผนวก สรุปการดําเนินงานพัฒนาศักยภาพและการศึกษาดูงาน ชมรมผูบริโภคจังหวัดอุตรดิตถ ป 2550 162 สรุปผลการศึกษาดูงานโครงการคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑและบริการสุขภาพ

จังหวดัอุตรดิตถ ป 2550 167

สรุปผลความกาวหนาการใชงบประมาณกลุมงานคุมครองผูบริโภค ปงบประมาณ 2550 176 โครงการคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑและบริการสุขภาพจังหวัดอุตรดิตถ ป 2550 178 โครงการคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑและบริการสุขภาพจังหวัดอุตรดิตถ ป 2550

(งบเหมาจายรายหวั(คาบริการทางการแพทยหนวยบริการภาครัฐ) ดานการสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค ปงบประมาณ 2550)

183

Page 4: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ซ สารบัญตาราง

หนา ตารางที่ 1 ผลการดําเนินงานดานยา ป 2550 5 ตารางที่ 2 ผลการดําเนินงานดานเครื่องสาํอาง ป 2550 14 ตารางที่ 3 สรุปผลการตรวจสอบฉลากและหาสารหามใชเบื้องตนในเครื่องสําอาง

ตามโครงการความปลอดภัยดานเครื่องสําอางจังหวดัอุตรดิตถ ป 21

ตารางที่ 4 ผลการตรวจคลินกิแยกรายอําเภอ ป 2550 32 ตารางที่ 5 ขอบกพรองที่ตรวจพบในการตรวจมาตรฐานสถานพยาบาลจังหวัดอตุรดิตถ ป 2550 32 ตารางที่ 6ขอมูลทําเนียบบุคลากรดานการแพทยแผนไทยจังหวดัอตุรดิตถแยกตามประเภท 42 ตารางที่ 7 ขอมูลทําเนยีบบคุลากรดานการแพทยแผนไทยจงัหวัดอุตรดติถแยกรายอําเภอ 42 ตารางที่ 8 ผลการประเมินมาตรฐานงานบริการการแพทยแผนไทยในสถาน

บริการสาธารณสุขของรัฐจังหวดัอุตรดิตถ ปงบประมาณ 2550 45

ตารางที่ 9 คะแนนกอนและหลังการอบรม 52 ตารางที่ 10 รายช่ือสถานประกอบการนวด ในเขตเทศบาลเมืองอุตรดิตถ 56 ตารางที่ 11 ผลงานตามตัวช้ีวัด ผูตรวจราชการ ป 2550 57 ตารางที่ 12 แสดงการเก็บตัวอยางผลิตภัณฑอาหารสงตรวจวิเคราะหยังหองปฏิบตัิการ 61 ตารางที่ 13 แสดงรายการทีต่รวจวเิคราะห 62 ตารางที่ 15 ผลการตรวจสอบการจําหนายสินคา 63 ตารางที่ 16 แสดงการตรวจสอบเฝาระวัง ตรวจประเมนิสถานที่ผลิตอาหาร 64 ตารางที่ 17 ผลคะแนนเฉลี่ยการประเมินสถานทีผ่ลิตน้ําบริโภคในภาชนะบรรจุทีป่ดสนิท 64 ตารางที่ 18 ผลคะแนนเฉลีย่การประเมินสถานที่ผลิตอาหารอื่นๆ 65 ตารางที่ 19 แสดงผลการดําเนินงานตรวจสอบสารปนเปอน 6 ชนิด ในอาหารสด

จําแนกตามชนดิของสารปนเปอน (ตุลาคม 2549 – กันยายน 2550) 67

ตารางที่ 20 แสดงผลการดําเนินงานตรวจสอบสารปนเปอน 6 ชนิดในอาหารสดแยกรายอาํเภอ (ตุลาคม 2549 – กันยายน 2550)

67

ตารางที่ 21 แสดงจาํนวนรานจําหนายอาหารสดที่ผานการรับรองอาหารปลอดภยั จากสารปนเปอน 6 ชนิด ป 2550 แยกรายอาํเภอ

68

ตารางที่ 22 ผลการตรวจวเิคราะหโซเดียมไนเตรตและโซเดียมไนไตรตในอาหาร 92 ตารางที่ 23 แสดงอายุของผูตอบแบบสอบถาม 96 ตารางที่ 24 แสดงระดับการศึกษาของผูตอบแบบสอบถาม 97 ตารางที่ 25 แสดงอาชีพหลักของผูตอบแบบสอบถาม 97 ตารางที่ 26 แสดงสถานภาพสมรสของผูตอบแบบสอบถาม 98

Page 5: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ฌ สารบัญตาราง

หนา ตารางที่ 27 แสดงรายไดตอเดือนของผูตอบแบบสอบถาม 98 ตารางที่ 28 แสดงที่อยูปจจบุันของผูตอบแบบสอบถาม 99 ตารางที่ 29 ความรูเกีย่วกับผลิตภัณฑสุขภาพ 99 ตารางที่ 30 แสดงความรูของผูบริโภคเกีย่วกบัสิทธิผูบริโภคและชองทางการ รองเรียน 101 ตารางที่ 31 แสดงชองทางรองเรียนที่ผูบริโภครูจัก 101 ตารางที่ 32 แสดงพฤติกรรมบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ 102 ตารางที่ 33 แสดงการไดรับอันตรายหรือเสียหายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ 103 ตารางที่ 34 แสดงการรองเรยีนไปยังหนวยงานที่คุมครองผูบริโภคเมื่อไดรับอันตราย

หรือความเสยีหายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ 104

ตารางที่ 35 แสดงการรองเรียนไปยังหนวยงานที่คุมครองผูบริโภคหากในอนาคต ไดรับอันตรายหรือความเสียหายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ

104

105 ตารางที่ 36 แสดงเหตุผลในการไมรองเรียนของกลุมประชาชนผูบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ เมื่อ ไดรับความเสยีหายหรือไดรับอันตรายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ

ตารางที่ 37 ขอมูลการดําเนนิงานอาหารปลอดภัยในโรงเรียน ( อย.นอย ) ป 2550 119 ตารางที่ 38 ผลการดําเนินงานอาหารปลอดภัยในโรงเรียน ( อย.นอย ) ป 2550 119 ตารางที่ 38 ผลการดําเนินงานอาหารปลอดภัยในโรงเรียน ( อย.นอย ) ป 2550 แยกรายอําเภอ 120 ตารางที่ 39 หลักเกณฑการประกวดโครงการ อย.นอย ป 2550 (แบบฟอรมการใหคะแนน

โรงเรยีนที่เขาประกวดของกรรมการ) 131

ตารางที่ 40 กรอบการใหคะแนนการประกวด อย.นอย ระดบจังหวัด ป 2550 132 ตารางที่ 41 จํานวนสถานที่ผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน 144 ตารางที่ 42 คุณภาพและความถูกตองตามกฎหมายของผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน 144 ตารางที่ 43 จํานวนสถานทีผ่ลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน ระดับ 3-5 ดาว 145 ตารางที่ 44 คุณภาพและความถูกตองตามกฎหมายของผลติภณัฑสุขภาพชุมชนระดบั 3-5 ดาว 145 ตารางที่ 45 ผลการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภณัฑไทย (ประเภทอาหาร

เครื่องดื่ม สมุนไพร) ป 2550 146

ตารางที่ 46 ผลการตรวจสอบคุณภาพผลิตภณัฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ิน ป 2550 149 ตารางที่ 47 ผลการประเมินความพึงพอใจในการจดักิจกรรมโครงการการอบรม

สัมมนามาตรฐานสถานที่วิสาหกิจผลิตภณัฑสุขภาพชุมชน ป 2550 156

Page 6: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

บทสรุปสําหรับผูบรหิาร การบริโภคที่ปลอดภัย เปนปจจยัหนึ่งทีช่วยเกื้อหนนุใหสุขภาพคนไทยแข็งแรง การดําเนินงานดาน

คุมครองผูบริโภคทําใหประชาชนไดรับความปลอดภยั เปนธรรม จากการบริโภค อาหาร ยา เครื่องสําอาง เครื่องมือแพทย วัตถุอันตราย และวัตถุเสพติด ซ่ึงเปนผลิตภัณฑที่จําเปนตอการดํารงชีวิตสงผลกระทบตอสุขภาพอนามยัของประชาชน ที่ผานมาการดําเนินงานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภณัฑสุขภาพไดมกีารพฒันา เพื่อใหผูบริโภคเชื่อมั่นในการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ

ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) ทําขึ้นภายใตกรอบแนวคดิและทิศทางทีอั่ญเชิญ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาเปนหลักปฏิบัติ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขไดนํามาใชในการกําหนดทิศทางการพัฒนาการดําเนินงานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพ โดยไดกําหนดวิสัยทัศน คือ “เปนผูนําในการพัฒนาสังคมฐานความรูดานผลิตภัณฑสุขภาพอยางตอเนื่องยั่งยืน” และยังไดกําหนดพนัธกิจทีจ่ะพัฒนาศักยภาพผูบริโภค ใหมีความรูและพฤติกรรมการบริโภคเพื่อสุขภาพและการสงเสริมสนับสนนุใหทกุภาคสวนเขามามีสวนรวมในการดําเนนิงานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพ ซ่ึงยังผลใหเกิดความเชือ่มั่นตอผลิตภัณฑสุขภาพและใหสังคมไทยมีวัฒนธรรมการบริโภคที่มีความแข็งแรงและมีสวนรวมในการปองกันกระแสการบริโภคที่ไมเอือ้ตอสุขภาพ ผูบริโภคสามารถเขาถึงและใชความรู ในการนําไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อตอสุขภาพ

ปงบประมาณ 2550 กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ ไดดําเนินกิจกรรมการคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑและบริการสุขภาพ เพื่อคุมครองสุขภาพของประชาชนใหปลอดภยัจากการบริโภคผลิตภณัฑสุขภาพและบริการสุขภาพ รวมถึงการพฒันาศกัยภาพผูบริโภค ใหรูสิทธิของตน และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกตอง

ผลจากการดําเนินงานในปงบประมาณ 2550 ที่ผานมาของกลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ ไดดําเนินกิจกรรมการคุมครองผูบริโภคดานตางๆดังนี้

1. ดานการพัฒนาศักยภาพผูบริโภค ไดดาํเนนิการรณรงคใหผูบริโภครูสิทธิ และรองเรียนหากถูกละเมิดสิทธิ เผยแพรความรู ประชาสัมพันธ รณรงคเกี่ยวกับการเลือกซื้อและ การบริโภคผลิตภณัฑสุขภาพรวมถึงสนับสนุนการรวมกลุมผูบริโภคและการสรางเครือขายการคุมครองผูบริโภคและเสริมสรางความเขมแขง็ในการดาํเนินงานคุมครองผูบริโภคในโรงเรยีนใหยัง่ยนืและตอเนือ่ง ยังผลใหประชาชนในจงัหวดัอุตรดิตถมพีฤติกรรมการบรโิภคผลิตภณัฑสุขภาพที่ถูกตอง รอยละ 86.4 (เปาหมายรอยละ 85) และรูสิทธิผูบริโภค รอยละ 78.7 (เปาหมายรอยละ 90) ในสวนการดําเนินงานคุมครองผูบริโภคในโรงเรียน จังหวัดอุตรดติถ ไดรับรางวลัการดําเนินกจิกรรม อย.นอย ในโรงเรยีน ระดับเยีย่ม จํานวน 3 โรงเรียน คือ โรงเรียนพิชัย โรงเรียนทาปลาประชาอุทิศ และโรงเรียนอตุรดิตถวิทยา ซ่ึง โรงเรียนอุตรดิตถวิทยาไดรับรางวัลชนะเลิศระดับเขตตรวจราชการที่ 2 และเปนตวัแทนเพื่อเขาประกวดระดบัประเทศ

Page 7: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2. ดานการกํากับ ดูแลผลิตภัณฑสุขภาพและสถานบริการสุขภาพ ไดดําเนินการตรวจสอบผลิตภัณฑสุขภาพ สถานประกอบการดานผลิตภัณฑสุขภาพและสถานบรกิารสขุภาพ เพื่อใหไดคณุภาพมาตรฐานตามเกณฑทีก่ฎหมายกาํหนด ดังนี้ สถานพยาบาลเอกชน ทั้งหมด 192 แหง ไดรับการตรวจสอบมาตรฐานสถานพยาบาลประจําป จํานวน 171 แหง คิดเปนรอยละ 89.06 (เปาหมาย รอยละ 90) รานขายยา ทั้งหมด 97 แหง ไดรับการตรวจสอบมาตรฐาน ประจําป จํานวน 24 แหง คิดเปนรอยละ 24.74 (เปาหมายรอยละ 85) สถานที่ผลิตอาหาร ทั้งหมด 110 แหง ที่เขาขายเกณฑ GMP ไดรับการตรวจสอบเฝาระวังและตรวจประเมินประจําป จํานวน 56 แหง คิดเปนรอยละ 100 และที่ไมเขาขายเกณฑ GMP ไดรับการตรวจสอบเฝาระวังและตรวจประเมินประจําป จํานวน 54 แหง คิดเปนรอยละ 100 (เปาหมายรอยละ 95) สถานบริการสาธารณสุขของรัฐที่มีการใหบริการแพทยแผนไทย ทั้งหมด 98 แหง ไดรับการตรวจประเมินมาตรฐานประจําป ผานเกณฑ 97 แหง คิดเปนรอยละ 98.98 (ผานเกณฑระดับดีมาก 4 แหง ระดับดี 10 แหง) ดานการตรวจสอบผลิตภัณฑ แบงเปนการตรวจสอบดวย test kit ผลิตภัณฑอาหาร ตรวจสอบ 7,241 รายการ ผานมาตรฐาน 7,238 รายการ คิดเปนรอยละ 99.96 ผลิตภัณฑยา ตรวจสอบ 48 รายการ ผานมาตรฐาน 35 รายการ คิดเปนรอยละ 72.91 ผลิตภัณฑเครื่องสําอาง ตรวจสอบ 188 รายการ ผานมาตรฐาน 126 รายการ คิดเปนรอยละ 67.02 การตรวจสอบทางหองปฏิบัตกิาร ผลิตภัณฑอาหาร ตรวจสอบ 115 รายการ ผานมาตรฐาน 102 รายการ คิดเปนรอยละ 88.70 ผลิตภัณฑยา ตรวจสอบ 5 รายการ ผานมาตรฐาน 2 รายการ คิดเปนรอยละ 40 ผลิตภัณฑเครื่องสําอาง ตรวจสอบ 10 รายการ ผานมาตรฐาน 5 รายการ คิดเปนรอยละ 50 การตรวจสอบฉลาก ในผลิตภัณฑยาและเครื่องสําอางพบผานเกณฑมาตรฐานต่ํา รอยละ 13.72 และ 30.85 ตามลําดับ

3. ดานการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน ผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนมีคุณภาพและความถูกตองตามกฎหมาย รอยละ 80 (เปาหมายรอยละ 80) ดานการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนและทองถ่ิน (OTOP) ระดับ 3-5 ดาว ดานสถานที่ผลิตผานเกณฑ GMP และ GHP รอยละ 95.45 (เปาหมายรอยละ 90) ดานคุณภาพและความถูกตองตามกฎหมายของผลิตภัณฑ ผานเกณฑ รอยละ 95.45

4. การแพทยแผนไทย และการแพทยทางเลือก ประชาชนทีม่ีหลักประกนัสขุภาพไดรับบริการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอืกในสถานบรกิารสาธารณสขุของรัฐ เพิม่ขึ้นคิดเปนรอยละ 26.22 (เปาหมายเพิ่มขึ้นรอยละ 2.5) โรงพยาบาลศูนย/โรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลชุมชนมีบริการดานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอืกทีไ่ดมาตรฐาน รอยละ 100 (เปาหมายรอยละ 90) สถานีอนามยัมกีารใหบริการดานการแพทยแผนไทย รอยละ 100 (เปาหมายรอยละ 93) สถานประกอบการ

Page 8: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ธุรกิจบรกิารสขุภาพทีไ่ดรับการตรวจมาตรฐาน พบวาในป 2550 มผูีประกอบการยื่นคํารองขอรับรองมาตรฐาน จาํนวน 2 ราย ไมผานการรบัรองมาตรฐานทั้ง 2 แหง

5. ความปลอดภยัดานอาหาร การเฝาระวังความปลอดภยัของผลิตภณัฑอาหารในทองตลาด โดยการเก็บตวัอยางผลติภณัฑอาหารสงตรวจวิเคราะหยังหองปฏิบัติการผานมาตรฐาน รอยละ 88.70 การตรวจสอบฉลากผลิตภณัฑอาหารในรานขายของชํา จาํนวน 2,307 แหง 20,329 รายการ พบไมถูกตอง 393 รายการ คดิเปนรอยละ 1.93 การตรวจสอบเฝาระวังและตรวจประเมนิสถานที่ผลิตอาหาร ทั้งสถานที่ผลิตอาหารที่เขาขายเกณฑ GMPและที่ไมเขาขายเกณฑ GMP ผานมาตรฐาน รอยละ 100 สวนผลคะแนนเฉลี่ยการประเมินแบงเปนสถานที่ผลิตน้ําบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท ไดคะแนนเฉลี่ย 90.5 คะแนน สวนสถานที่ผลิตอาหารอื่นๆไดคะแนนเฉลี่ย 90.24 คะแนน การตรวจเฝาระวังอาหารกลุมเสี่ยงในรานจําหนายอาหารสดใหปลอดภัยจากสารปนเปอน 6 ชนดิ จํานวนที่ตรวจ 7,725 รายการ ไมพบการปนเปอน รอยละ 100

ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย

1. กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจงัหวดัอตุรดิตถ ควรนาํสถานการณและขอมูลในปที่ผานมาไปใชในการกําหนดกลยุทธ แผนงาน โครงการในปงบประมาณ 2551

2. กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ ควรเรงรัดผลการดําเนินงานบางกิจกรรม เพื่อใหบรรลุเปาหมายและตัวช้ีวัด ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

3. ปงบประมาณ 2551 กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ ควรศึกษาตัวช้ีวัด เปาหมาย และแนวทางการดําเนินงานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพ ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เพื่อใหการดําเนินงานมีความชัดเจน และสอดคลองไปในทิศทางเดียวกัน

ขอเสนอแนะเชิงปฏิบตั ิ1. ควรมกีารสงเสริมหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน ใหเกดิองคกรผูบริโภคที่เขมแข็ง และ

สรางความรูความเขาใจที่ถูกตองเพื่อนําไปสูการพัฒนาเปนเครือขายที่แทจริงในการคุมครองผูบริโภค

2. การดําเนินโครงการ อย.นอย จะตองดําเนินการอยางตอเนื่อง เพื่อพัฒนาการบริโภคของเด็กและเยาวชน ใหเปนผูบริโภคที่สามารถเลือกซ้ือ เลือกบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ ไดอยางถูกตอง เหมาะสมและปลอดภัย

3. ควรมีเครือขายที่ชํานาญการเขามามีสวนรวมในการกํากับดูแลผลิตภัณฑสุขภาพที่มีปญหา โดยเฉพาะผลิตภัณฑเครื่องสําอาง

Page 9: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

4. เพิ่มความเขมแข็งใหแกองคการปกครองสวนทองถ่ิน (อบต.) โดยใหมีการจัดทําเกณฑการประเมินความพรอมของ อบต. มาใชเปนเครื่องมือประกอบการมอบภารกิจ

5. ควรมีการประชาสัมพันธเชิงรุกเกี่ยวกับผลิตภัณฑสุขภาพที่ถูกตอง ครบถวน และเขาถึงงายแกผูบริโภค เพื่อสรางความเขาใจที่ถูกตองไมใหถูกหลอกลวงจากผูประกอบการ โดยเฉพาะธุรกิจขายตรงและโฆษณาแอบแฝง

Page 10: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ขอมูลพื้นฐานดานการคุมครองผูบริโภคในจังหวดัอุตรดิตถ ขอมูลพื้นฐานสถานประกอบการดานสุขภาพในจังหวัดอุตรดิตถ

ดานอาหาร ดานยา ดานการประกอบ

โรคศิลปะ ดานการแพทยแผนไทย

รานขายยา ลําดับ อําเภอ

สถานที่ผลิตอาหารที่เขาขายเกณฑ

GMP

สถานที่ผลิตอาหารทั่วไป

สถานที่นําเขา

สถานที่ผลิตยาแผนโบราณ

ยาแผนปจจุบัน (ขย.1)

ยาแผนปจจุบันบรรจุเสร็จ (ขย.2)

ยาสัตว (ขย.3)

ยาแผนโบราณ (ขย.บ.)

สถานพยาบาลเอกชน(ประเภทไมรับผูปวยไวคางคืน)

ระดับ1

ระดับ2

ระดับ3

ระดับ4

1 เมืองอุตรดิตถ 32 32 0 2 27 11 6 5 88 19 3 1 - 2 ลับแล 4 5 0 1 4 3 - - 31 9 3 1 - 3 พิชัย 3 5 0 1 4 7 2 2 18 11 3 1 - 4 ตรอน 4 6 0 - - 3 1 - 11 5 1 - - 5 ทองแสนขัน 2 0 0 - 1 1 2 - 14 5 1 - - 6 ทาปลา 2 1 0 - 1 4 2 - 7 14 1 - - 7 น้ําปาด 4 2 0 - 2 3 1 1 10 10 1 - - 8 ฟากทา 4 2 0 - - - - - 10 4 1 - - 9 บานโคก 1 0 1 - - 1 - - 3 5 1 - -

รวม 56 53 1 3 39 33 14 8 192 82 15 3 -

1

Page 11: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

การดําเนินงานดานการอนญุาตเกี่ยวกับผลิตภัณฑสุขภาพและสถานประกอบการ

การตรวจสอบ อาหาร ยา วจ.3,4 วจ.2,3,4 วัตถุ เสพติด

วัตถุอันตราย

เครื่องมือแพทย

สถานพยาบาลเอกชน

นวดเพื่อสุขภาพ

นวดเพื่อเสริมสวย

สปาเพื่อสุขภาพ

1. การออกใบอนุญาตใหม (ราย) 6 1 - 1 - - - 15 - - - 2. การออกใบแทนใบอนุญาต (ราย) 0 - - - - - - 8 - - - 3. การอนุญาตเลขสารบบ (เลข) 22 - - - - - - - - - - 4. การยกเลิกใบอนุญาต (ราย) 4 - - - - - - 10 - - - 5. การตออายุใบอนุญาต (ราย) - 9 11 7 - - 195 - - - 6. การเปลี่ยนแปลงแกไข (ราย) 3 3 - - - - - 5 - - -

การดําเนินงานดานการเฝาระวังเกี่ยวกับผลิตภัณฑสุขภาพและสถานประกอบการ 1. การตรวจสอบสถานประกอบการ

อาหาร จํานวนสถานประกอบการ (แหง)

GMP ทั่วไป ยา สถานพยาบาล นวดเพื่อสุขภาพ นวดเพื่อเสริมสวย สปาเพื่อสุขภาพ

ทั้งหมด 56 54 97 192 2 - - ที่ตรวจสอบในป50 56 20 24 171 2 - - คิดเปนรอยละ 100.00 37.04 24.74 % 89.06 100 - -

2

Page 12: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

3

2. การตรวจสอบผลิตภัณฑ จํานวนตัวอยาง

การตรวจสอบ อาหาร ยา เคร่ืองสําอาง

วัตถุ เสพติด

เคร่ืองมือแพทย

วัตถุอันตราย

115 102

5 2

10 5

0 0

0 0

0 0

1. ตรวจสอบทางหองปฏิบัตกิาร ผานมาตรฐาน

คิดเปนรอยละ 88.70 40 50 0 0 0

7,241 7,238

48 35

188 126

0 0

0 0

0 0

2. ตรวจสอบดวย test kit ผานมาตรฐาน

คิดเปนรอยละ 99.96 72.91 67.02 0 0 0

20,329 19,936

51 7

188 58

0 0

0 0

0 0

3. ตรวจสอบฉลาก ผานมาตรฐาน

คิดเปนรอยละ 98.07 13.72 30.85 0 0 0

4 0

5 0

19 17

0 0

0 0

0 0

4. ตรวจสอบโฆษณา ผานมาตรฐาน

คิดเปนรอยละ 0 0 89.47 0 0 0

3. การดําเนินการทางกฎหมาย/เร่ืองรองเรียน/เฝาระวัง การดําเนินการ (ราย)

งาน สงตอ ตักเตือน

เปรียบเทียบปรับ

ดําเนินคดี รวม

1. งานอาหาร 3 1 9 1 14 2. งานเภสัชสาธารณสุข 8 - - 1 9 3. งานประกอบโรคศิลปะ 9 3 - 4 16 4. งานแพทยแผนไทย - - - - -

Page 13: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

4

สรุปผลการปฏิบัติงานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภณัฑสุขภาพและบริการสขุภาพ ปงบประมาณ 2550 1. งานเภสัชสาธารณสุข

1.1 การตออายุใบอนุญาต การเปล่ียนแปลงแกไขรายการในใบอนุญาต การออกใบอนุญาตใหม และ การยกเลิกใบอนุญาต ป 2550

การตออายุใบอนุญาต งานเภสัชสาธารณสุข กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัอุตรดิตถ ไดดําเนนิการตออายุใบอนญุาตขายยาประเภทตางๆที่ส้ินอายุในวนัที่ 31 ธันวาคม 2549 ซ่ึงผูประกอบการมีความประสงคจะประกอบกจิการตอไป ในป 2550 ดังตอไปนี ้

1. ขายยาแผนปจจุบัน จํานวน 39 ราย 2. จําหนายยาเสพติดใหโทษในประเภท 3 จํานวน 9 ราย 3. ขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4 จํานวน 11 ราย 4. ขายยาแผนปจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จทีไ่มใชยาอนัตรายหรือยาควบคมุพิเศษ จํานวน 33 ราย 5. ขายยาแผนปจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จสําหรับสัตว จํานวน 14 ราย 6. ขายยาแผนโบราณ จํานวน 8 ราย 7. ผลิตยาแผนโบราณ จํานวน 4 ราย 8. ครอบครองหรือใชประโยชนซ่ึงวัตถุออกฤทธิ์ จํานวน 11 ราย 9. จําหนายซึ่งยาเสพติดใหโทษในประเภท 2 จํานวน 9 ราย

การออกใบอนญุาตฯใหม งานเภสัชสาธารณสุข กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ ไดดาํเนินการออกใบอนุญาตรานขายยาใหม 1 ราย คือ

1. รานกระดิ่งทอง อําเภอทองแสนขัน ใบอนญุาตฯเลขที่ อต 1/2550

การเปลี่ยนแปลงแกไขรายการในใบอนุญาต 1. รานธีรพงษเภสัชกร ขอเปลี่ยนชื่อรานเปน รานสุพรรณเวช และขอเปลี่ยนผูมีหนาทีป่ฏิบัติการ 2. รานยาเภสัช ขอเปลี่ยนชื่อรานเปนรานจิตตะวันเภสัช 3. รานกิจประเสริฐ ขอเปลี่ยนผูรับอนุญาต 1.2 การดําเนินงานดานยา 1. ตัวอยางยาทีส่งตรวจวิเคราะหเบื้องตนหาสารสเตยีรอยด จาํนวน 49 ตัวอยาง ตรวจพบสารเพรดนโิซโลน

จํานวน 6 ตัวอยาง และ สารเดกซาเมธาโซน จํานวน 7 ตัวอยาง สงตวัอยางยาเพื่อตรวจวเิคราะหยนืยันผลที่ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยพิษณุโลก จํานวน 5 ตัวอยาง ผลการตรวจ พบสารเดกซาเมธาโซน จํานวน 3 ตัวอยาง อีก 2 ตัวอยาง ไมพบสารสเตียรอยด รายละเอียดตามตารางที่ 1

2. เร่ืองรองเรียนดานยาจากประชาชน จํานวน 1 เร่ือง ซ่ึงดําเนินการเสร็จเรียบรอยแลว

Page 14: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

5

ตารางที่ 1 ผลการดําเนินงานดานยา ป 2550 วัน เดือน ป รายการ การดําเนินการ 3 ต.ค. 49 - ยาถายกษัยเสน ไมระบุผูผลิต ติดตอฝายขาย

โทร. 086-5166115, 086-7338200 - สงตรวจโดย กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลอุตรดิตถ

- โรงพยาบาลอุตรดิตถไดรับแจงจากคุณสายหยุด สนิทกลาง ไดรับยาจากพี่สาว สรรพคุณเปนยาถายกษัยเสน บํารุงธาตุและบํารุงรางกาย - ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องตน พบสเตียรอยด ชนิด Prednisolone - ตรวจสอบเพิ่มเติมพบวายาไมไดขึ้นทะเบียนตํารับยา ฉลากมีสรรพคุณโออวดเกินจริงและระบุติดตอฝายขาย อ.บึงสามพัน จ.เพชรบูรณ - แจงผลการตรวจสอบใหโรงพยาบาลอุตรดิตถทราบ - ไดแจงให สสจ.เพชรบูรณดําเนินการตรวจสอบ - ยังไมไดรับแจงการตรวจสอบ

3 ต.ค. 49 - ยาลูกกลอนสีดําไมทราบชื่อ ไมมีฉลาก - สงตรวจโดย กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลอุตรดิตถ

- โรงพยาบาลอุตรดิตถไดรับแจงจากคุณทิพวัลย พูลผล ซื้อยามาจากหมอชาวบาน หมูบานบานโปงขาม จังหวัดแพร สรรพคุณ เปนยาบรรเทาโรคเบาหวานและปวดหลัง ปวดเอว - ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องตน ไมพบสเตียรอยด ชนิด Prednisolone และ Dexamethasone - จากการตรวจสอบฉลาก พบวาเปนยาที่ไดรับการขึ้นทะเบียนตํารับยาถูกตอง - ไดแจงให สสจ.แพร ดําเนินการตรวจสอบ - ยังไมไดรับแจงผลการดําเนินการ

13 ต.ค. 49 - ยาสมุนไพรนานาชนิด - สงตรวจโดย กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลอุตรดิตถ

- โรงพยาบาลอุตรดิตถไดรับแจงจากคุณกาญจนา เบาทอง ไดยามาจากการขายเรตามหมูบานเดนดาน จังหวัด อุตรดิตถ สรรพคุณ แกปวดกระดูกและขอ รักษาโรคตางๆ เปนยาบํารุงรางกาย เปนยาแพทยแผนไทย - ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องตน พบสเตียรอยด ชนิด Prednisolone - จากการตรวจสอบฉลาก พบวาเปนยาที่ไมไดรับการขึ้นทะเบียนตํารับยาถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลวและขอความรวมมือในการตรวจสอบแหลงที่มาของยา พรอมทั้งแจงให สสอ.เมืองตรวจสอบเฝาระวัง และกลุมงานไดทําขาวสารประชาสัมพันธใหประชาชนทราบแลว

Page 15: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

6

วัน เดือน ป รายการ การดําเนินการ 20 ต.ค. 49 - ยาเม็ดลูกกลอนสีน้ําตาลไมมีช่ือ

- สงตรวจโดย นายชาญชัย เหล็กคํา สาธารณสุขอําเภอเมืองอุตรดิตถ

- ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องตน ไมพบสเตียรอยด ชนิด Prednisolone และ Dexamethasone - จากการตรวจสอบฉลาก พบวาเปนยาที่ไมไดรับการขึ้นทะเบียนตํารับยาถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

20 ต.ค. 49 - ยาลูกกลอน จํานวน 3 ตัวอยาง สงตรวจโดย นางพรพิมล ภูวธนานนท หัวหนากลุมงานคุมครองผูบริโภค สสจ.อุตรดิตถ 1.ยาประสะฝา สรรพคุณ แกสิว ประดงเลือด ตกกระ ระดูมาไมปกติ มุตกิจ ตกขาวปวดมดลูก แกอักเสบ ประสะผิวพรรณ ปวดเถาคอ ปวดเมื่อยตามรางกาย 2.ยาแกเลือดลม สรรพคุณ แกเลือดลมเลี้ยงรางกายไมสะดวก แกมือเทาชา แกลมชัก ลดไขมันในเลือด หัวใจเตนไมปกติ บํารุงหัวใจ คลายปวดเมื่อยตามรางกาย ทําใหนอนหลับ เจริญอาหาร 3.ยาปราบกระษัยเสน สรรพคุณ แกโรคกระษัยกรอน กระษัยเสนปตมาต แกลมทําใหปากเบี้ยวลิ้นกระดาง ตาแข็ง อัมพฤกษ อัมพาต ปวดเถาคอ ปวดตามขอ แกเถาดาน ทองผูก ยาทั้ง 3 ตัวอยาง ผลิตโดย คลินิกหมอนิภาแพทยแผนไทย 9/37 ม. 6 ต. ทุงยั้ง อ. ลับแล จ. อุตรดิตถ

- ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องตน ไมพบสเตียรอยด ชนิด Prednisolone และ Dexamethasone ในตัวอยางยาลูกกลอนทั้ง 3 ชนิด - จากการตรวจสอบพบวาเปนยาที่ไมไดขึ้นทะเบียนตํารับ - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

9 พ.ย. 49 ยาสมุนไพร 5 ตัวอยาง สงตรวจโดย คุณสุดารัตน มนตรุจิรัตน สนง.สรรพากรจังหวัดอุตรดิตถ 1.ยาเม็ดตอกอัดสีเขียว ไมทราบชื่อ ไมระบุสรรพคุณ ผลิตโดยสมุนไพรเพื่อสุขภาพแพทยแผนไทย 411/96 ซอยจรัญสนิทวงศ 33 บางกอกนอย กทม. 10700 โทร 0 2412 9919, 08 1922 5375 2.ยาเม็ดตอกอัดสีน้ําตาลชื่อสมุนไพรชางเกาเชือก ไมระบุสรรพคุณและผูผลิต 3.ยาลูกกลอนเม็ดสีดําไมระบุช่ือ สรรพคุณ

- ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องตน ไมพบสเตียรอยด ชนิด Prednisolone และ Dexamethasone ในตัวอยางยาทั้ง 5 ชนิด - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

Page 16: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

7

วัน เดือน ป รายการ การดําเนินการ (ตามที่ระบุ) แกเบาหวาน อัมพฤต อัมพาต พารา

เด็ด ทองอืด ชาตามมือตามเทา เสนทองตึง ริดสีดวง ไขมัน ไต ปวดในกระดูก ยาครอบจักรวาล เปนยาระบาย ผลิตโดย แมชีตุ อยูที่วัดแถวๆบานแหลมคูณ อ.ตรอน จ.อุตรดิตถ 4.ยาผงสีน้ําตาล ยาแกเสน ไมระบุสรรพคุณ ผลิตและจําหนายโดยโอสถไทยเจริญ

9 พ.ย. 49 - ยาขยายเสนปาลําภา แคปซูลสีน้ําตาล สรรพคุณ รักษาโรคปวดขา เดินไมได ผลิตโดย ปาลําภา โทร. 08 7203 3279 จําหนายโดย นายปรีชา ออนนิ่ม โทร. 08 7257 7457 ติดกับปอมตํารวจหนาโรงเรียนคลองโพธิ์ - สงตรวจโดยคุณยอด ศรีวิไล 12 เจษฎาบดินทร 055411419

- ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องตน พบสเตียรอยด ชนิด Dexamethasone - จากการตรวจสอบพบวาตัวอยางทั้งหมดเปนยาที่ไม ไดขึ้นทะเบียนตํารับยา - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลวและไดจัด สงคูมือผูบริโภคใหคุณยอด ศรีวิลัย

28 พ.ย. 49 - ยากษัยเสนบํารุงไต(ยาชุด 5 เม็ด) ประกอบดวย 1.ยาเม็ดตอกอัดสีขาวเสนผาศูนยกลาง 1 เซนติเมตร 2.ยาเม็ดตอกอัดสีขาวเสนผาศูนยกลาง 1 เซนติเมตรมีรูปสี่เหลี่ยมตรงกลาง 3.ยาแคปซูลสีฟาและขาว 4.ยาเม็ดรูปถั่วสีแดง 5.ยาเม็ดตอกอัดสีสม เสนผาศูนยกลาง 8 มิลลิเมตร - สรรพคุณ แกอาการปวดหลัง ปวดเอว ปวดตามกลามเนื้อ มีอาการเสนตึง เนื่องจากโรครูมาติซึมและไตพิการ -สงตรวจโดยคุณสาลี่ คชานุกูลย

- ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องตน พบสเตียรอยด ชนิด Dexamethasone ในตัวอยางยาเม็ดสีสม สวนที่เหลือไมพบสเตียรอยดเจือปน - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว และใหสอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับที่มาของยาดังกลาวเพื่อแจงใหกลุมงานทราบ - ยังไมไดรับแจงขอมูล

28 พ.ย. 49 - ยาน้ํามากระทืบโรง ตราหมอโอภาส - สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามรางกาย บํารุงรางกาย บํารุงธาตุ ยาแผนโบราณ ทะเบียนตํารับยาเลขที่ G.807/46 ผลิตโดย รานขายยาโอภาสเภสัช 20 ถนนชัยชาญยุทธ อ.เมือง จ.รอยเอ็ด - สงตรวจโดยนายธีรพงษ เอี่ยมออน โรงพยาบาลทองแสนขัน

- ผลการตรวจวิเคราะหโดยศูนยวิทยาศาสตรการแพทยพิษณุโลก พบสเตียรอยด ชนิด Dexamethasone - จากการตรวจสอบพบวาเปนยาที่ไดรับการขึ้นทะเบียนตํารับยาถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว - แจงสสจ.รอยเอ็ดดําเนินการตรวจสอบ

Page 17: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

8

วัน เดือน ป รายการ การดําเนินการ

- สสจ.รอยเอ็ดแจงผลการตรวจสอบแลววาไดตรวจสอบสถานที่การผลิตแตไมพบสิ่งปนเปอน

13 ธ.ค. 49 - ตัวอยางยาเม็ดลูกกลอนสีดําและตัวอยางยาผงสีน้ําตาล ไมทราบชื่อ และไมมีฉลาก - สงตรวจโดย นางยุพวง ปนเวหา 146 ถ.อินใจมี ต.ศรีพนมมาศ อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ 055431041, 0869362229

- ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องตน ไมพบสเตียรอยด ชนิด Prednisolone และ Dexamethasone ทั้ง 2 ตัวอยาง - จากการตรวจสอบพบวาเปนยาที่ไมไดขึ้นทะเบียนตํารับยา - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

25 ธ.ค. 49 - ตัวอยางยากระษัย ตราลูกหมอเสารชนิดน้ํา - สรรพคุณบรรเทากระษัย ปวดเมื่อยตามรางกาย ผลิตโดย รานมหาเสารเวชเภสัช 69 ม.3 ต.หนองแคน อ.ปทุมรัตต จ.รอยเอ็ด โทร 0872095155 - สงตรวจโดย สํานักงานสาธารณสุข อ.พิชัย

- ผลการตรวจวิเคราะหจากศูนยวิทยาศาสตรการแพทยพิษณุโลก พบสเตียรอยดชนิด Dexamethasone - จากการตรวจสอบพบวาเปนยาที่ไดรับการขึ้นทะเบียนตํารับยาถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว - ไดทําหนังสือแจง สสจ.รอยเอ็ด ดําเนินการตรวจสอบ พรอมทั้งสําเนาแจง อย. - สสจ.รอยเอ็ด แจงผลการตรวจสอบกลบัมาเรียบรอยแลววา ไดตรวจสอบสถานที่การผลิตแตไมพบสิ่งปนเปอน และไดทําหนังสือหารือไปยัง อย. และอย.แจงแนวทางการดําเนินการใหทราบ - กลุมงานฯ ทําการเฝาระวังโดยสุมสอบถามรานยาภายในจังหวัดจํานวน 4 ราน พบวาไมมีการจําหนายยาดังกลาว และไดแจงขอมูลให สสอ., โรงพยาบาลทุกแหง เพื่อตรวจสอบเฝาระวังตอไป

25 ธ.ค. 49 - ตัวอยางยาชนิดน้ํากษัยเสน ตราเทียนทองคู - สรรพคุณแกกษัยเสน หรือปวดเมื่อยตามรางกาย จุกเสียดแนนทอง เจริญอาหาร ผลิตโดยมหาเย็นเภสัช 107 ม.1 อ.แวงใหญ จ.ขอนแกน 40330 - สงตรวจโดย กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุข จ.อุตรดิตถ

- ผลการตรวจวิเคราะหจากศูนยวิทยาศาสตรการแพทยพิษณุโลก พบสเตียรอยดชนิด Dexamethasone - จากการตรวจสอบพบวาเปนยาที่ไดรับการขึ้นทะเบียนตํารับยาถูกตอง - แจง สสจ.ขอนแกน ดําเนินการตรวจสอบแหลงผลิต - สสจ.ขอนแกน แจงผลการตรวจสอบกลบัมาเรียบรอยแลววา ไดตรวจสอบสถานที่การผลิตแตไมพบสิ่งปนเปอน

25 ธ.ค. 49 ยาสมุนไพรนานาชนิด - สงตรวจโดย กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลอุตรดิตถ

- โรงพยาบาลอุตรดิตถไดรับแจงจากคุณสุภาพ อุนนภา ไดรับยามาจากจังหวัดขอนแกน สรรพคุณปวดตามขอ ปวดตามกลามเนื้อ หรือมดลูกไมดี โรคประดงตาง ๆ โรคหืดหอบ อัมพฤกษ อัมพาต ลมพิษ มือเทาเย็น ฯลฯ

Page 18: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

9

วัน เดือน ป รายการ การดําเนินการ - ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องตน พบสเตียรอยดชนิด

Prednisolone - จากการตรวจสอบเบื้องตนพบวาเปนยาที่ไมไดรับการขึ้นทะเบียนตํารับยาถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

25 ธ.ค. 49 - ตัวอยางยาลูกกลอน ไมทราบชื่อ ไมมีฉลาก จํานวน 3 ตัวอยาง 1. ยาเม็ดลูกกลอนสีสม 1 เม็ด 2. ยาเม็ดตอกอัดสีสม 2 เม็ด 3. ยาเม็ดตอกอัดสีเหลือง 2 เม็ด - สรรพคุณรักษาแกปวดกระดูกทับเสน - สงตรวจโดย กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลอุตรดิตถ

- โรงพยาบาลอุตรดิตถไดรับแจงจาก คุณหนึ่งฤทัย อินจันตะ ไดรับยามาจากการเรขายตามหมูบาน จ.อุตรดิตถ - ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องตน พบสเตียรอยดชนิด Prednisolone ในตัวอยางยาลูกกลอนเม็ดสีดํา และพบ Dexamethasone ในตัวอยางยาเม็ดตอกอัดสีสม - จากการตรวจสอบเบื้องตนพบวาเปนยาที่ไมไดรับการขึ้นทะเบียนตํารับยาถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

3 ม.ค. 50 - ยาแคปซูล ยาลดไขมัน สูตร 2 - สรรพคุณเผาไขมันสวนเกิน แกปวดเมื่อย ทําใหเกิดกําลัง รับประทานครั้งละ 2-3 เม็ด 3 เวลากอนอาหาร ผลิตโดยหมอประธาน พลทอง 188/1 ต.วังทอง อ.วังทอง จ.พิษณุโลก บว.15150

- ผลการวิเคราะหเบื้องตนไมพบสเตียรอยดชนิด Prednisolone และ Dexamethasone - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

3 ม.ค. 50 - ยาสมุนไพรไมทราบชื่อ ไมมีฉลาก - สงตรวจโดย ฝายเภสัชกรรม โรงพยาบาลอุตรดิตถ

- โรงพยาบาลอุตรดิตถไดรับแจงจากคุณสุชาดา ชุมศรี ไดรับยามาจากวัดโพธิ์ กรุงเทพฯ สรรพคุณ ลดไขมัน แกอืดแนนทอง - ผลการวิเคราะหเบื้องตนไมพบสเตียรอยดชนิด Prednisolone และ Dexamethasone - จากการตรวจสอบเบื้องตนพบวาเปนยาที่ไมไดรับการขึ้นทะเบียนตํารับยาถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

5 ม.ค. 50 - ตัวอยางยาไมทราบชื่อ ไมมีฉลาก - สงตรวจโดยคุณจิรวรรณ แสงรัศมี ฝายเภสัชกรรม โรงพยาบาลตรอน

- ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องตน พบสเตียรอยด ชนิด Dexamethasone - จากการตรวจสอบเบื้องตนพบวาเปนยาที่ไมไดรับการขึ้นทะเบียนตํารับยาถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว และชวยใหดําเนินการตรวจสอบวายามาจากแหลงที่ใดพรอมทั้งแจงใหกลุมงานฯทราบ

Page 19: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

10

วัน เดือน ป รายการ การดําเนินการ - ไดรับแจงจากโรงพยาบาลตรอนวาแหลงผลิตยาอยู

จังหวัดแพร - แจงให สสจ.แพรดําเนินการตรวจสอบเฝาระวัง

2 ก.พ. 50 - ยาน้ํามากระทืบโรง ตรารูปหมอโอภาส - สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามรางกาย บํารุงรางกาย บํารุงธาตุ ผลิตและจําหนายโดย รานขายยาโอภาสเภสัช 20 ถนนรณชัยชาญยุทธ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.รอยเอ็ด 45000 โทร. 043-528174 - วัตถุที่อางวาเปนอาหารเสริมไมมีฉลาก - สรรพคุณ ลดความดัน - สงตรวจโดยฝายเภสัชกรรมชุมชน โรงพยาบาลฟากทา

- ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องตน พบสเตียรอยด ชนิด Dexamethasone ในยาน้ํากระทืบโรง ตรารูปหมอโอภาส สวนวัตถุที่อางวาเปนอาหารเสริมไมพบสาร สเตียรอยด - จากการตรวจสอบยาน้ํามากระทืบโรง ตรารูปหมอโอภาสพบวาเปนยาที่ไดรับการขึ้นทะเบียนตํารับยาถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว - กลุมงานฯ ไดดําเนินการสงตัวอยางตรวจวิเคราะหที่ ศวก.พล. และแจง สสจ.รอยเอ็ดดําเนินการตรวจสอบขอเท็จจริง

22 ก.พ. 50 - ตัวอยางยาจํานวน 2 ตัวอยาง 1. ยาเม็ดลูกกลอนสีดํา สมุนไพร สวาง แขดวง โอสถ 2. ยาเม็ดสีเหลือง สมุนไพร สวาง แขดวง โอสถ จําหนายโดย สถานพยาบาล แพทยแผนโบราณ จ.มหาสารคาม หมอสวาง แขดวง โอสถ - สงตรวจโดย กลุมงานคุมครองผูบริโภค โรงพยาบาลทาปลา

- ผลการวิเคราะหเบื้องตนไมพบสเตียรอยดชนิด Prednisolone และ Dexamethasone - จากการตรวจสอบเบื้องตนพบวาเปนยาที่ไมไดรับการขึ้นทะเบียนตํารับยาถูกตอง - มีขอความโฆษณาโออวดสรรพคุณเกินจริง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว - แจง สสจ.มหาสารคาม ดําเนินการตรวจสอบขอเท็จจริง - ยังไมไดรับแจงผลการดําเนินการ

27 ก.พ. 50 - ยาแคปซูล หล่ีซุย สงตรวจโดย ฝายเภสัชกรรม โรงพยาบาลอุตรดิตถ

- โรงพยาบาลอุตรดิตถไดรับแจงจากคุณเสาวนีย หวังปรีดาเลิศกุล ไดรับยามาจากการสั่งซื้อทางโทรศัพท สรรพคุณขับปสสาวะ - ผลการวิเคราะหเบื้องตนไมพบสเตียรอยดชนิด Prednisolone และ Dexamethasone - จากการตรวจสอบพบวาเปนยาที่ไดรับการขึ้นทะเบียนตํารับยาถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

10 เม.ย. 50 - ตัวอยางยาจํานวน 3 ตัวอยาง ไมมีฉลาก สงตรวจโดย กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลพิชัย 1. ยาเม็ดตอกอัดสีสมอิฐ

- อสม.อําเภอพิชัยนํามาให เภสัชกรวุฒิเนตร โกฎแสง หัวหนาฝายเภสัชกรรมชุมชน โรงพยาบาลพิชัยสงตรวจ - ผลการวิเคราะหเบื้องตนพบสเตียรอยดชนิด

Page 20: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

11

วัน เดือน ป รายการ การดําเนินการ 2. ยาไมเปนรูปทรงสีดํา

3. ยาเม็ดตอกอัดรูปทรงกระบอกสีเขียว Dexamethasone ในตัวอยางยาเม็ดตอกอัดสีสมอิฐ สวนอีก 2 ตัวอยางไมพบสเตียรอยด - จากการตรวจสอบเบื้องตนพบวาเปนยาที่ไมไดรับการขึ้นทะเบียนตํารับยาถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว - แจงใหเภสัชกรวุฒิเนตร โกฏแสง ดําเนินการตรวจสอบแหลงที่มาและแจงใหกลุมงานฯทราบ - ยังไมไดรับแจงผลการดําเนินการ

16 พ.ค. 50 - ตัวอยางยาจํานวน 3 ตัวอยาง - สงตรวจโดย กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ ไดมาจากรถเรฉายหนังขายยา 1. ยาถายพยาธิ ชนิดเม็ด ตรารูปหมอเสาร - สรรพคุณ สําหรับถายพยาธิตัวตืด ผลิตโดย มหาเสารเวชเภสัช 69 หมู3 ต.หนองแคน อ.ปทุมรัตต จ.รอยเอ็ด 2. ยาสตรี ชนิดน้ํา ตรารูปหมอโอภาส - สรรพคุณ แกปวดประจําเดือนไมปกติ ใชภายหลังคลอดบุตรขับน้ําคาวปลา ผลิตโดย รานขายยาโอภาสเภสัช 20 ถนนรณชัยชาญยุทธ อ.เมือง จ.รอยเอ็ด 45000 3. ยากุมาร ชนิดน้ํา ตรารูปหมอโอภาส - สรรพคุณ แกตานขโมย พุงโร กนปอด ผลิตโดย รานขายยาโอภาสเภสัช 20 ถนนรณชัยชาญยุทธ อ.เมือง จ.รอยเอ็ด 45000 4. ยาน้ํามากระทืบโรง ตรารูปหมอโอภาส - สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามรางกาย บํารุงรางกาย บํารุงธาตุ ผลิตโดย รานขายยาโอภาสเภสัช 20 ถนนรณชัยชาญยุทธ อ.เมือง จ.รอยเอ็ด 45000

- ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องตน พบสเตียรอยดชนิด Prednisolone ในตัวอยางยาถายพยาธิ ชนิดเม็ด ตรารูปหมอเสาร สวนในตัวอยางที่เหลือไมพบสารสเตียรอยดชนิด Prednisolone และ Dexamethasone - ไดสงตัวอยาง ยาถายพยาธิ ชนิดเม็ด ตรารูปหมอเสารสงตรวจยืนยันผลที่ศูนยวิทยาศาสตรการแพทย พิษณุโลก ผลคือไมพบสเตียรอยดชนิด Prednisolone และ Dexamethasone - จากการตรวจสอบพบวาเปนยาที่ไดรับการขึ้นทะเบียนตํารับยาถูกตอง

30 พ.ค. 50 - สมุนไพรไทย ผงสีน้ําตาล - สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดหลัง ปวดเอว ปวดเมื่อยตามรางกายหรือเหน็บชา กินขาวไมได นอนไมหลับ บรรเทาอาการอัมพาต อัมพฤกษ ฯลฯ ไมระบุผูผลิต

- โรงพยาบาลอุตรดิตถไดรับแจงจากคุณนิตยา โพธินา ไดซื้อยามาจากอําเภอน้ําปาดโดยนิยมใชกันในตําบลศรีพนมมาศ - ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องตน พบสเตียรอยด ชนิด Prednisolone

Page 21: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

12

วัน เดือน ป รายการ การดําเนินการ - สงตรวจโดย กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาล

อุตรดิตถ

- จากการตรวจสอบฉลากพบวาเปนยาที่ไมไดขึ้นทะเบียนตํารับยา - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

26 มิ.ย. 50 - ยาเม็ดเหลืองสมุนไพรไทย รูปสี่เหลี่ยมขาวหลามตัดระบุ PCB - สรรพคุณ แกปวดหลัง เขา ขอ กระดูกสันหลงั อักเสบชายโครง เสนเอ็นทั่วรางกาย มือเทาชาระยะแรกของอัมพาต ตกฤดูขาวในหญิง น้ําเหลืองเสีย แกโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไซนัส ผูผลิตและจําหนาย ติดตอ 02-9886223 และ 089-5207119 - สงตรวจโดยคุณสุดารัตน มนตรุจิรัตน สํานักงานสรรพากรพื้นที่อุตรดิตถ

- ผลการวิเคราะหเบื้องตนพบสเตียรอยดชนิด Dexamethasone - จากการตรวจสอบเบื้องตนพบวาเปนยาที่ไมไดขึ้นทะเบียนตํารับยา - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว - แจงขอมูลให อย.ดําเนินการตรวจสอบ - อย.แจงผลการตรวจสอบแลว ไมพบวามีผลิตภัณฑสําเร็จรูป วัตถุดิบ ฉลาก เอกสารกํากับยา และอุปกรณการผลิตยา สอบถามผูอาศัยขางเคียง ไมทราบวามีการขายยาเม็ดดังกลาว และ อย. จะทําการสืบสวนขอเท็จจริงใหไดแหลงผลิต และดําเนินการตามกฎหมายตอไป

12 ก.ค. 50 - ยาเม็ดลูกกลอนสีน้ําตาล เภสัชไทย วาปปทุม มหาสารคาม มีรูปฤาษี ไมระบุสรรพคุณและผูผลิต - สงตรวจโดย ฝายเภสัชกรรม โรงพยาบาลอุตรดิตถ

- โรงพยาบาลอุตรดิตถไดรับแจงจากคุณนนทวันท วาไดซื้อยามาจากรานเภสัชไทย 263/1 ถนนษมารักษ ต.หนองแสง อ.วาปปทุม จ.มหาสารคาม โดยนายบุญชวย มหาสมบูรณเปนเจาของและผูผลิต มีสรรพคุณเปนยาแกธาตุไมปกติ แกทองอืด ทองเฟอ ประจําเดือนมาไมปกติ ตกขาว กระษัยในเรือนไฟ ปวดเอว ปวดหลัง ประดง ฝา เปนยาเจริญอาหาร - ผลการวิเคราะหเบื้องตนพบสเตียรอยดชนิด Dexamethasone - จากการตรวจสอบพบวาเปนยาที่ไดรับการขึ้นทะเบียนตํารับยาถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว - สงตรวจยืนยันผลที่ศูนยวิทยาศาสตรการแพทย พิษณุโลก - ผลการตรวจยืนยันไมพบสเตียรอยดชนิด Prednisolone และ Dexamethasone

2 ส.ค. 50 - ตัวอยางยาผงไมทราบชื่อ ไมมีฉลาก - สรรพคุณแกโรคหัวใจจํานวน 2 ตัวอยาง ผงยาสีน้ําตาลเขมและสีน้ําตาลออน

- ผลการวิเคราะหเบื้องตนไมพบสเตียรอยดชนิด Prednisolone และ Dexamethasone - จากการตรวจสอบเบื้องตนพบวาเปนยาที่ไมไดขึ้น

Page 22: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

13

วัน เดือน ป รายการ การดําเนินการ - สงตรวจโดยคุณอัญชนา เรืองฤทธิ์ 63 หมู 3 ต.

บานตึก อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย 64130 โทร.084-1815972 อางวาซื้อตอมาจากญาติ

ทะเบียนตํารับยา - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

6 ส.ค. 50 - สมุนไพรบําบัดโรค 108 ผงสีน้ําตาลออนสรรพคุณ อัมพฤก อัมพาต หืด หอบ เหน็บชา ชามือ ชาเทา เย็นเทา โรคเกา ปวดขอ ปวดกระดูก ปวดเสน ปวดเอ็น ปวดเขา หลัง เอว อักเสบทุกชนิด ไมระบุผูผลิตและจําหนาย - สงตรวจโดย กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลอุตรดิตถ

- ผลการวิเคราะหเบื้องตนไมพบสเตียรอยดชนิด Prednisolone และ Dexamethasone - จากการตรวจสอบเบื้องตนพบวาเปนยาที่ไมไดขึ้นทะเบียนตํารับยา - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

6 ส.ค. 50 - ตัวอยางผงสมุนไพร ผงสีน้ําตาลออน ไมมีฉลาก - สงตรวจโดยกลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลอุตรดิตถ

- โรงพยาบาลอุตรดิตถไดรับแจงจากคุณทัศนีย ระยา วาญาติไดซื้อผงสมุนไพร มาจากตลาดนัดสวนจตุจักร กรุงเทพฯ โดยขาวจากหนังสือพิมพไทยรัฐระบุวา ผงยานี้ทําจากสบูเลือด ผสมน้ําผึ้งปนเปนกอน รับประทานเชา-เย็น สรรพคุณบํารุงเซลลสมอง - ผลการวิเคราะหเบื้องตนไมพบสเตียรอยดชนิด Prednisolone และ Dexamethasone - จากการตรวจสอบเบื้องตนพบวาเปนยาที่ไมไดขึ้นทะเบียนตํารับยา - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

12 ก.ย. 50 - สมุนไพรไทยธรรมชาติ จํานวน 3 ตัวอยาง 1. ยาเม็ดลูกกลอนสีดํา 1 เม็ด 2. ยาเม็ดลูกกลอนสีเหลืองออน 3. ยาเม็ดลูกกลอนสีเหลืองเขม - สรรพคุณ(ตามที่ระบุ) แกเสนเอ็นพิการ ปวดเสนเอ็นตึง รักษาโรคอัมพฤกษ อัมพาต เหน็บชา มือเทาชา กระดูกทับเสน กระดูกเสื่อม ไขขออักเสบ เกาและหอบหืด จําหนายโดยรานจี่อันจั่นโอสถ - สงตรวจโดยนางจุฑาภรณ ดีผดุง 31/6 ถ.พาดวารี ต.ทาอิฐ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ

- ผลการวิเคราะหเบื้องตนไมพบสเตียรอยดชนิด Prednisolone และ Dexamethasone - จากการตรวจสอบเบื้องตนพบวาเปนยาที่ไมไดขึ้นทะเบียนตํารับยา - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

Page 23: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

14

1.3 การดําเนินงานดานเครื่องสําอาง 1.3.1. ตัวอยางเครื่องสําอางที่สงตรวจวิเคราะหเบื้องตนหาสารไฮโดรควิโนนและปรอท

แอมโมเนียทั้งหมด จํานวน 38 ตัวอยาง ตรวจพบสารไฮโดรควิโนน จํานวน 4 ตัวอยาง และ ปรอทแอมโมเนีย จํานวน 9 ตัวอยาง สงตัวอยางเครื่องสําอางเพื่อตรวจวเิคราะหยืนยนัผลที่ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยพิษณุโลก จํานวน 8 ตัวอยาง ผลการตรวจ พบสารไฮโดรควิโนน จํานวน 2 ตวัอยาง สารปรอทแอมโมเนีย จํานวน 2 ตัวอยาง และพบเบตาเมธาโซน

1.3.2 การตรวจสอบฉลากและการโฆษณาเครื่องสําอาง จํานวน 42 ตัวอยาง พบวาเปนเครื่องสําอาง ที่ไมมีฉลากหรือฉลากไมครบถวนหรือฉลากไมถูกตอง จํานวน 39 ตวัอยาง รายละเอียดตามตารางที่ 2

ตารางที่ 2 ผลการดําเนินงานดานเครื่องสาํอาง ป 2550 วัน เดือน ป รายการ การดําเนินการ

2 ต.ค.49 - เครื่องสําอางไมทราบชื่อ เปนครีมสีเหลือง บรรจุในตลับพลาสติกสีสม มีแทบสีเงินคาดที่ตลับ ไมมีฉลาก - สงตรวจโดยคุณสัมฤทธิ์ หวังเพิ่ม 37/56 หมูบานทองอุไร อ.เมือง จ.อุตรดิตถ โทร.089-5669230, 081-0395636, 089-1932897

- ผูสงตรวจบอกวาซื้อจากคนรูจักที่พิษณุโลก คนแกทําขายเอง 350 บาท ผลตรวจวิเคราะหเบื้องตน - พบสารปรอทแอมโมเนียและกรดวิตามินเอ - เปนเครื่องสําอางที่มีฉลากไมถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

3 ต.ค. 49 เครื่องสําอาง จํานวน 9 ตัวอยาง 1. MK3 ของเหลวใสสีเขียวบรรจุในขวดสีชา ฝาปดมีหลอดหยด ฉลากไมครบถวน 2. มิโกะมัสซูหรี อาลฟา ครีมสีเหลืองบรรจุในตลับพลาสติกสีเหลือง ฝาปดสีเหลือง ฉลากไมครบถวน 3. มิโกะมัสซูหรี MP1 น้ําสีน้ําตาล บรรจุในขวดพลาสติกใสสีเขียว ฝาสีเหลือง ฉลากไมครบถวน 4. มิโกะมัสซูหรี MP2 น้ําสีน้ําตาล บรรจุในขวดพลาสติกใสสีมวง ฉลากไมครบถวน 5. มิโกะมัสซูหรี แอคเน M ครีมสีครีมบรรจุในตลับพลาสติกสีเหลือง ฝาปดสีเหลือง ฉลากไมครบถวน

ผลตรวจวิเคราะหเบื้องตน -พบสารไฮโดรควิโนนและกรดวิตามินเอ ในตัวอยางที่ 2 - พบกรดวิตามินเอในตัวอยางที่ 3 - พบกรดวิตามินเอในตัวอยางที่ 4 - พบสารไฮโดรควิโนนและกรดวิตามินเอในตัวอยางที่ 8 - พบสารปรอทแอมโมเนียในตัวอยางที่ 9 - เปนเครื่องสําอางที่มีฉลากไมถูกตองทั้ง 9 ตัวอยาง

Page 24: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

15

วัน เดือน ป รายการ การดําเนินการ 6. ครีมมาญาวี ฟาใส ครีมสีน้ําตาล

บรรจุในตลับพลาสติกสีทอง ฝาสีทอง ฉลากไมครบถวน 7. ครีมมาญาวี 2 ครีมสีขาว บรรจุในตลับพลาสติกสีเทา ฝาสีเทา จํานวน 2 ตลับ บรรจุในพลาสติกสีมวง ฝาสีมวง จํานวน 1 ตลับ ฉลากไมครบถวน 8. ครีมมาญาวี 3 ครีมสีเหลือง บรรจุในตลับพลาสติกสีเทา ฝาสีเทา จํานวน 1 ตลับ บรรจุในพลาสติกสีมวง ฝาสีมวง จํานวน 2 ตลับ ฉลากไมครบถวน 9. ครีมมาญาวี 4 ครีมสีสม บรรจุในตลับพลาสติกสีเทา ฝาสีเทา จํานวน 1 ตลับ บรรจุในพลาสติกสีมวง ฝาสีมวง จํานวน 1 ตลับ บรรจุในตลับสีขาว1 ตลับ ฉลากไมครบถวน - สงตรวจโดยประภาพร อํานวย

9 ต.ค. 49 - ตัวอยางเครื่องสําอาง จํานวน 2 ตัวอยาง 1.ครีมไวตามินอีธรรมชาติผสมสมุนไพรแปะกวย ตราหมอจุฬา ครีมสีขาว บรรจุในตลับสีชมพู ใสในซองยาสีขาว ผลิตโดย บริษัท นีโอคอสเมด จํากัด 2. ผงสมุนไพรหมอจุฬา ผงสีน้ําตาลออน บรรจุในซองยาใส ใสซองกระดาษสีเหลือง ผลิตโดย หางหุนสวนจํากัด สมุนไพรหมอจุฬา - สงตรวจโดยนายสืบศักดิ์ เจริญเกษมวิทย สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ

ผลตรวจวิเคราะหเบื้องตน - ไมพบสารหามใช - เปนเครื่องสําอางที่มีฉลากไมถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

17 ต.ค. 49 - ตัวอยางเครื่องสําอาง จํานวน 3 ตัวอยาง - สงตรวจโดย นางสาวนันทิยา ออนคง สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ

ผลตรวจวิเคราะหเบื้องตน - พบสารไฮโดรควิโนนและกรดวิตามินเอในมาญาวี 3 และพบสารปรอทแอมโมเนียในมาญาวี 4 - เปนเครื่องสําอางที่มีฉลากไมถูกตอง

Page 25: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

16

วัน เดือน ป รายการ การดําเนินการ 1. มาญาวี 2 ครีมสีขาว บรรจุในตลับ

สีมวง ฉลากสีมวง 2. มาญาวี 3 ครีมสีขาว บรรจุในตลับสีมวง ฉลากสีเขียว 3. มาญาวี 4 ครีมสีสม บรรจุในตลับสีมวง ฉลากสีน้ําเงิน - ผลิตโดยแพทยใกลหมอแล็ป 581 บัวพัฒนา หนองไผ จ.เพชรบูรณ จําหนายโดย หางหุนสวนจํากัด มิโกะมัสซูหรี 54 ถ.ยานศิลาอาสน ต.ทาอิฐ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ

- ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

7 พ.ย. 49 - ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยพิษณุโลก แจงผลการตรวจวิเคราะหเครื่องสําอางที่ตรวจยึดมาจากมิโกะมัสซูหรีจํานวน 8 ตัวอยาง 1. สบูแครอท Mikomuszuree 2. ครีมมาญาวี 2 3. ครีมมาญาวี 3 4. ครีมมาญาวี 4 5. มิโกะมัสซูหรี อาลฟา 6. ของเหลวสีขาวขุน 1 7. ของเหลวสีขาวขุน 2 8. มิโกะไลท 3

- พบสารปรอทแอมโมเนียในตัวอยางมาญาวี 4 และของเหลวสีขาวขุน 1 - พบสารไฮโดรควิโนนในตัวอยางมาญาวี 3 และมิโกะมัสซูหรี อาลฟา - พบสเตียรอยดชนิด Bethamethazone ในตัวอยางมิโกะไลท 3

8 พ.ย. 49 - ตัวอยางเครื่องสําอาง จํานวน 2 ตัวอยาง ไดรับเครื่องสําอางมาจากเพื่อนที่ จ.พิษณุโลก เพื่อจะนํามาขาย แตนํามาสงตรวจวิเคราะหกอน 1. WEIJIAO(Whitening Essence) ครีมสีเหลืองออน บรรจุในตลับสีขาว ฝาสีชมพูออน 2. WEIJIAO(Double Night Cream) ครีมสีเหลือง บรรจุในตลับสีขาว ฝาชมพูเขม

- ผลตรวจวิเคราะหเบื้องตน พบสารปรอทแอมโมเนียในครีม WEIJIAO(Whitening Essence) สวนตัวอยางที่ 2 ไมพบสารหามใช - เปนเครื่องสําอางที่มีฉลากไมถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

Page 26: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

17

วัน เดือน ป รายการ การดําเนินการ 8 พ.ย. 49 - ครีมขมิ้นสตาร ครีมสีสม บรรจุใน

ตลับสีน้ําเงิน สงตรวจโดยคุณวาสนา เจริญโชคมณี 23/1 ถ.สําราญรื่น ต.ทาอิฐ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ โทร 084-1088218 ซื้อมาจาก จ.สมุทรปราการ - สงตรวจโดยนางสาวอัมพร มูลเมือง 110 หมู 4 ต.แมพูล อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ โทร. 087-8442006

ผลตรวจวิเคราะหเบื้องตน - พบสารปรอทแอมโมเนีย - เปนเครื่องสําอางที่มีฉลากไมถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว - สงคูมือผูบริโภคใหผูสงตรวจจํานวน 1 เลม

22 พ.ย. 49 - เครื่องสําอางไมมีช่ือ ไมมีฉลาก บรรจุในตลับสีขาว - สงตรวจโดย คุณซา พนักงานนวด คลินิก อมรเมศรอาศรม

ผลตรวจวิเคราะหเบื้องตน - ไมพบสารหามใช - เปนเครื่องสําอางที่มีฉลากไมถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

3 ม.ค. 50 - ตัวอยางเครื่องสําอาง จํานวน 2 ตัวอยาง 1. ครีมบํารุงผิว Dr.C สูตรกลางคืน ครีมสีเหลือง บรรจุในตลับสีใส 2. ครีมบํารุงผิว Dr.C สูตรกลางวัน (Bio UV) ครีมสีเหลือง บรรจุในตลับสีใส - สงตรวจโดยนางสาวศิริพร แสงรอด 147 ถ.ฤดีเปรม ต.ทาอิฐ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ โทร. 84-1526485

ผลตรวจวิเคราะหเบื้องตน - พบสารปรอทแอมโมเนียในครีมบํารุงผิว Dr.C สูตรกลางคืน สวนตัวอยางที่ 2 ไมพบสารหามใช - เปนเครื่องสําอางที่มีฉลากไมถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

13 มี.ค. 50 - ตัวอยางเครื่องสําอาง จํานวน 3 ตัวอยาง ผลิตโดย Jiao Nuo Cosmetic 1.Bashi (Day Cream) ครีมสีครีม บรรจุในกระปุกสีบรอนส ฝาสีเงิน 2. Bashi (Night Cream) ครีมสีเหลือง บรรจุในกระปุกสีบรอนส ฝาสีเงิน 3. Bashi (Foam Face) โฟมลางหนาสีขาว บรรจุในหลอดสีขาว ฝาสีเงิน - สงตรวจโดยนางสาวสุนทรี ตรวีรรักษ 178/3 ถ.สําราญรื่น ต.ทาอิฐ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ โทร.083-2146540, 055-411642

ผลตรวจวิเคราะหเบื้องตน - พบสารปรอทแอมโมเนียใน Bashi (Day Cream) สวนตัวอยางที่เหลือไมพบสารหามใช - เปนเครื่องสําอางที่มีฉลากไมถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว - แจกแผนพับเรื่องเครื่องสําอางผิดกฎหมายเพื่อเปนขอมูลในการเลือกซื้อเครื่องสําอาง

Page 27: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

18

วัน เดือน ป รายการ การดําเนินการ 19 มี.ค. 50 - ตัวอยางเครื่องสําอางจํานวน 2

ตัวอยาง สงตรวจโดยฝายเภสัชกรรม โรงพยาบาลตรอน 1. YANKO ทาตอนเชา ครีมสีเหลืองออน บรรจุในตลับสีสม ฝาขอบสีเงิน 2. YANKO ทากอนนอน ครีมสีเหลืองเขม บรรจุในตลับสีสม ฝาขอบสีทอง

- ผลตรวจวิเคราะหเบื้องตน พบสารปรอทแอมโมเนียใน YANKO ทาตอนเชา - เปนเครื่องสําอางที่มีฉลากไมถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลวและหากพบการผลิตหรือขายเครื่องสําอางดังกลาว ขอใหดําเนินการตามกฎหมายและแจงผลให สสจ.อต. ทราบ

28 มี.ค. 50 - ตัวอยางเครื่องสําอางจํานวน 2 ตัวอยาง สงตรวจโดยนางปรียาลักษณ โกศลดิลกกุล 79 ถ.สุขเกษม ต.ทาอิฐ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ 1. Hennas Gold FACE LIFE CREAM ครีมสีชมพู บรรจุในตลับใส(พลาสติก) ดานในเปนสีเงิน ฝาสีเงิน ผลิตและจําหนายโดย เฮนนาโกลด 198 ถ.รามคําแหง เขตวังทองหลาง กทม. โทร.086-7887367 2. ครีมกันแดด H DAY CREAM ครีมสีขาว บรรจุในตลับแกว ฝาตลับสีเงิน ผลิตและจําหนายโดย เฮนนาโกลด 198 ถ.รามคําแหง เขตวังทองหลาง กทม. โทร.086-7887367

- ผลตรวจวิเคราะหเบื้องตนไมพบสารหามใช - เปนเครื่องสําอางที่มีฉลากถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

29 มี.ค. 50 - ครีมรักษาสิว – ฝา หนาขาว ครีมสีครีม บรรจุในตลับพลาสติกใส น้ําหนัก 16 กรัม ผลิตโดยหมอจุฬา สงตรวจโดยฝายบริหารท่ัวไป โรงพยาบาลบานโคก ซื้อมาจาก Internet URL คือ http://classified.sanook.com/health/item.php?id=4429128pid=12

- ผลตรวจวิเคราะหเบื้องตนไมพบสารหามใช - เปนเครื่องสําอางที่มีฉลากไมถูกตอง - มีการโฆษณาสรรพคุณทางยา - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

15 ส.ค. 50 - ตัวอยางเครื่องสําอาง จํานวน 5 ตัวอยาง และแผนพับโฆษณาจํานวน 1 แผน 1. Pannamas Daytime Facial Skin

ผลตรวจวิเคราะหเบื้องตน - พบสารปรอทแอมโมเนียในตัวอยาง Nitcha กลางคืน 1 และพบสารไฮโดรควิโนนในตัวอยาง Nitcha กลางคืน 2 - เปนเครื่องสําอางที่มีฉลากไมถูกตอง

Page 28: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

19

วัน เดือน ป รายการ การดําเนินการ Nutrients ครีมสชีมพู ตลับสีเหลืองอยู

ในกลองสีสมครีม แบงบรรจุโดย บานสมุนไพรพรรณมาศ 128/119 อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 2. ครีมขจัดสิว – ฝา ครีมสีขาว บรรจุในตลับสีขาว ไมระบุผูผลิตและจําหนาย 3. Nitcha กลางคืน 1 ครีมสีสม บรรจุในกระปุกสีขาว ไมระบุผูผลิตและจําหนาย 4. Nitcha กลางคืน 2 ครีมสีน้ําตาลสม บรรจุในกระปุกสีขาว ไมระบุผูผลิตและจําหนาย 5. Nitcha Collagen Gold ครีมสีน้ําตาลออน บรรจุในขวด ฝาสีทอง ไมระบุผูผลิคและจําหนาย - สงตรวจโดย ฝายเภสัชกรรมชุมชน โรงพยาบาลทองแสนขัน

ผลการตรวจแผนพับโฆษณา - COLLAGEN GOLD คอลลา เจนโกลด มีขอความโฆษณาโออวดเกินจริง คือ กระตุนสรางใยคอลลาเจน - PROTECTTIVE MOISTURIZER SUNSCREEN SILICONE ครีมกันแดด SPF30 มีขอความโฆษณาโออวดเกินจริง คือ สามารถยับยั้งการกระตุนการเกิดเมลานินบนใบหนา - DNA SERUM ดีเอ็นเอ ซีรั่ม (DAY&NIGHT) มีขอความโฆษณาโออวดเกินจริง คือ บํารุงลึกถึงโครงสรางเซลลผิว - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

28 ส.ค. 50 - ตัวอยางเครื่องสําอางไมทราบชื่อ ไมมีฉลาก ครีมสีครีม สงตรวจโดยคุณวลัยลักษณ ประจันตะเสน ตึกเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลอุตรดิตถ

ผลตรวจวิเคราะหเบื้องตน - ไมพบสารหามใช - เปนเครื่องสําอางที่มีฉลากไมถูกตอง - ไดแจงผลการตรวจใหผูสงตรวจทราบแลว

1.4 โครงการความปลอดภัยดานเครื่องสาํอางจังหวัดอุตรดิตถ ป 2550

เครื่องสําอางที่มีวางขายอยูในทองตลาดมีมากมายหลายชนิด อาจมทีั้งที่ถูกกฎหมายและลักลอบใสสารหามใชเพือ่หวังผลใหผูใชเห็นผลเร็วขึน้ โดยเฉพาะเครื่องสําอางที่เกี่ยวกับทาสิว ฝา ทําใหหนาขาว มกัพบวามีการลักลอบใสสารหามใชเปนจํานวนมาก นอกจากนี้ยังพบเครื่องสําอางไมมีฉลากภาษาไทย และมีการแสดงฉลากไมถูกตองตามกฎหมาย ซ่ึงถาหากเกดิอันตรายกับผูใชแลว มกัจะไมสามารถเรียกรองคาเสียหายกับผูผลิตได ดงันั้น จึงตองมกีารตรวจสอบ เผาระวังการขายเครื่องสําอางไมใหมกีารกระทําผิดกฎหมายตอไป นอกจากนี้ ประเทศไทยยังไดรวมมอืกับประเทศสมาชกิกลุมอาเซียนเพือ่ปรับกฎระเบยีบดานเครื่องสําอางใหมีความสอดคลองกันและเปนสากลมากขึ้น ตามบทบัญญัติเครื่องสําอางอาเซียน (ASEAN COSMETIC DIRECTIVE) โดยจะมีผลบังคับใชในป 2551

Page 29: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

20

วัตถุประสงค เพื่อแกไขปญหาการลกัลอบจําหนายเครื่องสําอางที่ผสมสารหามใช เครือ่งสําอางที่ไมมีฉลากภาษาไทย ฉลากไมถูกตองตามกฎหมาย การโฆษณาเครื่องสําอางโออวดเกนิจรงิ และเตรียมการรองรับการดําเนินการตามบทบัญญัติเครื่องสําอางอาเซียน ผลการดําเนินงาน

1. เก็บตัวอยางเครื่องสําอางเพื่อตรวจวิเคราะห เปาหมาย 100 ตัวอยาง งบประมาณ 20,000 บาท เจาหนาทีเ่ก็บตัวอยางไดจํานวนทั้งสิ้น 150 ตัวอยาง เปนเงิน 19,877.- บาท จากรานจําหนายเครื่องสําอางจํานวน 10 ราน คือ 1.1 หางสรรพสินคาฟรายเดย จํานวน 8 ตัวอยาง เปนเงิน 1,337.- บาท 1.2 Lotus สาขาอุตรดิตถ จํานวน 6 ตัวอยาง เปนเงิน 963.- บาท 1.3 ศูนยรวมเครื่องสําอาง จํานวน 10 ตัวอยาง เปนเงิน 2,803.- บาท 1.4 รานผูหญิง จํานวน 1 ตัวอยาง เปนเงิน 150.- บาท 1.5 รานสุพรีเดอรม จํานวน 6 ตัวอยาง เปนเงิน 786.- บาท 1.6 รานทิพยเมนท จํานวน 4 ตัวอยาง เปนเงิน 1,099.- บาท 1.7 รานอุตรดิตถไทยการคา จํานวน 14 ตัวอยาง เปนเงิน 1,432.- บาท 1.8 รานหวงัด ี จํานวน 57 ตัวอยาง เปนเงิน 5,006.- บาท 1.9 รานทิพรัตนบิวตี ้ จํานวน 42 ตัวอยาง เปนเงิน 6,041.- บาท 1.10 รานสกายเฟซ จํานวน 2 ตัวอยาง เปนเงิน 260.- บาท

2. เจาหนาทีไ่ดดําเนนิการตรวจสอบฉลากและตรวจวิเคราะหเบื้องตนหาสารไฮโดรควิโนนและสารปรอทแอมโมเนียจํานวน 150 ตัวอยางผลการตรวจเปนดงันี้ 2.1 ตรวจสอบฉลาก พบเครื่องสําอางที่มีฉลากไมถูกตอง จํานวน 92 ตัวอยาง(61.3%), ฉลาก/เอกสารมีขอความที่ไมตรงกัน จํานวน 3 ตวัอยาง(1.9%) และฉลากมีการหลุดลอกไมทราบขอมูล จํานวน 1 ตัวอยาง(0.6%) 2.2 ตรวจสอบเบื้องตนหาสารหามใช พบไฮโดรควิโนน จํานวน 25 ตัวอยาง(16.5%) พบปรอทแอมโมเนีย จํานวน 20 ตัวอยาง(13.2%) และพบทั้งไฮโดรควโินนและปรอทแอมโมเนีย จํานวน 1 ตัวอยาง(0.6%) รายละเอยีดตามตารางที่ 3 3. สงสื่อประชาสัมพันธเกี่ยวกบัการประกาศรายการเครื่องสําอางทีพ่บสารหามใช การเลือกซื้อเครื่องสําอางอยางปลอดภยั ในรูปแบบซีดแีละวีซีดี เผยแพรประชาสัมพันธทางสถานีวิทยุ และสถานี โทรทัศนทองถ่ิน 4. จัดหาเครื่องคอมพิวเตอรและเครื่องพิมพเลเซอร จํานวน 1 ชุด เพื่อรองรับการดําเนินงานตามบทบัญญัติเครื่องสําอางอาเซียน

Page 30: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

21

ผลการดําเนินงาน 1. สุมเก็บตัวอยางเครื่องสําอางจากรานขายปลีกและขายสง จํานวน 10 แหง ไดตัวอยางเครื่องสําอางจํานวน 150 ตัวยาง ตรวจวิเคราะหเบื้องตนหาสารหามใชดวยชุดทดสอบเบื้องตนของกรมวิทยาศาสตร การแพทย พบสารไฮโดรควิโนน จํานวน 25 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 16.5 พบสารปรอทแอมโมเนีย จํานวน 20 ตัวอยาง คดิเปนรอยละ 13.2 และพบทั้งสารไฮโดรควิโนนและสารปรอทแอมโมเนีย จํานวน 1 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 0.6 2. มีเครื่องสําอางที่แสดงฉลากไมถูกตองตามกฎหมาย จาํนวน 92 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 61.3 และไดส่ังการใหหยุดจําหนายแลว ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ 1. เนื่องจากมกีารตรวจวเิคราะหเบื้องตนหาสารหามใชแลวพบตวัอยางที่สงสัยรวมจํานวน 45 ตัวอยาง คิดเปน 1 ใน 3 ของจํานวนตวัอยางทีต่รวจทั้งหมด ถาจะสงตรวจวิเคราะหยนืยันผลทั้งหมด ณ ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยพิษณุโลก จะใชงบประมาณจํานวนมาก โดยเสียคาใชจายในการตรวจวิเคราะหตัวอยางละ 2,400 บาท ซ่ึงจะตองใชงบประมาณ 112,500 บาท ดังนั้น จึงเสนอใหพฒันาความไวของชดุทดสอบใหมากขึ้น เพื่อลดปญหาการเกดิ False Positive และมีงบประมาณสํารองสําหรับกรณีทีจ่ําเปนจะตองสงตัวอยางตรวจวเิคราะหยืนยนัผล เชน การดําเนินคดี 2. นอกจากรานขายสงแลว แหลงกระจายเครื่องสําอางที่สําคัญ มีปริมาณมาก และสามารถถึงมือผูบริโภคได คือ ตลาดนัด หรือตลาดเรแผงลอย ซ่ึงการตรวจสอบมักจะทําไดยาก เพราะวายายสถานที่ขายไปมา อยูไมเปนหลักแหลง ถึงแมจะตรวจสอบได แตก็ไมไดถึงตนตอ เนื่องจากรับมาจากรถขายเรอีกครั้งหนึ่ง ซ่ึงไมสามารถติดตามตอไปได จงึควรกําหนดนโยบายสั่งการใหปูพรมตรวจสอบตลาดนัดพรอมกันทัว่ประเทศในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง

Page 31: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ผลการตรวจเบื้องตน ลําดับที ่

สถานที่เก็บตัวอยาง

ชื่อเครื่องสําอาง

ลักษณะ

การตรวจสอบฉลาก/ การโฆษณาเบื้องตน ไฮโดรควิโนน ปรอทแอมโมเนีย

1 หางสรรพสินคาฟรายเดย WAN THAI MOISTURE LOTION โลชั่น สรรพคุณเกินขอบขายเครื่องสําอาง พบ - 2 NanoMed Finale Whitening Cream ครีม ถูกตอง - - 3 DERMIST Pore Refine Cream ครีม ถูกตอง - - 4 DERMISTRE LASTING WHITE ครีม ถูกตอง - - 5 ภูมิพฤกษา๑๕ ครีมบํารุงอาหารผิว ผิวหนาขาว สูตรกลางวัน ครีม สรรพคุณเกินขอบขายเครื่องสําอาง - - 6 ภูมิพฤกษา๑๕ ครีมบํารุงอาหารผิว ผิวหนาขาว สูตรกลางคืน ครีม สรรพคุณเกินขอบขายเครื่องสําอาง - - 7 ภูมิพฤกษา๑๕ ครีมปองกันแสงแดด SPF 40++ ผิวหนาขาว สูตรปองกันฝา ครีม สรรพคุณเกินขอบขายเครื่องสําอาง - - 8 WAN THAI Ginseng ครีมโสมปรับสภาพผิวสําหรับผิวหนาแหง ครีม สรรพคุณเกินขอบขายเครื่องสําอาง - - 9 TESCO LOTUS สาขาอุตรดิตถ NATRIV UV BODY LOTION โลชั่น ถูกตอง - - 10 Be Nice firm & white lotion โลชั่น สรรพคุณเกินขอบขายเครื่องสําอาง - - 11 TEA TREE Total-Benefit Natural ครีม ถูกตอง - - 12 decio Miracle Pure Pearl capsule ถูกตอง - - 13 decio Perfect whitening cream ครีม สรรพคุณเกินขอบขายเครื่องสําอาง - - 14 SCACARE C&E Nano White ครีม ถูกตอง - - 15 ศูนยรวมเครื่องสําอาง Arche buritine PURE PEARL CREAM อารเช ครีมทาสิวฝา ครีม ถูกตอง - - 16 ISME Super Whitening Leg Therapy cream with Green Tea ครีม สรรพคุณเกินขอบขายเครื่องสําอาง - - 17 YANKO Night Cream ครีม ฉลากไมครบถวน - พบ 18 YANKO Day Cream Fade-Out cream ครีม ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายเครื่องสําอาง - - 19 รานผูหญิง เสนหสาว ครีมนวดหนา ครีม ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายเครื่องสําอาง - - 20 รานสุพรีเดอรม ครีมบํารุงหนา ผสมมะขามปอมและมะเฟอง ครีม ถูกตอง - - 21 ครีมบํารุงผิวหนา ผสมวานหางจระเขและแตงกวา ครีม ถูกตอง - - 22 Suprederm MELA-WHITE Bio-Vegeles ครีม สรรพคุณเกินขอบขายเครื่องสําอาง - - 23 สุพรีเดอรม ซูเปอร ไวทเทนนิ่ง ครีม สูตรสมุนไพร ครีม ถูกตอง - - 24 Suprederm WHITENING SPOT สูตรสมุนไพร YOUNG IMAGINATION ครีม ถูกตอง - - 25 Suprederm ACNE CREAM สูตรสมุนไพร YOUNG IMAGINATION ครีม ถูกตอง - - 26 รานทิพยเมนท ผลิตภัณฑครีมสมุนไพรปรับสภาพผิว ปองกันสิวฝา จุดดางดํา ครีม ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายเครื่องสําอาง - พบ 27 THAI VISION EYE Milk Cream Moisturizer ครีม ถูกตอง - - 28 ครีมบํารุงผิวหนา Tipment ทิพยเมนท ครีม ถูกตอง - - 29 CAREBEAU แครบิว White Spa UV White Body Cream ครีม ถูกตอง - -

ตารางที่ 3 สรุปผลการตรวจสอบฉลากและหาสารหามใชเบื้องตนในเครื่องสําอางตามโครงการความปลอดภยัดานเครื่องสําอางจังหวดัอุตรดิตถ ป

22

Page 32: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ผลการตรวจเบื้องตน ลําดับที ่

สถานที่เก็บตัวอยาง

ชื่อเครื่องสําอาง

ลักษณะ

การตรวจสอบฉลาก/ การโฆษณาเบื้องตน

ไฮโดรควิโนน ปรอทแอมโมเนีย

30 รานอุตรดิตถไทยการคา mena Natural White Pearl Cream ครีม ถูกตอง - - 31 Enre White & Firm Placenta Plus & Q10 อองรี ครีมรกแกะ ลดริ้วรอย-ฝา ครีม ถูกตอง พบ - 32 กวนอิม ไวท พลัส ครีมทาสิวฝา ผสมวิตามินอี ครีม ถูกตอง - - 33 กวนอิม ไวท พลัส โลชั่นปองกันแดด ผสมวิตามินอี โลชั่น สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง - - 34 ครีมทาสิว B.M. ครีม สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง - - 35 สบูสิว B.M. สบูกอน ถูกตอง - - 36 ซิง-ซิง ทาสิว-ฝา รุนทอง ครีม ถูกตอง - - 37 โลชั่นกันแดด ซิง-ซิง โลชั่น ถูกตอง พบ - 38 ซิง-ซิง ทาสิว-ฝา รุนเพิ่มตัวยาทําใหใบหนาขาวเนียนขึ้น ครีม ฉลากไมครบถวน - - 39 D White Night Time ดีไวท ครีมแกสิวฝา และริ้วรอย ครีม ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง พบ - 40 D White Acne Gel ดีไวท เจลแตมสิว เจล ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง - - 41 Mui Lee Hiang Softening Face มุยลีเฮียงครีมทาสิวฝา ครีม โฆษณาสรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง - - 42 ครีมทาฝา B.M. ครีม ถูกตอง - - 43 B.M. WHITE BEAUTY LOTION โลชั่น ถูกตอง พบ - 44 รานหวังดี U STAR WHITE PLUS Confident underarm cream ครีม ถูกตอง - - 45 U STAR PEARLY WHITE FACIAL ESSENCE โลชั่น ถูกตอง - - 46 เอ็ดการด โลชั่นกันแดด ผสมอัลลันโทอิน โลชั่น ระบุ เลขทะเบียนในกรอบอย. ฉผ.77/2540 - - 47 เดฟโฟดิล มอยซเจอไรเซอรครีม ครีมบํารุงผิว ครีม ฉลากไมครบถวน - - 48 ครีมสมุนไพรกันแดดแตงกวา สูตรพิเศษเขมขน SPF30 ครีม ไมมีฉลากภาษาไทย (ภาษาอังกฤษ), ฉลากไมครบถวน - - 49 BIO-VITAMIN C 5000 AFTER SLIMMING TREATMENT โลชั่น ไมมีฉลากภาษาไทย (ภาษาจีน) - - 50 CAI NI YA ครีม ไมมีฉลากภาษาไทย (ภาษาจีน) - พบ 51 CAI NI YA ครีม ถูกตอง - พบ 52 POP Popular ครีม ฉลากไมครบถวน - - 53 ครีม คามินา แกสิว-ฝา ทาเชา-เย็น ครีม ฉลากไมครบถวน - - 54 U.B. FORMULA 99 AA ยูบี เพิรลครีม สูตร 99 เอเอ ครีม ไมมีฉลากภาษาไทย (ภาษาอังกฤษ), ฉลากไมครบถวน - - 55 S.K. BEAUTY CREAM ครีม ถูกตอง - - 56 เอ็ดการด ครีมทาสิว-ฝา ผสมอัลลันโทอิน ครีม ฉลากไมครบถวน - พบ 57 Edguard เอ็ดการด ครีมทาสิว-ฝา ครีม ถูกตอง - - 58 เอ็ดการด โลชั่นกันแดด ผสมอัลลันโทอิน โลชั่น ถูกตอง พบ - 59 เอ็ดการด โลชั่นกันแดด ผสมอัลลันโทอิน โลชั่น ฉลากไมครบถวน พบ -

23

Page 33: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ผลการตรวจเบื้องตน ลําดับที ่

สถานที่เก็บตัวอยาง

ชื่อเครื่องสําอาง

ลักษณะ

การตรวจสอบฉลาก/ การโฆษณาเบื้องตน

ไฮโดรควิโนน ปรอทแอมโมเนีย

60 รานหวังดี (ตอ) ครีมกันแดดสมุนไพรแตงกวา FACE CREAM ครีม ฉลากไมครบถวน - - 61 ครีมสมุนไพรกันแดดวานนางพญา SPF 45 สูตรพิเศษ (ดานหลังกลองระบุ SPF30) ครีม ถูกตอง - - 62 miki ครีมทาฝามิกิ ครีม ฉลากไมครบถวน - - 63 ครีมสมุนไพรมะนาว FACE CREAM ครีม สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง - พบ 64 BETA NATURAL WHITE สูตรใหมขาวอยางธรรมชาติ ครีม ฉลากไมครบถวน - - 65 แอนนาคอสเมติกส ครีมกันแดด ครีม ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง พบ - 66 ครีมสมุนไพรน้ํานมขาว With Honey FACE CREAM ครีม ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง - พบ 67 แอนนาคอสเมติกส ครีมทากลางคืน ครีม ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง - พบ 68 ครีมสมุนไพรวานนางพญา With Vitamin E เกรด A PNT FACE CREAM ครีม ฉลากไมครบถวน - พบ 69 B BEST BEAUTY ครีมประทินผิว หนาขาวไรสิว ทากอนนอน ครีม ฉลากไมครบถวน, มีขอความที่ยังไมอาจสรุปไดวาเปนความจริงหรือไม - พบ 70 Dr.Japan HYDRO VITAL CREAM UV WHITE SPF 60+ ครีม ถูกตอง - พบ 71 SUPAPORN ครีมทาฝา ครีม ฉลากไมครบถวน - - 72 B BEST BEAUTY ครีมประทินผิว ลดรอยดํา ทากอนนอน ครีม ฉลากไมครบถวน, มีขอความที่ยังไมอาจสรุปไดวาเปนความจริงหรือไม พบ - 73 ครีมทาฝา "นิพัชร" ครีม ฉลากไมครบถวน, มีขอความที่ยังไมอาจสรุปไดวาเปนความจริงหรือไม พบ - 74 ครีมกันแดด "นิพัชร" ครีม ฉลากไมครบถวน, มีขอความที่ยังไมอาจสรุปไดวาเปนความจริงหรือไม - - 75 ครีมนมผึ้งผสมโสม KL FACE CREAM ครีม ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง - พบ 76 ครีมสมุนไพรมะเขือเทศ With Vitamin C ครีม ฉลากไมครบถวน - พบ 77 ครีมกันแดดสมุนไพรนางสาว สูตรพิเศษเขมขน SPF 30 ครีม ฉลากไมครบถวน - - 78 PUKKA CREAM ครีมยกกระชับผิวหนา ครีม ฉลากไมครบถวน - - 79 The Winner สมุนไพรมะขาม สูตรเขมขน เกรด A ครีม ฉลากภาษาไทยหลุดลอก - พบ 80 FairGlow New Improved ครีมทาใหผิวขาว ครีม ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง - - 81 สบูสมุนไพรวานนางสาว สบูกอน ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง พบ - 82 สบูสมุนไพรแตงกวาผสมอโรเวรา วิตามิน E K.BROTHERS สบูกอน ฉลากไมครบถวน - - 83 บัดดี้ BUDDY สูตร B ครีมทาฝาและกันแดด ครีม ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง - - 84 WEiJiAO Whitening Essence ครีม ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง - - 85 WEiJiAO Double Night Cream ครีม ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง - พบ 86 ครีมสิว - ฝา ครีม ฉลากไมครบถวน - พบ 87 APACHE อาปาเช ครีม ถูกตอง - พบ 88 โลชั่นกันแดดเบตา + วิตามิน E โลชั่น ถูกตอง - - 89 ครีมสิว ดร.มนตรี ครีม ถูกตอง - -

24

Page 34: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ผลการตรวจเบื้องตน ลําดับที ่

สถานที่เก็บตัวอยาง

ชื่อเครื่องสําอาง

ลักษณะ

การตรวจสอบฉลาก/ การโฆษณาเบื้องตน

ไฮโดรควิโนน ปรอทแอมโมเนีย

90 รานหวังดี (ตอ) กาโน-เบส GANO-BASE ครีมทาสนเทาดาน รอยดานขอศอก รอยดานหัวเขา ครีม ไมมีฉลากภาษาไทย (ภาษาจีน) - - 91 สบู QIAN MEI สบูกอน มีขอความ ไดรับ CERTIFICATE OF FREE SALE จาก อย. - - 92 PROMINA GINSENG PEARL CREAM โพรมีนา ครีมทาสิวฝา ครีม ฉลากไมครบถวน, ระบุสวนประกอบสําคัญ มีสารควบคุม Oxybenzone - - 93 AE CREAM เอ อี ครีมกันแดด-บํารุงผิว ลดสิว-ฝา ครีม ฉลากไมครบถวน พบ - 94 AE โลชั่น เอ.อี.ลดสิว ลดฝา โลชั่น ฉลากไมครบถวน พบ - 95 ชิชาเดะ ครีมหนาขาว โสมผสมไขมุกญี่ปุน ครีม ฉลากไมครบถวน - พบ 96 Shichade สบูสิวฝาสูตรหนาขาว โสมผสมไขมุกญี่ปุน 100% สบูกอน ฉลากไมครบถวน, มีขอความที่ยังไมอาจสรุปไดวาเปนความจริงหรือไม - - 97 แพน-วี ครีมสิวฝาสมุนไพร สูตรพิเศษ ครีม ฉลากไมครบถวน - - 98 โลชั่นกันแดดสมุนไพร แพน-วี โลชั่น ถูกตอง พบ - 99 E moon ครีม อีมูน ครีม ถูกตอง - -

100 mena Natural White Pearl Cream ครีม ถูกตอง - - 101 รานทิพรัตนบิวตี้ ผลิตภัณฑสมุนไพรนวลอนงค สมุนไพรโสมบํารุงหนา ผงพอกหนา สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง พบ - 102 ผลิตภัณฑสมุนไพรนวลอนงค สาหรายทะเลพอกหนา ครีม ถูกตอง พบ - 103 PURETE SKIN CARE Spot Corrector Foam โฟมลางหนา ถูกตอง - - 104 PURETE SKIN CARE SPOT CORRECTOR ครีมแตมบํารุงผิว ฝา กระ ครีม ถูกตอง - - 105 PURETE SKIN CARE White & pink booster ครีม ถูกตอง - - 106 PURETE SKIN CARE TAMARIND CLEANSING & NOURISHING CREAM ครีม ถูกตอง - - 107 PAULA Golden Skin Bleach ครีมรักแรและขาหนีบขาว ครีม ถูกตอง - - 108 Easy Spa Tamarind Whitening Body Lotion โลชั่น สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง - - 109 Body Firming Cream Chilli & Green Tea ครีม ถูกตอง - - 110 Scion Moisture Light Cream ซีออน มอยซเจอร ไลท ครีม สูตรไวทเทนนิ่ง ครีม ถูกตอง - - 111 PURETE SKIN CARE EXTRA SUN BLOCK FACIAL CREAM SPF40PA+++ ครีม ถูกตอง - - 112 Asmahan Whitening cream FOR ARMPIT & ELBOW อัสมาฮาล ครีมเพื่อผิวขาว ครีม ฉลากไมครบถวน - - 113 สมุนไพร LOUIS F4 ลางเครื่องสําอางค ขัดหนา ขัดสิว ขัดฝา รอยดางดํา ผงขัดหนา ถูกตอง (กลอง ระบ ุทะเบียนเลขที่ ค 211299) พบ - 114 Easy Spa White & Deo Armpit Cream ครีมรักแรขาว และระงับเหงื่อ ครีม ถูกตอง - - 115 PURETE SKIN CARE White massage For dry skin-sensitive skin ครีม ถูกตอง - - 116 ผลิตภัณฑสมุนไพรนวลอนงค สมุนไพรมารคหนาขาว ผงพอกหนา มีขอความที่ยังไมอาจสรุปไดวาเปนความจริงหรือไม - - 117 PAULA Golden Skin Bleach ครีมหนาขาว แกฝา และลดเลือนจุดดางดําชนิดพิเศษ ครีม สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง - - 118 PURETE SKIN CARE ACNE CREAM ครีมแตมสิว สูตรเชอรี่+ชาขาว ครีม ถูกตอง - - 119 Bio Underarm whitener ครีมรักแรขาว ครีม ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง - -

25

Page 35: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ผลการตรวจเบื้องตน ลําดับที ่

สถานที่เก็บตัวอยาง

ชื่อเครื่องสําอาง

ลักษณะ

การตรวจสอบฉลาก/ การโฆษณาเบื้องตน

ไฮโดรควิโนน ปรอทแอมโมเนีย

120 รานทิพรัตนบิวตี้ (ตอ) MEILIN Dark shadow Natural Source ครีมทาขาหนีบดํา ครีม สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง พบ - 121 LALUS BANISING CREAM COMPLEX ครีม มีขอความที่ยังไมอาจสรุปไดวาเปนความจริงหรือไม พบ - 122 St.Aqua เซ็นตอะควา AHA CREAM ครีม ถูกตอง - - 123 เครื่องสําอางสมุนไพร บัวชมพู ครีมบํารุงผิว E - Q10 ครีม ถูกตอง - - 124 เครื่องสําอางสมุนไพร บัวชมพู ครีมกันแดดแตงกวา ครีม ถูกตอง - - 125 เครื่องสําอางสมุนไพร ครีมปรับสภาพผิว ครีม มีขอความที่ยังไมอาจสรุปไดวาเปนความจริงหรือไม - พบ 126 MONICGA ครีมทาฝาโมนิคกา ครีม ฉลากไมครบถวน - - 127 pukka cream ครีมลดรอยดาง-ดํา รักษาฝา-หนาขาว ครีม ฉลากไมครบถวน - - 128 St.Aqua เซนตอะควา ครีมแกมใส ภูรียา แกมใส มุกฟา ครีม ฉลากไมครบถวน พบ -

129 St.Aqua เซนตอะควา ครีมแกมใส ภูรียา แกมใส กลางคืน ครีม ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง, มี

ขอความที่ยังไมอาจสรปุไดวาเปนความจริงหรือไม - -

130 Do5 Concentrate Whitening Lift Cream ครีม ฉลากไมครบถวน - - 131 ครีมชุดหนาใส (ครีมฝาหนาใส ทากอนนอน) ครีม ฉลากไมครบถวน พบ - 132 ครีมชุดหนาใส (ครีมกันแดดผสมรองพื้น ทา ตอนเชา) ครีม ฉลากไมครบถวน - - 133 ครีมชุดหนาใส (เซรั่มหนาเดง ทา เชา-เย็น) ครีม ฉลากไมครบถวน - - 134 ครีมชุดหนาใส (สบูหนาขาว ใชเปนประจําทุกวัน) สบูกอน ฉลากไมครบถวน - - 135 ครีมชุดหนาใส (Toner โลชั่น ทําความสะอาดผิวหนา ทา เชา-เย็น) โลชั่น ถูกตอง - - 136 SUPHAMAS ชุดปรับสภาพผิวขาว ครีมน้ํานมฟอกผิวขาว ผงและครีม ไมมีฉลากภาษาไทย (ภาษาญี่ปุนและภาษาองักฤษ) - พบ 137 SK-II FACIAL WHITENING MASK ครีม ไมมีฉลากภาษาไทย (ภาษาจีนและภาษาองักฤษ) - - 138 SK-II MAXFACTOR FACIAL WHITEN COMEDONES ADSORPTION MASK ครีม ไมมีฉลากภาษาไทย (ภาษาจีนและภาษาองักฤษ) - - 139 SHISEIDO FRUIT ACID FACIAL MEMBRANES SERIES ครีม ฉลากไมครบถวน พบ - 140 สมุนไพรขัดผิว โสมสอางค ผง ถูกตอง พบ - 141 มารคหนา ไวทเทนนิ่ง Whitening Facial Mask ผง ถูกตอง พบ - 142 ผงสมุนไพรขัดผิวขาว เอลแคร Original ผง ฉลากไมครบถวน พบ พบ 143 รานสกายเฟซ SKY FACE MOISTURIZER For all skin type ครีม ฉลากไมครบถวน - - 144 Whitening ครีม สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง พบ - 145 ศูนยรวมเครื่องสําอาง (เพิ่มเติม) lanopearl DERMASENSE SENSITIVE SKIN ครีม ถูกตอง - 146 K.KOPACABANA สบูหอม เค.โคปาคาบานา สูตรเพิ่มวิตามิน C สบูกอน ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง - - 147 SUPER BABY FACE K.BROTHERS หนาเดง-หนาใส สูตรพิเศษ สบูกอน สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง - - 148 lanopearl CLARIFYING ANTI ACNE CREAM ครีม ถูกตอง - -

26

Page 36: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ผลการตรวจเบื้องตน ลําดับที ่

สถานที่เก็บตัวอยาง

ชื่อเครื่องสําอาง

ลักษณะ

การตรวจสอบฉลาก/ การโฆษณาเบื้องตน

ไฮโดรควิโนน ปรอทแอมโมเนีย

149 Lanopearl VITAMIN E CREAM ครีม ฉลากไมครบถวน, สรรพคุณเกินขอบขายของเครื่องสําอาง, มีขอความที่ยังไมอาจสรปุไดวาเปนความจริงหรือไม

- -

150 รานทิพรัตนบิวตี้ (เพิ่มเติม) Do5 Perfect White Lift ครีม - -

ภาพกจิกรรม

27

Page 37: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

28 .

1.5 โครงการพฒันาศูนยบริการผลิตภัณฑสขุภาพเบด็เสร็จจังหวัดอุตรดิตถ ป 2550 สํานักงานาสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ จดัทําโครงการเพื่อพัฒนาศูนยบริการผลิตภัณฑสุขภาพเบ็ดเสร็จจังหวดัอุตรดิตถเขาประกวดในระดับเยีย่ม วัตถุประสงค

1. เพื่อพัฒนาศูนยบริการผลิตภณัฑสุขภาพเบด็เสร็จจังหวัดอุตรดิตถใหเปนไปตามแนวทางการประเมินในระดับเยีย่ม

2. เพื่อพัฒนาการใหบริการแกประชาชนใหมคีวามรวดเรว็ และลดขั้นตอนที่ไมจําเปน 3. เพื่อใหมีระบบขอมูลสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและทนัสมัย

ผลการปฏิบัติงาน 1. จัดทําเว็บไซตศูนยบริการผลิตภัณฑสุขภาพเบ็ดเสร็จจังหวัดอุตรดติถ ที่รวบรวมขั้นตอนการติดตอ การขออนุญาตเกี่ยวกบัผลิตภัณฑและบริการสุขภาพ อยูที่ http://uto.moph.go.th/consumer/ osscossc.htm 2. กําหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการใหบริการอยางชัดเจน และตดัขั้นตอนที่ไมจําเปนออกไป ทําใหสามารถออกใบอนุญาตไดอยางรวดเร็ว 3. จัดหาเครื่องคอมพิวเตอรเพื่ออํานวยความสะดวกแกประชาชนผูมารับบริการ ในการคนหาขอมูลทางอินเทอรเน็ต จํานวน 1 เครื่อง 4. จัดหาหนังสือ แผนพับใหความรู ประชาสัมพันธกิจกรรมของศูนยบริการผลิตภัณฑสุขภาพเบ็ดเสร็จ กลุมงานคุมครองผูบริโภค และในหนวยงานสาธารณสุข ไวบริการประชาชนระหวางนั่งรอรับ บริการ ปญหาอุปสรรค ศูนยบริการผลิตภัณฑสุขภาพเบ็ดเสร็จจังหวัดอุตรดิตถตั้งอยูในกลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ มีสถานที่คับแคบ จึงไมสามารถจัดสรรพื้นที่สําหรับผูรับบริการโดยเฉพาะได และถามีผูมารับบริการพรอมกันครั้งละมาก ๆ จะไมสามารถมีพื้นที่รองรับบริการเพียงพอ ปจจบุันมีพื้นที่ที่วางเกาอี้เพื่อใหผูรับบริการนั่งรอมีเพียง 4 ตวัเทานัน้ ขอเสนอแนะ ถามีพื้นที่เพิ่มมากขึ้น ควรจดับริเวณสําหรบัการใหบริการแกประชาชนโดยเฉพาะ แยกออกจากสวนที่เจาหนาทีน่ั่งปฏิบัติงาน

Page 38: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

29

1.5 การตรวจสอบผลิตภัณฑ 1.5.1 กรณีผลิตภัณฑ Happy Lady

สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัอุตรดิตถตรวจสอบการจําหนายสินคาในรานขายของชําในเขตเทศบาลเมืองอุตรดิตถ พบการจําหนายผลิตภณัฑ Happy Lady ลักษณะเปนขวด สีน้ําตาล ระบุ นําเขาผลิตและจําหนายโดย กลุมแมบานสมุนไพรปลอดสารพิษโครงการหลวง อําเภอชะอํา จังหวดัเพชรบุรี ขนาดบรรจุ 100 แคปซูล ตามภาพที่แนบมา จากการตรวจสอบพบวา ไมมีผูผลิต กลุมแมบานสมุนไพรปลอดสารพิษโครงการหลวง ในจังหวัดเพชรบุรี แตอยางใด นอกจากนี้ ผลิตภัณฑดังกลาวยังไมไดรับอนญุาตผลิตจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) หรือสํานักงานสาธารณสุขจังหวดั ดังนั้น ผลิตภัณฑนี้เปนผลิตภัณฑที่ผิดกฎหมายและอาจเปนอันตรายตอผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัอุตรดิตถ จึงจัดทําประกาศจังหวดัอุตรดิตถ เร่ือง ผลิตภัณฑ Happy Lady ผิดกฎหมาย เพื่อประชาสัมพันธใหประชาชนรับทราบ และเฝาระวังการกระทาํผิดตอไป

Page 39: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

30

1.5.2 กรณีผลิตภัณฑ Peeya pink สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัอุตรดิตถตรวจสอบการจําหนายสินคาในรานขายของชําในเขตเทศบาล

เมืองอุตรดิตถ พบการจําหนายผลิตภัณฑ พียา พิงค (Peeya Pink) ลักษณะเปนขวดสีชมพู ระบุ นําเขาผลิตและจําหนายโดย กลุมสมุนไพรปลอดสารพิษดอยหลวงทฤษฎีใหมพึง่ตนเอง 109 หมู 4 อ.แมฟาหลวง จ.เชียงราย ขนาดบรรจุ 100 แคปซูล ตามภาพที่แนบมา จากการตรวจสอบพบวา ไมมีผูผลิต กลุมสมุนไพรปลอดสารพิษดอยหลวงทฤษฎีใหมพึ่งตนเองในจังหวัดเชียงราย แตอยางใด นอกจากนี้ ผลิตภัณฑดังกลาวยังไมไดรับอนุญาตผลิตจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) หรือสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ดังนั้น ผลิตภัณฑดังกลาวเปนผลิตภัณฑที่ผิดกฎหมายและอาจเปนอันตรายตอผูบริโภค

สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัอุตรดิตถ จึงจัดทําประกาศจังหวดัอุตรดิตถ เร่ือง ผลิตภัณฑ Peeya Pink ผิดกฎหมาย เพื่อประชาสัมพันธใหประชาชนรับทราบ และเฝาระวังการกระทําผิดตอไป

1.6 การดําเนนิคด ี1.6.1 กรณีการผลิตและจําหนายเครื่องสาํอาง ตรา มิโกะมัสซูหรี

พฤติการณ สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัอุตรดิตถ ไดรับเรื่องรองเรียนจากสํานกังานสาธารณสุขจังหวดัลําพนูและสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาใหตรวจสอบครีมตรา มิโกะมัสซูหรี ซ่ึงฉลากระบุ จําหนายโดย สถาบันความงามมิโกะมัสซูหรี เลขที่ 54 ถ.ยานศิลาอาสน ต.ทาอิฐ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ จึงสงเขาหนาที่ตรวจสอบเมื่อเดือนเมษายน 2549 ที่ผานมา เก็บตัวอยางเครื่องสําอางตรามิโกะมัสซูหรีหลายรายการสงตรวจ วิเคราะห ณ ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยพิษณุโลก ผลพบสารหามใช จึงแจงใหหยุดจําหนาย พรอมกับสงเร่ืองใหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศเปนเครื่องสําอางที่พบสารหามใช

Page 40: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

31

ตอมา มีผูรองเรียนวายังพบการจําหนายครีมดังกลาวอยูอีก จึงสงสายลับเขาทําการลอซ้ือ และตรวจวิเคราะหสารหามใช ผลปรากฏวา ยังพบสารหามใชเชนเดิม จึงประสานขอกําลังเจาหนาที่ตํารวจสนับสนุนการจับกุมตอไป

ผลการดําเนนิงาน เจาหนาทีจ่ากกลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ รวมกบัเจาหนาที่ตํารวจ

จากตํารวจภูธรจังหวดัอุตรดิตถ ไดจับกุมผูทีผ่ลิตและจําหนายเครื่องสําอางที่ผิดกฎหมาย จํานวน 2 คร้ัง ดังนี ้คร้ังที่ 1 วันที่ 19 ตุลาคม 2550 บุกคนบานเลขที่ 54 ถ.บรมอาสน ต.ทาอิฐ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ จับกุม

ผูตองหา ยึดของกลางเปนวัตถุดิบ อุปกรณการผลิตเครื่องสําอาง สมุดบัญชีการขายเปนจํานวนมาก สงตัวอยางวิเคราะห พบสารหามใช และพบสาร Betamethasone ซ่ึงจัดเปนยาแผนปจจุบันในกลุมของสเตียรอยดดวย ซ่ึงเจาหนาที่ไดแจงขอหา คอื ผลิตและจําหนายเครื่องสําอางที่ไมปลอดภัยในการใช เครื่องสําอางที่แสดงฉลากไมถูกตอง เครื่องสําอางปลอม และผลิตและจําหนายยาแผนปจจุบันโดยไมไดรับอนุญาต ศาลจังหวัดอุตรดิตถ พิพากษาให จาํคุกรวม 1 ป และปรับ 12,000 บาท จําเลยใหการรับสารภาพ ลดโทษกึง่หนึ่ง คงจําคกุ 6 เดือน และปรับ 6,000 บาท จําเลยไมเคยไดรับโทษจําคุกมากอน เห็นควรรอการลงโทษจําคุกมีกําหนด 1 ป

คร้ังที่ 2 วันที่ 26 ธันวาคม 2550 ไดทําการลอซ้ือและบุกคนสถานเสริมความงามมิโกะมัสซูหรี เลขที่ 54 ถ.ยานศิลาอาสน ต.ทาอฐิ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ จบักุมผูตองหา ยดึของกลางเปนเครื่องสําอางเปนครีมมาญาว ี600 และเครื่องสําอางที่ผิดกฎหมายจําหนวนหนึ่ง สงตัวอยางตรวจวิเคราะหพบสารหามใชและสาร Betamethasone ซ่ึงเจาหนาทีแ่ขงขอหา จําหนายเครื่องสําอางที่ไมปลอดภัยในการใช เครื่องสําอางที่แสดงฉลากไมถูกตอง เครื่องสําอางปลอม และจําหนายขายแผนปจจุบันโดยไมไดรับอนุญาต ศาลจังหวดัอุตรดิตถ พพิากษาให จําคุกรวม 2 ป และปรับ 25,000 บาท จําเลยใหการรับสารภาพ ลดโทษกึ่งหนึ่ง คงจําคุก 12 เดือน และปรับ 12,500 บาท จําเลยไมเคยไดรับโทษจําคุกมากอน เหน็ควรรอการลงโทษจําคุกมีกําหนด 2 ป

Page 41: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

32

2. งานประกอบโรคศิลปะ

2.1 งานสถานพยาบาล ตารางที่ 4 ผลการตรวจคลินิกแยกรายอําเภอ ป 2550

อําเภอ

เมือง (เทศบาล)

เมือง

ลับแล พิชัย ตรอน ทอง

แสนขัน ทาปลา

น้ําปาด

ฟากทา

บานโคก

จํานวนทั้งหมด

จํานวนที่ตรวจได

รอยละ แยกตามสาขา

ประเภทสาขาคลินิก

1.สาขาเวชกรรม 31 2 1 - 1 - 1 1 - 37 37 100

2.สาขาเวชกรรม (เฉพาะทาง)

4 - - - - - - - - 4 4 100

3.สาขาทันตกรรม 9 - - - - - - - - 9 9 100

4.สาขาเทคนิคการแพทย 4 - - - - - - - - 4 4 100

5.สาขาการแผนไทย 1 1 3 5 - - - - - - 11 10 90.90

6.สาขากายภาพบําบัด 1 - - - - - - - - 1 1 100

7.สาขาการพยาบาล และผดุงครรภ (ชั้น 1)

1 22 10 8 7 8 5 6 3 2 88 72 81.81

8.สาขาการพยาบาล และผดุงครรภ (ชั้น 2)

1 8 7 3 2 5 2 1 4 1 38 34 89.47

จํานวนทั้งหมด 52 36 31 18 11 14 7 10 10 3 192 -

จํานวนที่ตรวจได 52 31 22 17 9 14 7 9 8 3 171 -

รอยละแยกตามอําเภอ 100 86.11 70.96 94.44 81.81 100 100 90 80 100 89.06

จากตาราง จํานวนสถานพยาบาลเอกชน ทั้งหมด 192 แหง ไดรับการตรวจมาตรฐานสถานพยาบาลประจําป จํานวน 171 แหง คิดเปนรอยละ 89.06 อําเภอที่ตรวจครบทุกแหง คือ อําเภอทองแสนขนั อําเภอทาปลา อําเภอบานโคก คิดเปนรอยละ 100 รองลงมา คือ อําเภอพิชัย ตรวจได 17 แหง จาก 18 แหง คิดเปนรอยละ 94.44 อําเภอน้ําปาด ตรวจได 9 แหง จาก 10 แหง คิดเปนรอยละ 90 อําเภอเมือง ตรวจได 83 แหง จาก 88 แหง คดิเปนรอยละ 94.31 และอําเภอตรอน ตรวจได 9 แหง จาก 11 แหง คิดเปนรอยละ 81.81

ตารางที่ 5 ขอบกพรองที่ตรวจพบในการตรวจมาตรฐานสถานพยาบาลจังหวัดอุตรดิตถ ป 2550 ขอ รายการที่ตรวจ จํานวนปญหา รอยละ

1 ลักษณะของสถานพยาบาล 1.1 สถานที่สะอาด เรียบรอย ปลอดภัย ไมชํารุด 0 0 1.2 พื้นที่สถานพยาบาลไมมีกิจการอื่นปะปน 0 0

Page 42: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

33

ขอ รายการที่ตรวจ จํานวนปญหา รอยละ 1.3 พื้นที่สถานพยาบาลไมปะปนกับรานยา 1 0.52 1.4 สิ่งแวดลอม ทั้งภายนอกและภายใน เปนระเบียบเรียบรอย 0 0 1.5 มีการระบายอากาศที่ดี ไมอับทึบ 0 0 1.6 หองตรวจและหองใหการรักษา เปนสัดสวนมิดชิด 1 0.52 1.7 ขอความโฆษณาสถานพยาบาล(ถามี)ไมเปนเท็จ ไมโออวด หรือ

สื่อใหเขาใจผิด 0 0

1.8 มีเครื่องดับเพลิงขนาดเหมาะสม พรอมใชงาน 0 0 1.9 มีการแยกขยะมูลฝอย ออกจากขยะติดเชื้อ 18 9.37

1.10 มีการแสดงเครื่องหมายหามสูบบุหรี่ 0 0 1.11 จัดสถานพยาบาลคลายรานยา 2 1.04

2 การแสดงรายละเอียดเก่ียวกับชื่อสถานพยาบาล ผูประกอบวิชาชีพ คารักษาและสิทธิผูปวย

2.1 มีปายช่ือสถานพยาบาลที่ถูกตอง 3 1.56 2.2 แสดงรูปถายและเลขที่ใบประกอบโรคศิลปะฯ 1 0.52 2.3 แสดงคารักษาพยาบาลไวในที่เปดเผย 31 16.14 2.4 มีขอความแจงใหสอบถามคารักษาพยาบาลไดที่ใด 8 4.16 2.5 แสดงคําประกาศสิทธิผูปวยในที่เปดเผย 0 0

3 การประกอบกิจการและการดําเนินการสถานพยาบาล 3.1 สถานที่ต้ังคลินิก ถูกตองตรงตามใบอนุญาต 0 0 3.2 แสดงใบอนุญาตประกอบกิจการและใบอนุญาตดําเนินการ

สถานพยาบาลไวในที่เปดเผย 0 0

3.3 ใบอนุญาตดําเนินการสถานพยาบาล ตออายุ ทุก 2 ป 0 0 3.4 แสดงหลักฐานการชําระคาธรรมเนียม (สพ.12) ไวบริเวณทางเขาฯ 0 0 3.5 มีสมุดทะเบียนสถานพยาบาล ใหพนักงานเจาหนาที่ บันทึกการตรวจ 11 5.72 3.6 การประกอบกิจการตรงตามลักษณะที่ขออนุญาต 0 0 3.7 พบผูรับอนุญาตใหดําเนินการสถานพยาบาล อยูดูแลคลินิก 1 0.52 3.8 มีผูประกอบวิชาชีพปฎิบัติงาน ตามเวลาที่เปดดําเนินการ 0 0 3.9 ไมยื่นขออนุญาตเปนผูดําเนินการ 1 0.52

3.10 เวลาทําการไมตรงกับที่ขออนุญาต 4 2.08

4 ชนิดและจํานวนเครื่องมือ เคร่ืองใชยาและเวชภัณฑท่ีจําเปน 4.1 เครื่องใชทั่วไปประจําสถานพยาบาลมีตามจํานวนที่เหมาะสม 0 0

Page 43: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

34

ขอ รายการที่ตรวจ จํานวนปญหา รอยละ

4.2

อุปกรณเครื่องมือเครื่องใชยาและเวชภัณฑที่จําเปน เปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวงและเปนไปตามที่สภาการพยาบาลกําหนด

0 0

4.3

มีระบบควบคุมการติดเชื้อ ที่เหมาะสมกับลักษณะที่ใหบริการโดย O แชสารเคมี O การนึ่งแรงดันไอน้ํา O การตม Oอื่นๆ……

0 0

4.4 มีระบบประสานการสงตอผูปวย(refer) ไปยังสถานพยาบาลใกลเคียงในกรณีฉุกเฉิน

0 0

5 การรายงาน หลักฐานเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ และเอกสารอ่ืนที่เก่ียวกับการรักษาพยาบาล

5.1 มีการบันทึกทะเบียนผูปวยประจําวัน 2 1.04

5.2 จัดทําบัตรประจําตัวผูปวย OPD card และมีการบันทึกขอมูลครบถวนตามกฎกระทรวง

11 5.72

5.3 การจัดทํารายงานประจําป ตามแบบที่ปลัดกระทรวงสาธารณสุขกําหนด (ส.พ.23) ถูกตอง

0 0

5.4 การสงรายงานประจําป (ส.พ.23) ตามที่กําหนดให 4 2.08

6 ดานยาและเวชภัณฑ

6.1 ยาลดความดัน หัวใจ 0 0 6.2 ยาฉีด 8 4.16 6.3 ยาหมดอายุ 9 4.68 6.4 ยาควบคุมพิเศษ 1 0.52 6.5 วัตถุออกฤทธิ์ 0 0 6.6 ยาไมมีฉลาก 5 2.60

จากตาราง ขอบกพรองที่ตรวจพบในการตรวจมาตรฐานสถานพยาบาลจังหวัดอุตรดิตถ ป 2550 จํานวน 171 แหง จากทั้งหมด 192 แหง จําแนกตามหมวดตางๆ ดังนี้ 1) ลักษณะของสถานพยาบาล 2) การแสดงรายละเอียดเกี่ยวกบั ช่ือสถานพยาบาล ผูประกอบวิชาชีพ 3) คารักษาและสิทธิผูปวยการประกอบกิจการและการดําเนินการสถานพยาบาล 4) ชนิดและจํานวนเครื่องมือ เครื่องใชยาและเวชภัณฑทีจ่ําเปน 5) การรายงาน หลักฐานเกีย่วกบัการประกอบวิชาชีพและเอกสารอื่นที่เกีย่วกับการรักษาพยาบาล 6) ดานยาและเวชภณัฑ

1. ปญหาลักษณะของสถานพยาบาล พบมากที่สุด คือ ไมแยกขยะมูลฝอยออกจากขยะตดิเชื้อ จํานวน 18 ราน คิดเปนรอยละ 9.37 จัดสถานพยาบาลคลายรานยา จํานวน 2 ราน คิดเปนรอยละ 1.04 พื้นที่สถานพยาบาลปะปนกบัรานยา จํานวน 1 ราน คิดเปนรอยละ 0.52 หองตรวจและหองใหการรักษาไมเปนสัดสวนมดิชิด จํานวน 1 ราน คิดเปนรอยละ 0.52

Page 44: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

35

2. ปญหาการแสดงรายละเอยีดเกีย่วกับชื่อสถานพยาบาล ผูประกอบวชิาชีพ พบมากที่สุด คือ ไมแสดงคารักษาพยาบาลไวในที่เปดเผย จํานวน 31 ราน คิดเปนรอยละ 16.14 ไมมีขอความแจงใหสอบถามคารักษาพยาบาล จํานวน 8 ราน คิดเปนรอยละ 4.16 และมีปายชื่อสถานพยาบาลที่ไมถูกตอง จํานวน 3 ราน คิดเปนรอยละ 1.56 3. ปญหาการประกอบกิจการและการดําเนนิการสถานพยาบาล พบมากที่สุด คือ ไมมีสมุดทะเบียนสถานพยาบาล ใหพนักงานเจาหนาที ่บันทึกการตรวจ จํานวน 11 ราน คิดเปนรอยละ 5.72 รองลงมา คือ เวลาทําการ ไมตรงกับที่ขออนุญาต จํานวน 4 ราน คิดเปนรอยละ 2.08 ไมพบผูรับอนุญาตใหดําเนินการสถานพยาบาลอยูดูแลคลินิก จํานวน 1 ราน คิดเปนรอยละ 0.52 และไมยืน่ขออนญุาตดําเนินการ จํานวน 1 ราน คิดเปนรอยละ 0.52 4. ปญหาการรายงานหลักฐานเกี่ยวกับการประกอบวิชาชพีและเอกสารอื่นที่เกี่ยวกับการรักษาพยาบาล ไมมีการจัดทําบัตรประจําตัวผูปวย OPD card และการบันทึกขอมูลครบถวนตามกฎกระทรวง จํานวน 11 ราน คิดเปนรอยละ 5.72 รองลงมา คือ ไมสงรายงานประจําป (สพ.23) ตามที่กําหนด จํานวน 4 ราน คดิเปนรอยละ 2.08 และไมมีการบันทึกทะเบยีนผูปวยประจําวัน จํานวน 2 ราน คิดเปนรอยละ 1.04

5. ปญหาดานยาและเวชภัณฑ พบมากที่สุด คือ พบยาหมดอาย ุ จํานวน 9 ราน คิดเปนรอยละ 4.68 รองลงมา คือ พบยาฉีดในสถานพยาบาล สาขาการพยาบาลและผดุงครรค จํานวน 8 ราน คิดเปนรอยละ 4.16 และพบยาไมมีฉลาก จาํนวน 5 ราน คิดเปนรอยละ 2.60 สรุปผล สถานพยาบาลประเภทที่ไมรับผูปวยไวคางคืน ในจังหวดัอุตรดิตถ ทั้งหมด 192 แหง ไดรับการตรวจสอบมาตรฐานประจําป ทั้งหมด 171 แหง คิดเปนรอยละ 89.06 (เปาหมายรอยละ 90) พบวาผานเกณฑไมผานเกณฑตามตวัช้ีวัด

ปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะ 1. การตรวจสถานพยาบาลประจําประดับอาํเภอควรลงผลการตรวจสถานพยาบาล ใหผูประกอบการในสมดุทะเบยีนสถานพยาบาลใหครบถวนเพื่อความสะดวกในการตรวจสอบประกอบการตออายุสถานพยาบาลประจําป

2. ควรมีการสงเสริมวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพการรักษาพยาบาลและการบริการของสถานพยาบาล

3. ในระดับอําเภอควรตรวจมาตรฐานประจําปใหครบทกุราน เนื่องจากตองใชผลการตรวจในการ

ตออายุประจําป

Page 45: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

36

2.2 สรุปผลเร่ืองรองเรียนในฐานะพนักงานเจาหนาท่ีตาม พรบ.สถานพยาบาล พ.ศ.2541 ปงบประมาณ 2550 2.2.1 ประกอบวิชาชพีเวชกรรมโดยไมไดรับอนุญาต

พฤติการณ กลุมงานคุมครองผูบริโภคไดรับรายงานการสอบสวนโรค ผูเสียชีวิต ดวยโรคอุจจาระรวง หมูที่ 1 ตําบลดานแมคํามัน อําเภอลับแล เขารับการรักษาที่โรงพยาบาลอุตรดิตถ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2550 โดยรับการรักษาที่คลินิกในหมูบาน ใหการรักษาโดยฉีดยาทางกลามเนื้อ และจัดยามาใหรับประทานที่บาน ตอมาผูปวยมีอาการใจสั่นมาก แขนขาออนแรง มีอาการเกร็งที่มือ และหมดสติ ญาติจึงนาํสงโรงพยาบาล เสียชีวิตที่ตึกอายุรกรรม เจาหนาที่งานระบาดสอบถามขอมูลเบื้องตนทราบวาผูปวยรักษาที่คลินิกแหงหนึ่ง ต.ดานแมคํามัน อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ กลุ มงานคุ มครองผู บริโภค ไดตรวจสอบแลวพบวาตรงกับใบอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล ที่มายื่นคําขอกับทางราชการ ประเภทการพยาบาลและการผดุงครรภ ทั้งนี้เปดใหบริการฉีดยาใหกับคนไขและจายยาอันตรายกลุมรักษาโรคความดันโลหิตสูงและยาขยายหลอดลม จัดเปนการประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยไมไดรับอนุญาต ผลการดําเนนิงาน

- ทําหนังสือเรียกผูรับอนุญาตมาชี้แจงขอเทจ็จริงและรับทราบขอกฎหมาย - ผูรับอนุญาตยอมรับวาไดกระทําความผิดจริง และชี้แจงขอเท็จจริงวาใหคนไขสอบถามวามียา

เม็ดสีชมพู ขยายหลอดลมและยาแกใจสั่นหรือไม จึงไดวัดความดันโลหิตเบื้องตน ผลปกติ จึงจายยา Propanolol และ Salbutamol ใหคนไข โดยมีเหตุผลในการสั่งใชยา เนื่องจากคนไขมาดวยอาการ ใจสั่น เหนื่อยหอบ

- พนักงานเจาหนาที่ แจงขอกฎหมาย ดังนี ้1. พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525 มาตรา 26 หามมิใหผูใดประกอบวิชาชีพ

เวชกรรมหรือแสดงดวยวิธีใดๆ วาพรอมที่จะประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยมิไดเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หากฝาฝนมี ความผิดตามมาตรา 43 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามปหรือปรับไมเกินสามหมื่นบาทหรอืทั้งจําทั้งปรับ

2. แนวทางการตรวจมาตรฐานสถานพยาบาล ประเภทที่ไมรับผูปวยไวคางคืน พ.ศ.2546 กลุมงานสถานพยาบาล กองการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข กําหนดใหผูประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภช้ันหนึ่ง(ทั่วไป) สามารถใชยา ดังนี้

2.1 ยาสามัญประจําบานหรือยาตําราหลวง 2.2 วัคซีน 2.3 ยาคุมกําเนิด

Page 46: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

37

2.4 ยาสมุนไพร(ถามี) สรุปผลการดําเนินงาน

ผูรับอนุญาตมารับทราบขอเท็จจริงใหการยอมรับวากระทําผิดจริงและรับฟงขอกฎหมาย พรอมทําบันทึกคําใหการไวเปนหลักฐาน

2.2.2 ประกอบวิชาชพีเวชกรรมโดยไมไดรับอนุญาต & เปดสถานพยาบาลโดยไมไดรับ อนุญาต

พฤติการณ สํานักงานสาธารณสุขอําเภอบานโคก ไดดําเนินการเฝาระวังติดตามการใหบริการทางการแพทย โดยไมไดรับอนุญาตของกลุมบุคคลชาวใตหวันที่มาเผยแพรศาสนา ระหวางวันที่ 1-5 มีนาคม 2550 โดยใชวิธีชักจูงใหประชาชนมากราบไหว และใหการบริการเจาะผิวหนังดวยเข็มใหเลือดซึมออกมาตามจุดที่เจาะทั้งผูใหการรักษาและผูรับบริการจะใชเทาเหยยีบอุปกรณไฟฟาที่เสียบปลั๊กไฟฟา เพื่อรักษาอาการปวดขอ ปวดกลามเนื้อ ปวดตามอวัยวะตางๆของรางกายและการขูดผิวหนังดวยอุปกรณที่เปนแสตนเลส ใหกับผูไปใชบริการฟรี ผูปวยสวนใหญเปนผูสูงอายุที่เปนโรคเรื้อรัง สวนใหญบอกวาอาการดีขึ้นบาง บางคนบอกวาดีขึ้นมากตองการใชบริการอีกเพราะไมเสียคาใชจาย สํานักงานสาธารณสุขอําเภอบานโคกรวมกับสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานโคก ปลัดอําเภอ เภสัชกร โรงพยาบาล ตรวจสอบแลวพบวากลับกรุงเทพไปแลว จึงเชิญตัวแทนที่เหลือ 2 คน มาทําบันทึกประจําวันไวเปนหลักฐานและทําบันทึกคําใหการ ทั้งนี้การเปดใหบริการ ดังกลาว จัดเปนการประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยไมไดรับอนุญาตและเปดสถานพยาบาลโดยไมไดรับอนุญาต ผลการดําเนนิงาน

พนักงานเจาหนาที่จัดทําบันทึกคําใหการ แจงขอกฎหมาย 1. พระราชบญัญัติวิชาชพีเวชกรรม พ.ศ.2525 มาตรา 26 หามมใิหผูใดประกอบวชิาชพีเวชกรรมหรือ

แสดงดวยวิธีใดๆวาพรอมที่จะประกอบวชิาชีพเวชกรรมโดยมิไดเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หากฝาฝนม ี ความผิดตามมาตรา 43 ตองระวางโทษจําคกุไมเกนิสามปหรือปรับไมเกนิสามหมืน่บาทหรือทัง้จําทัง้ปรับ

2. พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541 มาตรา 16 หามมิใหผูใดประกอบกิจการสถานพยาบาล เวนแตจะไดรับอนุญาตจากผูอนุญาต หากฝาฝนมีความผิดตามมาตรา 58 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามปหรือปรับไมเกินสามหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ

- เจาหนาที่ตํารวจลงบันทึกประจําวัน เนื่องจากเปนความผิดครั้งแรก พนักงานเจาหนาที่จึงไดตักเตือนไมใหทําการรักษาดวยวิธีใดๆทั้งสิ้น สรุปผลการดําเนินงาน

- ผูกระทําผิดหยุดการกระทาํดังกลาวและพนักงานเจาหนาที่จะไดเฝาระวังตอไป

Page 47: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

38

2.2.3. ประกอบวิชาชพีทันตกรรมโดยไมไดรับอนุญาต & เปดสถานพยาบาลโดยไมไดรับ อนุญาต

พฤติการณ กลุมงานคุมครองผูบริโภคไดรับเรื่องรองเรียนวามีการประกอบวิชาชีพทันตกรรมโดยไมไดรับอนุญาต และแจงใหสาธารณสุขอําเภอพิชัย ไปตรวจสอบการประกอบวิชาชีพทันตกรรมโดยไมไดรับอนุญาต โดยมีการเปดรานใหบริการทาํฟนบริเวณหลังรานคาแหงหนึ่งที่ ต.ในเมือง อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ ซ่ึงจัดเปนการประกอบวิชาชีพทันตกรรมโดยไมไดรับอนุญาตและประกอบกิจการสถานพยาบาลโดยไมไดรับอนุญาตหรือไม สํานักงานสาธารณสุขอําเภอพิชัย จัดสงพนักงานเจาหนาที่ออกตรวจสอบขอเท็จจริงในสถานที่ดังกลาว พบวาไมมีการดําเนินการประกอบวิชาชีพทันตกรรมโดยไมไดรับอนุญาตและไมมีการประกอบกิจการ สถานพยาบาลโดยไมไดรับอนุญาตแตอยางใดพบแตเพียงบานที่ปดสนิทไมมีเจาของอยูบาน สอบถามขอเท็จจริงจากขางบานใหการวา เจาของบานดังกลาวเปนชาย ชื่อเลน นายแกะ อายุประมาณ 65 ป เมื่อกอนเคยใหบริการทําฟนจริง แตปจจุบันเลิกทําไปนานแลว ผลการดําเนนิงาน

- พนักงานเจาหนาที่ระดับอําเภอตรวจสอบสถานที่ ที่ถูกรองเรียน

- สาธารณสุขอําเภอทําหนังสือแจงการตรวจสอบการประกอบวิชาชีพทันตกรรมโดยไมไดรับอนุญาต

สรุปผลการดําเนินงาน

- ผูถูกรองเรียนเคยใหบริการทําฟนจริง แตปจจุบันเลิกทําแลว 2.2.4 สถานพยาบาลเวชกรรม เปดบริการนอกเวลาทําการที่ขออนุญาต

พฤติการณ กลุมงานคุมครองผูบริโภคไดรับรองเรียน จากผูรองเรียนวาสถานพยาบาลเวชกรรมแหงหนึง่ ในเขตเทศบาลมกีารขายยาและจายยาโดยไมมีแพทยควบคมุดแูลและเปดคลินกิ นอกเหนือเวลาที่ไดรับอนุญาตตามที่ระบใุนใบอนญุาตประกอบกิจการสถานพยาบาล เมื่อวนัที่ 8 กุมภาพันธ 2550 ผลการดําเนนิงาน

โดยพนกังานเจาหนาที่ ไดชีแ้จงขอกฏหมาย ดังนี ้1. การเปดใหมีบริการนอกเวลาทําการที่ขออนุญาตไวในใบอนุญาต เปนการฝาฝนมาตรา

49 แหง พ.ร.บ.สถานพยาบาล พ.ศ.2541 มีโทษตามมาตรา 58 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือนหรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาทหรือท้ังจําทั้งปรับ ทั้งนี้พนักงานเจาหนาที่มีอํานาจสั่งใหผูรับอนุญาตหรือดําเนินการแลวแตกรณีระงับหรือปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่เห็นสมควร

Page 48: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

39

2. ผูดําเนินการยินยอมใหบุคคลอื่นซึ่งมิใชเปนผูประกอบวิชาชีพทําการประกอบวิชาชีพ ในสถานพยาบาล เปนการฝาฝนมาตรา 34(1) แหง พรบ.สถานพยาบาล พ.ศ. 2541 มีโทษตามมาตรา 63 ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 2 ป หรือปรับไมเกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจาํทั้งปรับ

3. การขายยาแผนปจจุบันโดยไมไดรับอนุญาต เปนการฝาฝนมาตรา 12 แหง พรบ.ยา พ.ศ. 2510 มีโทษตามมาตรา 101 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป และปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท

สรุปผลการดําเนินงาน

ผูรับอนุญาตมารับทราบขอเท็จจริงใหการยอมรับทุกขอรองเรียนวากระทําผิดจริงและรับฟงขอกฎหมาย พรอมทําบันทึกคําใหการไวเปนหลักฐาน และขอใหการเพิ่มเติมวาในวนัที่เกิดเหตุการณมีการซอมแซมคลินกิและขณะนั้นมีคนไขมาขอซื้อยากับเจาหนาที่ที่ดแูลคลนิิก ซ่ึงไดมปีฏิเสธการขายยาในเบือ้งตน แตคนไขใหเหตุผลวาเดินทางมาไกลจึงยนิยอมขายยาใหโดยไมทราบวาการกระทําดงักลาวผิดกฎหมายโดยไมมีเจตนาในการกระทําผิด ทั้งนี้ไมเคยมพีฤติกรรมดังกลาวมากอน

2.2.5 การตรวจสอบโฆษณาหนาคลินิกแพทย พฤติการณ กลุมงานคุมครองผูบริโภคไดรับเรื่องรองเรียนเกี่ยวกับการโฆษณาหนาคลินิกแพทยในเขตเทศบาลเมืองอุตรดิตถ วามีการโฆษณาเพื่อชักชวนใหมีผูมาขอรับบริการโดยใชขอความทีน่าจะกอใหเกดิความเขาใจผิดในสาระสําคัญเกี่ยวกับการประกอบกิจการของสถานพยาบาลนั้น พนักงานเจาหนาที่จึงไดตรวจสอบขอความโฆษณาหนาคลินิกเมื่อวันท่ี 28 พฤศจิกายน 2549 จํานวน 22 ราน ซ่ึงพบวามีการกระทําที่ขัดกับประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบบัที่ 11 (พ.ศ.2546) เร่ือง หลักเกณฑ วิธีการและเงือ่นไขในการโฆษณาสถานพยาบาล และนําเรื่องเขาที่ประชุมคณะอนุกรรมการสถานพยาบาลประจําจังหวัด คร้ังที่ 1/2550 เมื่อวันที่ 8 เดือน มิถุนายน พ.ศ.2550 เพื่อพิจารณาเกีย่วกับเรื่องการโฆษณาสถานพยาบาล การพิจารณาเรื่องรองเรียนเกีย่วกับการโฆษณาสถานพยาบาล ใหมคีวามถูกตอง ฯ ผลการดําเนนิงาน

คณะอนุกรรมการสถานพยาบาลประจาํจงัหวัด ไดพิจารณาประเด็นโฆษณา ซึ่งเปนกรณีตัวอยาง

จํานวน 22 ราน แบงเปน สาขาเวชกรรม จํานวน 18 ราน สาขาทนัตกรรม จาํนวน 2 ราน สาขา

กายภาพบําบดั จํานวน 1 ราน และรานแพนคอสเมติก จํานวน 1 ราน เพื่อเปนแนวทางในการควบคุมกํากับ

และการพิจารณาขอความการโฆษณาสถานพยาบาลที่ไมถูกตอง

มติที่ประชุม ใหสถานพยาบาลแกไขขอความโฆษณา จํานวน 8 ราน ดังนี้ สาขาเวชกรรม

จํานวน 5 ราน

Page 49: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

40

สาขาทนัตกรรม จํานวน 2 ราน สาขากายภาพบําบัด จาํนวน 1 ราน ทั้งนี้พนักงานเจาหนาที่ฯ ได

ทําหนงัสือแจงใหผูประกอบกิจการสถานพยาบาลแกไขแลว

สรุปผลการดําเนินงาน

ผูรับอนุญาตแกไขเรียบรอยแลว จํานวน 4 ราน ยังไมแกไข จํานวน 4 ราน เนือ่งจากอยูในระหวางดําเนนิการแกไข

2.3 งานแพทยแผนไทย 2.3.1 โครงการคุมครองและสงเสริมสิทธิภูมิปญญาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร

จังหวัดอุตรดิตถ ป 2550 หลักการและเหตุผล ตามที่ พระราชบัญญัติคุมครองและสงเสริมภูมิปญญาการแพทยแผนไทย พ.ศ. 2542 มีเจตนารมณในการคุมครองสิทธิภูมิปญญาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร รวมถึงการพัฒนาศึกษาวิจัยและพฒันาตอยอดภูมิปญญาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร โดยอาศัยกลไกของคณะกรรมการคุมครองและสงเสริมภูมิปญญาการแพทยแผนไทย และการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนภูมิปญญาการแพทยแผนไทยป 2550 โดยสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถไดรับเงินงบประมาณสนับสนุน 30,000 บาท จากกองทุนภูมิปญญาการแพทยแผนไทย เพื่อใหการดําเนินงานคุมครองและสงเสริมภูมิปญญาการแพทยแผนไทยของสํานักงานนายทะเบียนจังหวัดของจังหวดัอุตรดิตถดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพและเปนไปตามเจตนารมณของพระราชบัญญัติคุมครองและสงเสริมภูมิปญญาการแพทยแผนไทย พ.ศ. 2542 วัตถุประสงค

1. เพื่อดําเนนิการ สํารวจ รวบรวม บันทึกฐานขอมูลภูมิปญญาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร 2. เพื่อสรรหากรรมการผูทรงคุณวุฒดิานการแพทยแผนไทย 3. เพื่อทําขอมูลและทะเบยีนพืน้ที่ถ่ินกําเนดิสมุนไพร

Page 50: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

41

4. เพื่อดําเนนิการรับจดแจงสมนุไพรควบคุมและดําเนินการตามกฎหมายลําดับรอง 5. เพื่อนิเทศติดตามงานคุมครองและสงเสริมภูมิปญญาการแพทยแผนไทยระดับจังหวัด 6. เพื่อประชุมชี้แจง การใชโปรแกรมจดสิทธภิูมิปญญาการแพทยแผนไทย และหลักเกณฑขอรับ

การชวยเหลือจากกองทุนภมูิปญญาการแพทยแผนไทย เปาหมาย

1. ผูรับผิดชอบงานแพทยแผนไทยระดับอําเภอ มีแนวทางดําเนินงานตามพระราชบัญญัติคุมครองและสงเสริมภมูิปญญาการแพทยแผนไทย พ.ศ. 2542 และทักษะในการตรวจประเมนิมาตรฐานในงานการแพทยแผนไทย

2. มีระบบการจัดการดานฐานขอมูลใหสามารถรองรับระบบการจดทะเบียนสิทธิภูมิปญญาการ แพทยแผนไทย และสมุนไพรไดอยางสมบรูณ

3. สํานักงานนายทะเบยีนจังหวดัสามารถทําหนาที่เปนศนูยรวบรวมขอมูลภูมิปญญาและดําเนินงาน การจดทะเบียนสิทธิและงานดานกฎหมายที่เกีย่วของ

งบประมาณ กองทนุภูมิปญญาการแพทยแผนไทย งบสนับสนนุการดําเนินงานของสํานักงานนายทะเบยีนจังหวดั

จากกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก จํานวนเงนิ 30,000 บาท (สามหมื่นบาทถวน) ผลการดําเนินงาน

1. ประชุมชี้แจง การดําเนนิงานคุมครองและสงเสริมภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ในวนัที่ 8 กุมภาพันธ 2550 เวลา 08.30 – 16.30 น. ณ หองประชุมสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ มีผูเขาประชุม จํานวน

20 คน เปนผูรับผิดชอบงานแพทยแผนไทยของแตละอาํเภอ โดยมกีารนําเสนอผลงานที่ผานมาของแตละอําเภอ หัวขอการชี้แจงประกอบดวย 1) กิจกรรม และแนวทางการดําเนินงานตามโครงการคุมครองและสงเสริมภูมิปญญาแพทยแผนไทยและสมนุไพร จังหวดัอุตรดิตถ ป 2550 2)แนวทางการตรวจประเมินมาตรฐานงานบริการการแพทยแผนไทย ในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ 3)รายละเอียดหัวขอในการตรวจ ประเมินมาตรฐานงานบริการการแพทยแผนไทยในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ 4)แนวทางการครอบครอง สมุนไพรควบคุม ตามพรบ.คุมครองและสงเสริมภูมิปญญาแพทยแผนไทย 5)แนวทางการสรรหาผูทรงคุณวุฒ ิดานการแพทยแผนไทยในจังหวัดอุตรดิตถ 6)แนวทางการออกเอกสารประกอบการเบิกจายคารักษาพยาบาลในงานบริการการแพทยแผนไทย ในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ 7)การจัดอบรมหลักสูตรการรักษา

พยาบาลโดยการแพทยแผนไทย ของเจาหนาที่สถานีอนามัย

Page 51: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

42

ตารางที่ 6 ขอมูลทําเนียบบคุลากรดานการแพทยแผนไทยจังหวัดอุตรดิตถแยกตามประเภท

ประเภทบุคลากรดานการแพทยแผนไทย จํานวน

หมอพื้นบาน ผูประกอบโรคศิลปะ นักวิชาการดานการแพทยแผนไทย องคการเอกชนพัฒนาดานการแพทยแผนไทย ผูปลูกหรือผูแปรรูปสมุนไพร ผูผลิตหรือผูจําหนายสมุนไพร

697 คน 18 คน 37 คน 12 คน 47 คน 13 คน

รวม 833 คน

ตารางที่ 7 ขอมูลทําเนียบบุคลากรดานการแพทยแผนไทยจังหวัดอุตรดติถแยกรายอําเภอ

ประเภท เมือง พิชัย ทาปลา ฟากทา ทองแสนขัน ลับแล ตรอน น้ําปาด บานโคก รวม

หมอพื้นบาน 14 161 110 19 18 215 121 10 29 697

ผูประกอบโรคศิลปะ 2 10 0 1 1 4 0 - - 18

นักวิชาการดาน การแพทยแผนไทย

9 - - 4 - 12 10 - 2 37

องคการเอกชนฯ 9 2 - - - - 1 - - 12

ผูปลูก/ผูแปรรูป - 33 1 - 1 3 6 - 3 47

ผูผลิต/จําหนาย 4 5 - - 1 - 2 1 - 13

รวม 38 214 112 24 24 235 140 11 35 833

จากตารางที่ 6 และตารางที่ 7 ผลการสํารวจขอมูลบุคลากรดานการแพทยแผนไทย ป 2550 พบวาเปนกลุมหมอพื้นบานมากทีสุ่ด จํานวน 697 คน พบมากสุดที่อําเภอลับแล จํานวน 215 คน รองลงมา คือ

Page 52: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

43

อําเภอพิชยั จาํนวน 161 คน และอําเภอตรอน จํานวน 121 คน กลุมผูมีใบประกอบโรคศิลปะ จํานวน 18 คน กลุมนักวิชาการ จํานวน 37 คน กลุมองคกรเอกชน จํานวน 12 องคกร กลุมผูปลูก/ผูแปรรูปสมุนไพร จํานวน 47 คน กลุมผูผลิตผูจําหนายยาแผนไทย จํานวน 13 คน รวมทั้งสิ้น จํานวน 833 คน

2. การประชุมเพื่อคัดเลือกคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒริะดับจังหวัด วันที่ 12 กรกฏาคม 2550 ณ หอง ประชุมสหกรณสาธารณสุขจังหวดัอุตรดิตถ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ ตามกฎกระทรวงวาดวยการกําหนดหลักเกณฑและวิธีการสรรหากรรมการผูทรงคุณวุฒิ พ.ศ.2546 ขอ 8 กําหนดใหมีคณะกรรมการสรรหากรรมการผูทรงคณุวฒุิระดบัจังหวดั (ก.ส.จ.) เพือ่ดําเนินการคดัเลือกผูสมควรเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ระดับจังหวัด จากกลุมหมอพื้นบาน กลุมองคการเอกชนพัฒนาดานการแพทยแผนไทย กลุมนักวิชาการ กลุมผูผลิตหรือจําหนายยาแผนไทย และกลุมผูปลูกหรือแปรรูปสมุนไพร และพจิารณาคุณสมบัติของผูที่ไดรับการเสนอชื่อเปนผูที่มีความเหมาะสมและไมมีลักษณะตองหาม ตามกฎกระทรวงมตทิี่ประชุม เลือกวิธีการใหอําเภอเสนอรายชื่อของตัวแทนอําเภอ กลุมละ 1 คน แลวนํามาให ก.ส.จ.คัดเลือก ผลการพิจารณาคุณสมบัติของผูทรงคุณวุฒิตามที่เสนอมามีผูผานเกณฑตามที่กําหนด ดังนี ้ 1.นางขันแกว รุนทา ผูทรงคุณวุฒิระดับจังหวดักลุมหมอพื้นบาน

2.นายคงคา พรมขํา ผูทรงคุณวุฒิระดับจังหวดักลุมองคกรเอกชนพัฒนาดาน การแพทยแผนไทย 3.นายสมบูรณ แวนวิชัย ผูทรงคุณวุฒิระดับจังหวดักลุมนักวิชาการ

4.นายทวีป โตศรี ผูทรงคุณวุฒิระดับจังหวดักลุมผูผลิตหรือจําหนาย 5.นายผดุง จนียาย ผูทรงคุณวุฒิระดับจังหวดักลุมผูปลูกผูแปรรูปสมุนไพร

สรุปผลโครงการ 1. ผูรับผิดชอบงานแพทยแผนไทยทุกอําเภอมคีวามเขาใจในแนวทางการดาํเนินงานตาม

พระราชบัญญัติคุมครองและสงเสริมภูมิปญญาการแพทยแผนไทย พ.ศ. 2542 และสามารถตรวจมาตรฐานการใหบริการการแพทยแผนไทยไดทุกอําเภอ

2. มีฐานขอมูลภมูิปญญาการแพทยแผนไทยและสมุนไพรของแตละอําเภอ 3. มีคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการแพทยแผนไทยของจังหวดัอุตรดิตถ ในป พ.ศ. 2550

ปญหาและอุปสรรค 1. บุคลากรหรือผูรับผิดชอบงานระดับตําบล ยังไมชัดเจน มกีารเปลี่ยนหนาที่หรือเปล่ียนงานกัน

บอย ทําใหงานไมตอเนื่อง 2. งบประมาณในการสนับสนนุการดําเนนิงานไมพอ 3. กรอบกําหนดแนวทางการทาํงานของกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ยังไมชัดเจน

Page 53: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

44

ขอเสนอแนะ กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ควรกําหนดแนวทางในการทาํงานใหกับสวน

ภูมิภาคใหชัดเจนและใหงบประมาณสนับสนุนการดําเนนิงานใหเพยีงพอ 2.3.2 โครงการพัฒนามาตรฐานงานบริการการแพทยแผนไทย ในสถานบริการสาธารณสุข ของรัฐ ป 2550

หลักการและเหตุผล สถาบันการแพทยแผนไทย ไดพัฒนาการแพทยแผนไทย และผสมผสานเขาสูระบบบรกิารสาธารณสขุ ของรัฐ เพื่อตอบสนองความตองการดานสุขภาพอนามยัของประชาชน ในปงบประมาณ 2549 ไดมีการประเมินมาตรฐานงานบริการการแพทยแผนไทยในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ และสถานประกอบการนวดสงเสริมสุขภาพเอกชน พบวา สถานบริการสาธารณสุขของรัฐที่มีการใหบริการการแพทยแผนไทยใหไดมาตรฐาน รอยละ 32.74 และสถานประกอบการนวดสงเสริมสุขภาพเอกชนที่ผานเกณฑมาตรฐานของกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก จํานวน 62 แหง ในปงบประมาณ 2550 มีเปาหมายพัฒนาสถานบริการสาธารณสุขของรัฐที่มีการใหบริการการแพทยแผนไทยไดมาตรฐาน รอยละ 35 และพัฒนาสถานประกอบการนวดสงเสริมสุขภาพเอกชนใหไดมาตรฐานมากยิ่งขึ้น ดังนั้น เพื่อใหการประเมินมาตรฐานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ สถาบันการแพทยแผนไทย จึงไดจัดทําโครงการพัฒนามาตรฐานงานบริการการแพทยแผนไทยในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐและเอกชน เพื่อใหประชาชนไดรับบริการการแพทยแผนไทยที่มีคุณภาพและปลอดภัย วัตถุประสงค

1. เพื่อพฒันาผูรับผิดชอบงานการแพทยแผนไทย ใหมคีวามรู ความเขาใจ และสามารถประเมนิมาตรฐานงานบริการการแพทยแผนไทยในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐและเอกชนไดอยางเหมาะสม

2. เพื่อประเมินมาตรฐานงานบริการการแพทยแผนไทยในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐและเอกชน

เปาหมาย 1. โรงพยาบาลศูนยอุตรดิตถ 1 แหง 2. โรงพยาบาลชุมชน 8 แหง 3. สถานีอนามัย 89 แหง งบประมาณ

กองทุนภูมิปญญาการแพทยแผนไทย จํานวนเงิน 10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถวน)

Page 54: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

45

ตารางที่ 8 ผลการประเมินมาตรฐานงานบริการการแพทยแผนไทยในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐจังหวดัอุตรดิตถ ปงบประมาณ 2550

การใหบริการการแพทยแผนไทย ผลการประเมินมาตรฐานงานบริการการแพทยแผนไทย

ลําดับ

ช่ือสถานบริการ

ระดับ

1

ระดับ

2

ระดับ

3

ระดับ

4

ไมมี

ดีมาก คะแนน 90-100

ดี คะแนน 80-89

ผานเกณฑ คะแนน 60-79

ไมผาน คะแนนนอย กวา 60

โรงพยาบาลศูนย

1 โรงพยาบาลอุตรดิตถ / 72.36 โรงพยาบาลชุมชน

1 โรงพยาบาลพิชัย / 73.02 2 โรงพยาบาลตรอน / 68.05 3 โรงพยาบาลลับแล / 95.06 4 โรงพยาบาลทาปลา / 85.06 5 โรงพยาบาลน้ําปาด / 68.05 6 โรงพยาบาลฟากทา / 81.25 7 โรงพยาบาลทองแสนขัน / 74.30 8 โรงพยาบาลบานโคก / 64.18 สถานีอนามัย

1.อําเภอเมือง

1 สอ.วังสีสูบ / 73.95 2 สอ.บานดานนาขาม / 75 3 สอ.มอนดินแดง / 77 4 สอ.บานเกาะ / 77

5 สอ.ปาเซา / 78 6 สอ.บานดาน / 77 7 สอ.ถ้ําฉลอง / 77 8 สอ.หวยฮา / 77 9 สอ.ขุนฝาง / 77

10 สอ.วังดิน / 77 11 สอ.แสนตอ / 77 12 สอ.วังกะพี้ / 78 13 สอ.หาดกรวด / 78 14 สอ.ผาจุก / 77

Page 55: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

46

การใหบริการการแพทยแผนไทย ผลการประเมินมาตรฐานงานบริการการแพทยแผนไทย

ลําดับ

ช่ือสถานบริการ

ระดับ

1

ระดับ

2

ระดับ

3

ระดับ

4

ไมมี

ดีมาก คะแนน 90-100

ดี คะแนน 80-89

ผานเกณฑ คะแนน 60-79

ไมผาน คะแนนนอย กวา 60

15 สอ.น้ําริด / 78 16 สอ.คุงตะเภา / 77 17 สอ.พระฝาง / 77 18 สอ.ง้ิวงาม / 77 19 สอ.ชายเขา / 77 20 สอ.บานทา / 77 21 สอ.หาดงิ้ว / 77

2.อําเภอตรอน

22 สอ.หาดสองแคว / 68.75 23 สอ.หลวงปายาง / 75 24 สอ.น้ําอาง / 68.75 25 สอ.วังแดง / 91.3 26 สอ.บานวังแดง / 75 27 สอ.ขอยสูง / 75

3.อําเภอลับแล

28 สอ.ผามูบ / 75 29 สอ.แมพูล / 70.65 30 สอ.ทองลับแล / 78.12 31 สอ.ฝายหลวง / 70.32 32 สอ.บานคุม / 93.75 33 สอ.ทุงยั้ง / 82 34 สอ.ไผลอม / 91 35 สอ.ดงสระแกว / 79.25 36 สอ.ดานแมคํามัน / 81.25 37 สอ.ชัยจุมพล / 75 38 สอ.นานกกก / 85.93

4.อําเภอพิชัย

39 สอ.นายาง / 73.44 40 สอ.ไรออย / 76.56

Page 56: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

47

การใหบริการการแพทยแผนไทย ผลการประเมินมาตรฐานงานบริการการแพทยแผนไทย

ลําดับ

ช่ือสถานบริการ

ระดับ

1

ระดับ

2

ระดับ

3

ระดับ

4

ไมมี

ดีมาก คะแนน 90-100

ดี คะแนน 80-89

ผานเกณฑ คะแนน 60-79

ไมผาน คะแนนนอย กวา 60

41 สอ.ทามะเฟอง / 61.01 42 สอ.พญาแมน / 76.56 43 สอ.นาอิน / 73.44 44 สอ.บึงทายวน / 71.88 45 สอ.ทาสัก / 73.44 46 สอ.บานโคน / 75 47 สอ.บานดารา / 76.56 48 สอ.บานเกาะ / 76.56 49 สอ.บานหมอ / 73.44 50 สอ.คอรุม / 71.88 51 สอ.คลองละมุง / 73.44

5.อําเภอทาปลา

52 สอ.ทาชาง / 76.56 53 สอ.หาดลา / 73.43 54 สอ.รวมจิต / 73.43 55 สอ.ผาเลือด / 64.06 56 สอ.จริม / 76.56 57 สอ.คีรีทอง / 60.94 58 สอ.น้ําหมัน / 60.94 59 สอ.น้ํารี / 62.5 60 สอ.ปางหมิ่น / 75 61 สอ.นางพญา / 65.63 62 สอ.ยานดู / 65.63 63 สอ.หวยผ้ึง / 62.5 64 สอ.หวยตา / 60.94 65 สอ.ทาแฝก / 62.5

6.อําเภอทองแสนขัน

66 สอ.น้ําหมีใหญ / 73.43 67 สอ.น้ําพี้ / 53.13 68 สอ.ปาคาย / 60.93

Page 57: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

48

การใหบริการการแพทยแผนไทย ผลการประเมินมาตรฐานงานบริการการแพทยแผนไทย

ลําดับ

ช่ือสถานบริการ

ระดับ

1

ระดับ

2

ระดับ

3

ระดับ

4

ไมมี

ดีมาก คะแนน 90-100

ดี คะแนน 80-89

ผานเกณฑ คะแนน 60-79

ไมผาน คะแนนนอย กวา 60

69 สอ.ผักขวง / 67.18 70 สอ.บานแพะ / 76.56

7.อําเภอน้ําปาด

71 สอ.ทาโพธิ์ / 68.75 72 สอ.บานฝาย / 67.1 73 สอ.หวยไคร / 65.62 74 สอ.หวยแมง / 70.32 75 สอ.น้ําไคร / 68.75 76 สอ.หวยมุน / 67.18 77 สอ.น้ําไผ / 67.18 78 สอ.โปงพาน / 68.75 79 สอ.เดนเหล็ก / 67.18 80 สอ.หวยเดื่อ / 68.75

8.อําเภอฟากทา

81 สอ.สองหอง / 71.88

82 สอ.บานเสี้ยว / 84.37 83 สอ.สองคอน / 82.81

84 สอ.หวยใส / 84.37 9.อําเภอบานโคก

85 สอ.หวยนอยกา / 79.69

86 สอ.มวงเจ็ดตน / 68.75

87 สอ.นาขุม / 62.5

88 สอ.สุมขาม / 70.31

89 สอ.หวยไผ / 68.75

Page 58: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

49

ภาพกจิกรรม

ผลการดําเนินงาน ผลการดําเนินงานสถานบริการสาธารณสุขของรัฐที่มีการใหบริการแพทยแผนไทยไดมาตรฐาน โรงพยาบาลศูนย

ระดับดีมาก จํานวน…………-………..แหง ระดับด ี จํานวน…………-………..แหง ผานเกณฑ จํานวน…………1………..แหง

Page 59: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

50

โรงพยาบาลชุมชน ระดับดีมาก จํานวน…………1………..แหง ระดับด ี จํานวน…………2………..แหง ผานเกณฑ จํานวน…………5………..แหง

สถานีอนามัย ระดับดีมาก จํานวน…………3………..แหง ระดับด ี จํานวน…………8………..แหง ผานเกณฑ จํานวน…………77..……..แหง ไมผานเกณฑ 1 แหง

ปญหาและอุปสรรค การใหบริการการแพทยแผนไทยของสถานบริการสาธารณสุขของรัฐสวนใหญยังไมสามารถ

ดําเนินการใหไดมาตรฐานครบทุกดาน เชน โรงพยาบาลศนูย/โรงพยาบาลทั่วไป พบปญหา มาตรฐานดานสถานทีแ่ละเครื่องมือ เครื่องใช ไดแก หองอบไอน้ํา (ตูอบไอน้ํา)หองอาบน้ํา โรงพยาบาลชมุชน พบปญหา

1.มาตรฐานดานสถานที่และเครื่องมือ เครื่องใช ไดแก หองอบไอน้ํา (ตูอบไอน้ํา)หอง อาบน้ํา หองสวม 2.ส่ิงแวดลอม ไดแก บริเวณภายในหนวยบริการไมสะอาด เรียบรอย 3.การจัดบริการ ไดแก การสงเสริมสุขภาพ และการฟนฟสูภาพ (ไมมหีลักฐานให ตรวจสอบ)

สถานีอนามัย พบปญหา 1.มาตรฐานดานสถานที่และเครื่องมือ เครื่องใช ไดแก หองสวม

2.ส่ิงแวดลอม ไดแก บริเวณภายในหนวยบริการไมสะอาด เรียบรอย แสงสวางไมเพียงพอ 3.บุคลากร ไดแกผูประกอบวิชาชีพ, กลุมเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน ยังไมผานการอบรม 4. การปฎิบัติงาน ไดแก การกําหนดขอบเขตบทบาทหนาที่ เชนไมมีผูรับผิดชอบงานแพทย แผนไทย หรือบางแหงไมมีการแบงงานในคําสั่งมอบหมายงาน

5.การจัดบริการ ไดแก การสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การรักษา (ยังมียาสมุนไพร ไมถึง 5 ตัว) และการฟนฟสูภาพ (ไมมีหลักฐานใหตรวจสอบ)

2.3.3 การอบรมหลักสูตรการรักษาทางการแพทยแผนไทยสําหรับเจาหนาท่ีสถานีอนามัย ป 2550 หลักการและเหตุผล

เนื่องจากผูมีสิทธิ์และสวนราชการประสบปญหาเกี่ยวกับการเบิกจายในกรณีที่สถานพยาบาลไมมีแพทยแผนปจจุบันประจํา ซ่ึงไมสามารถนําใบรับรองมาประกอบการเบิกจายได และระเบียบกระทรวง

Page 60: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

51

สาธารณสุขวาดวยบุคคลซึ่ง กระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล องคการบริหารสวนทองถ่ินอื่น หรือ สภากาชาดไทย มอบหมายใหประกอบวิชาชีพเวชกรรมในความควบคุมของเจาหนาที่ซ่ึงเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2539 และไดรับมอบหมายใหประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทยไทย หรือสาขาการ แพทยแผนไทยประยุกต ในความควบคุมของเจาหนาที่ซ่ึงเปนผูประกอบโรคศิลปะ หรือผูประกอบวิชาชีพ เวชกรรม ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2545 สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกไดกําหนดหลักสูตรดานการแพทยแผนไทยของกระทรวงสาธารณสุขที่เจาหนาที่ สถานีอนามัยไดรับการอบรมและสามารถออกใบรับรองการรักษาได สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัอุตรดิตถ จึงจัดการอบรมหลกัสูตรการรักษาทางการแพทยแผนไทยสําหรับเจาหนาที่สถานีอนามยั ขึ้น เปาหมาย

เจาหนาทีใ่นสถานีอนามัยทีม่ีความพรอมเปดดําเนนิการคลินิกแผนไทย ผลการดําเนินงาน

สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัอุตรดิตถ ไดจัดการอบรมหลักสูตรการรักษาทางการแพทยแผนไทย สําหรับเจาหนาที่สถานีอนามัยในจังหวัดอตุรดิตถ ขึ้น ในระหวางวนัที่ 14 – 18 พฤษภาคม 2550 โดยมีเจาหนาทีเ่ขารับการอบรมทั้งสิ้น 47 คน แบงเปน อําเภอเมือง 6 คน อําเภอลับแล 5 คน อําเภอตรอน 5 คน อําเภอทองแสนขัน 4 คน อําเภอพิชัย 12 คน อําเภอทาปลา 10 คน อําเภอน้ําปาด 4 คน อําเภอบานโคก 1 คน

เกณฑการอบรมหลักสูตรดังกลาวใชเกณฑจากการเขาเรยีนภาคทฤษฏีไมนอยกวารอยละ 80 และทําแบบทดสอบหลังการอบรมรวมกับสอบภาคปฏิบัติไดคะแนนมากกวารอยละ 50

Page 61: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

52

ตารางที่ 9 คะแนนกอนและหลังการอบรม ( 50 คะแนน) จํานวนคน รอยละ

ชวงคะแนน กอนอบรม หลังอบรม กอนอบรม หลังอบรม

1-10 1 - 2.13 - 11-20 12 - 25.53 - 21-30 34 14 72.34 27.79 31-40 - 32 - 68.09 41-50 - 1 - 2.13 รวม 47 47 100 100

หมายเหต ุ คะแนน Pre-test สูงสุด 28 คะแนน ต่ําสุด 4 คะแนน คะแนน Post-test สูงสุด 41 คะแนน ต่ําสุด 25 คะแนน

จากการทําแบบทดสอบกอนและหลังการอบรม ผูเขารับการอบรมมีคะแนนสูงขึ้นทุกคน โดยกอนการอบรมผูเขารับการอบรมมีคะแนนอยูในชวง 21 – 30 คะแนน ถึง รอยละ 72.34 แตหลังการอบรมผูเขารับการอบรมมีคะแนนอยูในชวง 31 – 40 คะแนน รอยละ 68.09 จึงสรุปไดวาผูเขารับการอบรมทุกคนมีความรูเพิ่มขึ้น จากการทําแบบทดสอบในครั้งนี ้สรุปผลการดําเนินงาน

มีผูผานการอบรมทั้งหมด 47 คน โดยผานเกณฑที่กําหนดทุกคน ปญหาและอุปสรรค งบประมาณในการจัดไมเพยีงพอ ทําใหตองใชเงินจากกจิกรรมอื่นมาใชแทน

2.3.4 งานประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทยแผนไทย จังหวดัอุตรดิตถมีผู ยื่นมอบตัวศิษย ในป 2549 ทั้งหมด 162 ราย แบงออกเปน 3 สาขา ดังนี ้

สาขา เวชกรรมไทย จํานวน 51 คน สาขา เภสัชกรรมไทย จํานวน 57 คน สาขา การผดุงครรภไทย จํานวน 54 คน

มีผูยื่นคํารองขอขึ้นทะเบียนสอบและรับใบอนุญาตเปนผูประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทยแผนไทย ทั้ง 3 ประเภท จํานวน 77 คน ดังนี้

ประเภทเวชกรรมไทย ยื่นสอบใหม จํานวน 3 คน ยื่นสอบแกตัว จํานวน 15 คน

ประเภทเภสัชกรรมไทย ยื่นสอบใหม จํานวน 14 คน ยื่นสอบแกตัว จํานวน 21 คน

Page 62: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

53

ประเภทผดุงครรภไทย ยื่นสอบใหม จํานวน 16 คน ยื่นสอบแกตัว จํานวน 8 คน

โดยสอบผานรบัใบอนุญาตเปนผูประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทยแผนไทย จํานวน 15 คน ดังนี ้ ประเภทเวชกรรมไทย จํานวน - คน ประเภทเภสัชกรรมไทย จํานวน 3 คน ประเภทผดุงครรภไทย จํานวน 12 คน

2.3.5 งานประกอบโรคศิลปะ สาขารังสีเทคนิค มีผูยื่นคํารองขอขึ้นทะเบียนสอบและรับใบอนุญาตเปนผูประกอบโรคศลิปะ สาขารังสี

เทคนิค จํานวน 4 ราย 2.4 งานธุรกิจบริการสุขภาพ

2.4.1 การประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการตรวจประเมินสถานประกอบการ ธุรกิจบริการสุขภาพ ป 2550

หลักการและเหตุผล ตามที่กระทรวงสาธารณสุขไดออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข กําหนดสถานที่เพือ่สุขภาพ พ.ศ.

2547 ตามพระราชบัญญัติสถานบริการ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2546 ไว 3 ประเภท ไดแก สปาเพื่อสุขภาพ กิจการนวดเพื่อสุขภาพ และนวดเพื่อเสริมสวย มาตรฐานของสถานประกอบการเพื่อสุขภาพทั้ง 3 ประเภท ประกอบดวย 5 ดาน ไดแก ดานสถานที่ ผูใหบริการ การบริการ ผูดําเนินการ/ผูประกอบการ และความปลอดภัย จังหวัดอุตรดิตถ ในป 2550 มีสถานประกอบการนวดเพือ่สุขภาพ จํานวน 24 แหง แตมีสถานประกอบการยืน่ความจํานงขอรับรองมาตรฐานจํานวน 2 แหง โดยเปนประเภทนวด เพื่อสุขภาพทั้ง 2 แหง แตยังไมมีรานที่ผานมาตรฐาน กลุมงานคุมครองผุบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถจึงจัดประชุม ผูประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพขึ้น วัตถุประสงค

1. เพื่อช้ีแจงขัน้ตอนการรับรองมาตรฐานสถานประกอบการเพื่อสุขภาพฯตามกฏหมายที่เกีย่วของ 2. เพื่อช้ีแจงบทบาทหนาที่ของคณะกรรมการตรวจประเมินสถานประกอบการระดับจังหวดั

ผลการดําเนินงาน การประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการตรวจประเมินสถานประกอบการธุรกิจ

บริการสุขภาพ ในวันที่ 8 สิงหาคม 2550 ณ หองประชมุสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ ไดเชิญวิทยากรจากผูมีประสบการณการทํางานดานดังกลาวจากจังหวัดเชียงใหม โดยเภสัชกรพลแกว วัชระชัยสุรพล และเภสัชกรหญิงอัญชนา ดุจจานุทัศน ในการประชุมมีตัวแทนจากคณะกรรมการตรวจประเมินมาตรฐานจังหวดัอุตรดิตถ และผูประกอบการ รวม จาํนวน 20 คน

Page 63: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

54

ภาพกจิกรรม

หัวขอการประชุม ประกอบดวย 1. นโยบายดานการคุมครองผูบริโภคดานธุรกิจบริการสุขภาพ โดย ภญ.พรพิมล ภูวธนานนท

หัวหนากลุมงานคุมครองบริโภค 2. ความสําคัญของการรับรองมาตรฐานสําหรับสถานที่เพื่อนโยบายดานการคุมครองผูบริโภคดานธุรกิจ

บริการสุขภาพ โดย ภก.พลแกว วชัระชัยสุรพล หวัหนางานธุรกิจบริการสุขภาพ สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัเชียงใหม 3. ทําอยางไรธุรกิจบริการสุขภาพไดรับการรับรองมาตรฐานและเพิม่ขีดความสามารถในการใหบริการ โดย ภญ.อัญชนา ดุจจานุทัศน ผูรับผิดชอบงานธุรกิจบริการสุขภาพสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม ผลการประชุม ดานคณะกรรมการ

1. สถานประกอบการ(นวดแผนโบราณเดิม)แหงใดไมประสงคขอรับการประเมินมาตรฐาน หรือไม สามารถปรับปรุงสถานที่ไดตามเกณฑ ตองจายคาธรรมใบอนุญาตตามพ.ร.บ.สถานบริการ 2509 ปละ 50,000 บาท

Page 64: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

55

2. สถานประกอบการที่เปดใหมแหงใดไมประสงคขอรับการประเมินมาตรฐาน หรือไมสามารถปรับปรุงสถานที่ไดตามเกณฑ ตองขออนุญาตตั้งสถานบริการ ตามพ.ร.บ.สถานบริการ 2509 หากไมมีใบอนุญาตตองระวางโทษจําคุกไมเกนิ 1 ป หรือปรับไมเกิน หกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 3. คณะกรรมการตรวจประเมนิมาตรฐานฯ จะดําเนินการตรวจประเมนิรอบแรกโดยไมรอใหผู ประกอบ การรองขอ และครั้งตอไปจะดําเนนิการตรวจเดือนละครั้งตามคํารองขอรับรองมาตรฐาน 4. ผูแทนในคณะกรรมการจะระบผูุรับผิดชอบใหแนนอนในการออกตรวจแตละครั้ง 5. ในการตรวจรับรองมาตรฐาน จะผอนผันมาตรฐานบางขอใหในสวนทีไ่มสําคัญ หรือจะใหผานเกณฑโดยมีขอแมที่แกไขไดภายใน 30 วัน

ดานผูประกอบการ 1. หลังจากไดรับใบรับรองมาตรฐานแลว ขอใหหนวยงานราชการชวยประชาสัมพันธ และ

สงเสริมในการพัฒนาคุณภาพการบริการ 2. รับทราบขอกฎหมายที่เกี่ยวของในการประกอบกจิการดานธุรกิจบริการสุขภาพ

ปญหาและอุปสรรค ดานผูประกอบการ

1. ผูประกอบการไมมีแรงจูงใจที่จะปรับใหผานเกณฑมาตรฐาน เนื่องจากไมมีสิทธิประโยชนที่แตกตางกนัระหวางผูผานเกณฑและไมผานเกณฑ อันเนือ่งจากฝายปกครองไมไดจัดเก็บคาธรรมเนียมใบอนุญาตตั้งสถานบริการจากรานที่ไมผานเกณฑ

2. ผูประกอบการไมรักษามาตรฐานเหมือนตอนที่เปดและผานการตรวจครั้งแรก 3. เปดบริการเกินเวลาที่กําหนด (24.00 น.) 4. พนักงานนวดไมผานตามเกณฑทีก่ําหนด และมีเตยีงมากกวาจํานวนพนักงานทีใ่หบริการ และมี

พฤติกรรมสอแอบแฝงขายบริการ 5. จําหนายเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล และบุหร่ี

ดานคณะกรรมการตรวจรับรองฯ 1. การประสานงานกับหนวยงานอื่นมีปญหาเกี่ยวกับผูรับผิดชอบ มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา

ทําใหทีมในการตรวจประเมนิไมพรอมไมมีประสบการณ และขาดความตอเนื่อง

Page 65: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

56

ตารางที่ 10 รายช่ือสถานประกอบการนวด ในเขตเทศบาลเมืองอุตรดิตถ (ขอมูลจากเทศบาลเมืองอุตรดิตถ ณ วนัที่ 19 มีนาคม 2550) ลําดับ ชื่อผูประกอบการ ชื่อราน ท่ีตั้ง

1 นางสาววรัญญา เชื้อขํา นายสมเกยีรติ ชัยสุวรรณฤิทธ

สราญรมณหัตถเวช 9/12 ถ.พาดวารี

2 นางมันทนี ทองสีอน มันทน ีนวดแผนโบราณ 13 ถ.พาดวาร ี3 นางสาววนัเพญ็ มูลฝุน เจี๊ยบนวด แผนโบราณ 9/10 ถ.บรมอาสน 4 บริษัทสีหลักษณจํากดั นวดแผนโบราณ 163 ถ.บรมอาสน 5 นายบุญเสริม ศรีสุขโข เจาจอม 2 9/13 ถ.บรมอาสน 6 นางสายนวม อินทรทิม ตองเกานวดแผนโบราณ 9/11 ถ.พาดวารี 7 นางสาวบุษบา ดําริห รานหนึ่งนวดแผนโบราณ 9/12 ถ.พาดวารี 8 นางสาวกรรณกิาร สมมุติ ภูคาหัตถเวช 9/1 ถ.พาดเวร ี9 นางสมฤทัย แกวบุญมา สมฤทัยนวดเพื่อสุขภาพ 57/1 ถ.เจษฎาบดินทร 10 นางยุพนิ จันทา ยุวดนีวดแผนโบราณ 7/4 ถ.เจษฏาบดินทร 11 นางนงคราญ ยามาดะ นองจาหัตถเวช 9/29 ถ.พาดวารี 12 นางสาววนัดี แสงอรุณ แสงอรุณนวดแผนโบราณ 44/8 ถ.เจษฎาบดินทร 13 นางอุบล จันทา นฤมลนวดแผนโบราณ 2/54 ถ.พาดวารี 14 นางสุวรรณี เหล่ียมจรูญ บานสมุนไพรขวัญ 234/3 ถ.บรมอาสน 15 นายกฤษดา หมื่นขันธ นองหลิวนวดเพื่อสุขภาพ 278/12 ถ.บรมอาสน 16 นางทองทับ กับยาวงค นองแคท 2/34 ถ.พาดวารี 17 นายมณ ี จัตรสมัคร นวดแผนโบราณ 36/6 ถ.ศรีอุตรานอก 18 นางสาวสุชาดา หงสโตสวัสดิ์ สุชาดานวดแผนโบราณ 8/3 เจริญบัณทติ 19 นางสาวลําพรวน เสือสมิง นองแนตนวดเพื่อสุขภาพ 53/6 อินใจม ี20 นางยวุดี แกวมณ ี ยุวดี 1 นวดเพือ่สุขภาพ 7/4 ถ.เจษฎาบดินทร 21 นางสาวณัชพร จันทา ยุวดนีวดเพื่อสุขภาพ 2 2/54 ถ.พาดวารี 22 นางยวุด ี แกวมณ ี ยุวดนีวดเพื่อสุขภาพ 4 55/15 ถ.เจษฎาบดินทร 23 นายเหมราช เชาวนปรีชา รานมาหยานวดเพื่อสุขภาพ 280/14 ถ.บรมอาสน 24 นางนาราภัทร พัดมวง วรรณนภานวดเพื่อสุขภาพ 7/4 ถ. เจษฎาบดินทร

Page 66: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

57

2.5 การปฏิบตังิานตามตัวชี้วดั ผูตรวจราชการ ป 2550 งานแพทยแผนไทยและงานธุรกิจบริการสุขภาพ ตารางที่ 11 ผลงานตามตัวช้ีวัด ผูตรวจราชการ ป 2550

ผลการดําเนนิงานจังหวดั ตัวชี้วัด เกณฑ เปาหมาย

(Y ) ผลงาน ( X )

อัตรา ( Z )

รอยละที่เพิ่มขึน้ของประชาชนที่มีหลักประกนัสุขภาพไดรับบริการดานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ

รอยละ2.5

26,677 33,673 26.22%

รอยละของโรงพยาบาลศูนย/โรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลชุมชนมีบริการดานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกที่ไดมาตรฐาน

รอยละ 90 9 9 100%

รอยละของสถานีอนามัยมกีารใหบริการดานการแพทยแผนไทย

รอยละ 93 89 89 100%

รอยละของสถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพที่ไดรับการตรวจมาตรฐาน

ตามเกณฑที่กําหนด

2 2 100%

รอยละของสถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพไดคุณภาพมาตรฐานตามที่กาํหนด

ตามเกณฑที่กําหนด

2 0 0%

ผลการดําเนินงาน 1. รอยละของประชาชนที่มีหลักประกันสุขภาพไดรับบริการแพทยแผนไทยและการแพทย

ทางเลือกในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ เพิ่มขึ้นรอยละ 2.5 เปาหมาย 26,677 คน ผลงาน 33,673 คน คิดเปนรอยละ 26.22 พบวาผานเกณฑตามตวัช้ีวดั

2. รอยละของโรงพยาบาลศูนย/โรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลชุมชนมีบริการดานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกที่ไดมาตรฐาน รอยละ 90 ผลงานโรงพยาบาลศูนย 1 แหง โรงพยาบาลชุมชน 8 แหง มีบริการดานการแพทยแผนไทยไดมาตรฐานทั้ง 9 แหง คดิเปนรอยละ 100 พบวาผานเกณฑตามตัวช้ีวัด

3. รอยละของสถานีอนามัยมกีารใหบริการดานการแพทยแผนไทยเปาหมายรอยละ 93 สถานีอนามัยจดัใหมีบริการการแพทยแผนไทยระดับ 1 ขึ้นไป จํานวน 89 แหง คิดเปนรอยละ 100 พบวาผานเกณฑตามตัวช้ีวัด

4. รอยละของสถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพที่ไดรับการตรวจมาตรฐาน พบวาในป 2550 มีผูประกอบการยื่นคํารองขอรับรองมาตรฐาน จํานวน 2 รายไดตรวจทั้ง 2 ราย คิดเปน รอยละ 100

Page 67: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

58

5. รอยละของสถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพไดคณุภาพมาตรฐานตามที่กําหนด ในป 2550 มีผูประกอบการยื่นคํารองขอรับรองมาตรฐาน จํานวน 2 ราย ยังไมผานการรับรอง

ปญหาอุปสรรค 1. งานแพทยแผนไทย การมอบนโยบายที่ชดัเจนจากสวนกลางที่ลาชา และไมกําหนดแนวทางการ

ปฏิบัติที่เปนลายลักษณอักษรใหกับสวนภมูิภาค 2. งานธุรกิจบริการสุขภาพ นโยบายของกระทรวงที่ไมชดัเจน และการบังคับใชกฎหมายสถาน

บริการเปนของฝายปกครอง แตการสงเสริมใหสถานประกอบการเขามาตรฐาน เปนหนาที่ของสาธารณสุข ซ่ึงการทํางานยังไมเปนไปในทิศทางเดียวกนั

3. การพัฒนามาตรฐานสถานบริการแพทยแผนไทยภาครัฐจําเปนตองใชงบประมาณจํานวนมาก ซึ่งหนวยบริการขาดแคลนงบประมาณ ตองใชงบประมาณที่จําเปนในการพัฒนางานอื่นซึ่งมีความสําคัญมากกวา

ขอเสนอแนะ ควรมีสถานีอนามัยที่ไดมาตรฐานระดับดีมากในแตละอําเภอเพื่อเปนตนแบบในการพฒันางานแพทยแผนไทยในระดับอําเภอตอไป

2.6 โครงการประสิทธิผลของหมอพื้นบานในการรักษาผูปวยกระดูกหัก ประจําป 2550 หลักการและเหตุผล

สืบเนื่องจากป 2548 กลุมงานคุมครองผูบริโภคไดจดัทําโครงการสํารวจศกัยภาพหมอพืน้บาน จังหวดัอุตรดิตถ ป 2548 ขึ้น โดยกจิกรรมในโครงการ มีการสํารวจศักยภาพหมอพื้นบาน จํานวน 3 ราย ไดแก หมอกระดกู อ.พิชัย จํานวน 1 ราย , หมอง ู อําเภอลับแล จํานวน 1 ราย , หมอน้ํามนัอําเภอลับแล จํานวน 1 ราย กลุมงานแพทยพื้นบาน กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยฯ มีความสนใจที่จะทาํวจิัยเชงิลึกตอ ในรปูแบบของงานวิจยัคลินกิ

ในป 2549 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ไดจัดทําโครงการวิจยัประสิทธิผลของหมอพื้นบานในการรักษาผูปวยกระดกูหัก โดยมีพืน้ที่เปาหมายศกึษาในจังหวัด พระนครศรีอยธุยา ชลบุรี ลพบุรี เชยีงราย อุตรดิตถ ฯลฯ โดยใหหนวยงานในพืน้ที่จังหวดัอุตรดติถเปน ผูเก็บขอมูลผูปวยกระดกูหกัเพิ่มเติมอกี จํานวน 30 ราย ทีมวจิัยไดรับงบประมาณสนับสนนุผานโรงพยาบาลพิชยั เปนเงนิ 50,000 บาท และไดสงโครงรางวจิยัไปยังคณะกรรมการวิจยัในคนดานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ซ่ึงมีมติใหผานโครงรางวิจยัฯ เปนทีเ่รียบรอยแลว

ในป 2550 จะดําเนินการเกบ็ตัวอยางเพิม่ จํานวน 20 ราย โดยพ้ืนที่ที่ยงัเกบ็ไมครบตามจํานวน ในป 2549 จะตองดาํเนนิการเก็บขอมูลเพิ่มเติมผูปวยที่ไมสมบรูณตอไป วัตถุประสงค เพื่อเสริมสรางศักยภาพนกัวจิัยระดับจังหวดัและอนุรักษภูมิปญญาการแพทยแผนไทย

Page 68: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

59

เปาหมาย ผูปวยกระดูกหักที่มารักษากับหมอพรอม คลายกลํ่า จาํนวน 20 ราย งบประมาณ

สนับสนุนจากเงินกองทุนภูมปิญญาการแพทยแผนไทยฯ จํานวนเงิน 80,000 บาท ผลการดําเนินงาน

1. จัดทําโครงการและระบุผูรับผิดชอบโครงการ ทีมวิจัยระดับจงัหวัด 1. นายแพทยขจร วินยัพานิช นายแพทย 8 ดานเวชกรรมปองกัน 2. นายแพทยวัชระ พุทธิวิศิษฏ นายแพทย 8 ดานศัลยกรรมออโธปดิกส 3. เภสัชกรหญิงจารุวรรณ ใจใหญ เภสัชกร 7 วช 4. นายสิทธิศักดิ ์ กองมา นักวิชาการสาธารณสุข 5 ทีมวิจัยระดับอําเภอ 1. เภสัชกรวุฒเินตร โกฏแสง เภสัชกร 5 2. นางประภา นุชกลํ่า เจาพนกังานสาธารณสุขชุมชน 5 3. นายนราธิป ศรีละออง เจาพนกังานรงัสีเทคนิค 6 4. นายสันธยา นุชกลํ่า ผูชวยเหลือคนไข

2. ดําเนินการวิจัยตามแนวทาง ดังนี ้ นัดเอกซเรยคนไข ใหมทกุรายกอนการรักษาและหลังทําการรักษา ทุก 1 เดือน เพื่อดวูาการรักษาโดยหมอพื้นบานมปีระสิทธิผลหรือไม ประเมินความพึงพอใจของผูปวย

1 ดานสถานที่ใหบริการ 2 ดานการใหบริการของหมอพื้นบาน 3 ดานกระบวนการรักษา 4 ดานคาใชจาย 5 ดานผลการรักษาของหมอพื้นบาน

วัดมุมตรงตําแหนงหกั เพื่อดูความกาวหนาของอาการผูปวย โดยใชเครื่องมือโกนิโอมิเตอร ทดสอบการเคลื่อนไหว เพื่อดูความกาวหนาของอาการผูปวย โดยบันทึกผสมทั้งแบบ Neutral Zero Method และSFTR Method เพื่อดูวาการเคลื่อนไหวของขอตางๆ ผิดปกติหรือไม

Page 69: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

60

3. ผลการเก็บ CASE case ในป 2549 เก็บแลว จาํนวน 20 case อานและแปลผลสงสวนกลางแลว case ในป 2550 เก็บแลว จํานวน 30 case ประกอบดวย

case สมบูรณ จํานวน 4 case (มีฟลมกอน-หลังรักษา)ประกอบดวย 1. ขอมือหัก จํานวน 1 คน 2. เด็กแขนหกั จํานวน 1 คน 3. ขาหัก จํานวน 2 คน

ผลการเอกซเรย อานฟลมเบื้องตนโดยนกัรังสีที่โรงพยาบาลพิชัย กระดูกตดิทุกราย แตมีกระดูกผดิรูป 1 ราย เนื่องจากยกของหนักกอนเวลา 1 เดอืน นอกนัน้ตดิเขารูปด ี อาจเนื่องจากเปนเด็กอายนุอย แตยังตองอานฟลมซ้ําโดยแพทยผูเชี่ยวชาญและลงความเห็นอีกครั้ง

case ไมสมบูรณ จํานวน 12 CASE (มีเฉพาะฟลมกอนรักษา) case 1 - ไหปลาราหัก case 2 - กระดูกสนเทาแตก case 3 - ไหปลาราหัก

case 4 - ซ่ีโครงหัก case 5 - ไหปลาราหัก case 6 - ไหปลาราหัก case 7 - แขนซายหัก case 8 - ววัควดิซี่โครงซายหัก case 9 - ขอมือขวาหัก

case 10 - ไหปลาราหัก case 11 - แขนหัก case 12 - ตกบันไดขอมือขวาแตก รอระยะเวลาอกีประมาณ 1 เดือน จะถายเอกซเรยซํ้าเพื่อเปรียบเทียบผลการรักษากอน-หลัง

สรุปผล ปจจุบันทีมวิจยั สามารถเก็บตัวอยางผูปวยได รวมจํานวน 32 case เหลืออีก 18 case รวมผูปวยใน

โครงการ ป 2549-2550 จํานวน 5 0 คน ซ่ึงโครงการยังไมส้ินสุดอยูในระหวางการเก็บขอมูล ปญหาและอุปสรรค

1. เนื่องจากเปนงานวิจยัคลินิก ผูปวยจะตองยนิยอมมาเขารวมโครงการและหากมีความประสงค ออกจากการทดลองสามารถทําได ทําใหตองเสียเวลาเกบ็ผูปวยเพิ่ม

2. ผูปวยมภีูมิลําเนาอยูตางจังหวัดทําใหติดตามผลการรักษายาก ขอเสนอแนะ

ผูปวยบางรายอาจตองไดรับการรักษาซ้ําเพื่อแกไข ควรใหแพทยพิจารณารวมกับความตองการของผูปวยเอง

Page 70: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

61

3. งานอาหาร 3.1 ความปลอดภัยดานอาหาร 3.1.1 การเฝาระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑอาหารในทองตลาด

ตารางที่ 12 แสดงการเก็บตวัอยางผลิตภณัฑอาหารสงตรวจวิเคราะหยังหองปฏิบัติการ (ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยพิษณุโลก)

ผลตรวจวิเคราะห (ตัวอยาง) ลําดับ ผลิตภัณฑ

จํานวน(ตัวอยาง)

ผาน ไมผาน

หมายเหตุ (รายการที่ไมผานมาตรฐาน)

1 น้ําบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท

26 20 6 - พบ S.aureus 1 ตัวอยาง (มาตรฐาน ไมพบ) - พบ MPN Coliforms เกินมาตรฐาน 5 ตัวอยาง (มาตรฐาน นอยกวา 2.2)

2 น้ําแข็ง 11 9 3 - พบ E.coli 1 ตัวอยาง (มาตรฐาน ไมพบ) - พบ S.aureus 1 ตัวอยาง (มาตรฐาน ไมพบ) - พบ MPN Coliforms เกินมาตรฐาน 1 ตัวอยาง (มาตรฐาน นอยกวา 2.2)

3 เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท

9 8 1 - พบยีสต =15 และรา =7 (มาตรฐาน ไมพบ)

4 นมโรงเรียน 8 8 0 - 5 เนื้อหม ู 20 20 0 - 6 เสนกวยเตีย๋ว(เสน

เล็ก) 5 2 3 - พบ กรดเบนโซอิก เกินมาตรฐาน 3

ตัวอยาง (มาตรฐานไมเกนิ 1,000) 7 ผลิตภัณฑจาก

เนื้อสัตว 36 36 0 -

รวม 115 102 13 ผานมาตรฐานคิดเปนรอยละ 88.70

Page 71: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

62

ตารางที่ 13 แสดงรายการทีต่รวจวเิคราะห

ผลิตภัณฑ รายการที่ตรวจวิเคราะห 1. น้ําบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท

1. MPN Coliforms 2. E.coli 3. Salmonellae 4. S.aureus 5. C.perfringens 6. ฟลูออไรด

2. น้ําแข็ง 1. MPN Coliforms 2. E.coli 3. Salmonellae 4. S.aureus 5. C.perfringens

3. เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท

1. MPN Coliforms 2. E.coli 3. Salmonellae 4. S.aureus 5. C.perfringens 6. ยีสตและรา

4. นมโรงเรียน 1. โปรตีน 2. E.coli 3. Salmonellae 4. S.aureus 5. C.perfringens 5. เนื้อหม ู 1. สารเรงเนื้อแดง 6. เสนกวยเตีย๋ว(เสนเล็ก) 1. กรดเบนโซอิก 2. กรดซอรบิก 7. ผลิตภัณฑจากเนื้อสัตว 1. ไนเตรต 2. ไนไตรต

3.1.2 การตรวจสอบฉลากผลิตภัณฑอาหารในรานขายของชํา ตารางที่ 14 แสดงการตรวจสอบฉลากผลิตภัณฑอาหารในรานขายของชํา (ทั้ง 9 อําเภอ)

อําเภอ

ขอมูล จํานวน (แหง) เมื

อง

ลับแล

พิชัย

ตรอน

ทองแสน

ขัน

ทาปล

น้ําปาด

ฟากท

บานโคก

รวม

มี 615 297 514 178 122 282 225 87 83 2,403 รานขายของชํา ตรวจ

สอบ 538 297 514 178 122 282 207 86 83 2,307

มี 121 31 84 18 - 45 33 6 21 359 ศสมช.

(กองทุนยาและเวชภัณฑ) ตรวจ สอบ

97 9 0 18 - 44 33 1 0 202

มี 7 1 6 3 - 0 2 7 2 28 ศูนยสาธิตการตลาด ตรวจ

สอบ 1 1 6 3 - 0 2 7 0 20

Page 72: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

จากตาราง รานชํา 2,403 ราน/ สํารวจได 2,307 ราน คิดเปนรอยละที่ตรวจสอบ 96% ศสมช. 359 ราน/สํารวจได 202 ราน คิดเปนรอยละที่ตรวจสอบ 56.27 % ศูนยสาธิตการตลาด 28 ราน /สํารวจได 20 ราน คิดเปนรอยละที่ตรวจสอบ 71.43%

63

3.1.3 ผลการตรวจสอบการจําหนายสินคาในรานขายของชาํ ตารางที่ 15 ผลการตรวจสอบการจําหนายสินคา

รายการผลิตภัณฑท่ีตรวจ จํานวนที่ตรวจ จํานวนที่ไมถกูตอง รอยละท่ีไมถูกตอง

1.อาหาร 20,329 393 1.93

2.เคร่ืองสําอาง 2,574 24 0.93

3.ยา 998 3 0.30

4.วัตถุอันตราย 1,870 39 2.09

5.บุหรี่ 450 16 3.05

6.สารระเหย 74 - 0

รวม 26,295 475 1.81

รายละเอียดฉลากที่ไมถูกตอง อาหาร

ตรวจสอบทั้งหมด 20,329 ตัวอยาง ไมถูกตอง 393 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 1.93 ไดแก ขนมปง 114 ตัวอยาง ซอสหอย 64 ตัวอยาง น้ําสมสายชู 42 ตัวอยาง ขนมอบกรอบ 34 ตัวอยาง เกลือบริโภค 32 ตัวอยาง ซอสมะเขือเทศ,ซอสแปง 30 ตัวอยาง เตาเจี้ยว 21 ตัวอยาง สาเหตุที่ไมถูกตอง คือ ไมขออนุญาตผลิต ไมมีเลขสารบบอาหาร(เครื่องหมาย อย.) ไมมีช่ือสถานที่ผลิต และวัน เดือน ป ทีผ่ลิตและหมดอายุ

เคร่ืองสําอาง ตรวจสอบทั้งหมด 2,574 ตัวอยาง ไมถูกตอง 39 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 0.93 ไดแก ครีมสิวฝา/ครีมหนาขาว 10 ตัวอยาง ผลิตภัณฑ ยืดผม 4 ตัวอยาง ผลิตภัณฑกัดสีผม 7 ตัวอยาง สาเหตุที่ไมถูกตอง คือ ไมมีฉลากภาษาไทย ไมมีชื่อที่อยูผูผลิต และวัน เดือน ป ที่ผลิต

ยา สาเหตุที่ไมถูกตอง คือ ยาที่พบในรานชํา เปนยาปฏิชีวนะ ซ่ึงไมอนุญาตใหจําหนายในรานชํา

วัตถุอันตราย สาเหตุที่ไมถูกตอง คือ การจัดเรียงไมเหมาะสม ปะปนอยูกับอาหาร

บุหรี่ สาเหตุที่ไมถูกตอง คือ ไมมีปายจําหนายบหุร่ี และไมจําหนายใหกับเดก็อายุต่ํากวา 18 ป และนําซองบุหร่ีแสดงใหเห็น

Page 73: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

64

3.1.4 การตรวจสอบเฝาระวัง ตรวจประเมนิสถานที่ผลิตอาหาร ตารางที่ 16 แสดงการตรวจสอบเฝาระวัง ตรวจประเมนิสถานที่ผลิตอาหาร

สถานที่ผลิตอาหาร จํานวน (แหง)

ผานมาตรฐาน (แหง)

คิดเปนรอยละ

- สถานที่ผลิตอาหารที่เขาขายเกณฑ GMP 56 56 100 - สถานที่ผลิตอาหารที่ไมเขาขายเกณฑ GMP 54 54 100

รวม 110 110 100

3.1.4.1 ผลคะแนนเฉลี่ยการประเมินสถานที่ผลิตอาหารตามแบบประเมินเกณฑ GMP ( 56 แหง ) ตารางที่ 17 ผลคะแนนเฉลีย่การประเมินสถานที่ผลิตน้ําบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท

หัวขอ คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ยรอยละ 1. สถานที่ตั้งและอาคารผลิต 20 19.33 96.65 2. เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณการผลิต 20 19.38 96.90 3. แหลงน้ําและการปรับคุณภาพน้ํา 12 9.20 76.67 4. ภาชนะบรรจุ 10 9.36 93.60 5. สารทําความสะอาดและฆาเชื้อ 3 2.5 83.33 6. การบรรจุ 11 10.43 94.82 7. การควบคุมคุณภาพมาตรฐาน 2 1.20 60.00 8. การสุขาภิบาล 10 8.80 88.00 9. บุคลากรและสุขลักษณะผูปฏิบัติงาน 8 7.68 96.00 10. บันทึกและรายงาน 4 2.62 65.50

รวม 100 90.5 จากตาราง พบวาหัวขอที่มีคะแนนมากที่สุด ไดแก หัวขอท่ี 2 (เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณการผลิต), หัวขอที่ 1 (สถานที่ตั้งและอาคารผลิต) และหัวขอที่ 9 (บุคลากรและสุขลักษณะผูปฏิบัติงาน) สวนหัวขอที่ 7 (การควบคุมคุณภาพมาตรฐาน) มีคะแนนนอยที่สุด

Page 74: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

65

ตารางที่ 18 ผลคะแนนเฉลีย่การประเมินสถานที่ผลิตอาหารอื่นๆ (ใชแบบประเมินสถานที่ผลิตอาหารดานสุขลักษณะทัว่ไป)

หัวขอ คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ยรอยละ 1. สถานที่ตั้งและอาคารผลิต 19 18.20 98.79 2. เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณการผลิต 8 7.83 97.88 3. การควบคุมกระบวนการผลิต 30 25.50 85.00 4. การสุขาภิบาล 15 13.65 91.00 5. การบํารุงรักษาและการทําความสะอาด 13 11.94 91.85 6. บุคลากรและสุขลักษณะผูปฏิบัติงาน 15 13.12 87.47

รวม 100 90.24 จากตาราง พบวาหัวขอที่มีคะแนนมากที่สุด ไดแก หัวขอที่ 1 (สถานที่ตั้งและอาคารผลิต) และหัวขอที่ 2 (เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณการผลิต) สวนหัวขอท่ี 3 (การควบคุมกระบวนการผลิต) มีคะแนนนอยที่สุด ภาพกิจกรรม

Page 75: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

66

3.1.5 การตรวจสอบเฝาระวัง ศูนยกระจายนมโรงเรียน คร้ังที่ 1 วันที่ 31 มกราคม – 1 กุมภาพันธ 2550 คร้ังที่ 2 วันที่ 10 และ 17 กันยายน 2550 เก็บนมโรงเรียนสงตรวจวเิคราะหวนัที่ 6-7 กุมภาพนัธ 2550 สรุปการตรวจ พบวาศูนยกระจายนมโรงเรียนทั้ง 7 แหง มีอาคารมั่นคงสามารถปองกันแสงแดดและฝนได

มีการทําความสะอาดสม่ําเสมอทั้งอาคารและถังเก็บนม ถังเก็บนมมคีวามแข็งแรงทนทานและมีน้ําแข็งในปริมาณที่มาก และจากการวัดอุณหภูมใินน้ํานมพาสเจอรไรส ณ ถังเก็บนม พบมีอุณหภูมอิยูระหวาง 0.9 – 2.4 องศาเซลเซียส (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 8 องศาเซลเซียส) สําหรับการเก็บนม ยู เอช ท ีวางเรียงดวยความสูงไมเกิน 10 ช้ัน แตมบีางแหงที่วางเรียงกลองนมไวบนพื้นโดยตรงไมมยีกพื้น ซ่ึงไดใหคาํแนะนําแกผูประกอบการแลว

ภาพกจิกรรม

3.2. การตรวจเฝาระวังอาหารกลุมเสี่ยงในรานจําหนายอาหารสดใหปลอดภัยจากสาร ปนเปอน 6 ชนิดและไดรับปายทอง(ปายอาหารปลอดภัย)

Page 76: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

กลวิธีดําเนินการ เก็บตัวอยางอาหารจากตลาดสดในจังหวัดอุตรดิตถ จํานวน 29 แหง ซุปเปอรมารเก็ต 2 แหง และ

รานชําที่จําหนายอาหารสดในทุกหมูบานดวยความถี่ 1 ครั้ง/เดือน มาตรวจสอบหาสารปนเปอน 6 ชนิด ไดแก 67

สารเรงเนื้อแดงในเนื้อหมู บอแรกซ สารฟอกขาว ฟอรมาลิน สารกันรา และยาฆาแมลง ซ่ึงในการตรวจหาสารปนเปอนจะใชชุดทดสอบเบื้องตน และผูทําการตรวจไดแกเจาหนาที่ประจํารถตรวจสอบสารปนเปอน (Mobile Unit) สํานักงานสาธารณสุข เขต 2 และเจาหนาที่ระดับอําเภอ

3.2.1 ผลการดาํเนินงานตรวจสอบสารปนเปอน 6 ชนิด ในอาหารสด ตารางที่ 19 แสดงผลการดําเนินงานตรวจสอบสารปนเปอน 6 ชนิด ในอาหารสดจําแนกตามชนิดของ สารปนเปอน (ตุลาคม 2549 – กันยายน 2550)

ตัวชี้วัด เกณฑ จํานวนที่ตรวจ

(ตัวอยาง) ไมพบการปนเปอน

(ตัวอยาง) คิดเปน รอยละ

1. ปลอดสารบอแร็กซ ≥95% 2,680 2,680 100

2. ปลอดฟอรมาลิน ≥95% 634 634 100

3. ปลอดสารฟอกขาว(ไฮโดรซัลไฟต) ≥95% 1,381 1,381 100

4. ปลอดสารกันรา(กรดซาลิซิลิค) ≥95% 1,663 1,663 100

5. ยาฆาแมลงระดับปลอดภยั ≥95% 1,347 1,347 100

6. ปลอดสารเรงเนื้อแดง ≥95% 20 20 100

รวม 7,725 7,725 100 จากตาราง การตรวจหาสารปนเปอนพบวาอาหารสด ปลอดจากสารบอแรกซ ฟอรมาลิน สารฟอกขาว สารกันรา สารเรงเนื้อแดง ทุกตัวอยาง คิดเปนรอยละ 100 และการตรวจหายาฆาแมลงระดับปลอดภัยผานเกณฑมาตรฐานทุกตัวอยาง คิดเปนรอยละ 100 ตารางที่ 20 แสดงผลการดําเนินงานตรวจสอบสารปนเปอน 6 ชนิดในอาหารสดแยกรายอําเภอ (ตุลาคม 2549 – กันยายน 2550)

อําเภอ จํานวนที่ตรวจ

(ตัวอยาง) ไมพบการปนเปอน

(ตัวอยาง) คิดเปน รอยละ

เมืองอุตรดิตถ 1,539 1,539 100 ลับแล 793 793 100 ทาปลา 726 726 100 ตรอน 951 951 100 พิชัย 1,692 1,692 100

ทองแสนขัน 593 593 100 น้ําปาด 768 768 100

Page 77: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ฟากทา 425 425 100 บานโคก 238 238 100

รวม 7,725 7,725 100 68

จากตาราง การตรวจหาสารปนเปอน 6 ชนิดในอาหารสดในทกุอําเภอ ไมพบการปนเปอนคดิเปนรอยละ 100 ภาพกจิกรรม การเก็บตวัอยางอาหารสด

ตารางที่ 21 แสดงจาํนวนรานจําหนายอาหารสดที่ผานการรับรองอาหารปลอดภยัจากสารปนเปอน 6 ชนิด (ไดรับปายอาหารปลอดภยัหรือปายทอง) ป 2550 แยกรายอําเภอ

อําเภอ จํานวนรานทัง้หมด รานทีไ่ดรับปายทอง คิดเปนรอยละ

เมืองอุตรดิตถ 1,082 1,024 94.64 ลับแล 403 393 97.52 ทาปลา 183 169 92.35 ตรอน 137 137 100 พิชัย 363 321 88.43

ทองแสนขนั 113 113 100

Page 78: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

น้ําปาด 199 192 96.48 ฟากทา 78 77 98.72 บานโคก 39 39 100

รวม 2,597 2,465 94.91 69

หมายเหต ุ การรับรองอาหารปลอดภยัรานจาํหนายอาหารตองผานการตรวจสารปนเปอนในอาหารที่จําหนายติดตอกัน 3 คร้ัง จึงจะไดรับปายทองและจะมีการประเมนิติดตามทุก 3-6 เดือน

3.3 การสงเสริม ยกระดับศักยภาพ และองคความรูของผูผลิตอาหาร 3.3.1 การประชุม การพัฒนาสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ GMPผูผลิตน้ําแข็ง และน้ําบริโภคใน

ภาชนะบรรจุท่ีปดสนิท จังหวัดอุตรดติถ ป 2550 วันที่ 28 มีนาคม 2550 ณ หองประชุมสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอตุรดิตถ ผูเขาประชุม จํานวน

40 คน สรุปการประชุม 1. บรรยาย ชี้แจงเกี่ยวกับนโยบายดานอาหารที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามอบหมายใหสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ชวยกํากับดูแลสถานที่ผลิตอาหาร ใหมีการพัฒนาสถานที่ผลิตตามเกณฑ GMP (Good Manufacturing Practice) อยางตอเนื่อง และการเพิ่มเกณฑคะแนน GMP จากรอยละ50 เปนรอยละ 60 และสรุปผลการตรวจประเมินสถานที่ผลิตที่ตรวจสอบแลว ปงบประมาณ 2550 2. ปญหาที่พบและแนวทางการแกไข

2.1 เร่ืองการใชสายยางบรรจุน้ํา - พบวามีสถานที่ผลิตน้ําฯบางแหงมีการใชสายยางในการบรรจุน้ําถัง 20 ลิตร ซ่ึ ง เจ าหน าที่ ไดทํ าบันทึกตักเตือน และแจงวาเปนการกระทําผิดขอหาฝาฝนประกาศตามมาตรา 6(7) (เปนขอบกพรองรุนแรงของเกณฑ GMP) ตองระวางโทษปรับไมเกิน 10,000.-บาท และหากเจาหนาที่ตรวจพบ การใชสายยางบรรจุน้ํา หรือมีสายยางสวมที่หัวบรรจุอยู จะดําเนนิการเปรียบเทียบปรับทันทีโดยไมมีการตักเตือน 2.2 เร่ืองนําถังน้ําผูอ่ืนมาบรรจุ - แจงในที่ประชุมใหทราบวา การนําถังผูอ่ืนมาบรรจุน้ําของตนเองนั้น เขาขายเปนการผลิตอาหารปลอม กรณีมีฉลากเพื่อลวงหรือพยายามลวงใหผูอ่ืนเขาใจผิดในเรื่องคุณภาพ ปริมาณประโยชน หรือลักษณะพิเศษอยางอื่นหรือในเรื่องสถานที่และประเทศที่ผลิต ตองระวางโทษ จําคุกตั้งแต 6 เดือน ถึง 1 ป และ ปรับตั้งแต 5,000.-บาท ถึง 100,000.- บาท มติที่ประชุม เพื่อเปนการแกปญหาดังกลาว จึงขอใหมีการปฏิบัติตนไปในแนวทางเดียวกัน ดังนี ้ 1. หากสถานที่ผลิตใดมีถังของผูอ่ืนอยูใหรีบดําเนินการแลกเปลี่ยนคืนเจาของ และกรณีลูกคาเปลี่ยนใจมาดื่มน้ําของผูผลิตรายใหม ขอใหลูกคาใชถังของผูผลิตรายใหม สวนถังของผูผลิตรายเกานั้นผูผลิตรายเกาจะรับคืน โดยมีเงื่อนไข คือ

Page 79: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

- หากมใีบรับมัดจําถัง จะคนืเงินมัดจําใหมูลคาเทากับราคามัดจํา - หากทําหลักฐานการมัดจําถังสูญหายไป ผูขายจะรับคืนถังตามสภาพถังที่ขอคืน คือ อยูในสภาพที่ใชการได รับคืนในราคา ใบละ 50 บาท สวนถังที่ใชการไดอยู แตเกา สกปรก ไมนาใช รับคืนในราคา 30บาท และถาถังใชการไมได เชน แตก ร่ัวซึม หรือพิสูจนไดวานําไปใชใสอาหารอื่น ทําใหไมสามารถนํากลับไป

70

บรรจุน้ําไดอีก กรณีนี้จะไมรับคืน 2. ขอใหกําหนดระยะเวลาการแลกเปลี่ยนทุกกรณี ภายในเดือน มิถุนายน 2550 หลังจากนั้น หากเจาหนาที่สาธารณสุขจังหวัดฯ ออกตรวจ และพบถังผูผลิตรายอื่นในสถานที่ผลิตของตน เจาหนาที่จะดําเนินการทําบันทึกคําใหการ พรอมระบุจํานวนถัง และจะสงสําเนาบันทึกใหกับเจาของถัง เพื่อไปตกลงและดําเนินการกันเองตอไป 3. สวนเรื่องการขูดถังผูอ่ืนเพื่อพิมพฉลากของตน เจาของถังเกาสวนใหญไมยอมใหกระทําโดยเด็ดขาด การกระทําดังกลาวอาจเขาขายการลักทรัพยได ซ่ึงเจาของถังอาจแจงเจาหนาที่ตํารวจดําเนินการตอไป ภาพกจิกรรม

3.3.2 การอบรมและศึกษาดูงานสถานทีผ่ลิตหนอไมปปปรับกรด

Page 80: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

วันที่ 20 กรกฎาคม 2550 ผูเขาอบรม จํานวน 11 คน แบงเปน เจาหนาทีผู่รับผิดชอบงานคุมครองผูบริโภคในระดับจังหวัดและอําเภอ จํานวน 6 คน และผูประกอบการ จํานวน 5 คน

สถานที่ผลิตหนอไมอัดปปปรับกรดที่ศึกษาดูงาน จํานวน 2 แหง ไดแก 1. โรงงานหนอไมอัดปปแกวพัน เลขที่ 349 หมู 1 ต.บอแกว อ.เมือง จ.ลําปาง 2. โรงงานอิ่น-อองหนอไมอัดปป เลขที่ 85/3 หมู 1 ต.บอแกว อ.เมือง จ.ลําปาง

71

3.3.2.1 โรงงานหนอไมอัดปปแกวพัน ผูดําเนินการ คอื คุณแกวพรรณ ประดิษฐ ซ่ึงใหการตอนรับเปนอยางดี และ นําชมสถานที่ผลิต สาธิตการตรวจความเปนกรด-ดาง ของเนื้อหนอไมและน้ําแชหนอไม ขั้นตอนการผลิต และการตลาด ของโรงงานที่ดําเนินการผานมาจนถึงปจจุบนั รับฟงประสบการณการแกไข ปรับปรุง สถานที่ผลิต จนไดรับการอนญุาต ภาพถายโรงงานหนอไมอัดปปแกวพัน

อางแชหนอไมดวยน้ําเปลาเพื่อทําความสะอาด

หองตัดแตงหนอไม และบรรจุหนอไมใสปป+น้ําเปลา

Page 81: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

อางตมน้ํา แบบใชฟนเติมดานนอกอาคาร 72

เทน้ําออกจากปป(ตองใชผูชํานาญ) เติมกรดซิตริกรอนที่คํานวณคา pH แลวปดผนึกปป

แชปปที่ปดผนกึในน้ําผสมคลอรีน ปดฉลากแลวตั้งทิ้งไว 2-3 วนั

Page 82: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

สุมตัวอยางหนอไมปป มาวดัคาความเปนกรด-ดาง(pH) แลวบันทกึเกบ็ไว

73

3.3.2.2 โรงงานอิ่น-ออง หนอไมอัดปป ผูดําเนินการ คอื คุณเหยา จอมอินตา ซ่ึงใหการตอนรับเปนอยางดี ดวยตนเอง และนําชมสถานที่ผลิต บริเวณรับซื้อหนอไม บริเวณตดัแตงหนอไมกอนบรรจุปป หองตม-ปรับกรด และปดผนกึฝา อางแชทําใหเย็น สรุปขั้นตอนการผลิต และการตลาด ของโรงงานที่ดําเนนิการผานมาจนถึงปจจุบัน และถายทอดประสบการณการแกไข ปรับปรุง สถานที่ผลิต การติดตอ เตรียมเอกสารเพื่อยื่นขอรับอนุญาตสถานที่ผลิต ซ่ึงปจจุบันยังอยูระหวางการพิจารณาอนญุาต จากสํานกังานคณะกรรมการอาหารและยา ภาพถายโรงงานอิ่น-ออง หนอไมอัดปป

อาคารผลิต บริเวณแชหนอเพื่อทําความสะอาด

บริเวณตดัแตงหนอไม

Page 83: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

74

หองตมหนอไมโดยใสปปลงอางตม เติมกรดซิตริกที่คํานวณไวใสปปแลวทําการตม เมื่อตมเสร็จจะเติม กรดซิตริกรอนจนเต็มปป

เติมฟนดานนอก สุมตัวอยางหนอไมปปมาวัดคาความเปนกรด-ดาง

ประโยชนที่ไดรับการจากอบรมและศึกษาดูงาน 1. ไดเห็นตัวอยางสถานที่ผลิตหนอไมอัดปปปรับกรดที่เหมาะสม และไดมาตรฐาน เพื่อเปนแนว

ทางการนําเนินการในดานกระบวนการผลิตและสถานที่ผลิตหนอไมอัดปปปรับกรด แกผูประกอบการ ภายในจังหวัดอุตรดิตถ ตอไป

2. ไดรับทราบปญหา และแนวทางการแกปญหา ที่เกิดขึ้นระหวางการดําเนินการปรับปรุง,

Page 84: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ขอมูลดานการตลาด บรรจุภณัฑ เครื่องมือตรวจวดัมาตรฐาน กระบวนการผลิตที่ตองปรับเปลี่ยน ใหเหมาะสมกบัการผลิตจริงและเปนตามมาตรฐานตามทีก่ฎหมายกําหนด

3. การปรับปรุง เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐาน ตองอาศัยหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ มาใหคํา แนะนํา สอนวิธีใชเครื่องมือ ตลอดจนเทคนิคการเติมกรดเพื่อปรับสภาพความเปนกรด–ดางของหนอไมไมเกนิ 4.6 จนสามารถทําไดเอง

75

ขอเสนอแนะปญหา/อุปสรรค

1. ผูประกอบการผลิตหนอไมอัดปป รายเล็ก ของจังหวดัอุตรดิตถ ยังไมตระหนักถึงความปลอดภยัในการผลิต อางวาผลิตไวบริโภคเอง

2. การปรับปรุงสถานที่ผลิต ตองใชเงินทุนคอนขางสูง ทําใหการปรับปรุงใหไดมาตรฐานเปนไปไดยากสําหรับ ผูผลิตรายเล็กที่ขาดศักยภาพดานเงินลงทุน 3. ชวงระยะเวลาการผลิตสั้น ประมาณ 4 เดือน ตั้งแตเดอืน กรกฎาคม ถึงเดือน ตุลาคม ทําใหการใชงานของสถานที่ไมคุมกับการลงทุน 4. ขาดความรูดานการตรวจสอบ เครื่องมือและอุปกรณมีราคาแพง

5. ถาผลิตดวยวิธีปรับกรดแลว หนอไมมรีสเปรี้ยว กลัววาจะจําหนายไมได ผูบริโภคไมนยิม ซ้ือรับประทาน 6. ขาดตลาดที่จะรับไปจําหนาย

3.4 การดําเนินงานการตรวจสอบเฝาระวังและเรื่องรองเรียน 3.4.1 การตรวจสอบฉลากอาหารในงานแสดงสินคา OTOP

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2549 มีการจัดงานแสดง สินคา OTOP บริเวณถนนแปดวา อ.เมือง จ.อุตรดิตถ ซ่ึงจากการตรวจสอบพบวา ฉลากสวนใหญ ถูกตองตามที่ขออนุญาต แตบางรายมีความเขาใจวามาขายเองไมตองติดฉลากแสดงวันผลิตและหมดอายุ เจาหนาที่ไดแนะนําเรียบรอยแลว และกลุมแมบานหัวดงรวมใจใชฉลากไมตองกับที่ขออนุญาต ใชฉลากที่ สนง.เกษตรจังหวัดสนับสนุนให ซ่ึงรายละเอียดการแสดงฉลากไมถูกตอง ไดแนะนําและขอตัวอยางมาเพื่อเปนขอมูลในการจัดประชุมกลุมแมบานตอไป

3.4.2 การตรวจสอบกระเชาของขวัญปใหม

Page 85: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

วันที่ 14 ธันวาคม 2549 เจาหนาที่กลุมงานคุมครองผูบริโภค รวมกับสํานักงานสาธารณสุขอําเภอเมือง และชมรมผูบริโภคจังหวัดอุตรดิตถ ไดออกตรวจกระเชาของขวญัปใหม จํานวน 5 แหง ผลการตรวจเปนดังนี ้

1. รานเฉลิมรัตนและรานยูฮงจั่น : ไมมีการแสดงรายละเอียดของสินคาในกระเชา จึงแนะนําใหจัดทํารายการ วันหมดอายุ และราคาของสินคาในกระเชา 2. สปริงแลนด ซุปเปอรมารเก็ต : มีการแสดงรายการสินคาและราคา แตไมมีการแสดงวันหมดอาย ุจึงแนะนําใหเพิ่มเติม

76

3. หางสรรพสินคาฟรายเดย และเทสโก โลตัส : มีการแสดงรายละเอยีดถูกตอง

3.4.3 การใชถงุอาหารสัตวบรรจุน้ําแข็งจําหนาย ที่มา : ไดรับเรือ่งรองเรียนจากประชาชนวามีการใชถุงอาหารสัตวมาใสน้ําแข็งเพื่อจําหนาย ขอใหกลุมงานคุมครองผูบริโภคชวยตรวจสอบเพือ่ความปลอดภัยของประชาชน การดําเนินการ : วันที่ 18 มกราคม 2550 เจาหนาที่ไดออกตรวจสอบกรณีดังกลาว ณ รานคาปลีก จํานวน 2 ราน และโรงงานผลิตน้ําแข็ง จํานวน 3 แหง ไดแก หางหุนสวนจํากัด อุตรดิตถสตารไอซ หางหุนสวนนิติบุคคล โรงน้ําแข็งสุวัฒน และบริษัทอุตรดิตถลีไอซ จํากัด พบวามีการใชถุงอาหารสัตวบรรจุน้ําแข็งจําหนายจริง จึงไดดําเนินการดังนี้

1. รานคาปลีกไดทําบันทึกการตรวจสถานที่จําหนายอาหารและขอความรวมมือหามรับน้ําแข็งที่บรรจุในถุงอาหารสัตวมาจาํหนาย

2. โรงงานผลิตน้ําแข็งไดทําบันทึกคําใหการและใหเรงดําเนินการเก็บถุงอาหารสัตวออกจากทองตลาด และใหใชถุงที่มีการแสดงฉลากที่ถูกตอง 3. จัดทําประกาศจังหวัดอุตรดิตถ เร่ือง หามนํา “ถุงอาหารสัตว” มาบรรจุน้ําแข็งเพื่อจําหนาย เนื่องจากมีความผิดฐานฝาฝนพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 มาตรา 6 เพื่อประโยชนแกการควบคุมอาหาร ใหรัฐมนตรีมอํีานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา (6) กําหนดคุณภาพหรือมาตรฐานของภาชนะบรรจุ และการใชภาชนะบรรจุตลอดจนการหามใชวตัถุใดเปนภาชนะบรรจุดวย โทษตามมาตรา 48 ตองระวางโทษ

Page 86: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

จําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ เพื่อใหผูจําหนายทราบถึงความผิดและโทษโดยทัว่กนั

77 77

Page 87: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

78

3.4.4 การตรวจสอบผลิตภัณฑและการโฆษณาของผลิตภณัฑเสริมอาหาร 3.4.4.1 ผลิตภณัฑ Super Chlorophyll Powder Dietary Supplement ที่มา : ผูบริโภความีการจําหนายและโฆษณา

ผลิตภัณฑ Chlorophyll Powder ซ่ึงมีวัยรุนกําลัง นิยมกนิเปนจํานวนมากโดยหวังผลทําใหผิวสวย การดําเนินการ : สืบคนสถานที่ผลิต/นําเขา ผลิตภัณฑดังกลาว พบวา ผลิตภัณฑ Super -

Chlorophyll Powder Dietary Supplement มีเลขสารบบอาหาร คือ 10-3-03646-1-005 ผูรับอนุญาตนําเขาคือ บริษัท ยูนซิิตี้ มารเก็ตติ้ง

(ไทยแลนด) จํากัด เลขที่ 202 ซอยอาคาร เลอ คองคอรด ช้ัน 8 ถ.รัชดาภิเษก ต.หวยขวาง อ.หวยขวาง กรุงเทพฯ 10120 และพบวาการโฆษณาทางเว็บไซตอาจทําใหประชาชนเกิดความหลงเชื่อโดยไมสมควร จึงไดสงเรื่องใหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาตรวจสอบ ซ่ึงไดขอเท็จจริงวาผลิตภัณฑ(ดังรูป) เปนสินคาเลียนแบบ เพื่อทําใหเขาใจวาเปนสินคาของบริษัทฯ สําหรับกรณีของการโฆษณาสินคาทางเวบไซด www.freewebs.com/detox4u/ รวมทั้งการดําเนินธุรกิจจัดจําหนายสินคาของบริษัทฯ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จะติดตามตรวจสอบและพิจารณาดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมายตอไป 3.4.4.2 ตรวจสอบศูนยจําหนายอาหารเสรมิยูนิพาวเวอร

ที่มา : ผูบริโภคเห็นมีปายโฆษณา ขอความ “ลดไขมันในหลอดเลือดดวยวิธีธรรมชาติ” จึงขอใหตรวจสอบการโฆษณาและผลิตภัณฑทีจ่ําหนาย การดําเนินการ : 22 มีนาคม 2550 เจาหนาที่งานอาหารไดออกตรวจสอบ ณ ศูนยจําหนายอาหารเสริมยูนิพาวเวอร (เลขที่ 144 ถ. เจษฎาบดินทร ต.ทาอิฐ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ) ผลการตรวจสอบ ไมพบแผน

Page 88: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ปายโฆษณาอวดอางสรรพคุณใดๆ เจาหนาที่จึงไดแจงรายละเอียดการโฆษณาอาหารที่ถูกตองใหทราบ เพื่อปองกันการกระทําผิดตอไป

79

3.4.4.3 แผนพบัโฆษณาผลติภัณฑ ทเวนตี้โฟรอินซ (24 ince) พบวาเปนกระทําฝาฝนพระราชบัญญัติ อาหาร พ.ศ. 2522 มาตรา 40 หามมิใหผูใดโฆษณาคุณประโยชน คุณภาพ หรือสรรพคุณของอาหารอันเปนเท็จ หรือเปนการหลอกลวงใหเกิดความหลงเชื่อโดยไมสมควร (โฆษณาสรรพคุณทางยา เชน ลดระดับน้ําตาลในเลือด ลดไขมนัและคลอเลสเตอรอล เปนตน) การดําเนินการ : เจาหนาที่ไดทําบันทึก คําใหการกับตัวแทนจําหนายจังหวัดอุตรดิตถ พบวา ตัวแทนจําหนายไดหยุดจําหนายมาประมาณ 2 เดือนแลว เนื่องจากมีปญหาสวนตัว เจาหนาที่จึง

แจงความผิดใหทราบ และตัวแทนจําหนายให การวาแผนพับโฆษณาสั่งมาจากบริษัท ทอป ออฟ มายด จํากัด เลขที่ 48/19 ถ.รัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 (ดังรูปถุงใสผลิตภัณฑ) เจาหนาที่จึงไดสงเรื่องใหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาตรวจสอบตอไป

Page 89: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

3.4.4.4 ผลิตภณัฑ Chlorophyll + Vitamin C

ที่มา : ประชาชน ขอใหชวยตรวจสอบ เนือ่งจากมารดา

80

เปนโรคไวรัสตับอักเสบ ชนดิ ซี กําลังรับประทานอยู ไมแนใจวาจะใชไดผลดี และมอัีนตรายหรือไม การดําเนินการ : เจาหนาที่ไดสืบคนผลิตภัณฑ พบวา ผลิตภัณฑคลอโรฟลล พลัส วิตามินซี มีเลขสารบบอาหาร 10-1-06338-1-0113 ผลิตโดย บริษัท อดนิพ จํากดั 24/3 หมู 5 ซอย รมไทร ถ.เพชรเกษม 69 แขวงหลกัสอง เขตบางแค กรุงเทพมหานคร มีภาชนะบรรจุเปนกลองกระดาษ (ภายในบรรจุซองฟอยล น้ําหนกั 1 กรัม) น้ําหนัก 10 – 100 กรัม ซ่ึงจะมีฉลากระบุที่กลองกระดาษเทานัน้ และจากการตรวจสอบจากแผนพับไมพบการโฆษณาทีผิ่ดตาม พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522 (เนื่องจากไมมีการเชื่อมโยง ชื่อผลิตภัณฑ/รูปภาพ กับแผนพับ จึงถือเปนเอกสารใหความรู) และจากการตรวจสอบเวปไซด hptt://www.truebc.com ไมพบการโฆษณาที่ไมถูกตอง

3.4.4.5 การจําหนายนมหมดอายุ ที่มา : เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2550 ประชาชนรองเรียนวาที่หางสรรพสินคาฟรายเดยวางนมกลองแอนมัมที่หมดอายุ(รสสม หมดอายุ 4 พ.ค. 50 และแอนมมัโฟเลสสูง หมดอายุ 13 พ.ค. 50) ปะปนกับนมที่ไมหมดอาย(ุเดือน พ.ย. 50) ขายแบบซื้อ 1 แถม 1 ไดบอกพนักงานแลวแตยังไมเก็บออก จึงขอใหเจาหนาที่ชวย ตรวจสอบดวย

การดําเนินการ : เจาหนาทีไ่ดเขาไปตรวจสอบ ณ หางสรรพสินคาฟรายเดย ในวันที่ 18 พ.ค. 50 ไมพบการจําหนายนมที่หมดอาย ุ จึงไดตักเตือนพนกังานใหเฝาระวังการวางสินคาที่จะจําหนายอยางเครงครัดตอไป

3.4.4.6 น้ําดื่มมีตะกอนสีน้ําตาลแดง

Page 90: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ที่มา : 1. วันที่ 24 พฤษภาคม 2550 ประชาชนมา รองเรียนเรื่องน้ําถังขนาด 20 ลิตร ยี่หอ ลีดรอป ผลิตโดย

บริษัทอุตรดิตถลีไอซ จํากัด มีตะกอนสีน้ําตาลแดง 2. หนังสือสํานักงานคณะกรรมการอาหารและ

ยา ลับ ที่ สธ 1008/01.1/11441 ลงวันที่ 6 กรกฎาคม 2550 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาไดขอความอนุเคราะหตรวจสอบเรื่องรองเรียน กรณีน้ําดื่มขนาด 950 ซม.3 มีตะกอนสีแดง

81

การดําเนินการ : เจาหนาที่งานอาหารไดเขาตรวจสอบ บริษัทอุตรดิตถลีไอซ จํากัด โดยตรวจสอบกระบวนการผลิต และเก็บตัวอยางน้ํ าสงตรวจวิ เคราะหยั งศูนยวิทยาศาสตรการแพทยพิษณุโลก (ผลตรวจวิเคราะหผานมาตรฐาน) ซ่ึงผูประกอบการไดใหการวาการเกิดตะกอนสีแดงนั้นอาจเกิดจากเครื่องผลิต ขัดของในชวงเดือนเมษายน 2550 ซ่ึงทางบริษัทไดส่ังใหเรียกเก็บน้ําดื่มขนาด 950 ซม.3 และ 20 ลิตรในรุนที่มีปญหาคืนผลิตภัณฑจากรานคาแลว แตอาจมีรานคาปลีกรายยอยที่ไมสามารถเรียกเก็บคืนไดยังจําหนายอยู และใหการวาจะดูแลกระบวนการผลิตใหไดมาตรฐาน และเจาหนาที่ใหปรับปรุงกระบวนการผลิต คือเพิ่มการเติมออกซิเจนใหกับน้ํา ซ่ึงอาจเปนสาเหตุการเกิดตะกอนแดงอีกทางหนึ่ง

3.4.6 ตรวจสอบการผลิตหนอไมปบ ที่มา : สํานักงานสาธารณสุขอําเภอน้ําปาดพรอมสํานักงานเทศบาลอําเภอน้ําปาด ไดประสานใหเจาหนาที่งานอาหาร รวมในการตรวจสอบเรื่องรองกรณีมีผูผลิตหนอไมปบ ทําใหเกดิควนัไฟกอความรําคาญใหกับชาวบาน การดําเนินการ : วันที่ 20 กันยายน 2550 พนักงานเจาหนาที่ไดเขาตรวจสอบยังบานเลขที่ 242/1 ม. 4 ต.แสนตอ อ.น้ําปาด จ.อุตรดิตถ พบมีอุปกรณการผลิต เชน เตาสําหรบัตม, ฟน, ปบเปลา, ปบที่บรรจุหนอไมแลว( 17 ปบ), อุปกรณการป อกเปลือกและบรรจุ ซ่ึงเจาของบานใหการวาไมไดเปนผูผลิตแตมีคนขางบานมาขอใชสถานที่ เจาหนาทีแ่จงใหเจาของบานทราบวา สถานที่ดังกลาวอยูในความดูแลของทาน หากมกีารกระทําผิดจะตองรับผิดชอบดวย ซ่ึงการตั้งโรงงานผลิตอาหารเพื่อจําหนาย โดยไมไดรับอนุญาตนั้น เปนการกระทําผิด

Page 91: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ตาม พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ. 2522 มาตรา 14 หามมิใหผูใดตั้งโรงงานผลิตอาหารเพื่อจําหนาย เวนแตไดรับอนุญาต โทษตามมาตรา 53 ตองระวางโทษจําคุกไมเกนิ 3 ป หรือปรับไมเกิน 30,000.- บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และใหดาํเนินการเก็บอปุกรณการผลิตทั้งหมดออกจากสถานที่ภายในเวลา 10 วันทําการ (ซ่ึงเจาหนาที่ระดับอําเภอไดตรวจสอบ พบวาไดเก็บอุปกรณออกไปหมดแลว)

82

3.5 การดําเนินคดี ตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 3.5.1 การผลิตเพื่อจําหนายอาหารปลอม

พฤติการณ เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2550 กลุมงานคุมครองผูบริโภค ไดรับเรื่องรองเรียนจากประชาชนวาที่บริเวณริมขางทางสวนสาธารณะเทศบาลเมืองอุตรดิตถ ถนนแปดวา มีพอคาใชสายยางกรอกน้ําประปาลงขวดน้ําดื่มเพื่อทําการจําหนายใหกับรานคาในงานกาชาดจังหวัดอุตรดิตถ การดําเนินการ กลุมงานคุมครองผูบริโภคจึงไดประสานกับเจาหนาที่ตํารวจเพื่อออกไปตรวจสอบ พบผูตองหาไดทําการกรอกน้ําประปาจากกอกน้ําของสวนสาธารณะ เทศบาลเมืองอุตรดิตถ บรรจุลงขวดน้ําดื่มพลาสติกชนิด PE ขนาด 950 ซม3 ซ่ึงมีการแสดงฉลาก น้ําดื่มคุณภาพตราไทยกูล ผลิตโดย โรงงานสยามไทยซีฟูดส 6/1 หมู 6 ต.หนองปลิง อ.เมือง จ.นครสวรรค 60000 โทรศัพท 056-253073 / 085-8782233 เลขสารบบอาหาร 60-2-00143-2-0003 เจาหนาที่ตํารวจจึงไดจับกุมผูตองหา ไปสอบปากคํายังสถานีตํารวจพรอมยึดของกลาง เจาหนาที่งานอาหารไดแจงขอกลาวหาแกเจาหนาท่ีตํารวจ คือ ผลิตเพื่อจําหนายอาหารปลอม (อาหารที่มีฉลากเพื่อลวง หรือพยายามลวงผูซ้ือใหเขาใจผิดในเรื่องคุณภาพปริมาณ ประโยชน หรือลักษณะพิเศษอยางอื่น หรือในเรื่องสถานที่และประเทศที่ผลิต) เปนการฝาฝนมาตรา 25(2) โทษตามมาตรา 59 ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหกเดือนถึงสิบป และปรับตั้งแตหาพันบาทถึงหนึ่งแสนบาท ซ่ึงเจาหนาที่ตํารวจไดดําเนินการสงฟองศาลจังหวัดอุตรดิตถ ผลคดี ศาลจังหวัดอุตรดิตถ ตัดสินเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2550 โทษจําคุกหกเดือน ปรับหนึ่งหมื่นบาท โดยโทษจําคุกรอลงอาญา 2 ป และริบของกลางทั้งหมด

Page 92: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

83

Page 93: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

84

3.5.2 การผลิตเพื่อจําหนายอาหารผิดมาตรฐาน พฤติการณ 1. ระหวางวันที่ 30 เมษายน – 8 พฤษภาคม 2550 เจาหนาที่งานอาหาร ไดเก็บตัวอยาง น้ําบริโภคในภาชนะบรรจุทีป่ดสนิทและน้าํแข็ง สงตรวจวิเคราะหมาตรฐาน ผลการตรวจพบวาไมผานมาตรฐาน 9 ตัวอยาง ดําเนินคดกีับผูประกอบการ จํานวน 8 ราย (มี 1 รายท่ีไมผานมาตรฐาน 2 ตัวอยาง) 2. วันที่ 29 พฤษภาคม 2550 เจาหนาที่งานอาหาร ไดเก็บตัวอยาง เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท สงตรวจวิเคราะหมาตรฐาน ผลการตรวจพบวาไมผานมาตรฐาน 1 ตัวอยาง ดําเนนิคดีกับผูประกอบการ จํานวน 1 ราย การดําเนินการ การกระทําดังกลาว เปนการการกระทําผิดตามมาตรา 25(3) ผลิตเพื่อจําหนายอาหารผิดมาตรฐานโทษตามมาตรา 60 เปรียบเทยีบปรับไมเกนิหาหมื่นบาท

Page 94: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

1. กรณีบุคคลธรรมดา จํานวน 4 ราย เปรียบเทียบปรับรายละหาพันบาท พรอมใหปรับปรุงกระบวนการผลิตและเก็บตวัอยางน้ําบริโภคฯ สงตรวจวเิคราะห 2. กรณีนติิบคุคล จํานวน 2 ราย เปรียบเทียบปรับรายละหนึ่งหมืน่( ปรับทั้งผูดําเนินการและนิติบุคคล ) พรอมใหปรับปรุงกระบวนการผลิตและเก็บตวัอยางน้ําบริโภคฯ สงตรวจวเิคราะห 3. บันทึกตักเตอืนใหปรับปรงุกระบวนการผลิต จํานวน 2 ราย

3.6 โครงการพัฒนาศักยภาพเจาหนาที่เทศบาลเพื่อรองรับการกระจายอํานาจ ปงบประมาณ 2550

หลักการและเหตุผล ตามที่พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน พ.ศ. 2542 ไดกําหนดใหราชการบริหารสวนกลางถายโอนภารกิจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน(อปท.)จํานวน 4 ภารกิจ ดังนี ้

85

1. การผลิตสื่อและหรือเผยแพรประชาสัมพันธขอมูลขาวสารดานอาหารและยา 2. การเสริมสรางศักยภาพผูบริโภคดานความรูในการบริโภคและเรยีกรองสิทธิอันชอบธรรม 3. การสรางและขยายเครือขายการมีสวนรวมในการคุมครองผูบริโภคดานสาธารณสุขของผูบริโภคในทองถ่ิน 4. ตรวจสอบติดตามคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑอาหาร ยา เครื่องมือแพทย เครื่องสําอางและวัตถุอันตรายในสถานที่จําหนายตามที่ระบใุน พระราชบญัญัติแตละประเภท ตามกําหนดเวลาที่กําหนดไวในพระราชบญัญัติดังกลาว ไดมีการจัดอบรมเจาหนาที่เทศบาล เร่ือง การตรวจสอบฉลากอาหารในสถานที่จําหนายมาอยางตอเนื่องตั้งแตป 2547 และในป 2550 มีแผนเตรียมความพรอมใหแกเทศบาลในการตรวจสอบฉลากเครื่องสําอาง การตรวจสอบเบื้องตนสารหามใชในเครื่องสําอาง สารปนเปอนในอาหารและเกลือไอโอดีน เพื่อใหดําเนนิการการถายโอนภารกจิใหแกทองถ่ินเปนไปดวยความเรียบรอยสมประโยชน ในอนัที่จะคุมครองประชาชนในทองถ่ินใหไดรับความปลอดภยัจาการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพไดเปนอยางดแีละทั่วถึง จึงเหน็ควรใหมกีารจดัทาํโครงการพัฒนาศกัยภาพเจาหนาทีเ่ทศบาลเพื่อรองรับการกระจายอํานาจ ประจําป 2550 ตอไป วัตถุประสงค 2.1 เพื่อใหเจาหนาที่เทศบาลมีความรู ความเขาใจ และมคีวามพรอมในการรับถายโอนภารกิจของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา 2.2 เพื่อใหเจาหนาที่เทศบาลมีความรูความสามารถในการตรวจสอบอาหาร( ฉลาก สารปนเปอน 5 ชนิด คือ สารบอแรกซ สารฟอกขาว ฟอรมาลิน สารกันรา ยาฆาแมลง และเกลือไอโอดีน) และเครื่องสําอาง(ฉลากและสารหามใช 3 ชนิด คือ สารไฮโดรควิโนน สารปรอทแอมโมเนีย วติามินเอแอซิด)

Page 95: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2.3 เพื่อใหเจาหนาที่เทศบาลมีความรูเกี่ยวกับพระราชบญัญัติอาหาร พ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติเครื่องสําอาง พ.ศ. 2535 เปาหมาย 3.1 ปลัดองคการบริหารสวนจังหวดัและปลัดเทศบาล แหงละ 1 คน 3.2 หัวหนาผูรับผิดชอบงานดานสาธารณสุขของเทศบาลหรือเจาหนาที่เทศบาลที่มีประสบการณทํางานดานสาธารณสุขไมนอยกวา 2 ป แหงละ 1 คน 3.3 เจาหนาทีส่าธารณสุขอําเภอ แหงละ 1 คน

วิธีดําเนนิการ 1. จัดการอบรมการตรวจสอบอาหารและเครื่องสําอางแกเจาหนาที่เทศบาล จังหวัดอุตรดิตถ ป 2550 ในวนัที่ 13 มิถุนายน 2550 ณ หองจัสมิน โรงแรมฟรายเดย 2. จัดประชุมสรุปผลการอบรมการตรวจสอบอาหารและเครื่องสําอางแกเจาหนาที่เทศบาล จังหวัด อุตรดิตถ ป 2550 ในวนัที่ 5 กรกฎาคม 2550 ณ หองจัสมิน โรงแรมฟรายเดย

86

งบประมาณ งบประมาณจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เงินสนับสนุนโครงการพัฒนาศักยภาพ เจาหนาทีเ่ทศบาลเพื่อรองรับการกระจายอํานาจฯ แผนงบประมาณ เสริมสรางสุขภาวะของประชาชนอยาง ครบวงจรและมีคุณภาพมาตรฐาน

1. คาอาหารกลางวัน ในการจัดอบรม(50 คน x 150 บาท ) 7,500 บาท 2. คาอาหารวางและเครื่องดืม่ ในการจดัอบรม (50 คน x 50 บาท x 2 มื้อ ) 5,000 บาท 3. คาวิทยากร 3,000 บาท 4. คาชุดทดสอบเบื้องตน 8,645 บาท 5. คาใชจายในการทําเอกสารประกอบการอบรม 4,800 บาท 6. คาตัวอยางผลิตภัณฑ 1,355 บาท 7. คาอาหารกลางวัน ในการประชุมสรุปผล (50 คน x 150 บาท ) 7,500 บาท 8. คาอาหารวางและเครื่องดืม่ ในการประชุมสรุปผล(50 คน x 50 บาท x 2 มื้อ ) 5,000 บาท

รวม 42,800 บาท หมายเหตุ : เงินงบประมาณในโครงการฯ สามารถถัวเฉลี่ยจายทกุรายการ ผลการดําเนินการ ผูเขาอบรม จํานวน 36 คน แบงเปน เจาหนาที่เทศบาล จํานวน 27 คน เจาหนาที่สาธารณสุขอําเภอ จํานวน 9 คน

1.หัวขอการอบรมการตรวจสอบอาหารและเครื่องสําอาง มีดังนี้ ภาคทฤษฎ ี

Page 96: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

1) พระราชบญัญัติเครื่องสําอาง พ.ศ. 2535 โดย ภก. ธีระพงษ เอี่ยมออน 2) การตรวจสอบฉลาก และสารหามใชในเครื่องสําอาง โดย ภญ. มยุรี เหล็กคํา

ภาคปฏิบัต ิ แบงกลุมเปน 3 กลุม ดังนี ้ กลุมที่ 1 สาธิตการตรวจสอบฉลากอาหารและเครื่องสําอาง โดย ภก. ธีระพงษ เอี่ยมออน

กลุมที่ 2 สาธิตการตรวจสอบเบื้องตนสารปนเปอนในอาหาร โดย ภญ. มยุรี เหล็กคํา กลุมที่ 3 สาธิตการตรวจสอบเบื้องตนสารหามใชในเครือ่งสําอาง โดย ภญ. สิรามล อมรมณีพันธุ 2.ทําแบบทดสอบจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เร่ือง อาหาร 20 ขอ และ เครื่องสําอาง

20 ขอ (เฉพาะเจาหนาทีเ่ทศบาล) ผูที่สอบผานตามเกณฑ ตองมีคะแนนแตละเรื่องอยางนอย 12 คะแนน

ผูผานตามเกณฑ มีจํานวน 22 คน ผูไมเกณฑเกณฑ มีจํานวน 5 คน

3. เจาหนาทีเ่ทศบาล และเจาหนาที่สาธารณสุขอําเภอ รวมกันออกตรวจรานคาในพืน้ที่

87

3.1 แบบสรุปผลการตรวจสอบอาหาร ณ สถานที่จําหนาย จังหวัดอุตรดิตถ 1. จํานวนสถานที่จําหนายอาหารที่ตรวจสอบ ...54... แหง 2. จํานวนผลิตภณัฑอาหารที่ทาํการตรวจสอบ ...215…รายการพบขอบกพรอง...19...รายการ

1) พบสินคาไมมี อย. 2) สินคาไมแสดงฉลาก และแสดงฉลากไมครบถวน เชน วันผลิต วนัหมดอายุ สถานที่ผลิต 3) สินคามีการบรรจุในภาชนะที่ไมเหมาะสม

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนนิงาน 1) ผูประกอบการไมใหความรวมมือ ขาดความรู และไมตระหนกัในการคัดเลือกสินคามาจําหนาย 2) มีเจาหนาทีจ่ากหลายหนวยงานเขามาทําการตรวจบอย ซํ้าซอน ควรใหมาพรอมๆกนั ผูประกอบการไมนาใจวาเปนเจาหนาที่จรงิหรือไม 3) เจาหนาที่เทศบาลมีไมเพียงพอกับปริมาณงานที่ไดรับ และขาดประสบการณ 4) แนวนโยบายของผูบริหาร ไมคอยเนนดานสาธารณสุข 5) ยังไมมกีารดําเนินการทางกฎหมาย

4. ส่ิงที่ตองการสนับสนุนและขอเสนอแนะในการดําเนินการตรวจสอบอาหาร 1) ประชาสัมพันธใหผูประกอบการตรวจสอบฉลากสินคากอนรับมาจาํหนาย 2) สนับสนุนชุดตรวจสอบอาหารเบื้องตน 3) เอกสารวิชาการใหความรูแกรานคา เชน VCD การตรวจสอบอาหาร แผนพับ โปสเตอร 4) การออกตรวจควรรวมกับเจาหนาที่สาธารณสุขอําเภอ

Page 97: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

5) มีการจัดอบรมเจาหนาทีเ่ทศบาลอยางตอเนื่อง 5. แนวทางในการพัฒนางาน คบส. ในระดับทองถ่ิน

1) ดําเนนิการตรวจสอบฉลากผลิตภัณฑในรานขายของชํา เขตเทศบาล ปละ 2 คร้ัง 2) ใหคําแนะนําเรื่องการตรวจสอบฉลากแกผูบริโภค และผูประกอบการ 3) แตงตั้งคณะทํางานในระดับทองถ่ิน และสรางเครือขายแกนนําในระดับทองถ่ิน 4) จัดประชุม อบรม ผูประกอบการเพื่อช้ีแจงแนวทางการดําเนินงาน 5) นํากฎหมายมาบังคับใชใหเปนรูปธรรม

6. แผนการปฏิบัติงานดานอาหาร ป 2551 ของเทศบาล (โดยมี สสจ. เปนพี่เล้ียง) 1) ดําเนนิการการตรวจสอบอยางนอย ปละ 2 คร้ัง 2) จัดทําโครงการพัฒนาตลาดสดเขาสูระดบั 5 ดาว 3) เผยแพรความรูดานฉลากอาหาร

7. บทบาทของเทศบาลหลังจากไดรับการแตงตั้งเปนพนกังานเจาหนาที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522

88

1) รวมดําเนินการการตรวจสอบอยางนอย ปละ 2 คร้ัง กับทางสํานักงานสาธารณสุขอําเภอ 8. ระบบเครือขายประสานงานระดับจังหวัด

1) ควรมีตัวแทนเจาหนาที่ระดับจังหวัดเปนพี่เล้ียงใหกับทางอําเภอกลุมงานคุมครองผูบริโภคระดับทองถ่ิน สถานีอนามัย สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ โรงพยาบาลชุมชน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด

9. ขอเสนอแนะอื่นๆ 1) ควรเนนใหทางเทศบาลใชการประชาสัมพันธ เชน เสยีงตามสาย ชี้แจงในที่ประชุมผูใหญบาน ทีป่ระชุมหมูบาน แกผูบริโภค ใหทราบถึงวธีิการดูฉลากกอนเลือกซ้ือสินคา

3.2 แบบสรุปผลการตรวจสอบเครื่องสําอาง ณ สถานที่จําหนาย จังหวัดอุตรดิตถ 1. จํานวนสถานที่จําหนายเครือ่งสําอางที่ตรวจสอบ 14 แหง 2. จํานวนผลิตภณัฑเครื่องสําอางที่ทําการตรวจสอบ…95...รายการ พบขอบกพรอง…19…รายการ

1) การแสดงฉลากไมถูกตองเชนไมมีฉลากภาษาไทย วนัผลิต วนัหมดอายุ มีขอความโฆษณาเกนิจริง 2) พบเครื่องสําอางที่มีสารอันตรายที่ อย. ประกาศหามจําหนาย 3) พบสวนผสมของสารหามใชในเครื่องสําอาง

3. ปญหาอุปสรรคในการดําเนนิงาน 1) ผูประกอบการไมใหความรวมมือ ผูบริโภคขาดความรู 2) เจาหนาทีข่าดประสบการณ 3) ขาดการประชาสัมพันธที่ทั่วถึงแกผูบริโภค และผูประกอบการ 4) แนวนโยบายของผูบริหารเทศบาล ไมคอยเนนดานสาธารณสุข

Page 98: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

5) ยังไมมีการดําเนินการทางกฎหมาย 4. ส่ิงที่ตองการสนับสนุนและขอเสนอแนะในการดําเนินการตรวจสอบเครื่องสําอาง

1) ผูเชียวชาญดานเครื่องสําอาง สําหรับการจัดอบรมเจาหนาที่เทศบาล 2) มีการประชาสัมพันธที่ทั่วถึงแกผูบริโภค และผูประกอบการ 3) เอกสารวิชาการใหความรู เชน คูมือ แผนพับ โปสเตอร 4) บัตรพนักงานเจาหนาที ่

5) สนับสนุนชุดตรวจสอบเครื่องสําอางเบื้องตน 5. แนวทางในการพัฒนางาน คบส. ในระดบัทองถ่ิน

1) จัดทํานโยบายเสนอผูบริหาร และสนับสนุนงบประมาณ 2) การประชาสัมพันธใหความรูแกผูบริโภค และผูประกอบการ 3) นํากฎหมายมาบังคับใชใหเปนรูปธรรม 4) สรางเครือขายแกนนําในระดับทองถ่ิน

89

6. แผนการปฏิบัติงานดานเครื่องสําอาง ป 2551 ของเทศบาล (โดยมี สสจ. เปนพีเ่ล้ียง) 1) ดําเนนิการการตรวจสอบอยางนอย ปละ 2 คร้ัง 2) ประชาสัมพันธใหความรูแกผูบริโภค และผูประกอบการ

7. บทบาทของเทศบาลหลังจากไดรับการแตงตั้งเปนพนักงานเจาหนาที่ตาม พ.ร.บ. เครื่องสําอาง พ.ศ. 2535 1) รวมดําเนินการการตรวจสอบอยางนอย ปละ 2 คร้ัง กับทางสํานักงานสาธารณสุขอําเภอ 2) ประชาสัมพันธใหความรูแกผูบริโภค และผูประกอบการ

8. ระบบเครือขายประสานงานระดับจังหวัด 1) กลุมงานคุมครองผูบริโภคระดับทองถ่ิน สถานีอนามัย สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ

โรงพยาบาลชุมชน สํานักงานสาธารณสุขจังหวดั ปญหา อุปสรรค 1) บางเทศบาลยังไมเหน็ความสําคัญในงานดานสาธารณสุข 2) บุคลากรของเทศบาลขาดความรู ความเขาใจในดานสาธารณสุข 3) กฎหมายทางดานสาธารณสุขเปนกฎหมายเฉพาะ ทําความเขาใจยาก 4) ทางเทศบาลไมสามารถเครงครัดในบางเรื่องได เนื่องจากจะมีปญหาดานคะแนนนิยม สงผลใน

การเลือกตัง้ในสมัยตอไป ขอเสนอแนะ 1) ควรมีการประสานทําความเขาใจในการถายโอนภารกิจในระดับกระทรวง เพื่อใหมีการสั่งการของกระทรวง เทศบาลจะไดเห็นในความสาํคัญมากขึ้น

Page 99: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2) คุณสมบัตขิองพนักงานเจาหนาที่ตาม พระราชบัญญัติอาหารและเครื่องสําอาง ควรเปดกวางกวา นี้เพื่อใหครอบคลุมตําแหนงของทางเทศบาล ภาพกจิกรรม ภาคทฤษฎ ี

90

ภาคปฏิบัติ แบงกลุมเปน 3 กลุม ดังนี ้ กลุมที่ 1 สาธิตการตรวจสอบฉลากอาหารและเครื่องสําอาง

กลุมที่ 2 สาธิตการตรวจสอบเบื้องตนสารปนเปอนในอาหาร

Page 100: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

กลุมที่ 3 สาธิตการตรวจสอบเบื้องตนสารหามใชในเครือ่งสําอาง

91

การสรุปผลการตรวจสอบอาหารและเครื่องสําอางรวมกันอภิปรายเรื่องปญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะ และวางแผนการดําเนินงานรวมกัน

3.7 โครงการสํารวจสถานการณการใชวัตถุเจือปนอาหารโซเดียมไนเตรตและโซเดียม ไนไตรตในอาหาร จังหวัดอุตรดิตถ

ความเปนมา ตามที่มีอุบัติการณของโรค Methaemoglobin ในเด็กที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาในวันที่ 14 พฤษภาคม 2550 ซ่ึงมีอาการหนาซีด ปากซีดเขียว ปลายมือปลายเทาเขียวออนแรง เนื่องจากภาวะเม็ดเลือดแดงขาดออกซิเจน(Methaemoglobin) ทั้งนี้ จากการสอบสวนพบวาเกิดจากการบริโภคไสกรอกไก ซ่ึงมี

Page 101: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ปริมาณสารไนไตรตใน ไสกรอกไก มากกวา 3,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม นอกจากนี้ พบวามีผูปวยจํานวน 24 ราย ในอําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย กินไกทอดผสมไนไตรตซ่ึงทําตามหลักสูตรอบรมการสอน โดยเกิดอาการปากเขียว เล็บเขียว หลังจากการบริโภคเพียง 30 นาที นอกจากนี้ยังตรวจพบสารไนไตรตในแหนมที่ผลิตโดยใชผงหมักชนิดเดียวกับไกสูงถึง 15,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ซ่ึงปริมาณสูงสุดที่อนุญาตใหใชในแหนมนั้นไมเกิน 12 มิลลิกรัม/กิโลกรัม สวนไกทอดนั้นไมอนุญาตใหใช ดังนั้นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงไดสนับสนุนใหสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถจัดทําโครงการสํารวจสถานการณการใชวัตถุเจือปนอาหารโซเดียมไนเตรตและโซเดียมไนไตรตในอาหาร เพื่อเปนขอมูลในการจัดการความเสี่ยงของผูบริโภคตอไป วัตถุประสงค 2.1 เพื่อทําการเก็บตัวอยางอาหารที่มีความเสี่ยงตอการใชวัตถุเจือปนโซเดียมไนเตรต และโซเดียม

ไนไตรต 2.2 เพื่อเก็บขอมูลการใชวัตถุเจือปนโซเดยีมไนเตรต และโซเดียมไนไตรตในอาหาร เปาหมาย ตัวอยางอาหารไดแก ไสกรอกหมู ไสกรอกไก กนุเชยีงหมู หมูยอ แหนม และผลิตภณัฑประจํา

92

ทองถ่ิน จํานวน 36 ตัวอยางในอําเภอเมือง และอําเภอพิชยั(ตามที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยากําหนด) วิธีดําเนนิการ 4.1 สุมเก็บตัวอยางอาหาร 36 ตัวอยาง ในวันที่ 3 - 5 กันยายน 2550 4.2 เจาหนาทีท่ําการสอบถามและบันทึกขอมูล 4.3 สงตัวอยางอาหารตรวจยงัศูนยวทิยาศาสตรการแพทยพิษณุโลก 4.4 สรุปผลตรวจวิเคราะหและแบบสอบถามขอมูล สงกลุมกํากับดูแลหลังออกสูตลาด

กองควบคุมอาหาร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา งบประมาณ งบประมาณจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

1. คาเก็บตัวอยางผลิตภัณฑ 2,520 บาท 2. คาเบี้ยเล้ียงเจาหนาที ่ 1,296 บาท 3. คาตรวจวิเคราะห 36,000 บาท 4. คาถายเอกสาร 484 บาท

รวม 40,300 บาท ผลการดําเนินการ สรุปผลการตรวจวิเคราะห รหัสตัวอยางอาหารเปนตวัเลข 4 หลักตามดวยช่ือผลิตภณัฑ

Page 102: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

หลักที่ 1 และ 2 คือ รหัสจังหวัด ( อุตรดิตถ คือ 53 ) หลักที่ 3 คือ รหัสพื้นที่เก็บตวัอยางอาหาร ( อําเภอเมือง คือ 1 , อําเภอพิชัย คือ 2 ) หลักที่ 4 คือ รหัสแหลงจําหนายตวัอาหาร ( ตลาดสด คือ 1 , ตลาดนัด คอื 2 , หนาโรงเรียน คือ 3 , หาบเรที่เปนการเรขายเองตามหมูบาน คือ 4 ) ตารางที่ 22 ผลการตรวจวเิคราะหโซเดียมไนเตรตและโซเดียมไนไตรตในอาหาร

ลําดับท่ี รหัสตัวอยาง ปริมาตรไนเตรต

(มิลลิกรัม/กิโลกรัม) ปริมาณไนไตรต

(มิลลิกรัม/กิโลกรัม) คํานวณเปนโซเดียมไนไตรต

1 5311 ไสกรอกหมู ไมพบ 18.19 2 5311 ไสกรอกไก 53.97 ไมพบ 3 5311 กุนเชียงหมู ไมพบ 12.02 4 5311 หมูยอ ไมพบ 12.08 5 5311 แหนม ไมพบ ไมพบ 6 5311 ผลิตภัณฑประจําทองถ่ิน ไมพบ 36.21

93

ลําดับท่ี รหัสตัวอยาง ปริมาตรไนเตรต (มิลลิกรัม/กิโลกรัม)

ปริมาณไนไตรต (มิลลิกรัม/กิโลกรัม)

คํานวณเปนโซเดียมไนไตรต 7 5312 ไสกรอกหมู 42.59 17.73 8 5312 ไสกรอกไก ไมพบ ไมพบ 9 5312 กุนเชียงหมู ไมพบ 19.74 10 5312 หมูยอ ไมพบ ไมพบ 11 5312 แหนม 49.71 ไมพบ 12 5312 ผลิตภัณฑประจําทองถ่ิน ไมพบ 10.21 13 5313 ไสกรอกหมู ไมพบ ไมพบ 14 5313 ไสกรอกไก 197.19 93.42 15 5314 กุนเชียงหมู ไมพบ 22.24 16 5313 หมูยอ ไมพบ 10.50 17 5314 แหนม ไมพบ ไมพบ 18 5313 ผลิตภัณฑประจําทองถ่ิน ไมพบ ไมพบ 19 5321 ไสกรอกหมู ไมพบ ไมพบ 20 5321 ไสกรอกไก ไมพบ ไมพบ

Page 103: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

21 5321 กุนเชียงหมู ไมพบ 14.33 22 5321 หมูยอ ไมพบ ไมพบ 23 5321 แหนม 76.46 12.70 24 5321 ผลิตภัณฑประจําทองถ่ิน ไมพบ ไมพบ 25 5322 ไสกรอกหมู 213.44 103.95 26 5322 ไสกรอกไก ไมพบ ไมพบ 27 5322 กุนเชียงหมู 42.09 29.63 28 5322 หมูยอ ไมพบ ไมพบ 29 53 22 แหนม ไมพบ 10.48 30 5322 ผลิตภัณฑประจําทองถ่ิน ไมพบ 16.18 31 5323 ไสกรอกหมู ไมพบ 17.39 32 5323 ไสกรอกไก 249.43 113.47 33 5324 กุนเชียงหมู ไมพบ ไมพบ 34 5323 หมูยอ ไมพบ ไมพบ

94

ลําดับท่ี รหัสตัวอยาง ปริมาตรไนเตรต (มิลลิกรัม/กิโลกรัม)

ปริมาณไนไตรต (มิลลิกรัม/กิโลกรัม)

คํานวณเปนโซเดียมไนไตรต 35 5323 แหนม ไมพบ ไมพบ 36 5324 ผลิตภัณฑประจําทองถ่ิน ไมพบ 10.38

หมายเหตุ * ไนเตรต (มิลลิกรัม/กิโลกรัม) มาตรฐานกําหนด ไมเกิน 500 ** ไนไตรต (มิลลิกรัม/กิโลกรัม) คํานวณเปนโซเดียมไนไตรต มาตรฐานกําหนด ไมเกิน 125

จากตารางไมพบวามีการใสโซเดียมไนเตรตและโซเดียมไนไตรตเกนิมาตรฐาน ขอเสนอแนะ การโอนเงินงบประมาณจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาในการทําโครงการลาชา ควรโอนใหกอนเดอืนสิงหาคม เนื่องจากตองใชเวลาในการอนุมัติโครงการและทําหลักฐานเบิกจายเงินคาซื้อตัวอยาง

Page 104: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

95

4. งานสงเสริมองคกรผูบริโภคในชุมชน

1. การพัฒนาศักยภาพผูบริโภค 1.1 ตัวชี้วัดและเปาหมาย

1.1.1 ผูบริโภครูสิทธิผูบริโภค รอยละ 90 1.1.2 ผูบริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่ถูกตอง รอยละ 85

1.2 ผลการดําเนินงาน 1.2.1 การรณรงคใหผูบริโภครูสิทธิ และรองเรียนหากถูกละเมิดสิทธิ

1.2.1.1 การจัดกิจกรรมรณรงควันคุมครองผูบริโภค ประจําป 2550 ระยะเวลาดําเนินการกจิกรรม วันที่ 30 เมษายน 2550 เวลา 8.30-16.30 น. สถานที่จัดกิจกรรม ชานชลาสถานีรถไฟจังหวดัอุตรดิตถ หนวยงานที่รับผิดชอบ กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัอุตรดิตถ รวมกับ สํานักงานพาณิชยจังหวดัอุตรดิตถ บูรณาการการจัดกิจกรรม รวมกับคณะอนกุรรมการคุมครองผูบริโภคประจําจังหวัดอตุรดิตถ ทั้ง 4 คณะ และ มีหนวยงานทัง้ภาครัฐและภาคเอกชนเขารวม คือ

Page 105: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

1. โรงเรียนอุตรดิตถ โดย.ชมรม อย.นอย โรงเรียนอุตรดิตถ 2. ชมรมผูบริโภคจังหวดัอุตรดติถ

ผลการดําเนินงาน 1. จัดนิทรรศการ ปายนทิรรศการ (Rollup) จํานวน 12 เร่ือง ครอบคลุมเนื้อหาความรูทั้ง 4 ดาน

คือ ดานฉลาก ดานโฆษณา ดานสัญญา ดานการขายตรงและตลาดแบบตรง 2. ตั้งโตะรับเรื่องรองเรียนและใหคําปรึกษาเรื่องรองเรียน มีผูมารองเรียน 2 เร่ืองคือ 2.1.รองเรียนรานคาที่สถานีรถไฟจังหวัดอตุรดิตถขายของแพง พูดจาไมสุภาพ 2.2.รองเรียนเรื่องการทําสัญญาค้ําประกันเงินกูสหกรณออมทรัพยครู

ทั้ง 2 เร่ืองสํานักงานพาณิชยจังหวดัอุตรดิตถรับเรื่องไปแกไข 3.แจกเอกสารแผนพับ โดยไดรับการสนับสนุนแผนพับความรูทัง้ 4 ดาน จากสํานักงานจังหวดั อุตรดิตถ

4. ตอบปญหาชิงรางวัล จํานวน 20 คําถาม 5. แจกแบบสอบถามการประเมินความรูและพฤติกรรมการบริโภคเกี่ยวกับผลิตภัณฑสุขภาพ จํานวน 78 ชุด ตอบกลับมา 78 ชุด คิดเปนรอยละ 100

96

จํานวนผูเขารวมกิจกรรม มีผูเขาชมกิจกรรมประมาณ 100 คน มีทั้งประชาชนในจังหวัดอุตรดิตถและจังหวดัใกลเคียงที่มาใชบริการสถานีรถไฟอุตรดิตถ ปญหาและอุปสรรค 1.สํานักงานจังหวัดอุตรดิตถประสานงานลาชามีเวลากอนการดําเนนิกจิกรรมนอย 2.ไมไดรับความรวมมือจากภาคราชการเทาที่ควร 3.ไมมีไฟฟาใช เนื่องจากนายสถานีรถไฟไมอนุญาตใหใชไฟฟาในการใชเครื่องขยายเสียง 4.ลมกรรโชคแรงทําใหปายนิทรรศการลม

ผลการสํารวจความรูและพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพของประชาชน ในวนัคุมครองผูบริโภค 30 เมษายน 2550 สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป ประชาชนผูบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพทั่วไปที่มาใชบริการที่สถานีรถไฟอุตรดิตถ ในวันคุมครองผูบริโภค 30 เมษายน 2550 ในชวงเวลา 08.00 - 16.00 น. จํานวน 78 คน ประกอบดวยเพศหญิง 52 คน (รอยละ67) เพศชาย 26 คน(รอยละ33) ประชาชนสวนใหญมีอายตุ่ํากวา 25 ป (รอยละ55) ดังตารางที่ 23

ตารางที่ 23 แสดงอายุของผูตอบแบบสอบถาม

อายุ จํานวน รอยละ

Page 106: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ต่ํากวา 25 ป 43 55

26 – 35 ป 9 12

36 – 45 ป 14 18

46 – 55 ป 4 5

56 – 65 ป 4 5

66 – 75 ป 4 5

รวม 78 100

ระดับการศึกษา ระดับการศึกษาของผูตอบแบบสอบถามสวนใหญอยูในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย / ปวช. (รอยละ 36) รองลงมา คือ ระดับปริญญาตรี (รอยละ 21) และอยูในระดับอื่นๆ นอยที่สุด (รอยละ 1) ดังตารางที่ 24

97

ตารางที่ 24 แสดงระดับการศึกษาของผูตอบแบบสอบถาม

ระดับการศึกษา จํานวน รอยละ ประถมศึกษา 11 14 มัธยมศึกษาตอนตน 10 13 มัธยมศึกษาตอนปลาย / ปวช. 28 36 ปวท. / ปวส. / อนุปริญญา 12 15 ปริญญาตรี 16 21 อ่ืน ๆ 1 1

รวม 78 100 อาชีพหลัก อาชีพหลักของผูตอบแบบสอบถามสวนใหญคืออาชีพนกัเรียน / นักศกึษา (รอยละ 41) รองลงมาคืออาชีพรับจาง (รอยละ 14) และอาชีพอ่ืน ๆ นอยที่สุด (รอยละ 4) ดังตารางที่ 25

ตารางที่ 25 แสดงอาชีพหลักของผูตอบแบบสอบถาม

Page 107: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

อาชีพหลัก จํานวน รอยละ รับราชการ 9 12 พนักงานราชการรัฐวิสาหกิจ 4 5 เกษตรกรรม 3 4 รับจาง 11 14 ขาราชการบํานาญ 7 9 แมบาน 5 6 คาขาย 4 5 นักเรียน / นักศึกษา 32 41 อ่ืน ๆ 3 4

รวม 78 100

98

สถานภาพสมรส สถานภาพสมรสของผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ คือ สถานภาพโสด (รอยละ65 ) รองลงมาคือ สถานภาพคู (รอยละ 32) ดังตารางที่26

ตารางที่ 26 แสดงสถานภาพสมรสของผูตอบแบบสอบถาม

สถานภาพสมรส จํานวน รอยละ โสด 51 65 คู 25 32 มาย/หยา/แยก 2 3

รวม 78 100 รายไดตอเดือนของผูตอบแบบสอบถาม รายไดตอเดือนของผูตอบแบบสอบถามสวนใหญอยูในชวง ต่ํากวา 3,000 บาท/เดือน (รอยละ 47) รองลงมาอยูในชวง 3,001– 8,000 บาท (รอยละ 25) ดังตารางที่ 27

ตารางที่ 27 แสดงรายไดตอเดือนของผูตอบแบบสอบถาม

Page 108: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

รายได จํานวน รอยละ ต่ํากวา 3,000 บาท / เดือน 37 47 3,001 – 8,000 บาท / เดือน 19 25 8,001 – 13,000 บาท / เดือน 10 13 13,001 – 18,000 บาท / เดือน 4 5 18,001 – 23,000 บาท / เดือน 4 5 23,001 – 28,000 บาท / เดือน 0 0 28,001 – 33,000 บาท / เดือน 3 3 33,001 – 38,000 บาท / เดือน 1 1

รวม 78 100 ท่ีอยูปจจุบันของผูตอบแบบสอบถาม ที่อยูปจจุบนัของผูตอบแบบสอบถามสวนใหญอยูในอําเภอเมือง (รอยละ 35) รองลงมาอยูในจังหวดัอ่ืนๆ(รอยละ21) ดังตารางที่ 28

99

ตารางที่ 28 แสดงที่อยูปจจบุันของผูตอบแบบสอบถาม

ที่อยูปจจุบนั จํานวน รอยละ อําเภอ เมือง 27 35 อําเภอ ลับแล 5 6 อําเภอ ตรอน 3 4 อําเภอ ทองแสนขัน 3 4 อําเภอ ทาปลา 5 6 อําเภอ น้ําปาด 3 4 อําเภอ ฟากทา 1 1 อําเภอ บานโคก 0 0 อําเภอ พิชยั 15 19 อ่ืนๆ(ตางจังหวัด) 16 21

รวม 78 100

สวนท่ี 2 ขอมูลพฤติกรรมของผูบริโภค

Page 109: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ความรูเก่ียวกับผลิตภัณฑสขุภาพ ความรูเกี่ยวกบัผลิตภัณฑสุขภาพในกลุมประชาชนผูบริโภคในจังหวดัอุตรดิตถสวนใหญ มีความรูในเรื่อง ผลิตภัณฑยาทุกชนดิตองระบุวนัที่ผลิตและวันหมดอายเุปนสวนใหญ (รอยละ 97) ไมมคีวามรูและไมทราบวาฉลากของผลิตภัณฑเสริมอาหาร ไมสามารถโฆษณาสรรพคุณทางยาในการปองกันหรอืรักษาโรคเชนลดความอวน ปองกนัมะเร็งได (รอยละ56) ดังตารางที่ 29 ตารางที่ 29 ความรูเกีย่วกับผลิตภัณฑสุขภาพ

ตอบถูก ตอบผิด ไมทราบ ความรู

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ 1. ฉลาก”ควรบริโภคกอน 04/09/06”หมายถึง ควรบริโภคผลิตภัณฑนี้กอนวันที่ 4 เดือน กันยายน ค.ศ. 2006 (พ.ศ.2549)

73 94 2 2.6 3 4

2. การแสดงเครื่องหมาย หรือที่เรียกวาเลขสารบบอาหารหมายความวา ผลิตภัณฑนั้นได ยื่นขอและไดรับอนุญาตจาก อ.ย. หรือสํานกังานสาธารณสุขจังหวัดแลว

75 96 0 0 3 4

100

ตอบถูก ตอบผิด ไมทราบ ความรู

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ 3. สารเรงเนื้อแดงเปนสารทีก่ระทรวงสาธารณสุขไมอนุญาตใหมีการนําไปใชในการเลี้ยงหมูได

62 79 10 13 6 8

4. การรับประทานอาหารทอด ที่ทอดดวยน้ํามันทอดซ้ําอาจทําใหเกิดมะเร็ง

75 96 0 0 3 4

5. ถ่ัวงอกหรอืหนอไมที่มีสีขาวผิดปกติ อาจใชสารฟอกขาวซึ่งเปนพิษตอผิวหนังและระบบทาง เดินอาหาร

73 94 1 1 4 5

6. ฉลากของผลิตภัณฑเสริมอาหาร สามารถโฆษณาสรรพคุณทางยาในการปองกันหรอืรักษาโรคเชนลดความอวน ปองกนัมะเร็งได

34 44 18 23 26 33

7. กฎหมายกําหนดใหเครื่องสําอางทุกชนิดที่วางขายในประเทศไทยตองมีฉลากภาษาไทย

51 65 6 8 21 27

Page 110: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

8. กอนใชเครือ่งสําอางที่ไมเคยใชควรทดสอบการแพ

68 87 2 3 8 10

9. การใชผลิตภัณฑทาฝาที่ผสมสารหามใช อาจทําใหเกดิฝาถาวร

51 65 4 5 23 30

10. ผลิตภัณฑยาที่ไมมีเลขทะเบียนตํารับยาไมสามารถนํามาใชไดอยางปลอดภัย

66

85

8 10 4 5

11. ผลิตภัณฑยาทุกชนดิตองระบุวันที่ผลิตและวันหมดอาย ุ

76 97 1 1 1 1

12. ยากอนอาหารตองทานกอนอาหารอยางนอย 30 นาที

71 91 1 1 6 7

ความรูเก่ียวกับสิทธิผูบริโภคและชองทางการรองเรียน ความรูของกลุมประชาชนผูบริโภคและชองทางการรองเรียนที่ตอบถูกตองมากที่สุด คือ เร่ืองสิทธิที่

จะไดรับสินคาหรือบริการที่ปลอดภัย (รอยละ 97) รองลงมาคือ เร่ืองสิทธิในการสอบถามขอมูลเพิ่มเติมจากผูขายกอนตัดสินใจซื้อ (รอยละ 96) และ เร่ืองสิทธิในการเรียกรองคาชดเชยหรือคาเสียหายจากผูขายหรือผูผลิตเมื่อไดรับอันตรายหรือความเสียหายจากการบริโภคสินคาหรือบริการนอยที่สุด (รอยละ 71) ดงัตารางที่ 30

101

ตารางที่ 30 แสดงความรูของผูบริโภคเกี่ยวกับสิทธิผูบริโภคและชองทางการรองเรียน

ตอบถูก ตอบผิด ไมทราบ ความรู จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

1. กอนที่ทานจะตัดสินใจซือ้สินคา ทาน มีสิทธ ิ ถามขอมูลเพิ่มเติมจากผูขายได

75 96 2 3 1 1

2. ทานตองซื้อสินคาหรือบริการนั้นๆ หากไดทดลองหรอืชิมสินคานั้นแลว

57 73 16 21 5 6

3. บริโภคมีสิทธิที่จะไดรับสินคาหรือบริการที่ปลอดภัย

76 97 0 0 2 3

4. เมื่อทานไดรับอันตรายหรือความเสยีหายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ ทานไมมีสิทธิที่จะเรียกรองคาชดเชยหรือคาเสียหายจากผูขายหรือผูผลิตได

55 71 17 22 6 7

Page 111: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ความรูเก่ียวกับชองทางการรองเรียน ประชาชนผูบริโภครูจักชองทางการรองเรียนทางสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) มากทีสุ่ด (รอยละ 62) รองลงมาคือ ทางสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (รอยละ 60) และทางสายดวน แมบานนอยที่สุด (รอยละ 17) ดังตารางที่ 31 ตารางที่ 31 แสดงชองทางรองเรียนที่ผูบริโภครูจัก

ได ไมได ชองทางการรองเรียน

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ 1. โทรศัพทสายดวน อย. 1556 34 44 44 56 2. โทรศัพทสายดวน สคบ.1166 16 21 62 79 3. โทรศัพทสายดวนแมบาน 13 17 65 83 4. ศูนยดํารงธรรม 18 23 60 77 5. ชมรมผูบริโภคจังหวัดอตุรดิตถ 19 33 38 67 6. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) 48 62 30 38 7. สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา(อย.) 47 60 31 40 8. สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (สคบ.) 41 53 37 47

102

สวนท่ี 3 พฤติกรรมการบริโภคผลติภณัฑสุขภาพและการปกปองสิทธิของตนเอง พฤติกรรมการบริโภคผลิตภณัฑสุขภาพ ประชาชนผูบริโภคสวนใหญมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพในเรื่องการปฏิบัติตามคําแนะนําการใชผลิตภัณฑสุขภาพตามที่ระบุบนฉลากเปนประจํา (รอยละ69) รองลงมาไดแก การบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่มีขอมูลบนฉลากผลิตภัณฑควบถวนเปนประจํามากที่สุด (รอยละ68) และประชาชนสวนใหญไมมีพฤตกิรรมซื้อยาจากการขายตรง เชน รถเร พนักงานขายตรงตามบาน (รอยละ59 ไมเคยปฏิบัติเลย มีเพียงรอยละ8 ที่ปฏิบัติเปนประจํา) แตผูบริโภคสวนใหญเลือกซื้อผลิตภัณฑอาหาร ยา เครื่องสําอาง โดยเชื่อถือตามคําโฆษณาหรือสรรพคุณอวดอาง (มีผูไมเคยปฏิบัติเพียงรอยละ 24) ดังตารางที่ 32

ตารางที่ 32 แสดงพฤติกรรมบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ

ระดับการปฏบิัติที่ถูกตอง เปนประจํา บางครั้ง นานๆครั้ง ไมเคยปฏิบัติ พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

Page 112: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

1.ทานไดอานสาระสําคัญบนฉลากกอนซือ้หรือกอนบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ เชน ชือ่ผลิตภัณฑ วันหมดอายุ สถานที่ผลิต เปนตน

46 59 31 40 1 1 0 0

2.ทานเคยนําอาหารชนิดเดี่ยวกันมาเปรียบ เทียบสวนประกอบสําคัญวามีความแตกตางกันหรือไมกอนที่จะเลือกซ้ืออาหารชนิดนัน้ๆ

28 36 36 46 8 10 6 8

3.ทานดูชนิดของสารอาหารที่ตองการหลีก เล่ียงจากขอมูลโภชนาการบนฉลาก เชน ไขมัน น้ําตาล โซเดียม โคเลสเตอรอล เปนตน

25 32 42 54 5 6 6 8

4.ทานเลือกซ้ืออาหารสดจากแผงขายอาหารที่มีปายอาหารปลอดภัย (Food safety) จากกระทรวงสาธารณสุขติดกับไว

35 45 35 45 6 8 2 2

5.ทานปฏิบัติตามคําแนะนําการใชผลิตภัณฑสุขภาพตามทีร่ะบุบนฉลาก

54 69 19 24 4 5 1 1

6.ทานเลือกซื้อผลิตภณัฑอาหาร,ยา,เครื่องสาํอางโดยเชื่อถือตามคําโฆษณาหรอืสรรพคณุอวดอาง

5 6 32 41 22 28 19 24

7.ทานซื้อยาชุดหรือยาลูกกลอนมารับประทานเมื่อรูสึกไมสบาย

5 6 12 15 23 29 38 49

103

ระดับการปฏบิัติที่ถูกตอง เปนประจํา บางครั้ง นานๆครั้ง ไมเคยปฏิบัติ พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

8.ทานหลีกเลี่ยง ไมซ้ือ ไมกินไมใช ผลิตภัณฑสุขภาพที่ไมแนใจในความปลอดภัย เชน อาหารที่ใสสารบอแรกซ เครื่องสําอางที่ผสมสารปรอทแอมโมเนีย

39 50 15 19 10 13 14 18

9.ทานบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่มีขอมูลบนฉลากผลิตภัณฑควบถวน

53 68 23 29 2 3 0 0

10.ทานซื้อยาจากการขายตรง เชน รถเร พนักงานขายตรงตามบาน

6 8 15 19 11 14 46 59

พฤติกรรมการปกปองสิทธิผูบริโภค

Page 113: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

การไดรับอันตรายหรือเสียหายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ กลุมประชาชนผูบริโภคสวนใหญไมเคยไดรับอันตรายหรือเสียหายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ

(รอยละ 64) ดงัตารางที่ 33

ตารางที่ 33 แสดงการไดรับอันตรายหรือเสียหายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ

การไดรับอันตราย จํานวน รอยละ

เคย 15 19 ไมเคย 50 64 ไมแนใจ 13 17 รวม 78 100

การรองเรียนไปยงัหนวยงานที่คุมครองผูบริโภค เม่ือไดรับอันตรายหรือความเสียหายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ กลุมประชาชนผูบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่เคยไดรับความเสียหายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ จํานวน 15 คน ยังไมคอยกระตือรือรนที่จะรองเรียนไปยังหนวยงานที่คุมครองผูบริโภค มีเพียง 9 คน (รอยละ 60) เทานั้นทีด่าํเนินการรองเรียน อีก 6 คน(รอยละ 40)ไมรองเรียน ดังตารางที่ 34

104

ตารางที่ 34 แสดงการรองเรียนไปยังหนวยงานที่คุมครองผูบริโภคเมื่อไดรับอันตราย หรือความ เสียหายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ

การรองเรียน จํานวน รอยละ รองเรียน 9 60 ไมรองเรียน 6 40 รวม 15 100

การรองเรียนไปยงัหนวยงานที่คุมครองผูบริโภค หากในอนาคตไดรับอันตรายหรอืความเสียหายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ

ในอนาคตกลุมประชาชนผูบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพสวนใหญคิดวาจะรองเรียนไปยังหนวยงานที่คุมครองผูบริโภคหากไดรับความเสียหายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ (รอยละ 77) ดังตารางที่ 35

ตารางที่ 35 แสดงการรองเรียนไปยังหนวยงานที่คุมครองผูบริโภคหากในอนาคตไดรับอันตราย

Page 114: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

หรือความเสียหายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ

การรองเรียนในอนาคต จํานวน รอยละ

รองเรียน 60 77

ไมรองเรียน 5 6 ไมแนใจ 13 17

รวม 78 100

เหตุผลท่ีกลุมประชาชนผูบริโภคผลติภณัฑสุขภาพคดิจะไมรองเรียน เม่ือไดรับความเสียหายหรือไดรับอันตราย จากการบริโภคสินคาหรือบริการ เหตุผล ในการไมรองเรียนของกลุมประชาชนผูบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ สวนใหญ คือไมทราบวาจะรองเรียนไดที่ไหน(รอยละ 24) รองลงมาคือ การกลัวความยุงยาก (รอยละ 23) และไมมีเวลา (รอยละ 16) และอ่ืนๆ นอยที่สุด (รอยละ 3) ไดแก เคยรองเรียนแลวไมไดรับการตอบสนองจากภาครัฐ , กลัววารองเรียนไปแลวจะไมมกีารดําเนินการอยางจริงจัง , อยากใหภาครฐัดําเนินการเฝาระวังอยางจรงิจังมากกวาจะไดไมตองมีปญหาใหรองเรียน ดงัตารางที่ 36

105

ตารางที่ 36 แสดงเหตุผลในการไมรองเรียนของกลุมประชาชนผูบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ เมื่อ ไดรับความเสียหายหรือไดรับอันตรายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ

เหตุผล จํานวน รอยละ ไมมีเวลา 27 16 ไมทราบวาจะรองเรียนไดทีไ่หน 42 24 ไมเห็นวาสําคัญ , เสียเวลาเปลา 7 4 ไมอยากมีเร่ืองราวกับผูประกอบการ 26 15 กลัวเสียเงนิ 10 6 กลัวความยุงยาก 40 23 ไมทราบวาจะรองเรียนอยางไร 15 9 อ่ืนๆ 6 3

รวม 173 100

Page 115: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

สรุปและวิจารณผลการสํารวจความรูและพฤติกรรมการบริโภคผลติภณัฑสุขภาพของประชาชนทั่วไป ในวันคุมครองผูบริโภค 30 เมษายน 2550 ณ สถานีรถไฟอุตรดิตถ

1. ประชาชนสวนใหญที่สํารวจ อายนุอยกวา25ป (รอยละ55) มีระดับการศึกษามธัยมศึกษาตอนปลาย ปวช. (รอยละ 36) มีอาชีพเปนนกัเรยีน/ นักศึกษา(รอยละ 41) สถานภาพสมรสสวนใหญเปนโสด(รอยละ 65) มีภูมิลําเนาอยูในอําเภอเมืองจังหวดัอุตรดิตถ (รอยละ 35) และมีรายไดต่ํากวา 3,000 บาท/เดือน (รอยละ 47)

2. การสํารวจครั้งนี้ทําที่สถานีรถไฟอุตรดิตถทําใหประชากรมีความหลากหลายและมีประชากรรอยละ 21 ที่มีภูมิลําเนาอยูตางจังหวัด

3. ผูบริโภคมีความรูเร่ืองผลิตภัณฑยาทุกชนิดตองระบุวันที่ผลิต,วันหมดอายุ (รอยละ97)และผูบริโภคมีสิทธิที่จะไดรับสนิคาหรือบริการที่ปลอดภัยมากที่สุด (รอยละ97)

4. ประชาชนสวนใหญไมมีความรูและไมทราบวาฉลากของผลิตภัณฑเสริมอาหารไมสามารถโฆษณาสรรพคุณทางยาในการปองกันหรือรักษาโรคเชนลดความอวน ปองกันมะเร็งได (รอยละ56) และในเรื่องพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ ประชาชนยังมีพฤติกรรมที่ไมถูกตองในการเลือกซ้ือผลิตภัณฑอาหาร ยา เครื่องสําอางโดยสวนใหญจะเชื่อตามโฆษณาหรือสรรพคุณอวดอาง (มีผูไมเคยปฏิบัติเลยเพียงรอยละ 24) ดังนั้นปญหาอาหารเสริมโฆษณาเกินจริงจึงเปนปญหาที่สําคัญและมีประชาชนตกเปนเหยื่อเปนจํานวนมากในปจจุบัน ดังนั้นรัฐบาลตองมีการประชาสัมพันธในทุกสื่อและมีการคัดกรองขอความโฆษณาในสื่อทุกชนิดใหมีความเหมาะสม เพื่อใหประชาชนมีความรูความเขาใจและไมตกเปนเหยื่อของบริษัทขายตรงที่มีอยูอยาง

106

มากมายในปจจุบัน 5. ในเรื่องสิทธิผูบริโภคประชาชนไมมีความรูและไมทราบเรื่องสิทธิในการเรยีกรองคาชดเชยหรอื

คาเสียหายจากผูขายหรือผูผลิต เมื่อไดรับอันตรายหรือความเสียหายจากการบริโภคมากที่สุด (รอยละ 29) ดังนั้นรัฐบาลตองมีการประชาสัมพันธในทุกสื่อเพื่อใหประชาชนมีความรูความเขาใจในสิทธิของตนเอง

6. ในเรื่องชองทางรองเรียนผูบริโภคยังมีความรูชองทางรองเรียนในระดับต่ําสุดเมื่อเทียบกับความรูดานอื่นๆและสํานักงานสาธารณสุขจังหวดั(สสจ.)เปนที่รูจักมากที่สุด(รอยละ62) โทรศัพทสายดวนแมบานเปนที่รูจกันอยที่สุด (รอยละ17) อาจจะเปนเพราะวาภาครัฐยังมกีารประชาสัมพนัธนอยเกนิไปหรือมีหนวยงานหรือเบอรโทรศัพทที่ใชติดตอรองเรียนมากเกินไปทําใหประชาชนจําไมได รัฐนาจะจัดตั้งหนวยงานกลางขึ้น มารับรองเรียนเกี่ยวกบัเรื่องนี้โดยเฉพาะและมีเบอรโทรศัพทเพียงเบอรเดียวเชน1166 เปนหนวยงานกลางทาํหนาที่ประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของตอไป หรือจัดใหเบอรโทรศัพทที่รองเรียนเกี่ยวกับการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ มีเลขใกลเคียงกันเชน1166 1177 1188 1199 เพื่อใหผูบริโภคจดจําไดงาย

Page 116: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

107

1.2.2 การเผยแพรความรู ประชาสัมพันธ และรณรงคเก่ียวกับการเลือกซ้ือและการบริโภค ผลิตภัณฑสุขภาพ 1.2.2.1 การเผยแพรความรู ประชาสัมพนัธ ผาน ขาวสารสื่อสัมพันธผูบริโภค

ผลการดําเนินงาน กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ ไดจัดทําขาวสารสื่อสัมพันธผูบริโภค จํานวน 4 ฉบับ ๆ ละ 3,000 เลม ขนาด A4 พิมพ 4 สี จํานวน 16 หนา เพื่อถายทอดความรูและเผยแพรประชาสัมพันธขอมูลการคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพและบริการสุขภาพใหสมาชิกชมรมผูบริโภคจังหวดัอุตรดิตถ เครือขายชมรม อย.นอย ประชาชนทั่วไป ปญหาและอุปสรรค 1. ขาวสารสื่อสัมพันธผูบริโภคจัดทําทกุ 3 เดือน ทําใหขาวสารบางเรื่องไมทันสมัยตอเหตุการณ 2. สีสัน รูปภาพ ของขาวสารสื่อสัมพันธผูบริโภคยังไมชัดเจน

3. ตัวอักษร ของขาวสารสื่อสัมพันธผูบริโภค บางเรื่องเล็กเกินไปเพราะมีเนื้อหามาก ขอเสนอแนะ 1. ประเมินความพึงพอใจผูรับขาวสารสื่อสัมพันธผูบริโภค เพื่อปรับปรุงใหตรงความตองการ

Page 117: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2. ปรับปรุงเนื้อหาขาวสารสื่อสัมพันธผูบริโภคใหทันสมัยทันตอเหตกุารณ

1.2.2.2 การเผยแพรความรู ประชาสัมพนัธ ผาน วิทยุกระจายเสียง ผลการดําเนินงาน กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ ไดประชาสัมพันธขาวสารดานการคุมครองผูบริโภค ผาน สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย จังหวัดอุตรดิตถ คล่ืน 96.75 MHZ ทุกวันพุธ เวลา 09.00 – 10.00 น. ซ่ึงกลุมงานคุมครองผูบริโภคไดสงบทวิทยุกระจายเสียง และขาวเพื่อส่ือมวลชน ของกองพัฒนาศักยภาพผูบริโภค สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข เพื่อประชาสัมพันธทุกสัปดาห

108

1.2.3 สนับสนนุการรวมกลุมผูบริโภคและการสรางเครือขายการคุมครองผูบริโภค ผลการดําเนินงาน

กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ ไดรับงบประมาณจากสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (สคบ.) ผานทางคณะอนุกรรมการคุมครองผูบริโภคจังหวัดอุตรดิตถ 2 โครงการ คือ 1.2.3.1 ชื่อโครงการพัฒนาศกัยภาพและเสริมสรางความเขมแข็งเครือขายชมรมผูบริโภคจังหวัด อุตรดิตถ หลักการและเหตุผล ปจจุบันรัฐบาลใหความสําคัญกับงานดานการสงเสริมพัฒนาสุขภาพอนามัยของประชาชนใหมีสุขภาพดีทั้งกายและจิตใจ ในสวนของงานคุมครองผูบริโภคภาครัฐมีหนาที่ในการคุมครองใหเกิดความปลอดภัยแกประชาชน ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกัรไทย พุทธศกัราช 2540 มาตรา 57 กําหนดไววา สิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับความคุมครองตามที่กฎหมายกําหนด ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาตฉิบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) ที่ยึดคนเปนศูนยกลางการพัฒนา ไดกําหนดแนวนโยบายทีจ่ะสงเสริมพัฒนาบทบาทขององคกร ที่เกีย่วกับการคุมครองผูบริโภคทั้งภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อสรางความ

Page 118: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

เปนธรรมใหแกผูบริโภค การที่จะแกปญหาใหลุลวงไปไดนั้น จาํเปนตองไดรับความรวมมือรวมใจจากองคกรตางๆทั้ง ภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชน โดยเฉพาะผูบริโภคที่อาศัยอยูตามชุมชนตางๆ ซ่ึงไดรับผลกระทบโดยตรงตอสุขภาพอนามัยและถูกเอารัดเอาเปรียบจากผูประกอบการ ไมวาจะเปนการขายสินคาหรือบรกิารไมไดมาตรฐานหรือการกักตุนสินคาทําใหสินคาขาดแคลนและมีราคาแพง อันเปนเหตุใหผูบริโภคไมไดรับความเปนธรรม ปงบประมาณ 2549 สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ ไดทําการศึกษาวิจัยพฤติกรรมการบริโภคเกี่ยวกับผลิตภณัฑสุขภาพของกลุมแมบานในจังหวัดอุตรดติถ พบวา ผูบริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพถูกตอง รอยละ 24.6 พฤติกรรมการปกปองสิทธิผูบริโภคถูกตอง รอยละ 30 และผูบริโภคมีความรูเกี่ยวกับผลิตภณัฑสุขภาพ สิทธิผูบริโภค อยูในระดับปานกลาง รอยละ 60 – 69 สวนความรูดานชองทางการรองเรียนยังอยูในระดับต่ํา คอื ต่ํากวารอยละ 49 และพบวากลุมตัวอยางจํานวนมาก ไมทราบเรื่องสิทธิการเรียกรองคาชดเชยหรือเสียหายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ รอยละ 42.9 ดังนั้นสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ จึงจัดทําการประชุมพัฒนาศักยภาพและเสริมสรางความเขมแข็งเครือขายชมรมผูบริโภคจังหวัดอุตรดิตถ เพื่อสงเสริมการมีสวนรวมในการรวมพลังผูบริโภคจังหวัดอุตรดิตถ ใหไดรับความรูในการปกปองสิทธิ รูจักหนาที่ และพิทักษสิทธิของตัวเอง วัตถุประสงคของโครงการ

1. เพื่อพัฒนาศักยภาพและเสริมสรางความเขมแข็ง ใหกับชมรมผูบริโภคจังหวัดอุตรดิตถและ เครือขายชมรมผูบริโภคระดับอําเภอ

109

2. เพื่อสนับสนุนใหชมรมผูบริโภคจังหวัดอุตรดิตถ มีสวนรวมในการดําเนินการคุมครองผูบริโภค 3. เพื่อใหเกิดความเชื่อมโยงและประสานงานที่ดีรวมกนัระหวางหนวยงานภาครัฐผูประกอบการ

และองคกรตาง ๆ ในการทาํใหประชาชนมีสวนรวม และไดรับความปลอดภัยในการบริโภค 4. เพื่อพัฒนาศักยภาพของสมาชิกชมรมผูบริโภคและประชาชนทั่วไป ใหมีความรูและตะหนักใน สิทธิผูบริโภค สามารถคุมครองตนเอง และใชสิทธเิรียกรองในการบริโภคได 5. เพื่อใหผูบริโภคพัฒนาดานพฤติกรรมในการบริโภคสินคาและบริการที่ถูกตอง และตระหนักถึง พิษภยัจากสินคาที่เปนอันตรายตอสุขภาพ

เปาหมาย ประชาชนทั่วไป สมาชิกชมรมผูบริโภคจังหวัดอุตรดิตถ คณะกรรมการชมรมผูบริโภคระดับอําเภอ 9 อําเภอ จํานวน 200 คน งบประมาณทีใ่ช

1. จัดประชุม/สัมมนาแกนนาํและสมาชิกเครือขายชมรมผูบริโภคและประชาชนทั่วไป 1.1 คาอาหารกลางวัน 70 บาท X 200 คน เปนเงิน 14,000 บาท

1.2 คาอาหารวางและเครื่องดื่ม 15 บาท X 2 มื้อ X 200 คน เปนเงิน 6,000 บาท

Page 119: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

1.3 คาตอบแทน คาพาหนะและคาที่พักวทิยากร 2 คน เปนเงิน 4,500 บาท 2. คาวัสดุสํานักงาน เปนเงิน 2,500 บาท รวมทั้งสิ้น เปนเงิน 27,000 บาท (สองหมื่นเจด็พันบาทถวน) ผลการดําเนินงาน กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัอุตรดิตถ รวมกับ ชมรมผูบริโภคจังหวดัอุตรดิตถ ไดจัดการประชุมพัฒนาศักยภาพและเสริมสรางความเขมแข็งเครือขายชมรมผูบริโภคจังหวัด อุตรดิตถ ในวนัที่ 3 กุมภาพันธ พ.ศ.2550 ณ หองประชุมกองฝายปองกันและบรรเทาสาธารณภยั เทศบาลเมืองอุตรดิตถ รายละเอียดเนือ้หาในการบรรยายดังตอไปนี้

• ประธานในพธีิกลาวเปดการประชุมสัมมนาและบรรยายพิเศษ เร่ืองแนวทางการขับเคลื่อนองคกรเอกชนดานการคุมครองผูบริโภคในชุมชน โดย นายเกรยีงศักดิ์ โตวนิชย นักวิชาการสาธารณสุข 9 ดานสงเสริมพัฒนา

• บรรยายพิเศษ เร่ือง รูทันการบริโภค โดย เภสัชกรหญิง พรพิมล ภูวธนานนท หัวหนากลุมงานคุมครองผูบริโภค

• จัดฐานความรูจํารวน 5 ฐาน ภายในฐานมกีจิกรรมการบรรยาย และตอบคําถาม ฐานที่ 1 บรรยายเรื่องสิทธิผูบริโภคและการรองเรียน โดย นางอมรพรรณ ยมจนิดา , นางกัญจนา เจดียวุฒิ และนางจงกลณี ตรีวิมล

เนื้อหาการบรรยาย

110

สิทธิผูบริโภค 5 ประการ รองทุกขอยางไรใหไดผล บัญญัติ 10 ประการสูความสาํเร็จของการรองทุกข หนวยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการรองทุกขเมื่อผูบริโภคมีปญหา ตัวอยางบนัทกึคํารองเรียน (สวนราชการ) ใหผูเขารวมกิจกรรมทําแบบทดสอบความรู เร่ือง สิทธิผูบริโภคและการรองเรียน

ฐานที่ 2 บรรยายเรื่องการคุมครองผูบริโภคดานฉลากสินคาที่ควบคุมและการปฏิบัติ โดย นายธีรพงษ วสันตดิลก ผูชวยพาณิชยจังหวัดอุตรดติถ เนื้อหาการบรรยาย

ประกาศคณะกรรมการวาดวยฉลาก ฉบับที่ ๑๙ (พ.ศ.๒๕๔๘) เร่ือง ใหที่นอนเปนสินคาควบคุมฉลาก ประกาศคณะกรรมการวาดวยฉลาก ฉบับที่ ๒O (พ.ศ.๒๕๔๙) เร่ือง ใหรถจักรยานยนตเปนสินคาควบคุมฉลาก

Page 120: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ประกาศคณะกรรมการวาดวยฉลาก ฉบับที่ ๒๑ (พ.ศ.๒๕๔๘) เร่ือง ใหเครื่องทําน้ําเย็นเปนสินคาควบคุมฉลาก ประกาศคณะกรรมการวาดวยฉลาก ฉบับที่ ๖ (พ.ศ.๒๕๔๔) และฉบบัที่ ๑๓(พ.ศ.๒๕๔๖) เร่ือง ใหทองรูปพรรณเปนสินคาควบคุมฉลาก ประกาศคณะกรรมการวาดวยฉลาก ฉบับที่ ๑๘ (พ.ศ.๒๕๔๗) เร่ือง ใหภาชนะและเครื่องใชเมลามีนสําหรับอาหารเปนสินคาควบคุมฉลาก บทกําหนดโทษ ตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ใหผูเขารวมกจิกรรมทาํแบบทดสอบความรู เรือ่ง ฉลากสนิคาที่ควบคมุและการปฏิบัติ

ฐานที่ 3 บรรยายเรื่องการคุมครองผูบริโภคดานโฆษณาสนิคาและบริการ โดย นายศุภมติร ปาณธูป นักวิชาการสาธารณสุข 7 สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอตุรดิตถ

เนื้อหาการบรรยาย การคุมครองผูบริโภคดานโฆษณา องคกรคุมครองผูบริโภคดานโฆษณา อํานาจหนาทีข่องคณะกรรมการวาดวยการโฆษณา ลักษณะของขอความโฆษณาที่ถือวาเปนขอความอันเปนการฝาฝน พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค ตัวอยางของโฆษณาในทองตลาดที่ฝาฝนพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค ใหผูเขารวมกิจกรรมทําแบบทดสอบความรู เร่ืองการคุมครองผูบริโภคดานโฆษณา

111

ฐานที่ 4 บรรยายเรื่องการคุมครองผูบริโภคดานสัญญาและการปฏิบัต ิ โดย นายจิรภทัร กิตติ์รัฐ นติิกร 6 สํานักงานอัยการจังหวัดอุตรดิตถ

เนื้อหาการบรรยาย การคุมครองผูบริโภคดานสัญญาและการปฏิบัติ ลักษณะของธุรกิจที่ควบคุมสัญญามี 6 ประเภท สรุปสาระสําคัญตามประกาศคณะกรรมการวาดวยสัญญา ใหผูเขารวมกจิกรรมทําแบบทดสอบความรู เร่ืองการคุมครองผูบริโภคดานสัญญาและการปฏิบัติ

ฐานที่ 5 บรรยายเรื่องการคุมครองผูบริโภคดานขายตรงและตลาดแบบตรง โดย นายกิติศกัดิ์ ออนปาน เภสัชกร 5 สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอตุรดิตถ

เนื้อหาการบรรยาย การคุมครองผูบริโภคดานขายตรงและตลาดแบบตรง ลักษณะของการขายตรงและการตลาดแบบตรง

Page 121: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ลักษณะของธุรกิจแชรลูกโซ สินคาที่ไมสามารถนํามาจําหนายในระบบธุรกิจขายตรงได ใหผูเขารวมกจิกรรมทําแบบทดสอบความรู เร่ืองการคุมครองผูบริโภคดานขายตรงและตลาดแบบตรง

การประเมินผล ผลการสํารวจความพึงพอใจของผูเขารวมประชุม

112

ผลไดรับจากการประชุม 1. แกนนําเครือขายและสมาชิกชมรมผูบริโภค มีความรู ความเขาใจที่ถูกตองเกีย่วกับการบริโภค

ตระหนักถึงสิทธิในการคุมครองผูบริโภคมากขึ้น สามารถแนะนําใหความรูแกผูบริโภคใน ระดับอําเภอและประชาชนทั่วไปได

2. ประชาชนมีสวนรวมในการแกไขปญหาการบริโภค สามารถเลือกบริโภคไดอยางถูกตองและ สามารถนําความรูที่ไดรับไปขยายผลกับผูใกลชิดตอไปได

ปญหาและอุปสรรค 1. เวลาที่ใชในการจัดประชุมมนีอย แตเนื้อหาและกิจกรรมที่ตองการใหผูเขารวมประชุมไดเรียนรู

และฝกปฏิบัตมิีมาก 2. ระยะทางที่ไกลมากเปนอุปสรรคในการเดินทางมาประชุมของสมาชิกเครือขายบางคน เชน

สมาชิกที่มีภูมลํิาเนาในอําเภอน้ําปาด บานโคก ทาปลา ฟากทา 3. ประชาชนสวนใหญมีอาชีพรับจางรายวัน หากเขารวมประชุมจะทําใหขาดรายได

ขอเสนอแนะ

ระดับความพงึพอใจ

0

10

20

30

40

50

60

70

เนื้อหา กิจกรรม วิทยากร ระยะเวลา สถานที่ ประโยชน

นอยท่ีสุด

นอย

ปานกลาง

มาก

มากท่ีสุด

Page 122: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

1. ควรกําหนดระยะเวลาและเนือ้หาการประชมุใหมีความเหมาะสม มีผูเขารวมประชุมหลายคน เสนอแนะใหมีการจัดประชมุบอยๆ เพราะเนื้อหาการประชุมเปนเรื่องที่มีประโยชนมาก

2. ควรมีเงินเบีย้เล้ียงการประชมุและเงินเดินทางใหกับผูเขารวมประชุม เพื่อจูงใจใหประชาชน เดินทางเขารวมการประชุม

3. ควรจัดการประชุมยอย ดําเนินการโดยเจาหนาที่อนามยัและแกนนําสมาชิกชมรมผูบริโภคใน พื้นที่ เพื่อใหเกิดการเรยีนรูและไดฝกปฏบิัติจริง ตลอดจนสรางความคุนเคยระหวางเจาหนาที่ สถานีอนามัย สมาชิกชมรมผูบริโภคและประชาชนทั่วไป

4. ควรจัดสรรงบประมาณใหชมรมระดับอําเภอแตชมรมไปดําเนินการ โดยการตดิตามประเมินผลของชมรมผูบริโภคระดับจังหวัด

5. ประชาชนสมควรไดรับประโยชนสูงสุดจากงบประมาณที่ สคบ.จัดสรรให

113

Page 123: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

1.2.3.2 โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสรางความเขมแข็งเครือขายชมรมผูบริโภคระดับอําเภอ ป 2550

หลักการและเหตุผล การดําเนินการดานการคุมครองผูบริโภคใหประชาชนมีสุขภาพดีทั้งกายและใจ เปนหนาที่หลักของรัฐบาล ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) รัฐบาลไดกําหนดใหการคุมครองผูบริโภค เปนนโยบายและยุทธศาสตรสําคัญของการบริหารราชการแผนดินของรัฐบาล โดยกําหนดวาจะสงเสริมบทบาทขององคกรเอกชนและภาคประชาชนใหมีบทบาทควบคูกับองคกรภาครัฐ ในการพัฒนาศักยภาพของประชาสังคมและชุมชนทองถ่ิน เพื่อกอใหเกิดการรวมกลุมที่เขมแข็ง สามารถปกปองสิทธิและผลประโยชนของตนเองและสงัคมไทยและสนับสนุนการกระจายอํานาจอยางตอเนื่องตามระบอบประชาธิปไตย

114

เพื่อใหทองถ่ินสามารถพึ่งตนเองในดานการบริโภคได และพัฒนาบทบาทของตนเองที่เกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภค เพื่อสรางแนวรวมและสรางความเปนธรรมใหแกประชาชนผูบริโภค ใหผูบริโภครูจักเลือกบริโภคที่ถูกตอง รูจักปกปองสิทธิของตนเองรูจักชองทางการรองเรียนและรองเรียนเมื่อถูกเอาเปรียบจากผูประกอบการ ปงบประมาณ 2549 ชมรมผูบริโภคจังหวัดอุตรดิตถ ไดรับงบประมาณจากคณะอนุกรรมการคุมครองผูบริโภคจังหวัดอุตรดิตถ ใหดําเนินการขยายเครือขายชมรมผูบริโภคจากระดับจังหวัดสูระดับอําเภอทั้ง 9 อําเภอในจังหวัดอุตรดิตถ ใหมีการดําเนินกิจกรรมในการสอดสองดูแลดานการคุมครองผูบริโภคในระดับจังหวัดและระดับอําเภอ เพื่อใหเกิดการประสานความรวมมือ มีแนวรวมในการดําเนินงานดานการคุมครองผูบริโภคอยางยั่งยืน เปนรูปธรรมและตอเนื่อง ในปงบประมาณ 2550 ชมรมผูบริโภคจังหวัดอุตรดิตถ จึงไดจัดทําโครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสรางความเขมแข็งชมรมผูบริโภคจังหวัดอุตรดติถและเครือขายชมรมผูบริโภคระดับอําเภอ ป 2550 ขึ้น วัตถุประสงคของโครงการ

Page 124: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

1. เพื่อแกนนําชมรมผูบริโภคระดับอําเภอ สมาชิกเครือขายระดับอําเภอ และประชาชนทั่วไป มีความรูและเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการบริโภค ตระหนกัถึงสิทธิในการคุมครองผูบริโภค รูจักเลือกบริโภคไดอยางถูกตอง เปนธรรม และปลอดภยั

2. เพื่อเกิดการประสานความรวมมือ มีแนวรวมในการดําเนนิงานดานการคุมครองผูบริโภค เพื่อลดปญหาการเอารัดเอาเปรียบจากผูประกอบการ

เปาหมาย แกนนํา/สมาชิกชมรมผูบริโภคอําเภอพิชยั 100 คน , อําเภอฟากทา 100 คน , อําเภอบานโคก 50 คน รวมทั้งหมด 250 คน งบประมาณ จัดสรรงบประมาณใหสํานักงานสาธารณสุขอําเภอหรือโรงพยาบาล เพื่อเปนคาใชจายในการจัดกิจกรรม อําเภอพิชัย 10,000 บาท อําเภอฟากทา 10,000 บาท อําเภอบานโคก 5,000 บาท รวมทั้งสิน้ 25,000 บาท ผลการดําเนินงาน

1. การประชุมสมัมนาแกนนาํเครือขายชมรมผูบริโภคอําเภอพิชัย วันที่ 27 กรกฏาคม 2550 ณ หองประชมุสํานักงานสาธารณสุขอําเภอพิชัย รายละเอียดเนื้อหาในการบรรยายดงัตอไปนี ้

• ประธานในพธีิกลาวเปดการประชุมและบรรยายพิเศษ โดย นายสมชาย ทองกระสัน สาธารณสุขอําเภอพิชัย

• บรรยายเรื่องสิทธิผูบริโภคและชองทางการรองเรียน โดย นายศรายทุธ เปยจันทร เจาพนกังานสาธารณสุขชุมชน 6

เนื้อหาการบรรยาย

115

ชองทางการรองเรียนผลิตภณัฑสุขภาพไดแก อาหาร ยา เครื่องสําอาง เครื่องมือแพทย วัตถุมีพษิ และ รองเรียนเรือ่งอื่นๆ สิทธิของผู บริโภคที่จะไดรับความคุมครองตามกฎหมาย 5 ประการ ดังนี้

- สิทธิที่จะไดรับขาวสารรวมทั้งคําพรรณาคุณภาพที่ถูกตองและเพยีงพอ เกี่ยวกับสินคาหรือบริการ

- สิทธิที่จะมีอิสระในการเลอืกหาสินคาหรือบริการ - สิทธิที่จะไดรับความปลอดภัยจากการใชสินคาหรือบริการ - สิทธิที่จะไดรับความเปนธรรมในการทําสัญญา - สิทธิที่จะไดรับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย

• บรรยายเรื่องพฤติกรรมการบริโภคและการอานฉลากสินคา โดย นายวุฒิเนตร โกฎแสง เภสัชกร โรงพยาบาลพิชัย

Page 125: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

เนื้อหาการบรรยาย ผูบริโภคควรใชความระมัดระวัง ในการเลือกซื้อสินคาหรือบริการ การอานฉลาก ผูบริโภคตองตรวจดฉูลากของสินคา เพื่อเปนขอมูลในการเปรียบเทียบสินคาแตละยีห่อ กอนตดัสินใจเลือกสินคา ฉลากของสินคาที่ควบคุมฉลากจะตองระบุขอความดังตอไปนี ้ 1.ชื่อประเภท หรือชนิดของสินคาที่แสดงใหเขาใจ ไดวาสินคานั้นคืออะไร 2.เครื่องหมายการคาที่จดทะเบียน 3.สถานที่ตั้งของผูผลิต 4.ปริมาณ 5.วิธีใช 6.ขอแนะนํา 7.วันเดือนปทีผ่ลิต วันเดือนปที่หมดอาย ุ หรือวันเดือนปที่ควรใชกอน 8.ราคา(เหมาะสมหรือไม)

ปญหาและอุปสรรค 1.ประชาชนไมมั่นใจวารองเรียนแลวจะไดผล 100% 2.ประชาชนไมทราบวามีการประชุมดานการคุมครองผูบริโภค(ขาดการประสานงานของ จนท.) 3.การเดินทางมาเขารวมประชุมไมสะดวก 4.ประชาชนสวนใหญตองทาํงานหาเลี้ยงครอบครัว(รับจางรายวัน)

116

2. การจัดเวทีประชาคมรับฟงความคิดเห็นของประชาชนดานการคุมครองผูบริโภค อําเภอ ฟากทา วันที่ 7 มิถุนายน 2550 ณ หองประชุมองคการบริหารสวนตําบลบานเสี้ยว อําเภอฟากทา

• ประธานในพธีิกลาวเปดการประชุมและบรรยายพิเศษ โดย นายกองคการบริหารสวนตําบลบานเสี้ยว

• บรรยายเรื่องพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ซ่ึงแกไขเพิม่เติมโดย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 ไดบัญญัติสิทธิของผูบริโภคที่จะไดรับความคุมครองตามกฎหมาย 5 ประการ โดยนายวิเนตร แกวลุมใหญ นักวิชาการสาธารณสุข 7 สํานักงานสาธารณสุขอําเภอฟากทา

เนื้อหาการบรรยาย สิทธิที่จะไดรับขาวสารรวมทั้งคําพรรณนาคุณภาพที่ถูกตอง และเพยีงพอเกีย่วกับสินคาหรือบริการ ไดแก สิทธิที่จะไดรับการโฆษณา หรือการแสดงฉลากตามความเปนจริง และปราศจากพิษภยัแก ผูบริโภครวมตลอดถึงสิทธิที่จะไดรับทราบ ขอมูล

Page 126: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

เกี่ยวกับสินคาหรือบริการอยางถูกตองและเพียงพอที่จะไมหลงผิด ในการซื้อสินคาหรือรับบริการโดยไมเปนธรรม สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินคาหรอืบริการ ไดแก สิทธิที่จะเลือกซื้อสินคาหรือรับบริการโดยความ สมัครใจของผูบริโภค และปราศจากการชกัจูงใจอนัไมเปนธรรม สิทธิที่จะไดรับความปลอดภัยจากการใชสินคาหรือบริการ ไดแก สิทธิที่จะไดรับสินคาหรือบริการ ที่ปลอดภัย มีสภาพและคุณภาพไดมาตรฐานเหมาะสมแกการใช ไมกอใหเกิดอนัตรายตอชีวิต รางกายหรือทรัพยสิน ในกรณีใชตามคําแนะนําหรือระมัดระวังตามสภาพของสินคาหรือบริการนั้นแลว สิทธิที่จะไดรับความเปนธรรมในการทําสัญญา ไดแก สิทธิที่จะไดรับขอสัญญาโดยไมถูกเอารดัเอาเปรียบจากผูประกอบธรุกิจ สิทธิที่จะไดรับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย ไดแก สิทธิทีจ่ะไดรับการคุมครองและชดใชคาเสียหาย เมื่อมีการละเมิดสิทธิของผูบริโภค

• บรรยายเรื่องขอควรปฏิบัติสําหรับผูบริโภคในการซื้อสินคาหรือบริการ โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลฟากทา เนื้อหาในการบรรยาย

ขอควรระวัง ในการซื้อสินคาหรือบริการ ไดแกฉลากของสินคา และการโฆษณาสินคาหรือบริการ ผูบริโภคตองตรวจดฉูลากของสินคา เพื่อเปนขอมูลในการเปรียบเทียบสินคาแตละยี่หอ กอนตัดสินใจเลือกสินคา ฉลากของสินคาที่ควบคุม ดานการโฆษณา ผูบริโภคอยาดวนหลงเชือ่คําโฆษณาของสินคา ตองศึกษาเงื่อนไข

117

รายละเอียดอืน่ๆ ของตัวสินคาที่อาจไมไดระบุไวใน การโฆษณา เนื่องจากการโฆษณาสินคาของผูประกอบธุรกิจสวนใหญจะเสนอแตขอดีและเงื่อนไขที่เปนประโยชนตอผูบริโภค สวนขอเสีย มักจะไมกลาวถึงในการโฆษณา จึงจําเปนที่ผูบริโภคตองศึกษาหาความรูเพิ่มเติม จากการสอบถามผูขาย หรือบริษัทผูผลิต

• เวทีแลกเปลี่ยนปญหาดานการคุมครองผูบริโภคที่พบ และแนวทางการแกปญหาผูรวมเสวนา ชมรมผูบริโภคจังหวดัอุตรดิตถ โดย นางอมรพรรณ ยมจนิดา นางจงกลณี ตรีวิมล นางราตรี บุญวัฒน ประธานชมรมผูบริโภคอําเภอฟากทา นายใฝ มาพา นายวิเนตร แกวลุมใหญ นักวชิาการสาธารณสุข 7

คณะผูเขาประชุมไดหยิบยกปญหาและประสบการณตางๆที่เกิดขึ้นในพื้นที่อําเภอฟากทา เชน 1.การขายเครื่องสําอางที่มีฉลากเปนภาษาจีนอานไมได 2.มีผูไมหวังดมีาซอมไฟฟาในหมูบานและเรียกราคาแพง

Page 127: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

3.จัดตั้งเครือขายชมรมผูบริโภคระดับตําบลได 2 เครือขาย ตําบลบานเสี้ยว และ ตําบลสองหอง

ปญหาและอุปสรรค 1. ผูเขารวมประชุมไมทราบวามีชมรมผูบริโภคอําเภอฟากทา 2. บานอยูไกลเดินทางไมสะดวก

3. รถโดยสารประจําทางมีวนัละ 1 เที่ยว ไป-กลับ 4. การประชาสัมพันธจากภาครัฐลาชาไมทั่วถึง ขอเสนอแนะ

1. ควรมีเบี้ยประชุมในแตละครั้งอยางนอยคนละ 50 บาท 2. ผูเขารวมประชุมอยากใหมกีารดําเนินการที่จริงจังกับผูกระทําผิด 3. ควรดึงเอา อสม.ผูนําหมูบาน และสมาชิก อบต. เขามาเปนแนวรวมเครือขายผูบริโภค

3. การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการสรางองครวมความรูแกนนําเครือขายชมรมผูบริโภคอําเภอบานโคก ณ หองประชุมสํานักงานสาธารณสุขอําเภอบานโคก

• ประธานในพธีิกลาวเปดการประชุมและบรรยายพเิศษ โดย สาธารณสุขอําเภอบานโคก

• บรรยายเรื่องสิทธิผูบริโภคและชองทางการรองเรียนที่ไดผล โดย นายภราดร โสทัน สํานักงานสาธารณสุขอําเภอบานโคก

เนื้อหาการบรรยาย สิทธิผูบริโภค

- สิทธิที่จะไดรับขาวสารรวมทั้งคําพรรณาคุณภาพที่ถูกตองและเพยีงพอเกี่ยวกับ

118

สินคาหรือบริการ - สิทธิที่จะมีอิสระในการเลอืกหาสินคาหรือบริการ - สิทธิที่จะไดรับความปลอดภัยจากการใชสินคาหรือบริการ - สิทธิที่จะไดรับความเปนธรรมในการทําสัญญา - สิทธิที่จะไดรับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย

การรองเรียน ชองทางการรองเรียนอําเภอบานโคก (ปญหาดานผลิตภณัฑสุขภาพ ไดแก อาหาร ยา เครื่องสําอาง เครื่องมือแพทย วัตถุมีพิษ) พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ.2545 การขายตรงและตลาดแบบตรง

ปญหาและอุปสรรค 1.สมาชิกยังไมมีความพรอม(ตองตามใหมาประชุม) 2.สถานที่จัดประชุมควรจัดเปนเวทีชาวบาน

Page 128: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

3.ไมมีเบี้ยประชุม 4.การเดินทางมาประชุมลาชา ขอเสนอแนะ 1.ควรหาสมาชิกที่เสียสละตอสวนรวมจริงๆและจํานวนมากๆ 2.ควรจัดหาเบีย้ประชุมและคาเดินทางคนละ 50 บาท

Page 129: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

119

1.2.4 เสริมสรางความเขมแข็งในการดําเนนิงานคุมครองผูบริโภคในโรงเรียน 1.2.4.1 งานอาหารปลอดภัยในโรงเรียน ( อย.นอย ) ตารางที่ 37 ขอมูลการดําเนนิงานอาหารปลอดภัยในโรงเรียน ( อย.นอย ) ป 2550

อําเภอ ระดับการศึกษา

ตัวชี้วัด/หนวยนับ เมือง ลับแล พิชัย ตรอน ทาปลา น้ําปาด ฟากทา บานโคก ทองฯ

รวม

โรงเรียนทั้งหมด(แหง) 55 22 43 17 36 27 13 16 12 241 ประถมศึกษา โรงเรียนที่เขารวมฯ(แหง) 0 0 0 17 0 2 0 16 0 35

สมาชิก อย.นอย (คน) 0 0 0 605 0 30 0 1,026 0 1,661

โรงเรียนทั้งหมด(แหง) 11 5 7 6 10 6 5 2 8 60 ประถมศึกษา โรงเรียนที่เขารวมฯ(แหง) 11 5 5 6 10 3 5 2 8 55 (ขยายโอกาส) สมาชิก อย.นอย (คน) 160 1,250 756 380 100 35 250 558 421 3,895

โรงเรียนทั้งหมด(แหง) 7 3 3 1 1 1 1 1 1 19 มัธยมศึกษา โรงเรียนที่เขารวมฯ(แหง) 7 3 3 1 1 1 1 1 1 19

สมาชิก อย.นอย (คน) 4,340 655 2,100 400 395 260 170 180 130 8,630

โรงเรียนทั้งหมด(แหง) 3 0 0 0 0 1 0 0 0 4 เอกชน โรงเรียนที่เขารวมฯ(แหง) 3 0 0 0 0 1 0 0 0 4

สมาชิก อย.นอย (คน) 70 0 0 0 0 20 0 0 0 90

โรงเรียนทั้งหมด(แหง) 4 0 1 0 0 0 0 0 0 5 อาชีวะศึกษา โรงเรียนที่เขารวมฯ(แหง) 1 0 0 0 0 0 0 0 0 1

สมาชิก อย.นอย (คน) 100 0 0 0 0 0 0 0 0 100

โรงเรียนทั้งหมด(แหง) 80 30 54 24 47 35 19 19 21 329 รวม โรงเรียนที่เขารวมฯ(แหง) 22 8 8 24 11 7 6 19 9 114

สมาชิก อย.นอย (คน) 4,670 1,905 2,856 1,385 495 345 420 1,764 551 14,391

ตารางที่ 38 ผลการดําเนินงานอาหารปลอดภัยในโรงเรียน ( อย.นอย ) ป 2550 ตรวจสอบอาหาร (ราน/ตัวอยาง)

ระดับการศึกษา

จํานวน ผาน

นิทรรศการ (ครัง้ / จํานวนผูชม)

จัดบอรด (ครั้ง)

เสียงตามสาย/พูดหนาเสาธง (ครั้ง)

ระดับประถมศึกษา 110/110 110 51/6,291 136 925 ระดับประถมศึกษา (ขยายโอกาส) 169/249 249 24/4,770 116 539 ระดับมัธยมศึกษา 113/189 189 23/8,720 40 167 ระดับอาชีวะศึกษา 10/10 10 2/500 5 25

รวม 402/558 558 100/20,281 297 1,656

Page 130: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

120

ตารางที่ 38 ผลการดําเนินงานอาหารปลอดภัยในโรงเรียน ( อย.นอย ) ป 2550 แยกรายอําเภอ อําเภอ

กิจกรรม เมือง ลับแล พิชัย ตรอน ทาปลา น้ําปาด ฟากทา บานโคก ทองฯ

รวม

1.ตรวจสอบอาหาร * จํานวนราน 80 30 72 80 69 42 5 24 0 402

* จํานวนตัวอยาง 150 30 160 80 69 64 5 0 0 558 * จํานวนที่ผานเกณฑ 150 30 160 80 69 64 5 0 0 558 2.นิทรรศการ * จํานวนครั้ง 4 30 13 22 3 2 5 19 2 100 * จํานวนผูชม 1,990 7,100 4,270 2,450 471 100 1,200 2,300 400 20,281

3.จัดบอรด * จํานวนครั้ง 7 17 67 162 14 4 5 19 2 297 4.เสียงตามสาย / พูดหนา เสาธง * จํานวนครั้ง 22 35 77 1,440 52 5 6 19 0 1,656

1.2.4.2 กิจกรรมสนับสนุนการดําเนินกิจกรรม อย.นอย ป 2550

• กิจกรรมดานการเผยแพรประชาสัมพันธ ดานการคุมครองผูบริโภค

• กิจกรรมรณรงคคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพในวันสําคัญตาง ๆ

• กิจกรรมการเรียนรูแบบบูรณาการกับการเรียนการสอนในโรงเรียนใหสอดคลองกับกลุมสาระการเรียนรูทั้ง 8 กลุม ,กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

• การจัดโครงงานแบบกําหนดหัวขอและมุงเนนรูปแบบการนําเสนอผลงาน

• การตรวจสอบ และเฝาระวังผลิตภัณฑสุขภาพ ในโรงเรียน ครัวเรือน และชุมชน

• การตรวจสอบคุณภาพอาหารและผลิตภัณฑสุขภาพในโรงเรียนและชุมชน

• การเฝาระวังคุณภาพอาหารในโรงเรียน / รอบๆ โรงเรียน โดย การตรวจสอบสารปนเปอนในอาหาร ดวยชุดทดสอบเบื้องตน

• การตรวจสอบโรงอาหารในโรงเรียนใหมีสุขลักษณะและสุขาภิบาลที่ดี

• การสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินกิจกรรม อย.นอยในโรงเรียน ดังนี้ สนับสนุนงบประมาณเตรียมประกวดกิจกรรม อย.นอย ระดับเขตตรวจราชการ จํานวน 3 โรงเรียน คือ โรงเรียนพิชัย 5,000 บาท , โรงเรียนทาปลาประชาอุทิศ 5,000 บาท , โรงเรียนอุตรดิตถวิทยา 5,000 บาท (งบประมาณจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา)

121

Page 131: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

สนับสนุนงบประมาณดําเนินกิจกรรม อย.นอย จํานวน 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนอุตรดิตถ 15,000 บาท , โรงเรียนพิชัย 20,000 บาท (งบประมาณจากโครงการคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑและบริการสุขภาพจังหวัดอุตรดิตถ ป 2550 งบเหมาจายรายหัว(คาบริการทางการแพทยหนวยบริการภาครัฐ) ดานการสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค ปงบประมาณ 2550)

1.2.4.3 โครงการคายพัฒนาเยาวชนคุมครองผูบริโภค (อย.นอย) เครือขายจังหวัดอุตรดิตถ

หลักการและเหตุผล อย.นอย ถือกําเนิดขึ้นในป 2545 ในลักษณะโครงการนํารอง และมีการดําเนินการอยางจริงจังในป 2546

โดยมีโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาจัดตั้งชมรมคุมครองผูบริโภคในโรงเรียน และทํากิจกรรม อย.นอย จากนั้นในป 2547 ไดขยายกิจกรรม ใหครอบคลุม โรงเรียนระดับมธัยมศึกษาทั่วประเทศ โดยมีวัตถุประสงคในการดําเนินงาน เพื่อใหนักเรียนมีการเรียนรูจากการปฏิบัติจริง และไดชวยเหลือเพื่อน ๆ ครอบครัว และชุมชน ดวยการใหความรูการบริโภคอยางเหมาะสม ปลอดภัย การตรวจสอบอาหาร ที่จําหนายภายในโรงเรียน ตลาดสดหรือชุมชนใกลเคียง ดวยชุดทดสอบเบื้องตน เชน ชุดทดสอบบอแรกซ ฟอรมาลิน การใหความรูแกเพื่อนนักเรียนในรูปแบบตาง ๆ เชน บอรดความรู เสียงตามสาย การรณรงคใหความรูในชุมชน เชน การเดินรณรงค การใหความรูทางหอกระจายขาวหรือวิทยุชุมชน นอกจากนี้ยังมีการบูรณาการความรูดานอาหารและยาเขาไปกับหลักสูตรการเรียนการสอน และ อย.นอย ยังเอื้ออาทรไปยังโรงเรียน ระดับประถมศึกษาที่อยูใกลเคียง ดวยการไปใหความรูและการตรวจสอบอาหารใหดวย ในลักษณะ “พี่สอนนอง” กิจกรรม อย.นอย ดังกลาวยังกอใหเกิดความรวมมือที่ดีในชุมชน เชน เกิดความรวมมือระหวางนักเรียน ครู พอคา แมคา อสม. อบต. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอําเภอ ในการดําเนินงานโครงการ อย.นอย เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการบริโภคของเด็กและเยาวชน ใหเปนผูบริโภคที่สามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภค ผลิตภัณฑสุขภาพไดอยางถูกตองและปลอดภัย อันจะสงผลตอการ ลดอัตราการเจ็บปวยของประชาชน และลดคาใชจายดานการรักษาพยาบาล

การสงเสริมใหมีการจัดกิจกรรมตางๆ เพื่อใหมีบทบาทในการดําเนินกิจกรรมดานงานเฝาระวังอาหารใหปลอดภัย คุมครองผูบริโภคและรักษาผลประโยชนใหแกผูบริโภค จะทําใหเกิดประโยชน ตอการดําเนินการคุมครองผูบริโภค สถานศึกษาและชุมชนนับวาเปนองคกรหนึ่งที่สามารถชวยดําเนิน กิจกรรมดานการคุมครองผูบริโภคใหเกิดในกลุมของเยาวชนที่จะเติบโตเปนผูใหญในวันขางหนา ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีในดานการบริโภคเพื่อสุขภาพของตนเองและบุคคลขางเคียง การบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและการคุมครองผูบริโภคในโรงเรียนและชุมชนมีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งตอ เยาวชน ประชาชนในชุมชนตางๆใหตระหนักในการเลือกซื้ออาหาร การพิจารณาเลือกใชผลิตภัณฑสุขภาพใหถูกตอง และปลอดภัย ตลอดจนการดูแลสุขาภิบาลอาหาร การตรวจสอบคุณภาพของอาหาร ไมหลงเชื่อการโฆษณาที่เกินจริงหรือหลอกลวง เมื่อพบปญหาหรือไมไดรับความปลอดภัย เปนธรรมในการบริโภค สามารถแกไขปญหาตางๆ นั้นได

122

Page 132: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

วัตถุประสงคของโครงการ

1. เพื่อใหนักเรียนที่เขารวมในโครงการฯ สามารถเปนแกนนําในการจัดตรวจสอบเฝาระวังความปลอดภัยในอาหารและการเลือกใชผลิตภัณฑสุขภาพที่มีคุณภาพ

2. เพื่อสงเสริมและปลูกฝงใหนักเรียนมีการพัฒนาพฤติกรรมการบริโภคอยางถูกตอง สามารถดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชนได

3. เพื่อกระตุนใหนักเรียนทํากิจกรรม อย.นอย อยางสรางสรรค มีรูปแบบที่เปนแบบอยางที่ดีในการดําเนินกิจกรรม อย.นอยในจังหวัดอุตรดิตถ ได

4. เพื่อสรางเครือขายแกนนําเยาวชนคุมครองผูบริโภค (อย.นอย) ในโรงเรียนและชุมชนของตนเองใหมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

เปาหมาย 1. เชิงคุณภาพ สรางผูนําเยาวชนใหเขมแข็ง และสามารถขยายผลในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา

ชุมชน สังคมอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน 2. เชิงปริมาณ มีผูเขาประชุมรวมทั้งหมด 267 คน ประกอบดวย

• ตัวแทนนักเรยีนอย.นอย โรงเรียนมัธยมศกึษา จํานวน 15 โรงเรียน โรงเรียนละ 10 -20 คน รวมทั้งสิ้น จํานวน 185 คน

• ทีมงานและตวัแทนนกัเรียนแกนนํา อย.นอย (พ่ีเล้ียงนักเรียน อย.นอย) โรงเรียนมัธยมศึกษา จํานวน 3 โรงเรียน โรงเรียนละ 10 -20 คน รวมทั้งสิ้น จํานวน 57 คน

• ครูที่ปรึกษาโครงการฯและวิทยากร รวมทั้งสิ้น 25 คน สถานที่ดําเนินการ โรงเรียนลับแลพิทยาคม อําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ ระยะเวลาดําเนินงาน วันที่ 14 – 16 มีนาคม 2550 งบประมาณ งบประมาณสนับสนุนจากสาํนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) จํานวน 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาทถวน) รายละเอียดการใชจายงบประมาณ

1. คาอาหาร เชา กลางวัน เย็น จํานวน 6 มื้อๆละ 40 บาท จํานวน 230 คน เปนเงิน 55,200 บาท 2. คาอาหารวาง เชา บาย จํานวน 5 มื้อๆละ 15 บาท จํานวน 230 คน ปนเงิน 17,250 บาท 3. คาเชาเหมาพาหนะพรอมน้ํามันเชื้อเพลิง จํานวน 19 คัน ปนเงิน 21,000 บาท 4. คาวัสดุที่ใชในการอบรมฯ เปนเงิน 6,550 บาท

ผลการดําเนินงาน 1. คัดเลือกนักเรียนแกนนําเพื่อเปนตัวแทน แกนนําอย.นอย จากทุกโรงเรียน รวม 185 คน 2. จัดอบรมใหความรู ประกอบดวยเรื่องดังตอไปนี้

- รูหลักฉลาดบริโภคกับฉลากผลิตภัณฑและการเลือกบริโภคอาหาร - กฎหมายคุมครองผูบริโภคและสิทธิผูบริโภค

123

Page 133: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

- สาธิตและฝกปฏิบัติการใชชุดทดสอบเบื้องตน (การตรวจสอบหาสารบอแรกซ , สาร ฟอกขาว ฟอรมาลีน , เกลือไอโอดีน ) - การเลือกซ้ือจากฉลาก - การเลือกบริโภคอาหารชนิดตางๆ - การจัดกิจกรรมเผยแพรความรูดานการคุมครองผูบริโภค - การจัดกิจกรรมเพื่อเฝาระวังการบริโภคอาหารในสถานศึกษา

3. ออกเดินแรลล่ีเพื่อสํารวจผลิตภัณฑตามรานคาที่จําหนายอาหารในหมูบานตางๆ รัศมีไม ไกลเกินจาก 5 กิโลเมตร สํารวจสินคาประเภทและเก็บตวัอยางอาหารเพื่อนํามาตรวจ และ ฐานความรูตางๆ จํานวน 10 ฐาน คือ

3.1. การทดสอบเพื่อหาสารบอแรกซ ขอบขายเนื้อหา - วิทยากรประจําฐานบรรยายเกีย่วกับอนัตรายของสารบอแรกซที่เจอืปนในอาหาร - วิทยากรประจําฐานสาธิตและทดสอบหาสารบอแรกซในตวัอยางอาหาร - นักเรียน อย.นอย ทดสอบหาสารบอแรกซในตัวอยางอาหารที่นักเรียนซ้ือมา

ไดแก หมูบด ลอดชอง มะมวงดอง มะยมดอง หมยูอทอด ไสกรอกทอด ทอดมนั ลูกชิ้นหมูทอด ลูกชิ้นเนื้อทอด ทับทิมกรอบ ผลการทดสอบพบสารบอแรกซใน ลอดชองเพียงอยางเดียว เจาหนาที่สาธารณสุขอําเภอลับแลที่เปนวิทยากรประจําฐาน ไดสอบถามสถานที่จําหนายลอดชองจากนกัเรียน อย.นอย เพือ่ดําเนินการขยายผลตอไป

- นักเรยีน อย.นอย ทําแบบทดสอบความรูความเขาใจเกี่ยวกับสารบอแรกซ 3.2. การทดสอบเพื่อหาสารฟอกขาว ขอบขายเนื้อหา - วิทยากรประจําฐานบรรยายเกีย่วกับอนัตรายของสารฟอกขาวที่เจอืปนในอาหาร - วิทยากรประจําฐานสาธิตและทดสอบหาสารฟอกขาวในตวัอยางอาหาร - นักเรียน อย.นอย ทดสอบหาสารฟอกขาวในตัวอยางอาหารที่นักเรียนซื้อมา ไดแก ถ่ัวงอก หนอไมสด หนอไมดอง หนอไมปบ ขิงดอง ขิงฝอย ทเุรียนกวน มะขามกวน พุทรากวน ยอดมะพราว ผลการทดสอบไมพบสารฟอกขาวในตวัอยางอาหารที่นํามาทดสอบ - นักเรยีน อย.นอย ทําแบบทดสอบความรูความเขาใจเกี่ยวกับสารฟอกขาว 3.3. การทดสอบเพื่อหาสารฟอรมาลิน ขอบขายเนื้อหา - วิทยากรบรรยายเกี่ยวกับอันตรายของสารฟอรมาลินที่เจือปนในอาหาร - วิทยากรประจําฐานสาธิตและทดสอบหาสารฟอรมาลินในตัวอยางอาหาร - นักเรียน อย.นอย ทดสอบหาสารฟอรมาลินในตัวอยางอาหารที่นักเรียนซื้อมา ไดแกผักคะนา ผักกวางตุง ผักกาดขาว กระหล่ํา เนื้อหมูสด เนื้อววัสด ปลาหมึกสด กุงสด เนื้อไก ผักกาดจอน ผลการทดสอบพบสารฟอรมาลีนในผักกาดขาวเพยีงอยางเดยีว

124

Page 134: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

เจาหนาที่สาธารณสุขอําเภอลับแลที่เปนวทิยากรประจําฐานไดสอบถามสถานที่ จําหนายผักกาดขาวจากนักเรียน อย.นอยเพื่อดําเนินการขยายผลตอไป

- นักเรยีน อย.นอย ทําแบบทดสอบความรูความเขาใจเกี่ยวกบัสารฟอรมาลิน 3.4. การทดสอบเพื่อหาสารกันรา ขอบขายเนื้อหา - วิทยากรประจําฐานบรรยายเกีย่วกับอนัตรายของสารกันราที่เจือปนในอาหาร - วิทยากรประจําฐานสาธิตและทดสอบหาสารกันราในตัวอยางอาหาร - นักเรียน อย.นอย ทดสอบหาสารกันราในตัวอยางอาหารที่นักเรยีนซ้ือมาไดแกผักเสีย้น

ดอง ถ่ัวลิสงปน กุงแหง ผักกาดดอง มะยมดอง มะมวงดอง ฝร่ังดอง มะดนัดอง พุทราดอง องุนดอง ผลการทดสอบพบสารกนัราในผกัเสี้ยนดองเพยีงอยางเดยีว เจาหนาที่สาธารณสุขอําเภอลับแลที่เปนวิทยากรประจําฐาน ไดสอบถามสถานที่จําหนาย ผักเสี้ยนดองจากนักเรียน อย.นอย เพื่อดําเนินการขยายผลตอไป

- นักเรยีน อย.นอย ทําแบบทดสอบความรูความเขาใจเกี่ยวกับสารกนัรา 3.5. การเลือกซ้ือผลิตภัณฑอาหาร ขอบขายเนื้อหา - วิทยากรประจําฐานบรรยายเกี่ยวกับการเลือกซื้อผลิตภัณฑอาหาร - วิทยากรสาธิตวิธีเลือกซื้อผลิตภัณฑอาหารสดและอาหารแหงที่ถูกตองเชน เนื้อหมสูด เนื้อไกสด ปลาสด กุงสด หอยแครง ผักคะนาสด ผักกวางตุง กุงแหง เมล็ดถ่ัวลิสงแหง - นักเรยีน อย.นอย แสดงวิธีเลือกซื้อผลิตภัณฑอาหารสดและอาหารแหงที่ถูกตอง โดยใหศึกษาเปรียบเทียบจากตัวอยางอาหารที่วิทยากรนํามาสาธิตทั้งแบบที่ควรซื้อ และไม ควรซื้อ - นักเรียน อย.นอย ทําแบบทดสอบความรูเกี่ยวกับการเลือกซื้อผลิตภัณฑอาหาร 3.6. ฉลากโภชนาการและการทดสอบเกลือไอโอดีน ขอบขายเนื้อหา - วิทยากรประจําฐานบรรยายเกี่ยวกับการทดสอบเกลือไอโอดีน - นักเรียน อย.นอย ทดสอบหาสารไอโอดีนในเกลืออนามัยที่วิทยากรจัดเตรียมไว ใหผลการทดสอบพบวาเกลอืไอโอดีนมีสารไอโอเดท 30 พีพีเอ็มถือวาไดมาตรฐาน ถาต่ํากวา 30 พีพีเอ็มถือวาไมไดมาตรฐาน - วิทยากรประจําฐานบรรยายเกี่ยวกับฉลากโภชนาการเชนฉลากนมสด นมเปรี้ยว - นักเรียน อย.นอย ทําแบบทดสอบความรูความเขาใจเกี่ยวกับฉลากโภชนาการ 3.7. สุขวิทยาผูสัมผัสอาหาร การลางมือ ขอบขายเนื้อหา - วิทยากรประจําฐานบรรยายเกี่ยวกับสุขวิทยาผูสัมผัสอาหาร การลางมือ - วิทยากรสาธิตเกี่ยวกับสุขวิทยาผูสัมผัสอาหารและการลางมือที่ถูกตอง - นักเรียน อย.นอย ทําแบบทดสอบความรูและแสดงวิธีลางมือที่ถูกตอง

125

Page 135: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

3.8. การเลือกซื้อผลิตภัณฑเครื่องสําอางและการทดสอบเพื่อหาสารหามใช ขอบขายเนื้อหา

- วิทยากรบรรยายเกี่ยวกับการเลือกซื้อผลิตภัณฑเครื่องสําอางและทดสอบหาสารหามใช - วิทยากรประจําฐานสาธิตและทดสอบหาสารหามใชในผลิตภัณฑเครื่องสําอาง - นักเรียน อย.นอย ทดสอบหาสารหามใชในผลิตภัณฑเครื่องสําอางตัวอยางที่วิทยากร จัดเตรียมไวให - นักเรยีน อย.นอย ทําแบบทดสอบความรูเร่ืองการเลือกซื้อผลิตภัณฑเครื่องสําอาง 3.9. ความรูดานยา การสังเกตยาหมดอายุและการเก็บรักษายา ขอบขายเนื้อหา - วิทยากรบรรยายเกี่ยวกับความรูดานยา การสังเกตยาหมดอายุ การเก็บรักษายา - วิทยากรแสดงตัวอยางยาเสื่อมคุณภาพและยาหมดอายุ - นักเรียน อย.นอย ทําแบบทดสอบความรูดานยา ยาหมดอายุ และการเก็บรักษายา 3.10. การสํารวจผลิตภัณฑสุขภาพในรานคาและชุมชน ขอบขายเนื้อหา - วิทยากรบรรยายและเกี่ยวกับการสํารวจผลิตภณัฑสุขภาพในรานคาและชุมชน - วิทยากรประจําฐานแสดงตัวอยางผลิตภัณฑสุขภาพในรานคาและชุมชน - นักเรียน อย.นอย แสดงวิธีการเลือกซื้อผลิตภัณฑสุขภาพที่วิทยากรจัดเตรียมไวให - นักเรียน อย.นอย ทําแบบทดสอบความรูเกี่ยวกับการสํารวจผลิตภัณฑสุขภาพ

4. สรุปผลการออกเดินแรลลี่ เพื่อมอบรางวัล ทีมที่ไดรางวัลชนะเลิศ ไดแก ทีมสีขาว รองชนะเลิศอันดับหนึ่ง ไดแก ทีมสีเทา รองชนะเลิศอันดับสอง ไดแก ทีมสีสม

5. เจาหนาที่สาธารณสุขอําเภอลับแลรายงานผลและสงตอขอมูลใหสาธารณสุขอําเภอลับแลทราบชนิดของตัวอยางอาหารในตลาดศรีพนมมาศที่ตรวจพบสารปนเปอน เชน พบบอแรกซในลอดชอง ฟอรมาลีนในผักกาดขาวและสารกันราในผักเสี้ยนดองเพื่อใหมีการขยายผลตอไป

การประเมินผล 1. จํานวนนักเรียนแกนนํา และตัวแทนนักเรียน อย.นอย ที่เขารวมโครงการฯ บรรลุเปาหมายที่ตั้ง

ไว คือ 242 คน จาก 15 โรงเรียน 2. งบประมาณที่ใชดําเนินการอยูในเปาหมายที่ตั้งไวคือ 100,000บาท 3. นักเรียน อย.นอย มีความรูในเรื่องพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่เหมาะสม สามารถ

ผานการทดสอบความรูในแตละฐานความรูดวยคะแนนเฉลี่ย 88.50 เปอรเซ็นต 4. ผลการประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมโครงการฯ พบวาผูเขารวมประชุมสวน

ใหญมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ (รายละเอียดแสดงในแผนภูมิ)

126

Page 136: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ผลการประเมนิความพงึพอใจในการจัดกิจกรรมโครงการคายพัฒนาเยาวชนคุมครองผูบริโภค อย นอย

ระดับความพึงพอใจ กิจกรรมคายพัฒนาเยาวชน คุมครองผูบริโภค นอยท่ีสุด

(คน) นอย (คน)

ปานกลาง(คน)

มาก (คน)

มากท่ีสุด(คน)

รวม (คน)

ทานคิดวากิจกรรมใน 10 ฐาน มีความนาสนใจหรือไม

2 (1%)

2 (1%)

41 (25%)

80 (48%)

42 (25%)

167(100%)

ทานคิดวาวิทยากรสามารถ ถายทอดความรูไดดีหรือไม

1 (0.5%)

2 (1%)

40 (24%)

86 (51.5%)

38 (23%)

167(100%)

ทานคิดวาระยะเวลาการประชุม มีความเหมาะสมหรือไม

4 (2%)

8 (5%)

68 (40%)

61 (37%)

26 (16%)

167(100%)

ทานคิดวาสถานที่จัดประชุม มีความเหมาะสมหรือไม

12 (7%)

12 (7%)

48 (29%)

73 (44%)

22 (13%)

167(100%)

ทานคิดวาการประชุมสามารถใหความรูและประโยชนแกทานหรือไม

2 (1%)

4 (2%)

33 (20%)

73 (44%)

55 (34%)

167(100%)

สรุปและวิเคราะหผลการประเมินความพึงพอใจของผูเขารวมประชุม 1. สถานที่ใชจัดประชุมไดรับความพึงพอใจนอยที่สุด เนือ่งจากมีงบประมาณจาํกัดและมีผูเขารวม

ประชุมจํานวนมากจึงตองจดักิจกรรมในโรงเรียนมัธยมศึกษา ทําใหมสีาธารณูปโภคไมเพียงพอ ที่จะอํานวยความสะดวกสบาย และสรางความพึงพอใจสูงสุดใหกับผูประเขารวมประชุมได เชนหองประชมุและหองนอนติดเครื่องปรับอากาศ

127

0

10

20

30

40

50

60

นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

รูปแบบ

เนื้อหา

กิจกรรม

วิทยากร

ระยะเวลา

สถานที่

ประโยชน

จํานวน(เปอรเซ็นต)

ระดับความพึงพอใจ

Page 137: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2. วิทยากรไดรับความพึงพอใจจากผูเขารวมประชุมเปนอยางมาก เพราะวิทยากรมีความหลากหลาย มีความรูและสามารถถายทอดความรูใหผูรวมอบรมไดเปนอยางด ี

3. ผูเขารวมอบรมเห็นวาการประชุมครั้งนี้มีประโยชนมาก ประโยชนทีไ่ดจากการประชุมจึงไดรับความพึงพอใจสูงสุด

ผลที่ไดรับจากการประชุม 1. ตัวแทนนักเรยีน อย.นอย แตละโรงเรียน มคีวามรูความเขาใจในบทบาทหนาที่ของ อย.นอย 2. นักเรียน อย.นอย มคีวามรูในเรื่องในเรื่องพฤติกรรมการบริโภคผลิตภณัฑสุขภาพทีเ่หมาะสม 3. เครือขายเยาวชนคุมครองผูบริโภคแตละโรงเรียนมีความเขมแข็งมากขึ้นและมีการดาํเนิน

กิจกรรมอยางตอเนื่องจากรุนพี่ไปสูรุนนอง 4. ตัวแทนนักเรียน อย.นอย สามารถนาํความรูที่ไดรับจากการอบรมไปเผยแพรตอยังเพื่อนใน

โรงเรียนครอบครัว และชุมชนโดยรอบโรงเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ 5. นักเรียนแกนนําที่เขารวมกจิกรรมฯสามารถทํางานกันเปนหมูคณะและสามารถทํางานรวมกับ

ผูอ่ืนอยางมีกระบวนการได ขอเสนอแนะของผูเขารวมประชุม

1. มีผูเขารวมประชุมจํานวนมาก ทําใหสถานที่ซ่ึงใชเขาคายไมสามารถใหความสะดวกสบายกับผูเขาประชุมไดอยางทั่วถึง ควรแบงจดัประชุมเปน 2 รุน

2. ระยะเวลาที่ใชในการเขาคายนานเกินไป ควรจดั 1-2 วัน มากกวา 3 วัน และแบงจัดปละ 2 คร้ัง 3. มีกิจกรรมและจํานวนฐานความรูมากเกินไป ระยะทาง 5 กโิลเมตร ที่ใชในการเดินแรลล่ี ไกล

เกนิไป และอากาศรอนมาก ควรจัดชวงหนาหนาวมากกวาหนารอน 4. ควรจัดกจิกรรมโครงการคายฯบอยๆเพื่อใหสมาชิกเครือขาย อย.นอย รูจัก แลกเปลี่ยน เรียนรู

ถายทอดประสบการณการทํากิจกรรม อย.นอยในแตละโรงเรียน 5. ควรจัดกจิกรรมโครงการคายฯบอยๆเพราะเปนกจิกรรมที่สนุก ใหความรูและมีประโยชนเปน

อยางมาก ภาพกจิกรรม

128

Page 138: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

129

Page 139: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

1.2.4.4 โครงการประกวดกิจกรรม อย.นอย จังหวัดอุตรดติถ ป 2550 หลักการและเหตุผล ปจจุบันงานคุมครองผูบริโภค นอกจากการดูแลผลิตภณัฑสุขภาพทีว่างจําหนายในทองตลาดใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และมคีวามปลอดภยั ดูแลการนําเสนอขอมูลไปสูผูบริโภคไมวาจะเปนรูปแบบของการโฆษณาหรือการแสดงฉลากใหมีความถกูตองเหมาะสมแลว ยังตองมกีารพฒันาศกัยภาพผูบริโภคในการเลือกซ้ือเลือกบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพไดอยางปลอดภัย มวีิจารณญาณในการรับรูขอมูลขาวสาร รูจักสิทธิของตนเองและปกปองสิทธิของตนเมื่อถูกละเมิดได โดยเฉพาะกลุมผูบริโภคที่เปนเยาวชนเพราะเยาวชนเปนทรัพยากรมนษุยที่ทรงคุณคาของประเทศไทย เมื่อเยาวชนมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่ถูกตองเหมาะสม และมีการขยายผลไปสูครอบครัวและชุมชนจะสามารถลดอัตราการเจบ็ปวยและลดรายจายดานการรักษาพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุขและประเทศไทย อย.นอย ถือกาํเนิดขึ้นในป 2545 ในลักษณะโครงการนาํรอง และมีการดําเนินการอยางจริงจังในป 2546 โดยมีโรงเรียนระดบัมัธยมศึกษาจัดตั้งชมรมคุมครองผูบริโภคในโรงเรียนและทํากิจกรรม อย.นอย จากนั้นในป 2547 ไดขยายกิจกรรมครอบคลุมโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาทั่วประเทศโดยมีวัตถุประสงคในการดําเนินงานเพื่อใหนักเรยีนมีพฤตกิรรมการบริโภคผลิตภณัฑสุขภาพอยางถกูตองเหมาะสม โดยใหนกัเรยีนมีการเรียนรูจากการปฏิบัติจริง และมีการขยายผลไปสูเพื่อนๆ ครอบครัว และชุมชน ใหมีความรูในการเลือกซ้ือและบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพอยางฉลาดและปลอดภัยเพื่อใหสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ ไดรวมกับกระทรวงศึกษาธิการ ดําเนินโครงการพัฒนาเยาวชนคุมครองผูบริโภค (อย.นอย) เครือขายจังหวัดอุตรดิตถ ในป 2546 ระยะเริม่ตนดําเนนิโครงการ อย.นอย มีโรงเรียนมัธยมศึกษาที่สมัครใจเขารวมกิจกรรม จํานวน 3 แหง จนกระทั่งป 2548 ไดขยายเครือขายและพัฒนาโครงการ อย.นอย จนครอบคลมุโรงเรยีนมัธยมและโรงเรยีนขยายโอกาสทัว่ทั้งจังหวดั ดังนั้นเพื่อเปนการสงเสริมและสนับสนุนใหนักเรยีน อย.นอย มีการดําเนินกิจกรรมคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพอยางตอเนื่อง และกระตุนใหนักเรียน อย.นอย ไดมีโอกาสแสดงความรู ความสามารถ ศักยภาพ และความคิดริเร่ิมสรางสรรคในการดําเนินกิจกรรมโครงการ อย.นอย ใหประสบความสําเร็จอยางโดดเดน สามารถเปนตวัแทนของเขตพืน้ทีก่ารศกึษาในการประกวดระดับกลุมตรวจราชการและระดบัประเทศตอไป จังหวัดอุตรดิตถ จึงไดจัดทําโครงการประกวด อย.นอย จังหวดัอุตรดิตถ ป 2550 นี้ขึ้น เพื่อคัดเลือกโรงเรียนที่มีผลงานดีเดนสงเขาประกวดตอไป วัตถุประสงคของโครงการ

• วัตถุประสงคเฉพาะ เพื่อคัดเลือกโรงเรียนในการเปนตัวแทนเขตพื้นที่การศึกษา ไปประกวดระดับกลุมตรวจราชการ

และระดับประเทศตอไป

130

Page 140: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

• วัตถุประสงคทั่วไป 1. เพื่อสงเสริมและสนบัสนนุใหนกัเรยีน อย.นอย ทํากิจกรรมทีเ่ปนประโยชนตอตนเองและ สังคม 2. เพื่อสงเสริมและปลูกฝงใหนักเรียน อย.นอย มีการพัฒนาพฤติกรรมการบริโภคอยางถูกตอง

สามารถดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชนได 3. เพื่อกระตุนใหนักเรียน อย.นอย สามารถทํากิจกรรม อย.นอย อยางสรางสรรค มีรูปแบบ

ที่โดดเดน เปนแบบอยางทีด่ีในการดําเนนิกิจกรรม อย.นอย ในจังหวดัอุตรดิตถได 4. เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหนักเรยีน อย.นอย มีการดําเนินกิจกรรม อย.นอย อยางตอเนื่อง

และยั่งยืน เปาหมาย แกนนํา อย. นอย ในโรงเรียนมัธยมศึกษา จํานวน 19 โรงเรียนในจังหวัดอุตรดิตถ งบประมาณ ไดรับการสนบัสนุนงบประมาณจากสํานกังานคณะกรรมการอาหารและยา จํานวนเงิน 50,000 บาท

รายละเอียดดงันี้ 1. เงินรางวัลการประกวด 7 รางวัล พรอมเกียรตบิัตร เปนเงิน 18,500 บาท

2. คาอาหารกลางวันและอาหารวาง 100 คนๆละ 70 บาท เปนเงิน 7,000 บาท 3. คาใชจายในการดําเนินการจดัประกวด เปนเงิน 3,000 บาท 4. คาใชจายในการประเมินโรงเรียน คาเบี้ยเล้ียง 9 คน x 108 บาท x 2 วัน และ 1 คน x 72 บาท x 2 วัน เปนเงิน 1,872 บาท 5. น้ํามันเชื้อเพลิง เปนเงิน 3,272 บาท 6. สนับสนุนงบประมาณสําหรับตัวแทนโรงเรียน ในการดําเนินกิจกรรม ประกวด อย.นอย ระดับเขต เปนเงิน 15,000 บาท

สถานที่ดําเนินการ หองประชุมใหญสํานักงานเขตพื้นที่การศกึษาอุตรดิตถเขต 1

ระยะเวลาการดําเนินงาน วันที่ 6 กรกฏาคม พ.ศ. 2550

ผลการดําเนินงาน 1. โรงเรียนที่สมัครเขารวมประกวดกิจกรรม อย.นอย จังหวดัอุตรดติถ ระดับเขตพืน้ทีก่าร ศึกษา จากสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถเขต 1 มีจํานวน 6 โรงเรียน แบงเปนโรงเรียนที่มีนักเรียน

1,500 คน ขึ้นไป (โรงเรียนขนาดใหญ) 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนพิชัย, โรงเรียนอุตรดิตถ และโรงเรียน ที่มีนักเรียนไมเกิน 1,500 คน(โรงเรียนขนาดเลก็) จํานวน 4 โรงเรียน คือ โรงเรียนตรอนตรสิีนธุ , โรงเรียนลับแลพิทยาคม , โรงเรียนอุตรดิตถวิทยาและบานโคนพิทยา

131

Page 141: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2. โรงเรียนทาปลาประชาอุทิศไดรับการคัดเลือกใหเปนตัวแทนโรงเรียนขนาดเล็กของโรงเรียนในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถเขต 2 เขารวมประกวดกจิกรรม อย.นอย ระดับกลุมตรวจราชการ เพราะไมมีโรงเรียนอื่นๆในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถเขต 2 สมัครเขาประกวด 3. คณะกรรมการตัดสินประกอบไปดวย

3.1 นายธีรยุทธ ทาปุก รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ เขต 1 3.2 นายวิมล ภูดัด รองผูอํานวยการสํานกังานเขตพื้นทีก่ารศึกษาอุตรดิตถ เขต 2 3.3 นายละเอยีด สนแยม ประธานชมรมผูบริโภค 3.4 นางอมรพรรณ ยมจนิดา กรรมการชมรมผูบริโภค 3.5 นางนอมจิตร เรียงสี เจาพนักงานสาธารณสุขชุมชน 6 3.6 นางพรพมิล ภวูธนานนท เภสัชกร 8

4. กรรมการรวมประชุมปรึกษาและหาขอตกลงรวมกันเรื่องหลักเกณฑและกรอบการใหคะแนน การประกวด อย.นอย ระดบัเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวดัอุตรดิตถ ไดขอตกลงรวมกนัดังนี้คือ

ตารางที่ 39 หลักเกณฑการประกวดโครงการ อย.นอย ป 2550 (แบบฟอรมการใหคะแนนโรงเรยีนที่เขาประกวดของกรรมการ) ระดับคุณภาพ รายการ

ตัวชี้วัด

5 4 3 2 1 1. มีสมาชิกแกนนําอยางนอย1 คน ตอ 1 หองเรียน และมีสมาชิกสมทบหรือผูเขารวมกิจกรรม อย.นอย ไมนอยกวา 25 % ของนักเรียนทั้งหมด

2. มีการประชุมกรรมการ/มีการจัดทําแผนงานเปนเอกสาร โดยมีรายละเอียดตางๆ เชน ผูรับผิดชอบ , ระยะเวลาในการดําเนินงาน เปนตน

3. มีการประชุมกรรมการชมรม

1. การดําเนินงาน อย.นอยใน โรงเรียน

(50 คะแนน)

4. นักเรียนมีกิจกรรมเผยแพรความรูในโรงเรียน

5. นักเรียนมีการนํากจิกรรม อย.นอย ไปเชื่อมโยงกับวชิาทีเ่รียน เชน นําความรูดานผลิตภัณฑสุขภาพไปผสมผสานกับการบาน / งานที่ไดรับมอบหมาย เปนตน

6. มีกิจกรรมสงเสริม สุขลักษณะของสถานที่ตางๆ เชน โรงอาหาร หองสุขา เปนตน

7. มีการเสริมสรางพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียน เชน อางลางมือการลางมือ ที่ถูกสุขลักษณะ

8. มีอุปกรณปองกันการปนเปอนของผูจําหนายอาหาร

9. มีการตรวจสอบอาหารในโรงเรียน โดยใชชุดทดสอบเบื้องตนอยางนอย 2 ชนิดและนําผลการตรวจสอบไปดําเนินการตอ

132

รายการ ตัวชี้วัด ระดับคุณภาพ

Page 142: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

5 4 3 2 1

10. การสนับสนุนของผูบริหารและบุคลากรในโรงเรียน 1. มีการตรวจสอบผลิตภัณฑอาหาร 2. มีการตรวจสอบผลิตภัณฑยาและเครื่องสําอาง 3. มีการตรวจสอบวัตถุอันตราย เชน ยาฆาแมลง น้ํายาลางหองน้ํา น้ํายาลางจาน เปนตน

2.การบริโภคและการตรวจสอบผลิตภณัฑสุขภาพในครัวเรือน

(20คะแนน) 4. นําความรูไปใชประโยชนในบานเรือน เชน ใชเลือกซื้ออาหาร

1. มีกิจกรรมรวมกันระหวางโรงเรียนในเครือขาย 3. การสรางเครือ ขาย อย.นอย (10 คะแนน) 2. มีกิจกรรม อย.นอย สอนนอง

1. มีการเผยแพรความรูในชุมชน 4. การขยายผล อย.นอย สูชุมชน

(10 คะแนน) 2. มีกิจกรรมที่นาสนใจอื่นๆ ตารางที่ 40 กรอบการใหคะแนนการประกวด อย.นอย ระดบจังหวัด ป 2550 (เฉพาะกรรมการ)

รายการ ตัวชี้วัด คะแนน มีสมาชิกแกนนํา อย.นอย 1 คน/หองเรียน และมีสมาชิกสมทบหรือ ผูรวมกิจกรรม อย.นอย ไมนอยกวา 25 % ของนักเรียนทัง้หมด โดย ถามีสมาชิกสมทบหรือผูรวมกิจกรรม อย.นอย นอยกวา 20 % ถามีสมาชิกสมทบหรือผูรวมกิจกรรม อย.นอย นอยกวา 25 % ถามีสมาชิกสมทบหรือผูรวมกิจกรรม อย.นอย 25 - 30 % ถามีสมาชิกสมทบหรือผูรวมกิจกรรม อย.นอย 31 - 35 % ถามีสมาชิกสมทบหรือผูรวมกิจกรรม อย.นอย มากกวา 36 %

1 2 3 4 5

มีกิจกรรมครบ 5 อยาง ไดแก มีแผนงานเปนลายลักษณอักษร , มีรายละเอียดกิจกรรม , มีระยะเวลาในการปฏิบตัิกิจกรรม , มีผูรับผิดชอบในการปฏิบัติกิจกรรม , มีการดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง

5

มีการประชุมกรรมการชมรมฯมากกวา 2 คร้ัง และบันทึกการประชุม เปนลายลักษณอักษร

5

มีกิจกรรมเผยแพรความรูในโรงเรียน 5 กิจกรรม ขึ้นไป เชน นําเสนอหนาเสาธง,แจกเอกสาร ความรู/จัดปายนิเทศ , จัดรายการเสยีงตามสาย , กิจกรรมนันทนาการนทิรรศการ

5

1.การดําเนินงาน อย. นอยในโรงเรียน

(50 คะแนน)

มีการนําเสนอกิจกรรม อย.นอย ไปเชื่อมโยงกบัวิชาเรียนมากกวา 4 กลุมสาระวิชา 5

133

รายการ ตัวชี้วัด คะแนน

Page 143: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

มีกิจกรรมสงเสริมสขุลักษณะของสถานที่ตางๆเชนโรงอาหาร , หองสุขา เปนตน มากกวา 4 กิจกรรม

5

มีการเสริมสรางพฤตกิรรมสุขภาพของนักเรียน เชน มีกอกน้ํา , มีอางลางมือ มีสบูลางมือ , กิจกรรมสงเสริม สุขลักษณะนิสัยที่ด ี

5

มีอุปกรณปองกันการปนเปอนถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร 80 % ขึ้นไป 5 ใชชุดทดสอบเบื้องตน มากกวา 2 ชนิดขึ้นไป เดือนละ 1 คร้ัง นําผลการตรวจสอบไปดําเนินการตอ

5

1.การดําเนินงาน อย. นอยในโรงเรียน

(50 คะแนน)

มีการสนับสนุนในเรื่องงบประมาณ , สถานที่ , คําแนะนํา , ความชวยเหลือเบื้องตนความรวมมือในการทํากิจกรรมจากผูบริหารและบุคลากรในโรงเรียน

5

มีการตรวจสอบผลิตภัณฑอาหารโดย (มีการตรวจสอบทางกายภาพ , มีการตรวจสอบฉลาก , มีการดําเนินการตอ , ตรวจทุกเดือน)

5

มีการตรวจสอบผลิตภัณฑยาและเครื่องสําอางโดย (มีการตรวจสอบทางกายภาพ , มีการตรวจสอบฉลาก , มีการดําเนินการตอ ,ตรวจทุกเดือน)

5

มีการตรวจสอบวัตถุอันตรายโดย (มีการตรวจสอบทางกายภาพ , มีการตรวจสอบฉลาก , มีการดําเนินการตอ , ตรวจทุกเดือน)

5

2.การบริโภคและการตรวจสอบผลิต ภัณฑสุขภาพในครัวเรือน

(20คะแนน)

นําความรูไปใชประโยชนในบานเรือนโดยมีหัวขอดังนี ้การเลอืกซื้ออาหาร รูเทาทนัสื่อ , ฉลาดในการบริโภค , แนะนําผูอื่นได

5

มีกิจกรรมรวมกันระหวางโรงเรียนในเครือขายมากกวา 5 โรงเรียน 5 3. การสรางเครือขาย อย. นอย

(10คะแนน) มีกิจกรรม อย.นอย สอนนอง มากกวา 5 คร้ัง ใน 1 ปการศึกษา 5

มีการเผยแพรความรูในชุมชน เชน หอกระจายขาว วิทยุชมุชน ฯลฯ มากกวา เดือนละ 1 คร้ัง

5 4.การขยายผล อย.นอยสูชุมชน

(10คะแนน) มีกิจกรรมที่นาสนใจอื่นๆเชนกิจกรรมรณรงคดานผลิตภัณฑสุขภาพ มากกวา 1 คร้ัง / ปการศึกษา , สรางสรรค , สามารถเปนแบบอยางที่ดีได

5

มีการทํางานเปนทีมทุกคนมีสวนรวม , ครอบคลุมทุกเร่ืองที่ทํารองรอย 5 5. การนําเสนอผลงานของนักเรียน

(10คะแนน) มีการนําเสนอที่นาสนใจ , ประติดประตอ .มีการดําเนินตามขั้นตอน 5

รวมคะแนนทั้งสิ้น 100

• วิธีการตัดสิน คณะกรรมการใหคะแนนตามแบบฟอรมที่กําหนดโดยใหคะแนนแบบ Ranking คือ โรงเรยีนที่ไดคะแนนสูงสดุให 5 คะแนน รองลงมา 4 , 3 , 2 คะแนนและโรงเรียนสุดทายได 1 คะแนน

• กรรมการใหคะแนนผูเขาแขงขันแบบ Ranking โดยแยกเปน 2 กลุม ดังนีค้ือ

134

กลุมโรงเรยีนขนาดใหญ ผูเขาแขงขนัมี 2 โรงเรยีนไดแก โรงเรยีนอุตรดิตถและโรงเรยีนพิชัย กลุมโรงเรยีนขนาดเลก็ มีผูเขาแขงขนั 4 โรงเรียน ไดแกโรงเรียนอตุรดติถวทิยา โรงเรยีนลับแลพิทยาคม โรงเรียนบานโคนพิทยา และโรงเรียนตรอนตรีสินธ

Page 144: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

• กรณีที่โรงเรียนที่เขาแขงขันกลุมเดียวกัน สามารถทําคะแนนไดตามเกณฑตัวช้ีวัด 5 คะแนนเต็มเหมือนกันใหกรรมการเปรียบเทียบถาโรงเรียนไหนทาํกิจกรรมไดสมบูรณมากกวาหรือมีปริมาณและคณุภาพผลงานเชิงประจักษและรวบรวมผลงานเปนลายลักษณอักษรไดดกีวา ใหกรรมการพจิารณาใหคะแนนตามความเหมาะสมลดหลัน่กนัไปตามลําดับ ไดแก 5 , 4 , 3 , 2 และ1 เพื่อใหสามารถคัดเลือกผูชนะไดอยางชัดเจน

• กรรมการออกไปประเมนิโรงเรยีนทีเ่ขารวมประกวดกจิกรรม อย.นอย จังหวดัอุตรดิตถ จํานวน 6 โรงเรียน ในวนัที่ 3 และ 4 กรกฏาคม 2550 เพื่อไปดูรองรอยและหลกัฐานเชิงประจักษในการดําเนินกิจรรม อย.นอย ของแตละโรงเรียนเพื่อใชเปนสวนประกอบการใหคะแนนกอนที่จะมีการประกวดการนําเสนอผลงานของนักเรยีน อย.นอย จังหวดัอุตรดิตถ ในวันที่ 6 กรกฏาคม 2550

• กรอบการใหคะแนนตรวจเยีย่มโรงเรียน การใหคะแนนเปนการใหคะแนนโดยใชดุลพินิจของกรรมการแตละทานภายใตแนวทางการใหคะแนนสําหรบักิจกรรมในแตละหวัขอดงันี้

กรรมการจะมกีารพูดคยุสัมภาษณผูบริหารโรงเรียนถึงการมีสวนรวมและสนับสนุนกิจกรรม อย.นอย สัมภาษณอาจารยที่ปรึกษาชมรม อย.นอย วามีความเอาใจใสในกิจกรรม อย.นอย หรือไม อยางไร

สัมภาษณแกนนํา อย.นอย ถึงการดําเนินกจิกรรม อย.นอย และสัมภาษณ นกัเรียนทั่วไป อยางนอย จํานวน 3 คน (กรรมการเลือกเอง) เกีย่วกบักิจกรรม อย.นอย เชน รูจกัโครงการ อย.นอย หรือไม

• กรรมการไปตรวจดูสภาพ โรงอาหาร, หองสุขา, อางลางมือ และสุขลักษณะของผูปรุงจําหนายอาหาร มคีวามสะอาด ถูกหลักอนามยัและมกีารสัมภาษณผูจําหนายอาหารอยางนอย 2 คน กรรมการเลือกเอง โดยสัมภาษณเร่ืองการรักษาความสะอาด/การเลือกซื้ออาหาร หรือ อ่ืนๆ

• ดูรองรอยกิจกรรมตางๆ ของ อย.นอย ตามการนาํเสนอของนักเรยีนแกนนํา อย.นอย เชนการเผยแพรความรูในโรงเรียน โดยพิจารณาจาก ปาย, บอรดนิทรรศการ, เอกสาร, แผนพับ, การนําความรู อย.นอย ไปแทรกในบทเรยีน, รองรอยการทํากิจกรรมในชุมชน

• ดูกิจกรรมอื่นๆที่นาสนใจในโรงเรียนเชนหองพยาบาลไมมียาหมดอายุ ยาเสื่อมคุณภาพ มีฉลากครบถวน

135

• เยี่ยมชมชมรม อย.นอย พรอมดูเอกสารการปฏิบัติงานของ อย.นอย เชน ดูสถานที่ ที่ อย.นอยใชทํากิจกรรม,โครงสรางของชมรม อย.นอย , รายงานการประชุม , แผนการทํางานทีเ่ปนลายลักษณอักษร รองรอยการดําเนินงานตามแผนงาน และอ่ืนๆ

Page 145: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

5. โรงเรียนที่เขารวมประกวด อย.นอย แขงขันกันนําเสนอผลงาน ที่หองประชุมใหญสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ เขต 1ในวันที ่6 กรกฏาคม 2550 เรียงตามลําดับ โดยการจับฉลาก ดังนี้ คือโรงเรียนตรอนตรีสินธุ , โรงเรียนบานโคนพิทยา ,โรงเรียนอุตรดิตถ , โรงเรียนพิชัย ,โรงเรียนลับแลพิทยาคม , โรงเรียนอุตรดิตถวิทยา และโรงเรียนทาปลาประอุทิศ แตละโรงเรียนใชเวลานําเสนอผลงาน 10–15 นาที และกรรมการซักถาม 5 นาที

6. ประกาศผลการประกวดกจิกรรม อย.นอย ระดับเขตพืน้ที่การศึกษา ของจังหวดัอุตรดิตถ 6.1 โรงเรียนขนาดใหญที่ไดรับรางวัลชนะเลิศระดับเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถเขต 1 ไดแก โรงเรียนพิชยั (ไดคะแนน 93 เปอรเซ็นต) รองชนะเลิศไดแกโรงเรียนอุตรดิตถ (ได คะแนน 81.5 เปอรเซ็นต) 6.2 โรงเรียนขนาดเล็กที่ไดรับรางวัลชนะเลิศระดับเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถเขต 1 ไดแกโรงเรียนอุตรดิตถวิทยา (ไดคะแนน 83.5 เปอรเซ็นต) รองชนะเลิศไดแกโรงเรียน ลับแลพิทยาคม (ไดคะแนน 82.8 เปอรเซ็นต) รางวัลที่สาม ไดแก บานโคนพิทยา (ได คะแนน 78.8 เปอรเซ็นต) และรางวัลชมเชยไดแกโรงเรยีนตรอนตรีสินธุ (ไดคะแนน 77.5 เปอรเซ็นต) 6.3 โรงเรียนขนาดเลก็ที่เปนตวัแทนเขารวมประกวดกิจกรรม อย.นอย ระดับกลุมตรวจราชการ

จากสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถเขต 1 คือ โรงเรียนอุตรดิตถวิทยา , สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถเขต 2 คือ โรงเรียนทาปลาประชาอุทิศ

6.4 โรงเรียนขนาดใหญที่เปนตัวแทนเขารวมประกวดกิจกรรม อย.นอย ระดับกลุมตรวจราชการ จาก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอตุรดิตถเขต 1 คือ โรงเรียนพิชัย

ผลที่ไดรับจากการประกวดกจิกรรม อย.นอย 1. ไดโรงเรียนที่เปนตัวแทนเขตพืน้ที่การศึกษาจังหวัดอุตรดิตถ ทั้งเขต 1 และเขต 2 ไป ประกวด อย.

นอย ระดับ กลุมตรวจราชการและระดับประเทศตอไป 2. นักเรียน อย.นอย มีการพัฒนาพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพอยางถูกตอง สามารถดูแล

ตนเอง ครอบครัวและชุมชนได 3. นักเรียน อย.นอย สามารถทํากิจกรรม อย.นอย อยางสรางสรรค มีรูปแบบที่โดดเดน

เปนแบบอยางที่ดีในการดําเนินกิจกรรม อย.นอยในจังหวัดอุตรดิตถ 4. นักเรียน อย.นอย มีการดําเนนิกิจกรรม อย.นอย อยางตอเนื่องและยั่งยืน

136

5. นักเรียน อย.นอย มกีารเผยแพรประชาสัมพันธกจิกรรม อย.นอย ใหเปนที่รูจกักวางขวาง การประเมินผล

Page 146: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

1. โรงเรียนที่เขารวมโครงการประกวด อย.นอย จังหวดัอตุรดิตถ ป 2550 บรรลุเปาหมายที่ตั้งไววาตองมีตัวแทนโรงเรียนเขาประกวดครบทุกเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดอุตรดิตถ คือโรงเรียนขนาดใหญและเล็กในเขตพืน้ที่การศึกษาอุตรดิตถเขต 1 และโรงเรียนขนาดเล็กในเขตพืน้ที่การศึกษาอุตรดิตถเขต 2 เพราะเขตพื้นทีก่ารศึกษาอุตรดิตถเขต 2ไมมีโรงเรียนขนาดใหญ เนื่องจากป 2549 ที่ไมมีตัวแทนโรงเรียนจากเขตพื้นที่การศกึษาอุตรดิตถเขต 2 เขารวมการประกวด อย.นอย ระดบัเขตตรวจราชการที่ 2 ที่จังหวดัพิษณุโลก

2. งบประมาณทีใ่ชในการดําเนนิงาน 48,644 บาท อยูในเปาหมายที่ตั้งไวคอื 50,000 บาท เงินจํานวนนี้แบงเปนเงินรางวัลและเงินสนับสนุนโรงเรียนตัวแทนเขตพื้นที่การศึกษาในการดําเนินกิจกรรม เพื่อเตรียมตัวไปประกวดระดับเขตตรวจราชการถึง 33,500 บาท ซ่ึงเงินจํานวนนี้สวนใหญโรงเรียนจะนําไปพัฒนาการดําเนินกิจกรรม อย.นอยในโรงเรียนใหประสบความสําเร็จ

3. ผลการตรวจประเมินโรงเรยีนที่เขาประกวด อย.นอย ระดับจังหวัด พบวาโรงเรียนที่เขาประกวดมกีารพัฒนากจิกรรม อย.นอย ในโรงเรียนใหประสบความสําเร็จอยางโดดเดนเปนอยางมากและผูบริหารใหการสนับสนุนกิจกรรม อย.นอย เปนอยางดี โดยแตละโรงเรียนไดคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑการประกวดมากกวา 77 เปอรเซ็นตขึ้นไป เมื่อคณะกรรมการตัดสินการประกวดจากสํานกังานคณะกรรมการอาหารและยาไดทําการประเมินโรงเรยีน อย.นอย พบวาโรงเรียนทั้งหมดประเมนิไดระดับดีเยีย่ม

4. โรงเรียนทั้ง 3 แหง ที่ไดรับคัดเลือกเปนตัวแทนเขตพืน้ที่การศึกษาในจังหวัดอุตรดิตถ ประสบความสําเร็จเปนอยางมากในการไปประกวด อย.นอย ระดับเขตตรวจราชการที่ 2 ที่จังหวัดพษิณุโลก เพราะโรงเรียนอุตรดิตถวิทยาไดรับรางวัลชนะเลิศ และโรงเรียนทาปลาประชาอุทิศไดรับรางวัลรองชนะเลิศโรงเรยีนขนาดเลก็ โรงเรียนพิชัยไดรับรางวัลรองชนะเลิศโรงเรยีนขนาดใหญ นอกจากนีโ้รงเรยีนอตุรดติถวิทยายังไดรับรางวัลชมเชยและไดรับปายประเมินโรงเรยีนระดับดีเยี่ยมเมื่อไปประกวด อย.นอย ระดับประเทศ

สรุปและวิเคราะหผลการดําเนินงาน 1. การประกวดใชเวลามาก ทําใหกรรมการบางคนไมสามารถไปตรวจประเมินโรงเรยีน

ไดครบทั้ง 6 โรงเรียนเนื่องจากมีงานราชการเรงดวน ควรลดระยะเวลาหรือข้ันตอนการประกวดใหส้ันลงหรือตั้งเกณฑการตดัสินใหชัดเจนวากรรมการตองตรวจเยีย่ม

137

โรงเรียนไดครบทุกโรงเรียน ถากรรมการคนไหนไปไมครบทุกโรงเรียนที่เขาประกวดจะไมนาํคะแนนมารวมกับกรรมการคนอื่นในการตดัสินหาผูชนะเลิศ

Page 147: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2. ควรเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการประกวด จากการไปตรวจเยี่ยมโรงเรียนทุกโรงเรียนที่เขาประกวด แลวเอาคะแนนที่ไดจากการประเมินโรงเรียนมารวมกับคะแนนนําเสนอในวันประกวด เพื่อหาผูชนะเลิศ มาเปนการแขงขันการประกวดการนําเสนอกิจกรรม อย.นอย กอน แลวคัดเลือกโรงเรียนโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดใหญ ที่มีคะแนนการนําเสนอสูงสุดไวอยางละ 2 โรงเรียน กรรมการจะไปตรวจเยี่ยมโรงเรียนเพยีง 4 โรงเรียน เพื่อคัดเลือกหาผูชนะเลิศในแตละเขตพื้นทีก่ารศึกษา วิธีหลังนี้จะสามารถลดระยะเวลาในการตรวจเยีย่มโรงเรียนลงได

3. การตัดสินการประกวด อย.นอย มีการใหคะแนนโรงเรียนเปน 2 สวน คือ การแขงขันการนําเสนอผลงาน และการตรวจประเมินโรงเรยีน ทําใหเกิดปญหาและขอขัดแยงในการตัดสินหาผูชนะเลิศ เพราะบางโรงเรียนนําเสนอผลงานไดดีมาก แตการดําเนิน กิจกรรม อย.นอย ในโรงเรียนอยูในเกณฑพอใชได ขณะที่อีกโรงเรียนนําเสนอผลงานพอใชได แตการดําเนินกิจกรรม อย.นอย ในโรงเรียนอยูในเกณฑดีมาก

4. การใหคะแนนขึ้นกับดุลยพนิิจของกรรมการเปนสําคัญ เพราะเปนการใหคะแนนเชิงคุณภาพมากกวาเชิงปริมาณ เพราะโรงเรียนสวนใหญที่เขาประกวดจะมีกจิกรรมหรือผลงานเชิงปริมาณตรงตามตวัช้ีวดั ดังนั้นกรรมการจึงตอง ใช ดุลยพินิจเปนอยางมากในการเปรียบเทยีบคุณภาพของกิจกรรม

5. มีโรงเรียนขนาดเล็กในสํานกังานเขตพืน้ทีก่ารศึกษาอุตรดิตถ เขต 2 สมัครเขารวมประกวดเพียงโรงเรียนเดียว คือทาปลาประชาอุทิศ ทําใหไมมีคูแขงและไมเกิดการแขงขันเพื่อคัดเลือกตัวแทนเขตพื้นที่การศกึษา

6. การประกวดทกุอยางตองมีทัง้ผูแพและผูชนะ ผลการประกวดอาจจะทําใหโรงเรยีนที่แพการแขงขนัเกิดความทอแทและเสียกําลังใจในการดําเนินกิจกรรม อย.นอย ตอไปในอนาคต ดังนั้นผูเกีย่วของกับการประกวด ตองสรางความตระหนกัใหโรงเรียนที่เขาประกวดมีน้ําใจเปนนกักฬีา รูแพ รูชนะ และมุงหวังทีจ่ะพัฒนาผูเขาแขงขันมากกวาผลรางวัลการแขงขัน

7. จากการสํารวจความคิดเหน็ของอาจารยที่ปรึกษาชมรม อย.นอย ที่นํา นักเรียนเขารวมแขงขัน พบวามีความพึงพอใจและยอมรับผลการตัดสินเพราะมีความเชื่อถือขบวนการแขงขันและคณะกรรมการที่ทําหนาที่ตัดสิน และจะสง ตัวแทนนกัเรียน อย.นอย เขาประกวดอกีในปหนา เพื่อใหนักเรยีน อย. นอย มีโอกาสเรียนรูและฝกฝนตนเอง แมวาจะรูสึกเสียกําลังใจบางที่ไมไดรางวัลชนะเลิศ

138

Page 148: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ขอเสนอแนะ 1. ตองการใหมกีารจัดประกวดกิจกรรม อย.นอย ที่สํานักงานเขตพื้นทีก่ารศึกษาอุตรดติถ

เขต 2 สําหรับโรงเรียนที่สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศกึษาอุตรดิตถ เขต 2 เพราะจะชวยประหยัดงบประมาณ และเวลาในการเดินทาง

2. ควรมกีารจดันทิรรศการใหความรูเกีย่วกับกจิกรรม อย.นอย ในสถานที่ประกวดกิจกรรม อย.นอย เพื่อสรางบรรยากาศในการประกวดกจิกรรม อย.นอย ใหผอนคลายไมเครงเครยีดเกินไป

3. ควรกระตุนใหโรงเรียนที่สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศกึษาอุตรดิตถเขต 2 มีสวนรวมสงโรงเรียนเขารวมประกวดกิจกรรม อย.นอย ใหมากขึ้น เพี่อกระตุนใหเกิดการแขงขันและการพัฒนากิจกรรมโครงการ อย.นอย ในโรงเรียน

4. ควรกระตุนใหโรงเรียนทุกโรงเรียนที่สังกดัสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถเขต1 โดยเฉพาะโรงเรียนอุตรดิตถดรุณี มสีวนรวมสงโรงเรียนเขารวมประกวดกิจกรรม อย.นอย เพี่อกระตุนใหเกดิการแขงขัน และการพัฒนากจิกรรมโครงการ อย.นอย ในโรงเรียน เพราะเปนโรงเรียนขนาดใหญและโรงเรียนประจําจังหวัด

5. การประกวดมหีลักเกณฑและวิธีการตัดสินที่ซับซอนและใชเวลามาก ผูจัดประกวดควรนัดกรรมการ ประชุมหาขอตกลงรวมกันอยางนอย 2 คร้ัง

6. มีกรรมการบางคนเสนอใหลดขั้นตอนการประกวด โดยตัดขั้นตอนการแขงขันนําเสนอผลงานแตใหใชวิธีประเมินและนําเสนอที่โรงเรียนแทน เพื่อลดคาใชจายและลดเวลาในการดําเนินงาน

ภาพกจิกรรม การประกวดระดับจังหวัด

139

Page 149: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

การประกวดระดับเขตตรวจราชการ

140

Page 150: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

การประกวดระดับประเทศ

141

Page 151: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

1.2.4.5 โครงการถายทอดเทคโนโลยี่เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งอาหารปลอดภัยในโรงเรยีน หลัการและเหตุผล กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ ไดรวมดําเนินงานการพัฒนาหลักสตูรการศึกษาขัน้พื้นฐาน พ.ศ. 2544 และไดบรรจุงานดานสุขภาพเขาไปในกระบวนการเรียนการสอนในกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพละศึกษา ซ่ึงกรมวิทยาศาสตรการแพทย เกี่ยวของโดยตรงกับสาระการเรียนรูความปลอดภัยดานอาหาร(Food Safety) โดยมีเนื้อหาเกีย่วกับชนิด/คุณสมบัติของสารเคมีที่นํามาใชในอาหารและจุลินทรียที่ปนเปอนในอาหาร นอกจากนี้ยังเกี่ยวของกับกิจกรรมพัฒนาผูเรียนในกิจกรรมตรวจสอบอาหารโดยชุดทดสอบอาหารเบื้องตน ซ่ึงจะทําใหผูเรียนมีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับเทคนิคของชุดทดสอบอาหารทางดานเคมี/จุลินทรีย และสามารถนําชุดทดสอบอาหารไปตรวจสอบเฝาระวังคุณภาพความปลอดภัยอาหารในโรงเรียนไดดวยตนเอง ปจจุบันโรงเรียนตางๆทั่วประเทศมีการดําเนนิโครงการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน หรือรวมกลุมตั้งเปนชมรมอาสาสมัครคุมครองผูบริโภคในโรงเรียน(อย.นอย)และนกัเรียนสวนใหญไดใชชุดทดสอบอาหารเพียง 2 ชนดิ (บอแรกซ , ความสะอาดของภาชนะสัมผัสอาหารและมือ) เพื่อตรวจสอบเฝาระวังคุณภาพความปลอดภยัของอาหารทีจ่ําหนายในโรงเรียนซ่ึงในสภาพความเปนจริงอาหารมีการปนเปอนของสารพิษหลายชนดิ ดงันัน้จึงมีความจําเปนจะตองขยายความครอบคลมุของการใชชดุทดสอบอาหารเพิม่เติมรวม 10 ชนิด กรมวิทยาศาสตรการแพทยไดดําเนนิการถายทอดเทคโนโลยีเพือ่เสริมสรางความเขมแข็งอาหารปลอดภยัในโรงเรียนในจังหวัดตางๆมาตั้งแตป 2548 รวม 50 จังหวดั มีครูและนักเรียนเขารับการอบรม 10,090 คน สําหรับในป 2550 ดําเนนิโครงการตอเนื่อง 25 จังหวัด วัตถุประสงค

1. เพื่อใหครูและนักเรียน มีความรูเกี่ยวกับพษิภยัของอาหารและตระหนกัในผลกระทบตอสุขภาพในการบริโภคอาหารที่ไมสะอาดและปลอดภัย

2. เพื่อใหครูและนักเรียนไดรับความรูและเขาใจในเทคนิคการใชชุดทดสอบอาหาร 10 ชนิด 3. เพื่อใหครูและนักเรียนสามารถใชชุดทดสอบอาหารในการตรวจสอบคุณภาพอาหารในโรงเรียน

หรือตลาดสดที่อยูใกลโรงเรยีน 4. เพื่อใหครูและนักเรียนมีสวนรวมและประสานกับหนวยงานที่เกี่ยวของกับการคุมครองผูบริโภค

ในการดแูลความปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและบริเวณรอบโรงเรียน 5. เพื่อใหครแูละนักเรียนสามารถดําเนินโครงการอาหารปลอดภัยในโรงเรยีนไดอยางมีประสิทธภิาพ

และมีชมรมอาสาสมัครคุมครองผูบริโภคในโรงเรียน (อย.นอย) ที่เขมแข็ง เปาหมาย

ครูและนักเรยีนในโรงเรียนระดับมัธยมศกึษาและประถมศึกษาขยายโอกาส(ราชการและเอกชน)ในจังหวดัอุตรดิตถ ประมาณ 100 คน ตองมีความรูความเขาใจในการเลือกซื้ออาหารใหปลอดภยั ตรวจสอบความปลอดภยัของอาหารเบื้องตน และถายทอดความรูตอไปได

142

Page 152: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

สถานที่ดําเนินการ หองแคทลียาโรงแรมฟรายเดย อําเภอเมือง จังหวดัอุตรดิตถ ระยะเวลาดําเนินการ วันที่ 15 มิถุนายน 2550 ผลการดําเนินงาน

1. คัดเลือกครูและนักเรยีน อย.นอย จากทุกโรงเรียน รวม 165 คน 2. จัดอบรมใหความรู ประกอบดวยเร่ืองตอไปนี ้

- การดําเนินงานความปลอดภัยดานอาหารของกรมวิทยาศาสตรการแพทย - การปนเปอนของสารเคมีและจุลินทรียในอาหาร - ความรูพื้นฐานและเทคนิคการใชชุดทดสอบบอแรกซ กรดซาลิซิลิค ไฮโดรซัลไฟต

สารซัลไฟต กรดแรอิสระ(น้ําสมสายชูปลอม) ปริมาณกรดน้ําสมในน้าํสมสายชู คาของกรดของน้ํามนัปรุงอาหาร ฟอรมาลีน โคลิฟอรมในน้ําและน้ําแข็ง ความสะอาดของภาชนะสัมผัสอาหารและมือ

3. สาธิตและฝกปฏิบัติการใชชุดทดสอบอาหาร 10 ชนิด โดยแบงเปน 5 กลุมคือ กลุมที่ 1 บอแรกซ กรดซาลิซิลิค กลุมที่ 2 ไฮโดรซัลไฟต คาของกรดของน้ํามันปรุงอาหาร กลุมที่ 3 กรดแรอิสระ(น้ําสมสายชูปลอม) ปริมาณกรดน้าํสมในน้ําสมสายชู กลุมที่ 4 ฟอรมาลีน สารซัลไฟต กลุมที่ 5 โคลิฟอรมในน้ํา / น้ําแข็ง ความสะอาดของภาชนะสัมผัสอาหารและมือ 4. อภิปราย ซักถามปญหา 5. จายชุดทดสอบทั้ง 10 ชนิด ใหนักเรยีน อย.นอย แตละโรงเรียนนําไปใชตรวจสอบสารปนเปอนใน

โครงการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน การประเมินผล

1. จํานวนนักเรียนแกนนํา และตัวแทนนกัเรยีน อย.นอย ที่เขารวมโครงการฯ บรรลุเปาหมายที่ตั้งไวคือ 165 คน จากที่ตั้งเปาหมายไว 100 คน

2. ประเมินผลจากแบบประเมินการอบรม จํานวน 3 ชุด โดยเจาหนาที่กรมวิทยาศาสตรการแพทย ผลที่ไดรับจากการประชุม

1. ครูและตวัแทนนักเรียน อย.นอย มคีวามรูความเขาใจเกีย่วกับพษิภยัของอาหาร และ ตระหนกัในผลกระทบตอสุขภาพในการบริโภคอาหารที่ไมสะอาดและปลอดภัย

2. ครูและตวัแทนนักเรียน อย.นอย มคีวามรูความเขาใจในเทคนิคการใชชดุทดสอบสารอาหาร 10 ชนิด และสามารถนําความรูไปเผยแพรขยายผลใหกับเพือ่นและคนใกลชิดตอไป

143

Page 153: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

3. ตัวแทนนักเรยีน อย.นอย สามารถใชชุดทดสอบอาหารในการตรวจสอบคุณภาพอาหารในโรงเรียน รอบร้ัวโรงเรียน หรือตลาดสดที่อยูใกลโรงเรียน

4. ครูและตัวแทนนักเรยีน อย.นอย มีสวนรวมในการประสานงานกับหนวยงานคุมครองผูบริโภคในการดแูลความปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและรอบรั้วโรงเรียน

5. ครูและนกัเรยีนสามารถดาํเนนิโครงการอาหารปลอดภยัในโรงเรียน ไดอยางมปีระสิทธิภาพและมีชมรมอาสาสมัครคุมครองผูบริโภคในโรงเรียน (อย. นอย) ที่เขมแข็ง

ขอเสนอแนะของผูเขารวมประชุม 1. เปนโครงการที่มีประโยชนมาก อยากใหจดัทุกป 2. สถานที่และระยะเวลาทีใ่ชจดัอบรมมีความเหมาะสม 3. การแบงกลุมยอยเพื่อสาธิตการใชชุดทดสอบ แตละกลุมควรมีไมเกนิ 15 คน เพื่อใหมบีรรยากาศ

เหมาะสมแกการเรียนรู ผูเขารับการอบรมสามารถมองเห็นไดสะดวก ไมแออัดเกินไป ภาพกจิกรรม

144

Page 154: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2. การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน 2.1 ตัวชี้วัดและเปาหมาย

2.1.1 ผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนมีคุณภาพไดมาตรฐาน รอยละ 80 2.1.2 สถานที่ผลิตผลิตภณัฑสุขภาพชุมชนไดมาตรฐานตามเกณฑทีก่ําหนด รอยละ 90

2.2 ผลการดําเนินงาน 2.2.1 การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน

ตารางที่ 41 จํานวนสถานที่ผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน สถานที่ผลิต ที่ตองผานเกณฑ GMP ที่ตองผานเกณฑ GHP

ประเภทผลิตภณัฑ (แหง) รวม ผาน รอยละ รวม ผาน รอยละ

1. อาหาร 35 3 2 66.67 30 21 70.00 2. ยาสมุนไพร 0 0 0 0 0 0 0 3. เครื่องสําอาง 1 0 0 0 1 0 0 4. วัตถุอันตราย 0 0 0 0 0 0 0

รวม 36 3 2 66.67 31 21 67.74

จากตาราง สถานที่ผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนของจังหวัดอุตรดิตถที่อยูในเปาหมายในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานเพื่อใหไดรับมาตรฐาน อย. จํานวน 36 แหง มีสถานที่ผลิตที่ตองผานเกณฑมาตรฐาน GMP จํานวน 3 แหง ผานเกณฑมาตรฐาน GMP แลว 2 แหง คิดเปนรอยละ 66.67 เปาหมายกําหนดใหตองผานเกณฑ รอยละ 100 สวนสถานที่ผลิตที่ตองผานเกณฑมาตรฐาน GHP จํานวน 31 แหง ผานเกณฑมาตรฐาน GHP แลว 21 แหง คิดเปนรอยละ 67.74 เปาหมายกําหนดใหตองผานเกณฑ รอยละ 90

ตารางที่ 42 คุณภาพและความถูกตองตามกฎหมายของผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน ถูกตองตามกฎหมาย ตรวจวเิคราะห

ที่มี อย. (รายการ) รวม ผาน ผาน ประเภทผลิตภณัฑ

ผลิตภณัฑรวม

(รายการ) ตองมี อย.

ได อย. รอยละ

ไมตองม ีอย.

(รายการ)

(รายการ) มาตรฐาน(รายการ)

มาตรฐาน รอยละ

1. อาหาร 209 205 164 80.00 4 24 23 95.83 2. ยาสมุนไพร 0 0 0 0 0 0 0 0 3. เครื่องสําอาง 1 0 0 0 1 1 1 100 4. วัตถุอันตราย 0 0 0 0 0 0 0 0

รวม 210 205 164 80.00 5 25 24 96.00 จากตาราง คุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนของจังหวดัอุตรดติถที่อยูในเปาหมายในการ

145

Page 155: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

พัฒนาคุณภาพมาตรฐานเพื่อใหไดรับมาตรฐาน อย. จํานวน 205 ผลิตภัณฑ ผานเกณฑมาตรฐาน อย. จํานวน 164 ผลิตภัณฑ คิดเปนรอยละ 80 เปาหมายกําหนดใหตองผานเกณฑ รอยละ 80 สวนผลการตรวจวิเคราะหผลิตภัณฑ จํานวน 25 ผลิตภัณฑ ผานเกณฑมาตรฐาน จํานวน 24 ผลิตภัณฑ คิดเปนรอยละ 96.00

2.2.2 การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ ระดับ 3-5 ดาว ตารางที่ 43 จํานวนสถานทีผ่ลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน ระดับ 3-5 ดาว

สถานที่ผลิต ที่ตองผานเกณฑ GMP ที่ตองผานเกณฑ GHP ประเภทผลิตภัณฑ

(แหง) รวม ผาน รอยละ รวม ผาน รอยละ 1. อาหาร 21 1 1 100 20 19 95 2. ยาสมุนไพร 0 0 0 0 0 0 0 3. เครื่องสําอาง 1 0 0 0 1 0 0 4. วัตถุอันตราย 0 0 0 0 0 0 0

รวม 22 1 1 100 21 19 90.48 จากตาราง สถานที่ผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน ระดับ 3-5 ดาวของจังหวัดอุตรดิตถที่อยูใน

เปาหมายในการพัฒนาคณุภาพมาตรฐานเพือ่ใหไดรับมาตรฐาน อย. จํานวน 22 แหง มีสถานที่ผลิตที่ตองผานเกณฑมาตรฐาน GMP จํานวน 1 แหง ผานเกณฑมาตรฐาน GMP แลว 1 แหง คิดเปนรอยละ 100 เปาหมายกําหนดใหตองผานเกณฑ รอยละ 100 สวนสถานที่ผลิตที่ตองผานเกณฑมาตรฐาน GHP จํานวน 21 แหง ผานเกณฑมาตรฐาน GHP แลว 19 แหง คิดเปนรอยละ 90.48 เปาหมายกําหนดใหตองผานเกณฑ รอยละ 90

ตารางที่ 44 คุณภาพและความถูกตองตามกฎหมายของผลิตภณัฑสุขภาพชุมชนระดับ 3-5 ดาว ถูกตองตามกฎหมาย ตรวจวเิคราะห

ที่มี อย. (รายการ) รวม ผาน ประเภทผลิตภณัฑ

ผลิตภณัฑรวม

(รายการ)

ตองมี อย.

ได อย. รอยละ

ไมตองมี อย.

(รายการ)

(รายการ) มาตรฐาน (รายการ)

ผานมาตรฐาน รอยละ

1. อาหาร 21 20 20 100 1 21 20 95.24 2. ยาสมุนไพร 0 0 0 0 0 0 0 0 3. เครื่องสําอาง 1 0 0 0 1 1 1 100 4. วัตถุอันตราย 0 0 0 0 0 0 0 0

รวม 22 20 20 100 2 22 21 95.45 จากตาราง คุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน ระดับ 3-5 ดาว ของจังหวดัอุตรดิตถที่อยูในเปาหมายในการพฒันาคณุภาพมาตรฐานเพื่อใหไดรับมาตรฐาน อย. จํานวน 20 ผลิตภณัฑ ผานเกณฑมาตรฐาน อย. จํานวน 20 ผลิตภัณฑ คิดเปนรอยละ 100 เปาหมายกําหนดใหตองผานเกณฑ รอยละ 80 (ผลิตภณัฑสุขภาพชมุชนทีไ่มตองมี อย. 2 ผลิตภณัฑ คือ ปลาซิวแกวและเครื่องสําอาง กลุมสตรีและเยาวชนผลิตสมุนไพรอาภาศิริ) ในสวน

146

Page 156: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ผลการตรวจวิเคราะหผลิตภณัฑ จํานวน 22 รายการ ผานเกณฑ 21 รายการ คิดเปนรอยละ 95.45 เปาหมายกําหนดใหตองผานเกณฑ รอยละ 95 ซ่ึงจํานวน 21 รายการเปนกลุมผลิตภัณฑประเภทอาหาร ตรวจ จุลินทรยรวม (TPC) ยสีตและรา (Yeast&Mold) พบเกินเกณฑมาตรฐาน 1 รายการ (คามาตรฐานจุลินทรยรวม (TPC) ตองไมเกิน 1X106/กรัม ยสีต (Yeast) ตองไมเกิน 1X104/กรัม และรา (Mold) ตองไมเกิน 500/กรัม) คีอ ปลาสม ซ่ึงเปนอาหารที่อาจพบจุลินทรยในปริมาณสูงอยูแลวและตองปรงุใหสุกกอนรับประทาน สวนอีก 1 รายการเปนกลุมผลิตภัณฑประเภทเครื่องสําอาง ตรวจ ความเปนกรด-ดาง (pH) จุลินทรยรวม (TPC) ยีสตและรา (Yeast&Mold) พบผานมาตรฐาน (คามาตรฐานความเปนกรด-ดาง (pH) เทากับ 3.5-7 จุลินทรยรวม (TPC) ตองไมเกิน 1X106/กรัม ยีสต (Yeast) ตองไมเกนิ 1X104/กรัม และรา (Mold) ตองไมเกิน 500/กรัม) ตารางที่ 45 ผลการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภณัฑไทย (ประเภทอาหาร เครื่องดื่ม สมุนไพร) ป 2550

ผลการคัดสรร (ระดับดาว) ประเภทผลิตภณัฑ ระดับ 1 ดาว ระดับ 2 ดาว ระดับ 3 ดาว ระดับ 4 ดาว ระดับ 5 ดาว

รวม

1. อาหาร 2 13 14 13 0 42 2. เครื่องดื่ม 0 1 3 3 0 7 3. สมุนไพร 0 0 0 2 1 3

รวม 2 14 17 18 1 52 จากตาราง ผลการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑไทย (ประเภทอาหาร เครื่องดื่ม

สมุนไพร) ป 2550 ของจังหวัดอุตรดิตถ ที่ผานการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑไทยระดับประเทศ ป 2550 จํานวน 52 ผลิตภัณฑ แบงเปน ระดับ 1 ดาว 2 ผลิตภัณฑ รอยละ 3.85 ระดับ 2 ดาว 14 ผลิตภัณฑ รอยละ 26.92 ระดับ 3 ดาว 17 ผลิตภัณฑ รอยละ 32.69 ระดับ 4 ดาว 18 ผลิตภัณฑ รอยละ 34.62 ระดับ 5 ดาว 1 ผลิตภัณฑ รอยละ 1.92 กลุมผลิตภัณฑ ระดับ 1-2 ดาว สวนใหญไมผานเกณฑเร่ืองมาตรฐานสถานที่ผลิตและผลการตรวจวิเคราะหผลิตภัณฑตกมาตรฐาน

2.2.3 โครงการสนับสนุนกิจกรรมเพื่อวิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนสมบูรณแบบ ป 2550 หลักการและเหตุผล ในปจจุบนัรัฐบาลไดสงเสริมใหชุมชนมีการพฒันาผลิตภณัฑสุขภาพชุมชน เพื่อเพิ่มมูลคาใหสินคาทางการเกษตรและสงเสริมภูมิปญญาทองถ่ิน สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา โดยศูนยประสานงานพัฒนาคณุภาพผลิตภณัฑสุขภาพชุมชนรวมกับสํานกังานสาธารณสุขจังหวดั ไดจดัใหมีกจิกรรมสนองนโยบายรัฐบาล ดวยการพัฒนาผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ิน ใหมีคุณภาพมาตรฐานเปนที่ยอมรับของตลาดทั้งในและตางประเทศ โดยจําแนกผลิตภณัฑออกเปน 4 ประเภท ไดแก อาหาร ยาสมุนไพร เครื่องสําอาง และ วัตถุอันตรายทีใ่ชในบานเรือน ภายใตหลักสําคัญ 3 ประการ ไดแก ลดปจจยัเส่ียงของผูบริโภค เปนประการแรก (นโยบายรัฐบาล ป 2550 ขอ 3.4) สนับสนุนใหผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ินมีคุณภาพเปนที่ยอมรับของผูบริโภค เปนประการที่สอง (นโยบายรัฐบาล ป 2550 ขอ 2.1.2) และเพือ่สังคมมีความเขมแข็ง

147

Page 157: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ดํารงชีพตามปรัชญาเศรษฐกจิพอเพยีง (นโยบายรัฐบาล ป 2550 ขอ 1.7) ดวยกระบวนการพัฒนาสรางเสริมศักยภาพวิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนใหเปนผูผลิตสมบูรณแบบ ปงบประมาณ 2550 ศูนยประสานงานพัฒนาคณุภาพผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กําหนดกลุมเปาหมายการพัฒนาวิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน ใหสํานักงาน สาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ จํานวน 22 แหง โดยพจิารณาสนับสนุนตามลําดับการมีสวนรวมของวิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน ในงานพัฒนาคณุภาพผลิตภณัฑสุขภาพชุมชน ดังนี ้

1. ศูนยเรียนรูชุมชนตนแบบฯของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา 2. สมาชิกผูเปนเครือขาย ตามทะเบียนเครือขาย ศพช. ป 2549 3. วิสาหกจิผลิตภณัฑสุขภาพชุมชน ผูจดทะเบยีนและเปนผูผลิตผลิตภณัฑหนึ่งตําบลหนึง่ผลิตภณัฑ

ระดับ 3 - 5 ดาว จากผลการคัดสรรสุดยอดผลิตภัณฑหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ ป 2549 4. วิสาหกจิผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน ผูจดทะเบียนตาม พรบ.สงเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548 ที่

ผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน 5. วิสาหกจิผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน อ่ืนๆ

วสิาหกิจผลิตภณัฑสุขภาพชมุชนสมบูรณแบบ ประกอบดวยหนวยงานที่มีหนาที่เฉพาะ 3 สวน ไดแก หนวยการผลิต มีผูผลิตชุมชนและทองถ่ินเปนผูรับผิดชอบหลัก หนวยการตลาด มีผูประกอบการและภาครฐัเปนผูรวมดําเนนิการโดยในระดบัภาพรวมภาครัฐเปนผูมีบทบาทสนับสนนุสงเสริมเพื่อใหเกดิการตลาดที่ดี สามารถสรางมูลคาเชิงการคาแกผลิตภณัฑไดอยางเหมาะสมและหนวยควบคุมคณุภาพ ภาครฐัมีบทบาทสําคัญในการใหการสนับสนนุสงเสริมในดานการควบคุมคุณภาพ โดยมีผูผลิตชุมชนและทองถ่ิน เขามามีสวนรวม ทั้งนี้เพราะผูผลิตชุมชนและทองถ่ินมีศักยภาพที่นอย ในการควบคุมคุณภาพผลิตภณัฑระหวางการผลิต ทั้งดานความรูและงบประมาณในการจัดตัง้หนวยวเิคราะหเปนของตนเอง ภาครฐัจึงตองเขามาสนับสนนุเปนพิเศษ เพือ่ประโยชนในการคุมครองผูบริโภค ลดตนทุนในการจัดตั้งหนวยวเิคราะห และพัฒนาผูผลิตชุมชนใหมีความสามารถในการควบคุมคุณภาพดวยตนเอง กระบวนการพัฒนาวสิาหกิจผลิตภณัฑสุขภาพชุมชนสมบรูณแบบ ประกอบดวยกิจกรรมพัฒนาผลิตภณัฑสุขภาพชมุชนใหมีคณุภาพปลอดภัย โดยพัฒนาความรูความเขาใจของผูผลิตใหตระหนกัถึงความสําคัญและสามารถทําการควบคุมผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนใหปลอดภยัตอการบริโภค ดวยการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนอยางสม่ําเสมอ และสนับสนุนสงเสริมตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑในสายการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน ใหมีคุณภาพ ปลอดภัย ไดรับการยอมรับและสรางความเชื่อมั่นใหแกผูบริโภคทั้งในระดับประเทศและระดับสากล วัตถุประสงค

1. ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ินในสายการผลิต เสมือนฝายควบคุม คุณภาพระหวางการผลิตของวิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ิน เพื่อประกอบ การพัฒนา

2. พัฒนากระบวนการผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ิน ใหมีคณุภาพมาตรฐาน

148

Page 158: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

เปาหมาย 1. พัฒนากระบวนการผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ิน จํานวน 22 แหง 2. วิเคราะหคุณภาพผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ิน จาํนวน 2 งวดๆละ 22 รายการ 3. คุณภาพผลิตภณัฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ิน งวดที่ 3 มีคุณภาพ ตามที่แสดงในเปาหมายตัวช้ีวัด

เปาหมายและตวัช้ีวดั โดยจําแนกน้ําหนกัรายผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑ เปาหมาย (รอยละ) คาน้ําหนักรายผลิตภัณฑ จํานวนผลิตภณัฑ (รายการ)

ยาสมุนไพร 95 0.5 0 อาหาร 90 8 21 เครื่องสําอาง 85 1 1 วัตถุอันตรายฯ 90 0.5 0

รวม 89 10 22

ผลการดําเนินงาน 1. พิจารณาคัดเลือกกลุมวิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน จํานวน 22 กลุม เพื่อพัฒนาและเก็บ

ตัวอยางวิเคราะหและคัดเลือกกลุมผลิตภัณฑทดแทนในกรณีที่จํานวนผลิตในแตละประเภทที่กําหนดไมเพยีงพอ หรือ มีวิสาหกจิผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน เลิกลมกิจการ หรือหยุดการผลิต จากบัญชีผูผานการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตาํบลหนึ่ง ผลิตภัณฑไทย ป พศ. 2549 ระดบั 1-5 ดาว

2. ตรวจเยี่ยม/ประเมินกลุมวิสาหกิจผลิตภณัฑสุขภาพชุมชนเปาหมาย จาํนวน 22 กลุม ตามแบบบันทึกการตรวจสถานที่ผลิตอาหารและแบบเก็บขอมูลวิสาหกจิผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน(ผลการประเมิน เอกสารหนา 151 )

3. อบรม/แนะนําใหความรูดานสุขลักษณะและแนวทางการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ินที่เหมาะสมแกกลุมวิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนเปาหมายรวมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ โดยมีเนื้อหาในการอบรม คือ

• สุขลักษณะทีด่ใีนการผลิตและการควบคุมคณุภาพผลิตภัณฑ

• แนวทางการพฒันาคุณภาพผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ิน 4. เก็บตัวอยางเพือ่ตรวจวเิคราะหคุณภาพของผลิตภัณฑของกลุมวิสาหกจิผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน

เปาหมาย จํานวน 2 คร้ัง (ผลการตรวจวเิคราะหตามตารางผลการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ิน ป 2550)

งบประมาณ แผนงบประมาณ : เสริมสรางสุขภาวะของประชาชนอยางครบวงจรและมีคุณภาพมาตรฐาน ผลผลิต : ประชาชนไดรับการคุมครองในการบริโภคผลิตภัณฑและบริการสุขภาพที่ปลอดภัย โครงการกิจกรรมเพื่อวิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนสมบูรณแบบ จํานวน 92,400 บาท

Page 159: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ตารางที่ 46 ผลการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถิ่น ป 2550

ผลการตรวจสอบ ครั้งที่ 1 ผลการตรวจสอบ ครั้งที่ 2 ลําดับที่ ชื่อผลติภณัฑ สถานที่ผลิต จุลินทรีย (กรัม) ยีสต/รา

(กรัม) จุลินทรีย

(กรัม) ยีสต/รา (กรัม)

MPN E.coli

เกณฑมาตรฐานผลติภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถิ่น 1X106 1X104 / 500 1X106 1X104 / 500 ไมพบ

1 ปลาซิวแกวตากแหง กลุมปลาซิวแกว 87X104 26X102 21X104 5X103 9 2 น้ําพริกแจวบอง กลุมแมบานเกษตรกรบานแหลมคูณกาวหนา 22X103 นอยกวา 10 18X104 30 นอยกวา 3 3 ปลาสม กลุมแมบานวังตะครอ หมู 10 10X108 31X102 12X108 23X102 มากกวา 1100

4 น้ําพริกนรก กลุมแปรรูปอาหารชวนชิมบานหัวนาและบาน ตชด.รอย 316

18X103 10 13X104 10 นอยกวา 3

5 กลวยกวนเลิศรส กลุมแมบานปากะพี้ 20 นอยกวา 10 30 นอยกวา 10 - 6 แหนมเห็ดผสมหนังหมู สหกรณผูเพาะเลี้ยงเห็ดลับแล จํากัด นอยกวา 10 นอยกวา 10 47X107 2X104 - 7 ไขเค็มรสสมุนไพรเสริมไอโอดีน กลุมแมบานเกษตรกรบานทาสัก 60 30 10 - 8 น้ําพริกเผาปลายาง กลุมผูผลิตน้ําพริกเจมวย 30 นอยกวา 10 150 นอยกวา 10 - 9 เม็ดมะมวงหิมพานตอบเกลือ ศูนยแปรรูปมะมวงหิมพานต ต.หาดลา นอยกวา 10 นอยกวา 10 นอยกวา 10 10 -

10 กลวยอบมวน กลุมแมบานเกษตรกรคุงตะเภา 60 20 170 นอยกวา 10 - 11 กลวยอบอนามัย กลุมแมบานเกษตรกรมาเปนเลิศ 20 นอยกวา 10 20X102 80 - 12 งาดําตัด กลุมแมบานเกษตรกรหาดสองแควหมู2 650 510 550 16X102 - 13 ทองพับสมุนไพร กลุมแมบานเกษตรกรบานเกาะรวมใจ 70 10 20 นอยกวา 10 -

ลําดับที่ ชื่อผลติภณัฑ สถานที่ผลิต ผลการตรวจสอบ ครั้งที่ 1 ผลการตรวจสอบ ครั้งที่ 2

149

Page 160: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

จุลินทรีย (กรัม) ยีสต/รา (กรัม)

จุลินทรีย (กรัม)

ยีสต/รา (กรัม)

อื่นๆ

เกณฑมาตรฐานผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถิ่น 1X106 1X104 / 500 1X106 1X104 / 500 14 ทุเรียนกวน กลุมแมบานเกษตรกรหัวดงรวมใจ 840 นอยกวา 10 / 110 63X102 150 - 15 มะขามสีชมพูไมมเีมล็ด กลุมวิสาหกิจชุมชนบานเสี้ยว 250 นอยกวา 10 / 60 30 50 - 16 กลวยกวน กลุมวิสาหกิจชุมชนกลวยกวน 60 นอยกวา 10 / 270 นอยกวา 10 30 -

17 กระยาสารท ศูนยสาธิตการตลาดกลุมแมบานเกษตรกร ม.3

ต.พญาแมน 160 นอยกวา 10 50 20 -

18 กระเทียมดอง กลุมแมบานเกษตรกรบานหวยไคร 80 นอยกวา 10 40 นอยกวา 10 - 19 ทุเรียนทอดกรอบ กลุมแมบานเกษตรกรจิตรานานกกก 20 นอยกวา 10 120 180 - 20 ทุเรียนทอดกรอบ วิสาหกิจชุมชนแมพูล 12X102 นอยกวา 10 40 30 - 21 ปลารากอนปรุงรส กลุมแมบานเกษตรกรหมอนไม 13X102 นอยกวา 10 นอยกวา 10 นอยกวา 10 -

ลําดับที่ ชื่อผลติภณัฑ สถานที่ผลิต จุลินทรีย ยีสต/รา จุลินทรีย ยีสต/รา กรด - ดาง

เกณฑมาตรฐานผลติภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถิ่น 1X103 1X103 1X103 1X103 3.5 - 7 22 ทรีทเมนผสมมะกรูด กลุมสตรีเรือนเยาวชนสมุนไพรไฮไลท นอยกวา 10 นอยกวา 10 นอยกวา 10 นอยกวา 10 5.6

150

Page 161: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

151

สรุปผลการประเมินกลุมวิสาหกิจผลิตภณัฑสุขภาพชุมชน ป 2550 1. สถานที่ผลิต (Place) มาตรฐาน อย.

• ไดมาตรฐาน อย. 20 กลุม ยังไมไดรับมาตรฐาน อย. 2 กลุม คือ กลุมปลาซิวแกวกลุมสตรีเรือนเยาวชนสมุนไพรไฮไลท

• กลุมที่ยังไมไดมาตรฐาน มีสถานที่ผลิตแตยังไมถูกสุขลักษณะขาดเงนิทุนในการปรับปรุง สถานที่ผลิตใหไดมาตรฐาน

• การรักษาความสะอาดและเก็บของไมเปนระเบียบในสถานที่ผลิต และบริเวณโดยรอบบางกลุมยังตองปรับปรุงสุขลักษณะ

• กลุมผูผลิตบางกลุมเล้ียงสัตวเล้ียง เชน แมว สุนัข ไวใกล สถานที่ผลิต

• กลุมผูผลิตบางกลุม ทําการผลิตนอกอาคารผลิตที่ขออนุญาตไว 2. กลุมผูผลิต (Man) ความเขมแข็งของกลุม

• กลุมผูผลิตสวนใหญ ไมมีความเขมแข็ง ขนาดกลุมจะเล็กลงเพราะสมาชิกบางกลุมมีแตรายช่ือไมสามารถรวมกิจกรรมของกลุมได สวนที่ยงัคงเหลืออยูมกัมีความผกูพนัสวนตวั หรือมีความคุนเคยกนั

• สมาชิกกลุมขาดความกระตือรืนรน ขาดความเปนผูนํา ถาประธานกลุมไมอยูหรือติดภาระกิจ การผลิตก็จะหยุดชงัก

• ภาระทางครอบครัวของสมาชิกกลุมบางคนเยอะทําใหไมคอยมเีวลามาชวยงานกลุมเทาที่ควร

• ระดับการศึกษาที่ต่ําและอายขุองสมาชิกที่มาก เปนอุปสรรคในการเรียนรูส่ิงใหมๆ ทําใหการพัฒนาเปนไปดวยความลาชา

3. การบริหารจัดการ (Managemcnt)

• การทาํบัญชีรายรับ-รายจาย ไมเปนปจจุบนั, บางกลุมไมมีการทาํบัญชีรายรับ-รายจาย รวมถึงการบริหารงบประมาณหรือรายไดจากการผลิต

• ไมมีการประชมุสมาชิกกลุมและสวนใหญไมมีการบันทกึการประชุมเปนลายลักษณอักษร

• ไมมีกติกาหรือระเบียบขอบงัคับของกลุม หรือไมมีการปรับปรุงแกไขใหเปนปจจบุัน

• การแบงหนาทีข่องสมาชิก บางกลุมไมมีการแบงหนาทีข่องสมาชิก สมาชิกไมเขาใจหนาที่ของตนเอง สวนใหญมักมแีตโครงสรางกวางๆของกลุมไว

• การจัดเก็บเอกสารของแตละกลุมสวนใหญยังไมมีระบบ การคนหาเอกสารที่เกี่ยวของในการผลิต รวมทั้งที่มาของสิ่งสนับสนุนและเครื่องมือที่เกี่ยวกับการผลิต

• กลุมผูผลิต ขาดทักษะ และประสบการณ เกีย่วกบัการบรหิารจัดการภายในกลุมแบบมืออาชีพ

• การอบรมความรูเกี่ยวกับการบริหารจัดการ สวนใหญไดรับการอบรมแลว แตมีการนําไปใชประโยชนคอนขางนอย

Page 162: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

152

4. เคร่ืองมือ (Machine)

• บางกลุมมีเครื่องมือในการผลิตจํานวนมาก เก็บไวเฉยๆ ไมไดใชงาน บางกลุมขาดเครื่องมือในการผลิต หรือมีแตไมเพยีงพอ

• การสนับสนุนเครื่องมือในการผลิตของหนวยงานที่เกีย่วของ จัดสรรใหกลุมไมไดคํานึงถึงความตองการและวัตถุประสงคของการใชงานในแตละกลุม ทําใหเกิดการใชงานที่ไมมีประสิทธิภาพ ไมคุมคา

• กลุมผูผลิต ยังขาดความรู ทักษะ และขาดความตระหนกัใสใจในการบํารุงรักษาเครื่องมือที่ใชในการผลิตอยางถูกตอง ทําใหเครื่องมอืดังกลาวบางกลุมชํารุดและเปนสนิม

5. วัตถุดิบ (Law Material )

• วัตถุดิบ ขึ้นกบัฤดูกาล เชน เม็ดมะมวงหิมพานต ทุเรียน กลวย ทําใหมกีารผลิตไมตอเนื่องตลอดทั้งป

• การคัดเลือกคณุภาพวัตถุดิบมาผลิต ยังขาดความพิถีพิถัน ไมคัดกรองคณุภาพ

• ขาดเงินทุนในการซื้อวัตถุดบิและสถานที่เก็บวัตถุดิบ เชน ตูแชแข็ง ไวใชนอกฤดกูาล 6. การผลิต (Product)

• ความตอเนื่องในการผลิต กลุมผูผลิตบางกลุม จะมีอาชีพหลักอยูแลว คือ อาชีพเกษตรกรรม ชวงฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิตจะพักการผลิตของกลุมไวชั่วคราวทําใหไมมีความตอเนื่องในการผลิต

• คุณภาพผลิตภณัฑ ผลิตภณัฑที่ผลิตมีคุณภาพไมสม่ําเสมอ ทุกครั้งที่ผลิต ขาดความพิถีพิถัน และไมตระหนักใสใจดานคณุภาพการผลิตเทาที่ควร

• การผลิต กลุมผูผลิตสวนใหญไมสามารถทําการผลิตปริมาณมากๆ ตามคําสั่งซื้อได

• รายละเอียดบนฉลากผลิตภัณฑที่ผลิตและจําหนายตามทองตลาดยังไมครบถวน เชน วนัเดือนปที่ผลิต หรือ หมดอาย ุมักไมคอยแสดงไว

7. การตลาด (Marketing)

• การตลาด ของกลุมผูผลิตสวนใหญ จะอยูภายในจังหวดัมีเพียงสวนนอยที่สามารถทําตลาดตางจังหวัด

• ลักษณะบรรจภุัณฑ ไมสวยงามโดดเดน ไมมีการพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑอยางตอเนื่อง

• การพัฒนาผลิตภัณฑใหมีความหลากหลาย กลุมผูผลิตไมไดผลิตตามความตองการของทอง ตลาดหรือผูบริโภค

8. การประชาสัมพันธและการถายทอดความรู ( Promotion )

• กลุมผูผลิตยังไมกลาในการทีจ่ะแนะนําประชาสัมพันธผลิตภัณฑของตนเอง ใหคนอืน่รูจัก

• ไมมีงบประชาสัมพันธกลุมและผลิตภณัฑ เชน ไมไดทํานามบัตรหรือแผนพับประชาสมัพันธสินคาของกลุม

Page 163: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

153

9. การฝกอบรม ( Knowledge )

• หลายหนวยงานสนับสนุนการฝกอบรม แตตัวแทนกลุมที่เขารับการอบรมไมไดกลับไปถายทอดใหสมาชิกกลุมฟง รวมถึงการไมนําความรูที่ไดรับมาประยุกตใชในการทํางานของกลุม

• กลุมไดรับการอบรมความรูเนื้อเรื่องเดียวกนัซ้ํากันหลายๆครั้งจากการจัดอบรมของแตละหนวยงาน

10. เครือขาย ( Net Work )

• เครือขายยังไมเขมแข็ง ขาดความรูและทักษะการทํางานรูปแบบองคกรและการทํางานเปนทีม

ขอเสนอแนะ

• หนวยงานพหภุาคีที่เกีย่วของควรมีการบูรณาการกนัมากขึ้น

• การสนับสนนุกลุมผูผลิตแตละหนวยงานทีเ่กีย่วของควรมกีารประสานขอมูลกันเพื่อผลักดนัใหมกีารพัฒนาจนสามารถยกระดับได

• พัฒนาเครือขายเจาหนาที่เกี่ยวของระดับอําเภอใหมีความเขมแข็งสามารถดําเนินการตดิตาม ประสานงานและใหคําแนะนําปรึกษาได

ภาพกจิกรรม

Page 164: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

154

2.2.3 โครงการอบรมสัมมนามาตรฐานสถานที่วิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน ป 2550

หลักการและเหตุผล สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ รวมกับ ศูนยประสานงานพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน (ศพช.) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ไดดําเนินงานสงเสริม สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนใหมีคุณภาพมาตรฐาน ใน 4 กลุมประเภทผลิตภัณฑ ไดแด อาหาร ยาสมุนไพร เครื่องสําอาง และวัตถุอันตรายที่ใชในบานเรือน ภายใตหลักสําคัญ 3 ประการ ไดแก ลดปจจัยเส่ียงของ ผูบริโภค เปนประการแรก สนับสนุนใหผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ินมีคุณภาพเปนที่ยอมรับของ ผูบริโภค เปนประการที่สอง และเพื่อสังคมมีความเขมแข็งดํารงชีพตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (นโยบายของรัฐบาล ป 2550 ) ดวยกระบวนการพัฒนา สรางเสริมศักยภาพวิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภาพ ชุมชน เปน ผูผลิตสมบูรณแบบ กระบวนการพัฒนาหนึ่ง ไดแก การสงเสริมมาตรฐานสถานที่ผลิต ผลิตภัณฑสุขภาพ ชุมชนและทองถ่ินใหถูกสุขลักษณะในการผลิต ทั้งนี้เพื่อประกันคุณภาพของผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ินใหมีมาตรฐานที่สม่ําเสมอ สามารถตรวจสอบไดดวยวิธีการที่เปนวิทยาศาสตร สรางความมั่นใจทั้งแกผูผลิตและผูบริโภค กระบวนการพัฒนาดังกลาวตองเริ่มจากรากฐานคือความเขาใจและตระหนักถึงความสําคัญของการปรับปรุง พัฒนาสถานที่ผลิตใหไดมาตรฐาน ตลอดจนทราบถึง หลักเกณฑ วิธีการในการพัฒนาสถานที่ผลิตที่ถูกสุขลักษณะ โดยการมีสวนรวมของชุมชน และเครือขายสถาบันการศึกษา ทองถ่ิน ไดแก มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ วิทยาลัยอาชีวะศึกษาอุตรดิตถ ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความเขมแข็งของชุมชนและสังคม สามารถพึ่งตนเองและใชทรัพยากรในทองถ่ินไดอยางคุมคาและเกิดประโยชน สูงสุด ปงบประมาณ 2550 สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ รวมกับ ศูนยประสานงานพัฒนา คุณภาพผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน (ศพช.) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กําหนดกลุมเปาหมายการพัฒนาไดแก วิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน (ว.ผสช.) หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑระดับ 1-5 ดาว รวม 22 แหง โดยมุงสรางความรูความเขาใจใหตระหนักถึงความสําคัญในการดูแลสุขลักษณะของสถานที่ผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนแตละประเภทใหไดผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนที่ปลอดภัยตอการบริโภค สามารถเสริมสรางศักยภาพเชิงพาณิชยและสงเสริมความมั่นคงทางเศรษฐกิจของชาติไดอยางยั่งยืน

155

Page 165: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

วัตถุประสงค 1. เพื่อเสริมสรางความรูเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสถานที่ผลิตที่ถูกสุขลักษณะแกวิสาหกิจ

ผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ิน 2. เพื่อสงเสริมใหสถานที่ผลิตผลิตภัณฑสุขภาพ ไดมาตรฐานสุขลักษณะที่ดีในการผลิต

เปาหมาย อบรมมาตรฐานสถานที่ผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน(หลักสุขลักษณะที่ดีในการผลิต)แกวิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ินที่ยังไมไดรับมาตรฐาน อย. จํานวน 44 คน ผลการดําเนินงาน

1. อบรมมาตรฐานสถานที่ผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน ณ หองประชุมจัสมิน โรงแรมฟรายเดย อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ วันที่ 17 สิงหาคม 2550 1.1 เนื้อหาในการอบรม

สุขลักษณะทีด่ใีนการผลิตและการควบคุมคณุภาพผลิตภัณฑ บรรยายโดย อาจารยวรรณกนก ทาสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภฎัอุตรดิตถ ทําอยางไรใหได อย. บรรยายโดยเภสัชกรหญิงเกศนี คํามี สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัอุตรดิตถ แนวทางการพฒันาคุณภาพผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ิน บรรยายโดย อาจารยวรรณกนก ทาสุวรรณ มหาวิทยาลัยราชภฎัอุตรดิตถ ศึกษาดูงานสถานที่ผลิตผลิตภัณฑสุขภาพในอําเภอเมือง จังหวดัอุตรดิตถ 2 กลุม คือ กลุมเรือนขนมไทย และ กลุมไสเมี่ยงปาเก

1.2 ผูเขารับการอบรมพิจารณาจากกลุมวิสาหกจิผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนและทองถ่ิน ระดับ 1-5 ดาวที่ยงัไมไดรับรองมาตรฐาน อย. และผูประกอบการรายเดียว(เอกชน)ที่มีสินคาจําหนายในทองตลาด จํานวน 23 คน ประกอบดวย

วิสาหกจิชุมชนกลุมแปรรูปสมุนไพรบานหัวคาย หมูที่ 4 ตําบล ในเมอืง อําเภอ พิชยั จงัหวัด อุตรดิตถ

กลุมแมบานบานกองโค หมูที่ 3 ตําบล คอรุม อําเภอ พิชัย จังหวดั อุตรดิตถ

กลุมวิสาหกจิชุมชนกลุมแมบานขอยสูง หมูที่ 1 ตําบลขอยสูง อาํเภอ ตรอน จังหวัด อุตรดิตถ กลุมแมบานเกษตรกรวังกะพี ้ หมูที่ 5 ตําบลวังกะพี้ อําเภอ เมือง จังหวดั อุตรดิตถ แมบานเกษตรกรบานน้ําทวม หมูที่ 2 ตําบล ฝายหลวง อําเภอ ลับแล

156

Page 166: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

จังหวดั อุตรดติถ กลุมวิสาหกจิชุมชนแปรรูปอาหารบานใหมโพธิ์เงิน หมู 6 ตําบล วังแดงอําเภอ ตรอน จังหวดั อุตรดติถ กลุมแมบานเกษตรกรบานทาเรือ หมู 9 ตําบล ทาปลา อําเภอ ทาปลาจังหวดั อุตรดติถ กลุมแมบานเกษตรกร หมู 6 ตําบล ขุนฝาง อําเภอ เมืองจังหวัด อุตรดิตถ ผูประกอบการรายเดียว จํานวน 4 ราย

1.3 การประเมินผลการอบรม สรุปผลการประเมินความพึงพอใจในการจดักิจกรรมโครงการการอบรมสัมมนามาตรฐานสถานที่วิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน ป 2550

ตารางที่ 47 ผลการประเมินความพึงพอใจในการจดักิจกรรมโครงการการอบรมสัมมนามาตรฐานสถานที่ วสิาหกิจผลิตภณัฑสุขภาพชมุชน ป 2550

ระดับความพงึพอใจ หัวขอการประเมิน

นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด รวม (คน)

1.ประโยชนที่ไดรับจากการอบรม

0 (0%)

0 (0%)

0 (0%)

8 (42.1%)

11 (57.9%)

19 (100%)

2.เนื้อหานาสนใจและจําเปนตอการพัฒนา

0 (0%)

0 (0%)

0 (0%)

11 (57.9%)

8 (42.1%)

19 (100%)

157

0

10

20

30

40

50

60

70

80

น อย ท่ี สุ ด น อ ย ป าน กลาง ม าก ม ากที่ สุ ด

ป ระโยชน

เนื้ อห า

ป ระยุ กต ใช

ก ารถ ายท อด

ตอบป ญ ห า

การกระตุ น

เข าใจ ง าย

ก ารส รุป

วิธีนํ า เสนอ

ส่ื อก ารสอน

เอกส าร

ระยะ เวล า

สถ านที่

อ าห าร

เจ าห น าที่

ระดับความพึงพอใจ

รอยละ

Page 167: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ระดับความพงึพอใจ หัวขอการประเมิน

นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด รวม (คน)

สถานที่ผลิตและผลิตภณัฑ 3.สามารถนําความรูไปประยกุตใชในการพัฒนาสถานที่ผลิตและผลิตภณัฑ

0 (0%)

0 (0%)

0 (0%)

9 (47.4%)

10 (52.6%)

19 (100%)

4.วิทยากรสามารถถายทอดความรูไดชัดเจนตรงประเด็น

0 (0%)

0 (0%)

0 (0%)

5 (26.3%)

14 (73.7%)

19 (100%)

5.วิทยากรสามารถจัดการกับการอบรมและตอบปญหา

0 (0%)

0 (0%)

0 (0%)

13 (68.4%)

6 (31.6%)

19 (100%)

6.วิทยากรสามารถสรางความสนใจและกระตุนผูเขาอบรม

0 (0%)

0 (0%)

0 (0%)

9 (47.4%)

10 (52.6%)

19 (100%)

7.วิทยากรยกตวัอยางชัดเจน เขาใจงาย

0 (0%)

0 (0%)

0 (0%)

5 26.3%)

14 (73.7%)

19 (100%)

8.วิทยากรมีการสรุปประเด็นสําคัญตลอดการบรรยาย

0 (0%)

0 (0%)

0 (0%)

10 (52.6%)

9 (47.4%)

19 (100%)

9.วิธีการนําเสนอเหมาะสมกับเนื้อหาและเวลา

0 (0%)

0 (0%)

1 (5.3%)

14 (73.7%)

4 (21.0%)

19 (100%)

10. ส่ือการสอนมคีวามนาสน ใจและชวยใหเขาใจเนือ้หา

0 (0%)

0 (0%)

0 (0%)

5 (26.3%)

14 (73.7%)

19 (100%)

11.เอกสารประกอบการอบรม

0 (0%)

0 (0%)

2 (10.5%)

9 (47.4%)

8 (42.1%)

19 (100%)

12.ระยะเวลาการอบรมเหมาะสม

0 (0%)

0 (0%)

2 (10.5%)

11 (57.9%)

6 (31.6%)

19 (100%)

13.หองประชุมเหมาะสม

0 (0%)

0 (0%)

0 (0%)

6 (31.6%)

13 (68.4%)

19 (100%)

14.อาหาร/อาหารวางเหมาะสม

0 (0%)

0 (0%)

0 (0%)

10 (52.6%)

9 (47.4%)

19 (100%)

15.การตอนรับ/อํานวยความสะดวกของเจาหนาที่

0 (0%)

0 (0%)

0 (0%)

7 (36.8%)

12 (63.2%)

19 (100%)

158

Page 168: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ขอเสนอแนะของผูเขารวมประชุม 1. อยากใหมีการอบรมอยางนอย ทุก 2 เดือน เพราะเปนการอบรมดูงานที่มีประโยชนมาก 2. ควรจัดใหมีการอบรมบอยๆเพื่อใหสมาชิกเครือขายได รูจัก แลกเปลี่ยน เรียนรู ถายทอด

ประสบการณในการผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน 3. อยากใหคณะวิทยากรและเจาหนาที่สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถไปเยี่ยมและแนะนําติ

ชมที่สถานที่ผลิตจริงของผูเขาประชุมบาง งบประมาณ

จากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จํานวน 36,900 บาท ปญหาอุปสรรค

1. ผูประกอบการยังใหความสนใจการพัฒนามาตรฐานสถานที่ผลิตนอยโดยเฉพาะผูประกอบการ รายเดียว

2. ผูประกอบการสวนใหญขาดเงินทุนในการพัฒนามาตรฐานสถานที่ผลิต

159

Page 169: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2.2.4 โครงการฟนฟูระบบการผลิตผลิตภณัฑสุขภาพชมุชนในพื้นที่ประสบอุทกภัย จังหวัดอุตรดติถ หลักการและเหตุผล จากเหตุการณอุทกภัยที่เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2549 สรางความเสียหายแกบานเรือนราษฎรในพื้นที่ และมีกลุมวิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน (ว.ผสช.) บางสวนไดรับความ เสียหายทั้งอาคารสถานที่ อุปกรณการผลิต และประสบความเดือดรอนดานระบบการผลิตผลิตภัณฑสุขภาพ ชุมชน ซ่ึงควรไดรับการฟนฟูกลุมวิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน (ว.ผสช.) ที่ไดรับความเสียหาย โดยนําระบบการผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน และปรัชญาการคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนท่ีเหมาะสมสอดคลองกับการประกันคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนไปปรับปรุง ฟนฟู ทดแทน และพัฒนาระบบการผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน เดิมที่เสียหาย ใหสอดคลองกับระบบการผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนที่ดี

สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัอุตรดิตถ ไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากศูนยประสานงานพัฒนาคุณภาพผลิตภณัฑสุขภาพชุมชน สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ใหจัดทําโครงการเพื่อเปนการสรางขวัญกําลังใจและพัฒนาสรางเสริมศักยภาพวิสาหกจิผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนใหเปนผูผลิตสมบูรณแบบรวมทั้งประกนัความปลอดภยัในระบบการคุมครองผูผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน ใหแกกลุมวิสาหกจิผลิตภณัฑสุขภาพชุมชน (ว.ผสช.) ที่ไดรับความเสยีหายจากเหตกุารณอุทกภยัทีเ่กดิขึ้นในพืน้ที่จงัหวัดอตุรดติถดังกลาว วัตถุประสงค

1. เพื่อฟนฟูระบบการผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนของกลุมวิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน (ว.ผสช.) ที่ไดรับความเสียหายจากเหตุการณอุทกภัย

2. เพื่อชวยเหลือกลุมวิสาหกิจผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน (ว.ผสช.) ผูประสบภัย และสรางเสริมกําลังใจ ใหสามารถดําเนินการผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน ที่มีคุณภาพมาตรฐานไดตอไป

เปาหมาย กลุมวิสาหกจิผลิตภณัฑสุขภาพชุมชน (ว.ผสช.) ที่ไดรับความเสยีหายจากเหตกุารณอุทกภยั 2 แหง

วิสาหกจิชุมชน กลุมพัฒนาอาชีพน้ําตกแมพูล อําเภอลับแล จังหวัดอตุรดิตถ วิสาหกจิชุมชน กลุมแมบานเกษตรกรขนุฝาง อําเภอเมอืง จงัหวดัอุตรดิตถ

160

Page 170: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ผลการดําเนินงาน 1. สํารวจความเสียหายและความตองการความชวยเหลือของกลุมวิสาหกจิผลิตภณัฑสุขภาพชุมชน

(ว.ผสช.) ที่ไดรับความเสยีหายจากเหตกุารณอุทกภยั 2. สนับสนุนกิจกรรมเพื่อพัฒนาระบบการผลิตผลิตภณัฑสุขภาพชุมชน

สนับสนุนวัสดุงานบานงานครัว 16 รายการ เปนเงิน 17,000 บาท จางทําความสะอาดและพัฒนาสถานที่ผลิตเพื่อใหไดมาตรฐาน อย. เปนเงิน

15,000 บาท สนับสนุนการอบรมความรูและพัฒนา กระบวนการผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนของกลุมใหไดมาตรฐาน เปนเงิน 30,000 บาท

ปญหาอุปสรรค

1. งบประมาณจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาโอนมาลาชาและปลายปงบประมาณมีการระงับใชเพื่อเปล่ียนแปลงหมวดเงินทําใหดําเนินการลาชา

2. งบประมาณโอนมาหลังจากเหตุการณอุทกภัยเปนเวลานานแลวปญหาบางอยางไดถูกแกไขไปแลว

3. งบประมาณที่โอนมาเปนงบดําเนินการไมสามารถนํามาใชไดตรงความตองการของกลุม เชน คาซอมแซม , คาครุภัณฑ และส่ิงปลูกสราง

ภาพกิจกรรม

161

Page 171: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ภาคผนวก

162

Page 172: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

1. สรุปการดําเนนิงานพัฒนาศกัยภาพและการศึกษาดูงาน ชมรมผูบริโภคจังหวัดอุตรดิตถ ป 2550 ตามที่ กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัอุตรดติถ รวมกับชมรมผูบริโภค

จังหวดัอุตรดิตถไดเดินทางไป ศึกษาดูงาน ณ จังหวัดขอนแกน ระหวางวันที่ 26 - 27 เมษายน 2550 โดยมีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูและนําเสนอบทบาทหนาที่การทํางาน ดังนี้

(1) การศึกษาดูงานชมรมอาสาสมัครคุมครองผูบริโภค อําเภอชุมแพ จังหวัดขอนแกน วนัที่ 26 เมษายน 2550

ชมรมอาสาสมัครคุมครองผูบริโภค อําเภอชุมแพ จังหวัดขอนแกน กอตั้งขึ้นเมื่อ ป พ. ศ. 2542 โดยไดรับการสนับสนุนจาก สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแกน ผูอํานวยการโรงพยาบาลชุมแพ และสาธารณสุขอําเภอชุมแพ ปจจุบันประธานชมรมคือ นายวัด บุตุธรรม รองประธานคือ นายเสาร วุฒิสาร ผูประสานงานคือ เภสัชกร ดร.ประชาสรรค แสนภักดี จากกลุมงานคุมครองผูบริโภคสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแกน

สมาชิก มีหมูบานละ 1 คน รวม 200 คน อนาคตจะเพิ่มเปนหมูบานละ 4 คน กิจกรรม 1. ออกตรวจตลาดรวมกับเจาหนาที่จากโรงพยาบาลชุมแพ สํานักงานสาธารณสุขอาํเภอชุมแพ และ

เจาหนาที่สถานีอนามัยเดอืนละ 1 ครั้ง ในการออกตรวจแตละครั้งจะนําบัตรประจําตัวสมาชิกไปดวย บตัรประจําตวัออกโดยผูอํานวยการโรงพยาบาลชุมแพ และสาธารณสุขอําเภอชุมแพ

1.1. ออกตรวจหาสารปนเปอน 1.2. งานน้ําดื่ม 1.3. กระตุนผูประกอบการ ไมใหเอารัดเอาเปรียบผูบริโภค โดยดําเนินการทุกเดือนรวมกับ

ภาครัฐ 1.4. จัดทําแผนพับแนะนําชมรมและแผนพับเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภครวมกับ รพ.ชุมแพ

สงไปตามหมูบานตางๆทุกหมูบาน 1.5.รับเรื่องรองเรียนโดยจะออกไปตรวจสอบและตักเตือนทันทีที่ไดรับรองเรียนถาไมแลว

เสร็จก็จะสงเรือ่งใหหนวยงานที่รับผิดชอบไปดําเนนิการ(สวนมากจะแลวเสร็จเพราะประชาชนตางก็ใหความรวมมือกับชมรมเปนอยางด)ี

เครือขาย มีเครือขายทุกอําเภอในจังหวัดขอนแกนและเปนเครือขายองคกรผูบริโภคจังหวัดขอนแกน (NGO)

หลักในการทํางาน 1.ยึดหลัก 4 ต. คือ

ตื่นตัว คือ ตื่นตัวกับการคุมครองผูบริโภคใหไดรับความเปนธรรม ติดตาม คือ ติดตามดูพฤติกรรมของผูประกอบการอยางใกลชิด

163

Page 173: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ตอตาน คือ ตอตานในสิ่งทีไ่มถูกตอง เติมเต็ม คือ เตมิความรูใหแกผูบริโภคเปนประจําทุกๆเดอืน

2.ยึดหลัก 4 ท. คือ ทําทันที คือ ทําทันทีที่ไดรับรองเรียนและดําเนินการทันทีที่พบปญหา ทําทั้งทีม คือ จะไปทํางานรวมกันทีละหลายๆคน ทําทุกทาง คือ ทําทุกชองทางที่เห็นวาสมควรและถูกตอง ทําทั่วไทย คือ มีเครือขายทุกภาค

ผลการดําเนินงาน ตั้งแตป 2542 เปนตนมาโดยเนน 1.องคความรู คือเผยแพรประชาสัมพันธทางสื่อตางๆ เชนวิทยุ หอกระจายขาวตามหมูบาน

ทุกหมูบาน และจัดทําแผนพับแจกจายทกุพื้นที่ในอําเภอชุมแพ 2.กระตุน คือรณรงคใหผูประกอบการ ผูบริโภค รูจักสิทธิของผูบริโภคและการ

รองเรียนโดยใชหลักธรรมในการประกอบอาชีพ 3.ปฏิบัติจริง คือเอาจริงกับผูกระทําผิด

ขอดี 1. เปนชมรมที่เขมแข็ง 2. ปฏิบัติงานจริง 3.ไดรับความรวมมือจากภาครัฐเปนอยางด ี 4. สามารถหางบประมาณไดดวยตนเอง 5. มีเครือขายทุกภาคในประเทศไทย 6. รับเรื่องรองเรียนทั่วประเทศ

(2) การศกึษาดูงานเครือขายองคกรผูบริโภคจงัหวดัขอนแกน(NGO)วนัที่ 27 เมษายน 2550เครือขายองคกรผูบริโภคจังหวดัขอนแกน (NGO) เกิดขึน้จากความรวมมอืของกลุมที่ทําดานคุมครองผูบริโภคและกลุมคนที่สนใจในปญหา

ความปลอดภยัของสินคา การโฆษณาที่เกินจริง สินคาที่ไมมีคุณภาพ ฯลฯ

เดือนกรกฎาคม 2542 คณะทํางานขององคกรไดรวมกนัจัดทําแผนงานเพื่อพัฒนากลุม โดยไดรับ งบประมาณจาก อย. มกีารดาํเนินกจิกรรมอยางตอเนื่อง เชนเปดศูนยรับเรื่องรองทุกข จัดรายการวทิยุ จัดทํากรณีศึกษา 6 กรณ ี

164

Page 174: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

การบริโภคเหลาดองยา สารพิษในอาหาร น้ําดื่ม น้ําหวาน บัตรประกันสขุภาพ การทําประกันภัย

องคกรผูบริโภคจังหวดัขอนแกน (NGO) มีคณะทํางาน 8 คน มีคณะกรรมการที่ปรึกษา 13 คน ม ีองคกรเครือขาย 14 เครือขาย

วัตถุประสงค 1.เพือ่สนับสนนุและเสริมสรางความเขมแขง็ใหกับองคกรเครือขายใหเกดิกลุมทาํงานคุมครอง

ผูบริโภคทีเ่ขมแข็ง 2.เพื่อสังเคราะห และจดัการ เผยแพรความรูแกผูบริโภคในการแกปญหาเพื่อการคุมครอง

ผูบริโภค 3.เพื่อรณรงคเผยแพรขอมูลขาวสารเกี่ยวกับผูบริโภค และสงเสริมใหผูบริโภคเกิดความ

ตระหนักในสิทธิ สามารถแกไขปญหาไดดวยตนเอง 4.รณรงคดานกฎหมาย นโยบายที่มผีลกระทบตอผูบริโภค เพือ่เสนอแนะแนวนโยบาย และ

มาตรการเพือ่การคุมครองผูบริโภคใหมปีระสิทธิภาพ 5.เพือ่สงเสริมและสนับสนุนใหมทีางเลือกดานสุขภาพและการบริโภคแกผูบริโภคทั่วไป

ยุทธศาสตรในการดําเนินงาน 1.เสริมสรางความเขมแข็งองคกรผูบริโภค 2.สนับสนุนการสรางเครือขายความรวมมอืในการแกไขปญหาที่มีผลกระทบตอผูบริโภค 3.สนับสนุนองคความรู และการจัดการองคความรูในระดับชุมชน 4.เสริมสรางการพัฒนารูปแบบทางเลือกการบริโภคที่สอดคลองกับวถีิชุมชน

เครือขายระดบัจังหวดั 1) จังหวัดมหาสารคาม 8) จังหวัดหนองคาย 2) จังหวัดรอยเอ็ด 9) จังหวัดหนองบัวลําภ ู 3) จังหวัดนครพนม 10) จังหวัดอบุลราชธานี 4) จังหวัดกาฬสินธุ 11) จังหวัดอํานาจเจริญ 5) จังหวัดบุรีรัมย 12) จังหวัดศรสีะเกษ 6) จังหวัดสกลนคร 13) จังหวัดชยัภูม ิ 7) จังหวัดอุดรธานี 14) จังหวัดเลย

165

Page 175: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

กิจกรรมเดนๆ ที่เคยดําเนินการ โครงการสรางความเขมแข็งองคกรผูบริโภคจังหวัดขอนแกน ป 2543-2545 มีกิจกรรมเดน ๆดังนี้ 1.งานรณรงคและเฝาระวังผลิตภัณฑสุขภาพที่ผิดกฎหมาย รวมกับชมรมอาสาสมัคร เพือ่

ผูบริโภคอําเภอชุมแพ และมลูนิธิเพื่อผูบริโภค สามารถอายัดเครื่องสําอางที่ผิดกฎหมายไดกวา 3,000 รายการ และทาํชุมชนตัวอยางปลอดเครื่องสําอางผิดกฎหมาย

2.สรางอาสาสมัครผูบริโภคในโรงเรียน เพือ่ทํางานขยายผลกับเพื่อนในโรงเรียน และ ขยายผลสูครอบครัว ทําใหเกิดกลุมแกนนําเยาวชนพิทกัษสิทธิผูบริโภครุนตอรุนรวม 3 รุน เชนการเดินสํารวจตลาด ไมเอาสินคาจีเอม็โอ GMOs

3.กิจกรรมประสานความรวมมือ กับหนวยงานภาครัฐ เชนสํานักงานสาธารณสุขจังหวดั ศูนยวิทยาศาสตรการแพทย สํานักงานพาณิชยจังหวัด สํานักงานการคาภายใน โรงพยาบาลขอนแกน โรงเรียน 14 โรงเรียน เพื่อใหเกิดการพัฒนางานรวมกัน โดยมีเวทีสรุปบทเรียนรวมกัน

4.กิจกรรมใหขอมูลในวงกวาง เชน เวทีสาธารณะในประเด็นปญหาที่มีผลกระทบตอ ผูบริโภค การจัดรายการวิทยุเพื่อเปนสื่อที่ผูบริโภคสามารถเขาถึงไดงาย ( FM 103 MHz ) กิจกรรมเชิงนโยบาย

1.ผลักดันการจัดตั้งองคการอิสระคุมครองผูบริโภครัฐธรรมนูญ ป 2540 ไดรับรองสิทธิของประชาชนในฐานะผูบริโภคไวเปนครั้งแรกในประวัติศาสตร ในมาตรา 57 ที่กลาววา สิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับการคุมครอง ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ กฎหมายตามวรรคหนึง่ตองบัญญัติใหมีองคการอิสระ ซ่ึงประกอบดวยตัวแทนผูบริโภค ทําหนาที่ใหความเห็นในการกําหนดมาตรการตางๆ เพื่อคุมครองผูบริโภค

2.รางรฐัธรรมนญูแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 .ฉบบัรับฟงความคดิเหน็ของคณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญ สภารางรัฐธรรมนูญ ระบุไวในมาตรา 60 วา สิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับความคุมครองในการไดรับขอมูลที่เปนความจริง และมีสิทธิรองเรียนเพื่อใหไดรับการแกไขเยียวยาความเสียหาย รวมทั้งมีสิทธิรวมตัวกัน เพือ่พิทักษสิทธิของผูบริโภคใหมีองคการอิสระเพื่อการคุมครองผูบริโภคซึ่งประกอบดวยตัวแทนผูบริโภคทําหนาทีใ่หความเห็นเพือ่ประกอบการพิจารณาของหนวยงานของรัฐในการตราและการบังคับใชกฎหมาย และกฎ และใหความเหน็ในการกําหนดมาตรการตางๆ เพื่อคุมครองผูบริโภค รวมทั้งตรวจสอบ และรายงานการกระทําหรือละเลยการกระทําอันเปนการคุมครองผูบริโภค ขอดีขององคกรผูบริโภคจังหวัดขอนแกน(NGO)

1. ผูบริโภคมีที่พึ่งในดานการบริโภค 2. สามารถดําเนินคดีแทนผูบริโภคได 3. มีการประสานงานกับNGOอ่ืนๆทําใหเครือขายมีความเขมแข็ง

166

Page 176: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

4.ไดรับการสนับสนุนจากองคกรเอกชนใหทุนไปเรยีนทั้งในและตางประเทศทําใหสมาชิก มีแรงจูงใจในการทํางาน ทําใหมีองคความรูที่กวางขวาง

ปญหาอุปสรรค 1. ในชวงแรกๆ การประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของจะไมไดรับความรวมมือเทาที่ควร 2. หนวยงานภาครัฐ ยังไมเหน็ความสําคัญในกิจกรรมผูบริโภค 3. งบประมาณดําเนินงานมีจํากัดทั้งๆที่ปญหาผูบริโภคเพิม่ขึ้นทุกวนัและมีความสลับซับซอน ยากเกินกวาจะเขาใจในระยะตนๆ

4. สมาชิกอายนุอยทําใหใจรอนเกินไปในการดําเนินงานหรือการตัดสนิในในเรื่องตางๆ 5. การอบรมเยาวชนไดรับการตอเนื่องนอย ยังไมมีความชดัเจนของการพัฒนาอยางตอเนื่อง

การเดินทางไปศึกษาดูงานชมรมอาสาสมัครคุมครองผูบริโภค อําเภอชุมแพ จังหวัดขอนแกนและการศกึษาดงูานเครือขายองคกรผูบริโภคจงัหวดัขอนแกน (NGO) ในครั้งนี้ ส่ิงที่ชมรมผูบริโภคจังหวัดอุตรดิตถ ไดเรียนรูคือ

1. หลักการทํางานคือสมาชิกทุกคนทุกเครอืขายมีการตื่นตัวดานการคุมครองผูบริโภคทุกเวลา (ยึด หลัก 4 ต.) 2. หลักการปฏิบัติ คือปฏิบัติจริงไมเลือกปฏิบัติ (ยึดหลัก 4 ท.) 3. บทบาทหนาที่ของแตละองคกร มีผูนําที่เขมแข็ง มีเครือขายทั่วประเทศ และมีคณะทํางานที่เอา จริงกับปญหามีการประชาสัมพันธแนะนําองคกรอยางสม่ําเสมอ 4. ไดไปแลกเปลี่ยนเรียนรูปญหาในแตละพื้นที่รวมกนั

ขอแตกตางระหวางชมรมอาสาสมัครคุมครองผูบริโภคอาํเภอชมุแพจังหวดัขอนแกนและชมรมผูบริโภคจังหวัดอุตรดติถ ชมรมอาสาสมัครคุมครองผูบริโภคอําเภอชุมแพ ชมรมผูบริโภคจังหวัดอุตรดิตถ

1.ไดรับความรวมมือจากภาครัฐเปนอยางดีโดยเฉพาะเจาหนาที่จาก สสจ. รพช. สสอ.และสอ. 2.สมาชิกเปนประชาชนทั่วไปและเปนผูนําหมูบานที่ชาวบานใหความเคารพนบัถือ 3.ประชาชนกลาที่จะรองเรียนเมื่อเกิดปญหาก็พรอมที่จะชวยเหลือซ่ึงกันและกันอยางจริงจัง 4.เปนเครือขายของ NGO จังหวัดขอนแกน 5.สามารถหางบประมาณไดดวยตนเองโดยการทําผลงานไปแลกเอาเม็ดเงินมาบริหารจัดการเอง 6.มี อสม.เปนเครือขายทุกหมูบาน(เปนแกนนํา)

1.ยังไมไดรับเทาที่ควร 2.สวนใหญจะเปนขาราชการบํานาญเขาไมถึงประชาชน 3.ประชาชนยงัไมกลาที่จะรองเรียนเทาใดนักเพราะไมมั่นใจในความปลอดภัยหากเกิดปญหา 4.ไมมี 5.ไมมี 6.มี อสม.เปนเครือขายนอยมาก

167

Page 177: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ชมรมอาสาสมัครคุมครองผูบริโภคอําเภอชุมแพ ชมรมผูบริโภคจังหวัดอุตรดิตถ 7.เปนชมรมที่เขมแข็งมากมีเครือขายทุกภาคทั่วไทย 8.รับเรื่องรองเรียนทั่วประเทศ (ที่เปนประโยชนตอสวนรวม) 9.มีสถานที่ทํางานเปนของตนเอง

7.ยังไมเขมแขง็เทาที่ควรมีเครือขายระดับอาํเภอ แตยังไมเขมแข็งพอที่จะดําเนินการดวยตนเอง 8.รับเฉพาะในเขตพื้นที่(ทั้งสวนตวั,สวนรวม) 9.ไมมี (ยังอยูในการกํากับดูแลของกลุมงาน คุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัอุตรดิตถ)

2. สรุปผลการศึกษาดูงานโครงการคุมครองผูบริโภคดานผลติภัณฑและบริการสุขภาพ จังหวัด

อุตรดิตถ ป 2550 ระหวางวันท่ี 13-16 กุมภาพันธ พ.ศ 2550 2.1 การศึกษาดูงานสถานทีผ่ลิตอาหารจังหวัดอุดรธานี สถานที่ดูงาน โรงงานลูกชิ้นเกียรติเทเลอร ที่อยู 71/17 ถ.ประจักร ต.หมากแข็ง อ.เมือง จ.อุดรธานี วิทยากรบรรยาย คุณชาติชาย เสวกกมล เจาของกิจการ ลักษณะทั่วไปของสถานที่ดูงาน เปนโรงงานขนาดกลาง สถานที่เปนตึกแถว (อาคารพาณิชย) ดัดแปลงเปนสถานที่ผลิต 2 คูหา 2 ชั้น

สถานที่ผลิตอยูช้ันลางทั้งหมด เปนหองเดียว มีชองทางระบายอากาศ เพยีงพอ มีที่ดักกากอาหาร ทางระบายน้ําทิ้ง รายละเอียดที่ไดรับจากการนาํเสนอของสถานที่ดูงาน

ไดทราบที่มาของชื่อโรงงาน เปนชื่อรานตัดเสื้อผาเดิมของบิดา ดําเนนิกิจการมาแลว 18 ป เดิมเปนสถานที่ผลิตลูกชิ้นเล็ก ๆ ทํากัน 4-5 คน ปจจุบนัขยายปรับปรุงจนไ ด GMP ป 48 มีคนงาน 40 คน ผลิตภัณฑที่ผลิต ลูกชิ้นเนื้อหมูแท,ลูกชิ้นเนื้อวัวแท สัดสวนสินคาในตลาดลูกชิน้จังหวัดอุดร หนองคาย ประมาณ 80 % ราคาถูกกวาลูกชิ้นชื่อ ดัง ประมาณ 30 % จําหนายทั้งปลีกและสง 24 ชม วัตถุดิบ เนื้อหมู,เนื้อววั ส่ังจากฟารมและพอคาประจํา การเก็บรักษา แชน้ําแข็ง ในถังแช ลูกชิ้นออกจากถังแชแลว อยูได 6 ชม การผลิต ผลิตชวงกลางคืน เปลี่ยนคนงาน 2 ชุด 1 ทุม-ตี 1 ,ตี 1 – ตี 5 สวัสดิการ คนงาน มีที่พัก + น้ําไฟ ฟรี และบัตรประกันสงัคมทุกคนมีการขึ้นเงินเดือนตามยอดขาย ของแตละป การตรวจสอบของเจาหนาที่ 3,6 เดือน/คร้ัง เก็บตัวอยางสงตรวจวเิคราะห ทุกป

168

Page 178: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

การเขารวมประชุมอมรม ไปทุกครั้งที่ทราบ และใหความรวมมือเปนอยางด ี การเปนสถานที่ ศึกษาดูงานของผูผลิตรายยอย จากตางจงัหวัด ปละ 3-5 คร้ัง ก็ไดรับคําชม ขอติขม และขอเสนอแนะมากมาย กน็ํามาปรับปรุง พัฒนาอยางตอเนือ่ง

ปญหา อุปสรรค การพัฒนาโรงงานใหได GMP ใชเวลานาน 2-3 ป เพราะปรับปรุงแบบคอยเปนคอยไป เพราะใชเงนิทนุซื้อเครื่องจักรใหม โดยมี เจาหนาทีจ่ากสาธารณสุขคอยใหคําแนะนํา ปรึกษาตลอดเวลา อาคารเปนอาคารเชา การปรับปรุงตองผานการเหน็ชอบของเจาของอาคารกอน

ลักษณะเดนของแหลงที่ดูงาน เปนสถานที่ผลิตที่ไดมาตรฐาน GMP มีการนําเครื่องจักรที่ทันสมัยมาใชไดในการผลิตเปนอยางดี มีการดูแล ลูกจางคอนขางดี ทุกคนมีความสุขในการทํางาน มีการดูแลความสะอาดเครื่องจักร สม่ําเสมอ กล่ินไมเหมน็ สะอาด

ประโยชนที่ไดรับจากแหลงที่ดูงาน ไดเหน็การจดัการของโรงงาน ดานสถานที ่เหมาะสมพอใช ผูประกอบรวมมือ และเขาใจ หลักเกณฑ GMP เปนอยางดี ผูประกอบการใหความสําคญักับคุณภาพอาหารกอนถึงมือผูบริโภคอยางเข็มงวดเนนอาหารตองสด เสมอ ผลิตทุกวัน วตัถุดิบสดทุกวัน สามารถนําไปเปนตัวอยาง กบัสถานที่ผลิตลูกชิ้นอื่นๆ ไดอยางเปนรูปธรรม

ความประทับใจในการศกึษาดูงานจากแหลงดูงาน เจาของกิจการใหการตอนรบัเปนอยางด ี เจาของกิจการลพนักงาน ยินดีตอบคําถาม และใหขอมูลทุกแงมุม แบบไมบิดบัง ทําใหไดรับทราบขอเท็จจริง ตางๆ เกี่ยวกับการผลิตลูกชิ้นมากมาย

169

Page 179: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2.2 ศูนยบริการผลิตภัณฑสขุภาพเบด็เสร็จ (One Stop Service Center) สถานที่ดูงาน สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัหนองคาย

ที่อยู อ.เมือง จ.หนองคาย โทร. 0-4242-2906 วิทยากรบรรยาย ภก.ไพรัตน ประทุมทอง ตําแหนง ผูจดัการศูนยบริการฯ ลักษณะทั่วไปของสถานที่ดูงาน

สถานที่ดูงานตั้งอยูบริเวณชัน้หนึ่ง มีลักษณะเปนหองรปูสี่เหล่ียมผืนผา ตามรูปที่ 1

170

Page 180: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

รายละเอียดที่ไดรับจากการนาํเสนอของสถานที่ดูงาน 1. ศูนยบริการผลิตภัณฑสุขภาพเบ็ดเสร็จ สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัหนองคาย ใหบริการดาน

อาหารจํานวน 7 กระบวนงานและยา จํานวน 4 กระบวนงาน ดังนี ้ การขอจดทะเบียนอาหาร/ แจงรายละเอยีดอาหาร การแกไขเปลีย่นแปลงรายการในใบอนุญาตผลิตอาหาร การแกไขเปลีย่นแปลงรายการขอจดทะเบยีนอาหาร/ แจงรายละเอียดอาหาร การออกใบแทนใบอนุญาตผลิตอาหาร การออกสําเนาการขอจดทะเบียนอาหาร/ แจงรายละเอยีดอาหาร การตออายุใบอนุญาตผลิตอาหาร การออกใบอนุญาตผลิตอาหาร การออกใบอนญุาตขายยา การแกไขเปลีย่นแปลงรายการในใบอนุญาตขายยา การออกใบแทนใบอนุญาตขายยา การตออายุใบอนุญาตขายยา ผูประกอบการยื่นคําขอเอง ยื่นคําขอผาน สสอ./ สสกอ.

2. มีการจัดวางอุปกรณสํานักงานและเอกสารตางๆ ตามเกณฑของศูนยบริการฯที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยากําหนดไว ดังนี้

2.1 ดานนอกหองศูนยบริการฯ มีการติดตัง้ตูรับความคิดเห็น

171

Page 181: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2.2 การตกแตงประตูทางเขา

2.3 บริเวณภายในหองศูนยบริการฯ

ดานหนามีที่ตดิตอ – สอบถามเปนสัดสวน, มีบัตรคิว, เอกสารแนะนําการใหบริการของศูนย ,นามบัตร, ใบนัด การจัดวางอุปกรณสํานักงานแยกเปนสัดสวนและเปนระเบียบเรยีบรอย เอกสารเก็บไวในตูเอกสารดานหลังโตะใหบริการ มีโทรทัศน บริการน้ําดื่มและหนังสือพิมพ

172

Page 182: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2.

2.4 ทําเนียบเจาหนาที่ศูนยบริการ

173

Page 183: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2.5 แผนผังแสดงขั้นตอนการใหบริการ

2.6 เอกสารแนะนําการใหบริการ มีรายละเอียดดังนี ้ รายการคําขอและเวลามาตรฐาน 11 กระบวนงาน ขั้นตอนการใหบริการ หมายเลขโทรศัพทติดตอและภาพแสดงทีต่ั้งศูนยบริการ วิสัยทัศนและพันธกิจ

ลักษณะเดนของแหลงดูงาน มีความพรอมในการใหบริการ ทั้งในสวนของสถานที่ บุคลากร และเอกสาร ฯลฯ เชนสถานที่เปนสัดสวน มีความสะอาดและเปนระเบียบ การจัดหองมีรายละเอียดเปนไปตามเกณฑศนูยฯของอย. บคุลากรมีความรูและสามารถปฏิบัติงานไดดแีละใหบริการดวยความยิ้มแยมแจมใส

ประโยชนที่ไดรับจากแหลงที่ดูงาน ไดรับความรูและคําแนะนําเกี่ยวกับการปรบัปรุงและพัฒนาศูนยบริการผลิตภัณฑสุขภาพเบ็ดเสร็จจากสถานที่จรงิซึ่งสมัครเขารับการประเมนิศูนยฯระดับเยี่ยม

ความประทับใจในการศกึษาดูงานจากแหลงดูงาน ผูจัดการศูนยเปนผูตอนรับและพาเยีย่มชมสถานที่ พรอมใหคําอธิบายโดยละเอยีดตอบคําถามตางๆอยางชัดเจน และยินดแีลกเปลี่ยนความรูความคิดเห็นกับคณะศึกษาดูงาน

174

Page 184: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2.3 การศึกษาดูงานดานอาหารและยาหนองคาย สถานที่ดูงาน สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัหนองคาย ,ดานอาหารและยาหนองคาย วิทยากรบรรยาย ภ.ก. ไพรัตน ประทุมทอง ตําแหนง เภสัชกร 7 ลักษณะทั่วไปของสถานที่ดูงาน เปนหองทํางานในตวัอาคารดานศุลกากรหนองคาย (สะพานไทย – ลาว)เปนสถานที่ใหบริการ

ติดตอใหเจาหนาที่ เก็บตวัอยางสินคา ตรวจคุณภาพดวยชุดทดสอบเบือ้งตน ออกใบผานการตรวจสอบสินคา ตรวจสอบเอกสารการนําเขา ใบขึ้นทะเบยีน ออกใบบันทึก การพิจารณาการนําหรือส่ังผลิตภัณฑสุขภาพเขามาในราชอาณาจักร

รายละเอียดที่ไดรับจากการนาํเสนอของสถานที่ดูงาน ไดรับทราบขั้นตอนการเก็บตัวอยางสินคา/ผลิตภัณฑนําเขา มาตรวจสอบคุณภาพเบือ้งตน ไดรับทราบบรรยากาศ การทํางานของเจาหนาที่ประจําดาน ซ่ึงตองเขาใจและประสานกับหนวยงานหลักของดานไดเปนอยางดี ไมใหเกดิความซ้าํซอน ไดตูมินิ Lab จาก อย. ยังไมไดเปดใช ไดศึกษา เอกสาร แบบพิมพตางๆ ที่ อย.ตองออกใหตามระเบียบการนําผลิตภัณฑสุขภาพ (อาหาร,ยา) เขาประเทศ ไดทราบปญหาอุปสรรค ของการปฏิบัติงานของเจาหนาที่สาธารณสุขที่ไปประจําทีด่าน ไดทราบ ขั้นตอน ระเบียบ ของการเดินทางขามประเทศ ไทย – ลาว ไดทราบ ปญหาอุปสรรค ของการทํางานดานดังนี ้1. การตรวจสอบผลิตภัณฑ มีหลาย lot ตองคนหา เก็บตัวอยาง 2.ผลิตภัณฑที่ตองสงตรวจวิเคราะหที่หองปฏิบัติการ ตองใชเวลาทําใหตองปลอยสินคาไปกอน 3.เกณฑมาตรฐานการตรวจวิเคราะห โทษ ตางกัน 4.ขวัญกําลังใจเจาหนาที่ คาตอบแทนนอย

ลักษณะเดนของแหลงที่ดูงาน เปนดานที่เปดเปนทางการแลว มีกิจกรรม การใหบริการเต็มรูปแบบทุกหนวยงานทีเ่กีย่วของ เสนทาง การจราจร สะดวก เจาหนาที่ปฏิบตัิงานกันอยางเข็มงวด

ประโยชนที่ไดรับจากแหลงที่ดูงาน ไดเหน็สถานที่ปฏิบัติงานจริงของเจาหนาที่ดานอาหารและยา ทําใหเขาใจการทํางานจริง ของเจาหนาทีด่าน

175

Page 185: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ความประทับใจในการศึกษาดูงานจากแหลงดูงานนี ้ เจาหนาที่สาธารณสุขจังหวดัหนองคาย เจาหนาที่ปฏิบัตงิานดานอาหารและยาใหการตอนรับและใหขอมูลรวมถึงการบริการตางๆ ระหวางการศึกษาดูงานเปนไปอยางดีและอบอุน

178

Page 186: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

4. โครงการคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑและบริการสุขภาพจงัหวดัอุตรดติถ ป 2550

1. หลักการและเหตุผล ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) ทําขึ้นภายใตกรอบแนวคิด

และทิศทางที่อัญเชิญ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาเปนหลักปฏิบัติในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทิศทางสายกลางและยึดกระบวนทรรศนการพัฒนาแบบบูรณาการเปนองครวมที่มี “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา” จากกรอบแนวคิดและทิศทางดังกลาว สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขไดนํามาใชในการกําหนดทิศทางการพัฒนาการดําเนินงานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพ โดยไดกําหนดวิสัยทัศน (Vision) คือ “เปนผูนําในการพัฒนาสังคมฐานความรูดานผลิตภัณฑสุขภาพอยางตอเนื่องยั่งยืน” และยังไดกําหนดพันธกิจ (Mission) ที่จะ พัฒนาศักยภาพผูบริโภค ใหมีความรูและพฤติกรรมการบริโภคเพื่อสุขภาพและการสงเสริม สนับสนุนใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการดําเนินงานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพ ซ่ึงยังผลใหเกิดความเชื่อมั่นตอผลิตภัณฑสุขภาพและใหสังคมไทยมีวัฒนธรรมการบริโภคมีความแข็งแรงและมีสวนรวมในการปองกันกระแสการบริโภคที่ไมเอื้อตอสุขภาพ ผูบริโภคสามารถเขาถึงและใชความรู ในการนําไปปรับเปล่ียนพฤติกรรมที่เอื้อตอสุขภาพ ประกอบกับจังหวัดอุตรดิตถไดกําหนดยุทธศาสตรในดานการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อใหประชาชนในจงัหวดัอุตรดิตถ มีความมั่นคง ปลอดภัยในการดําเนินชีวิตทั้งดานความเปนอยู การบริโภค โดยใชกลยุทธในการสงเสริมใหประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีไดรับความคุมครองในการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพและความเปนธรรมในการใชบริการ

ปงบประมาณ 2549 สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอตุรดิตถ ไดทําการศึกษาวจิัยพฤติกรรมการบริโภคเกี่ยวกบัผลิตภัณฑสุขภาพของกลุมแมบานในจงัหวัดอุตรดิตถ พบวา พฤติกรรมการบริโภค ผลิตภัณฑสุขภาพถูกตอง (รอยละ 24.6) พฤติกรรมการปกปองสิทธิผูบริโภคถูกตอง (รอยละ 30) ผูบริโภคมีความรูเกี่ยวกบัผลิตภัณฑสุขภาพ สิทธิผูบริโภค อยูในระดับปานกลาง ( รอยละ 60 – 69 ) สวนความรูดานชองทางการรองเรียนยังอยูในระดับต่ํา (ต่ํากวารอยละ 49) และพบวากลุมตัวอยางจาํนวนมาก ไมทราบเรื่องสิทธิการเรียกรองคาชดเชยหรือเสียหายจากการบริโภคสินคาหรือบริการ ( รอยละ 42.9 )

จากความสําคัญที่กลาวมาขางตน กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ จึงไดจัดทําโครงการคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑและบริการสุขภาพจังหวัดอุตรดิตถ ปงบประมาณ 2550 ขึ้น เพื่อคุมครองสุขภาพของประชาชนใหปลอดภัยจากการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพและบริการสุขภาพ รวมถึงการพัฒนาศักยภาพผูบริโภค ใหรูสิทธิของตน และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกตอง

2. แนวทางการดําเนินงาน 2.1 การพัฒนาศักยภาพผูบริโภค

2.1.1 รณรงคใหผูบริโภครูสิทธิ และรองเรียนหากถูกละเมิดสทิธิ 179

Page 187: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2.1.2 เผยแพรความรู ประชาสัมพันธ และรณรงคเกี่ยวกับการเลือกซื้อและ การบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ

2.1.3 สนับสนุนการรวมกลุมผูบริโภคและการสรางเครือขายการคุมครองผูบริโภค 2.1.4 เสริมสรางความเขมแข็งในการดําเนินงานคุมครองผูบริโภคในโรงเรียนใหยั่งยนื

และตอเนื่อง 2.1.5 ขยายกลุมเปาหมายโครงการ อย. นอย สูนกัเรียนอาชวีะศึกษาและประถมศึกษา

บูรณาการการดําเนินงานกับหนวยงานทีเ่กีย่วของ 2.2 การกํากับดูแลผลิตภัณฑสุขภาพและสถานบริการสุขภาพ

2.2.1 พัฒนาระบบการพิจารณาอนญุาตใหรวดเรว็ มีประสิทธิภาพ สอดคลองกับระบบสากล

2.2.2 นําหลักการ Risk Analysis (Risk assessment,Risk management,Risk communication) มาใช

2.2.3 พัฒนาผูผลิตโดยนําระบบ GMP,HACCP มาใช 2.2.4 สรางเครือขายในการพจิารณาอนุญาต และประสานความรวมมือกับผูประกอบการ 2.2.5 พัฒนาทักษะขดีความสามารถของผูปฏิบัติงานในการพิจารณาอนุญาต 2.2.6 เพิ่มความเขมแข็งการกํากับดูแลผลิตภัณฑสุขภาพหลังออกสูทองตลาด 2.2.7 พัฒนาระบบและสรางเครือขายเฝาระวังความปลอดภัยจากการใชผลิตภัณฑสุขภาพ 2.2.8 ดําเนินการกับผูฝาฝนอยางเขมงวด

2.3 การพัฒนาระบบโลจิสติกสดานผลิตภณัฑสุขภาพ 2.3.1 พัฒนาการเชื่อมโยงขอมูล เพื่อใหสามารถตรวจสอบที่มาของสินคา 2.3.2 พัฒนาระบบการพิจารณาอนญุาตเปนมาตรฐาน สอดคลองกับสากล

2.4 การพัฒนาคุณภาพผลิตภณัฑสุขภาพชมุชน 2.4.1 อบรม ฝกปฎิบัติ ศึกษาดูงานของวิสาหกจิ/กลุมผูผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน 2.4.2 ตรวจรับรองสถานที่ผลิตและตรวจประเมนิผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน 2.4.3 ตรวจวเิคราะหผลิตภัณฑชุมชน

2.5 การพัฒนาคุณภาพรานยา 2.5.1 ประชาสัมพันธ เชิญชวน ใหคําชี้แนะ แนวทางในการปรบัปรุงรานยาใหสอดคลอง

กับดุลยพนิิจคณะกรรมการรับรองฯ 2.5.2 สนับสนุนในการปรับปรุงรานและใหความกระจางของเกณฑฯ บนพืน้ฐานของ

หลักวิชาการ

180

Page 188: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2.5.3 สนับสนุนใหรานยาคุณภาพเขารวมจัดบริการในโครงการหลักประกนัสุขภาพถวนหนา(30 บาท)

2.6 Cosmetic Safety 2.6.1 ตรวจวเิคราะหผลิตภัณฑเครือ่งสําอาง 2.6.2 ประชาสัมพันธเครื่องสําอางที่ผิดกฎหมาย และขอมูล เครื่องสําอาง แกรานจําหนาย

รายใหญ,รายยอย และรานขายยา 2.6.3 ตรวจสอบการโฆษณาเครื่องสําอาง ทางสื่อตางๆ 2.6.4 เรงรัด ตรวจสอบ ดําเนินคดผูีฝาฝนอยางตอเนื่อง

2.7 ยาแผนโบราณ 2.7.1 ตรวจวเิคราะหและตรวจสอบฉลากยาแผนโบราณ 2.7.2 พัฒนา GMP สถานที่ผลิตยาแผนโบราณ 2.7.3 พัฒนาทักษะขดีความสามารถของผูปฏิบัติงานในการพิจารณาอนุญาต

2.8 การแพทยแผนไทย และการแพทยทางเลือก 2.8.1 เพิ่มประสิทธิภาพของระบบหลักประกนัคุณภาพในดานการแพทยแผนไทย

การแพทยทางเลือกและสมุนไพรใหครอบคลุม 2.8.2 พัฒนามาตรฐานการใหบริการทางการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก และ

เพิ่มศักยภาพของสถานบริการและระบบเครือขายการสงตอ 3. วัตถุประสงค

3.1 เพื่อถายทอดความรูและเผยแพรประชาสัมพันธขอมูลการคุมครองผูบริโภค ดานผลิตภัณฑสุขภาพและบริการสุขภาพ รวมทั้งการสรางความเขมแข็งและชองทางการรองเรียนใหกับผูบริโภค

3.2 เพื่อกํากับดูแลตรวจสอบผลิตภัณฑสุขภาพ ฉลาก และการโฆษณา ใหถูกตองปลอดภัยและเปนธรรมตอผูบริโภค

3.3 เพื่อพัฒนาสถานประกอบการดานผลิตภัณฑสุขภาพและดานบริการสุขภาพใหไดมาตรฐานตามเกณฑที่กําหนด

3.4 เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑและสถานที่ผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนใหไดมาตรฐานตามเกณฑที่กําหนด

3.5 เพื่อพัฒนาและลดขั้นตอนในการบริการใหมีประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็ว และตอบสนองความตองการของประชาชน

3.6 เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร ใหมีความรู ความสามารถ ในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

181

Page 189: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

4. ตัวชี้วัดและเปาหมาย 4.1 การพัฒนาศักยภาพผูบริโภค

4.1.1 ผูบริโภครูสิทธิผูบริโภค รอยละ 90 4.1.2 ผูบริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่ถูกตอง รอยละ 85

4.2 การกํากับดูแลผลิตภัณฑสุขภาพและสถานบริการสุขภาพ 4.2.1 ผลิตภัณฑสุขภาพที่ไดรับการตรวจสอบไดมาตรฐานตามเกณฑที่กําหนด รอยละ 85 4.2.2 สถานประกอบการดานผลิตภัณฑสุขภาพที่ไดรับการตรวจสอบไดมาตรฐานตาม

เกณฑทีก่าํหนด รอยละ 85 4.2.3 สถานบรกิารสขุภาพไดคณุภาพมาตรฐานตามเกณฑทีก่ฎหมายกําหนด รอยละ 90

4.3 การพัฒนาระบบโลจิสติกสดานผลิตภณัฑสุขภาพ 4.3.1 พัฒนาศูนย One Stop Service และเชื่อมโยงขอมูล จํานวน 1 แหง

4.4 การพัฒนาคุณภาพผลิตภณัฑสุขภาพชมุชน 4.4.1 ผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนมีคณุภาพไดมาตรฐาน รอยละ 80 4.4.2 สถานที่ผลิตผลิตภณัฑสุขภาพชุมชนไดมาตรฐานตามเกณฑทีก่ําหนด รอยละ 90

4.5 การพัฒนาคุณภาพรานยา 4.5.1 มีรานยาคุณภาพ จํานวน 2 แหง

4.6 Cosmetic Safety 4.6.1 เครื่องสําอางมีฉลากถูกตอง รอยละ 80 4.6.2 เครื่องสําอางไมมีสารหามใช รอยละ 80 4.6.3 เครื่องสําอางมีการโฆษณาถกูตอง รอยละ 80

4.7 ยาแผนโบราณ 4.7.1 ยาแผนโบราณไดมาตรฐานตามเกณฑที่กําหนด รอยละ 90 4.7.2 ยาแผนโบราณมีฉลากถูกตอง รอยละ 90 4.7.3 สถานที่ผลิตยาแผนโบราณไดมาตรฐานตามเกณฑ GMP 1 แหง

4.8 การแพทยแผนไทย และการแพทยทางเลือก 4.8.1 หนวยบริการปฐมภูมิมีการใหบริการดานการแพทยแผนไทยและการแพทย

ทางเลือกเพิ่มขึ้นอยางนอย รอยละ 5 (เดิมรอยละ 30) 4.8.2 ประชาชนสามารถเขาถึงบริการทางการแพทยแผนไทยที่มีมาตรฐานอยางทั่วถึง

และเทาเทยีมกนั รอยละ 75 4.8.3 สถานบริการของรัฐที่มีบริการดานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกได

มาตรฐาน เพิ่มขึ้นอยางนอยรอยละ 5 (เดิมรอยละ 60)

182

Page 190: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

5. ระยะเวลาดําเนินการ 1 ตุลาคม 2549 - 30 กันยายน 2550

6. งบประมาณ สํานักงานปลดักระทรวงสาธารณสุข 6.1 แผนงบประมาณ เสริมสรางสุขภาพของประชาชนอยางครบวงจรและมีคุณภาพมาตรฐาน

6.1.1 ผลผลิตที่ 4 ประชาชนไดรับการถายทอดความรูในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพและการดูแลสุขภาพที่ถูกตอง จํานวน 35,220 บาท

6.1.2 ผลผลิตที่ 10 ประชาชนไดรับการคุมครองในการบริโภคผลิตภัณฑและบริการสุขภาพที่ปลอดภัย จํานวน 408,520 บาท

รวมเปนเงนิทัง้สิ้น 443,740 บาท ( ส่ีแสนสี่หมื่นสามพันเจ็ดรอยส่ีสิบบาทถวน ) รายละเอียดตามแผนการดําเนนิงานที่แนบทายโครงการ

หมายเหตุ งบประมาณทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได 7. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

7.1 ผูบริโภคไดรับขอมูลขาวสารดานผลิตภัณฑสุขภาพ และมีความเขมแข็ง รวมทั้งใหมีชองทางในการรองทุกข การบริการใหขอมูลขาวสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ

7.2 ผูบริโภคมีพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่ถูกตอง เหมาะสม รูสิทธิของตนตระหนักถึงพิษภัย อันตรายจากการบริโภคที่ไมถูกตอง

7.3 เกิดการประสานงานสงเสริมทั้งภาครัฐและเอกชนผูเกี่ยวของใหมีบทบาท เกิดการทํางานรวมกันเปนเครือขายในการคุมครองผูบริโภค

7.4 ผลิตภัณฑสุขภาพ ฉลาก และการโฆษณาไดรับการตรวจสอบมีความถูกตองปลอดภัยและเปนธรรมตอผูบริโภค

7.5 สถานประกอบการดานผลิตภัณฑสุขภาพและการบริการดานสุขภาพมีมาตรฐานตามเกณฑทีก่าํหนด 7.6 ผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนไดรับการพัฒนาและสงเสริมใหเกิดองคความรู เทคโนโลยีการผลิตที่มี

คุณภาพมาตรฐานปลอดภัย ไดรับเครื่องหมาย อย. และถูกตองตามกฎหมาย รวมทั้งสถานที่ผลิตมีมาตรฐานการผลิตที่ดี

7.7 ระบบการบริการพัฒนาและลดขั้นตอนในการบริการอยางมีประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็ว และตอบสนองความตองการประชาชน

7.8 เจาหนาที่ผูปฏิบัตงิานมีการพฒันาขีดความสามารถ มีความรู ความชํานาญ สอดคลองกับความตองการของหนวยงาน สามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

8. การประเมินผล 8.1 ขอมูลการตรวจสอบผลิตภัณฑ สถานประกอบการ สถานที่จําหนายและสถานบริการ 8.2 แบบสอบถามและแบบประเมินผล

183

Page 191: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

8.3 การสรุปประเมินผลของแตละกิจกรรม 9. ผูรับผดิชอบโครงการ

9.1 กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัอุตรดิตถ 10. หนวยงานรวมประสานงานโครงการ

10.1 คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอําเภอทุกแหง 10.2 องคกรปกครองสวนทองถ่ินทุกแหง 10.3 หนวยงานพหภุาคี ทั้งภาครฐัและเอกชน

ลงชื่อ พรพิมล ภูวธนานนท ผูเสนอโครงการ (นางพรพิมล ภูวธนานนท) หัวหนากลุมงานคุมครองผูบริโภค

ลงชื่อ เกรียงศักดิ์ โตวนิชย ผูเห็นชอบโครงการ (นายเกรยีงศักดิ์ โตวนชิย) นักวิชาการสาธารณสุข 9 (ชช) ดานสงเสริมพัฒนา

ลงชื่อ บุญเรียง ชูชัยแสงรัตน ผูขออนุมัติโครงการ (นายบุญเรียง ชูชัยแสงรัตน) นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ

ลงชื่อ สุขสันต วนะภูต ิ ผูอนุมัติโครงการ (นายสุขสันต วนะภูต)ิ รองผูวาราชการจังหวัด ปฏิบัติราชการแทน ผูวาราชการจังหวัดอุตรดิตถ

5. โครงการคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑและบริการสุขภาพจงัหวดัอุตรดติถ ป 2550 งบเหมาจายรายหัว(คาบริการทางการแพทยหนวยบริการภาครัฐ) ดานการสงเสรมิสุขภาพ ปองกันโรค ปงบประมาณ 2550

1. หลักการและเหตุผล การบริโภคที่ปลอดภัย เปนปจจัยหนึ่งที่ชวยเกื้อหนุนใหสุขภาพคนไทยแข็งแรง การดําเนินงานดาน

คุมครองผูบริโภคทําใหประชาชนไดรับความปลอดภัย เปนธรรม จากการบริโภคอาหาร ยา เครื่องสําอาง เครื่องมือแพทย วัตถุอันตราย และวัตถุเสพติด ซ่ึงเปนผลิตภัณฑที่จําเปนตอการดํารงชีวิตและ

184

Page 192: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ผลกระทบตอสุขภาพอนามัยของประชาชน ที่ผานมาการดําเนินงานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑ สุขภาพไดมีการพัฒนา เพื่อใหผูบริโภคเชื่อมั่นในการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) ทําขึ้นภายใตกรอบแนวคิดและทิศทางที่อัญเชิญ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาเปนหลักปฏิบัติในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทิศทางสายกลางและยึดกระบวนทรรศนการพัฒนาแบบบูรณาการเปนองครวมที่มี “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา” จากกรอบแนวคิดและทิศทางดังกลาว สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขไดนํามาใชในการกําหนดทิศทางการพัฒนาการดําเนินงานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพ โดยไดกําหนดวิสัยทัศน (Vision) คือ “เปนผูนาํในการพัฒนาสังคมฐานความรูดานผลิตภัณฑสุขภาพอยางตอเนื่องยั่งยืน” และยังไดกําหนดพันธกิจ (Mission) ที่จะ พัฒนาศักยภาพผูบริโภค ใหมีความรูและพฤติกรรมการบริโภคเพื่อสุขภาพและการสงเสริม สนับสนุนใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการดําเนินงานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพ ซ่ึงยังผลใหเกิดความเชื่อมั่นตอผลิตภัณฑสุขภาพและใหสังคมไทยมีวัฒนธรรมการบริโภคมีความแข็งแรงและมีสวนรวมในการปองกันกระแสการบริโภคที่ไมเอ้ือตอสุขภาพ ผูบริโภคสามารถเขาถึงและใชความรู ในการนําไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อตอสุขภาพ ประกอบกับจังหวัดอุตรดิตถไดกําหนดยุทธศาสตรในดานการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อใหประชาชนในจงัหวดัอุตรดิตถ มีความมั่นคง ปลอดภัยในการดําเนินชีวิตทั้งดานความเปนอยู การบริโภค โดยใชกลยุทธในการสงเสริมใหประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีไดรับความคุมครองในการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพและความเปนธรรมในการใชบริการ ที่ผานมาการดําเนินงานดานคุมครองผูบริโภคไดยึดหลักการดําเนินงานดานตางๆดังนี้ ดานการควบคุมผลิตภัณฑกอนออกสูทองตลาด โดยการนําหลักเกณฑวิธีการที่ดีในการผลิต GMP ( Good Manufacturing Practice ) ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของระบบประกันคุณภาพพื้นฐานสําหรับการผลิตผลิตภัณฑสุขภาพ การปรับระเบียบการขออนุญาตผลิตภัณฑสุขภาพใหสอดคลองกับมาตรฐานสากลยิ่งขึ้น การพัฒนาระบบการขึ้นทะเบียน ระบบฐานขอมูลผลิตภัณฑสุขภาพใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น การยกระดับประสิทธิภาพการบริการและปรับลดภาระงาน ขั้นตอน ระยะเวลาการใหบริการที่รวดเร็วขึ้น ดานการติดตาม ตรวจสอบผลิตภัณฑหลังออกสูทองตลาด ไดมีการดําเนินงานอยางตอเนื่องและจริงจัง โดยเฉพาะการกํากับดูแลผลิตภัณฑที่มีผลกระทบตอสุขภาพ และมีการดําเนินการกับผูฝาฝนกฎหมายอยางเขมงวด ดานการพัฒนาศักยภาพผูบริโภคไดสงเสริมใหผูบริโภคมีความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับผลิตภัณฑสุขภาพใหสามารถคุมครองตนเองจากการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ การพัฒนาพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่ถูกตอง การสนับสนุนการดําเนินงานสูกลุมเปาหมายโดยตรง เชน อย.นอย รวมถึงการสนับสนุนใหผูบริโภค รวมตัวกันในลักษณะองคกรเอกชน เพื่อปกปองสิทธิของตนเองและสวนรวม

จากความสําคัญที่กลาวมาขางตน กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานกังานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ จึงไดจัดทําโครงการคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑและบริการสุขภาพจังหวัดอุตรดิตถ ปงบประมาณ 2550 ขึ้น เพื่อคุมครองสุขภาพของประชาชนใหปลอดภัยจากการบริโภคผลิตภัณฑและบริการสุขภาพ รวมถึงการพัฒนา

185

Page 193: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ศักยภาพผูบริโภค ใหรูสิทธิของตน และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกตอง 2. แนวทางการดําเนินงาน

2.1 ความปลอดภัยดานอาหาร 2.1.1 พัฒนาระบบการควบคุมกํากบัดูแลผลิตภณัฑอาหารโดยใชหลัก Risk Management 2.1.2 ขยายความเขมแข็งในการเฝาระวังความปลอดภัยของผลิตภณัฑอาหารในทองตลาด

(ตลาดนัด และรถเร) 2.1.3 ใหความรูและแนะนําแกผูประกอบการน้ํามันทอดซ้ําและใหความรูแกผูบริโภคใน

การบริโภคอาหารที่ปลอดภยัจากสารพิษแอฟลาท็อกซิน 2.1.4 ตรวจสอบเฝาระวังอาหารกลุมเสี่ยง 2.1.5 ขยายขอบเขตเครือขายการพฒันาระบบ GMP /HACCP มาบังคับใชกบัผลิตภณัฑ

อาหารใหใกลเคียงสากล 2.1.6 สงเสริม ยกระดับศักยภาพ และองคความรูของผูประกอบการ SMEs ของอาหาร

กลุมเสี่ยง 2.1.7 สงเสริม ยกระดับศักยภาพ และองคความรูผูประกอบการผลิตหนอไมปบ 2.1.8 ตรวจสอบเฝาระวังอาหารกลุมเสี่ยงในรานจําหนายอาหารสดใหปลอดภัยจากสาร

ปนเปอน 6 ชนิด และไดรับปายทอง 2.1.9 ฝาระวังเชิงรุกในพื้นที่โดยใชหนวยตรวจสอบเคลื่อนที่ (Mobile Unit for Food

Safety) 2.1.10 ตรวจวเิคราะหอาหารโดยชุดทดสอบเบื้องตน ณ สถานทีจ่ําหนาย สถานที่ผลิต

อาหารเนนการตรวจสอบจุลินทรียในอาหารถุง อาหารพรอมบริโภค 2.1.11 ใหความรูและเผยแพรประชาสัมพันธแกนกัเรียน ผูประกอบการ และผูบริโภค

2.2 การพัฒนาศักยภาพผูบริโภค 2.2.1 รณรงคใหผูบริโภครูสิทธิ และรองเรียนหากถูกละเมิดสทิธิ 2.2.2 เผยแพรความรู ประชาสัมพันธ และรณรงคเกี่ยวกับการเลือกซื้อและ การบรโิภค

ผลิตภัณฑสุขภาพ 2.2.3 สนับสนุนการรวมกลุมผูบริโภคและการสรางเครือขายการคุมครองผูบริโภค 2.2.4 เสริมสรางความเขมแข็งในการดําเนินงานคุมครองผูบริโภคในโรงเรียนใหยั่งยนื

และตอเนื่อง 2.2.5 ขยายกลุมเปาหมายโครงการ อย. นอย สูนกัเรียนอาชวีะศึกษาและประถมศึกษา

บูรณาการการดําเนินงานกับหนวยงานทีเ่กีย่วของ

186

Page 194: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2.3 การกํากับดูแลผลิตภัณฑสุขภาพและสถานบริการสุขภาพ 2.3.1 พัฒนาระบบการพิจารณาอนญุาตใหรวดเรว็ มีประสิทธิภาพ สอดคลองกับระบบ

สากล 2.3.2 นําหลักการ Risk Analysis (Risk assessment,Risk management,Risk

communication) มาใช 2.3.3 พัฒนาผูผลิตโดยนําระบบ GMP,HACCP มาใช 2.3.4 สรางเครือขายในการพจิารณาอนุญาต และประสานความรวมมือกับผูประกอบการ 2.3.5 พัฒนาทักษะขดีความสามารถของผูปฏิบัติงานในการพิจารณาอนุญาต 2.3.6 เพิ่มความเขมแข็งการกํากับดูแลผลิตภัณฑสุขภาพหลังออกสูทองตลาด 2.3.7 พัฒนาระบบและสรางเครือขายเฝาระวังความปลอดภัยจากการใชผลิตภัณฑสุขภาพ 2.3.8 ดําเนินการกับผูฝาฝนอยางเขมงวด

2.4 การพัฒนาระบบโลจิสติกสดานผลิตภณัฑสุขภาพ 2.4.1 พัฒนาการเชื่อมโยงขอมูล เพื่อใหสามารถตรวจสอบที่มาของสินคา 2.4.2 พัฒนาระบบการพิจารณาอนญุาตเปนมาตรฐาน สอดคลองกับสากล

2.5 การพัฒนาคุณภาพผลิตภณัฑสุขภาพชมุชน 2.5.1 อบรม ฝกปฎิบัติ ศึกษาดูงานของวิสาหกจิ/กลุมผูผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน 2.5.2 ตรวจรับรองสถานที่ผลิตและตรวจประเมนิผลิตภัณฑสุขภาพชุมชน 2.5.3 ตรวจวเิคราะหผลิตภัณฑชุมชน

2.6 การพัฒนาคุณภาพรานยา 2.6.1 ประชาสัมพันธ เชิญชวน ใหคําชี้แนะ แนวทางในการปรบัปรุงรานยาใหสอดคลอง

กับดุลยพนิิจคณะกรรมการรับรองฯ 2.6.2 สนับสนุนในการปรับปรุงรานและใหความกระจางของเกณฑฯ บนพืน้ฐานของ

หลักวิชาการ 2.6.3 สนับสนุนใหรานยาคุณภาพเขารวมจัดบริการในโครงการหลักประกนัสุขภาพถวน

หนา(30 บาท) 2.7 Cosmetic Safety

2.7.1 ตรวจวเิคราะหผลิตภัณฑเครือ่งสําอาง 2.7.2 ประชาสัมพันธเครื่องสําอางที่ผิดกฎหมาย และขอมูล เครื่องสําอาง แกรานจําหนาย

รายใหญ,รายยอย และรานขายยา 2.7.3 ตรวจสอบการโฆษณาเครื่องสําอาง ทางสื่อตางๆ 2.7.4 เรงรัด ตรวจสอบ ดําเนินคดผูีฝาฝนอยางตอเนื่อง

187

Page 195: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

2.8 การแพทยแผนไทย และการแพทยทางเลือก

2.9.1 เพิ่มประสิทธิภาพของระบบหลักประกนัคุณภาพในดานการแพทยแผนไทย การแพทยทางเลือกและสมุนไพรใหครอบคลุม

2.9.2 พัฒนามาตรฐานการใหบริการทางการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก และเพิ่มศักยภาพของสถานบริการและระบบเครือขายการสงตอ

3. วัตถุประสงค 3.7 เพื่อถายทอดความรูและเผยแพรประชาสัมพันธขอมูลการคุมครองผูบริโภค ดานผลิตภัณฑ

สุขภาพและบริการสุขภาพ รวมทั้งการสรางความเขมแข็งและชองทางการรองเรียนใหกับผูบริโภค

3.8 เพื่อกํากับดูแลตรวจสอบผลิตภัณฑสุขภาพ ฉลาก และการโฆษณา ใหถูกตองปลอดภัยและเปนธรรมตอผูบริโภค

3.9 เพื่อพัฒนาสถานประกอบการดานผลิตภัณฑสุขภาพและดานบริการสุขภาพใหไดมาตรฐานตามเกณฑที่กําหนด

3.10 เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑและสถานที่ผลิตผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนใหไดมาตรฐานตามเกณฑที่กําหนด

3.11 เพื่อพัฒนาและลดขั้นตอนในการบริการใหมีประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็ว และตอบสนองความตองการของประชาชน

3.12 เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร ใหมีความรู ความสามารถ ในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

4. ตัวชี้วัดและเปาหมาย 3.1 ความปลอดภยัดานอาหาร

3.1.1 อาหารปลอดภยัจากสารปนเปอน 6 ชนิด (สารเรงเนื้อแดง สารฟอกขาวสารกันรา บอแรกซ ฟอรมาลิน ยาฆาแมลง) รอยละ 95

3.1.2 อาหารปลอดภยัจากสารปนเปอน แอฟลาทอ็กซิน และน้ํามันทอดซ้ํา รอยละ 75 3.1.3 สถานที่ผลิตอาหาร 54 ประเภทไดมาตรฐานตามเกณฑ GMP รอยละ 95 3.1.4 หนอไมปบปรบักรดมีกระบวนการผลิตเปนไปตาม GMP จํานวน 1 แหง 3.1.5 รานจําหนายอาหารสดปลอดภยัจากสารปนเปอน 6 ชนิด (ไดรับปายทอง) รอยละ 75 3.1.6 จํานวนตัวอยางที่ตรวจวเิคราะหโดยหนวยตรวจสอบเคลื่อนที่

- ดานเคมี 7 สาร (สารฟอกขาว,สารกันรา,บอแรกซ,ฟอรมาลิน,ยาฆาแมลง,แอ ฟลาท็อกซิน,สารโพลารในน้ํามันทอดซ้ํา) จํานวน 1,500 ตัวอยาง - ทางดานจุลินทรีย จํานวน 100 ตัวอยาง

188

Page 196: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

3.1.7 จํานวนครั้งที่ใหความรูและเผยแพรประชาสัมพันธโดย Mobile จํานวน 20 คร้ัง 4.2 การพัฒนาศักยภาพผูบริโภค

4.2.1 ผูบริโภครูสิทธิผูบริโภค รอยละ 90 4.2.2 ผูบริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่ถูกตอง รอยละ 85

4.3 การกํากับดูแลผลิตภัณฑสุขภาพและสถานบริการสุขภาพ 4.2.4 ผลิตภัณฑสุขภาพที่ไดรับการตรวจสอบไดมาตรฐานตามเกณฑที่กําหนด รอยละ 85 4.2.5 สถานประกอบการดานผลิตภัณฑสุขภาพที่ไดรับการตรวจสอบไดมาตรฐานตาม

เกณฑทีก่ําหนด รอยละ 85 4.2.6 สถานบรกิารสขุภาพไดคณุภาพมาตรฐานตามเกณฑทีก่ฎหมายกําหนด รอยละ 90

4.4 การพัฒนาระบบโลจิสติกสดานผลิตภณัฑสุขภาพ 4.4.1 พัฒนาศูนย One Stop Service และเชื่อมโยงขอมูล จํานวน 1 แหง

4.5 การพัฒนาคุณภาพผลิตภณัฑสุขภาพชมุชน 4.5.1 ผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนมีคณุภาพไดมาตรฐาน รอยละ 80 4.5.2 สถานที่ผลิตผลิตภณัฑสุขภาพชุมชนไดมาตรฐานตามเกณฑทีก่ําหนด รอยละ 90

4.6 การพัฒนาคุณภาพรานยา 4.6.1 มีรานยาคุณภาพ จํานวน 2 แหง

4.7 Cosmetic Safety 4.7.1 เครื่องสําอางมีฉลากถูกตอง รอยละ 80 4.7.2 เครื่องสําอางไมมีสารหามใช รอยละ 80 4.7.3 เครื่องสําอางมีการโฆษณาถกูตอง รอยละ 80

4.8 การแพทยแผนไทย และการแพทยทางเลือก 4.8.4 หนวยบริการปฐมภูมิมีการใหบริการดานการแพทยแผนไทยและการแพทย

ทางเลอืกเพิ่มขึ้นอยางนอย รอยละ 5 (เดิมรอยละ 30) 4.8.5 ประชาชนสามารถเขาถึงบริการทางการแพทยแผนไทยที่มีมาตรฐานอยางทั่วถึง

และเทาเทยีมกนั รอยละ 75 4.8.6 สถานบริการของรัฐที่มีบริการดานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกได

มาตรฐาน เพิ่มขึ้นอยางนอยรอยละ 5 (เดิมรอยละ 60) 5. ระยะเวลาดําเนินการ

1 ตุลาคม 2549 - 30 กันยายน 2550 6. งบประมาณ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาต ิ

งบประมาณ เหมาจายรายหวั (คาบริการทางการแพทยหนวยบรกิารภาครฐั) ดานการสงเสริม

189

Page 197: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

สุขภาพ ปองกนัโรค ปงบประมาณ 2550 จาํนวน 1,100,248 บาท ( หนึง่ลานหนึ่งแสนสองรอยส่ีสิบแปดบาทถวน ) รายละเอียดตามแผนการดําเนินงานที่แนบทายโครงการ

หมายเหตุ งบประมาณทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได 7. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

7.1 ผูบริโภคไดรับขอมูลขาวสารดานผลิตภัณฑสุขภาพ และมีความเขมแข็ง รวมทั้งใหมีชองทางในการรองทุกข การบริการใหขอมูลขาวสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ

7.2 ผูบริโภคมีพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่ถูกตอง เหมาะสม รูสิทธิของตนตระหนักถึงพิษภัย อันตรายจากการบริโภคที่ไมถูกตอง

7.3 เกิดการประสานงานสงเสริมทั้งภาครัฐและเอกชนผูเกี่ยวของใหมีบทบาท เกิดการทํางานรวมกันเปนเครือขายในการคุมครองผูบริโภค

7.4 ผลิตภัณฑสุขภาพ ฉลาก และการโฆษณาไดรับการตรวจสอบมีความถูกตองปลอดภัยและเปนธรรมตอผูบริโภค

7.5 สถานประกอบการดานผลิตภัณฑสุขภาพและการบริการดานสุขภาพมีมาตรฐานตามเกณฑที่กําหนด

7.6 ผลิตภัณฑสุขภาพชุมชนไดรับการพัฒนาและสงเสริมใหเกิดองคความรู เทคโนโลยีการผลิตที่มีคุณภาพมาตรฐานปลอดภัย ไดรับเครื่องหมาย อย. และถูกตองตามกฎหมาย รวมทั้งสถานที่ผลิตมีมาตรฐานการผลิตที่ดี

7.7 ระบบการบริการพัฒนาและลดขั้นตอนในการบริการอยางมีประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็ว และตอบสนองความตองการประชาชน

7.8 เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานมีการพัฒนาขีดความสามารถ มีความรู ความชํานาญ สอดคลองกับความตองการของหนวยงาน สามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

8. การประเมินผล 8.1 ขอมูลการตรวจสอบผลิตภัณฑ สถานประกอบการ สถานที่จําหนายและสถานบริการ 8.2 แบบสอบถามและแบบประเมินผล 8.3 การสรุปประเมินผลของแตละกจิกรรม

9. ผูรับผดิชอบโครงการ กลุมงานคุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวดัอุตรดิตถ

11. หนวยงานรวมประสานงานโครงการ 10.1 คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอําเภอทุกแหง 10.2 องคกรปกครองสวนทองถ่ินทุกแหง 10.3 หนวยงานพหภุาคี ทั้งภาครัฐและเอกชน

190

Page 198: จ สารบัญ หน าuto.moph.go.th/consumer/report50.pdf · งานสถานพยาบาล 32 สรุปผลเรื่องร องเรียนในฐานะพนักงานเจ

ลงชื่อ พรพิมล ภูวธนานนท ผูเสนอโครงการ (นางพรพิมล ภูวธนานนท) หัวหนากลุมงานคุมครองผูบริโภค

ลงชื่อ เกรียงศักดิ์ โตวนิชย ผูเห็นชอบโครงการ (นายเกรยีงศักดิ์ โตวนชิย) นักวิชาการสาธารณสุข 9 (ชช) ดานสงเสริมพัฒนา

ลงชื่อ บุญเรียง ชูชัยแสงรัตน ผูขออนุมัติโครงการ (นายบุญเรียง ชูชัยแสงรัตน) นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ

ลงชื่อ สุขสันต วนะภูต ิ ผูอนุมัติโครงการ (นายสุขสันต วนะภูต)ิ รองผูวาราชการจังหวัด ปฏิบัติราชการแทน ผูวาราชการจังหวัดอุตรดิตถ หัวหนากลุมงานคุมครองผูบริโภค